Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore audit

audit

Published by internalaudit.lp, 2020-08-14 00:36:03

Description: audit

Search

Read the Text Version

วิธีการสอบทาน แหล่งขอ้ มลู /กระดาษทาการ ทานยอดเงินคงเหลือตามงบทดลองของบัญชีวสั ดุ เครื่องมือ 119 / บัญชคี รุภัณฑ์ ณ วันท่ี 30 กันยายน ตรงกับยอด กระดาษทาการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านบัญชี ปรายงานผลการตรวจสอบพสั ดุ / ทรัพย์สนิ เอกสารหลกั ฐาน ไมถ่ ูกต้องตรงกนั หาสาเหตุของความแตกตา่ ง 1. งบทดลอง 2. รายงานผลการตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี บปรุงรายการบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง หน่วย 3. ทะเบียนทรัพยส์ นิ ยบันทึกรายการปรับปรุงบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง เคร่ืองมือ บ บ GFMIS ภ าย ใน 30 วัน นั บ จ า ก วัน ส้ิ น กระดาษทาการตรวจสอบการปฏิบัติงานบัญชี ะมาณ ตามหนังสอื กรมบัญชกี ลางที่ กค 0423.3/ เอกสารหลกั ฐาน ลงวันท่ี 3 สิงหาคม 2558 1. งบทดลอง ดบั ญ ชีรายได้สูง/(ต่า) ก ว่าค่าใช้จ่าย สุท ธิ 2. เอกสารหลักฐานการปรับปรุงในระบบ 010101) และบั ญ ชีผลสะสมจาก การแก้ไข เคร่ืองมอื ลาด (3102010102) โดยปิดบัญชีรายได้สูง/(ตา่ ) กระดาษทาการตรวจสอบการปฏบิ ัติงานบญั ชี ใช้จ่ายสุทธิ (3102010102) ตามจานวนเงิน เอกสารหลกั ฐาน อในช่อง “ยอดยกไป” เข้าบัญชีรายได้สูง/(ต่า) 1. งบทดลอง าใช้จ่ายสะสมยกมา (3102010101) ภายใน 2. เอกสารหลกั ฐานการปรบั ปรุงในระบบ นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ ตามหนังสือ ชกี ลางท่ี กค 0423.3/ว 267 ลงวนั ที่ 3 สงิ หาคม 2558 เครื่องมือ จัดส่งงบทดลองระดับหน่วยเบิกจ่าย หน่วย กระดาษทาการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านบญั ชี ยส่งรายงานงบทดลองประจาเดือนจากระบบ เอกสารหลักฐาน คาส่ัง ZGL_MVT_MONTH หรือ GFMIS Web 1. งบทดลองประจาเดอื น รายงานงบทดลองรายเดือน-หน่วยเบิกจ่าย 2. รายงานการขอเบกิ เงินจากคลงั ประจาเดือน นั ก ง า น ก า ร ต ร ว จ เงิ น แ ผ่ น ดิ น ห รื อ ส า นั ก ง า น 3. หนังสือนาสง่ ของหนว่ ยงาน พร้อมรายละเอยี ดที่จดั สง่ วจเงินแผ่นดินส่วนภูมิภาคทุกเดือน ภายในวันท่ี งเดือนถัดไป ตามหนังสือกรมบัญ ชีกลางท่ี 23.3/ว 267 ลงวนั ท่ี 3 สิงหาคม 2558

ขอ้ ประเด็น เกณฑ์ 2. มีการจัดส่งรายงานการขอเบิกเงินจากคลัง 2.การจ ประจาเดือน ส่งคลังจังหวัด ภายในวันท่ี 10 ของ ID : A25 เดือนถัดไป วันที่ 10 ท่ี กค 04 รายงานประจาปี 1. มีการจัดทารายงานงบ ทดลองป ระจาปี 1.มีการ ประกอบ ด้วย รายงานงบ ทดลองป ระจาปี รายงาน งบ ป ระ ม าณ แ ละ ราย งาน ท่ี เกี่ ย วข้ อ งกั บ เก่ยี วข้อ เงนิ ทดรองราชการ 1.1 ร 2. จัดส่งรายงานให้สานักงานการตรวจเงิน ZGL_M แผ่นดินหรือสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน รายงานง ภูมิภาค ภายใน 60 วนั นับจากวันส้นิ ปีงบประมาณ 1.2 ร ได้แก่ รา เงินทดร เงินทดร 2. ศึกษา ชอ่ื กากับ 3. จัดส่ง การตรว วันสิ้นป 0423.3/ ผู้จดั ทา ........................................................... วันท่ี ...............................................................

วธิ ีการสอบทาน แหลง่ ข้อมูล/กระดาษทาการ 120 จัดส่งรายงานการขอเบิกเงินจากคลังประจาเดือน 5B จาก Web Report ส่งคลังจังหวัด ภายใน เครื่องมอื 0 ของเดือนถัดไป ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง กระดาษทาการตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านบญั ชี 409.3/ว 192 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 เอกสารหลกั ฐาน 1. งบทดลองงวดที่ 1 – 16 รจัดทารายงานงบทดลองประจาปี ประกอบด้วย 2. รายงานฐานะเงินทดรองราชการ นงบทดลองประจาปีงบประมาณ และรายงานท่ี 3. รายงานลูกหนีเ้ งินทดรองราชการ องกับเงนิ ทดรองราชการ ดังนี้ 4. งบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคาร-เงินทดรองราชการ ร า ย งา น งบ ท ด ล อ งป ร ะ จ า ปี ค า ส่ั งงา น 5. หนังสือนาส่งของหนว่ ยงาน MVT_MONTH ห รื อ GFMIS Web Online งบทดลองรายเดอื น-หนว่ ยเบกิ จ่าย ระบุงวด 1 – 16 รายงานท่ีเก่ียวข้องกับเงินทดรองราชการรายปี ายงานฐานะเงินทดรองราชการ รายงานลูกหนี้ รองราชการ และงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร- รองราชการ าธิการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายลงลายมือ บรับรองความถกู ต้องของรายงาน งให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ หรือสานกั งาน วจเงินแผ่นดินภูมิภาค ภายใน 60 วันนับจาก ปีงบประมาณ ตามหนังสือกรมบัญชีกลางท่ี กค /ว 267 ลงวนั ท่ี 3 สงิ หาคม 2558 ผู้อนมุ ัติ .............................................................. วันท่ี ...................................................................

ตัวอยา่ ง กระดาษทาการตรวจสอบการปฏบิ ัติงานบัญชี - ตวั อย กระดาษทาการตรวจสอบ หนว่ ยรับตรวจ ............................................................ ตรวจสอบเพียงวนั ที่ ................................................... วตั ถุประสงค์ ............................................................................................................................. ........... ............................................................................................................................. ........... ขอบเขตการสอบทาน ขอ้ ประเด็นการสอบทาน เกณฑ์การสอบทาน 1 ความถกู ต้องของยอดคงเหลอื ในชอ่ ง “ยอดยกไป” ของบญั ชีแยกประเภทในงบทดลอง 1.1 บญั ชเี งนิ สดถกู ตอ้ ง เงินสดในมือคงเหลือถูกต้องตรงกับ บัญชเี งินสด บัญชีเงินสดตามงบทดลองและ 1. เงินสดในมือทตี่ รวจนับ รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวันมอื จานวน ........ บาท 2. บญั ชเี งินสดตามงบทด ....... บาท 3. ยอดเงินสดคงเหลือ คงเหลือประจาวัน จา (มอื ) 4. ยอดเงินสดคงเหลือป Balance) จานวน ......

ยา่ ง - บการปฏิบตั งิ านบัญชี ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. 121 ผลการสอบทาน แหลง่ ข้อมลู เอกสาร/ หลักฐาน บได้ สรุป 1. ตรวจนบั เงนิ สดในมือ เงินสดคงเหลือถูกตอ้ งตรงกนั 2. งบทดลอง ดลองคงเหลอื เงนิ สดคงเหลอื ไม่ถูกตอ้ ง เน่ืองจาก .................. 3. รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวัน (มือ) ....................................................................... 4. รายงานเงินสดคงเหลือประจาวัน ตามรายงานเงิน ....................................................................... (Cash Balance) านวน ........ บาท ประจาวัน (Cash ......... บาท

ขอ้ ประเดน็ การสอบทาน เกณฑก์ ารสอบทาน บญั ชเี งินฝากธนาคารจาก Statement ……… บัญช 1.2 บัญชีเงินฝากธนาคารถกู ต้อง บญั ชีเงนิ ฝากธนาคารทกุ บัญชี มี 1. บญั ชเี ลขที่ ....... จาน การจัดทางบกระทบยอดถูกต้อง 2. บญั ชีเลขท่ี ....... จาน 1.3 บญั ชเี งินฝากคลงั ถกู ตอ้ ง 3. บญั ชีเลขที่ ....... จาน ยอดเงินคงเหลอื บญั ชเี งนิ ฝากคลัง จากงบทดลองถกู ตอ้ งตรงกบั บัญชีเงินฝากคลังจากร รายงานแสดงการเคลื่อนไหวเงิน เคลอ่ื นไหวเงินฝากคลงั … ฝากคลงั ทกุ บญั ชี 1. บญั ชีเลขท่ี ....... จาน 2. บญั ชเี ลขที่ ....... จาน 3. บัญชีเลขที่ ....... จาน 1.4 บญั ชลี กู หน้เี งนิ ยืมถกู ต้อง ยอดคงเหลือบญั ชลี ูกหน้ใี น บญั ชีลกู หน้ีเงนิ ยืมจากรา งบประมาณและนอกงบประมาณ ลกู หน้ีคงค้าง 1.5 บัญชีใบสาคัญค้างจ่าย บัญชี ตามงบทดลองถูกต้องตรงกับ 1. เงินยมื ในงบประมาณ เจ้าหนี้การค้า-หน่วยงานภาครัฐ และ รายละเอียดสัญญายืมเงนิ ท่ยี งั ไม่ส่ง บัญชีเจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก ใช้ จานวน .......... บาท ถูกตอ้ ง 2. เงนิ นอกงบประมาณ ยอดคงเหลือตามงบทดลองถูกตอ้ ง ตรงกบั รายละเอียดฎกี าคา้ งจา่ ย จานวน .......... บาท และหลักฐานการขอเบกิ หรือ เอกสารแสดงภาระผกู พนั ท่ตี อ้ ง บัญชีใบสาคญั คา้ งจา่ ย บ ชาระคืนแกเ่ จา้ หนี้หรอื ผูม้ ีสิทธิท์ ย่ี งั หน่วยงานภาครัฐ และบัญ ไม่ได้จ่ายเงนิ บคุ คลภายนอกมรี ายละเ 1. รายละเอยี ดฏกี าคา้ งจ จานวน .......... บาท 2. หลกั ฐานขอเบิกทีย่ ังไ ........ รายการ จานวน

ผลการสอบทาน แหลง่ ขอ้ มลู เอกสาร/ หลกั ฐาน ก Bank มีการจัดทางบกระทบยอดบัญชีเงินฝากธนาคาร 1. งบทดลอง ชี ได้แก่ ไดถ้ ูกตอ้ งครบทกุ บัญชที กุ เดอื น 2. Bank Statement นวน .......... บาท ใช่ 3. ทะเบยี นคุมเชค็ นวน .......... บาท ไมใ่ ช่ ............................................................. 4. ทะเบียนคุมฎีกาเบิกเงนิ จากคลัง นวน .......... บาท ....................................................................... 5. รายละเอียดฎกี าคา้ งจา่ ย รายงานแสดงการ ยอดเงินคงเหลือบัญชีเงินฝากคลังตามงบทดลอง 1. งบทดลอง ……… บัญชี ได้แก่ ตรงกับรายงานแสดงการเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง 2. รายงานแสดงการเคล่ือนไหวเงิน นวน .......... บาท และรายงานสถานะเงนิ ฝากคลงั และเงนิ รับฝากของ ฝากคลงั นวน .......... บาท รฐั บาล และเอกสารหลกั ฐาน 3. รายงานเงินฝากคลังและเงินรับ นวน .......... บาท ใช่ ฝากของรัฐบาล 122 ไม่ใช่ ............................................................. 4. ทะเบียนคุมเงินฝากคลังแต่ละ ....................................................................... ประเภท ายละเอยี ด ยอดเงินคงเหลือบัญชีลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 1. งบทดลอง และนอกงบประมาณตามงบทดลองถูกต้องตรงกับ 2. ทะเบยี นคมุ สัญญายมื เงิน ณ ........ ราย จานวนเงินตามสัญญายืมเงินที่ยังไม่ส่งใช้และ 3. สญั ญาการยมื เงนิ ท่ยี งั ไม่ส่งใช้ รายละเอียดลูกหน้เี งนิ ยมื 4. รายละเอยี ดลกู หนเ้ี งินยืม ........ ราย ใช่ ไมใ่ ช่ ............................................................. บัญชีเจ้าหนก้ี ารคา้ - ยอดเงินคงเหลือบัญชีใบสาคัญค้างจ่ายบัญชีเจ้าหนี้ 1. งบทดลอง ญชีเจา้ หน้ีการค้า- การค้า-หน่วยงานภาครัฐ และบัญชีเจ้าหน้ีการค้า- 2. รายละเอยี ดฎีกาค้างจา่ ย เอียด ดงั น้ี บุคคลภายนอก มียอดคงเหลือตรงกบั สรุปรายละเอยี ด 3. หลกั ฐานขอเบกิ ทย่ี งั ไม่ได้จา่ ยเงิน จา่ ย ........ ฏีกา ฎีกาค้างจา่ ยและเอกสารขอเบกิ เรือ่ งทไ่ี มไ่ ด้จา่ ยเงิน ใช่ ไม่ไดจ้ า่ ยเงนิ ไมใ่ ช่ ............................................................. น .......... บาท

ขอ้ ประเด็นการสอบทาน เกณฑ์การสอบทาน 2 ความถกู ต้องของดลุ บญั ชีและงบ 1. รายการบัญชีในงบการเงินแสดง 1. งบทดลองแสดงข้อมูล การเงิน คงเหลอื ตามดลุ บัญชปี กติ ตามดุลบัญชีปกติ 2. บัญชีพักไม่แสดงยอดคงเหลอื (1) บัญชีสนิ ทรพั ย์ทข่ี นึ้ (2) บัญชีหนสี้ ินที่ขึน้ ตน้ (3) บญั ชีทุนทข่ี ้นึ ต้นด (4) บัญชรี ายไดท้ ขี่ ึน้ ต้น (5) บญั ชคี ่าใช้จ่ายท่ีขนึ้ (6) บญั ชพี ักรอ Clear (7) บัญชรี ายได้สงู /(ต่า) (8) บญั ชีรายได้สูง/(ตา่ ) (9) บัญชผี ลสะสมจากก (10) บัญชีค่าใช้จ่ายระ รายไดแ้ ผ่นดินรอนาส่งคล 2. ไม่มีบัญชีพกั ที่มียอดค (1) บัญชีพักเงินนาส่งแล (2) บญั ชีพกั รอ Clear (3) บัญชพี กั หกั ลา้ งกา (4) บญั ชพี กั หกั ลา้ งการ (5) บญั ชีลูกหน้สี ว่ นราชก

ผลการสอบทาน แหลง่ ข้อมลู เอกสาร/ หลกั ฐาน ลทางบัญชีถูกต้อง ดลุ ปกตทิ กุ บญั ชี 123 ดุลไม่ปกติ ดังน้ี ............................................. งบทดลองตามระบบ GFMIS นต้นด้วยรหสั บัญชี 1 …………………………………………………………………… นด้วยรหสั บัญชี 2 …………………………………………………………………… งบทดลอง ดว้ ยรหสั บญั ชี 3 นดว้ ยรหสั บญั ชี 4 มี จานวน ....................................... นต้นด้วยรหัสบัญชี 5 ไม่มี ring มี จานวน ....................................... )กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายสุทธิ ไม่มี )กวา่ คา่ ใช้จ่ายสะสม มี จานวน ....................................... การแก้ไขขอ้ ผิดพลาด ไม่มี ะหวา่ งหน่วยงาน - มี จานวน ....................................... ลัง ไมม่ ี คงคา้ ง มี จานวน ....................................... ละบญั ชพี กั เงินสดรบั ไม่มี ring ารโอนสินทรพั ย์ รรบั โอนสินทรพั ย์ ชการ-รายได้รับแทนกนั

ข้อ ประเดน็ การสอบทาน เกณฑ์การสอบทาน (6) บญั ชเี จา้ หนี้สว่ นราชก (7) บญั ชภี าษหี ัก ณ ท (8) บญั ชีเบิกเกินส่งคืน (9) บญั ชพี กั ค่าใชจ้ า่ ย (10)บัญชปี รบั หมวดรา 3 ความถูกต้องของงบการเงิน ณ สน้ิ ปีงบประมาณ 3.1 บั ญ ชีวัสดุคงคลัง และบั ญ ชี ยอดคงเหลือในรายงานผลการตรวจสอบ 1. บญั ชวี สั ดุคงคลัง ตามร ครุภัณฑ์ มียอดเงินคงเหลือ ณ วันที่ พัสดุประจาปี ตรวจสอบพัสดุประจา 30 กนั ยายน ถกู ตอ้ ง รายการ จานวน ........ 2. บัญชีครุภณั ฑ์ ตามราย ตรวจสอบพสั ดุประจา รายการ จานวน ........ 3.2 การป รับ ป รุงบั ญ ชีครบ ถ้วน รายการบัญชีที่ต้องปรับปรุงตาม 1. หน่วยเบิกจ่ายบันทึก ถูกตอ้ ง ภายในระยะเวลาท่กี าหนด หลักการบัญชีเกณฑ์คงค้าง ได้รับ บัญชีตามเกณฑ์คงค้าง การปรับปรุงบัญชีครบถ้วนถูกต้อง ภายใน 30 วัน นับจากวัน ภ าย ใน 30 วัน นั บ จ าก วัน สิ้ น (1) รายได้คา้ งรบั ปีงบประมาณ (2) รายไดร้ ับลว่ งหน้า

ผลการสอบทาน แหลง่ ข้อมลู เอกสาร/ หลกั ฐาน ชการ-รายไดร้ บั แทนกนั มี จานวน ....................................... ท่ีจา่ ยรอนาส่ง ไม่มี นรอนาสง่ มี จานวน ....................................... ย ไมม่ ี ายจา่ ย มี จานวน ....................................... ไม่มี มี จานวน ....................................... 124 ไม่มี มี จานวน ....................................... ไมม่ ี รายงานผลการ ยอดเงินคงเหลือบัญชีวัสดุคงคลัง บัญชีครุภัณฑ์ 1. งบทดลอง าปี ........... ตามงบทดลองตรงกับสรุปรายงานผลการตรวจสอบ 2. รายงานผลการตรวจสอบพัสดุ ..... บาท พัสดุประจาปแี ละทะเบียนทรัพย์สิน ประจาปี ยงานผลการ 3. ทะเบยี นทรพั ยส์ นิ าปี ........... ใช่ ..... บาท ไมใ่ ช่ ............................................................. 1. งบทดลองงวด 1 – 16 กรายการปรับปรุง ....................................................................... 2. รายละเอียดประกอบรายการบัญชี งในระบบ GFMIS 3. เอกสารหลกั ฐานการปรบั ปรงุ ใน นส้นิ ปีงบประมาณ ใช่ ระบบ ไม่ใช่ เน่อื งจาก .............................................. า ใช่ ไม่ใช่ เนอ่ื งจาก ..............................................

ขอ้ ประเด็นการสอบทาน เกณฑ์การสอบทาน (3) รายได้แผน่ ดนิ รอน (4) วสั ดคุ งคลัง/ค่าวสั (5) ค่าใชจ้ ่ายค้างจา่ ย (6) คา่ ใช้จา่ ยลว่ งหนา้ (7) ค่าเสื่อมราคา/ค่าต (8) คา่ เผือ่ หน้ีสงสยั จะ 3.3 การปิดบัญชีถูกต้องภายในระยะเวลา ปิดบญั ชรี ายได้และคา่ ใชจ้ า่ ยถูกตอ้ ง การปิดบัญชีรายได้สูง/( ท่ีกาหนด ตามหลักการบัญชีเกณฑ์คงค้าง สุทธิ และบัญชีผลสะส ภ ายใน 30 วัน นับ จากวันส้ิน ข้อผิดพลาด โดยปิดบัญ ปงี บประมาณ กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิตามจา ในช่อง “ยอดยกไป” เข (ต่า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม วนั นับจากวันส้นิ ปีงบประ 4 การจดั ส่งงบการเงินให้หนว่ ยงานท่ี รายงานประจาเดอื น เกี่ยวขอ้ ง ถกู ต้องครบถ้วนและภายใน 1. มีก ารส่งราย งาน งบ ท ดลอ ง 1. หน่วยเบิกจ่ายส่งรา ระยะเวลาทก่ี าหนด ประจาเดือนให้สานักงานการตรวจ ประจาเดือนจากระบบ G เงนิ แผ่นดินภูมิภาคทกุ เดอื น ภายใน การตรวจเงินแผ่นดินส่วน วนั ท่ี 15 ของเดือนถดั ไป ภายในวนั ที่ 15 ของเดือน

ผลการสอบทาน แหลง่ ขอ้ มลู เอกสาร/ หลกั ฐาน นาสง่ คลงั ใช่ 125 ไมใ่ ช่ เนื่องจาก .............................................. งบทดลอง งวด 1 - 16 สดุ ใช่ ไมใ่ ช่ เนื่องจาก .............................................. า ใช่ ไม่ใช่ เน่อื งจาก .............................................. ตัดจาหนา่ ย ใช่ ไม่ใช่ เนอ่ื งจาก .............................................. ะสญู ใช่ ไมใ่ ช่ เนอ่ื งจาก .............................................. (ต่า)กว่าค่าใช้จ่าย ใช่ สมจากการแก้ไข ไม่ใช่ เนื่องจาก .............................................. ญชีรายได้สูง/(ต่า) านวนเงินคงเหลือ ใช่ ข้าบัญชีรายได้สูง/ มยกมา ภายใน 30 ไมใ่ ช่ เนอ่ื งจาก .............................................. ะมาณ ายงานงบทดลอง ใช่ สง่ วันที่ .......................................... หนังสือนาส่งของหน่วยงาน พร้อม GFMIS ให้สานักงาน นภูมิภาคทุกเดือน ไมใ่ ช่ เน่อื งจาก .............................................. รายละเอยี ดท่ีจัดส่ง นถดั ไป

ขอ้ ประเด็นการสอบทาน เกณฑ์การสอบทาน 2. มีการจัดส่งรายงานการขอเบิก 2. การจัดส่งรายงานส จ่ า ย เงิ น ข อ งห น่ ว ย ง า น เงินจากคลังประจาเดือน ส่งคลัง ภายในวนั ที่ 10 ของเดอื น จังหวัด ภายในวันท่ี 10 ของเดือน 1. การจัดทารายงานการเง ประกอบรายการบัญชีท่ีสา ถัดไป และเปดิ เผยสสู่ าธารณะ รายงานประจาปี 2. การจัดส่งรายงานงบ 1. มีการจัดทารายงานงบทดลอง งบประมาณ และรายงา ประจาปี ประกอบด้วย รายงาน เงินทดรองราชการ ให้สาน งบ ท ด ล อ งป ร ะ จ า ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ แผ่นดินส่วนภูมิภาค ภาย แ ล ะ ร า ย งา น ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ วนั สน้ิ ปงี บประมาณ โดยรา เงินทดรองราชการ เงินทดรองราชการรายปี ปร 2. จั ดส่ งราย งาน ให้ ส านั ก งาน การตรวจเงนิ แผ่นดินหรือสานักงาน - รายงานฐานะเงินท ก ารตรวจ เงิน แ ผ่น ดิน ภู มิ ภ าค ภ าย ใน 60 วัน นั บ จ าก วัน สิ้ น ปงี บประมาณ - รายงานลกู หน้ีเงิน - งบพิสูจน์ยอดเง เงินทดรองราชการ

ผลการสอบทาน แหลง่ ขอ้ มลู เอกสาร/ หลักฐาน ส รุ ป ร า ย ก า ร เบิ ก ใช่ ส่งวันท่ี ......................................... น ใ ห้ ค ลั งจั งห วั ด ไมใ่ ช่ เนอ่ื งจาก .............................................. หนังสือนาส่งของหน่วยงาน พร้อม นถดั ไป รายละเอยี ดทจี่ ดั ส่ง งนิ แสดงรายละเอยี ด ใช่ 1. งบทดลองงวด 1 – 16 126 าคัญของงบทดลอง ไม่ใช่ เนอ่ื งจาก .............................................. 2. รายละเอียดประกอบรายการบญั ชี 3. เอกสารหลักฐานการปรับปรุงใน บ ทดลอ งป ระจ าปี ใช่ สง่ วนั ท่ี ......................................... ระบบ านที่ เกี่ ยวข้ องกั บ ไมใ่ ช่ เนื่องจาก .............................................. นักงานการตรวจเงิน 1. รายงานงบทดลองประจาปี ยใน 60 วันนับจาก ทา 2. รายงานฐานะเงินทดรองราชการ ายงานที่เกย่ี วข้องกับ ไม่ทา เนื่องจาก ............................................. 3. รายงานลูกหน้ีเงินทดรองราชการ ระกอบด้วย ทา 4. งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ทดรองราชการ ไม่ทา เนื่องจาก ............................................. เงินทดรองราชการ ทา 5. หนังสือนาส่งของห น่วยงาน นทดรองราชการ ไม่ทา เนอ่ื งจาก ............................................. พรอ้ มรายละเอียดทจี่ ดั สง่ งิ น ฝ า ก ธ น า ค า ร ผูส้ อบทาน ..................................................... วนั ที่ .....................................................

ตวั อย่าง กระดาษทาการสรุปผล - ตวั อย กระดาษทากา การสอบทานการปฏบิ ัตงิ านดา้ นบ ข้อ ประเด็น เกณฑ์ 1 ความถูกตอ้ งของยอดคงเหลือในช่อง “ยอดยกไป” ของบญั ชีแยกประเภทในงบทดลอง 1.1 บญั ชเี งนิ สดถูกต้อง เงินสดในมือคงเหลือถูกต้องตรงกับบัญช รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวนั มือ 1.2 บัญชีเงนิ ฝากธนาคารถกู ต้อง บญั ชีเงนิ ฝากธนาคารทกุ บัญชี มีการจัดท 1.3 บัญชเี งินฝากคลังถกู ตอ้ ง ยอดเงินคงเหลือบัญชีเงินฝากคลังจาก รายงานแสดงการเคลื่อนไหวเงนิ ฝากคลงั ท 1.4 บญั ชีลูกหนเี้ งินยืมถูกตอ้ ง ยอดคงเหลือบัญชีลูกหนี้ในงบประมาณ งบทดลองถกู ตอ้ งตรงกบั รายละเอยี ดสญั ญ 1.5 บัญชีใบสาคัญค้างจ่าย บัญชีเจ้าหนี้การค้า-หน่วยงาน ยอดคงเหลือตามงบทดลองถูกต้องตรงก ภาครฐั และบัญชีเจา้ หน้ีการคา้ -บคุ คลภายนอก ถูกต้อง และหลักฐานการขอเบิกหรือเอกสารแส คนื แกเ่ จ้าหนหี้ รอื ผูม้ สี ิทธท์ิ ีย่ ังไมไ่ ด้จ่ายเงิน 2 ความถกู ตอ้ งของดุลบัญชแี ละงบการเงนิ 1. รายการบัญชใี นงบการเงนิ แสดงคงเหล 2. บัญชีพักไมแ่ สดงยอดคงเหลือ 3 ความถกู ต้องของงบการเงิน ณ สน้ิ ปีงบประมาณ 3.1 บญั ชีวสั ดุคงคลงั และบัญชีครุภณั ฑ์ มียอดเงินคงเหลือ ยอดคงเหลอื ในรายงานผลการตรวจสอบพ ณ วันที่ 30 กันยายน ถูกต้อง 3.2 การปรับปรุงบัญชีครบถ้วนถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ รายการบัญชีที่ต้องปรับปรุงตามหลักกา กาหนด การปรับปรุงบัญชีครบถ้วนถูกต้องภาย ปีงบประมาณ 3.3 การปดิ บญั ชีถกู ต้องภายในระยะเวลาทก่ี าหนด ปิดบัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายถูกต้องตาม ภายใน 30 วัน นบั จากวันสิ้นปีงบประมาณ

ย่าง - ข้อสงั เกต ารสรปุ ผล 127 บญั ชตี ามเกณฑก์ รมบญั ชกี ลาง ผลการดาเนนิ งาน ชีเงินสดตามงบทดลองและ ทางบกระทบยอดถูกตอ้ ง กงบทดลองถูกต้องตรงกับ ทุกบัญชี ณและนอกงบประมาณตาม ญายมื เงนิ ทย่ี งั ไมส่ ่งใช้ กับรายละเอียดฎีกาค้างจ่าย สดงภาระผูกพันที่ต้องชาระ น ลอื ตามดลุ บญั ชปี กติ พัสดปุ ระจาปี ารบัญชีเกณฑ์คงค้าง ได้รับ ยใน 30 วันนับจากวันสิ้น มหลักการบญั ชีเกณฑ์คงค้าง ณ

ขอ้ ประเด็น เกณฑ์ 4 การจัดส่งงบการเงนิ ให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ถูกต้อง ครบถ้วน รายงานประจาเดือน และภายในระยะเวลาทีก่ าหนด 1. มีการส่งรายงานงบทดลองประจ ตรวจเงินแผน่ ดนิ ภมู ภิ าคทกุ เดอื น ภายใน 2. มีการจัดส่งรายงานการขอเบิกเง ส่งคลังจังหวัด ภายในวนั ท่ี 10 ของเดือนถ รายงานประจาปี 1. มีการจัดทารายงานงบทดลองประจา งบทดลองประจาปีงบประมาณ และ เงนิ ทดรองราชการ 2. จัดส่งรายงานให้สานักงานการตรวจ ก า ร ต ร ว จ เงิน แ ผ่ น ดิ น ภู มิ ภ า ค ภ วนั ส้นิ ปงี บประมาณ

ผลการดาเนนิ งาน ขอ้ สังเกต า เดื อ น ให้ ส า นั ก งา น ก า ร นวันที่ 15 ของเดือนถดั ไป งินจากคลังประ จาเดือน ถดั ไป าปี ประกอบด้วย รายงาน ะ ร า ย ง า น ที่ เก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ เงินแผ่นดินหรือสานักงาน ภ า ย ใน 6 0 วั น นั บ จ า ก 128

129 3. การติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณในส่วนของงบลงทนุ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้กาหนดมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย เป็นประจาทุกปี โดยให้ส่วนราชการ/หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบัติ ซ่ึงงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล เป็นปัจจัยสาคัญสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะงบลงทุนซึ่งมีผลต่อ ความยง่ั ยืนในการพัฒนาภาพรวมทางเศรษฐกิจ และส่วนราชการสว่ นใหญเ่ บิกจ่ายได้ล่าชา้ เนื่องจาก ขั้นตอนในการจัดหาต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินงานนาน ส่งผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณ ของส่วนราชการไม่เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี ด้วยเหตุดังกล่าว จึงได้กาหนดให้มีการติดตาม การใชจ้ ่ายงบประมาณงบลงทุนขึน้ วธิ ีการสอบทาน 1. ศึกษามติของคณะรัฐมนตรีตามมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ข องแ ต่ ล ะปี ว่ าได้ ก าห น ด เป้ าห ม าย ก ารเบิ ก จ่ าย เงิน งบ ป ระม าณ ราย จ่ าย ง บ ล งทุ น ไว้อ ย่ างไร โดยจะกาหนดเปา้ หมายการเบกิ จา่ ยเปน็ รายไตรมาส สว่ นใหญเ่ ปา้ หมายจะเท่าๆ กันเกอื บทุกปี เช่น อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนตามมติคณะรัฐมนตรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แจ้งตามหนังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร 0505/ว 461 ลงวนั ท่ี 14 กันยายน 2560 ดงั น้ี 1.1 ผลการเบกิ จา่ ยเงนิ รายไตรมาสแสดงตาราง รายไตรมาส ร้อยละการเบิกจ่าย ร้อยละการเบิกจา่ ยสะสม ไตรมาสท่ี 1 21.11 21.11 ไตรมาสท่ี 2 22.00 43.11 ไตรมาสที่ 3 22.00 65.11 ไตรมาสที่ 4 22.89 88.00 1.2 รายจ่ายงบลงทุนปีเดียว จะต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสท่ี 1 ยกเว้น รายการท่ีคุณลักษณะพิเศษหรือจัดหาจากต่างประเทศ รายจ่ายลงทุนท่ีมีวงเงินต่อรายการเกิน 1,000 ลา้ นบาท และรายการลงทุนผูกพันรายการใหม่ จะตอ้ งกอ่ หน้ผี กู พนั ใหแ้ ล้วเสร็จภายในไตรมาสท่ี 2 1.3 เม่ือสานักงบประมาณได้ให้ความเห็นชอบแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และจัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการแล้ว ขอให้เร่งรัด ดาเนินการโอนจัดสรรงบประมาณท่ีดาเนินการในเขตพื้นที่จังหวัด ไปยังสานักเบิกในภูมิภาคโดยเร็ว อยา่ งช้าไม่เกนิ วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2560 2. จัดทาแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลของหน่วยรับตรวจจากรายงานผลการใช้จ่ายเงิน งบประมาณในส่วนของงบลงทนุ จากระบบ GFMIS และเอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง 3. นารายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุนจากระบบ GFMIS ของแตล่ ะหน่วยรบั ตรวจ เปรียบเทียบกับเป้าหมายการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณตามทีม่ ติคณะรัฐมนตรีกาหนด 4. วิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยรับตรวจท่ีมีปัญหาไม่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเป้าหมาย แล้วดาเนินการตรวจสอบหาสาเหตเุ พ่ือใหข้ อ้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไข

130 วตั ถปุ ระสงค์ของการสอบทาน 1. เพ่ือทราบว่า การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนเป็นไปตามเป้าหมาย การเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณประจาปที ี่คณะรัฐมนตรีกาหนด 2. เพ่ือทราบปัญหา/อุปสรรคในการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุน และ ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแกไ้ ข ประเด็นและเกณฑ์การตดิ ตาม ประเด็นที่ 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีในส่วนของงบลงทุนเป็นไปตาม ท่ีคณะรฐั มนตรกี าหนด เกณฑ์ ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทนุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 เท่ากับหรือสูงกวา่ อตั ราทคี่ ณะรฐั มนตรกี าหนด ประเด็นที่ 2 การดาเนนิ การก่อหนี้ผกู พนั เป็นไปตามระยะเวลาทกี่ าหนด เกณฑ์ 1. รายการงบลงทุนรายจ่ายปีเดียวทุกรายการ (รายการที่คุณลักษณะพิเศษ หรือจัดหาจากต่างประเทศ) ก่อหนี้ผูกพันภายในเดือนธันวาคม 2560 2. รายการที่คณุ ลกั ษณะพิเศษหรือจัดหาจากต่างประเทศ รายจ่ายลงทนุ ทีม่ วี งเงินตอ่ รายการเกิน 1,000 ล้านบาท และรายการลงทนุ ผกู พนั รายการใหม่ ทุกรายการก่อหนีผ้ กู พันภายในเดือนมีนาคม 2560 ประเด็นที่ 3 หนว่ ยงานไดร้ บั จดั สรรงบประมาณภายในระยะเวลาท่ีกาหนด เกณฑ์ หน่วยงานไดร้ บั จัดสรรงบประมาณในระบบ GFMIS อย่างช้าไมเ่ กินวันท่ี 6 ตลุ าคม 2560 เครือ่ งมอื 1. แนวทางการปฏิบัตงิ าน (Engagement Plan) 2. กระดาษทาการท่ใี ช้ในการสอบทาน 2.1 แบบสอบถามการเบิกจ่ายงบประมาณลงทนุ 2.2 กระดาษทาการรายงานการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทนุ รายไตรมาส 2.3 กระดาษทาการเก็บรายละเอียดการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสม 2.4 กระดาษทาการรายงานการเบิกจา่ ยงบประมาณในระบบ GFMIS 2.5 กระดาษทาการตดิ ตามการใช้จา่ ยงบประมาณในส่วนของงบลงทุน ระเบยี บ และแนวทางการปฏบิ ัตงิ านท่ีเกี่ยวข้อง 1. หนังสือแจ้งเวียนมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี ทคี่ ณะรัฐมนตรีกาหนด 2. หนงั สอื เวยี นและแนวทางมาตรการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

131 ตวั อยา่ ง แผนการปฏบิ ตั งิ าน (Engagement Plan) - ตวั อย่าง - แผนการปฏบิ ัติงาน (Engagement Plan) เรอ่ื ง การติดตามการใชจ้ ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ……… วตั ถปุ ระสงคก์ ารติดตาม 1. เพื่อทราบว่า การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนเป็นไปตามเป้าหมาย การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณประจาปที ่ีคณะรฐั มนตรกี าหนด 2. เพ่ือทราบปัญหา/อุปสรรคในการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนแล ะ ใหข้ ้อเสนอแนะในการปรับปรุงแกไ้ ข ขอบเขตการสอบทาน 1. หน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในเขตจังหวัด 2. งบประมาณงบลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ……… ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการสอบทาน สน้ิ สุดตง้ั แต่ไตรมาสที่ 1 , 2 , 3 และ 4

- ตวั อย แนวทางการปฏิบัติงาน เรื่อง การตดิ ตามการ ข้อ ประเดน็ การตดิ ตาม เกณฑก์ ารตดิ ตาม 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีใน ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุน ส่วนของงบลงทุนเป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ...... เท่ากับหรือสูงกว่า กาหนด อตั ราทคี่ ณะรฐั มนตรกี าหนด 2 การดาเนินการก่อหน้ีผูกพัน เป็นไปตาม 1. รายการงบลงทุนรายจ่ายปเี ดยี วทุกรายการ (รายการท่ี ระยะเวลาทีก่ าหนด คุณลักษณะพิเศษหรือจัดหาจากต่างประเทศ) ก่อหนี้ ผูกพนั ภายในเดือนธนั วาคม ....... 2. รายการท่ีคุณ ลักษ ณ ะพิเศษ หรือจัดหาจาก ต่างประเทศ รายจ่ายลงทุนท่ีมีวงเงินต่อรายการเกิน 1,000 ล้านบาท และรายการลงทุนผูกพันรายการใหม่ ทกุ รายการกอ่ หน้ี ผูกพันภายในเดอื นมนี าคม ....... 3 หน่วยงานได้รับจัดสรรงบประมาณภายใน หน่วยงานได้รับจัดสรรงบประมาณในระบบ GFMIS ระยะเวลาท่กี าหนด อยา่ งช้าไมเ่ กนิ วนั ที่ .............. ผ้จู ดั ทา ........................................................... วันท่ี ...............................................................

ยา่ ง - รใช้จ่ายงบประมาณในสว่ นของงบลงทนุ วธิ กี ารตดิ ตาม แหลง่ ขอ้ มลู / 132 กระดาษทาการ 1. จดั สง่ แบบสอบถามให้หน่วยรบั ตรวจในสังกัดเพื่อทราบผล เครือ่ งมอื การดาเนินงานภาพรวม สาเหตุ และปัญหาอุปสรรคในการ 1. แบบสอบถาม ดาเนนิ งานงบประมาณท่ไี ดร้ ับตามมติคณะรัฐมนตรี 2. กระดาษทาการติดตาม 2. ตรวจสอบติดตามดาเนินงานจากรายงานสถานการ เบิกจ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานในระบบ GFMIS - รายงานสถานะการเบิกจา่ ยงบประมาณ 3. สอบทานสถานการดาเนินงาน สาเหตุและปญั หาอุปสรรค ในการดาเนินงาน โดยเปรยี บเทียบผลการดาเนินงานตามข้อ (จากระบบ GFMIS) 2 กับเกณฑ์ทก่ี าหนด 3. กระดาษทาการสอบทานระบบการ - กรณีท่ีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด ให้ตรวจสอบ รายการนน้ั กับข้อมูลจากแบบสอบถามตามขอ้ ท่ี 1 เพือ่ ทราบ ควบคุม การบริหารความเส่ียง และการ สาเหตแุ ละปญั หาอปุ สรรค กากับดูแลการดาเนินงานงบประมาณตาม - กรณีท่ีหน่วยงานมิได้รายงานตามข้อ 1 หรือรายงานไม่ ชดั เจน ใหป้ ระสานขอข้อมูลเพ่ิมเตมิ มติคณะรฐั มนตรี 4. สอบทานระบบการควบคุม การบริหาร ความเส่ียง และ ก ารก ากั บ ดูแลก ารดาเนิ น งาน งบ ป ระมาณ ตาม ม ติ คณะรัฐมนตรี เพ่ือทราบจดุ อ่อนความเสยี่ ง 5. สรุปผลการติดตามในกระดาษ ทาการสรุปผลการ ตรวจสอบ ผู้อนุมตั ิ .............................................................. วันท่ี ...................................................................

ตัวอยา่ ง กระดาษทาการตดิ ตามการใช้จา่ ยงบประมาณตามมติคณะรฐั มนตรี - ตวั อยา่ แบบตดิ ตามการใช้จ่ายงบประม ชอ่ื หน่วยรบั ตรวจ ................ ข้อมลู ณ วันที่ ................. งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จัดสรร การทาส ลาดับ รายการ วงเงิน ภายใน 6 ต.ค. ..... ภายใน ธ.ค. .... ม.ค. – (/ ใช่ , X ไม่ใช)่ สงิ่ ก่อสรา้ ง 1 ปรับปรงุ อาคาร ..... 2 ครุภณั ฑ์ 1 ครภุ ัณฑค์ อมพวิ เตอร์ 2 ข้อคดิ เหน็ เพ่มิ เติม ....................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... หมายเหตุ ก สาเหตุที่หน่วยงานยังไม่ก่อหนผ้ี ูกพนั 1. หน่วยงานไม่ดาเนินการจดั ซอื้ จดั จา้ งทันทที ่ไี ด้รับอนมุ ัติจดั สรร 2. ล่าชา้ ในขั้นตอนการจัดสรร 3. ลา่ ชา้ ในข้นั ตอนการอนุมัติเงนิ งวด 4. ล่าชา้ ในข้นั ตอนการกาหนด/ปรบั แบบรูปรายการ/สเปค 5. ลา่ ช้าในข้ันตอนรอแบบ/สเปค จากส่วนกลาง 6. ล่าช้าในขน้ั ตอนกาหนดราคากลาง 7. มกี ารเปลยี่ นแปลงแบบ/สถานทีก่ อ่ สร้าง/สเปค 8. ไมส่ ง่ สญั ญามือมาบนั ทกึ PO ในระบบ GFMIS 9. ไม่มผี ูเ้ สนอราคา เน่ืองจากราคากลางต่า 10. ไมม่ ีผเู้ สนอราคา เนื่องจากรายละเอยี ดการดาเนินการยงุ่ ยาก 11. ไม่มผี ู้เสนอราคา เนอื่ งจากผู้ขาย/ผู้รบั จา้ งนอ้ ยราย 12. ไม่มผี เู้ สนอราคา เน่ืองจากสถานท่ดี าเนนิ การห่างไกล 13. ไม่มผี เู้ สนอราคา เนอื่ งจาก .......................................... 14. ผูเ้ สนอราคาไมม่ าทาสญั ญา 15. สาเหตอุ ่นื ๆ ระบุ .....................................................

าง - มาณตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ..................................... .................................. สญั ญา ยังไม่ทา จานวนเงิน หมายเหตุ ก จานวนเงนิ หมายเหตุ ข – ม.ี ค. .... สญั ญา ตามสญั ญา ระบุหมายเลข เบิกจ่าย ระบหุ มายเลข สาเหตุทย่ี ังไมก่ อ่ สาเหตุที่ยังไม่ หน้ี เบกิ จา่ ย 133 ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ รายชอ่ื ผ้ปู ระสาน ...................................... โทร ......................................................... หมายเหตุ ข รายละเอียดทห่ี นว่ ยงานยังไม่เบิกจา่ ย 1. ยงั ไม่เรมิ่ ดาเนินการตามสัญญา 2. ยังไม่ส่งมอบพืน้ ท่ี 3. มกี ารปรับแบบ/สเปค หลังทาสญั ญา 4. ยงั ไมค่ รบกาหนดสง่ มอบงานตามสัญญา 5. สง่ พสั ด/ุ งานจา้ งแลว้ อยูร่ ะหวา่ งรอการตรวจรบั /ตรวจการจา้ ง 6. อย่รู ะหว่างการตรวจรับ/ตรวจการจา้ ง 7. อยูร่ ะหวา่ งตรวจสอบเอกสารการเบกิ จ่าย 8. ส่งงานช้ากว่างวดงาน เนื่องจากฝนตก น้าทว่ ม 9. สง่ งานล่าชา้ เน่อื งจากรับงานหลายแห่งยังไม่มาทา 10. สง่ งานชา้ เนอื่ งจากขาดแคลนแรงงาน 11. ครภุ ณั ฑ์ ส่งงานช้า เนอ่ื งจากขาดแคลนแรงงาน 12. ตรวจรบั งานลา่ ช้า เนือ่ งจากผรู้ บั จ้าง/ผขู้ ายสง่ พสั ดุไม่ถกู ตอ้ ง อ่นื ๆ ระบุ .........................................................

134 ตัวอย่าง กระดาษทาการสอบทานการกากับดแู ล การควบคุม และการบริหารความเสยี่ ง - ตัวอยา่ ง - แบบสอบทานการกากบั ดูแล การควบคุม และการบรหิ ารความเสยี่ ง การดาเนินงานงบประมาณตามมติคณะรฐั มนตรี ข้อมูล ณ วันที่ ......................................................... การดาเนินงาน ลาดบั รายการ / = มี, ทา, ใช่ รายละเอยี ด หมายเหตุ X=ไม่มี,ไม่ทา,ไม่ใช่ ระบุ การกากับดแู ล 1 กาหนดให้มผี ูร้ บั ผิดชอบในการตดิ ตามผลการดาเนินงานท่ชี ดั เจน 2 ผรู้ ับผิดชอบตดิ ตามผลการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เร่ิมดาเนินการ (กาหนดแบบ สเปค ราคากลาง TOR) 3 ผู้ท่ีรับผิดชอบกากับติดตามผลการดาเนินงาน ได้ช่วยเหลือแนะนา หนว่ ยงานในสังกัด เพื่อใหก้ ารดาเนินงานเป็นไปตามมาตรการที่กาหนด 4 อน่ื ๆ ระบุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. การควบคมุ ภายใน 1 บุคลากรด้านพสั ดเุ ปน็ ผมู้ คี วามรู้ ทักษะในการดาเนินการจัดซือ้ จดั จ้าง 2 หน่วยงานมีการจัดทาแผนการจัดซื้อจัดจ้างรายการครุภัณฑ์เกิน 100,000 บาท และกอ่ สรา้ งเกนิ 1,000,000 บาท 3 หนว่ ยงานมีการจดั ทาแผนการจดั ซื้อจัดจ้างรายการงบประมาณเกนิ 500,000 บาท 4 แผนการจดั ซื้อจัดจ้างสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี 5 กาหนดใหง้ านพสั ดุรายงานผลการดาเนนิ งานเปน็ ระยะๆ 6 กรณีท่ีหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการตามปฏิทินการปฏิบัติงานได้ มรี ะบบหรอื แนวทางในการชว่ ยเหลอื แนะนา เพ่อื แก้ปัญหา 7 อ่ืนๆ ระบุ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………. การบริหารความเสยี่ ง หนว่ ยงานได้มกี ารเตรยี มการบริหารจดั การความเสย่ี งในกรณีดังต่อไปน้ี 1 กรณที ี่ตอ้ งเปลยี่ นแปลงแบบ/สเปค 2 กรณีทีไ่ ม่มผี มู้ ายื่นซองเสนอราคา 3 กรณพี น้ื ท่ีไมพ่ รอ้ มส่งมอบ 4 กรณที ผ่ี รู้ บั จา้ งไมม่ าดาเนนิ การตามสญั ญา 5 กรณที ผ่ี ูร้ ับจ้าง/ผ้ขู ายไมส่ ง่ มอบพัสดุ/งานจา้ ง 6 อน่ื ๆ ระบุ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………. ความตอ้ งการใหช้ ว่ ยเหลอื สนับสนนุ เพอ่ื ใหด้ าเนินการได้ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... ผู้ใหข้ อ้ มลู .............................................. วนั ท่ีรายงาน ...........................................

135 ตัวอยา่ ง กระดาษทาการสรุปผล - ตัวอยา่ ง - กระดาษทาการสรปุ ผล การตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทนุ ข้อ ประเด็นการตดิ ตาม เกณฑก์ ารตดิ ตาม ผลการดาเนนิ งาน ขอ้ สังเกต 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วน ประจาปีในส่วนของงบลงทุน ของงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรี พ.ศ. ....... เท่ากับหรือสูงกว่าอัตราที่ กาหนด คณะรฐั มนตรกี าหนด 2 การดาเนินการก่อหนี้ผูกพัน 1. รายการงบลงทุนรายจ่ายปีเดียวทุก เป็ นไปตามระยะเวลาท่ี รายการ (รายการที่คุณลักษณะพิเศษ กาหนด หรือจัดหาจากต่างประเทศ) ก่อหน้ี ผูกพันภายในเดอื นธนั วาคม ......... 2. รายการที่คุณลักษณะพิเศษหรือ จดั หาจากต่างประเทศ รายจ่ายลงทุน ท่ีมีวงเงินต่อรายการเกิน 1,000 ล้าน บาท และรายการลงทุนผูกพันรายการ ใหม่ ทุกรายการก่อหนี้ ผูกพันภายใน เดือนมีนาคม ........... 3 ห น่ วยงานได้ รั บ จั ดสรร หน่วยงานได้รับจัดสรรงบประมาณ งบประมาณภายในระยะเวลา ในระบ บ GFMIS อย่างช้าไม่เกิน ที่กาหนด วันที่ .............

137 บทท่ี 8 การประเมนิ ผลและการประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดต้องปรับปรุงและรักษาคุณภาพ งานตรวจสอบภายในใหค้ รอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้การปฏิบัติงานเปน็ ไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และจรยิ ธรรมในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ท้งั นี้การประเมินผล ดาเนินการจาก2 สว่ น 1. การประเมินผลจากภายใน การประเมนิ ผลจากภายใน เป็นการติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัติงานอย่างตอ่ เน่ือง เป็นระยะๆ โดยการประเมินตนเอง หรือโดยบุคคลอื่นท่ีอยู่ภายในส่วนราชการท่ีมีความรู้เก่ียวกับ การปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน ซง่ึ ในคมู่ ือเลม่ นจี้ ะกลา่ วถึงเฉพาะการประเมนิ ตนเอง เท่าน้นั 2. การประเมินผลจากภายนอก การประเมินผลจากภายนอก เป็นการประเมินตามเกณฑ์การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ภาครัฐท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด และการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านตามเกณฑท์ ่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด โดยในค่มู ือเลม่ นี้จะกล่าวเฉพาะการประเมินตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ กาหนด เพ่ือเตรียมความพร้อมให้หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด พร้อมรองรับ การประกนั คณุ ภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐทก่ี รมบญั ชีกลางกาหนด ตอ่ ไป การประเมินตนเอง หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดต้องทาการประเมินตนเองตามแบบ ประเมินตนเองท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด ปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนพฤศจิกายน โดยให้สอบทาน และประเมินผลการปฏบิ ัติงานตนเองในรอบปที ่ีผา่ นมา เพื่อให้ทราบถึงผลการดาเนินงาน และเพื่อให้ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการรักษา และปรับปรุงคุณภาพ การตรวจสอบภายในให้เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และจริยธรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน อันจะช่วยสนับสนุนให้งานตรวจสอบภายในสามารถสร้างคุณค่าเพิ่มให้กับ สว่ นราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษา ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วิธกี ารจัดทา 1. ศึกษาหนังสอื ส่ังการและแบบประเมนิ ตนเองทก่ี รมบัญชกี ลางกาหนด 2. สอบทานผลการปฏิบัติงานของตนเองในรอบปีท่ีผ่านมา แล้วทาการประเมินผล ตามรายการท่ีกาหนดในแบบประเมินตนเองโดยอาจให้ผู้ตรวจสอบภายในทุกคนทาการประเมินผล และนามาประมวลผลภาพรวม หรืออาจดาเนินการดว้ ยการประชมุ ร่วมกัน 3. สรุปผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในของส่วนราชการในภาพรวมของหน่วยตรวจสอบภายใน โดยการสรปุ ผลในแตล่ ะข้อ สรุปผลการประเมินในภาพรวมในแต่ละหมวด และสรุปผลการประเมินในภาพรวมในแต่ละด้าน ได้แก่ มาตรฐานดา้ นคุณสมบัติ มาตรฐานด้านการปฏบิ ตั งิ านและจริยธรรมการปฏิบตั งิ าน

138 4. วิเคราะห์ผลการประเมินที่เกิดข้ึน โดยการเปรียบเทียบผลการประเมิน กับมาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในของส่วนราชการทีก่ าหนด เพอื่ ให้ ทราบถึงจุดแข็ง จดุ อ่อน หาสาเหตุของปัญหา อุปสรรค และข้อจากัดในแต่ละเรื่อง ซ่ึงเกิดขึ้นได้จาก สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ เช่น โครงสร้างหน่วยตรวจสอบภายในขึ้นตรงต่อรองศึกษาธิการจังหวัด อัตรากาลังของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานทาให้ผู้บริหารมอบหมาย ให้ผู้ตรวจสอบภายในไปปฏิบัติด้านการเงินการบัญชีและการพัสดุ เป็นต้น และเกิดข้ึนได้ จากสภาพแวดล้อมของหน่วยตรวจสอบภายในเอง เช่น ผู้ตรวจสอบภายในไม่มีความรู้เก่ียวกับ งานก่อสร้าง เป็นตน้ 5. หาแนวทางในการปรับปรุงให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น พร้อมทั้ง แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในแล้วจัดทาแผนการพัฒนา และปรับปรุงการปฏิบตั งิ านใหด้ ีย่ิงขน้ึ 6. สรุปผลการประเมินตนเอง แล้วจัดทารายงาน เสนอศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือทราบ และพิจารณาสั่งการ พร้อมส่งสาเนาให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด เครื่องมอื - แบบประเมนิ ตนเองของหนว่ ยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ (Self – Assessment) - แนวทางการประเมนิ ตนเอง Download จากเว็บไซต์ http://www.cgd.go.th/cs/internet/internet.html - รูปแบบการรายงานผลการประเมนิ ตนเอง แบบประเมนิ ตนเองของหนว่ ยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ

139 - แบบฟอร์ม - แบบประเมนิ ตนเอง ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ........................... สว่ นที่ ๑ หน่วยงานตรวจสอบภายในสงั กัด กรม ...................................... กระทรวง .................................................... จานวนบุคลากร ............................................... คน ประกอบด้วย หวั หนา้ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ชื่อ – นามสกลุ .................................................................................ตาแหน่ง....................................................... เจ้าหนา้ ทีต่ รวจสอบภายใน ๑. ชอ่ื – นามสกลุ ......................................................................ตาแหน่ง....................................................... ๒. ชื่อ – นามสกุล......................................................................ตาแหน่ง....................................................... ๓. ชื่อ – นามสกุล......................................................................ตาแหน่ง....................................................... ๔. ชื่อ – นามสกลุ ......................................................................ตาแหนง่ ....................................................... ๕. ช่ือ – นามสกลุ ......................................................................ตาแหน่ง....................................................... ๖. ชอ่ื – นามสกุล......................................................................ตาแหนง่ ....................................................... ๗. ชื่อ – นามสกลุ ......................................................................ตาแหนง่ ....................................................... ๘. ช่อื – นามสกุล......................................................................ตาแหนง่ ....................................................... ๙. ชื่อ – นามสกุล......................................................................ตาแหนง่ ....................................................... ๑๐. ช่ือ – นามสกุล....................................................................ตาแหนง่ .......................................................

140 สว่ นที่ ๒ มาตรฐานดา้ นคณุ สมบัติ ผลการประเมนิ ปญั หา/ มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ตั ิ ขอ้ จากดั ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๑๐๐๐ วัตถปุ ระสงค์ อานาจหน้าที่ และความรับผดิ ชอบ ๑. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้กาหนดวัตถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี ความรับผิดชอบ คานิยามของ งานตรวจสอบภายใน และมาตรฐานและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในไว้ในกฎบัตรการ ตรวจสอบภายใน ๒. กฎบัตรการตรวจสอบภายในได้รับความเห็นชอบ จากหัวหน้าส่วนราชการ ๓. การทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายใน โดยหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติ เป็นระยะๆ ตามที่กรมบัญชีกลางกาหนดและมี การนาเสนอกฎบัตรที่ได้ทบทวนให้หัวหน้าส่วน ราชการพจิ ารณาเหน็ ชอบ ๔. การเผยแพร่กฎบัตรการตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในได้เผยแพร่ให้ทราบ ท่วั กนั ในสว่ นราชการ ๕. การปฏิบัติตามกฎบัตรการตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติได้ ตามกฎบตั รท่กี าหนด ๑๑๐๐ ความเปน็ อสิ ระและความเท่ียงธรรม ๑๑๑๐ ความเปน็ อิสระภายในหน่วยงาน ๑. หนว่ ยงานตรวจสอบภายในมีสายการบังคับบัญชาและ มีการเสนองานตรงต่อหัวหนา้ สว่ นราชการ - การใหค้ วามเหน็ ชอบกฎบตั รการตรวจสอบภายใน - การอนมุ ัตแิ ผนการตรวจสอบ - การรายงานผลการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ - เร่อื งอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๒ . การปฏิ บั ติ งานตรวจสอบภายใน ปราศจาก การแทรกแซง ในเรื่องการกาห น ดขอบ เขต การตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบและ การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ

141 ผลการประเมิน ปัญหา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๑๑๒๐ ความเทย่ี งธรรมของผูต้ รวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานด้วยความเที่ยงธรรม โดยปราศจากความลาเอียง อคติ ซ่ึงส่งผลต่อ การลดหย่อนคุณภาพของงาน รวมถึงหลีกเลี่ยง ในเรือ่ งของความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ ๑๑๓๐ ข้อจากดั ของความเปน็ อสิ ระหรือความเท่ียงธรรม ๑. ในกรณีท่ีมีเหตุหรือข้อจากดั ที่จะทาให้ไม่สามารถ ป ฏิ บั ติ งาน ได้ อย่ างเป็ น อิ ส ระห รื อ เท่ี ย งธ รรม ผู้ตรวจสอบภายในได้เปิดเผยถึงเหตุหรือข้อจากัด ดงั กล่าวใหผ้ ้ทู ่ีเกยี่ วข้องทราบ ๒. ผู้ตรวจสอบภายในไม่ ประเมินงานท่ี ตนเคย มีหน้าท่ีรับผิดชอบมาก่อน และมีการสอบทานงานที่ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในเคยมีหน้าท่ี รับผิดชอบมาก่อน โดยหน่วยงานอ่ืนภายใน ส่วนราชการที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน เช่น ฝ่ายแผนและประเมินผล เป็นตน้ ๓. ผู้ตรวจสอบภ ายในสามารถปฏิบัติงานให้ คาปรึกษาในงานท่ีตนเคยมีหน้าที่รับผิดชอบ มากอ่ นดว้ ยความเที่ยงธรรม ๔. ในกรณีที่มีเหตุหรือข้อจากดั ที่จะทาใหไ้ ม่สามารถ ปฏิบัติงานให้คาปรึกษาได้อย่างเป็นอิสระหรือ เท่ียงธรรม ผู้ตรวจสอบภายในได้เปิดเผยถึงเหตุ หรอื ข้อจากดั ดงั กล่าวใหผ้ ้ทู ีเ่ กยี่ วข้องทราบ ๑๒๐๐ ความเช่ียวชาญและความระมดั ระวังรอบคอบ ๑๒๑๐ ความเชี่ยวชาญ ๑ . ผู้ต รวจส อบ ภ ายใน มี ค วาม รู้ ทั ก ษ ะแล ะ ความ สาม ารถใน เรื่อ งต่ างๆ ที่ จาเป็ น ต่ อ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เช่น ความรู้ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ ต้น ๒ . ผู้ ตรวจสอบภ ายในมี ความรู้ ทั กษ ะ และ ความสามารถในการตรวจสอบภายใน

142 ผลการประเมิน ปัญหา/ ข้อจากัด มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๓. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภ ายในได้ให้ คาแนะนาและความช่วยเหลือแก่ผู้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน กรณีที่ผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในขาดความรู้ ทักษะ และความสามารถ ท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย บางส่วนหรอื ทัง้ หมดของงาน ๔ . ผู้ ตรวจสอบ ภ ายใน มี ความรู้ ทั กษ ะ และ ความสามารถท่ีจะประเมินความเส่ียงของการเกิด ทจุ ริตและเสนอแนวทางในการบริหารจดั การทจุ ริต ๕. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในไม่รับงานบริการ ให้คาปรึกษาหรือให้คาแนะนาและความช่วยเหลือ ในกรณีท่ีผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในขาดความรู้ ทักษะ และความสามารถท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน ในเรื่องน้ันๆ บางส่วนหรือทั้งหมดของงาน เช่น การแพทย์ การออกแบบก่ อสร้าง เป็ นต้ น (กรณีไมเ่ คยเกดิ เหตุการณต์ ามข้อนใ้ี ห้ระบุ N/A) ๑๒๒๐ ความระมดั ระวงั รอบคอบ ๑ . ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย ความระมั ดระวั งรอบคอบและใช้ ทั กษะใน การปฏิ บั ติงานอย่างสม เห ตุสม ผล เพื่ อให้ ผลการปฏิบัติงานเป็นท่ียอมรบั และน่าเช่อื ถือ ๒. การปฏิบัติงานตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในได้ คานงึ ถึงสิ่งตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้ - การขยายขอบเขตงาน ในกรณีที่เห็นว่าจาเป็น เพื่อให้งานท่ีได้รับมอบหมายบรรลุผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ - ความซับซ้อนของงาน ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น อย่างมีนัยสาคัญและความสาคัญของเรื่องที่จะ ตรวจสอบ - ความเพียงพอและประสิทธิผลของการกากับ ดแู ล การบริหารความเสยี่ ง และการควบคมุ - โอกาสหรือความเป็นไปได้ท่ีจะก่อให้เกิด ความผิดพลาด ความผิดปกติหรือการไม่ปฏิบัติ ตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับทส่ี าคัญ

143 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากัด มาตรฐาน แนวทางปฏิบตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข - ความ คุ้ม ค่าของค่ าใช้จ่ายที่ เกิด ข้ึน จาก การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เม่ือเทียบกับ ผลประโยชนท์ ีส่ ว่ นราชการคาดวา่ จะไดร้ ับ ๓. ผู้ตรวจสอบภายในพิจารณ าใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลอื่นๆ มาเป็นเคร่ืองมือช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน ๔. ผู้ตรวจสอบภายในได้คานึงถึงความเสี่ยงท่ีมี นยั สาคัญท่อี าจส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์หรือ เป้ าห มายของการดาเนิ น งาน และการใช้ ทรพั ยากรของสว่ นราชการ ๕. การปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษาผู้ตรวจสอบ ภายในได้คานึงถึงส่งิ ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ - ความต้องการและความคาดหวังของผู้มอบหมาย งานหรือผู้รับบริการ รวมทั้งลักษณะของเร่ืองที่จะ ให้คาปรึกษา เวลาท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน และ การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน - ความซบั ซอ้ นและขอบเขตของงานทจ่ี าเป็น - ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจากการบริการ ให้คาปรึกษาเม่ือเทียบกับประโยชน์ที่คาดว่า ส่วนราชการจะไดร้ บั ๑๒๓๐ การพฒั นาวิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง ๑. ผู้ตรวจสอบภายในได้ศึกษาหาความรู้ ทักษะ และ ความสามารถอืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องเพ่ิมเตมิ อย่างสมา่ เสมอ ๒. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้รับการสนับสนุน งบประมาณเพ่ือการพัฒนาความรู้ความสามารถ ของบคุ ลากรอยา่ งเพียงพอ ๑๓๐๐ การประกันและการปรับปรงุ คณุ ภาพงาน ๑๓๑๐ การประเมนิ การประกนั และปรบั ปรงุ คณุ ภาพงาน หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในมีการประเมิน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน รวมท้ังวางแผนในการพัฒนา/ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพงาน

144 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๑๓๑๑ การประเมินผลจากภายใน ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายได้มีการสอบทาน ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๒. หน่วยงานตรวจสอบภายใน มีการสอบทาน การป ฏิ บั ติ งาน ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น เป็ น ร ะ ย ะ ๆ โดยการประเมินตนเองหรือการประเมินโดยบุคคลอื่น ที่อยู่ภายในส่วนราชการท่ีมีความรู้เก่ียวกับ การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายใน ๑๓๑๒ การประเมนิ ผลจากภายนอก ๑. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้รับการประเมินจาก บุคคลหรือคณะบุคคลจากภายนอกส่วนราชการ ซ่ึ งมี ความเป็ นอิ สระ โดยมี ความรู้ ทั กษ ะ ประสบการณ์เก่ียวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในและการประเมนิ ผลอย่างนอ้ ยทุกๆ ๕ ปี ๒. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้มีการหารือ กบั หวั หนา้ สว่ นราชการ ในเรือ่ งดังตอ่ ไปน้ี - ค ว า ม จ า เป็ น ใน ก า ร เพ่ิ ม ค ว า ม ถ่ี ข อ ง การประเมินผลจากภายนอก - คุณสมบัติและความเป็นอิสระ รวมทง้ั ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ท่ีอาจเกิดขึ้นของบุคคลหรือ คณะบุคคลซงึ่ เป็นผปู้ ระเมินจากภายนอก ๑๓๒๐ การรายงานผลการประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน ๑. หัวหนา้ หนว่ ยงานตรวจสอบภายในไดร้ ายงานผล การประเมินจากภายในและภายนอกให้หัวหน้า สว่ นราชการทราบ ๒. มกี ารจดั ทารายงานผลการประเมนิ จากภายใน อย่างน้อยปลี ะ ๑ คร้ัง

145 ผลการประเมิน ปัญหา/ ข้อจากัด มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๑๓๒๑ การระบุข้อความ “เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน” กรณีที่หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในสามารถ รายงานว่า \"ได้ปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในของส่วนราชการ\" ต่อเมื่อ ผลการประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพ ง า น ร ะ บุ ว่ า ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ เป็ น ไป ต า ม ม า ต ร ฐ า น การตรวจสอบภายใน (กรณไี มเ่ คยเกิดเหตกุ ารณต์ ามข้อน้ใี ห้ระบุ N/A) ๑๓๒๒ การเปดิ เผยการไม่ปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน กรณีท่ีผู้ตรวจสอบภายในไม่สามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน และ มีผลกระทบต่อขอบเขตหรือวิธีการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในได้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริงให้หัวหน้า สว่ นราชการทราบ (กรณีไม่เคยเกดิ เหตุการณ์ตามข้อนี้ให้ระบุ N/A)

146 มาตรฐานดา้ นการปฏิบัติงาน ผลการประเมนิ ปญั หา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒๐๐๐ การบริหารงานตรวจสอบภายใน ๒๐๑๐ การวางแผนการตรวจสอบ ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทา แผนการตรวจสอบ ร ะ ย ะ ย าว ค ร อ บ ค ลุ ม ทกุ หน่วยรับตรวจ ๒. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทาแผน การตรวจสอบประจาปเี ปน็ ประจาทุกปี ๓. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทาแผน การตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยงอย่างน้อย ปลี ะ ๑ ครงั้ ๔. หนว่ ยงานตรวจสอบภายในไดด้ าเนินการ ดังนี้ - ประเมนิ ผลการควบคุมภายใน - ประเมินความเส่ียงให้ครอบคลุมภารกิจและ เป้าหมายของส่วนราชการ โดยวิธีการระบุปัจจยั เส่ียง วเิ คราะห์ และจดั ลาดบั ความสาคัญของหน่วยงาน หรือกจิ กรรมทจี่ ะต้องตรวจสอบ ๕. วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดในแผนการตรวจสอบสอดคล้อง กบั ผลการประเมินความเสย่ี งและการควบคุม ๖. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้หารือเรื่องความเสี่ยง กับฝ่ายบริหาร และนาข้อมูลข่าวสารมาพิจารณา ในการวางแผนการตรวจสอบ ๗ . ห น่ ว ย งาน ต รว จ ส อ บ ภ าย ใน ได้ ติ ด ต า ม การเปลี่ยนแปลงและประเมินความเส่ียงของ ส่วนราชการอย่างสมา่ เสมอ ๘. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ประสานงานกับ หน่วยรับตรวจเป็นอย่างดี เพ่ือให้ผู้บริหารของ หน่วยรับตรวจมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและ ขอ้ เสนอแนะในการจัดทาแผนการตรวจสอบ

147 ผลการประเมนิ ปญั หา/ ข้อจากัด มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๙. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้พิจารณาถึงความ ค าด ห วั งข อ งหั ว ห น้ าส่ ว น ราช ก ารแ ล ะ ผู้ ท่ี เกี่ ยวข้ องท่ี มี ต่ อความเห็ นของการตรวจสอบ ภายใน รวมถึง ขอ้ สรุปอน่ื ๆ ๑๐. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้กาหนด งานบริการใหค้ าปรึกษาไวใ้ นแผนการตรวจสอบ ๑๑. การรับงานบริการให้คาปรกึ ษา หวั หนา้ หน่วยงาน ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน ได้ พิ จ า ร ณ า ถึ ง โอ ก า ส ที่ จ ะ ก่ อ ให้ เกิ ด ก า ร ป รั บ ป รุ งก า ร บ ริ ห า ร ความเสี่ ยง ก ารส ร้ า งคุ ณ ค่ าเพิ่ ม แ ล ะ ก า รป รั บ ป รุ ง การดาเนนิ งานของสว่ นราชการ ๒๐๒๐ การเสนอและอนมุ ตั แิ ผนการตรวจสอบ ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้เสนอแผน การตรวจสอบ ห รือ ก าร ป รั บ เป ล่ี ย น แ ผ น การตรวจสอบในรอบปีท่ีมีนัยสาคัญให้หัวหน้า ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติ ๒. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้นาเสนอ เรื่องทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากข้อจากัดของ ทรพั ยากรท่ีมอี ยู่ ๒๐๓๐ การบรหิ ารทรัพยากร หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้บริหาร ทรัพยากรให้มีความเหมาะสมและเพียงพอต่อ การปฏิบัติงานให้บรรลุตามแผนการตรวจสอบท่ี ไดร้ ับอนมุ ัติ

148 ผลการประเมนิ ปัญหา / ข้อจากัดและ มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A แนวทาง แกไ้ ข ๒๐๔๐ นโยบายและแนวทางการปฏิบัตงิ าน ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้กาหนด นโยบายและข้ันตอนในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ๒. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทาคู่มือ การปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน ๒๐๕๐ การประสานงาน หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้แลกเปล่ียน ข้อมูลและประสานงานกับหน่วยงานตรวจสอบ ภายในของส่วนราชการอ่ืน และผู้ตรวจสอบ ภายนอก รวมท้ังบุคคลหรือหน่วยงานอื่นที่ ปฏิบัติงานเกีย่ วขอ้ งกบั งานตรวจสอบภายใน ๒๐๖๐ การรายงานต่อหัวหนา้ สว่ นราชการ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้รายงานผล การปฏิบัติงานเป็นระยะๆ ตามที่กรมบัญชีกลาง ก าห น ด ให้ หั วห น้ าส่ วน ราช การทราบถึ ง วัตถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี ความรับผิดชอบ และ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ งา น ต า ม ท่ี ก า ห น ด ไว้ ใน แผนการตรวจสอบ รวมทั้งประเด็นความเสี่ยงและ การควบคุมที่มีนัยสาคัญ ความเส่ียงของการทุจริต ประเด็นการกากับดูแล รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ท่ีต้องการ ทราบหรอื ร้องขอ ๒๐๗๐ การใช้บริการตรวจสอบจากภายนอกและความรับผดิ ชอบของส่วน ราชการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ควบคุมดูแลให้ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบ ภ า ย น อ ก บ ร ร ลุ ผ ล ต า ม แ ผ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ท่ี กาหนด

149 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากัด มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒๑๐๐ ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน ๒๑๑๐ การกากับดแู ล ๑. หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการประเมินและ ให้คาแนะนาที่เหมาะสมในการปรับปรุงงาน ใหด้ ขี ้นึ เพื่อให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ตา่ งๆ ดงั นี้ - เสริมสร้างจริยธรรมและคุณค่าให้เกิดภายใน ส่วนราชการ - ท า ให้ ม่ั น ใจ ว่ า ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก าร ข อ ง ส่ ว น ร า ช ก า ร มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ เจ้ า ห น้ า ที่ ผูป้ ฏิบัตงิ านมีความรบั ผดิ ชอบ - มีการส่ือสารข้อมูลความเส่ียงและการควบคุม ภายในครอบคลุมหน่วยงานต่างๆ ภายใน สว่ นราชการ - มีการประสานงานและสื่อสารข้อมูลระหว่าง ผู้ตรวจสอบภายนอก ผู้ตรวจสอบภายใน และ ฝา่ ยบริหารของส่วนราชการ ๒. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสามารถประเมิน การกากับดูแล การนาไปปฏิบัติ และผลสาเร็จ ขอ งกิ จ ก รรม งาน ห รือ โค รงก าร รวม ทั้ ง วัตถุประสงค์ท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างจริยธรรม ของสว่ นราชการ ๓. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสามารถประเมินว่า การกากับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศได้สนับสนุน วัตถปุ ระสงคแ์ ละยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการ

150 ผลการประเมิน ปัญหา/ ข้อจากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒๑๒๐ การบรหิ ารความเส่ยี ง ๑. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสามารถประเมิน ความมี ป ระสิท ธิผลและสนั บ สนุ น ให้ เกิด การปรบั ปรุงของกระบวนการบรหิ ารความเสี่ยง ๒. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในได้ประเมิน ความเส่ียงท่ีเก่ียวกับกระบวนการกากับดูแล การดาเนินงาน และระบบข้อมูลสารสนเทศใน เรอื่ งตา่ งๆ ดังนี้ - ความถูกต้อง ครบถ้วน และความน่าเชื่อถือ ของข้อ มู ล สารสน เท ศ ด้ าน การเงิน แล ะ การดาเนินงาน - ความมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ การดาเนินงาน - การดแู ลและรักษาทรัพย์สนิ - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย วธิ ีการปฏบิ ตั งิ าน และข้อสญั ญาตา่ งๆ ๓. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสามารถประเมิน โอกาสของการเกิดทุจริต และวิธีการบริหาร ความเส่ยี งของการทุจรติ ๔. ในระหว่างการปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษา ผู้ตรวจสอบ ภ ายใน ได้ ระบุ ความ เสี่ยงท่ี มี ผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน และระมัดระวัง ความเสีย่ งอน่ื ๆ ท่ีมนี ัยสาคญั ท่ีอาจเกิดขึน้ ด้วย ๕. ผู้ตรวจสอบภายในสามารถนาความรู้ในเรื่อง ความเสี่ ยงที่ ได้ รั บ จากการป ฏิ บั ติ งาน บ ริ การ ให้คาปรึกษามาใช้ในการประเมินผลกระบวนการ บริหารความเสย่ี งของสว่ นราชการ

151 ผลการประเมิน ปัญหา/ ขอ้ จากัด มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๖. การให้คาปรึกษากับฝ่ายบริหารในการจัดให้มี ห รื อ ป รั บ ป รุ งก ระบ วน ก ารบ ริ ห ารค ว าม เส่ี ย ง ผู้ ต รว จ ส อ บ ภ าย ใน ไ ด้ ห ลี ก เลี่ ย ง ใ น ส่ ว น ข อ ง การดาเนินการ ซ่ึงเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบ ของฝา่ ยบรหิ าร ๒๑๓๐ การควบคมุ ๑. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้สนับสนุนและ ส่งเสริมใหส้ ่วนราชการมกี ารควบคมุ ในเรอื่ งต่างๆ ทเี่ หมาะสมและเพียงพอ ๒. หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการประเมิน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการควบคุม รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปรับปรุงอย่างตอ่ เน่ือง ๓. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน ส า ม า ร ถ ป ร ะ เมิ น ถึ ง ความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุม ในเรอ่ื งตา่ งๆ ดังนี้ - ความถูกต้อง ครบถ้วน และความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลสารสนเทศ ด้านการเงิน และ การดาเนนิ งาน - ความมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ การดาเนินงาน - การดูแลและรกั ษาทรัพย์สิน - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย วธิ ีการปฏบิ ตั ิงานและขอ้ สญั ญาต่างๆ ๔. ผู้ตรวจสอบภายในได้นาความรู้ของการควบคุม ที่ ได้ รั บ จ าก ก ารบ ริ ก ารให้ ค าป รึ ก ษ าม าใช้ ใน การป ระเมิ น ผล ก า ร ค ว บ คุ ม ภ าย ใน ข อ ง สว่ นราชการ

152 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๒๒๐๐ การวางแผนการปฏบิ ตั ิงาน ๑. ผู้ตรวจสอบภายในได้จัดทาแผนการปฏิบัติงาน ข อ ง ง า น ท่ี ได้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ทั้ ง ก า ร บ ริ ก า ร ใ ห้ ความเชื่อม่ันและการบริการให้คาปรึกษา พร้อมทั้ง กาหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต ระยะเวลา และ การจัดสรรทรัพยากร ๒. การวางแผนการปฏิบัติงาน ผู้ตรวจสอบภายใน ได้คานงึ ถงึ ส่งิ ต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี - วัตถุประสงค์ของงานและวิธีการดาเนินงาน ในอันท่จี ะทาให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ - ความเส่ี ยงที่ ส าคั ญ ๆ ที่ มี ผลกระท บ ต่ อ ความสาเร็จวา่ อยู่ในระดบั ท่ยี อมรบั ไดห้ รือไม่ - ความเพี ยงพอและความมี ประสิ ทธิ ผลของ กิ จกรรมการบริ หารความเสี่ ยงและระบบ การค วบ คุ ม เมื่ อเป รี ยบ เที ยบ กั บ กรอ บ การปฏิบตั ิงาน หรือกฎ ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง - โอกาสในการปรับปรุงกิจกรรมการบริหาร ความเสย่ี งและการควบคมุ ใหด้ ีขึน้ ๓. กรณีให้บริการตรวจสอบกับหน่วยงานภายนอก ผู้ ต รวจส อ บ ภ าย ใน ได้ ท าค วาม เข้ าใจร่ วม กั บ ผู้รับบริการ เก่ียวกับวัตถุประสงค์ ขอบเขต ความรับผิดชอบและความคาดหวังอ่ืนๆ รวมท้ัง ข้อจากัดในการเผยแพร่รายงานผลการปฏิบัติงาน และก ารเข้ าถึ งเอกสารข้ อมู ล ที่ เกี่ ยวข้ องเป็ น ลายลกั ษณอ์ ักษร (กรณีไม่เคยเกดิ เหตกุ ารณ์ตามข้อน้ใี หร้ ะบุ N/A)

153 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากัด มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๔. การปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษา ผู้ตรวจสอบ ภายในได้ทาความเข้าใจร่วมกับผู้รับบริการ เก่ียวกับวัตถุประสงค์ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และความคาดหวังอื่นๆ เป็นลายลักษณ์อักษรใน เรื่องที่มนี ัยสาคัญ ๒๒๑๐ การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ ๑. วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดในแผนการปฏิบัติงาน สอดคล้องกบั ผลการประเมนิ ความเสีย่ ง ๒. การกาหนดวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่จะ ตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในได้พิจารณาถึง ความเป็ น ไป ได้ ท่ี อาจจะเกิ ดข้ อผิ ดพ ลาด ข้อบกพร่อง การทุจริต และการไม่ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมท้ังความเสี่ยงอื่นๆ ที่มี นยั สาคญั ๓. ในกรณีที่หลักเกณฑ์การควบคุมท่ีฝ่ายบริหาร กาหนดไม่เพียงพอท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย ผู้ตรวจสอบภายในได้ร่วมกับฝ่ายบริหาร เพื่ อพั ฒ นาหลั กเกณ ฑ์ ท่ี จะใช้ ประเมิ นผล การควบคุมท่ีเหมาะสม ๔. วัตถุประสงค์ของงานบริการให้คาปรึกษา ผู้ตรวจสอบภายในได้คานึงถึงกระบวนการกากับ ดูแล การบริหารความเสี่ยง และการควบคุม ภายในตามขอบเขตทีไ่ ด้มกี ารเห็นชอบร่วมกันกับ ผู้รับบรกิ าร ๕. วัตถุประสงค์ของงานบริการให้คาปรึกษา มีความสอดคล้องกับการสร้างคุณ ค่าเพิ่ ม ยุทธศาสตร์ และวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของ สว่ นราชการ

154 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ข้อจากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๒๒๒๐ การกาหนดขอบเขตการปฏบิ ตั งิ าน ๑. ขอบเขตการปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานได้ กาหนดครอบคลุมถึงระบบการทางานต่างๆ เอกสาร หลักฐาน รายงาน บุคลากร และ ทรัพย์สินต่างๆ รวมท้ังในส่วนที่อยู่ในความดูแล ของบุคคลอ่ืนๆ เพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนด ๒. ในระหว่างการตรวจสอบ หากผู้รับบริการขอรับ คาปรึกษาในเร่ืองท่ีมีนัยสาคัญ ผู้ตรวจสอบ ภายในได้ทาความเข้าใจกับผู้รับบริการเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และ ความคาดหวงั อนื่ ๆ เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร ๓. ผู้ตรวจสอบภายในม่ันใจว่า การกาหนดขอบเขต การปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษาเพียงพอที่จะ บรรลุวตั ถุประสงค์ ๔. ในกรณีท่ีมีข้อจากัดจนทาให้ไม่สามารถบริการ ให้คาปรึกษาตามขอบเขตที่กาหนด ผู้ตรวจสอบ ภ า ย ใ น ไ ด้ ห า รื อ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ถึ ง ข้ อ จ า กั ด ดังกลา่ ว เพือ่ พิจารณาว่าสมควรปฏบิ ัตติ อ่ หรอื ไม่ ๕. ในระหว่างการปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษา ผู้ตรวจสอบภายในสามารถระบุการควบคุม ภ ายใน ท่ี ส อด ค ล้อ งกั บ วัต ถุป ระสงค์ ขอ ง การปฏิบัติงาน และระมัดระวังต่อประเด็น ความเส่ียงท่ีมีนยั สาคญั

155 ผลการประเมนิ ปญั หา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒๒๓๐ การจัดสรรทรัพยากร การจัดสรรจานวนผู้ตรวจสอบภายใน เครื่องมือ อุปกรณ์ งบประมาณมีความเหมาะสมและ เพี ย งพ อ ต่ อ ก ารป ฏิ บั ติ งาน ให้ บ รรลุ ต าม วัตถุประสงค์ รวมท้ังสอดคล้องกับลักษณะและ ความซับซ้อนของงาน ตลอดจนข้อจากัดของ เวลาและทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ ๒๒๔๐ แผนการปฏิบตั ิงาน ๑ . ผู้ ตรวจสอบ ภ ายใน ได้ จั ดท ารายละเอี ยด การปฏบิ ตั ิงานในข้ันตอนตา่ งๆ เป็นลายลกั ษณ์อักษร ๒. แผนการปฏิบัติงานได้ระบุวิธีการในการคัดเลือก ข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผล และบันทึกข้อมูล ที่ได้รับในระห ว่างการปฏิ บัติงาน ไว้อย่าง เหมาะสม ๓. แผนการปฏิบัติงานได้รับการอนุมัติจากหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภ ายในหรือผู้ที่ได้รับ มอบหมายก่อนท่ีจะเร่ิมปฏิบัติงานและทุกคร้ัง ทม่ี ีการเปลยี่ นแปลง ๔. แผนการปฏิบัติงานให้คาปรึกษา มีรูปแบบและ เน้ือหาท่ีแตกต่างตามแต่ละลกั ษณะของงานที่ได้รับ มอบหมาย ๒๓๐๐ การปฏบิ ัตงิ าน ๒๓๑๐ การรวบรวมข้อมูล ๑. ผู้ตรวจสอบภายในมีการคัดเลือกและรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศ เอกสาร หลักฐานท่ีเพียงพอ มีความน่าเชื่อถือ มีความเกี่ยวข้อง และเป็น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เพ่ื อ ใ ห้ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ท่ี ได้ รั บ ม อ บ ห ม า ย บ ร ร ลุ ต า ม วตั ถุประสงค์

156 ผลการประเมิน ปญั หา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๒. การคัดเลือกขนาดของกลุ่มตัวอย่างข้อมูลหรือ ประชากร เพื่อให้ได้หลักฐานเพียงพอท่ีจะบรรลุ ตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารตรวจสอบ (การคัดเลือกขนาดของกลุ่มตัวอย่างข้อมูล เช่น วิธีทางสถิติ แบบง่าย Simple random sampling แบบเป็นระบบ Systematic sampling แบบกลุ่ม Cluster sampling สูตรทางคณิตศาสตร์ของ taro yamana ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ ๙๕ กาหนด ค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกินร้อยละ ๕ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยในการเลือกกลุ่มตัวอย่างข้อมูล เปน็ ตน้ ) ๒๓๒๐ การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ผล ผู้ตรวจสอบภายในได้ใช้วิธีการวิเคราะห์และ ประเมินผลข้อมูลท่ีมีความเหมาะสม เพื่อให้ได้ ข้อสรุปและผลการปฏิบัติงานที่ได้รับการยอมรับ เชน่ ค่าเฉลย่ี ค่าร้อยละ เป็นต้น ๒๓๓๐ การบนั ทกึ ขอ้ มูล ๑. ผู้ตรวจสอบภายในมีการบันทึกผลการตรวจสอบ เพ่ือเป็นหลักฐานในการปฏิบัติงานแต่ละคร้ังใน กระดาษทาการ ๒. ผู้ตรวจสอบภายในมีการบันทึกข้อมูลที่เก่ียวข้อง เพี ยงพ อต่ อการสนั บ สนุ น ข้ อสรุ ป และผล การปฏิบัติงาน ๓. มีการสอบทานกระดาษทาการ โดยหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในหรือผทู้ ่ไี ด้รับมอบหมาย ๔. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้มีการควบคุม การเขา้ ถงึ ข้อมูลท่ีได้รบั จากการปฏบิ ตั ิงาน

157 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ข้อจากัด มาตรฐาน แนวทางปฏิบตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๕. หากมีการเปิดเผยข้อมูลที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน ใหบ้ ุคคลภายนอกทราบ หวั หน้าหนว่ ยงานตรวจสอบ ภายในได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ และหรอื ที่ปรกึ ษาทางดา้ นกฎหมาย ๖. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้มีการกาหนด ระยะเวล าใน ก ารเก็ บ รั ก ษ าข้ อ มู ล ท่ี ได้ รั บ จาก การปฏิบัติงาน ซ่ึงจัดเก็บอยู่ในส่ือรูปแบบต่างๆ ให้ มี ความสอดคล้ องกั บแนวท างป ฏิ บั ติ ของ ส่ ว น ราช ก ารแ ล ะ ระเบี ย บ ข อ งท างร าช ก าร ที่ เกี่ยวข้อง ๗. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้กาหนด นโยบายในการเก็บรักษาข้อมูลและการเผยแพร่ ข้ อมู ล ท่ี ได้ รั บ จากงาน บ ริ การให้ ค าป รึ กษ ากั บ บุ ค ค ล ภ ายใน แ ล ะภ าย น อก ส่ วน ราช การให้ มี ความสอดคล้ องกั บแนวทางปฏิ บั ติ งานของ สว่ นราชการและระเบยี บของทางราชการที่เกี่ยวขอ้ ง ๒๓๔๐ การกากบั ดแู ลการปฏบิ ตั งิ าน หวั หนา้ หน่วยงานตรวจสอบภายในไดม้ กี ารกากับ ดู แ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย อ ย่ า ง ใกล้ชิด ๒๔๐๐ การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ๒๔๑๐ หลกั เกณฑ์ในการรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ๑. รายงานผลการปฏิบัติงานได้มีการระบุถึง วัตถุประสงค์ ขอบเขต สรุปผลการตรวจสอบ/ ข้อตรวจพบ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขท่ีสามารถนาไป ปฏิบตั ไิ ด้

158 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ข้อจากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๒. ผู้ตรวจสอบภายในได้ให้ความเห็นหรือสรุปผล การตรวจสอบไว้ในรายงานผลการปฏิบัติงาน โด ย ส รุ ป ป ร ะ เด็ น ห รื อ ก า ร อ ธิ บ า ย เกี่ ย ว กั บ ผลการตรวจสอบที่เก่ียวข้องกับการควบคุม ภายใน ความเสี่ยงและผลการดาเนินงานที่สาคัญ ให้ผบู้ รหิ ารและผทู้ ี่เกีย่ วข้องทราบ ๓ .รายงานผลการปฏิ บั ติ งานได้ มี การกล่ าวถึ ง ข้อตรวจพบท่ดี ใี นการปฏิบัตงิ านของหนว่ ยรบั ตรวจ ๑. การเผยแพร่รายงานผลการปฏิ บัติงานให้ บุคคลภายนอกส่วนราชการทราบ หน่วยงาน ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน มี ก า รก า ห น ด ข้ อ จ า กั ด ใ น การเผยแพรแ่ ละการนาผลการตรวจสอบไปใชต้ อ่ ดว้ ย ๕. งานบริการให้คาปรึกษา ได้มีการกาหนดรูปแบบ และเน้ือหาของการรายงานความคืบหน้าและ รายงานผลการปฏิบัติงานแตกต่างกันตามลักษณะ ของงานและความตอ้ งการของผรู้ ับบริการ ๒๔๒๐ คุณภาพของรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ๑. รายงานผลการตรวจสอบมีความถูกต้องโดย ปราศจากข้อผิดพลาด บิดเบือน รายงานตาม ข้อเท็จจริง เที่ยงธรรม ไม่อคติ ไม่ลาเอียง ชัดเจนดว้ ยการใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย เป็นเหตุเป็นผล ตรงประเด็น สร้างสรรค์เป็นประโยชน์กับ ผู้รบั บรกิ าร เสนอข้อมูลครบถว้ น และทนั เวลา ๒. ในกรณีท่ีพบว่า รายงานผลการปฏิบัติงานที่เสนอ เกิดความผิดพลาดหรือละเลยในการกล่าวถึง ประเด็นหลักที่สาคัญ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในได้รีบแก้ไขและจัดส่งรายงานฉบั บ ทีแ่ กไ้ ขแล้วไปยังบุคคลที่เก่ียวข้องทันที


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook