45 ขอบเขตการปฏบิ ัติงาน กจิ กรรม หน่วยรับตรวจ/ ระดบั ความเสยี่ ง พ.ศ. ... ปงี บประมาณ/จานวนคนวนั พ.ศ. ... รวมจานวน หนว่ ยรับบรกิ าร พ.ศ. ... พ.ศ. ... พ.ศ. ... คนวัน 360 กจิ กรรมการตรวจสอบ 240 360 360 360 360 3คน/20วนั /ปี 1. การสอบทานและ ทกุ กลุ่ม 12221 = 60 คนวัน/ปี กลมุ่ กล่มุ กลุม่ กลมุ่ กลมุ่ ป ร ะ เมิ น ร ะ บ บ ในสานักงาน สงู 3คน/20วนั /ปี = 60 คนวนั /ปี ควบคุมภายใน ศึกษาธกิ ารจงั หวัด 3คน/20วัน/ปี 2. การสอบทานการ กลุ่มอานวยการ = 60 คนวนั /ปี 3คน/20วนั /ปี ป ระ เมิ น ผ ล ก าร = 60 คนวัน/ปี ปฏิบตั ิงานดา้ นบญั ชี สงู 11111 3คน/20วัน/ปี กลมุ่ กลุ่ม กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ = 60 คนวัน/ปี ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี 3คน/20วัน/ปี ก รม บั ญ ชี ก ล า ง = 60 คนวัน/ปี กาหนด 60 3. การติดตามการ ทุกส่วนราชการหรือ 2คน/10วนั /ปี = 20 คนวนั /ปี ใช้จ่ายงบประมาณ หน่วยงานและ สงู 310 310 310 310 310 หนว่ ย หนว่ ย หน่วย หนว่ ย หนว่ ย 2คน/10วนั /ปี ในสว่ นของงบลงทุน สถานศึกษาในสงั กดั = 20คนวัน/ปี กระทรวงศกึ ษาธิการ 2คน/10วนั /ปี = 20 คนวนั /ปี 4. การตรวจสอบ กลุ่มอานวยการ สงู 11111 กลุ่ม กลุ่ม กลมุ่ กลมุ่ กลุ่ม การจดั ซอื้ จดั จ้าง 5. การตรวจสอบผล ทุกส่วนราชการหรอื ก า รด า เนิ น งา น หนว่ ยงานและ โครงการตามแผน สถานศึกษาในสังกัด บู ร ณ า ก า ร ก า ร - สป. สูง - 3 3 3 3 20 20 20 20 ยกระดับคุณภาพ - สพฐ. 1111 การศึกษาและการ - สอศ. เรยี นรตู้ ลอดชีวิต 6. การตรวจสอบด้าน กลมุ่ แผนฯ สูง - 1111 กลุ่ม กลุ่ม กล่มุ กลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ กิจกรรมการให้คาปรกึ ษา - 60 60 60 60 1. การจัดทาวาง ทกุ กล่มุ และประเมินการ ในสานกั งาน 7777 กลมุ่ กลมุ่ กลุ่ม กลุ่ม ควบคุมภายในของ ศึกษาธกิ ารจงั หวัด สูง - สานักงานศึกษาธิการ จงั หวดั 2. การจดั ซือ้ จดั จา้ ง ทุกสว่ นราชการหรือ หนว่ ยงานและ สถานศกึ ษาในสงั กัด สูง - 3 3 3 3 20 20 20 20 - สป. 1111 - สพฐ. สงู - 3 3 3 3 20 20 20 20 - สอศ. 1111 3. การบญั ชตี าม ทุกสว่ นราชการหรือ ระบบ GFMIS หน่วยงานและ สถานศกึ ษาในสังกดั - สป. - สพฐ. - สอศ.
46 กิจกรรม หนว่ ยรับตรวจ/ ระดบั ความเสี่ยง พ.ศ. ... ปีงบประมาณ/จานวนคนวนั พ.ศ. ... รวมจานวน หนว่ ยรบั บรกิ าร พ.ศ. ... พ.ศ. ... พ.ศ. ... คนวัน 75 กิจกรรมการพฒั นาระบบการตรวจสอบ 45 75 75 75 75 3คน/5วนั /ปี 1. กิจกรรมพัฒนา ตามมาตรฐาน = 15 คนวนั /ปี การตรวจสอบ √ √ √ √ √ ผู้ตรวจสอบภายใน 2คน/15วนั /ปี ภายใน = 30คนวนั /ปี สานกั งานศกึ ษาธิการ 3คน/10วนั /ปี จงั หวดั = 30 คนวัน/ปี 2. กิจกรรมจัดทา ตามมาตรฐาน 180 การตรวจสอบ 2คน/15วัน/ปี คมู่ อื /แนวทาง/องค์ - 1 เร่ือง 1 เร่อื ง 1 เรอื่ ง 1 เรอื่ ง = 30คนวนั /ปี ภายใน ค ว า ม รู้ด้ าน ก า ร 1 เร่อื ง 1 เร่อื ง 1 เร่ือง 1 เร่อื ง 1 เรอื่ ง 2คน/15วัน/ปี ตามมาตรฐาน 180 180 180 180 180 = 30คนวนั /ปี ตรวจสอบภายใน การตรวจสอบ √√√√√ 3คน/20วัน/ปี 3. กิจกรรมพัฒนา ภายใน √√√√√ = 60 คนวัน/ปี 3คน/20วัน/ปี ฐานข้อมูลด้านการ ตามมาตรฐาน = 60 คนวัน/ปี การตรวจสอบ ตรวจสอบภายใน 675 ภายใน 225 กจิ กรรมการบริหารงานตรวจสอบ ตามมาตรฐาน 1. การจัดทาแผน การตรวจสอบ การตรวจสอบ ภายใน 2. การรายงานสรุป ตามท่ี สป. √ √ √ √ √ ผลการปฏิบัติงาน สัง่ การ ตามแผนการตรวจ สอบ √√√√√ 3. การจัดทาตวั ชวี้ ัด คารับรองฯ และ การรายงานผล 4. งานธุรการ รวมจานวนคนวันที่ใช้ในการตรวจสอบ รวม คนวันต่อปี 465 675 675 675 675 วันต่อคนตอ่ ปี 155 225 225 225 225 หมายเหตุ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม
47 - ตวั อยา่ ง - แผนการตรวจสอบประจาปีประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ……… หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด ........ หลกั การและเหตผุ ล การตรวจสอบภายในนับว่าเป็นเครื่องมือหรือผู้ช่วยท่ีสาคัญของผู้บริหารหน่วยงานในการกากับ ติดตามผลการปฏิบัติงานของส่วนงานต่างๆ ภายในหน่วยงาน รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะแนวทางหรือ มาตรการที่จะทาให้ผลการดาเนินงานสามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ การจัดทาแผนการตรวจสอบภายใน ถือเป็นขั้นตอนการดาเนินงานที่สาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ของ การตรวจสอบภายใน เน่ืองจากแผนการตรวจสอบภายในที่ดีจะช่วยให้งานตรวจสอบภายใน มีประสิทธิภาพและการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดภายใต้เง่ือนไขทรัพยากรที่จากัด นอกจากนี้ แผนการตรวจสอบภายในยังเป็นเครื่องมือที่ทาให้ศึกษาธิการจังหวัดรับทราบขอบเขตการปฏิบัติงาน ด้านการตรวจสอบภายใน และให้การสนับสนุนโดยการจัดหาทรัพยากรให้กับหน่วยตรวจสอบภายใน เพ่ือให้สามารถปฏิบัติภารกิจ ที่กาหนดให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผนการตรวจสอบภายใน โดยแผนการตรวจสอบภายในที่จัดทาขึ้นน้ี เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและเกณฑ์ การประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ นโยบายการตรวจสอบ การตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จัดให้มีขึ้นเพ่ือสนับสนุนส่งเสริม ให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกากบั ดูแล ที่เหมาะสม ภายใต้หลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้หน่วยงานตรวจสอบภายในกาหนดกิจกรรมการตรวจสอบภายในได้ครอบคลุม ภารกิจและสอดคล้องกับมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ภายใตท้ รพั ยากรดา้ นการตรวจสอบท่ีมีอยู่ 2. เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานตามกิจกรรมการตรวจสอบภายในให้บรรลุ วตั ถุประสงค์เป้าหมายอย่างมปี ระสิทธิภาพ 3. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ และแนวทางการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจสอบ/การดาเนนิ งาน 1. หน่วยรับตรวจ ……. แหง่ ประกอบดว้ ย 1.1 หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ……. หนว่ ยงาน - กลมุ่ อานวยการ - สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
48 1.2 หนว่ ยงานในสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ……. หนว่ ยงาน - สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา เขต 1 สถานศกึ ษาในสังกัด ……. แห่ง - สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา เขต 2 สถานศกึ ษาในสังกัด ……. แห่ง - สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา เขต 3 สถานศกึ ษาในสังกดั ……. แหง่ 2. ระยะเวลาในการดาเนินงาน ระหว่างเดือน ..................... – เดอื น ..................... พ.ศ. ................. กจิ กรรมการตรวจสอบ 1. การสอบทานและประเมนิ ระบบควบคมุ ภายใน วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ใหม้ ่ันใจว่า ระบบการควบคุมภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีความเพียงพอเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐานการจัดวางระบบควบคุมภายในของคณะกรรมการ ตรวจเงินแผน่ ดนิ 2. การสอบทานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานด้านบัญชตี ามเกณฑ์ท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด วัตถุประสงค์ เพื่อให้ม่นั ใจว่า ผลการประเมินการปฏบิ ัตงิ านด้านบญั ชีของสานักงานศึกษาธิการ จังหวดั ถกู ต้องนา่ เชื่อถอื 3. การตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทนุ วตั ถปุ ระสงค์ (1) เพ่ือให้ทราบวา่ หน่วยงานจัดให้มีการกากับ ควบคุม และบริหารจัดการความเส่ียง เพ่อื ให้การใชจ้ ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทนุ เป็นไปตามมตขิ องคณะรัฐมนตรี (2) เพื่อให้ทราบว่า ผลการใช้จ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุน เป็นไปตาม มติคณะรฐั มนตรี 4. การตรวจสอบการจัดซื้อจัดจา้ ง วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้มั่นใจวา่ การจดั ซอ้ื จดั จ้างเปน็ ไปตามกฎระเบียบ กิจกรรมการตรวจสอบจาแนกตามประเภทการตรวจสอบ รายการ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การเงิน การปฏบิ ตั ติ าม การปฏบิ ตั งิ าน การบริหาร 1. การสอบทานและประเมินระบบควบคมุ ภายใน กฎระเบยี บ 2. การสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีตาม / / / เกณฑท์ ่ีกรมบัญชกี ลางกาหนด / / / / 3. การติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทนุ / 4. การตรวจสอบการจัดซ้อื จดั จา้ ง / / / / /
49 กิจกรรมการพฒั นาระบบการตรวจสอบภายใน 1. กิจกรรมพฒั นาผูต้ รวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั 2. กจิ กรรมพัฒนาฐานข้อมูลด้านการตรวจสอบภายใน งบประมาณทีใ่ ช้ในการตรวจสอบ งบดาเนินงาน 45,000 บาท กิจกรรม งบประมาณ 1. กิจกรรมการตรวจสอบ/ตดิ ตามผลการตรวจสอบ 14,400.00 10,800.00 1.1 ค่าวัสดจุ ดั ทารปู เลม่ /เอกสาร/รายงานผลการตรวจสอบ และวัสดสุ านักงาน 1,200.00 (งานธรุ การ) บริหารงานตรวจสอบ เปน็ เงนิ 12,000.00 3,000.00 1.2 ค่าเบีย้ เลย้ี ง 3 คน วันละ 120 บาท จานวน 30 วนั เปน็ เงนิ 3,600.00 45,000.00 1.3 น้ามันเชือ้ เพลงิ ตรวจตดิ ตามภาคสนาม 20 แห่ง เปน็ เงิน 2. กจิ กรรมการพัฒนาการตรวจสอบภายใน 2.1 ค่าท่ีพัก 5 วนั ๆ 3 คน ละ 800 บาท เป็นเงนิ 2.2 คา่ พาหนะ 3 คน คนละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2.3 คา่ เบยี้ เลี้ยง 3 คน วันละ 240 บาท 5 วัน เป็นเงนิ รวม หมายเหตุ ขอถั่วจา่ ยทุกรายการ ผู้รบั ผิดชอบในการตรวจสอบ 1. นาย เกง่ กบ นกั วชิ าการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ 2. นาง รอง ลม นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการ 3. นางสาว สวย สม นักวชิ าการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั 1. หน่วยรับตรวจมกี ารควบคุม กากบั ดูแล และมกี ารบรหิ ารความเส่ยี งทเ่ี พียงพอเหมาะสม 2. ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ทราบและลด จุดอ่อน/ความเส่ียง ในการปฏิบัติงาน พร้อมท้ังพัฒนาการดาเนินงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพประสิทธิผล 3. ผู้บริหารของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด และกระทรวงศึกษาธิการมีข้อมูลในการบริหาร จัดการเพื่อให้การดาเนินงานเปน็ ไปตามนโยบายและเปา้ หมายที่กาหนด ลงชอ่ื ……………………………………………….. ผเู้ สนอแผนการตรวจสอบ (.....................................................) ผ้อู านวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน ลงชื่อ ……………………………………………….. ผู้อนมุ ัติ (ศึกษาธิการจังหวัด ........... )
50 (ภาคผนวก) ขอบเขตการปฏบิ ัติงาน ปฏิทนิ การปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรม หนว่ ยงาน ระดับ มกราคม ……. รวมจานวน ผรู้ บั ผิดชอบ ความเส่ยี ง ุกมภาพันธ์ ……. คนวนั มีนาคม ……. เมษายน ……. พฤษภาคม ……. มิถุนายน ……. กรกฎาคม ……. ิสงหาคม ……. ักนยายน ……. กจิ กรรมการตรวจสอบ สูง 3คน/20วัน/ปี นายเก่ง สูง = 60 คนวนั /ปี นางรอง 1. การสอบทานและ กลุ่ม น.ส.สวย ป ร ะ เมิ น ร ะ บ บ อานวยการ สงู 3คน/20วัน/ปี ควบคุมภายใน สูง = 60 คนวัน/ปี นายเก่ง นางรอง 2. การสอบทานการ กลมุ่ น.ส.สวย ป ระ เมิ น ผ ล ก าร อานวยการ ปฏบิ ัตงิ านดา้ นบัญชี 3คน/20วัน/ปี นายเกง่ ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี = 60 คนวัน/ปี นางรอง ก รม บั ญ ชี ก ล า ง น.ส.สวย กาหนด 3คน/20วนั /ปี = 60 คนวนั /ปี นายเก่ง 3. การติดตามการ -ศธจ. นางรอง ใช้จ่ายงบประมาณ - สพป.... แห่ง น.ส.สวย ในสว่ นของงบลงทนุ - รร. ..... แห่ง 4. การตรวจสอบ กลุ่ม การจดั ซ้ือจัดจ้าง อานวยการ กิจกรรมการพัฒนาระบบการตรวจสอบ 3คน/5วนั /ปี นายเกง่ = 15 คนวนั /ปี นางรอง 1. กิจกรรมพัฒนาผู้ตรวจสอบภายใน สานักงาน น.ส.สวย ศึกษาธิการจังหวัด 3คน/10วัน/ปี = 30 คนวัน/ปี นายเกง่ 2. กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลด้านการตรวจสอบ นางรอง ภายใน น.ส.สวย กจิ กรรมบรหิ ารงานตรวจสอบ 2คน/15วัน/ปี นายเก่ง 1. การจัดทาแผนการตรวจสอบ = 30 คนวนั /ปี นางรอง 2คน/15วัน/ปี 2. การรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตามแผนการ = 30 คนวัน/ปี นายเกง่ ตรวจสอบ 3คน/20วัน/ปี นางรอง = 60 คนวัน/ปี 3. การจัดทาตวั ช้วี ดั คารับรองฯ และการรายงานผล นายเกง่ 3คน/20วนั /ปี นางรอง 4. งานธรุ การ = 60 คนวนั /ปี น.ส.สวย 465 นายเก่ง 155 นางรอง น.ส.สวย รวมจานวนคนวันท่ใี ช้ในการตรวจสอบ รวม คนวนั ต่อปี วันต่อคนตอ่ ปี หมายเหตุ อาจมีการเปล่ียนแปลงไดต้ ามความจาเปน็ และเหมาะสม
51 - ตวั อย่าง - แผนกลยุทธ์ หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด ........ วสิ ัยทัศน์ การตรวจสอบภายในท่ีเป็นมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ตามหลักธรรมาภิบาล พันธกจิ 1. ตรวจสอบด้านการบริหาร การดาเนนิ งาน การเงิน และการบัญชขี องส่วนราชการ หรือ หน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการในเขตจังหวัด ตามหลักธรรมาภิบาล ภายใต้ มาตรฐานการตรวจสอบภายในของหน่วยงานภาครฐั 2. ให้คาปรึกษาในการดาเนินงานภายในส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษา ในเขตจงั หวดั ของตามหลักธรรมาภบิ าล ภายใต้มาตรฐานการตรวจสอบภายในของหนว่ ยงานภาครัฐ 3. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบการตรวจสอบภายในของกระทรวงศึกษาธิการให้ เป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ภายใตม้ าตรฐานการตรวจสอบภายในของหน่วยงานภาครัฐ กลยุทธ์ 1. ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล และให้คาปรึกษาเก่ียวกับการบริหาร และการดาเนินงาน ด้านงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน และด้านอ่ืนๆ ของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษา ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในเขตจังหวัด โดยการวิเคราะห์ ประเมิน และปรับปรุงประสิทธิผล ของกระบวนการบริหารความเสย่ี ง การควบคมุ และการกากบั ดูแล 2. พัฒนาบุคลากรเพื่อให้การตรวจสอบประเมินผลและการให้คาปรึกษามีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน 3. ผลิตและพัฒนาเคร่ืองมือ นวัตกรรมเพ่ือสนับสนุนการตรวจสอบประเมินผล และการให้ คาปรกึ ษาทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน 4. บูรณาการงานตรวจสอบประเมินผล และให้คาปรึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน ภาพรวมของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปา้ ประสงค์ 1. หนว่ ยรบั ตรวจ มีระบบบรหิ ารจดั การที่มีประสิทธภิ าพตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2. หน่วยรับตรวจ ได้รับการตรวจสอบประเมินผล และการให้คาปรึกษาท่ีเพ่ิมคุณค่าและ ปรับปรุงการดาเนินงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น 3 บุคลากรท่ีปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายในมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการตรวจสอบ ภายในของหนว่ ยงานภาครัฐ และสอดคล้องกบั ระดบั ตาแหนง่ 4. มีเคร่ืองมือ นวัตกรรม ท่ีสนับสนุนการตรวจสอบประเมินผล และการให้คาปรึกษาท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ 5. มีการบูรณาการงานตรวจสอบประเมินผล และให้คาปรึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจสอบภายใน
52 อานาจหน้าท่ี 1. ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล และให้คาปรึกษาด้านการบริหาร การเงิน การบัญชี การดาเนินงาน และการบริหารทรัพย์สิน ของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการในเขตจังหวัด ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด และคุ้มค่า ตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คับ และมติคณะรฐั มนตรี 2. วเิ คราะห์ ประเมนิ และปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสยี่ ง การควบคุม และการกากับดูแลของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใน เขตจังหวดั 3. ดาเนินการบริหารงานท่ีเกี่ยวข้องภายในหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้แก่ งานธุรการ งานการเงนิ งานพสั ดุ งานบรหิ ารบุคคล งานพัฒนาบุคลากร และงานพฒั นาองคก์ ร 4. ปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ยี วข้อง หรอื ที่ได้รับ มอบหมาย หนว่ ยรบั ตรวจในสังกัด หน่วยรบั ตรวจในสงั กัด ....... หนว่ ยงาน ประกอบด้วย 1. หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ....... หนว่ ยงาน 1.1 กลุ่มงานในสานักงานศึกษาธิการจงั หวดั ....... กลมุ่ 1.2 สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ....... แห่ง 1.3 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ จานวน ....... แหง่ 2 หนว่ ยงานในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ....... หนว่ ยงาน 2.1 สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ....... แหง่ 2.2 สถานศกึ ษาในสงั กดั ....... แหง่ 2.3 ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษจงั หวัด ....... 3 หนว่ ยงานในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ....... แหง่ 3.1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาจังหวดั ....... 3.2 วิทยาลยั เทคนคิ ....... 3.3 วทิ ยาลัยสารพดั ช่าง ....... 4 หนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วิทยาลยั ชุมชน ....... ใหร้ ะบุโครงสร้าง ภารกิจของหนว่ ยรับตรวจดว้ ย
บทท่ี 5 การปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ การปฏิ บัติงานตรวจสอบ หมายถึง กระบวนการปฏิบั ติงาน หลังจากได้รับอนุ มัติ แผนการตรวจสอบ (Audit Plan) ได้แก่ การจัดทาแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) การดาเนินงานก่อนเร่ิมปฏิบัติงานตรวจสอบ การดาเนินงานระหว่างปฏิบัติงานตรวจสอบ และ การดาเนินงานหลังการปฏิบัติงานตรวจสอบ ทั้งนี้ เพื่อให้การตรวจสอบภายในสามารถรวบรวม ประมวล และวิเคราะห์ขอ้ มลู /ข้อเท็จจรงิ เพยี งพอตอ่ การสรุปและรายงานผลการตรวจสอบ ตอ่ ไป การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน (ผังภาพกระบวนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน) ได้แก่ 1. ก่อนเริ่มปฏิบัตงิ านตรวจสอบ 2. ระหวา่ งปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ 3. หลงั การปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ก่อนเรมิ่ ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ หลังจากแผนการตรวจสอบประจาปีได้รับอนุมัติจากศึกษาธิการจังหวัด ให้ผู้ตรวจสอบภายใน ดาเนินการดงั นี้ 1. จัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) เพ่ือกาหนดรายละเอียด การดาเนินงาน ตามกิจกรรมการตรวจสอบท่ีกาหนดไว้ในแผนการตรวจสอบ (Audit Plan) ได้แก่ การกาหนดวัตถุประสงคก์ ารตรวจสอบ ขอบเขต แนวทางการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ (Audit Program) และทรัพยากรที่ใช้รวมทั้งกาหนดทีมงานที่รับผิดชอบเสนอผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้ความเหน็ ชอบในแผนการปฏบิ ตั งิ าน 2. จัดทาแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Program)เพื่อกาหนดประเด็น วิธีการ ตรวจสอบ เอกสารกระดาษทาการและแหล่งข้อมูลเพื่อให้การตรวจสอบบรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ี กาหนดไว้ในแผนการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ (Engagement Plan) 3. อธิบายแผน/แนวทางการปฏิบตั ิงานตรวจสอบให้แกท่ ีมตรวจสอบ 4. มอบหมายงานตรวจสอบตามแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้ผู้ตรวจสอบแต่ละคน ในทมี ตรวจสอบตามความถนดั ความรู้ และความชานาญ 5. นัดหมายหน่วยรับตรวจเพ่ือเปิดตรวจ พร้อมทั้งทาหนังสือแจ้งหน่วยรับตรวจ และขออนุมัติ เดินทางไปราชการ (ถ้ามี) ยกเว้นการตรวจสอบกรณีพิเศษ และเตรียมการจัดทาเอกสารเครื่องมือ ท่ีใช้ในการตรวจสอบ ได้แก่ บันทึกประชุมเปิด/ปิดตรวจ กระดาษทาการต่างๆ แฟ้มถาวรของหน่วยงาน/ เรือ่ งทีจ่ ะทาการตรวจสอบ ฯลฯ
54 Flow Chart การปฏิบตั ิงาน กระบวนการกอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ แผนการตรวจสอบประจาปี จดั ทาแผนการปฏิบตั ิงาน (Engagement Plan) เสนอแผน ผอ.ตสน. ไมเ่ หน็ ชอบ เพือ่ ใหค้ วามเห็นชอบ เห็นชอบ อธิบายแผนแนวทางให้ทมี ตรวจสอบ มอบหมายงาน ตามแผน/แนวทางปฏิบัตงิ านตรวจสอบ เตรียมการประชุมเปิดตรวจ 1. กาหนดหวั ขอ้ /เอกสารการประชมุ 2. นัดหมายหน่วยรับตรวจเพอื่ เปิดตรวจ
55 ระหว่างการปฏิบัติงานตรวจสอบ เม่อื ถงึ กาหนดเวลาตามแผนการตรวจสอบ 1. ให้ผู้ตรวจสอบภายในประชุมเปิดงานตรวจสอบ ระหว่างทีมตรวจสอบกับผู้รับตรวจที่ เก่ียวข้อง โดยหัวหน้าทีมตรวจสอบจะเป็นผู้ดาเนินการประชุม เพื่ออธิบายวัตถุประสงค์ ขอบเขต การปฏบิ ัติงาน พร้อมทั้งทาความตกลงเกย่ี วกับเกณฑ์ที่จะใช้ในการตรวจสอบ และรับฟังความคิดเห็น จากผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัตงิ านเก่ียวกับเร่อื งที่จะทาการตรวจสอบ 2. ปฏิบัติการตรวจสอบโดยการสอบถามและสัมภาษณ์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล/ หลักฐาน สังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ตรวจสอบ/สอบทานเอกสารหลักฐานทดสอบรายการ ตามแนวทาง การปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ(Audit Program) ทไ่ี ดจ้ ดั ทาไวล้ ่วงหน้า 3. บันทกึ ขอ้ มูลการตรวจสอบ ไวใ้ นกระดาษทาการเกบ็ ขอ้ มลู 4. ประชุมปิดงานตรวจสอบ ในกรณีท่ีหน่วยรับตรวจอยู่ไกลจากสถานที่ตั้งหน่วยงาน อาจดาเนินการระหว่างใกล้ส้ินสุดการตรวจสอบภาคสนามเพ่ือสรุปรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้น ด้วยวาจา (Interim Report)ทาความเข้าใจในประเด็นท่ีตรวจพบ และแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นกับ ผ้บู ริหารและผู้ปฏบิ ัตงิ าน เพื่อใหป้ ัญหาอุปสรรคได้รบั การแก้ไขโดยเร็ว ในขณะเดียวกันก็เป็นการเปิด โอกาสให้ผู้รับตรวจได้ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติม และให้ข้อเสนอในการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานของ ตนเองด้ วยในกรณี ที่ หน่ วยรั บ ตรวจอยู่ ใกล้ สถานที่ ตั้ งห น่ วยงานอาจด าเนิ นการห ลั งสอบท าน กระดาษทาการทั้งหมดและจดั ทากระดาษทาการสรุปผลแลว้ เสร็จ กอ่ นรา่ งรายงานผลการตรวจสอบ Flow Chart การปฏบิ ัตงิ าน กระบวนการระหวา่ งการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ประชุมเปดิ ตรวจ 1. จัดประชมุ 2. สรปุ รายงานการประชุมเปิดตรวจ ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ บนั ทึกข้อมลู การตรวจสอบในกระดาษทาการ ประชมุ ปดิ ตรวจ 1. สรปุ ข้อตรวจพบเบื้องต้น 2. แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กับหนว่ ยรบั ตรวจ เพอื่ ให้ชีแ้ จง ขอ้ มูลเพม่ิ เติม และใหข้ ้อเสนอ ในการพฒั นา/ปรบั ปรงุ งาน
56 หลงั การปฏิบัติงานตรวจสอบ หลังเสร็จสิน้ การปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ 1. ให้ผู้ตรวจสอบภายในวิเคราะห์/ประมวลผลการตรวจสอบจากกระดาษทาการ สรุปไว้ ในกระดาษทาการสรุปผล แล้วเสนอหัวหน้าทีมตรวจสอบสอบทานให้แน่ใจว่า ทีมตรวจสอบได้ ปฏิบัติงานในหน้าท่ีต่างๆ เสร็จสมบูรณ์ โดยสอบทานกระดาษทาการ เอกสารหลักฐานที่รวบรวมไว้ ข้อสรุปส่ิงที่ตรวจพบ และข้อสรุปผลการตรวจสอบในกระดาษทาการสรปุ ผล ว่าถูกต้องและมีข้อมูล ที่เชื่อถือได้เพียงพอต่อการสรุปผลการตรวจสอบ แล้วเสนอผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สอบทานอีกคร้ัง 2. จัดทาร่างรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ เสนอผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบ ภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อสอบทานความเพยี งพอ ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู Flow Chart การปฏิบัติงาน กระบวนการหลังการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ รวบรวมขอ้ มลู กระดาษทาการ วเิ คราะห์กระดาษทาการ จดั ทากระดาษทาการสรุปผล เสนอกระดาษทาการสรปุ ผล ไม่เพยี งพอ/ไม่ถกู ต้อง ผอ.ตสน. เพ่ือสอบทาน ความเพยี งพอ ถูกต้องของขอ้ มูล เพียงพอและถกู ตอ้ ง จดั ทารา่ งรายงานผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ
57 วธิ ีการจดั ทาแผนการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ (Engagement Plan) แผนการปฏิบัติงานตรวจสอบจัดทาข้ึนตามกิจกรรม/เร่ืองท่ีกาหนดในแผนการตรวจสอบประจาปี เพ่ือกาหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต ระยะเวลา แนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Program) และการจัดสรรทรพั ยากรทั้งนี้ แผนการปฏิบัติงานต้องพิจารณาถงึ ยุทธศาสตร์ และวตั ถุประสงค์ของ กิจกรรมท่ีจะตรวจสอบ การควบคุม และความเสยี่ งของกิจกรรมนัน้ ๆ การจดั ทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบมีข้นั ตอน ดังน้ี 1. การกาหนดชอ่ื เรอ่ื ง 2. การกาหนดวัตถุประสงค์ 3. การกาหนดประเด็นการตรวจสอบและวัตถปุ ระสงคก์ ารตรวจสอบในแต่ละประเดน็ 4. การกาหนดเกณฑก์ ารตรวจสอบ 5. การกาหนดวธิ ีการตรวจสอบ 6. การกาหนดแหล่งขอ้ มลู 1. การกาหนดชือ่ เร่อื ง ขั้นตอนนี้โดยปกติเร่ิมตั้งแต่การจัดทาแผนการตรวจสอบประจาปี แต่อย่างไรตามอาจมี การเปล่ียนแปลงชื่อเรื่องภายหลังจากประเมินความเส่ียงเพื่อจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบได้ การกาหนดช่ือเร่ืองการตรวจสอบจะทาให้ผู้ตรวจสอบ ผู้รับตรวจ รวมถึงผู้ท่ีใช้รายงานสามารถ คาดการณ์ต่อสิ่งที่จะพบในรายงานผลการตรวจสอบได้ เช่น การต้ังช่ือเรื่อง “การตรวจสอบ การควบคุมเงินทดรองราชการ” “การติดตามการใช้จ่ายงบลงทุน” หรือ “การสอบทานการประเมินผล การปฏิบตั ิงานด้านบัญชี” เป็นต้น ดังน้ัน ในการปฏิบัติงานตรวจสอบ จึงควรเรมิ่ ต้นใหถ้ ูกต้อง ตัง้ แต่ การกาหนดชอ่ื เรื่องการตรวจสอบ ควรมีลกั ษณะดังนี้ 1.1 กาหนดชื่อเรือ่ งตามลกั ษณะงานตรวจสอบภายใน 1.1.1 ควรกาหนดลักษณะงาน/วธิ ีการดาเนินงานไว้ในช่ือ เช่น การตรวจสอบ การติดตาม หรือการสอบทาน ตัวอย่างเช่น การติดตามผลการดาเนินงานตามแผนการจัดซ้ือจัดจ้าง การสอบทาน การปฏิบัติงานด้านบัญชี ฯลฯวธิ ีการน้ีจะทาให้ผู้ตรวจสอบรวมถึงผู้ท่ีได้รับรายงาน ทราบถึงลักษณะ งาน/วิธกี ารท่ีใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน 1.1.2 ควรกาหนดประเภทการตรวจสอบไว้ในช่ือเร่ืองการตรวจสอบเช่น การตรวจสอบ การดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา (Performance Auditing) การตรวจสอบ การบริหารงบประมาณ (Management Auditing) การสอบทานกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้าง (Operational Auditing) 1.1.3 ควรกาหนดช่ือเร่ืองให้สอดคล้องกับขอบเขตของงานที่จะตรวจสอบ เช่น การตรวจสอบการบริหารพัสดุ หมายความว่า ผู้ตรวจสอบจะทาการตรวจสอบการบริหารพัสดุทั้งหมด ตัง้ แต่กระบวนการวางแผน การจดั หา การได้มา การแจกจ่าย การบารุงรักษา และการจาหน่ายพัสดุ หรืออาจหมายถึง การจัดการพัสดุให้เกิดประสิทธิภาพและประหยัดด้วย แต่หากต้องการตรวจสอบ ทรัพย์สินว่ามีการควบคุม และมีอยู่จริงครบถ้วนถูกต้อง ก็ควรกาหนดชื่อเรื่องเป็นการตรวจสอบ การควบคุมทรัพยส์ นิ เป็นต้น
58 2. การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ การจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่จะตรวจสอบ ซ่ึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมท่ีจะตรวจสอบต้องสอดคล้องกับผลการประเมินความเส่ียง ความเป็นไปได้ ที่อาจจะเกิดข้อผิดพลาด ข้อบกพร่อง การทุจริต การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ รวมทงั้ ความเส่ียงอน่ื ๆ ท่ีมนี ัยสาคัญ โดยขน้ั ตอนการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์มีดงั น้ี 2.1 การกาหนดวตั ถุประสงคช์ ั้นต้น อยา่ งกว้างๆ เพื่อกาหนดทิศทางในการสารวจขอ้ มลู 2.2 สารวจข้อมลู เบือ้ งต้น 2.3 การกาหนดวัตถุประสงคเ์ ฉพาะเจาะจง ตามประเดน็ ท่เี ปน็ ความเส่ยี ง/ประเด็นท่ีควรตรวจสอบ 2.1 การกาหนดวัตถุประสงค์ช้ันต้นอย่างกว้าง เริ่มจากการต้ังคาถามในเรื่องที่เราจะตรวจ ว่าเราอยากรู้อะไร ซึ่งเป็นการกาหนด อย่างกว้าง ๆ ก่อน เพื่อกาหนดทิศทางในการสารวจข้อมูล เบ้ืองต้นก่อนที่จะทาการกาหนดวัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบในแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เช่น อยากรู้ว่า เรื่องน้ันถูกต้องตามระเบียบหรือไม่ จะต้ังวัตถุประสงค์การตรวจสอบกว้างๆ อาจใช้ คากริยาในวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้วา่ “เพื่อสอบทานว่า ................. ดาเนินการถูกต้องตามระเบียบ” หรอื “เพือ่ สอบทานวา่ การดาเนนิ การ .................. เปน็ ไปตามขนั้ ตอนทีร่ ะเบยี บกาหนด” หากต้องการทราบว่า โครงการสาเร็จหรือไม่ ก็จะตั้งวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เบ้อื งต้นวา่ “เพื่อสอบทานวา่ การดาเนินงานโครงการ ...................... บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์” ถ้าผู้ตรวจสอบไม่ต้ังคาถาม หรือต้ังคาถามไม่ได้ หรือต้ังคาถามไม่ชัดเจน ก็จะไม่รู้ว่า ต้องการอะไรจากการตรวจสอบ และหากระหว่างทาการตรวจสอบไม่คิดถึงคาถาม (หรือวัตถุประสงค์ การตรวจสอบ) ก็อาจทาให้ตรวจสอบข้อมูลมากเกินจาเป็น โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ในการตอบคาถาม ตามวตั ถปุ ระสงค์ หรอื อาจตรวจสอบขอ้ มูลน้อยเกนิ ไปไม่เพยี งพอท่ีจะตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ได้ นอกจากน้ี คาถามที่ดตี อ้ งไมใ่ ช่สิ่งที่ทุกคนรูอ้ ยแู่ ลว้ แต่เปน็ ส่ิงทีท่ ุกคนอยากรู้ เราเองก็ อยากรู้ เช่น ถ้าเห็นอาคารเรียนยังสร้าง ไม่เสร็จค้างนาน 3 – 4 ปี ยังเท่าเดิมไม่มีคนทา เราคงไม่ อยากรู้ว่า การก่อสร้างอาคารเรียนมันล่าช้าหรือไม่เป็นไปตามแผนหรือไม่ เพราะใครๆ ก็รู้ว่าล่าช้า แต่คงอยากรู้ว่าทาไมล่าช้า ทาให้เกิดความเสียหายมากน้อยแค่ไหน จะเร่งดาเนินการได้หรือไม่ จะแก้ไข ปญั หาอย่างไรดังนนั้ การตัง้ คาถามจงึ ตอ้ งน่าสนใจและผบู้ รหิ ารสนใจด้วย ตวั อย่างการตั้งวัตถปุ ระสงค์อยา่ งกวา้ งๆ เพื่อสารวจข้อมลู เช่น 1. เพื่อสอบทานการดาเนินการจ้างก่อสร้างอาคารเรียนรวม วา่ เปน็ ไปตามปฏทิ ินการ ปฏบิ ัติงานท่กี าหนด 2. เพื่อสอบทานการดาเนินงานโครงการโรงเรียนดีใกล้บ้าน (โรงเรียนแม่เหล็ก) ว่าเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์และเปา้ หมายทก่ี าหนด 2.2 การสารวจขอ้ มลู เบอ้ื งต้น เม่ือกาหนดวัตถุประสงคเ์ รยี บร้อยแล้ว ใหท้ าการสารวจขอ้ มลู ตามวัตถปุ ระสงค์ เช่น กรณีที่ต้ังวัตถุประสงค์ว่า “เพื่อสอบทานว่า ................. ดาเนินการถูกต้องตาม ระเบยี บ” จะทาการสารวจเรอื่ งนั้นๆ มรี ะเบยี บกฎหมายกาหนดไว้อยา่ งไร ดาเนินการถกู ตอ้ งหรอื ไม่
59 กรณีที่ตั้งวัตถุประสงคว์ ่า “เพื่อติดตามการดาเนินการ ..................... เป็นไปตามขั้นตอนที่ ระเบียบกาหนด” จะทาการสารวจเร่ืองนั้นมีกระบวนการดาเนินการอย่างไร หรือประกอบด้วยข้ันตอน ย่อยใดบ้าง เรื่องน้ัน ๆ รวมถึงแต่ละส่วนย่อยมีระเบียบ วิธีปฏิบัติกาหนดไว้อย่างไร การดาเนินงาน เปน็ อยา่ งไร มีข้นั ตอนใด/ประเดน็ ใดบา้ งท่ดี าเนนิ การไมถ่ ูกตอ้ ง กรณีที่ตั้งวัตถุประสงค์ว่า “เพื่อสอบทานการดาเนินงานโครงการ ...................... บรรลุวัตถุประสงค์” จะทาการสารวจโครงการว่า กาหนดวัตถุประสงค์อย่างไร มีการรายงานผลการ ดาเนินงานหรือไม่ ผลการดาเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการ ดาเนินการอย่างไร ท้ังนี้หากต้องการสารวจข้อมูลเบื้องต้น ให้เป็นไปตามข้อพิจารณาที่กาหนดใน มาตรฐานการตรวจสอบภายใน ต้องทาการสารวจข้อมลู เพือ่ ให้ได้ประเดน็ ต่อไปน้ี 2.2.1 เพอ่ื ใหไ้ ด้วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรมนนั้ 2.2.2 เพอื่ ใหไ้ ด้วธิ ีการทจ่ี ะนามาใชใ้ นการควบคุมผลการดาเนินงานกจิ กรรมนั้น 2.2.3 เพ่ือให้ได้ความเส่ียงท่ีมีนัยสาคัญ วัตถปุ ระสงค์ ทรพั ยากร และการดาเนินงาน ของกจิ กรรมนน้ั 2.2.4 เพื่อให้ได้วิธีการท่ีนามาใช้จัดการกับผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดบั ทีย่ อมรบั ได้ 2.2.5 เพ่ือให้ได้การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมของกิจกรรมที่มีความเพียงพอ และมีประสิทธิผล (มีประสิทธิผล หมายถึง สามารถลดความเสี่ยงได้จริง) เมื่อเปรียบเทียบกับกรอบ การปฏิบตั ิงานหรือรปู แบบการควบคมุ อื่น 2.2.6 เพื่อพิจารณาว่ามีโอกาสในการปรบั ปรงุ การบริหารเสี่ยง การควบคุม และวิธีที่ ปฏบิ ตั ไิ ด้หรอื ไม่ 2.3 การกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง เม่ือทาการสารวจข้อมูลแล้ว สิ่งท่ีได้รับหลักๆ คือ จะทาให้ทราบประเด็นที่เป็นความ เส่ียง/ประเด็นที่เป็นจุดอ่อนท่ียังเหลืออยู่ ซึ่งจะนาสิ่งนี้มาใช้กาหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบให้ เฉพาะเจาะจง ซ่ึงปกติการกาหนดวัตถุประสงคก์ ารตรวจสอบในขั้นตอนนี้ต้องชัดเจน และจะไมเ่ ขียน วตั ถปุ ระสงคใ์ นเชงิ กระบวนการ (เขยี นด้วยคากรยิ า) เหมือนการกาหนดวัตถปุ ระสงคข์ น้ั ต้นที่เป็นการ กาหนดวัตถุประสงค์อย่างกว้าง น่ันคือในข้ันตอนน้ี เราจะไม่เขียนวัตถุประสงค์การตรวจสอบว่า “เพ่ือตรวจสอบ ...........” หรือ “เพ่ือสอบทาน ...............” หรือ “เพื่อติดตาม ................” แต่จะ เขียนวัตถปุ ระสงค์เชิงเป้าหมายว่า หลังจากตรวจสอบแล้วเราจะได้อะไร โดยจะใช้คาว่า “เพ่ือทราบ ว่า ......” และ “เพื่อให้ม่ันใจว่า ......” ซึ่งทั้ง 2 คานี้ มีความแตกต่างกันที่น้าหนักของการตรวจสอบ ว่าต้องการมากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะส่งผลต่อเทคนิคและปริมาณการตรวจสอบด้วย หากกาหนด วัตถุประสงคก์ ารตรวจสอบว่า “เพื่อให้ม่ันใจว่า” น่ันคือ ต้องตรวจสอบจนม่ันใจ จึงจะสรุปผลได้ ซ่ึง จะส่งผลต่อขอบเขต/ปริมาณงาน เทคนิค/วิธีการตรวจสอบ ตลอดจนเอกสารหลักฐานที่ใช้ เพ่ือให้ บรรลุวัตถุประสงค์นั้น กล่าวคือ อาจต้องตรวจสอบข้อมูลปริมาณมาก ต้องตรวจสอบด้วยเทคนิค วิธีการท่ีแม่นยา เอกสารหลักฐานที่มีความเช่ือถือสูง และต้องตรวจสอบให้ครอบคลุมพอเพียง เป็นต้น การกาหนดวัตถุประสงค์ในลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะใช้กับการตรวจสอบประเภทตรวจสอบการปฏิบัติ ตามกฎระเบยี บ และการตรวจสอบเพ่อื รบั รองงบการเงิน เปน็ ต้น
60 3. การกาหนดประเดน็ การตรวจสอบและวตั ถปุ ระสงค์การตรวจสอบในแต่ละประเดน็ หลังจากกาหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ ตามความเส่ียงที่มีนัยสาคัญแล้ว ข้ันตอน ถดั ไป คอื การกาหนดประเดน็ การตรวจสอบ ซึง่ จะไดจ้ ากการสารวจข้อมูลเบอื้ งต้นเชน่ เดียวกนั ทง้ั น้ี เน่ืองจากการตรวจสอบเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ีกาหนดอาจมีประเด็นที่ต้องพิจารณาจานวน มาก ดังน้ันผู้ตรวจสอบจึงควรกาหนดประเด็นเบ้ืองต้นต้ังแต่การสารวจข้อมูล ประเด็นเบ้ืองต้นน้ี อาจเรียกว่า ปัญหาสาคัญที่ควรตรวจสอบ (Matter Of Potential Significant: MOPS) เมอื่ สารวจขอ้ มูลแล้วเสร็จ ผู้ตรวจสอบจะสามารถระบุประเด็นปัญหาสาคัญได้ (Matter of Significant : MOS) ให้นาประเด็นปัญหาสาคัญน้ัน มากาหนดเป็นประเด็นการตรวจสอบ และ แมก้ ารกาหนดประเดน็ การตรวจสอบจะมาจากปัญหาที่สาคัญ แต่วิธกี ารเขียนประเด็นการตรวจสอบ ไม่ควรเขียนในเชิงลบ (Negative) เช่นหากพบว่า หน่วยงานกาหนดวัตถุประสงค์ของโครงการไม่ชัดเจน และไม่กาหนดตัวชี้วัด อาจทาให้ไม่สามารถวัดผลการดาเนินงานโครงการได้ว่าสาเร็จหรือไม่ ให้กาหนดประเดน็ การตรวจสอบ ดังน้ี ประเด็นการตรวจสอบ: การกาหนดวตั ถุประสงค์และตัวชว้ี ดั ของโครงการชัดเจน วตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพื่อทราบว่า หน่วยงานกาหนดวตั ถุประสงค์และตัวชี้วัด ทีช่ ดั เจนสามารถวัดผลการดาเนนิ งานโครงการได้ ตัวอย่างการกาหนดประเด็นตามกระบวนการ เช่น กรณีตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย ถ้ากาหนดวัตถุประสงค์ว่า เพ่ือให้มั่นใจว่าการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างเป็นไปตามกฎระเบียบ และไม่ระบุประเด็นการตรวจสอบ หมายความว่า ผู้ตรวจสอบต้องตรวจสอบการดาเนินการทั้งหมด ตงั้ แต่เริ่มต้นถึงส้ินสุด ว่าเป็นไปตามระเบยี บการจัดซ้ือจดั จ้างฯ ซึ่งปริมาณจะเยอะมาก และผู้ตรวจสอบที่ มีประสบการณ์เท่านั้น จึงจะทราบว่าปริมาณที่ต้องตรวจสอบทั้งหมดมีเท่าใด และเริ่มที่จุดใด ดังนั้น เพ่ือให้ผู้ตรวจสอบทุกคนเข้าใจตรงกัน และง่ายต่อการปฏิบัติงาน อาจกาหนดประเด็นในการ ตรวจสอบตามกระบวนการ/ขนั้ ตอนทีไ่ ด้จากการสารวจข้อมลู 4 การกาหนดเกณฑก์ ารตรวจสอบ เกณฑ์การตรวจสอบ เป็นส่ิงที่ใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบกับข้อตรวจพบหรือส่ิงที่เรา ตรวจพบว่า เป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่ ก่อนที่จะนาไปตอบวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบในเรื่อง/ ประเดน็ นัน้ ๆ ตวั อยา่ ง 1 ถ้าตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และกาหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ : เพื่อให้มนั่ ใจวา่ การดาเนินการจัดซื้อจดั จ้างเป็นไปตามกฎระเบยี บ เกณฑก์ ารตรวจสอบ คือ การดาเนนิ การจัดซ้ือจัดจา้ งเป็นไปตามระเบียบการจัดซ้ือจัดจ้างฯ หมายความว่า ผู้ตรวจสอบจะมั่นใจได้ว่า การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างเป็นไปตามกฎระเบียบ ก็ต่อเมื่อดาเนินการตรวจสอบ แล้วพบว่า การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานท้ังหมดทุกขั้นตอน เป็นไปตามระเบยี บการจัดซอื้ จดั จ้างฯแต่ถ้าการตรวจสอบน้ัน กาหนดเป็นประเดน็ การตรวจสอบย่อย และกาหนดวัตถปุ ระสงคย์ อ่ ย ก็ตอ้ งกาหนดเกณฑย์ ่อยดว้ ย ตัวอยา่ งประเด็นย่อย การกาหนดราคากลางงานกอ่ สรา้ ง วตั ถปุ ระสงคย์ อ่ ย เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจว่า การกาหนดราคากลางเปน็ ไปตามแนวทางและวิธีปฏิบตั ิ
61 เกณฑก์ ารตรวจสอบ 1. มีการแต่งต้ังคณะกรรมการกาหนดราคากลางและควรมีผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับ การประมาณราคาร่วมเปน็ กรรมการดว้ ย 2. ราคากลางได้รับความเหน็ ชอบจากหัวหนา้ สว่ นราชการ 3. ราคากลางทใี่ ชใ้ นการประกาศต้องมีอายไุ ม่เกนิ 30 วันนบั แตว่ นั ที่ได้รบั ความเหน็ ชอบ ตวั อยา่ ง 2 ถา้ เป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงาน วตั ถุประสงคก์ ารตรวจสอบกาหนดวา่ “เพ่ือทราบ ว่า ผลการดาเนินงานโครงการบรรลุวตั ถุประสงค์เป้าหมาย” เกณฑ์การตรวจสอบ ก็คือ ส่ิงท่ีจะทาให้ผู้ตรวจสอบทราบได้ว่า โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายน่ันคือเป้าหมาย/ตัวชี้วัดของโครงการ ซึ่งตามมาตรฐานกาหนดให้ใช้เกณฑ์ของหน่วยงาน โดยพิจารณาจากเป้าหมาย/ตัวชี้วัดของโครงการ ในการท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมาย หากผู้ตรวจสอบ พจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่า หลกั เกณฑ์น้นั เพียงพอ แตถ่ ้าผลการสารวจข้อมูล พบว่า ตัวชวี้ ัดไม่มี และวตั ถุประสงค์ ไม่ชัดเจน ก็ให้ผู้ตรวจสอบกาหนดเกณฑ์การตรวจสอบข้ึน แล้วนาไปหารือกบั ผู้บริหารของหน่วยรบั ตรวจ ในการประชุมเปิดตรวจ 5. การกาหนดวิธกี ารตรวจสอบ เม่ือกาหนดเกณฑ์การตรวจสอบแล้ว ให้กาหนดวิธีการตรวจสอบตามเกณฑ์ โดยให้ พจิ ารณาว่าการที่จะทาให้ได้ขอ้ มูลตามเกณฑ์จะต้องทาอะไร อยา่ งไร และตอ้ งพิจารณาด้วยว่า จะใช้ เทคนิควิธีการใดเพื่อให้ได้ข้อมูลถูกต้อง น่าเช่ือถือ และเพียงพอท่ีจะรายงานผลการตรวจสอบว่า สามารถรายงานได้ครบทั้ง 5 องค์ประกอบ ซ่ึงได้แก่ ส่ิงทีเ่ ป็นอยู่ (condition) เกณฑ์ คอื สงิ่ ท่ีควรจะ เป็น (criteria) สาเหตุ (Cause) ผลกระทบ (effect) และขอ้ เสนอแนะ (Recommendation) สาหรับการจัดทาวิธีการตรวจสอบ สามารถจัดทาได้หลายแบบ หากหน่วยงานมีบุคลากรใหม่ ควรกาหนดขั้นตอนให้ละเอียดเพ่ือสามารถปฏิบัติงานตามแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบได้ ส่วนกรณบี ุคลากรมคี วามชานาญงานและปฏิบัตงิ านในเร่ืองดังกลา่ วเป็นประจาอยู่แล้ว ก็อาจกาหนด วธิ ีการตรวจสอบอยา่ งกวา้ งๆ ได้ การกาหนดวิธกี ารท่ัวไปทใี่ ช้ในการตรวจสอบ การกาหนดวิธีการทั่วไปท่ีดาเนินการเหมือนๆ กัน ในการตรวจสอบทุกๆ คร้ัง อาจไม่ต้อง กาหนด รายละเอียดวิธีการนั้น ไว้ในแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบ แต่ให้ระบุไว้ในคู่มือ การปฏบิ ัติงาน เช่น วิธีการสุม่ ตรวจสอบข้อมูล ในแนวทางการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ อาจระบเุ พียงว่า ให้สุ่มตรวจสอบข้อมูลใดบ้าง สาหรับรายละเอียดการสุ่มว่าจะสุ่มแบบไหน อย่างไร ให้ระบุไว้ในคู่มือ การปฏิบัติงานตรวจสอบ เช่น วิธีการสุ่มตรวจสอบเอกสารหลักฐานการจ่าย ให้ดาเนินการสุ่ม ร้อยละ 10 โดยการเลือกรายการที่ 1 นับต่อไปอีก 10 รายการ แล้วเลือกรายการที่ 11 หรืออาจ กาหนดวิธีการในการสุ่มตรวจ กรณีที่เข้าตรวจสอบระหว่างเดือนไม่ว่าจะตัดยอดเข้าตรวจสอบ ณ วันใด ของเดือน ก็ให้ทาการสุ่มตรวจข้อมูลของเดือนก่อนเดือนท่ีเข้าตรวจสอบย้อนหลังเต็มเดือน น่ันคือ หากเข้าตรวจสอบเดือนเมษายน ไม่ว่าจะวันใดก็ตาม ให้ทาการตรวจสอบข้อมูลเดือนมีนาคม ต้ังแต่ วันที่ 1 - 31 มนี าคม
62 6. การกาหนดแหล่งขอ้ มลู การกาหนดแหล่งข้อมูลให้กาหนดจากวิธีการตรวจสอบ โดยใหพ้ ิจารณาวา่ การทจ่ี ะทาการ ตรวจสอบด้วยวิธีการนั้น ๆ ต้องตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งใด เช่น ถ้าต้องตรวจสอบเอกสารต้องขอ เอกสารจากใคร หนว่ ยงานใด หากต้องการสัมภาษณ์ในเรื่องทต่ี รวจ ตอ้ งสัมภาษณใ์ คร ท้ังนี้ ตอ้ งระบุ แหล่งข้อมลู ให้ชดั เจนเพ่อื ใหผ้ ตู้ รวจสอบสามารถหาขอ้ มูลการตรวจสอบได้ อย่างไรกต็ าม ผู้ตรวจสอบ ต้องพิจารณาถึงความน่าเช่ือถือของข้อมูล และแหล่งข้อมูลด้วยว่า มาจากแหล่งใดจึงจะได้ข้อมูลท่ี น่าเช่อื ถือมากทส่ี ดุ ลกั ษณะของเอกสารและแหล่งข้อมลู หลักฐานที่มีความน่าเชือ่ ถือนอ้ ย 1. หลักฐานท่เี ปน็ นามธรรมหรอื จับตอ้ งยาก หลกั ฐานท่ีมีความน่าเชื่อถือมาก 2. ได้มาจากแหลง่ ข้อมลู ภายใน 1. มคี วามเปน็ รูปธรรมหรอื กายภาพ 3. ไดม้ าจากแหลง่ ท่มี ีระบบควบคุมภายในที่ไมด่ ี 2. ไดม้ าจากแหลง่ ขอ้ มลู ภายนอก 4. ไดร้ ับจากผ้รู บั การตรวจสอบ 3. ได้มาจากแหลง่ ที่มีระบบควบคมุ ภายในท่ดี ี 5. เอกสารท่เี ป็นสาเนา 4. ผตู้ รวจสอบไดร้ ับจากแหล่งข้อมูลโดยตรง 6. ความคิดเหน็ โดยท่ัวไป 5. เอกสารทเี่ ป็นต้นฉบับ 7. หลักฐานท่ีเปน็ คาพดู หรอื ความเห็นทวั่ ไป 6. ความคดิ เหน็ ของผูเ้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้าน 7. หลักฐานที่เปน็ เอกสารหรอื กายภาพ
63 - แบบฟอร์ม - รูปแบบแผนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) รหสั โครงการ...................... แผนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ โครงการ/เรื่องตรวจสอบ.................................................. ความเปน็ มา/หลกั การและเหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………… วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ/การสอบทาน/การตดิ ตาม 1…………………………………………………………………………………………………………….. 2…………………………………………………………………………………………………………….. ประเด็นการตรวจสอบ 1…………………………………………………………………………………………………………….. 2…………………………………………………………………………………………………………….. ระยะเวลาท่ีใช้ในการตรวจสอบ........................................................................................... แนวทางการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ แหลง่ ข้อมลู ประเดน็ /วตั ถปุ ระสงค์ เกณฑ์การตรวจสอบ ช่ือผู้ตรวจสอบ........................................... งบประมาณทีใ่ ช.้ ....................(ถ้าม)ี ........... ผู้จดั ทา................................................... ผู้อนุมตั .ิ .................................. วันท.ี่ ...................................................... วันที่ ........................................ จากหลักการท่ีกล่าวมาข้างต้น จะขอยกตัวอย่างการจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) เรื่อง การตรวจสอบเงินทดรองราชการ พร้อมการจัดทากระดาษทาการที่ เกี่ยวขอ้ ง บันทกึ เปดิ การประชมุ ช้ีแจงการดาเนินงาน บันทึกปิดการประชมุ ชแี้ จงการดาเนนิ งาน ดังนี้
64 - ตัวอย่าง - แผนการปฏบิ ัตงิ าน การตรวจสอบระบบเงนิ ทดรองราชการ หลกั การและเหตผุ ล ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2547 ไดอ้ นญุ าตให้ส่วนราชการ มีเงินทดรองราชการ เพ่ือนาไปทดรองจ่ายในการปฏิบัติราชการได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ และให้ส่วนราชการสามารถเก็บรักษาเงินทดรองราชการเป็นเงินสด ณ ที่ทาการเพื่อสารองจ่ายได้ ตามจานวนท่ีระเบียบกาหนด สาหรับเงินทดรองราชการส่วนที่เกินกว่าที่กระทรวงการคลังอนุญาต ให้เก็บรักษาเป็นเงินสด ณ ท่ีทาการ หน่วยงานต้องนาฝากไว้ในบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ และส่วนราชการต้องเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน สาหรับสั่งจ่ายเงินทดรองราชการ โดยมีข้อตกลงให้ธนาคารโอนเงินจากบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์ ไปเข้าบัญชเี งนิ ฝากประเภทกระแสรายวัน สาหรับการจ่ายเงินทดรองราชการให้เขียนเช็คส่งั จ่ายจาก บัญชีเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน ทั้งน้ี ดอกเบ้ียที่เกิดจากเงินทดรองราชการที่นาฝาก ธนาคาร จะตอ้ งนาส่งคลังเป็นเงินรายไดแ้ ผ่นดนิ เงนิ ทดรองราชการ มีไว้สาหรบั ทดรองใชจ้ า่ ยตามงบประมาณรายจา่ ย ดังต่อไปนี้ 1. งบบุคลากรเฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกาหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอนเป็นประจาแต่จาเป็นต้อง จา่ ยให้ลกู จ้างแต่ละวนั หรือแต่ละคราวเมือ่ เสรจ็ งานทจ่ี ้าง 2. งบดาเนนิ งาน ยกเวน้ คา่ ไฟฟา้ และนา้ ประปา 3. งบกลาง เฉพาะท่ีจ่ายเป็นเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาบุตรและสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล 4. งบอื่นท่จี ่ายในลกั ษณะเช่นเดยี วกับ ข้อ 1. และขอ้ 2. ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ท่ี กค 0402.4/038238 ลงวันท่ี 5 กันยายน 2560 ได้อนุมัติวงเงินทดรองราชการเพื่อให้ส่วนราชการทดรองจ่ายในการปฏิบัติราชการได้อ ย่างรวดเร็ว คลอ่ งตัว และมีประสทิ ธิภาพ ใหส้ านักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั 77 แหง่ แห่งละ 1,000,000 บาท เงินทดรองราชการมีเพ่ือช่วยให้ส่วนราชการมีเงินสดในการบริหารจัดการให้เกิดสภาพ คล่อง และมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมให้เพียงพอเหมาะสม จึงต้องมีการบริหาร จดั การให้มปี ระสทิ ธิภาพ และควบคมุ ให้เงินทดรองราชการทม่ี ีอยูถ่ ูกต้อง ครบถว้ น วตั ถุประสงค์การตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบการควบคมุ เงนิ ทดรองราชการมคี วามเพยี งพอ เหมาะสม
65 ประเดน็ การตรวจสอบ 1. การจดั ทาทะเบียนคมุ เงินทดรองราชการถกู ตอ้ ง 2. การตรวจสอบความเคล่อื นไหวเงินทดรองราชการ 3. การมอบหมายผู้รบั ผดิ ชอบควบคุมเงินทดรองราชการ 4. การควบคมุ การรบั – จ่ายเงินทดรองราชการรดั กมุ 5. การเก็บรักษาเงินทดรองราชการที่คงเหลือเปน็ เงินสดถูกต้อง 6. การจา่ ยเงินเพือ่ ใหบ้ รกิ ารเงนิ สวัสดิการถกู ตอ้ ง 7. การจดั ทารายงานประจาเดือนครบถ้วนถกู ตอ้ ง ขอบเขตการตรวจสอบ ตรวจสอบเงินทดรองราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ....... ข้อมลู เพียงส้นิ เดือน ............. พ.ศ. ....... ระยะเวลาการตรวจสอบ ระหว่างวันที่ ..................................................
- ตวั อย แนวทางการปฏบิ ตั งิ านการตร ประจาปีงบประมา วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อใหม้ นั่ ใจวา่ ระบบการควบคมุ เงินทดรองราชการมคี วามเพยี งพอ เห ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑก์ ารตรวจสอบ 1. การจัดทาทะเบยี นคุมเงนิ ทดรอง เงินทดรองราชการมีอยู่จริงครบถ้วนตรง 1 ราชการถกู ต้อง กับยอดคงเหลือตามทะเบียนคุมเงินทดรอง ณ ราชการ ล ค ร ท ย จ
ย่าง - รวจสอบเงนิ ทดรองราชการ าณ พ.ศ. …….. หมาะสม วธิ กี ารตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหล่งข้อมูล 1. สอบทานความมีอยู่จริงของเงินทดรองราชการ แหลง่ ขอ้ มลู ณ วันที่ตัดยอดที่เป็นเงินสด เงินฝากธนาคาร 1. ทะเบยี นคมุ เงนิ ทดรองราชการ ลกู หนี้ ใบสาคัญว่าถูกตอ้ ง ครบถว้ น ตรงตามยอด 2. สมดุ บัญชเี งินฝากธนาคาร คงเหลือที่ปรากฏในทะเบียนคุมเงินทดรอง 3. สัญญ ายืมและทะเบียนคุม 66 ราชการหรือไม่ โดยดาเนนิ การ ดงั น้ี ลกู หน้ี (ถ้ามี) - ตรวจนับเงนิ สด 4. สาเนาใบรับใบสาคญั - ตรวจสอบสัญญายมื เงินทีย่ ังไมไ่ ดส้ ง่ ใช้ 5. สาเนาใบเสรจ็ รับเงนิ - ตรวจสอบใบสาคญั 6. ใบสาคญั คา้ งเบกิ - ตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือตาม 7. รายงานงบเทียบยอดเงินฝาก ทะเบียนคุมเงินทดรองราชการเปรียบเทียบกับ ธนาคารเงนิ ทดรองราชการ ยอดคงเหลือตามสมุดคู่ฝากหากไม่ตรงกันให้ 8. ต้นข้ัวเช็ค/ทะเบยี นคุมเชค็ จดั ทางบเทียบยอดเงนิ ฝากธนาคาร (ออมทรพั ย์) กระดาษทาการ 1. รายละเอยี ดฐานะเงินทดรอง ราชการณวนั ตดั ยอด 2. งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร เงนิ ทดรองราชการณวนั ตัดยอด
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑก์ ารตรวจสอบ 2 2. การตรวจสอบรายการเคลื่อนไหว 1. คาสั่งแต่งตั้งผู้ทาหน้าที่ตรวจสอบ เค เงนิ ทดรองราชการ รายการเคลือ่ นไหว ห 2. ผู้ได้รับแต่งตั้งลงลายมือชื่อรับรอง ไ การตรวจสอบกากับในทะเบียนคุมเงินทด ท รองราชการ ร ได 3. การมอบหมายผรู้ ับผดิ ชอบ ผู้จ่ายเงินทดรองราชการไม่เป็นเจ้าหน้าท่ี 3 ควบคมุ เงนิ ทดรองราชการ วางเบกิ เงนิ งบประมาณชดใช้ ว 4. การควบคุมการรบั -จา่ ย เงนิ ทดรองราชการรัดกุม ร ผ เด เง 1. มี ใบ เส ร็จ รับ เงิน แ ล ะ ห รือ ใบ รั บ 4 ใบสาคญั เมื่อรับเงินสดและหรือใบสาคัญ 2. หลักฐานการจ่ายได้รับอนุมัติจากผู้มี ใบ อานาจ อ 3. หลักฐานการจ่ายประทับตรา “จ่ายเงิน แลว้ ”
วิธกี ารตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหลง่ ข้อมลู 2. สอบทานวา่ แหลง่ ข้อมลู 2.1 มี ก ารแ ต่ งต้ั งผู้ ต รว จ ส อ บ ราย ก าร 1. คาสั่งมอบหมายผคู้ วบคุมเงิน คลื่อนไหวในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ ทดรองราชการ หรือไม่ หากมีการแต่งต้ังผู้ท่ีได้รับการแต่งตั้งต้อง 2. คาส่ังมอบหมายผู้ตรวจสอบ ม่เป็นบุคคลคนเดียวกับเจ้าหน้าท่ีผู้จัดทา รายการเคล่ือนไหวในทะเบียนคมุ ทะเบียนคมุ เงินทดรองราชการ เงนิ ทดรองราชการ 2.2 ผู้ท่ีได้รับการแต่งต้ังให้เป็นผู้ตรวจสอบ 3. ทะเบียนคุมเงนิ ทดรองราชการ รายการเคล่ือนไหวในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ กระดาษทาการ ด้ทาการตรวจสอบเป็นประจาทกุ วันหรือไม่ แบบเก็บข้อมลู 67 3. ใหต้ รวจสอบโดยดูคาสัง่ และสงั เกตการปฏบิ ัติงาน แหล่งขอ้ มลู วา่ มีการมอบหมายผู้รับผดิ ชอบควบคมุ เงนิ ทดรอง คาสง่ั มอบหมายงาน ราชการโดยเฉพาะ ซึ่งผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็น กระดาษทาการ ผู้จ่ายเงินทดรองราชการต้องไม่เป็นบุคคล แบบเกบ็ ข้อมูล ดียวกับเจ้าหน้าท่ีผู้วางเบิกเงินงบประมาณชดใช้ งินทดรองราชการ 4. ใหส้ อบทานว่า แหล่งขอ้ มูล 4.1 การสง่ ใช้เงินยืมเงินเป็นเงินสด มีการออก 1. ใบเสรจ็ รับเงนิ บเสร็จรับเงินหรือไม่ และกรณสี ่งใชเ้ ป็นใบสาคัญ 2. ใบรบั ใบสาคัญ ออกใบรบั ใบสาคญั หรือไม่ 3. หลักฐานการส่งใช้เงินยมื กระดาษทาการ แบบเก็บข้อมูล
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑ์การตรวจสอบ 5. การเกบ็ รักษาเงนิ ทดรองราชการ เงนิ สดคงเหลือเก็บรักษาในตู้นิรภัย ถ ที่คงเหลือเปน็ เงนิ สดถูกตอ้ ง ร เส ป ก ก 5 ต ค เก
วิธกี ารตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหล่งข้อมลู 4.2 ก่อนการจ่ายเงิน มีการตรวจสอบความ ถูกต้อง ครบถ้วน ของหลักฐาน ได้แก่ ใบสาคัญ รองจ่าย สัญญายืม และเอกสารประกอบ แล้ว สนอขออนมุ ตั ิจากผมู้ อี านาจ หรือไม่ 4.3 เม่ื อจ่ายเงิน ให้ ตรวจสอบ ห ลักฐาน ประกอบการจ่ายค่ารักษาพยาบาล และค่า การศึกษาบุตรที่เป็นใบเสร็จรับเงินทุกฉบับ ว่ามี การประทับตรา “จา่ ยเงนิ แลว้ ” หรอื ไม่ 5. ให้สอบทานวา่ แหล่งขอ้ มูล 68 5.1 มีการเก็บรักษาเงินสดในมือคงเหลือไว้ใน 1. รายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั ตู้นิรภัย และระบุจานวนเงินไว้ในรายงานเงิน 2. เงนิ สดคงเหลือ คงเหลือประจาวนั ในช่อง “หมายเหตุ” หรือไม่ กระดาษทาการ 5.2 ตรวจนับจานวนเงินสดเก็บรักษา ณ ที่ทาการ แบบเก็บข้อมลู กินวงเงนิ ท่กี ระทรวงการคลังอนญุ าตหรือไม่
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑ์การตรวจสอบ 6. การจ่ายเงินเพื่อให้บริการเงิน เงนิ คงเหลอื ถูกต้องครบถ้วน สวสั ดกิ าร 6.1 กรณีมตี นู้ ิรภัย 6.1 จ่ายตามใบสาคัญโดยใช้วงเงินสารอง 6 จ่ายท่ไี ด้รบั อนมุ ัติให้เกบ็ รักษา ค ไ ร ใ เ 6.2 กรณีไม่มีตู้นิรภยั 6.2 จา่ ยตามสญั ญายืม ร 6 เ ส ว ร เ เ ร
วธิ ีการตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหลง่ ข้อมูล แหล่งขอ้ มูล 1. เงนิ สดคงเหลือ 6.1 ใหส้ อบทานวา่ 2. รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวัน 6.1.1 ก่อนการจ่ายเงิน มีการตรวจสอบ 3. สาเนาสญั ญายืม ความถูกต้อง ครบถว้ น ของหลักฐานขอเบิก และ 4. ทะเบียนคุมสรปุ ยอดจา่ ยและ ได้รับอนุมัติจากผมู้ อี านาจ เงนิ คงเหลอื 6.1.2 ห ลั ก ฐาน ป ระก อบ ก ารจ่ ายค่ า 5. ทะเบยี นคุมเงินทดรองราชการ รั กษาพยาบาล และค่ าการศึ กษาบุ ตรท่ี เป็ น 6. หลักฐานการส่งใช้เงนิ ยืม ใบเสรจ็ รับเงินทุกฉบบั มีการประทบั ตรา “จ่ายเงินแล้ว” 7. ใบเสรจ็ รบั เงนิ 69 6.1.3 มีการบันทึกรายการในทะเบียนคุม 8. ใบรับใบสาคญั เงินทดรองราชการครบถว้ น ถกู ตอ้ ง 9. ตน้ ขวั้ เช็ค/ทะเบียนคมุ เชค็ 6.1.4 ยอดคงเหลือในทะเบียนคุมเงินทด กระดาษทาการ รองราชการถกู ต้องครบถ้วน แบบเกบ็ ข้อมูล 6.2 ใหส้ อบทานวา่ 6.2.1 การยืมเงินทดรองราชการเพื่อจ่าย เป็นค่ารักษาพยาบาลหรือค่าการศึกษาบุตรทา สัญญายืมเงินตามแบบของทางราชการกาหนด วงเงิน ยืมตามความจาเป็ นและเหมาะสม ระยะเวลายืมเงินไม่เกิน 30 วันนับจากวันรับเงิน เสนอผู้มีอานาจอนุมัติจานวน 2 ฉบับ โดยผู้ยืม เก็บไว้ 1 ฉบับอีก 1 ฉบับใช้เป็นหลักฐานบันทึก รายการจา่ ยในทะเบียนคมุ เงินทดรองราชการ
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑ์การตรวจสอบ ค ต ก เ บ ล ก ร 6 จ จ ย ใ
วิธีการตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหล่งข้อมูล 6.2.2 มกี ารตรวจสอบหลักฐานขอเบิกเงิน 70 ค่ารักษาพยาบาลหรือค่าการศึกษาบุตรให้ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของหลักฐาน กอ่ นจา่ ยเงิน 6.2.3 ผู้รับเงนิ ลงลายมือชอื่ รับเงินในใบเบกิ เงนิ สวัสดกิ ารค่ารักษาพยาบาลหรอื ค่าการศึกษา บตุ ร มีการประทับตรา “จา่ ยเงินแล้ว” พรอ้ มลง ลายมอื ชอื่ ช่อื ตวั บรรจงและวันทีจ่ ่ายในหลักฐาน การจา่ ยเช่นเดยี วกับกรณจี า่ ยจากเงนิ ทดรอง ราชการโดยตรง 6.3 จัดทาทะเบียนควบคุมเงินยืมให้ทราบว่า จานวนเงนิ ที่ยืมมาน้ันมีการจ่ายแล้วและคงเหลือ จานวนเท่าใดโดยทุกสิ้นวันต้องสรปุ ยอดจ่ายและ ย อ ด ค ง เห ลื อ ใ น ท ะ เบี ย น ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต ร ง กั บ ใบสาคัญและตัวเงินคงเหลอื
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑก์ ารตรวจสอบ 7. การจดั ทารายงานประจาเดอื น 6 ครบถว้ นถูกต้อง ใบ ร ร แ เง ห 6 ร ท 6 ร มกี ารจดั ทารายงานต่อไปน้ี 1 1. รายงานฐานะเงินทดรองราชการ ร 2. รายละเอียดลูกหนี้เงินทดรองราชการ ท คงเหลอื แ 3. รายละเอียดใบสาคัญ เงินทดรอง ใน ราชการ “ 4. งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (ออม 2 ทรพั ย์) ร
วธิ ีการตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหล่งข้อมูล 6.4 เม่ือครบกาหน ดส่งใช้ให้ ผู้ยืมรวบรวม บสาคัญและเงินสดคงเหลือส่งใช้เงินยืมทดรอง ราชการโดยผู้ควบคุมเงินทดรองราชการออกใบ รับใบสาคญั ตามจานวนเงินทส่ี ง่ ใชเ้ ปน็ ใบสาคัญ และออกใบเสร็จรบั เงินตามจานวนเงินท่สี ่งใช้เป็น งินสดพร้อมบันทึกการส่งใช้ด้านหลังสัญญายืม หากมคี วามประสงค์จะยืมอีกใหท้ าสัญญายืมใหม่ 6.5 การเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรอง ราชการมีการปฏบิ ัติเช่นเดียวกับกรณจี ่ายจากเงิน 71 ทดรองราชการโดยตรง 6.6 มีการบันทึกรายการในทะเบียนคุมเงินทดรอง ราชการครบถว้ น ทุกรายการ 1. ตรวจนับจานวนเงนิ สดคงเหลอื ของเงนิ ทดรอง แหล่งขอ้ มลู ราชการให้ถูกต้องตรงกับยอดที่ปรากฏ ใน 1. รายงานฐานะเงนิ ทดรองราชการ ทะเบียนคมุ เงินทดรองราชการในช่อง “คงเหลอื ” 2. รายละเอียดลูกหนี้เงินทดรอง และเงินสดคงเหลือจะต้องเก็บรักษาไว้ในตู้นิรภัย ราชการคงเหลือ นลักษณะหีบห่อ และระบุจานวนเงินในช่อง 3. รายละเอียดใบสาคัญเงินทด “หมายเหตุ” ของรายงานเงินคงเหลอื ประจาวัน รองราชการ 2. ตรวจสอบต้นขวั้ เช็ค ที่มีการสั่งจ่ายเงินทดรอง 4. งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร ราชการ ซึ่งจะต้องมหี ลักฐานการจ่ายเงนิ ครบถ้วน (ออมทรัพย์)
ประเด็นการตรวจสอบ เกณฑก์ ารตรวจสอบ ผู้จดั ทา 3 วนั ที่ ธ ท ช ส เช ห ธ 4 แ ร ท 5 ข ป “
วิธกี ารตรวจสอบ กระดาษทาการ/แหลง่ ข้อมูล 3. ตรวจสอบยอดคงเหลือในบัญ ชีเงินฝาก กระดาษทาการ ธนาคารประเภทออมทรัพย์ให้ถูกตอ้ งตรงกบั ยอด รายละเอียดต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น ท่ีปรากฏในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการใน ลูกหนี้ ใบสาคัญ เปน็ ต้น ช่อง “เงินฝากธนาคาร” หากไม่ตรงกันจะต้อง สามารถพิสูจน์ความแต่งต่างได้ว่าเกิดจากสาเหตุใด ช่น ธนาคารบันทึกดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร หรือ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินไปบัญชีเงินฝาก ธนาคารประเภทกระเสรายวนั เป็นตน้ 4. ตรวจสอบสัญญาการยืมเงินทดรองราชการ 72 และจานวนเงินรวมของสัญญาการยืมเงินทดรอง ราชการ จะต้องเท่ากับจานวนเงินท่ีปรากฏใน ทะเบียนคมุ เงนิ ทดรองราชการ ในชอ่ ง “ลูกหนี้” 5. ตรวจสอบใบสาคัญคู่จ่าย และจานวนเงินรวม ของใบสาคัญคู่จ่ายจะต้องเท่ากับจานวนเงินท่ี ปรากฏในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ ในช่อง “ใบสาคัญ” ผอู้ นุมัติ วันที่
73 - ตัวอยา่ ง - แบบเกบ็ ขอ้ มลู การตรวจสอบระบบเงนิ ทดรองราชการ เพยี งวันท่ี....................................................... วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ให้มนั่ ใจว่า ระบบการควบคุมเงนิ ทดรองราชการมีความเพียงพอ เหมาะสม ที่ ประเด็นการตรวจสอบ ผลการดาเนินการ บันทกึ เพิ่มเติม 1 การจัดทาทะเบียนคุม 1.1 มีการควบคุมเงินทดรองราชการแยกจากระบบบัญชี เงิน ท ด รอ งราช ก าร ปกตหิ รอื ไม่ ถกู ต้อง ��� มี ��� ไม่มี 1.2 มกี ารจดั ทาทะเบียนคุมเงินทดรองราชการหรือไม่ ��� มี ��� เป็นปจั จุบัน ��� ไมเ่ ปน็ ปัจจบุ นั ��� ไมม่ ี 1.3 ทะเบียนคุมเงินทดรองราชการสามารถใช้ควบคุม เงินแต่ละประเภทให้ถูกต้องตรงกับยอดคงเหลือของ เงนิ ทดรองราชการทีม่ ีอย่จู ริงหรือไม่ ��� ถูกตอ้ งได้แก่ ��� เงินสด ��� เงนิ ฝากธนาคาร ��� ลกู หนี้เงนิ ยืม ��� ใบสาคัญเงนิ ทดรองฯ ��� ไม่ถูกตอ้ ง 2 การตรวจสอบความ 2.1 มีคาสั่งแต่งต้ังผู้ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวใน เคลื่อนไหวเงินทดรอง ทะเบยี นคมุ เงนิ ทดรองราชการประจาวัน ราชการ ��� มี ��� ไมม่ ี 2.2ผู้ได้รับการแต่งตั้งได้ตรวจสอบรายการเคล่ือนไหว ในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการตามระบบการควบคุม เงนิ ทดรองราชการท่ีกระทรวงการคลังกาหนดหรือไม่ ��� ตรวจ ��� ไมต่ รวจ
74 ท่ี ประเดน็ การตรวจสอบ ผลการดาเนนิ การ บนั ทกึ เพิ่มเติม 3 ก า ร ม อ บ ห ม า ย 3.1 มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบควบคุมเงินทดรอง ผู้รับผิดชอบควบคุม ราชการโดยเฉพาะหรอื ไม่ เงินทดรองราชการ ��� มี ��� ไม่มี 3.2 เจ้าหน้าท่ีรับ-จ่ายเงินทดรองราชการทาหน้าที่ วางเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการด้วย หรอื ไม่ ��� ใช่ ��� ไมใ่ ช่ 4 ก ารค วบ คุ ม ก ารรับ 4.1 การรบั คืนเงนิ ตามสญั ญายืมเงิน จ่ายเงินทดรองราชการ (1) รบั คืนเป็นเงินสดมีการออกใบเสร็จรบั เงนิ รดั กุม หรอื ไม่ ��� มี ��� ใบเสร็จรบั เงินแยกเล่มจากการรับเงินปกติ ��� ใบเสรจ็ รับเงินเล่มเดียวกับการรับเงนิ ปกติ ��� ไมม่ ี (2) รับคืนเป็นใบสาคัญมีการออกใบรับใบสาคัญ หรอื ไม่ ��� มี ��� ไมม่ ี 4.2 ก่อนการจ่ายเงินทดรองราชการตามใบสาคัญ รองจ่ายได้มีการตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของ ใบเสร็จรับเงินและเอกสารประกอบการขอเบิก หรอื ไม่ ��� มี ��� ไม่มี 4.3 ก่อนการจ่ายเงินทดรองราชการตามสัญญายืม เงินได้มีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของสัญญายืม เงนิ และเอกสารประกอบทเี่ กยี่ วขอ้ งหรือไม่ ��� มี ��� ไมม่ ี
75 ที่ ประเดน็ การตรวจสอบ ผลการดาเนินการ บนั ทกึ เพม่ิ เติม 4.4 เมื่อมีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่า การศึกษาบุตรได้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ทใี่ บเสรจ็ รับเงนิ ��� มี ��� ไม่มี 4.5 เมื่อได้รับส่งใช้เงินยืมแล้วได้บันทึกรายการ สง่ ใช้ในสัญญายมื และทะเบียนคมุ ลกู หน้ีหรอื ไม่ ��� บนั ทึก ��� ในสญั ญายืมเงิน ��� ในทะเบียนคมุ ลูกหนี้ ��� ไม่บันทึกท้ังในสัญญายืมและทะเบียนคุม ลกู หน้ี 4.6 มีการตรวจสอบความครบถ้วนของใบสาคัญ ก่อนสง่ มอบให้เจ้าหนา้ ทีผ่ ู้วางเบิกหรือไม่ ��� มี ��� ไมม่ ี 4.7 มีการจัดทาหลักฐานการส่งมอบใบสาคัญ เพื่ อวางเบิกงบป ระมาณ ไว้ต่อกันระห ว่าง เจ้าหน้าท่เี งินทดรองราชการกบั เจ้าหนา้ ทผี่ วู้ างเบิก ��� จดั ทา ��� ไม่จดั ทา 5 การเก็บรักษาเงนิ ทดรอง 5.1 มีการเก็บเงินทดรองราชการไว้เป็นเงินสด ราชการที่คงเหลือเป็น ณ ทที่ าการ เงินสดถกู ต้อง ��� มี (ตอบข้อ 5.2) ��� ไมม่ ี 5.2 มีการเกบ็ เงนิ สดไว้ในตูน้ ิรภัยหรือไม่ ��� มี ��� ภายในวงเงินท่กี ระทรวงการคลังอนญุ าต ��� เกนิ วงเงินที่กระทรวงการคลังอนญุ าต จานวน.........................บาท ��� ไมม่ รี ะบุทเ่ี กบ็ ....................................... 5.3 มีการระบจุ านวนเงนิ สดคงเหลือไว้ในรายงาน เงินคงเหลือประจาวันชอ่ ง “หมายเหตุ” ���มี ���ไม่มี
76 ที่ ประเด็นการตรวจสอบ ผลการดาเนินการ บันทกึ เพม่ิ เติม 6 การจา่ ยเงนิ เพ่อื ให้ บริการเงินสวัสดิการ 6.1 กรณมี ตี ้นู ริ ภยั 6.1.1 ก่อนการจ่ายเงิน มีการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของหลักฐานขอเบิก และได้รับอนุมัติจาก ผมู้ ีอานาจ ��� ใช่ ��� ไมใ่ ช่ 6.1.2 หลักฐานประกอบการจ่ายค่ารักษาพยาบาล และค่าการศึกษาบุตรท่ีเป็นใบเสร็จรับเงินทุกฉบับ มีการประทบั ตรา “จ่ายเงนิ แล้ว” ��� มี ��� ไมม่ ี 6.1.3 การบนั ทึกรายการในทะเบียนคุมเงินทดรอง ราชการครบถว้ น ถกู ต้อง ��� ใช่ ��� ไมใ่ ช่ 6.1.4 ยอดคงเหลือในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ ถูกตอ้ งครบถว้ น ��� ใช่ ��� ไม่ใช่ เพราะ........................... 6.2 กรณีไมม่ ีตนู้ ิรภยั 6.2.1 ทาสัญญายืมเงินตามแบบที่ทางราชการ กาหนดจานวน 2 ฉบับ วงเงินยืมตามความจาเป็น และเหมาะสมเสนอผู้มอี านาจอนุมตั ิ ��� ใช่ ��� ไม่ใช่ 6.2.2 ระยะเวลายมื เงินไม่เกิน 30 วันนับจากวนั รบั เงนิ ��� ใช่ ��� ไมใ่ ช่ 6.2.3 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของหลักฐานขอเบิกค่ารักษาพยาบาลหรือค่า การศึกษาบุตรและขออนุมัติจากผู้มีอานาจก่อน การจา่ ยเงนิ ��� ใช่ ��� ไม่ใช่
77 ที่ ประเดน็ การตรวจสอบ ผลการดาเนนิ การ บันทกึ เพ่ิมเติม 6.2.4 ผู้รับเงินลงลายมือชื่อรับเงินในใบเบิกเงิน สวสั ดิการค่ารกั ษาพยาบาลหรอื ค่าการศกึ ษาบุตร ��� มี ��� ไม่มี 6.2.5 มีการประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” พร้อมลง ลายมอื ช่ือตัวบรรจงและวนั ท่ีจ่ายในใบเสร็จรบั เงิน ��� มี ��� ไม่มี 6.2.6 มีการบันทึกรายการในทะเบียนคุม ��� ครบถ้วน ��� ไมค่ รบถว้ น 6.2.7 สรุปยอด จา่ ย และยอดคงเหลือในทะเบียน ถกู ต้องตรงกบั ใบสาคัญ และตัวเงินคงเหลอื ��� ใช่ ��� ไม่ใช่ 7 การจัดทารายงาน 7.1 ทุกสิ้นเดอื นมีการจัดทารายงานดงั น้ี ประจาเดือนถูกต้อง (1) ฐานะเงนิ ทดรองราชการ ��� จัดทา ��� ไมจ่ ัดทา (2) งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (บญั ชีออมทรพั ย์) ��� จดั ทา ��� ไม่จดั ทา (3) รายละเอียดลูกหนี้เงินทดรองราชการคงเหลอื ��� จัดทา ��� ไม่จัดทา (4) รายละเอยี ดใบสาคญั เงินทดรองราชการ ��� จัดทา ��� ไม่จดั ทา 7.2 จัดทารายงานเสนอผู้บริหารทราบ เพ่ือรอการ ตรวจสอบ ��� เสนอผบู้ รหิ าร ��� ไมเ่ สนอผบู้ รหิ าร
78 - ตัวอย่าง - กระดาษทาการ รายละเอยี ดฐานะเงนิ ทดรองราชการ สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ....................................... ณ วันที่..................................... วงเงินทดรองราชการรับจากคลงั XXX XXX เงินสด XXX เงินฝากธนาคาร XXX XXX ลกู หน้ี XXX XXX ใบสาคญั .………………………………… ผจู้ ดั ทา วนั ท่ี .....................................
79 - ตวั อย่าง - กระดาษทาการ งบเทยี บยอดเงินฝากธนาคารเงินทดรองราชการ (ประเภทออมทรัพย์) ธนาคารกรงุ ไทยเลขทบ่ี ัญชี ................................. สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัด......................................... ณ วันท่ี..................................... ยอดคงเหลือตามสมดุ คู่ฝากธนาคาร XX XXX หักเช็คที่ผรู้ บั ยังไม่นามาข้ึนเงิน XX XXX เลขที่...........ลงวันท่.ี ................. XXX เลขที่...........ลงวันท.ี่ ................ ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือตามทะเบยี นคมุ เงินทดรองราชการ .…………………………..……… ผู้จดั ทา วันที่ ........................................
80 - ตัวอยา่ ง - บันทกึ เปิดการประชุมชีแ้ จงการดาเนนิ งาน หนว่ ยรับตรวจ...................................................................................................................................... วันท.ี่ ..................................................................................................................................................... ผรู้ บั ตรวจ 1. ...................................................... ตาแหน่ง...................................... ลายมอื ชือ่ ............................. 2. ...................................................... ตาแหนง่ ..................................... ลายมือชือ่ ........................... 3. ...................................................... ตาแหนง่ ..................................... ลายมือชอ่ื ........................... 4. ...................................................... ตาแหน่ง ..................................... ลายมือชอื่ ........................... 5. ...................................................... ตาแหน่ง ..................................... ลายมอื ชื่อ ........................... คณะผตู้ รวจสอบ 1. .............................................................................. ตาแหน่ง............................................................ 2. .............................................................................. ตาแหนง่ ............................................................ 3. .............................................................................. ตาแหน่ง............................................................ สาระสาคัญของการประชุม ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................................................... ........................... ....................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ................................. . ลงชือ่ ......................................... ผู้บนั ทึกการประชมุ (........................................) ตาแหนง่ .........................................
81 - ตวั อยา่ ง - บนั ทกึ ปิดการประชมุ ช้แี จงการดาเนนิ งาน หนว่ ยรับตรวจ...................................................................................................................................... วันท.่ี ..................................................................................................................................................... ผู้รับตรวจ 1. ...................................................... ตาแหนง่ ..................................... ลายมอื ชื่อ ........................... 2. ...................................................... ตาแหนง่ ..................................... ลายมือชื่อ ........................... 3. ...................................................... ตาแหนง่ ..................................... ลายมือชือ่ ........................... 4. ...................................................... ตาแหน่ง ..................................... ลายมอื ชอ่ื ........................... 5. ...................................................... ตาแหน่ง ..................................... ลายมือช่ือ ........................... คณะผู้ตรวจสอบ 1. .............................................................................. ตาแหนง่ ............................................................ 2. .............................................................................. ตาแหนง่ ............................................................ 3. .............................................................................. ตาแหน่ง............................................................ สาระสาคัญของการประชุม ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. . ลงช่อื ......................................... ผูบ้ นั ทกึ การประชมุ (........................................) ตาแหนง่ ......................................
ประเดน็ การตรวจสอบ - ตัวอย /วตั ถุประสงค์ กระดาษทาการสรปุ ผ เรอ่ื ง ระบบเงนิ ทด ประจาปีงบประมาณ เกณฑ์การตรวจสอบ ผจู้ ดั ทา........................................................... วนั ท่ี...............................................................
ยา่ ง - อา้ งอิงหมายเลข ผลการตรวจสอบ กระดาษทาการ ดรองราชการ ณ พ.ศ. .............. ผลการตรวจสอบ 82 ผู้สอบทาน........................................................ วนั ท.่ี ................................................................
83 การจดั ทากระดาษทาการ (Working Paper) กระดาษทาการ (Working Paper) คือ เอกสารท่ีผู้ตรวจสอบภายใน จัดทาขึ้นในระหว่าง การตรวจสอบเพ่ือบันทึกรายละเอียดการทางาน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ ขอ้ มูลจากการประเมินและวิเคราะห์ และผลสรุปของการตรวจสอบ เพอื่ ใช้เปน็ การรายงานผลการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์ในการจัดทากระดาษทาการยังไม่มีการกาหนดให้เป็นรูปแบบใดแบบหนึ่ง โดยเฉพาะ และยังไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวหรือมีสูตรสาเร็จว่าต้องจัดทาในรูปแบบใดและอย่างไร ผู้ตรวจส อบภ าย ในต้องใช้ความรู้ความชาน าญ แล ะดุล ยพินิ จของตน ว่า การตรวจส อบเร่ืองนั้ น ๆ ควรจัดทากระดาษทาการอย่างไร โดยยึดถือหลักที่ว่ากระดาษทาการนั้นสามารถช่วยให้หัวหน้า ผู้ตรวจสอบภายใน ใช้ทบทวนการปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีดาเนินการไปแล้วได้เป็นอย่ างดี และสามารถบอกได้ว่างานนั้นได้ทาตามแผนการตรวจสอบท่ีไดก้ าหนดไว้หรือไม่เพียงใด ประเภทของกระดาษทาการ (Working Paper) ประกอบดว้ ย 1. กระดาษทาการที่ผู้ตรวจสอบภายในจัดทาขึ้นเอง เช่น กระดาษทาการที่ใช้บันทึก แผนการตรวจสอบและแผนการปฏิบัติงาน กระดาษทาการบันทึกการประเมินผลระบบการควบคุม ภายใน กระดาษทาการบันทึกผลการตรวจสอบโดยละเอียดในแต่ละเร่ือง กระดาษทาการสรุป ประเดน็ ขอ้ ตรวจพบ กระดาษทาการในการรา่ งรายงานผลการปฏบิ ัติงาน เป็นต้น 2. กระดาษทาการที่จัดทาโดยหน่วยรบั ตรวจ เช่น สาเนาเอกสาร หรือสาเนารายละเอียด ประกอบบัญชีหรอื อ่ืน ๆ และแผนผังทางเดนิ ของระบบงาน เปน็ ตน้ 3. กระดาษทาการท่ีผู้ตรวจสอบได้รับจากบุคคลภายนอก เช่น ใบตอบรับแจ้งการยืนยัน ยอด แบบสอบถารม และหนงั สอื รอ้ งเรียนการทุจริต เปน็ ต้น ในกรณีท่ีผู้ตรวจสอบภายในใช้สาเนาเอกสารหรอื เอกสารอื่น ๆ ท่ีจัดทาโดยหน่วยรับตรวจ หรือได้รับจากบุคคลภายนอกเป็นส่วนหน่ึงของกระดาษทาการ ผู้ตรวจสอบภายในจะต้องตรวจสอบ ความถูกต้องของกระดาษทาการประเภทนี้ เช่นเดียวกับกระดาษทาการท่ีผู้ตรวจสอบภายในจัดทา ขึ้นเอง ดังตวั อยา่ งกระดาษ ทาการการตรวจสอบลูกหน้ีเงนิ ยมื ราชการ
84 - ตวั อยา่ ง - กระดาษทาการ รหสั กระดาษทาการ....... กระดาษทาการตรวจสอบลูกหนเี้ งนิ ยมื ราชการ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด ................. เพียงวันที่ ................. วัตถปุ ระสงค์ : เพ่ือม่นั ใจวา่ รายละเอยี ดของลกู หน้เี งนิ ยมื ราชการคงเหลอื ครบถว้ นถูกตอ้ งตามบญั ชี ในระบบ GFMIS แหลง่ ท่ีมา : ........................................................................................................................ ท่ี สญั ญายืม เลขท่ี วันท่ี ผ้ยู ืม วัตถปุ ระสงค์ จานวน จานวนเงิน วนั ครบ หมายเหตุ ยมื ที่ยมื เงินยืม ค้างชาระ กาหนด รวม ยอดคงเหลือตามระบบ GFMIS ผลตา่ ง สรปุ ผลการตรวจสอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………. ผูต้ รวจสอบ............................................. ผสู้ อบทาน......................................... วนั ที่........................................................ วนั ท.่ี .................................................
บทท่ี 6 การรายงานและการติดตามผล ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการ กาหนดรายงานไว้ 2 ประเภท คือ รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานรหัส 2400 และรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน มาตรฐานรหัส 2060 โดยรายงานผลการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ตามมาตรฐานรหัส 2400 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบภายในจัดทารายงานภายหลังเสร็จสิ้น กระบวนการตรวจสอบ รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบจึงเป็นผลผลิตของกระบวนการตรวจสอบ ภายใน หากรายงานผลการปฏิบตั ิงานตรวจสอบมีคุณภาพและหน่วยรับตรวจดาเนินการตามข้อเสนอแนะ จะช่วยให้การดาเนินงานและการบริหารจัดการของหนว่ ยรับตรวจถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และบรรลุ วัตถปุ ระสงค์เปา้ หมายทก่ี าหนด แต่การท่ีหน่วยรบั ตรวจจะดาเนินการตามข้อเสนอแนะในรายงานผล การปฏิบัติงานตรวจสอบ ส่วนหน่ึงเกิดจากคุณภาพของรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบที่สาระสาคัญ ครบถ้วนสมบูรณ์ ชัดเจนปฏิบัติได้และเป็นประโยชน์ ในขณะเดียวกันหน่วยงานตรวจสอบภายในก็ตอ้ ง ติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ ตามมาตรฐานรหัส 2500 ด้วย รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ประเภทของรายงานผลการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ 1. รายงานระหว่างกาล (Interim Report) เป็นรายงานที่จัดทาข้ึนทันที เม่ือพบปัญหา หรือเร่ืองสาคัญที่ต้องแก้ไขเร่งด่วน มีผลกระทบต่อความเสียหายขององค์กร นอกจากน้ียังใช้ ในกรณีมีการเปล่ียนแปลงขอบเขตของการตรวจสอบหรือยืดขยายระยะเวลาโครงการตรวจสอบ รายงานระหว่างกาลอาจเปน็ การรายงานด้วยวาจาหรือเป็นลายลกั ษณ์อักษรก็ได้ 2. รายงานสรุป (Summary Report) เป็นรายงานท่ีจดั ทาข้ึนเพื่อนาเสนอหัวหน้าส่วนราชการ โดยสรปุ ภาพรวมของการตรวจสอบ เรื่องท่ีควรแกไ้ ข และเรือ่ งทสี่ าคญั ที่หัวหนา้ สว่ นราชการควรทราบ 3. รายงานการตรวจสอบหลังดาเนินงานแล้วเสร็จ (Final Audit Report)เป็นรายงานท่ี ต้องจัดทาหลังจากสรุปผลการตรวจสอบ และต้องจัดทุกครั้งแม้ว่าจะได้มีการรายงานระหว่างกาล และหน่วยรับตรวจไดด้ าเนนิ การแก้ไขตามประเดน็ ทต่ี รวจพบเรียบร้อยแลว้ กต็ าม 4. สรุปรายงานการตรวจสอบประจาปี (Annual Reports)รายงานประเภทนี้มีความสาคัญ และเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารระดับสูง Audit Committee และหัวหน้าผู้ตรวจสอบภายใน เพ่ือท่ีจะ นามาพัฒนาภาพรวมการตรวจสอบในรอบปีที่ผ่านมา รูปแบบของการรายงาน 1. รายงานด้วยวาจา ควรใช้ในกรณีท่ีเป็นเรื่องเร่งด่วน เพ่ือแจ้งข้อเท็จจริงให้หัวหน้าส่วนราชการ และหัวหน้าหนว่ ยรับตรวจรบั ทราบทนั ทีทตี่ รวจพบ 2. รายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นวิธีการรายงานที่มีลักษณะเป็นทางการใช้รายงานผล การตรวจสอบตามปกติ และหลังเสร็จส้นิ การตรวจสอบ
86 เทคนคิ การเขยี นรายงาน 1. ควรคานึงถึงว่าใครเป็นผู้รับรายงาน ถ้ารายงานจัดทาถึงหัวหน้าส่วนราชการ ควรเน้น ที่ประเดน็ สาคญั และไม่ควรยาวเกนิ หนึง่ หรือสองหน้ากระดาษ 2. รายงานตามข้อเท็จจริงท่ีตรวจพบ ไม่มีการบิดเบือนและมีหลักฐานประกอบ โดยสรุปผล ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของการตรวจสอบท่กี าหนด 3. ควรจัดลาดับเรือ่ งทีส่ าคัญหรือเรื่องทีม่ ีความเส่ียงสงู และมผี ลกระทบสงู ไว้ในลาดับแรกๆ 4. เขียนในเชิงบวกและสร้างสรรค์ ไม่เขียนเฉพาะสิ่งท่ีผิดพลาดแต่ให้ระบุในส่ิงที่ทาถูกต้องด้วย หลีกเลยี่ งการวิพากย์ ตเิ ตยี น หรอื วิจารณก์ ารทางานของหนว่ ยรับตรวจ หรือการระบชุ อ่ื ตวั บคุ คล 5. ควรหลกี เลี่ยงศพั ทเ์ ทคนคิ แตถ่ ้าจาเป็นตอ้ งใช้ควรมคี าอธิบายประกอบ 6. เขยี นให้ชดั เจน สั้นกระชบั ครอบคลมุ เนือ้ หาท่เี ป็นสาระสาคัญ 7. ใช้ภาษาหรอื คาทีเ่ ขา้ ใจงา่ ย สาหรับรูปแบบการรายงานควรเป็นแบบใดน้ันไม่ได้มีการกาหนดตายตัวข้ึนกับว่ารายงานนั้นๆ จะใชเ้ พ่ือวตั ถุประสงคใ์ ด และใครเปน็ ผู้ใชร้ ายงานดังกล่าว วิธกี ารเขียนรายงาน 1. นาข้อมูลจากกระดาษทาการสรุปผล มาจัดทาร่างรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ โดยใหม้ ีองค์ประกอบครบถ้วน ประกอบด้วย 1.1 วตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1.2 ขอบเขตการตรวจสอบ 1.3 สรุปผลการตรวจสอบ : ผลการตรวจสอบ ความเสีย่ ง/ผลกระทบ และสาเหตุ 1.4 ความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ 1.5 มีการจัดทาบทสรุปผู้บริหารเพื่ออธิบายผลการตรวจสอบในภาพรวม ให้ผู้บริหาร สามารถให้ความสาคญั และมุง่ เนน้ การปรับปรงุ แกไ้ ขในประเดน็ ที่มีความเสี่ยงสูงเป็นอันดับแรกได้ 2. เสนอผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ลงนามในรายงาน 3. นาบทสรุปผู้บรหิ ารมาจัดทาบันทึกเสนอศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือทราบและพิจารณาส่ังการ โดยต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จและเสนอศึกษาธิการจังหวัด เพื่อพิจารณาลงนาม ภายใน 2 เดือนนับจาก วนั ที่ตรวจสอบแลว้ เสร็จตามแผนการตรวจสอบ 4. ให้สาเนาบันทึกและรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ส่งกลุ่มตรวจสอบภายในสานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 1 ชดุ หลงั จากที่ศกึ ษาธิการจังหวัดลงนาม เพอ่ื ประเมินผลการปฏิบตั ิงานต่อไป การรายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน การรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามแนวทางการประเมินผลการประกัน คณุ ภาพงานตรวจสอบภายในภาครฐั กาหนดให้มกี ารรายงานดงั นี้ 1. รายงานรายงวด อยา่ งนอ้ ย4 เดือนคร้ัง 2. รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานประจาปี รปู แบบการรายงานตามแบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ทั้งนี้ หน่วยตรวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด สามารถปรบั รปู แบบได้ แต่ตอ้ งมสี าระสาคญั ครบถ้วน ดงั นี้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279