(16) บทท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2.1 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผู้รบั บรกิ าร ส่วนท่ี 1 ข้อมูลเกีย่ วกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 แสดงรายละเอียดตาแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาแหน่ง ผรู้ ับบรกิ าร รวม จานวน ร้อยละ ผบู้ รหิ าร 7 30.43 หัวหน้างาน ผูป้ ฏบิ ัติงาน 10 43.48 6 26.09 23 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้รับบริการท่ีตอบแบบสอบถาม จานวน 23 คน ส่วนใหญ่เป็นหัวหน้างาน จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 รองลงมาเป็นผู้บริหาร จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 30.43 และผู้ปฏิบตั ิงาน จานวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.09 ส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร ตารางที่ 2 แสดงรายละเอยี ดความพึงพอใจของผู้รบั บริการโดยรวม ผรู้ บั บรกิ าร ประเด็น x S.D. ระดับความ รอ้ ยละ พงึ พอใจ 1. ความพึงพอใจในภาพรวมตอ่ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง 4.25 0.71 มากทีส่ ุด 85.00 2. ความพึงพอใจต่อกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน การตรวจสอบภายใน 4.10 0.76 มาก 82.00 3. ความพงึ พอใจต่อเจา้ หน้าที่ตรวจสอบภายใน 4.46 0.66 มากทส่ี ดุ 89.20 4. ความพึงพอใจต่อสิง่ อานวยความสะดวก ของการตรวจสอบภายใน 4.20 0.61 มาก 84.00 5. ความพงึ พอใจต่อคุณภาพของรายงานผล การตรวจสอบ 4.40 0.65 มากทส่ี ุด 88.00 รวม 4.28 0.68 มากทีส่ ดุ 85.60
(17) จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึ งพอใจต่อการให้บริการของ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในภาพรวม 5 ด้าน คือ ด้านภาพรวมของกลุ่มตรวจสอบภายใน ระดับกระทรวง ด้านกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน ด้านเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน ด้านส่ิงอานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน และด้านคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.60) โดยผู้รับบริการพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ด้าน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.46 คิดเป็นร้อยละ 89.20) รองลงมา คือ ด้าน คุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88.00) ด้าน ภาพรวมของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85.00) ด้านสิ่งอานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมาก (= 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84.00) และด้านกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมาก ( x = 4.10 คิดเป็น ร้อยละ 82.00) ตารางท่ี 3 แสดงรายละเอียดความพึงพอใจในภาพรวมต่อกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ผู้รับบรกิ าร ประเด็น x S.D. ระดับความ ร้อยละ 4.26 พงึ พอใจ 85.20 1. ภาพลกั ษณ์ของกลุ่มตรวจสอบภายใน 4.26 ระดับกระทรวง 4.43 0.54 มากทสี่ ดุ 2. ความพึงใจท่ีมีต่อสมั พนั ธภาพของกลุ่มตรวจสอบ ภายในระดับกระทรวงกับหนว่ ยรบั ตรวจ 4.04 0.69 มากทส่ี ุด 85.20 3. การมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ในการตดิ ตอ่ ประสานงาน กบั หนว่ ยรับตรวจ 4.25 0.73 มากทส่ี ุด 88.60 4. การประชาสัมพนั ธ์ข้อมลู ต่างๆ เก่ยี วกับ การตรวจสอบภายในในชอ่ งทางต่าง ๆ 0.88 มาก 80.80 รวม 0.71 มากท่ีสดุ 85.00 จากตารางท่ี 3 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมต่อกลุ่มตรวจสอบภายในระดับ กระทรวง อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( x = 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นคาถาม โดยเรียงลาดบั ค่าเฉลยี่ จากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรก พบวา่ การมมี นุษยสมั พันธ์ในการติดต่อประสานงาน กับหน่วยรับตรวจ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.60) รองลงมา คือ ภาพลักษณ์ และสัมพันธภาพของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวงกับหน่วยรับตรวจ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.20) และการประชาสัมพันธ์ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน ในชอ่ งทางต่าง ๆ อยใู่ นระดับมาก ( x = 4.04 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.80)
(18) ตารางท่ี 4 แสดงรายละเอียดความพึงพอใจของผรู้ บั บริการต่อกระบวนการปฏบิ ัตงิ านการตรวจสอบภายใน ผูร้ บั บริการ ประเดน็ x S.D. ระดบั ความ รอ้ ยละ 4.39 พงึ พอใจ 87.80 1. ผตู้ รวจสอบมกี ารอธบิ ายขอบเขตและ 3.83 วตั ถุประสงค์การตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน 4.09 0.66 มากท่สี ุด 2. การตรวจสอบสง่ ผลกระทบตอ่ การทางาน 4.17 ของบุคลากรในระดับทเี่ หมาะสม 4.04 1.11 มาก 76.60 3. ประเภทและปรมิ าณของข้อมลู ที่ผู้ตรวจสอบ 3.96 ขอมีความสมเหตสุ มผล 3.96 0.67 มาก 81.80 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏบิ ตั งิ านมคี วามเหมาะสม 4.35 0.94 มาก 83.40 5. การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบไดค้ รอบคลุมกจิ กรรม 4.10 0.64 มาก 80.80 ทมี่ คี วามเสย่ี งและสาคัญ 6. การมสี ่วนร่วมในการช่วยหน่วยรบั ตรวจแก้ไข 0.64 มาก 79.20 ปัญหาให้การปฏิบัตงิ านมีความครบถ้วนสมบรู ณ์ 7. การให้คาแนะนา คาปรกึ ษา เกี่ยวกบั เรอ่ื งที่ 0.71 มาก 79.20 ตรวจสอบ รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ี เก่ยี วขอ้ งอยา่ งชัดเจน เหมาะสม 0.71 มากทสี่ ดุ 87.00 8. ความพงึ พอใจในภาพรวมต่อการปฏบิ ัติงาน 0.76 มาก 82.00 ตรวจสอบของหน่วยตรวจสอบภายใน รวม จากตารางท่ี 4 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตอ่ กระบวนการปฏบิ ัติงานการตรวจสอบ ภายใน อยู่ในระดับมาก ( x = 4.10 คิดเป็นร้อยละ 82.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นคาถาม โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรก พบว่า ผู้ตรวจสอบมีการอธิบายขอบเขตและ วัตถุประสงค์การตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.39 คิดเป็นร้อยละ 87.80) รองลงมา คือ ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบของหน่วยตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ( x = 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87.00) และระยะเวลาที่ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านมีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.17 คิดเป็นร้อยละ 83.40)
(19) ตารางท่ี 5 แสดงรายละเอียดความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการตอ่ เจ้าหนา้ ทีต่ รวจสอบภายใน ผู้รบั บริการ ประเดน็ x S.D. ระดับความ รอ้ ยละ พงึ พอใจ 1. ผู้ตรวจสอบมีความร้แู ละความเช่ยี วชาญ 4.39 0.58 มากที่สุด 87.80 ในวิชาชพี การตรวจสอบ 2. ผตู้ รวจสอบมอี ธั ยาศัยดี สขุ ุม รอบคอบ รจู้ ัก 4.57 0.66 มากทส่ี ุด 91.40 กาลเทศะ สุภาพ ออ่ นโยน (บุคลิกภาพท่ี เหมาะสมกับการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่) 3. ผูต้ รวจสอบมีทักษะในการสื่อสารท่ีชดั เจน 4.35 0.71 มากที่สุด 87.00 และมปี ระสิทธภิ าพ 4. ผู้ตรวจสอบมีแนวคิดในเชิงบวกและสรา้ งสรรค์ 4.43 0.66 มากทส่ี ดุ 88.60 5. ผตู้ รวจสอบมคี วามอิสระและเป็นกลาง 4.57 0.66 มากท่ีสุด 91.40 รวม 4.46 0.66 มากที่สุด 89.20 จากตารางท่ี 5 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.46 คิดเป็นร้อยละ 89.20) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นคาถาม โดยเรียงลาดบั คา่ เฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรก พบวา่ ผู้ตรวจสอบมีอัธยาศยั ดี สุขมุ รอบคอบ รู้จักกาลเทศะ สุภาพ อ่อนโยน และมีความอิสระเป็นกลาง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.57 คิดเป็น ร้อยละ 91.40) รองลงมา คือ ผู้ตรวจสอบมีแนวคิดในเชิงบวกและสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.60) และผู้ตรวจสอบมีความรู้และความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ การตรวจสอบ อยูใ่ นระดบั มากท่สี ดุ ( x = 4.39 คิดเปน็ ร้อยละ 87.80) ตารางท่ี 6 แสดงรายละเอยี ดความพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ ารตอ่ ส่ิงอานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน ผู้รับบรกิ าร ประเด็น คา่ เฉลยี่ S.D. ระดับความ รอ้ ยละ 4.09 พงึ พอใจ 81.80 1. แนวทาง การปฏิบตั ิงานตรวจสอบท่ผี ู้ตรวจสอบ ภายในใช้ในการปฏบิ ตั งิ านครอบคลมุ ครบถว้ น และ 4.30 0.51 มาก ชัดเจนตามประเดน็ ทเ่ี ปน็ ความเสี่ยง 4.20 2. มชี ่องทางที่งา่ ยต่อการติดต่อประสานงานการ 0.70 มากท่สี ดุ 86.00 ตรวจสอบกบั ผตู้ รวจสอบภายใน 0.61 มาก 84.00 รวม
(20) จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อส่ิงอานวยความสะดวกของ การตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมาก ( x = 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84.00) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นคาถาม พบว่า มีช่องทางท่ีง่ายต่อการติดต่อประสานงานการตรวจสอบกับผู้ตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86.00) รองลงมา คือ แนวทาง การปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีผู้ตรวจสอบภายใน ใช้ในการปฏิบัติงานครอบคลุม ครบถ้วน และชัดเจนตามประเด็นท่ีเป็นความเส่ียง อยู่ในระดับมาก ( x = 4.09 คดิ เปน็ ร้อยละ 81.80) ตารางที่ 7 แสดงรายละเอียดความพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ ารตอ่ คุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ ผรู้ ับบรกิ าร การใหบ้ ริการ x S.D. ระดบั ความ ร้อยละ พึงพอใจ 86.09 1. การรายงานผลเปน็ ไปอย่างรวดเร็วและเหมาะสม 4.30 86.09 4.30 0.70 มากที่สุด 2. ประเด็นทีต่ รวจพบมีการชี้แจงและรายงาน อย่างถูกต้อง 4.48 0.63 มากทส่ี ุด 3. ขอ้ มลู ท่ีปรากฏในรายงานมคี วามถูกตอ้ ง เชือ่ ถือได้ 4.48 0.59 มากทส่ี ดุ 89.57 4. ขอ้ เสนอแนะทีป่ รากฏในรายงานเปน็ ประโยชน์ และสามารถปฏบิ ัติได้ 4.43 0.67 มากที่สุด 89.57 5. รายงานการตรวจสอบมเี นื้อความที่กระชับ ชัดเจน และเข้าใจงา่ ย 4.40 0.66 มากทสี่ ดุ 88.70 รวม 0.65 มากทส่ี ดุ 88.00 จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88.00) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นคาถาม โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปน้อย 3 ลาดับแรก พบว่า ข้อมูล/ข้อเสนอแนะที่ปรากฏในรายงาน มีความถูกตอ้ ง เชือ่ ถือได้เปน็ ประโยชน์ และสามารถปฏิบัติได้ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ( x = 4.48 คิดเป็น ร้อยละ 89.57) รองลงมา คือ รายงานการตรวจสอบมีเน้ือความที่กระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย อยู่ใน ระดับมากที่สุด ( x = 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.70) และประเด็นท่ีตรวจพบมีการชี้แจงและรายงานผล เป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเรว็ และเหมาะสม อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ( x = 4.30 คดิ เปน็ ร้อยละ 86.09)
(21) ส่วนท่ี 3 ความไมพ่ ึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร ตารางท่ี 8 แสดงรายละเอียดความไม่พงึ พอใจ และข้อเสนอแนะของผรู้ บั บริการ ดา้ น ประเดน็ จานวน ร้อยละ (คน) ด้านกระบวนการ - - ปฏบิ ตั ิงานการตรวจสอบ - ขาดกระบวนการในการติดตาม - 4.35 ภายใน 1 รวม 4.35 ดา้ นเจา้ หน้าที่ - 1 - ตรวจสอบภายใน - รวม - - ดา้ นสิง่ อานวยความสะดวก - การเผยแพรข่ ้อมลู /ข่าวสารผา่ นเวบ็ ไซตข์ อง 1 4.35 ของการตรวจสอบภายใน กลมุ่ ตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง บางคร้ัง ไมส่ ามารถเขา้ คน้ หา/สืบค้นข้อมลู ได้ ด้านคณุ ภาพของ รวม 1 4.35 รายงานผลการตรวจสอบ - -- รวม - - จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้รับบริการมีความไม่พึงพอใจและข้อเสนอแนะต่อการให้บริการ ของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในด้านกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบ และด้าน ส่ิงอานวยความสะดวก จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.35 สว่ นท่ี 4 ความคาดหวังต่อการใหบ้ ริการของผรู้ บั บรกิ าร 1. เพ่ิมการอบรมด้านตรวจสอบกลยุทธ์ กับด้านสารสนเทศให้แก่ผู้ตรวจสอบภายใน ทีก่ ากับดูแล เพ่อื ให้การตรวจสอบเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั 2. คาแนะนาเกี่ยวกับวธิ กี ารตรวจสอบในการหาข้อสงั เกต ขอ้ ผิดพลาดเพ่ือแก้ไขปัญหา ไดท้ นั ทว่ งที 3. ควรมกี ารตรวจสอบปีละ 2 คร้งั 4. กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ควรจะเป็นพ่ีเล้ียงให้กลุ่มตรวจสอบภายใน ของมหาวิทยาลัยเป็นอยา่ งดีอยา่ งนี้ต่อไป
(22) 2.2 การวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลเกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 9 แสดงรายละเอียดตาแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาแหนง่ ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี จานวน ร้อยละ อาจารย์ 1 4.35 บคุ ลากรทางการศึกษา 22 95.65 รวม 23 100.00 จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีตอบแบบสอบถาม จานวน 23 คน ส่วนใหญ่ เป็นบุคลากรทางการศึกษา จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 95.65 รองลงมาเป็นอาจารย์ จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.35 ส่วนที่ 2 ความคดิ เหน็ /ความพึงพอใจของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ตารางท่ี 10 แสดงรายละเอยี ดความคิดเหน็ /ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย ในการปฏิบตั ิงาน ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ประเด็น x S.D. ระดับความ ร้อยละ พึงพอใจ 1. ทา่ นเหน็ ว่าหนว่ ยงานท่านจะมีระบบการควบคมุ 3.91 0.60 มาก 78.20 ดา้ นงบประมาณดีขึ้น 2. ทา่ นมน่ั ใจวา่ หนว่ ยงานทา่ นจะมีระบบการ 4.00 0.67 มาก 80.00 ปฏิบตั ิงานดา้ นแผนงานและงบประมาณดขี ึ้น 3. ท่านเหน็ วา่ เจา้ หน้าที่ในหน่วยงานของท่าน 3.96 0.71 มาก 79.20 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับเรอื่ งแผนงานและ งบประมาณเพ่ิมมากขึ้น 4. ทา่ นเห็นว่าเจา้ หน้าที่ปฏบิ ัติงานได้ถกู ต้องและ 4.04 0.71 มาก 80.80 มปี ระสิทธภิ าพเพ่มิ ขน้ึ รวม 3.98 0.67 มาก 79.60 จากตารางท่ี 10 พบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความคิดเห็น/ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงาน ของหน่วยงาน ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x = 3.98 คิดเป็นร้อยละ 79.60) เมื่อพิจารณา เป็นรายประเด็นคาถาม โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรก พบว่า เจ้าหน้าท่ี ปฏิบัติงานได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน อยู่ในระดับมาก ( x = 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.80) รองลงมา
(23) คือ หน่วยงานจะมีระบบการปฏิบัติงานด้านแผนงานและงบประมาณดีขึ้น อยู่ในระดับมาก ( x = 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80.00) และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องแผนงานและ งบประมาณเพิ่มมากขนึ้ อยใู่ นระดบั มาก ( x = 3.96 คดิ เปน็ ร้อยละ 79.20) สว่ นที่ 3 ความไม่พงึ พอใจ และขอ้ เสนอแนะของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย - ไมม่ ี – ส่วนท่ี 4 ความคาดหวังต่อการให้บรกิ ารของผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี 1. เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสามารถให้คาแนะนาและบริการท่ีสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การทางานและกอ่ ใหเ้ กิดประสทิ ธิผล 2. ควรปรับการรายงานโดยแยกการรายงานให้เห็นเป็นภาพเฉพาะของแต่ละหน่วยรับตรวจ เพอื่ หนว่ ยรบั ตรวจจะได้ทราบข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะในสว่ นของตนได้อย่างรวดเร็ว
(24) บทท่ี 3 สรุปผลและแนวทางการพฒั นา กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ได้ดาเนินการสารวจสารวจความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวัง ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบ ความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ ความคาดหวัง ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ท่ีมีต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง และนาผลท่ีได้ไปพัฒนาปรับปรุง และพัฒนาการบริการใหด้ ยี ิง่ ข้นึ ซึง่ ผลการสารวจสรปุ ได้ ดังนี้ 1. ผู้รับบริการมคี วามพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในภาพรวม 5 ด้าน คือ ด้านภาพรวมของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ด้านกระบวนการ ปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน ด้านเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน ด้านส่ิงอานวยความสะดวกของการ ตรวจสอบภายใน และด้านคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.28 คดิ เป็นร้อยละ 85.60) โดยผู้รับบรกิ ารพึงพอใจมากทีส่ ุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( x = 4.46 คิดเป็นร้อยละ 89.22) รองลงมา คือ ด้านคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88.00) ด้านภาพรวมของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง อยู่ในระดับมากที่สดุ ( x = 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85.00) ด้านส่ิงอานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน อยู่ในระดับมาก (= 4.20 คิดเป็นร้อยละ 83.91) และด้านกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน อยู่ในระดบั มาก ( x = 4.10 คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.00) เม่ือพิจารณาในรายละเอียดประเด็นท่ีผู้รับบริการมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด คือ ด้านกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน พบว่า ประเด็นที่มีค่าคะแนนต่ากว่า ร้อยละ 80 มี 2 ประเด็น คือ การมีส่วนร่วมในการช่วยหน่วยรับตรวจแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน การให้คาแนะนา คาปรึกษา เกี่ยวกับเรื่องที่ตรวจสอบ รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องอย่างชัดเจน เหมาะสม ( x = 3.96 คิดเปน็ ร้อยละ 79.20) และการตรวจสอบส่งผลกระทบต่อการทางานของบุคลากร ในระดบั ทเ่ี หมาะสม ( x = 3.83 คิดเป็นร้อยละ 76.60) เน่ืองจากระยะเวลาที่ดาเนินการตรวจสอบมีจากัด ทาให้ต้องขอความร่วมมือหน่วยรับตรวจเชิญผู้ที่เก่ียวข้องเข้ารับการตรวจสอบ ย่อมส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ประกอบกับในกรณีที่หน่วยงานต้องการรับบริการในหลายเรื่อง ผู้ตรวจสอบภายในจึงต้องเลือกเรื่องท่ีมี ความสาคัญสูงสดุ ก่อนตามระยะเวลาทมี่ ี 2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความคิดเห็น/ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x = 3.98 คิดเป็นร้อยละ 79.60) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็น คาถาม โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรก พบว่า เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับมาก ( x = 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.80) รองลงมา คือ หน่วยงานจะมี ระบบการปฏิบัติงานด้านแผนงานและงบประมาณดีขึ้น อยู่ในระดับมาก ( x = 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80.00) และเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องแผนงานและงบประมาณเพิ่มมากข้ึน อยู่ใน ระดับมาก ( x = 3.96 คดิ เป็นรอ้ ยละ 79.20)
(25) เม่ือพิจารณาจาแนกรายประเด็น สาหรบั ประเด็นที่ผู้รับบริการมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด เฉพาะค่าคะแนนต่ากว่า ร้อยละ 80 พบว่ามี 2 ประเด็น คือ เจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานของท่านมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเร่ืองแผนงานและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น ( x = 3.96 คิดเป็นร้อยละ 79.20) และหน่วยงานจะมีระบบการควบคุมด้านงบประมาณดีขนึ้ ( x = 3.91 คิดเป็นรอ้ ยละ 78.20) เนื่องจาก ระบวนการด้านงบประมาณเก่ียวข้องกับการบริหาร หากผู้บริหารให้ความร่วมมือในการดาเนินการ ดา้ นงบประมาณ ย่อมมปี ระสทิ ธิภาพเพิ่มข้ึน และการทเ่ี จา้ หน้าท่ีของหน่วยงานมีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มมากขึน้ ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80 อาจเปน็ เพราะข้อจากดั ด้านระยะเวลาในการให้บรกิ าร 3. ผู้รับบริการมีความไม่พึงพอใจและและความคาดหวังต่อการให้บริการของ กล่มุ ตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง ดังนี้ ประเด็น แนวทางปรับปรุง ความไม่พึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร 1. ขาดกระบวนการในการตดิ ตาม - หน่วยงานมกี ระบวนการตดิ ตามตามมาตรฐาน การตรวจสอบอยู่แล้ว 2 การเผยแพร่ข้อมูล/ขา่ วสารผา่ นเว็บไซตข์ อง - เน่ืองจากมีข้อจากัดด้านบุคลากร คือ ไม่มี กล่มุ ตรวจสอบภายในระดบั กระทรวงบางคร้ัง เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ตั ิงานดา้ นเว็บไซดโ์ ดยตรงและ ไมส่ ามารถเขา้ ค้นหา/สืบคน้ ข้อมลู ได้ ไม่มงี บประมาณในการจัดจา้ ง ทาให้บางคร้ังเวบ็ ไซต์ มีปัญหาไม่สามารถเข้าไปแก้ไขไดท้ ันทว่ งที 3. ขอบเขตการตรวจสอบในเรื่องที่กลุ่มตรวจสอบภายใน - หนว่ ยงานมีการจดั อบรมให้ความรกู้ บั ผู้ตรวจสอบภายใน ระดับกระทรวงให้ตรวจสอบ บางครัง้ ผ้ตู รวจสอบ เปน็ ประจาทุกปี โดยเฉพาะในเรื่องทตี่ ้องการใหบ้ รู ณาการ ภายในของมหาวิทยาลัย ยังไม่มีความชานาญ ตรวจสอบรว่ มกัน เพยี งพอในการตรวจสอบ ทาให้เกดิ ปญั หาในการ จัดทาสรปุ รายงานเม่ือตรวจสอบแล้วเสรจ็ ความคาดหวังของผูร้ บั บริการ 1. ควรเพมิ่ การอบรมดา้ นตรวจสอบกลยทุ ธ์ และ - หน่วยงานมีการจัดอบรมให้ความรู้กับผู้ตรวจสอบภายใน ดา้ นสารสนเทศใหแ้ ก่ผู้ตรวจสอบภายในท่ีกากบั ดูแล เปน็ ประจาทุกปี แตเ่ น่ืองจากมขี ้อจากัดด้านงบประมาณ เพ่อื ให้การตรวจสอบเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน ทไ่ี ดร้ บั จดั สรร ทาใหต้ ้องจากัดผเู้ ขา้ รบั การอบรม ไมส่ ามารถอบรมได้ครอบคลุมผู้ตรวจสอบภายในทุกคน 2. ควรให้คาแนะนาเกย่ี วกบั วิธกี ารตรวจสอบในการ - ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 หน่วยงานกาหนดให้มี หาข้อสงั เกต ข้อผิดพลาดเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาได้ การดาเนินการใหค้ าปรึกษาแนะนาแกผ่ ู้ตรวจสอบ ทันทว่ งที ภายใน ไว้ในแผนการตรวจสอบ 3. ควรมีการตรวจสอบปีละ 2 ครงั้ - เน่ืองจากหน่วยรับตรวจมีจานวนมาก รวมท้ัง มีข้อจากดั ด้านงบประมาณและบุคลากรทาให้ ไมส่ ามารถเพิ่มระยะเวลาการตรวจสอบได้ 4. กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ควรจะเปน็ - หนว่ ยงานดาเนนิ การใหค้ าปรึกษาแนะนาตอบข้อซกั ถาม พเี่ ลย้ี งให้กล่มุ ตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลยั และปัญหาแก่หน่วยงานในสงั กัดในทุกช่องทาง เช่น เป็นอย่างดีอยา่ งนต้ี ่อไป โทรศัพท์ Fax Facebook E-mail และ Line
(26) 4. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความไม่พึงพอใจและความคาดหวังต่อการปฏิบัติงานของ เจา้ หนา้ ทีใ่ นหนว่ ยงาน ดังน้ี ประเด็น แนวทางปรับปรุง 1. เจา้ หนา้ ทข่ี องหน่วยงานสามารถให้คาแนะนา - เนื่องจากภารกิจของหน่วยงานเป็นการอบรม และบริการที่สามารถเพิ่มประสิทธภิ าพการทางาน ให้ความรู้แก่ผู้ตรวจสอบภายในเท่านัน้ ทาให้ไม่ได้รับ และก่อให้เกิดประสิทธิผลในการปรบั ปรุงการ จดั สรรงบประมาณสาหรับอบรมผู้ปฏบิ ัตงิ าน แต่หน่วยงาน ปฏิบัติงานใหด้ ีข้ึน รับเปน็ วิทยากรใหก้ ับหนว่ ยงานในสังกัด 2. ควรปรบั การรายงานโดยแยกการรายงานให้เหน็ เน่ืองจากสภาพปญั หาของแต่ละหนว่ ยรบั ตรวจ เปน็ ภาพเฉพาะของแต่ละหน่วยรบั ตรวจ ส่วนใหญ่คลา้ ยคลึงกัน แต่กม็ ีบางหน่วยงานท่ีมี เพือ่ หนว่ ยรับตรวจจะได้ทราบข้อตรวจพบ สภาพปญั หาทแี่ ตกต่างออกไป ซง่ึ เปน็ สาระสาคัญ และข้อเสนอแนะในสว่ นของตนไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ที่ควรให้หน่วยรบั ตรวจอนื่ ทราบด้วย เพอ่ื จะได้นา ขอ้ เสนอแนะไปถือปฏบิ ตั กิ รณีเกดิ ปญั หาเดียวกนั ได้ ท้งั นี้ ผตู้ รวจสอบภายในไดส้ รุปประเดน็ ปญั หา เฉพาะหนว่ ยรับตรวจให้หน่วยงานและผูป้ ฏบิ ัตงิ าน ทราบข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะในระหวา่ ง ดาเนนิ การตรวจสอบแลว้
(27) ภาคผนวก ค คาสั่งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทาคมู่ ือ การปฏบิ ัติงานสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั
VI PiS . ©osnoo lion vi pis obos).6ycneTiG<!<t: Ewruvi bd nnoion an-^fva nn /nolnoonn^^ ©© b<bs> cu wu ^^innai^ofm bdto® vn-3'httpsy/googl/tKl_A3b .viafiunu QR Code o bbdo bdbcn . obbbd aunn QR Code
vi ail. ^ ^ 3 ^^ / b<be> vi TujFjimmja^niviyMfln'fcnBfm a-affuuvvii en ujwej^ vi.fi. kxbo w9/ CVi a-^n^aoi'un-3'i'uiJ^^n'3S^vi^-3^n^iBfn'a uu 1/ -=d ^/ anmb^fmj ©. b. en. to. en. s:. &. fjfiiln ^s e>o. ^'
> -b- s>en. ineiq/^^a a^ilii ^n^nBm^^viT'Aniim-^iv^^^ ^nwiBniii^iviT'AantjnaiaBqj liia^uEj ^slan ?ln^^Bni'5a'WT'A^jivi^a-^f!i^njj <s>. ^na^o aB^^^ s>b. unam^j IviB^fiA wan^ani^^^ijn'y^tuini^ ^vispiiaA^rniiRfi^i ^4•^a^B'5wu5 in^inau wiivi^^niJfn^nunwKn^ijj nnini^Rnw^iuvivi^n^i fn^^rm bo. wuvm^'iijn-niiflwsn'j'jjj bs>. a/nni^Rntn bb. wuvi^^nijn-^TURfun'5?jj mim^aAWRfrai ben. wuviti^Tun^Tu nflu. V nT^^-uaBjjrnipin'feniafVHu b. •ja^RnwnBm^^viTA^jj^i bb. vii^tuu^^fi^cu uaa^^ •ja-3^n'hnBm^a'-^viT'A^^vi^?i'3f!i'5niJ ^jnanBii mnVi ^nun^nuaniliauvi^nw bri. in-^i\"uqjai-3R B^snCI be*. \\^\\il .viiivi'ui^BiR^isM/n^ni]^ia-aeiTijn-3nu^n<wnBrn^^viT'A T^r m^iJfj'ui^'njYinriei: vl^^iJA-^TU'yinnqjjiujfi'un-^TURn'bnBnT fjSaiJljijfl-niiYifi^ a^n^mfwaHiilu'liriuuinvn^iAOQrVlviiJFmumnjifu frjauAajrumnvi/vTj^^nu iiasBAuuia'swDRnj^n'S^jjfn^i'wa^ai'jnj'ii^u'Ba'UAn LU^flTJ^A'^y'WVlia jA-ai'UA^aBBmivi^nnvia'i v flaaAavitl/^ijAViirmauq mATUuavivujnaann^n^n-^TU iJ^AfTssvir^flfrfenB \"UIOflTS •d'^ssnti b. uia\\J^^viqviB qtila ^nwnBnTaa-^viTA^'wnj^^n uiaiaa^ v\\^d\\i waTU'^om'^an^na'imomi en. ?Tun^ntiR{usjni\"5JjnT5miiqA3JRfi'a'i b. inaf^oimj Tiiq wai^j^am^envin<nuiDA^^yvi 6T). ^Baw^^ifiwTn^nj M n Vo a^ XJ wa^^i^arn•5^nun•^^ul'UATluvl fiTjpfnwjj'saijRn'wi iua bsi *- •• *-
d. HaiinEjn'n^'mn<niu nmj. at. j ©o.tnya-mn ©a. fivntn^ ©en. na^mivuj mycynnp Ta^ tin^^fni<nu<^l'iJ^iunym^^ifl'^^ ^n-3T>n-3^ian in-qn^^l n^a-aa^aa^i vjaaaa-3 ©. n^^iim? h. nail^ njifiT5 en. © si. n^u. a-uvina wa^Tu^am^r^iria'u'iainauasisuii t. tna?-3ai\"5^ auvivrua d. tnysqj aioaa-^w at. ^ •anwuuvi'u
©o. iruasyua -ruvia-^ anafium a'i\"inafmnajjutvn'5<nu'^flfla wanir^armnajj^lvn's-nuijflfla ©©. uiaaviBvn matJ^s^vis iiuy^n^a a^snu 1n'fc^^nT31ll'1uvl^i<lH^a^^t\\! ^T^unnauwa . ^n^eiua ©to. wf ©c*. maavjc^n wa^viuna ©. io. en. •unatl's^na^i ^uvi^vivia •a^. © wa naf wa tn<jauajja at.
©o. tnaib^aTU atmui^j .wa-ivnarmnaymvifi r^yrni ©©. waites^^y mmiiao wa mvnu . tnaa^^a si vru^ifnajatnmjq pil^uqviB ©. ^in^Bfn''3^^<ivr5^iajJvi'5anfl'j wany3om^aTun<nyfn^^nyi u<iaivia fl &.. © u^^an iwiitnyTsn
-b- auv^iu TS'Ba luamie j^^n lb-jfi^wanu^am^n^^-JiaB^nTsan^ianun (mam^ G^wuaB^fa iwuwm si.xiTauvi^^^i avia^ ^a<nn&m^iumhsuhjcia b.^^a^n^u^^ arw^ m.vnai]\\)flJ^ ttmivian o^.unan^^ laaana (i:.^navil Yisvian m ei. unoB^aa irian^
©o. unoan^ Ivh^Piw^hu^ann^n^iiwamnfmflfmn ©©. inanTH ©b. ^'^a^av^ ainu ©en. ua. ©e:. \"unafTu^s iCia-3Pi1 i fjtnTvi wai ©b. TJi-^^vfw^ n^a^f^u waiinaminauwwunmi^^ntn 1 i?i^4apitusn<3'3urn^niUTi-n<u uas^J^ij^ivi'uivia^J') vi ©. b.ino^n^fo ^uiju m.-uia^Bwus ^u^'njaa'L! ^ntfiBfn^^oviTViim'5 sr.•uiaifvi ^iqn'fenna'U'uvi wanuiam^aTunnT^anifia dr. travnflh^^ ma-35i^^ wa'Tu^am^^Tun^n^j hpiu.^vitVi n^iumi b. tnaa^aa na^via-^ m?^n^TiJ'5smjpin^aT?i5'5 i^) © ei. ^^wm vim^aTU^am^^Tun^an^wj^'w^vi d. tnala^^ i^^n^^^i^ ^aTUQam^m'und-3LaBjjfiarn^
-d- ©o. uias^^^a BB^ana wa'n^am^naiianifia ^nmin^ fm^rm V 1V 1 ©©. wa'n^i^am^na'jjan^a ^imin^ n^um^ ua^nam'STjniia'u ©to. unaB/jsmm ^av^viij ©en. i4^^ wan^^anT5nauanLaa Ejinwi^ n^^uim^uas ^?nijfMn^f^nwBm^^Jvn^^ia^]2 na waTu^am^nauanilia mrwer^ n^^unTsua^ w^^aia^n^im^ aU 1 M IV 1 ua/nan^^^jni^a^i ^itlfn^ntj^n^Bnn^^^viT'^i^a^ji Ifflfl Wa^*SinM'nr na^Tunauani^a a^ni^ia uasnam^uniia'u ^^niTn^nxi ^viT3i-3Pj2afn^iJ'u^'3ntinajjaniaa fnmm^ uanam^ijniBaii iauanni^fi^'53jnT5 ^viunviatJi vtl^Tuua\\jviu^a lapi^aaa^u/naiu •uia^ivi^^ ^iicw'^5^'uvii ^n^iBfm^w^^'uuYiui tJ-ssstu n'S'^unTS ©. to. inawaiun vuwu pintf^Bni^viT'^wMa-^ en. ^in^Bm^^^vt'T^ajJvi^a^fi'j^u n^unTi S-. U^FI1 ^^T^Vli^ ^IG^^fi'^CLl wai'u^am^a'iun^nvit^i^vi^ivim^Pin^'i n^^um^ V ^feaupin^ i^ ©s^ *- unail^^a^ nua fnwnrniiu^nuvi^'unQtnfni n^^rra ^'i^aaa^/nat'u^a^^1tt^ u.a.iaaun^ nifnnijn n wan^anT^viu^a^inaaaD/nalu n^^um^ ei. tj^njnw aiavnaj V ai. •u.a.^^wa t^a-al^i^5 unB'^^fn^^i'iaaatJfi'iaiiJ n^^ijjm^ua\" nau^^aaa^ifnaiij fmufmuas; Hcri^nofn'jvitJ^aw^^aaaii^'iuitj *
wauwna wivh s>. inanq^ma ^a^inaftai] via' b. •u^a^ua ^islan ri^um? en. b. si sai sib ^n-3?ma^^'5 m wa neiu. <un-9'^^\\Jiu ^^'U'u^^^j'u waTU^om^fi^jj'uTau'iou.^suwu ^si. ^j.ji. •mvm^wa'5 niium^ Gib. ti^^^ wa^inon^nau'uioijnouasuHU G>cn. \"u.a. n^ium^ sib. ' waninam^nau'ula^nouasuwu V1
®ei. ^bsvuns^ wa^^am^namiTaunauasiiwii ^^un^uflawsm^vn^^^jjvi'n s>cs. wanmamin^^uIa'unau^^uNii VI4^ ^ ixm ^*
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279