Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore audit

audit

Published by internalaudit.lp, 2020-08-14 00:36:03

Description: audit

Search

Read the Text Version

สำนักงำนศึกษำธกิ ำรจงั หวัด หน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร ค่มู อื กำรปฏิบตั ิงำน สำนกั งำนศึกษำธิกำรจงั หวดั

สารบญั หนา้ 1 บทนา 1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1 วตั ถุประสงค์ 1 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ 2 ขอบเขตคูม่ ือการปฏิบตั งิ าน 2 คาจากดั ความ 2 ขอ้ ตกลงเบือ้ ตน้ 3 สงิ่ ทีต่ ้องดาเนินการเบ้ืองต้น สาหรบั หนว่ ยงานตรวจสอบภายในตั้งใหม่ 5 5 บทท่ี 1 กรอบภาระงาน อานาจหน้าท่ี และขอบเขตการปฏิบัตงิ าน 11 กรอบภาระงาน และอานาจหนา้ ที่ 19 ขอบเขตการปฏบิ ตั งิ าน 19 20 บทท่ี 2 การวเิ คราะหง์ าน 25 การจดั ผงั งาน 25 การวิเคราะห์งาน 27 27 บทท่ี 3 การจดั ทากฎบตั รการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม 29 วิธีการจัดทาและทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม 32 องคป์ ระกอบของกฎบัตรการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม 33 แบบฟอรม์ - กฎบตั รการตรวจสอบภายใน 37 ตัวอย่าง - กฎบัตรการตรวจสอบภายใน 37 แบบฟอรม์ – กรอบคณุ ธรรม 37 ตัวอย่าง – กรอบคุณธรรม 40 40 บทท่ี 4 การจดั ทาแผนการตรวจสอบ 41 ความหมาย 47 วธิ ีการจดั ทาแผนการตรวจสอบ องคป์ ระกอบของแผนการตรวจสอบ ตัวอยา่ งการจัดทาแผนการตรวจสอบ แผนการตรวจสอบระยะยาว แผนการตรวจสอบประจาปี

สารบญั (ต่อ) หนา้ 53 บทท่ี 5 การปฏิบตั งิ านตรวจสอบ 57 วธิ กี ารจดั ทาแผนการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ (Engagement Plan) 63 แบบฟอร์ม รูปแบบแผนการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ (Engagement Plan) ตัวอย่าง 64 แผนการปฏบิ ตั งิ าน การตรวจสอบระบบเงนิ ทดรองราชการ 73 แบบเก็บข้อมูล การตรวจสอบระบบเงินทดรองราชการ 78 กระดาษทาการ รายละเอยี ดฐานะเงินทดรองราชการ 79 กระดาษทาการ งบเทียบยอดเงนิ ฝากธนาคารเงนิ ทดรองราชการ 80 ตวั อยา่ งบันทึกเปดิ การประชุมชแ้ี จงการดาเนนิ งาน 81 ตวั อยา่ งบันทึกปิดการประชุมชี้แจงการดาเนนิ งาน 82 กระดาษทาการสรปุ ผลการตรวจสอบ 83 การจัดทากระดาษทาการ (Working Paper) 84 ตัวอย่าง กระดาษทาการ 85 85 บทท่ี 6 การรายงานและการตดิ ตามผล 85 รายงานผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ 85 ประเภทของรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ 86 รูปแบบของการรายงาน 86 เทคนคิ การเขยี นรายงาน 86 วธิ กี ารเขียนรายงาน 87 การรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 87 องค์ประกอบของรายงานสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ 87 วธิ ีการจดั ทารายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายใน 89 การติดตามผล 91 ตัวอย่าง รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบตั ิงานด้านบัญชี 93 แบบฟอร์ม รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานตามแผนการตรวจสอบ ตัวอย่าง ตารางสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานตามแผนการตรวจสอบ ข

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 7 ตวั อย่างภารกจิ ที่ต้องปฏิบตั ิ 97 1. การสอบทานและประเมินผลการควบคุมภายใน 97 วธิ ีการสอบทานและประเมินผล 98 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมิน 98 เครอ่ื งมือ 100 ระเบยี บและแนวทางการปฏบิ ัติงานที่เกี่ยวข้อง 100 ตวั อย่าง แผนการปฏิบตั ิงาน (Engagement Plan) 100 แนวทางการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ (Audit Program) 101 กระดาษทาการสอบทานและประเมินผลประจาปีงบประมาณ 103 กระดาษทาการสรุปผล 106 รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. 4) 108 รายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. 5) 109 รายงานผลการตดิ ตามการประเมินผลการควบคมุ ภายใน (แบบตดิ ตาม ปค. 5) 110 2. แนวทางการสอบทานการปฏิบัตงิ านดา้ นบญั ชีตามเกณฑก์ รมบัญชีกลาง 111 วธิ กี ารสอบทานและประเมนิ ผล 111 วัตถุประสงค์ของการสอบทานการปฏบิ ตั ิงานด้านบญั ชี 111 ประเดน็ และเกณฑ์การสอบทาน 111 เครอื่ งมอื 113 ระเบียบ และแนวทางการปฏิบตั งิ านที่เก่ยี วข้อง 113 ตัวอย่าง แผนการปฏบิ ัติงาน (Engagement Plan) 114 แนวทางการปฏิบตั งิ าน 115 กระดาษทาการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานบญั ชี 121 กระดาษทาการสรุปผล 127 3. การตดิ ตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทุน 129 วิธกี ารสอบทาน 129 วัตถุประสงค์ของการสอบทาน 130 ประเด็นและเกณฑ์การติดตาม 130 เคร่อื งมือ 130 ค

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 130 ระเบียบ และแนวทางการปฏิบัตงิ านทีเ่ ก่ยี วข้อง ตวั อยา่ ง 131 132 แผนการปฏิบตั งิ าน (Engagement Plan) 133 แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน กระดาษทาการตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรี 134 กระดาษทาการสอบทานการกากบั ดูแล การควบคุม 135 และการบริหารความเสยี่ ง 137 กระดาษทาการสรปุ ผล 137 บทที่ 8 การประเมนิ ผลและการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน 137 การประเมนิ ตนเอง 138 วิธีการจัดทา 139 เครอ่ื งมือ 165 แบบประเมนิ ตนเองของหน่วยงานตรวจสอบภายในของสว่ นราชการ 167 รูปแบบการรายงานผลการประเมินตนเอง 177 ตวั อย่าง การรายงานผลการประเมนิ ตนเอง 183 การประเมินตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านที่กระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด การสารวจความพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ าร 184 แบบสอบถามความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวงั ของผ้รู ับบริการตอ่ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 189 แบบสอบถามความพึงพอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความคาดหวงั 191 ของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียต่อการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน 193 การจัดสง่ ข้อมูลเพื่อการประเมนิ ผล (1) บรรณานกุ รม (5) ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชือ่ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (9) ภาคผนวก ข ตวั อยา่ งรายงานผลการสารวจความพงึ พอใจเรื่องการปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบภายใน (27) ภาคผนวก ค คาสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการจัดทาคู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด ง

บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -2579 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของ ระบบบริหารจัดการศึกษาได้มีแนวทางในการปฏิรูปโครงสร้าง บทบาท และระบบบริหารจัดการศึกษาให้ มีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้โดยปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท และระบบบริหาร ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษา ให้มีความเป็นเอกภาพ สอดคล้องกับบริบทของ พนื้ ที่ และการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผลในการบรหิ าร จัดการสถานศึกษาตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งกาหนดให้มีสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือปฏิบัติงานของกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวกับการบริหาร และการจัดการศึกษาตามข้อ 11 ต่อมาได้มีประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการลงวันท่ี 12 มิถุนายน 2560 กาหนดการแบ่งกลุ่มงานภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ให้มี หน่วยตรวจสอบภายใน ทาหน้าที่ดาเนินการเก่ียวกับการตรวจสอบด้านการบริหารการเงินและการบัญชี ของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้เกดิ ความชัดเจนในการปฏิบัติงาน และให้ผู้ตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด ใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานต่อไปกลุ่มตรวจสอบภายในสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึง ไดจ้ ัดทาคมู่ ือการปฏิบัติงานสาหรบั หน่วยตรวจสอบภายใน สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดขน้ึ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความชัดเจนในการปฏิบัติงานตามอานาจหน้าทีใ่ ห้สอดคล้องกับมาตรฐานการตรวจสอบภายในและ จริยธรรมการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายในของสว่ นราชการ 2. เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในของสานกั งานศึกษาธิการจังหวัด มเี ครื่องมือในการปฏิบัติงาน ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะไดร้ บั 1. ผู้ตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีความรู้ความเข้าใจ และมีความชัดเจน ในการปฏบิ ตั ิงาน 2. กิจกรรมการตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดบรรลุวัตถุประสงค์ ที่กาหนดอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะส่งผลให้การตรวจสอบภายในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ มปี ระสทิ ธภิ าพ 3. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเป็นไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการซ่ึงจะส่งผลให้ หน่วยงานในสงั กัดสานักงานศึกษาธิการจงั หวัดมีกระบวนการควบคุม กากับดูแล และบริหารความเสีย่ งท่ี มปี ระสทิ ธภิ าพ

2 ขอบเขตคู่มอื กำรปฏิบัติงำน คู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน สาหรับผู้ตรวจสอบภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ที่จัดทาขึ้นน้ี ครอบคลุมพ้ืนฐานงานตรวจสอบภายในที่หน่วยงานต้องดาเนินการตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายใน ได้แก่ 1. การจดั ทากฎบตั รการตรวจสอบภายใน 2. การจดั ทาแผนการตรวจสอบภายใน 3. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 4. การรายงานผลการตรวจสอบภายใน 5. การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน 6. การประเมินระบบควบคุมภายใน 7. การตรวจสอบรายงานการเงินตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชี ท่กี รมบัญชีกลางกาหนด 8. การตดิ ตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทนุ ตามมติคณะรัฐมนตรี คำจำกดั ควำม หน่วยงำนตรวจสอบภำยใน หมายถึง หน่วยงานท่ีจดั ตั้งขึ้นเพ่ือดาเนินกิจกรรมการตรวจสอบ ภายใน โดยอาจมีการตั้งช่ือแตกต่างกัน เช่น กลุ่มตรวจสอบภายใน หน่วยตรวจสอบภายในหรือสานัก ตรวจสอบภายใน เปน็ ตน้ กิจกรรมกำรตรวจสอบภำยใน หมายถึง กิจกรรมการให้ความเชื่อม่ันและการให้คาปรึกษา ทก่ี าหนดในแผนการตรวจสอบภายใน แผนกำรตรวจสอบภำยใน (Audit Plan) หมายถงึ แผนการปฏิบัติงานที่หัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในจัดทาขึ้นล่วงหน้า เก่ียวกับเร่อื งท่ีจะตรวจสอบ จานวนหน่วยรับตรวจ ระยะเวลาท่ีใช้ใน การปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ในการปฏิบัติงานตรวจสอบท้ังน้ี เพื่อให้เร่ืองที่มีความเส่ียงสาคัญได้รับการตรวจสอบอย่างครอบคลุมและทั่วถึง ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่โดย แผนการตรวจสอบ ประกอบดว้ ย แผนการตรวจสอบประจาปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว แผนกำรปฏิบัติงำนตรวจสอบ (Engagement Plan) หมายถึง แผนการปฏิบัติงานใน รายละเอียดท่ีผู้ตรวจสอบภายในจัดทาขึ้น ตามกิจกรรมการตรวจสอบที่กาหนดไว้ในแผนการตรวจสอบ (Audit Plan) เพ่ือกาหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบ ขอบเขต แนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Program) และทรัพยากรท่ีใช้เทา่ ใด เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ัติงานบรรลผุ ลสาเรจ็ แนวทำงกำรปฏิบัติงำนตรวจสอบ (Audit Program) หมายถึง วิธีการ/แนวทางการตรวจสอบ ท่ีจัดทาขึ้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การตรวจสอบที่กาหนดไว้ใน แผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) เพื่อกาหนดประเด็นที่จะตรวจสอบในแต่ละวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการพิจารณา วธิ กี ารตรวจสอบ กระดาษทาการ และเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ข้อตกลงเบ้อื งต้น คู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้กาหนดขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ข้อปฏิบัติ หนังสือส่ังการ และมาตรฐานทเี่ กย่ี วข้อง หากมีการเปลี่ยนแปลงย่อมส่งผลกระทบต่อเนื้อหาของคู่มือรายละเอยี ดดงั น้ี

3 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข เพิ่มเตมิ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553) 2. ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 3. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลงั วา่ ด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 แจ้งตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่ กค 0409.3/ว 105 ลงวนั ท่ี 5 ตุลาคม 2561 4. คาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 เรือ่ งการปฏิรูปการศึกษาในภูมภิ าคของกระทรวงศึกษาธกิ าร 5. ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 12 มิถุนายน 2560 เร่ือง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศกึ ษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดสังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2560 เร่ือง การแบ่ง สว่ นราชการภายในสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 7. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ของสว่ นราชการ แจง้ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0409.2/ว 326 ลงวันท่ี 28 สิงหาคม 2560 8. แนวทางการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แจ้งตามหนังสอื กรมบัญชกี ลาง ท่ี กค 0409.4/ว 309 ลงวนั ที่ 6 กรกฎาคม 2561 9. แนวทางการประเมินตนเองของหน่วยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ แจ้งตาม หนังสอื กรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0408.2/ว 273 ลงวนั ที่ 29 กนั ยายน 2557 10. การวางแผนการตรวจสอบประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สาหรับผู้ตรวจสอบภายใน ภาคราชการ แจ้งตามหนังสอื กรมบญั ชีกลาง ด่วนทสี่ ุด ท่ี กค 0409.2/ว 399 ลงวนั ที่ 16 ตุลาคม 2560 11. การจัดส่งข้อมลู ผลการปฏิบัติงานเพื่อการตรวจสอบและประเมินผลประจากระทรวง แจง้ ตามหนงั สอื สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ 0213/15758 ลงวนั ที่ 16 ตุลาคม 2561 ส่ิงที่ต้องดำเนนิ กำรเบ้ืองตน้ สำหรับหนว่ ยงำนตรวจสอบภำยในต้งั ใหม่ เมื่อมีการต้ังหน่วยงานตรวจสอบภายในข้ึนในส่วนราชการ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ต้องดาเนนิ การในเบื้องตน้ ดังนี้ 1. จัดทาคาส่ังมอบหมายงานภายในหนว่ ยงานตรวจสอบภายใน 2 จัดทากฎบตั รการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม 3. จดั ทาแผนการตรวจสอบภายใน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ 4. จดั ทาเคร่อื งมือการปฏิบัติงาน เช่น แผนการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ กระดาษทาการ ฯลฯ 5. ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบภายใน 6. จดั ทารายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 6.1 รายงานผลการตรวจสอบ 6.2 รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านตามแผนการตรวจสอบภายใน อย่างน้อย 4 เดอื นครงั้ 7. ตดิ ตามผลการตรวจสอบ 8. ประเมินตนเอง (Self-Assessment) 9. จัดส่งข้อมลู และรายงานใหห้ นว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

บทที่ 1 กรอบภาระงาน อานาจหน้าท่ี และขอบเขตการปฏบิ ัตงิ าน กรอบภาระงาน และอานาจหนา้ ท่ี 1. การกาหนดอานาจหน้าท่ีตามกฎหมายจดั ตัง้ หน่วยงาน 1.1 ตามคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 19/2560 เร่ือง การปฏิรูปการศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 กาหนดในข้อ 11 ให้มีสานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของ กระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด การปฏิบัติราชการ ตามอานาจหน้าท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่างๆ ท่ีมอบหมาย และให้มีอานาจหน้าท่ี ในเขตจงั หวัด โดยกาหนดหนา้ ท่ีในขอ้ 11 (8) ใหด้ าเนนิ การเก่ียวกับการตรวจสอบการบรหิ าร การเงิน และการบญั ชขี องส่วนราชการ หรือหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 1.2 ตามประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งหน่วยงานภายใน สานักงานศึกษาธิการภาค และสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ข้อ 4.8 กาหนดให้หน่วยตรวจสอบภายใน มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ (1) ดาเนินการเก่ียวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของส่วนราชการ หรือ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพื้นท่ีรับผิดชอบ และ (2) ปฏิบัติงานร่วมกับ หรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่นื ที่เกี่ยวข้อง หรอื ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จึงเป็นหน่วยงานท่ีต้ังขึ้นเพ่ือให้มี อานาจหน้าท่ี 1. ดาเนินการเก่ียวกับตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของส่วนราชการ หรอื หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการในเขตจงั หวดั ท่รี ับผิดชอบ 2. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมาย 2. การกาหนดอานาจหน้าทตี่ ามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ตามท่ีกระทรวงการคลังได้กาหนดระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ เพ่ือให้กระทรวง ทบวง กรม หรอื สว่ นราชการที่เรียกชือ่ อย่างอ่ืนที่มฐี านะเทยี บเท่า ถือปฏิบัติ สาระสาคัญของระเบียบในส่วนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการตรวจสอบภายใน โดยสรุปได้ ดังน้ี ข้อ 6 ใหห้ นว่ ยงานตรวจสอบภายในขึ้นตรงต่อหัวหน้าสว่ นราชการ ข้อ 7 ให้หัวหน้าส่วนราชการจัดสรรบุคลากรและทรัพยากรท่ีเพียงพอต่อการปฏิบัติงานอย่าง เหมาะสมกบั ปริมาณงาน ขอ้ 8 หัวหน้าส่วนราชการจะพิจารณาส่ังการให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานอื่นได้ตาม ควรแก่กรณี ท้ังนี้ งานดังกล่าวต้องไม่ทาให้ผู้ตรวจสอบภายในขาดความเป็นอิสระ และเท่ียงธรรม มสี ว่ นได้สว่ นเสียในกจิ กรรมทต่ี รวจสอบ

6 ข้อ 9 ให้ผู้ตรวจสอบภายในดารงไว้ซ่ึงความเป็นอิสระ ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรม ที่ตรวจสอบ ปราศจากการแทรกแซงในการปฏิบัติงานและการเสนอความเห็นในการตรวจสอบของ ฝ่ายบริหาร หรอื บคุ คลหนึง่ บคุ คลใด ผู้ตรวจสอบภายในไม่ควรเป็นกรรมการในคณะกรรมการใดๆ ของส่วนราชการ หรือหน่วยงานในสังกัดอันมผี ลกระทบต่อความเป็นอิสระในการปฏบิ ัติงานและการเสนอความเห็น ข้อ 10 ให้ผู้ตรวจสอบภายในมีสิทธิในการเข้าถึงบุคคล ข้อมูล เอกสารหลักฐานและ ทรัพย์สินต่างๆ รวมท้ังให้เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหารในเร่ืองเก่ียวกับนโยบายและการดาเนินงาน ของส่วนราชการ เพือ่ รับทราบข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายใน ข้อ 13 ให้หน่วยงานตรวจสอบภายใน มหี นา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบดงั นี้ (2) กาหนดกฎบัตรไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เสนอหั วหน้าส่วนราชการ เพ่อื พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบและเผยแพรห่ น่วยรับตรวจทราบ (5) ให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานและ คู่มือ/แนวปฏิบัติการตรวจสอบภายในของกรมบัญชีกลาง กรณีท่ีไม่ได้กาหนดไว้ให้ถือปฏิบัติตาม มาตรฐานสากล 6) เสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอนุมัติ ภายในเดือนกันยายน ในกรณีท่ีหน่วยงานตรวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบส่วนราชการ มีระยะเวลาต้ังแต่ 1 ปีข้ึนไป ให้เสนอแผนการตรวจสอบระยะยาวต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาอนุมัตแิ ผนการตรวจสอบประจาปีดว้ ย (7) เสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อหัวหน้าส่วนราชการภายในเวลา อนั สมควรหรืออย่างน้อยทุก 2 เดือนนับแต่วันที่ดาเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จตามแผน กรณีเรื่องที่ ตรวจพบเป็นเรื่องท่ีจะมผี ลเสียหายตอ่ ทางราชการใหร้ ายงานผลการตรวจสอบทนั ที ขอ้ 14 ขอบเขตงานของการตรวจสอบภายในให้ครอบคลุมถึง การตรวจสอบ วิเคราะห์ รวมท้ังการประเมินความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการ และการบรหิ ารความเสยี่ งของสว่ นราชการ ซงึ่ รวมถึง (1) ประเมินความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการดาเนินงานในหน้าที่ ของหน่วยรับตรวจ เสนอแนะการปรับปรุงการบริหารความเส่ียง การควบคุม และการกากับดูแล อย่างต่อเนอื่ ง (2) สอบทานระบบการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และ/หรือ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งที่ทางราชการกาหนด เพ่ือให้มั่นใจได้ว่า สามารถนาไปสู่การปฏิบัติงานท่ีตรงตาม เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับนโยบายของสว่ นราชการ (3) สอบทานความถกู ตอ้ งและเชอื่ ถือไดข้ องขอ้ มลู การดาเนนิ งานและการเงนิ การคลงั (4) ตรวจสอบระบบการดูแลรักษา และความปลอดภัยของทรัพย์สินของหน่วยรับตรวจ ให้มคี วามเหมาะสมกับประเภทของทรัพยส์ นิ นัน้ (5) ประเมินผลการดาเนินการเก่ยี วกับการเงนิ การคลังของสว่ นราชการ (6) วิเคราะห์และประเมินความมปี ระสิทธิภาพ ประหยัดและคุ้มค่าในการใชท้ รัพยากร

7 หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ซึ่งเป็นหน่วยงานของสานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดที่ต้ังขึ้นเพ่ือดาเนินกิจกรรมการตรวจสอบภายใน จึงควรปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของสว่ นราชการ โดยอนโุ ลม เพื่อให้การปฏบิ ัติงานสอดคล้อง กับมาตรฐานการตรวจสอบภายในท่ีกรมบญั ชีกลางกาหนดดังน้ี 1. ให้หน่วยตรวจสอบภายในขึน้ ตรงตอ่ ศึกษาธกิ ารจงั หวดั 2. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดสรรบุคลากรและทรัพยากรที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานอย่าง เหมาะสมกับปรมิ าณงาน 3. ศึกษาธิการจังหวัดจะพิจารณาส่ังการให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานอื่นได้ตาม ควรแก่กรณี ท้ังน้ี งานดังกล่าวต้องไม่ทาให้ผู้ตรวจสอบภายในขาดความเป็นอิสระ และเท่ียงธรรม มสี ว่ นได้สว่ นเสียในกิจกรรมที่ตรวจสอบ 4. ให้ผู้ตรวจสอบภายในดารงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรม ที่ตรวจสอบ ปราศจากการแทรกแซงในการปฏิบัติงานและการเสนอความเห็นในการตรวจสอบของ ฝ่ายบรหิ าร หรอื บคุ คลหนงึ่ บคุ คลใด ผู้ตรวจสอบภายในไมค่ วรเป็นกรรมการในคณะกรรมการใดๆ ของสานักงานศึกษาธกิ าร จังหวัด หรือหน่วยงานในสังกัดอันมีผลกระทบต่อความเป็ นอิสระในการปฏิบัติงานและ การเสนอความเหน็ 5. ให้ผู้ตรวจสอบภายในมีสิทธิในการเข้าถึงบุคคล ข้อมูล เอกสารหลักฐานและทรัพย์สิน ต่างๆ รวมทั้งให้เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหารในเร่ืองเก่ียวกับนโยบายและการดาเนินงานของสานักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวัด เพ่อื รบั ทราบข้อมูลท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ัติงานตรวจสอบภายใน 6. ให้กาหนดกฎบัตรไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เสนอศึกษาธิการจังหวัด เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบและเผยแพร่หนว่ ยรับตรวจทราบ 7. ให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานและคู่มือ/แนว ปฏิบัติการตรวจสอบภายในของกรมบัญชีกลาง/กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ ารกาหนด กรณที ไี่ ม่ได้กาหนดไว้ให้ถอื ปฏิบัติตามมาตรฐานสากล 8. ให้เสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อศึกษาธิการจังหวัด พิจารณาอนมุ ัติภายในเดือน กันยายน ในกรณีท่ีหน่วยตรวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบ มีระยะเวลาต้ังแต่ 1 ปีข้ึนไป ให้เสนอแผนการตรวจสอบระยะยาวต่อศึกษาธิการจังหวัด เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติแผน การตรวจสอบประจาปดี ว้ ย 9. ให้เสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อศึกษาธิการจังหวัด ภายในเวลาอันสมควรหรือ อย่างน้อยทุก 2 เดือนนับแต่วันท่ีดาเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จตามแผน กรณีเร่ืองที่ตรวจพบเป็น เร่ืองทจ่ี ะมีผลเสียหายตอ่ ทางราชการใหร้ ายงานผลการตรวจสอบทนั ที 10. ขอบเขตงานของการตรวจสอบภายในให้ครอบคลุมถึง การตรวจสอบ วิเคราะห์ รวมทั้งการประเมนิ ความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบการควบคมุ ภายในของสว่ นราชการและ การบริหารความเสีย่ งของส่วนราชการ ซง่ึ รวมถึง

8 10.1 ประเมินความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการดาเนินงานในหน้าท่ีของ หน่วยรับตรวจ เสนอแนะการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกากับดูแล อย่างต่อเนอื่ ง 10.2 สอบทานระบบการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และ/หรือ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ังที่ทางราชการกาหนด เพ่ือให้มั่นใจได้ว่า สามารถนาไปสู่การปฏิบัติงานที่ตรงตาม เป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ และสอดคลอ้ งกับนโยบายของสว่ นราชการ 10.3 สอบทานความถูกต้องและเชอ่ื ถือได้ของข้อมูลการดาเนินงานและการเงินการคลงั 10.4 ตรวจสอบระบบการดูแลรักษา และความปลอดภัยของทรัพย์สินของหน่วยรับตรวจ ให้มคี วามเหมาะสมกบั ประเภทของทรัพยส์ ินนั้น 10.5 ประเมินผลการดาเนินการเกีย่ วกบั การเงนิ การคลงั ของส่วนราชการ 10.6 วิเคราะห์และประเมินความมีประสทิ ธิภาพ ประหยัดและค้มุ ค่าในการใช้ทรัพยากร 3. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นหน่วยงานที่ตั้งข้ึนเพื่อดาเนิน กิจกรรมการตรวจสอบภายใน ซ่ึงถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 โดยอนุโลม โดยข้อ 13 (5) กาหนดให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายในของ สว่ นราชการทอ่ี อกโดยกรมบญั ชีกลาง กอป รกั บ กรม บั ญ ชี กล างได้ ป รั บ ป รุ งม าต รฐาน การตรวจ ส อบ ภ าย ใน แล ะจ ริ ย ธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ โดยแจ้งให้ส่วนราชการทราบและถือปฏิบัติ ตามหนังสือกรมบัญชีกลางท่ี กค 0408.2/ว 326 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2560 เรื่อง มาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในของส่วนราชการ สรปุ ไดด้ ังน้ี 1. มาตรฐานการตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ มาตรฐานด้านคุณสมบัติและ มาตรฐานดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน ดังนี้ 1.1 มาตรฐานด้านคุณสมบัติ (Attribute Standards) เป็นมาตรฐานทกี่ ล่าวถึงลักษณะ ของหน่วยงานและบุคลากรท่ีปฏิบัตงิ านด้านการตรวจสอบภายใน (รหสั ชุด 1000) 1.2 มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน (Performance Standards) เป็นมาตรฐานท่ีกล่าวถึง ลักษณะของงานด้านตรวจสอบภายในและบรรทัดฐานทางคุณภาพที่สามารถนาไปใช้ประเมินผล การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในได้ (รหสั ชดุ 2000) มาตรฐานด้านคุณสมบัติ มี 4 เรอื่ ง 1000 วัตถปุ ระสงค์ อานาจหนา้ ที่ และความรับผิดชอบ 1100 ความอสิ ระและความเทย่ี งธรรม 1200 ความเชย่ี วชาญและความระมดั ระวงั รอบคอบเยีย่ งผู้ประกอบวชิ าชีพ 1300 การประกนั และการปรับปรุงคุณภาพงาน มาตรฐานด้านการปฏิบัตงิ าน มี 7 เรอื่ ง 2000 การบรหิ ารงานตรวจสอบภายใน 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน 2200 การวางแผนการปฏิบัตงิ าน

9 2300 การปฏิบตั ิงาน 2400 การรายงานผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ 2500 การตดิ ตามผล 2600 การยอมรับสภาพความเสีย่ งของฝ่ายบรหิ าร 2. เกณฑก์ ารประกนั คุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ การกาหนดเกณฑก์ ารประเมิน การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ได้กาหนดตามกรอบมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ซ่ึงประกอบด้วย มาตรฐาน ด้านคุณสมบัติและมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน นามากาหนดประเด็นท่ีใช้ในการพิจารณาเพื่อ ประเมินการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ได้ 16 ประเด็น รายละเอียดดังตาราง ต่อไปน้ีประกอบด้วย - ประเด็นด้านการกากับดูแล (Governance) 3 ประเดน็ - ประเดน็ ดา้ นบุคลากร (Staff) 3 ประเด็น - ประเดน็ ด้านการจัดการ (Management) 5 ประเดน็ - ประเด็นด้านกระบวนการ (Process) 5 ประเด็น กรอบมาตรฐาน ประเดน็ ทีใ่ ช้พิจารณา มาตรฐานดา้ นคณุ สมบัติ 1. ด้านการกากบั ดแู ล (Governance) 1000 วตั ถปุ ระสงค์ อานาจหน้าที่ และความรับผดิ ชอบ 1010 การแสดงการยอมรับภารกิจงานตรวจสอบภายใน ประเด็นที่ 2 กฎบตั รการตรวจสอบ ตามท่ีปรากฏในกฎบตั รการตรวจสอบภายใน ภายใน 1100 ความเป็นอิสระและความเทีย่ งธรรม ประเดน็ ที่ 1 โครงสร้างและสายการ 1110 ความเป็นอสิ ระภายในหนว่ ยงาน รายงาน 1120 ความเที่ยงธรรมของผู้ตรวจสอบ 1130 ขอ้ จากดั ของความเปน็ อสิ ระหรือความเทยี่ งธรรม 1300 การประกันและการปรบั ปรงุ คณุ ภาพงาน ประเด็นท่ี 3 การประเมินคุณภาพ 1310 การประเมินการประกันและปรับปรงุ คุณภาพงาน งานตรวจสอบภายใน 1320 การรายงานผลการประเมนิ การประกนั และปรบั ปรุงคุณภาพงาน 2. ดา้ นบุคลากร (Staff) 1200 ความเชีย่ วชาญและความระมดั ระวงั รอบคอบ เยีย่ งผปู้ ระกอบวิชาชีพ 1210 ความเช่ียวชาญ ประเด็นท่ี 4 ความเช่ียวชาญด้านการ ตรวจสอบภายใน 1220 ความระมัดระวังรอบคอบเย่ยี งผปู้ ระกอบ ประเดน็ ที่ 5 ความระมัดระวังรอบคอบ วิชาชีพ เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ 1230 การพฒั นาวชิ าชพี อยา่ งต่อเน่ือง ประเดน็ ท่ี 6 การพัฒนาบคุ ลากร

10 กรอบมาตรฐาน ประเดน็ ที่ใช้พิจารณา มาตรฐานดา้ นการปฏิบตั งิ าน 3. ด้านการจัดการ (Management) 2000 การบรหิ ารงานตรวจสอบภายใน ประเด็นท่ี 8 การประเมนิ ความเส่ียง เพ่ือวางแผนการตรวจสอบ 2010 การวางแผนการตรวจสอบ ประเด็นที่ 9 การวางแผนการตรวจสอบ 2020 การเสนอและอนุมัติแผนการตรวจสอบ 2030 การบรหิ ารทรพั ยากร ประเด็นท่ี 7 กลยทุ ธ์ของหนว่ ยงาน ตรวจสอบภายใน 2040 นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน ประเดน็ ที่ 10 นโยบายคู่มือการปฏิบัติงาน 2050 การประสานงาน และการใช้ผลการปฏิบัติงาน และการประสานงาน ของผู้อ่ืน 2060 การรายงานตอ่ หวั หน้าส่วนราชการ ประเด็นท่ี 11 การรายงานสรุปผลการ และคณะกรรมการตรวจสอบ (ถา้ ม)ี ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน 2070 ผู้ใช้บริการตรวจสอบจากภายนอก และความรับผิดชอบของส่วนราชการ 4. ด้านกระบวนการ (Process) 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน ประเดน็ ท่ี 12 การปฏบิ ัตงิ านครอบคลุม 2110 การกากับดแู ล กระบวนการกากับดูแล 2120 การบริหารความเสีย่ ง การบริหารความเส่ยี ง 2130 การควบคุม และการควบคุม 2200 การวางแผนการปฏบิ ัติงาน ประเด็นท่ี 13 การวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 2201 ข้อพจิ ารณาในการวางแผน ตรวจสอบ 2210 การกาหนดวัตถุประสงค์ (Engagement Plan) 2220 การกาหนดขอบเขตการปฏิบตั งิ าน 2230 การจดั สรรทรัพยากร 2240 แนวทางการปฏิบัติงาน 2300 การปฏิบัตงิ าน ประเดน็ ท่ี 14 การปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ 2310 การระบขุ ้อมูล ภาคสนาม 2320 การวเิ คราะห์และประเมนิ ผล 2330 การจดั เก็บข้อมลู 2340 การกากบั ดแู ลการปฏบิ ตั ิงาน

11 กรอบมาตรฐาน ประเด็นทใี่ ช้พิจารณา 2400 การรายงานผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ ประเด็นท่ี 15 การรายงานผลการ 2410 หลักเกณฑ์ในการรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ปฏบิ ัติงานตรวจสอบ ตรวจสอบ 2420 คณุ ภาพของรายงานผลการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ 2430 การระบุข้อความ การปฏิบัติงานเปน็ ไปตาม ระเบียบ มาตรฐานและจริยธรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน 2440 การเผยแพรผ่ ลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ 2450 การใหค้ วามเห็นในภาพรวม 2500 การตดิ ตามผล ประเด็นท่ี 16 การติดตามผลการ 2600 การยอมรบั สภาพความเสยี่ งของฝา่ ยบริหาร ตรวจสอบ จริยธรรมการปฏิบั ติงานตรวจสอบภายในที่ หน่วยตรวจสอบภายใน สานั กงาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดตอ้ งปฏบิ ตั ิ มแี นวทางปฏบิ ัติ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ความซอื่ สตั ย์ (Integrity) 2. ความเท่ยี งธรรม (Objectivity) 3. การปกปิดความลับ (Confidentiality) 4. ความสามารถในหน้าท่ี (Competency) ขอบเขตการปฏบิ ัติงาน 1. ดา้ นหน่วยรับตรวจ 1.1 ตามคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560 เร่ืองการปฏิรูปการศึกษาใน ภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 ข้อ 11กาหนดให้สานักงานศึกษาธิการ จังหวัดมีอานาจหน้าท่ีในเขตจังหวัด โดยข้อ 11 (8) กาหนดให้ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบ การบริหาร การเงิน และการบัญชีของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศกึ ษาธิการ 1.2 หน่วยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการในเขตจังหวัด ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553)มาตรา 6 ได้จัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการดังนี้ (1) ระเบยี บบริหารราชการในส่วนกลาง (2) ระเบียบบริหารราชการเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา มาตรา 9 ให้จัดระเบยี บบรหิ ารราชการในส่วนกลาง ดงั น้ี (1) สานักงานปลัดกระทรวง (2) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ

12 มาตรา 10 การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญัตนิ ี้ โดยให้มีหัวหน้าสว่ นราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ดังนี้ (1) สานักงานรฐั มนตรี (2) สานักงานปลดั กระทรวง (3) สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา (4) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (5) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (6) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส่วนราชการตาม (2) (3) (4) (5) และ (6) มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรม ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ มาตรา 11 การแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการตามมาตรา 10 ให้ออกเป็นกฎกระทรวง และให้ระบุอานาจหนา้ ทขี่ องแตล่ ะส่วนราชการไว้ในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการแบง่ สว่ นราชการดงั กลา่ ว มาตรา 30 เลขาธิการซ่ึงเปน็ ผู้บงั คบั บัญชาของสว่ นราชการ มอี านาจหนา้ ท่ีดังต่อไปน้ี ให้เลขาธิการสภาการศึกษารับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาหรือในสถานศึกษาที่อยู่ในสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาด้วย ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัด ทีเ่ ป็นนิตบิ คุ คลท่จี ดั การระดับปริญญาด้วย ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศกึ ษาของรัฐในสังกัด สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาด้วย มาตรา 33 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ยึดเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยคานึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรมและ ความเหมาะสมด้านอนื่ ดว้ ย เวน้ แตก่ ารจดั การศึกษาข้ันพื้นฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอาชีวศึกษา ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของสภาการศึกษา มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน แบ่งเปน็ เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาและเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา มาตรา 34 ใหจ้ ดั ระเบียบบรหิ ารราชการของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดังน้ี (1) สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา (2) สถานศกึ ษาทจี่ ดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือสว่ นราชการทเี่ รียกชอ่ื อย่างอื่น จากกฎหมายข้างต้น กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทา ผังโครงสรา้ งกระทรวงศึกษาธิการ รายละเอียดตามผงั ภาพท1่ี

13 หน่วยรับตรวจของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ตามคาสงั่ หัวหน้าคณะ รกั ษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ประกอบดว้ ย 1. หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลดั กระทรวง 1.1 สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั 1.2 สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด 1.3 การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ/ตาบล 1.4 สถาบนั กศน. ภาค (รายช่ือภาคผนวก) 1.5 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา (รายชือ่ ภาคผนวก) 1.6 ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (รายชื่อภาคผนวก) 1.7 สานักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั (จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 5 จงั หวัด) 2. หน่วยงานในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2.1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 2.2 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา 2.3 สถานศึกษามัธยมศึกษา 2.4 สถานศึกษาประถมศึกษา 2.5 ศนู ย์การศึกษาพิเศษ 2.6 สถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานการศกึ ษาพิเศษ 3. หน่วยงานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (อยู่ระหวา่ งปรับปรงุ โครงสร้าง แยกกระทรวง) 3.1 วิทยาลยั ชุมชน (รายช่อื ภาคผนวก) 3.2 สถานศกึ ษาอุดมศึกษา (รายชือ่ ภาคผนวก) 4. หน่วยงานในสังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา (รายชอื่ ภาคผนวก)

14

15 2. ด้านภารกจิ 2.1 โครงสรา้ งการตรวจสอบภายในของกระทรวงศึกษาธิการ ตามโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการหรือหน่วยงานในสังกัด กระทรวงศกึ ษาธิการท่กี าหนดให้มหี นว่ ยงานตรวจสอบภายใน แบง่ 4 ระดบั ตามผังภาพท่ี 2 2.1.1 หนว่ ยงานตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง 2.1.2 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกรม ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ซึ่งได้แก่ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2.1.3 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกรม (เดิม) ตามพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดินก่อนมีการประกาศพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ซึ่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้มี การโอนกิจการ ตามมาตรา 59 65 และ 82 ได้แก่ สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย สานักงานคณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การการศกึ ษาเอกชน และมหาวิทยาลยั ในสงั กดั 2.1.4 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับจังหวัด ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษา ความสงบแหง่ ชาตทิ ี่ 19/2560 ลงวนั ท่ี 3 เมษายน 2560 ได้แก่ สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั 2.1.5 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับเขตพื้นท่ี ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553ไดแ้ ก่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ประถมศกึ ษา และสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา 2.2 อานาจหน้าที่ของหนว่ ยงานตรวจสอบภายในตามผงั โครงสร้าง 2.2.1 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง มีอานาจหน้าท่ีตรวจสอบ สว่ นราชการ หรือหนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ ารตามประกาศกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ 2.2.2 หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกรม มีอานาจหน้าท่ีตรวจสอบส่วนราชการและ หน่วยงานในสังกัดกรม ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 2.2.3 อานาจหน้าที่ของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีอานาจหน้าที่ตรวจสอบส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตจงั หวัดตามคาสัง่ หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560 2.2.4 หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอานาจหน้าท่ีตรวจสอบ ส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบง่ ส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 2.3 การกาหนดความรับผิดชอบตรวจสอบหน่วยรับตรวจ เพ่ือมิให้เกิดความซ้าซ้อน ในการปฏิบัตงิ าน จากอานาจหน้าท่ีข้างตน้ จะเห็นได้วา่ หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง และ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบตรวจสอบ หนว่ ยงานซา้ ซ้อนกับหนว่ ยงานตรวจสอบภายใน ของสว่ นราชการระดบั กรม และเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา

16 เพ่ือเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และลดความซ้าซ้อนในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงาน ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง กระทรวงการคลังได้กาหนดระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 ข้อ 12 (1) วรรค 2 ในกรณีท่ีผู้ตรวจสอบภายในของ ส่วนราชการในระดับกระทรวง ตรวจสอบงาน/โครงการของส่วนราชการระดับกรมในสังกัดของ กระทรวง นอกเหนือจากงานของสานักงานปลัดกระทรวง จะต้องเป็นการตรวจสอบและประเมินผล การดาเนินงานตามแผนงาน งาน/โครงการที่มีความสาคัญต่อผลสาเร็จของนโยบายกระทรวง และเป็นงาน/โครงการท่ีได้รับนโยบาย ให้ติดตามกากับดูแลเป็นกรณีพิเศษ โดยให้มีการประสาน แผนการตรวจสอบกบั สว่ นราชการนนั้ ๆ ด้วย หน่วยตรวจสอบภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด จึงควรปฏิบัติ ตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 ข้อ 12 (1) วรรค 2 โดยอนุโลม กล่าวคือ การตรวจสอบส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่นอกเหนือจากสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ขอให้ผู้ตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ดาเนินการดังน้ี 1. ผู้ตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ควรตรวจสอบและประเมินผล การดาเนินงาน ตามแผนงานงาน/โครงการท่ีมีความสาคัญต่อผลสาเร็จของนโยบายจังหวัด/กระทรวง และ/หรือเป็นงาน/โครงการที่ได้รับนโยบายให้ติดตามกากับดูแลเป็นกรณีพิเศษ หรือเป็นงานที่ได้รับ มอบหมายจากกระทรวง หรอื คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัด 2. จัดส่งสาเนาแผนการตรวจสอบของหน่วยตรวจสอบภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด หรือหนังสือมอบหมาย/ส่ังการ ให้หน่วยงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ประสานแผนตรวจสอบ กับส่วนราชการตน้ สงั กดั ของหน่วยงานน้นั ๆ ก่อนดว้ ย

โครงสรา้ งการตรวจสอบภาย รมว. กระทรว คณะกรรมการตรวจสอบและประเมนิ ผล ปลดั กระทรว ประจากระทรวงศึกษาธกิ าร กลุ่มตรวจสอ กลุ่มงานตรวจสอบภ ระดบั กรม กลุ่มตรวจสอบ หน่วยตรวจสอ ภายใน สป. ภายใน กลุ่มงานตรวจสอบ สป. สานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา หน่วยตรวจสอบ หนว่ ยตรวจสอบ หน่วยตรวจสอบ ภายใน ภายใน ภายใน สานกั งานคณะกรรมการ สานักงานคณะกรรมการ สานกั งานสง่ เสรมิ สง่ เสรมิ การศึกษา ข้าราชการครูและ การศึกษานอกระบบ เอกชน บุคลากรทางการศกึ ษา และการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั หนว่ ยตรวจสอบภายใน ระดบั จงั หวัด/เขตพ้ืนที่ สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด

ยใน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระดับกระทรวง วงศกึ ษาธกิ าร วงศึกษาธกิ าร อบภายใน สป. ภายในระดบั กระทรวง อบ กล่มุ ตรวจสอบ หน่วยตรวจสอบ กล่มุ ตรวจสอบ 17 ภายใน ภายใน ภายใน ร สานักงานคณะกรรมการ สานักงานคณะกรรมการ สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การอาชวี ศกึ ษา การอุดมศกึ ษา ระดับกรม (เดมิ ) หนว่ ยงาน ตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลยั ในสังกัด หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษา/มัธยมศกึ ษา

18 โครงสรา้ งการตรวจสอบภายใน ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด หน่วยงานตรวจสอบภายใน กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สป. หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน กรม กรมเดิม(สช. กศน. กคศ.) หนว่ ยตรวจสอบ หนว่ ยตรวจสอบภายใน ภายในสพท. ศธจ. สถานศึกษา หน่วยงาน

บทท่ี 2 การวิเคราะหง์ าน การจัดผังงาน การจดั ผงั งานของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั หนว่ ยตรวจสอบภายใน ศธจ. ตรวจสอบดา้ นการบริหาร การเงนิ ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรือสนบั สนนุ และการบญั ชี การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอื่น - การตรวจสอบกรณีปกติ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง หรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย - การตรวจสอบกรณีพิเศษ - สถานศกึ ษาในสังกดั ศธ. - หนว่ ยงานในสงั กดั ศธ. หน่วยงานในสงั กดั สป. สถานศึกษาในสังกดั สป. 19 - สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด - การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/ตาบล - สานกั งานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั (จังหวดั ชายแดนภาคใต้) - ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษา - สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม - ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน สถานศึกษาในสังกดั สพฐ. อธั ยาศยั จงั หวัด - สถานศกึ ษามัธยมศกึ ษา - สถาบนั กศน. ภาค - สถานศึกษาประถมศกึ ษา หน่วยงานในสงั กัด สพฐ. - ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ - สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา - สถานศึกษาในสังกัดสานักงานการศึกษาพเิ ศษ - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กัด สกอ.(อยรู่ ะหวา่ งปรบั โครงสร้างแยกกระทรวง) - วทิ ยาลยั ชมุ ชน - สถานศึกษาอุดมศึกษา สถานศกึ ษาในสงั กัด สอศ. - สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา หมายเหตุ : หน่วยตรวจสอบภายในสามารถตรวจสอบสถานศึกษาเอกชนได้เฉพาะเงินอุดหนนุ / เงินงบประมาณท่ีสถานศกึ ษาเอกชนได้รบั จัดสรร

ตาราง วิเคราะหง์ านของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั ที่ บทบาท/อานาจ/หนา้ ท่ีตาม งาน/เร่อื ง ประกาศ ศธ. 1 การตรวจสอบกรณีปกติ ดาเนินการเกี่ยวกับตรวจสอบ 1. การตรวจสอบดา้ นการบริหาร ด้านการบริหาร การเงิน และ 1.1 ประเมินความมีประสิทธิภาพ และ การบัญชีของส่วนราชการ ประสิทธิผลของการดาเนินงานในหน้าที่ของ ห รื อ ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ ห น่ วยรับ ต รวจ เสน อ แ น ะก ารป รับ ป รุง ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น สั ง กั ด การบริหารความเสี่ยง การควบคุม และ กระทรวงศึกษาธิการในเขต การกากับดแู ลอยา่ งตอ่ เนื่อง จังหวัดทีร่ บั ผิดชอบ 1.2 ประเมินผลการดาเนินการเกี่ยวกับ การเงนิ การคลังของสว่ นราชการ 1.3 ตรวจสอบระบบการดู แลรักษา และ ความปลอดภยั ของทรัพย์สินของหนว่ ยรบั ตรวจ ให้ม ความเหมาะสมกับประเภทของทรพั ยส์ ินน้ัน 1.4 วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยดั และคุ้มคา่ ในการใช้ทรพั ยากร 2. การตรวจสอบด้านการเงิน สอบทานระบบการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และ/หรือ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งท ทางราชการกาหนด เพ่ือให้ม่ันใจได้ว่า สามารถ น า ไ ป สู่ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ ต ร ง ต า ม เป้ า ห ม า ย

ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน บคุ คล/หนว่ ยงานที่ เกยี่ วข้อง 1. จัดทาและทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบ บุคคลที่เกย่ี วข้อง ภายใน เพื่อกาหนดบทบาทหน้าที่และกรอบ 1. หั วห น้ าส่ วน ราช ก าร ภ าระงาน ของห น่ วยต รวจสอบ ภ ายใน หน่วยงาน/สถานศึกษาใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้สอดคล้องกับ สงั กดั ศกั ยภาพของหน่วยตรวจสอบภายใน 2. ผู้ปฏบิ ัตงิ านทเ่ี กย่ี วข้อง 2. จัดทาแผนการตรวจสอบประจาปีและ หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง 20 แผนการตรวจสอบระยะยาว โดยการสารวจ ส่วนราชการ หรือหน่วยงาน ะ ขอ้ มูลเบอื้ งตน้ จาก และสถานศึ กษาในสั งกั ด มี กระทรวงศึกษาธิการในเขต - นโยบายของกระทรวง/สานักงาน จงั หวดั ท่รี ับผิดชอบ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - นโยบายของกศจ./ศธจ. พ - ผลการประเมินความเสี่ยงส่วนราชการ ห รื อ ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น สั ง กั ด ก ระท รว งศึ ก ษ าธิก ารใน เข ต จั งห วัด ที่ รบั ผิดชอบ ท่ี 3. จัดส่งแผนการตรวจสอบให้สานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือประสานแผน กบั หน่วยงานต้นสงั กดั ระดบั กรม

ที่ บทบาท/อานาจ/หน้าท่ีตาม งาน/เรอ่ื ง ประกาศ ศธ. วัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับนโยบายของ สว่ นราชการ 3. การตรวจสอบด้านการบัญชี สอบทานความถูกต้องและเชื่อถือได้ของ ขอ้ มลู การดาเนินงานและการเงนิ การคลัง 2 การตรวจสอบกรณีพเิ ศษ การตรวจสอบกรณี พิเศษ (กรณี ได้รับข้อ ร้องเรยี น ข้อสังเกตจาก สตง.)

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน บุคคล/หน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง 4. ป ฏิ บั ติ งาน ต รวจ ส อ บ ต าม แ ผ น ก าร ตรวจสอบทีก่ าหนด 5. รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภ ายใน 2 เดือน นั บ แต่วัน ที่ ดาเนิ นการ ตรวจสอบแล้วเสร็จ เสนอศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือทราบและพิจารณา พร้อมแจ้งหน่วยรับ ตรวจเพื่อดาเนินการตามข้อเสนอแนะ และ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงาน 21 ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 6. ติดตามผลการดาเนินการตามข้อเสนอแนะ ขอ งห น่ ว ย รับ ต รวจ แ ล้ วส รุป ราย งาน ศึกษาธิการจังหวัดเพื่อทราบและพิจารณา พร้อมจัดส่งรายงานให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทราบดว้ ย 1. หน่วยตรวจสอบภายในได้รับมอบหมาย หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง จากกระทรวง/สป./กศจ./ศธจ. ให้ดาเนินการ ส่วนราชการ หรือหน่วยงาน ตรวจสอบกรณีพเิ ศษ และสถานศึ กษาในสั งกั ด 2. กาห น ดป ระเด็น การตรวจสอบ และ กระทรวงศึกษาธิการในเขต ผู้ที่เก่ียวข้องโดยวิเคราะห์เน้ือหาจากหนังสือ จงั หวดั ทรี่ บั ผดิ ชอบ สงั่ การ และเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

ท่ี บทบาท/อานาจ/หนา้ ท่ตี าม งาน/เร่อื ง ประกาศ ศธ.

ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน บุคคล/หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 3. จัดทาหนังสือแจ้งหน่วยงานต้นสังกัดของ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือประสานการ 22 ตรวจสอบ 4. ดาเนินการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน รวมถงึ บนั ทึกถอ้ ยคาผูท้ เ่ี กย่ี วข้อง 5. สรุปผลจากข้อมูลการตรวจสอบ วิเคราะห์ เปรียบเทียบกับข้อกฎหมาย ระเบียบที่ เกยี่ วข้อง 6. รายงานต่อศึกษาธิการจังหวัด พร้อมแจ้ง กระทรวง/สป./กศจ. (ผ้มู อบหมาย)

Flow Chart 23 มาตรฐานการตรวจสอบภายในของกรม ับญชีกลาง กระบวนงานตรวจสอบ นโยบายจงั หวัด/ศธจ. นโยบายกระทรวง/สป. จัดทา/ทบทวนกฎบัตร ประเมนิ ความเสย่ี ง/ การวางแผนตรวจสอบประจาปี/ระยะยาว การควบคุมภายใน ปฏบิ ัติการตรวจสอบ 23 รายงานผลการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ติดตามผลการดาเนนิ งาน ตามข้อเสนอแนะในรายงาน ประเมนิ คุณภาพการตรวจสอบภายใน

บทท่ี 3 การจดั ทากฎบตั รการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม กฎบัตรการตรวจสอบภายใน (Internal Audit Charter) เป็นเอกสารทางการที่จัดทาข้ึน เป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือกาหนดวัตถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน ให้สอดคล้องกับภารกิจงานตรวจสอบภายในตามคานิยามการตรวจสอบภายใน ที่กาหนดไว้ในระเบียบ มาตรฐานและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ซ่ึงหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในตอ้ งทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายในเป็นระยะๆ และนาเสนอหัวหน้าสว่ นราชการ ให้ความเห็นชอบ เพื่อใช้เป็นกรอบอ้างอิงและเป็นแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยให้ เผยแพรก่ ฎบัตรการตรวจสอบภายใน ให้หน่วยรบั ตรวจทราบอย่างท่ัวถงึ สาหรับกรอบคุณธรรม เป็นเอกสารที่แสดงหลักปฏิบัติ ซึ่งกาหนดตามจริยธรรมการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการตรวจสอบภายในภาครัฐท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด เพื่อเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติ ของผู้ตรวจสอบภายใน ท้ังในส่วนของการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ในอันที่จะนามาซ่ึงการให้ ความเชอื่ มน่ั และคาปรกึ ษาอยา่ งเที่ยงธรรม เป็นอสิ ระ และเปี่ยมด้วยคณุ ภาพ วิธกี ารจดั ทาและทบทวนกฎบตั รการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม 1. ศึกษากฎหมาย ระเบียบ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน คู่มือการปฏิบัติงานและ หนังสือสั่งการท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อทราบสถานะ ขอบเขตการปฏิบัติงาน อานาจหน้าท่ีความรับผิดชอบ สายการบงั คบั บญั ชา และอ่ืนๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการจดั ทากฎบัตรการตรวจสอบภายใน 2. ศึกษามาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ในสว่ นทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏบิ ตั ติ ัวและการปฏบิ ตั ิงานของผ้ตู รวจสอบภายใน เพอ่ื จดั ทากรอบคุณธรรม 3. จัดทากฎบัตรการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม ตามแบบฟอร์มทีก่ าหนด พรอ้ มเสนอ ขอความเห็นชอบจากศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดและขออนญุ าตเผยแพร่ใหห้ น่วยรบั ตรวจทราบอยา่ งทั่วถงึ 4. เผยแพร่กฎบัตรการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรมให้หน่วยรับตรวจทราบ โดยการแจ้งประกาศในเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือทาหนังสือแจ้งเวียนหน่วยรบั ตรวจ สาหรับกรอบคุณธรรม ใหเ้ ผยแพร่ให้บคุ ลากรของหนว่ ยตรวจสอบภายในทราบและถอื ปฏบิ ตั ิด้วย 5. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงผู้ดารงตาแหน่งศึกษาธิการจังหวัด ให้นากฎบัตรและกรอบคุณธรรม เสนอศึกษาธิการจงั หวัด (ใหม่) เพื่อทราบและพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกคร้งั 6. ทุกปีให้ทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายใน และกรอบคุณธรรม เสนอศึกษาธิการจังหวัด เพื่อทราบและพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยดาเนนิ การดงั นี้ 6.1 ศึกษา/ทบทวนภารกิจมาตรฐานการตรวจสอบภายใน คู่มือ ระเบียบ กฎหมาย หนังสือสั่งการทเ่ี กี่ยวขอ้ งเพอื่ ทราบการเปล่ยี นแปลงในช่วงปที ่ีผา่ นมา 6.2 วิเคราะห์กฎบัตรเดิมว่าสอดคล้องกับภารกิจของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มาตรฐานการตรวจสอบภายใน คู่มือ ระเบียบ กฎหมาย และหนังสือส่ังการท่ีเก่ียวข้องที่มี การเปล่ยี นแปลงในช่วงปีทผ่ี า่ นมา หรอื ไม่

26 6.3 วเิ คราะห์กรอบคุณธรรมเดิมว่า สอดคล้องกบั มาตรฐานและจรยิ ธรรมการปฏิบตั ิงานท่ี มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงปีที่ผ่านมาหรือไม่ พร้อมท้ังทาการสารวจหรือประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามกรอบคณุ ธรรมของหนว่ ยงานตรวจสอบภายในในปีทผี่ ่านมา และสรปุ ผลเสนอศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือทราบ 6.4 นาผลการวิเคราะห์และสารวจหรือประเมินตามข้อ 6.2 – 6.3มาพิจารณาว่าจะ ปรับปรุงกฎบัตรหรือกรอบคุณธรรม หรือไม่ อย่างไร หรือยังคงใช้แบบเดิม แล้วบันทึกเสนอ ศึกษาธกิ ารจังหวดั - เพื่อทราบ กรณที ่ีเหน็ ควรใหใ้ ช้แบบเดิม - เพือ่ ให้ความเห็นชอบ และเผยแพร่ให้หน่วยรบั ตรวจและบุคลากรของหน่วยงาน ตรวจสอบภายในทราบอย่างทัว่ ถงึ กรณีทม่ี กี ารปรบั ปรุงใหม่ Flow Chart กระบวนการการจดั ทาและทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายในและกรอบคุณธรรม ศกึ ษาระเบียบ มาตรฐาน และคมู่ ือ จดั ทา/ทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบ เสนอศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ไมเ่ ห็นชอบ ขอความเห็นชอบ เห็นชอบ กฎบัตรการตรวจสอบ พจิ ารณาว่าเป็นกรณดี ังต่อไปนี้ ใช่ ใช่หรือไม่ ไม่ใช่ - ครบ 1 ปี - เปลีย่ นแปลง ศธจ./ผอ.ตสน. เผยแพร่

27 องคป์ ระกอบของกฎบตั รการตรวจสอบภายในและกรอบคณุ ธรรม องคป์ ระกอบของกฎบตั รการตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย 1. คานิยามของการตรวจสอบภายใน มาตรฐานและจรยิ ธรรมในการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน 2. วัตถุประสงค์ ของการจัดตัง้ หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน 3. สายการบงั คบั บัญชา 4. อานาจหน้าท่ี 5. ความรบั ผิดชอบ 6. การกาหนดสิทธใิ นการเข้าถึง 7. การประสานงาน องค์ประกอบของกรอบคุณธรรม ประกอบด้วยการปฏิบัติตน และการปฏิบัติงานของ ผ้ตู รวจสอบภายใน เกีย่ วกับความเท่ยี งธรรม และขอ้ จากัดของความเป็นอิสระหรือความเท่ียงธรรม - แบบฟอร์ม - กฎบัตรการตรวจสอบภายใน หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั .............................. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. .............. คานยิ าม ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ................................. วัตถุประสงค์ ............................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................. สายการบังคับบัญชา ................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................................... .......................................... ............................................................................................................................. ................................. อานาจหน้าท่ี ................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. .................................

28 ความรับผดิ ชอบ ดา้ นการตรวจสอบ ............................................................................................................................. ................... ................................................................................................................ .............................................. ............................................................................................................................. ................................. ดา้ นการใหค้ าปรกึ ษา ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. สทิ ธใิ นการเขา้ ถึงข้อมลู ............................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................. ความสัมพันธ์กับหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................. กฎบัตรการตรวจสอบภายในฉบับนใี้ ห้ใช้บงั คับต้งั แตว่ ันท่ี ...... เดือน ............... ปี ........ เป็นตน้ ไป เห็นชอบโดย ลงชอ่ื ............................................. (...........................................) ตาแหน่ง .............................................

29 - ตวั อย่าง - กฎบตั รการตรวจสอบภายใน หนว่ ยตรวจสอบภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวดั ......................... ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ............ หน่วยตรวจสอบภายใน ได้จัดทากฎบัตรการตรวจสอบภายในฉบับน้ีขึ้น เพื่อให้ผู้ท่ีเก่ียวข้อง ได้รับทราบและมีความเข้าใจเก่ียวกับวัตถุประสงค์ สายการบังคับบัญชา อานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และขอบเขตการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั คานิยาม การตรวจสอบภายใน หมายถึง กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่น และการให้คาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม และเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีข้ึนเพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีข้ึน โดยจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ด้วยการประเมินและปรับปรุง ประสทิ ธผิ ลของกระบวนการบริหารความเสีย่ ง การควบคุม และการกากบั ดูแลอย่างเปน็ ระบบ มาตรฐานตรวจสอบภายใน หมายถึงมาตรฐานการตรวจสอบภายในภาครัฐที่กรมบัญชีกลาง กาหนด ให้ส่วนราชการถอื ปฏิบัติ ซง่ึ ประกอบดว้ ย มาตรฐานดา้ นคณุ สมบตั ิ และมาตรฐานด้านการปฏิบัตงิ าน จริยธรรมในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน หมายถึงกรอบหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน และปฏิบตั ิตนของผูต้ รวจสอบภายใน ซึง่ กาหนดโดยกรมบัญชกี ลาง กรอบคุณธรรมของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด หมายถึง หลักปฏิบัติ ซ่ึงกาหนดตามจริยธรรมการปฏิบัติงานและมาตรฐานการตรวจสอบภายในภาครัฐท่ีกรมบัญชีกลาง กาหนด เพ่ือเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติของผู้ตรวจสอบภายใน ทั้งในส่วนของการปฏิบัติงานและ การปฏิบัติตน ในอันท่ีจะนามาซึ่งการให้ความเช่ือม่ันและคาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมเป็นอิสระ และ เป่ียมด้วยคุณภาพซึ่งจะช่วยยกฐานะและศักดิ์ศรีของวิชาชีพตรวจสอบภายในให้ได้รับการยกย่อง และ ยอมรบั จากบุคคลทวั่ ไป วตั ถปุ ระสงค์ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นหน่วยงานที่จัดต้ังข้ึน เพื่อให้บริการ แก่ส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในเขตจังหวัดด้วยการ ตรวจสอบภายใน เพื่อช่วยให้การดาเนินงานของส่วนราชการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ กาหนด รวมทง้ั ช่วยเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งและสง่ เสริมใหส้ ่วนราชการมีการกากับดแู ลตนเองที่ดี เพื่อ ความน่าเชือ่ ถอื และเป็นทยี่ อมรบั แกส่ าธารณชนทว่ั ไป สายการบงั คบั บัญชา 1. ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นผู้บริหาร สูงสุดของหน่วยงานโดยมีสายการบงั คับบัญชาขนึ้ ตรงตอ่ ศึกษาธกิ ารจังหวัด 2. การเสนอแผนการตรวจสอบ ให้ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เสนอต่อศึกษาธิการจงั หวัดเพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ัติ 3. การรายงานผลการตรวจสอบให้ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการ จงั หวัด รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอ่ ศกึ ษาธิการจงั หวดั

30 อานาจหน้าท่ี 1. กาหนดภารกิจงานตรวจสอบภายในเพื่อสนับสนุนการบริหารงานและการดาเนินงาน ดา้ นต่างๆ ของสว่ นราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของสว่ นราชการ 2. ตรวจสอบและให้คาปรึกษาด้านการบริหาร การดาเนินงาน การเงิน การบัญชีและ การบริหารพัสดุ และตรวจสอบติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงาน งาน/โครงการที่มี ความสาคัญต่อผลสาเร็จของนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์กระทรวง และจังหวัด รวมท้ังโครงการ ท่ไี ด้รับนโยบายให้ตดิ ตามกากบั ดูแลเป็นกรณพี เิ ศษ 3. ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานและให้คาปรึกษาเพื่อพัฒนา ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกากบั ดูแลแก่ผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัตงิ านเพื่อสร้าง มลู คา่ เพิม่ และปรบั ปรงุ การดาเนินงานของสว่ นราชการให้ดีขึน้ ความรบั ผิดชอบ ดา้ นการตรวจสอบ 1. หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีความรับผิดชอบต่อการกาหนด ภารกิจงานตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบายของสานักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวัดและกระทรวงศึกษาธิการ 2. หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีความรับผิดชอบต่อการรายงาน ผลการตรวจสอบติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและ สถานศกึ ษาสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ ารในเขตจังหวัด 3. หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีความรับผิดชอบต่อการประเมิน ความเพียงพอเหมาะสม และประสิทธิผลของการควบคุมภายในและการบริหารความเส่ียงของ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐาน การควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2544 ด้านการให้คาปรึกษา หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีความรับผิดชอบต่อการบริการให้ คา ป รึก ษ า เพ่ือเพิ่มคุณ ค่าให้กับส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการในเขตจังหวัด ตามที่ผู้รับบริการร้องขอ หรือตามที่หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวดั เปน็ ผูเ้ สนอบรกิ ารให้แกส่ ่วนราชการน้ันๆ สทิ ธใิ นการเข้าถงึ ขอ้ มูล 1. หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีสิทธิในการเข้าถึงบุคคล ข้อมูล เอกสารหลักฐานและทรพั ย์สินตา่ งๆ เพอ่ื สนบั สนนุ งานตรวจสอบภายใน 2. หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีสิทธิในการขอ และได้รับข้อมูล เอกสารหลักฐาน ท่ีจาเป็นและเก่ียวข้อง รวมท้ังทรัพยากรต่างๆ และเข้าร่วมประชุมในเรื่องเกี่ยวกับ นโยบายและการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเพ่ือสนับสนนุ งานตรวจสอบภายใน

31 ความสมั พันธ์กบั หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ 1. ประสานแผนการตรวจสอบ และการปฏิบัติงานในส่วนท่ีเก่ียวข้อง รวมทั้งประสาน การพฒั นาระบบงานตรวจสอบภายใน กบั กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 2. บูรณาการงานตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานตรวจสอบภายในของสานักงาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดในภาพรวม และเพอื่ ประโยชน์ต่อการบริหารและการดาเนินงานระดบั กรม/กระทรวง กลมุ่ งานในสานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั 1. ประสานการดาเนินงานเพ่ือให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพ และบรรลุ เป้าหมาย ตามแผนการตรวจสอบ 2. ตรวจสอบและให้คาปรึกษา เพ่ือให้การปฏิบัติงานถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และบรรลุ เปา้ หมาย ส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในเขตจงั หวดั 1. ประสานการดาเนินงานเพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพ และ บรรลุเป้าหมาย ตามแผนการตรวจสอบ 2. ตรวจสอบและให้คาปรึกษา เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และบรรลุ เป้าหมาย หนว่ ยงานภายนอก ประสานงานกับกรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สถานศึกษาเอกชน และ หน่วยงานอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้การตรวจสอบภายใน และการตรวจสอบและประเมินผล ประจากระทรวง มีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และเกดิ ประโยชน์สูงสุดตอ่ สว่ นราชการ กฎบตั รการตรวจสอบภายในฉบับนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับต้ังแต่วันที่ ................... เปน็ ตน้ ไป เหน็ ชอบ โดย ลงชื่อ ............................................. (...........................................) ศกึ ษาธิการจงั หวดั ............... หมายเหตุ : ตามตัวอย่างเปน็ กรณีท่ีหน่วยตรวจสอบภายในมีบุคลากรทม่ี ีความรู้ความสามารถ และ และสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐาน กฎหมาย และระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ท้ังน้ี สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสามารถปรับลดขอบเขต ปริมาณงานให้เหมาะสมกับ ความร้คู วามสามารถของผตู้ รวจสอบภายใน

32 แบบฟอร์ม กรอบคุณธรรม หนว่ ยงาน ........................................................ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ............. เกร่ินนา..................................................................................................................... ........... ....................................................................................................................... ....................................... หลกั ปฏบิ ัติ 1. การปฏบิ ตั งิ าน ............................................................................................................................. ................................. ความเปน็ อสิ ระ ............................................................................................................................. ........... ....................................................................................................................... ....................................... ความเทีย่ งธรรม ............................................................................................................................. ........... ............................................................................................................................. ................................. ข้อจากดั ของความเปน็ อสิ ระหรือความเทย่ี งธรรม ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................. 2. การปฏบิ ัติตน 2.1 ความซอ่ื สตั ย์ (Integrity) (1) ........................................................................................................................ (2) ........................................................................................................................ 2.2 ความเทีย่ งธรรม (Objectivity) (1) ........................................................................................................................ (2) ........................................................................................................................ 2.3 การปกปิดความลบั (Confidentiality) (1) ........................................................................................................................ (2) ........................................................................................................................ 2.4 ความสามารถในหน้าที่ (Competency) (1) ........................................................................................................................ (2) ........................................................................................................................ กรอบคุณธรรมฉบบั นใ้ี ห้ใช้บังคับตงั้ แตว่ นั ท่ี ..... เดือน .............. ปี ..... เปน็ ตน้ ไป เห็นชอบ โดย ลงชอ่ื ............................................. (...........................................) ศกึ ษาธิการจังหวัด ...............

33 - ตวั อยา่ ง - กรอบคณุ ธรรม หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ........................... ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ………………. กรอบคุณธรรมนี้ กาหนดตามจริยธรรมการปฏิบัติงานและมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ภาครัฐท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด เพื่อเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติของผู้ตรวจสอบภายใน ซ่ึงจะช่วยยกฐานะและศักด์ิศรีของวิชาชีพตรวจสอบภายในให้ได้รับการยกย่อง และยอมรับจากบุคคลทั่วไป ดังน้ันผู้ตรวจสอบภายในพึงต้องประพฤติปฏิบัติตนภายใต้กรอบความประพฤติที่ดีงาม ในอันที่จะ นามาซ่ึงการให้ความเช่ือมน่ั และคาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม เปน็ อิสระ และเปีย่ มดว้ ยคุณภาพ หลกั ปฏิบัติ 1. การปฏิบัตงิ านของผู้ตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในต้องมีความเป็นอิสระ และผู้ตรวจสอบภายในต้อง ปฏิบตั ิหนา้ ที่ดว้ ยความเทย่ี งธรรม ความเปน็ อสิ ระ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดต้องรายงานผลการตรวจสอบ ตรงต่อศึกษาธิการจังหวัดและยืนยันถึงความเป็นอิสระในกฎบัตรการตรวจสอบภายในปีละหน่ึงครั้ง รวมทั้งปฏิบัติงานโดยปราศจากการแทรกแซงใดๆ ในเรื่องการกาหนดขอบเขต การปฏิบัติงาน และ การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ ความเท่ียงธรรม ผู้ตรวจสอบภายในต้องมีทัศนคติที่ไม่ลาเอียง หรือมีอคติไปทางหน่ึงทางใด และให้ หลีกเล่ียงในเรื่องของความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซ่ึงหมายถึงสถานการณ์ที่ผลประโยชน์ส่วนตัว อาจจะมีส่วนทาให้เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติงาน แม้ว่าผลลัพธ์ท่ีเกิดจากสถานการณ์ดังกล่าว จะไม่ ส่งผลกระทบต่อจริยธรรมหรือความไม่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน แต่อาจส่งผลกระทบต่อความเช่ือมั่น ในการปฏบิ ตั ติ ามหลักวชิ าชีพ ขอ้ จากดั ของความเป็นอสิ ระหรอื ความเที่ยงธรรม 1. ผู้ตรวจสอบภายในไม่ตรวจสอบงานท่ีตนเคยมีหน้าท่ีรับผิดชอบมาก่อน และงานที่ ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เคยมีหน้าท่ีรับผิดชอบมาก่อน ภายในระยะเวลา1 ปี 2. ในกรณีที่มีเหตุหรือข้อจากัดที่จะทาให้ผู้ตรวจสอบภายในไม่สามารถปฏิบัติงานได้ อยา่ งเปน็ อิสระหรอื เที่ยงธรรม ผ้ตู รวจสอบภายในต้องเปิดเผยถึงเหตุหรือขอ้ จากัดดงั กลา่ วให้ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งทราบ ตามความเหมาะสม โดยลกั ษณะของการเปิดเผยจะขึ้นอย่กู ับเหตุและขอ้ จากัดท่ีเกดิ ข้ึนในแตล่ ะกรณี

34 2. การปฏิบัตติ น 2.1 ความซื่อสัตย์ (Integrity)ความซ่ือสัตย์ของผู้ตรวจสอบภายใน จะสร้างให้เกิด ความไว้วางใจและทาให้ดุลยพินิจของผู้ตรวจสอบภายในมีความน่าเช่ือถือและยอมรับจากบุคคลท่ัวไป โดยตอ้ งปฏิบัติตน ดังน้ี (1) ผู้ตรวจสอบภายในต้องปฏิบัติหน้าท่ีของตนด้วยความซ่ือสัตย์ ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ (2) ผตู้ รวจสอบภายในต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ และเปิดเผยข้อมูล ตามวิชาชพี ทกี่ าหนด (3) ผู้ตรวจสอบภายในต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในการกระทาใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย หรือไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทาท่ีอาจนาความเส่ือมเสียมาสู่วิชาชีพการตรวจสอบภายใน หรือ สร้างความเสยี หายต่อสว่ นราชการ (4) ผู้ตรวจสอบภายในต้องให้ความเคารพและสนับสนุนการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับและจรรยาบรรณของทางราชการ 2.2 ความเท่ียงธรรม (Objectivity)ผู้ตรวจสอบภายในจะแสดงความเท่ียงธรรม เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพในการรวบรวมข้อมูล ประเมินผล และรายงานด้วยความไม่ลาเอียง ผู้ตรวจสอบภายใน ต้องทาหน้าที่อย่างเป็นธรรมในทุกๆ สถานการณ์ และไม่ปล่อยให้ความรู้สกึ ส่วนตวั หรือความรสู้ ึกนกึ คิด ของบคุ คลอน่ื เข้ามามอี ิทธิพลเหนือการปฏิบัตงิ าน โดยตอ้ งปฏบิ ตั ิตน ดังน้ี (1) ผู้ตรวจสอบภายในต้องไม่มีส่วนเก่ียวข้องหรือสร้างความสัมพันธ์ใดๆ ที่จะ นาไปสู่ความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของทางราชการ ซ่ึงเป็นสถานการณ์ท่ีผู้ตรวจสอบภายใน ต้องตัดสินใจเลือกระหว่างการปฏิบัติหน้าท่ีทางวิชาชีพกับผลประโยชน์ส่วนตัว รวมทั้งต้องไม่กระทาการใดๆ ท่ีจะทาให้เกดิ อคติ ลาเอียง จนเปน็ เหตุใหไ้ ม่สามารถปฏิบตั ิงานตามหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบไดอ้ ย่างเท่ียงธรรม (2) ผู้ตรวจสอบภายในไม่พึงรับส่ิงของใดๆ ท่ีจะทาให้เกิดหรือก่อให้เกิดความไม่เท่ียงธรรม ในการใช้วิจารณญาณเยย่ี งผ้ปู ระกอบวิชาชีพพงึ ปฏิบัติ (3) ผ้ตู รวจสอบภายในต้องเปิดเผยหรือรายงานข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญท้ังหมด ท่ีตรวจพบซ่ึงหากละเวน้ ไม่เปิดเผยหรือไมร่ ายงานขอ้ เท็จจริงหรือเปิดเผยขอ้ มูลเพียงบางส่วน อันอาจจะ ทาใหร้ ายงานบดิ เบือนไปจากข้อเท็จจริง หรอื เป็นการปดิ บงั การกระทาผดิ กฎหมาย 2.3 การปกปิดความลับ (Confidentiality)ผู้ตรวจสอบภายในจะเคารพในคุณคา่ และ สิทธิของผู้เป็นเจ้าของข้อมูลที่ได้รับทราบจากการปฏิบัติงาน และไม่เปิดเผยข้อมูลดังกล่าว โดยไม่รับอนุญาตจากผู้มีอานาจหน้าที่โดยตรงเสียก่อน ยกเว้นในกรณีที่มีพันธะในแง่ของงานอาชีพ และเกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมายเทา่ นัน้ โดยต้องปฏิบัตติ น ดังนี้ (1) ผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความรอบคอบในการใช้และรักษาข้อมูลต่างๆ ทีไ่ ดร้ บั จากการปฏิบตั ิงาน (2) ผู้ตรวจสอบภายในต้องไม่นาข้อมูลต่างๆ ท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานไปใช้ แสวงหาผลประโยชน์ และจะไม่กระทาการใดๆ ทขี่ ัดต่อกฎหมาย และประโยชน์ของทางราชการ

35 2.4 ความสามารถในหน้าที่ (Competency)ผู้ตรวจสอบภายในจะนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์มาใช้ในการปฏบิ ตั ิงานอย่างเต็มท่ี โดยต้องปฏิบตั ติ น ดงั นี้ (1) ผู้ตรวจสอบภายในต้องปฏิบัติหน้าท่ีเฉพาะในส่วนที่ตนมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และประสบการณ์ทจ่ี าเป็นสาหรับการปฏิบัติงานเท่าน้ัน (2) ผู้ตรวจสอบภายในจะต้องปฏบิ ัติหน้าที่โดยยึดหลกั มาตรฐานการตรวจสอบภายใน ของสว่ นราชการ (3) ผู้ตรวจสอบภายในต้องพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมทั้งพัฒนาประสิทธิผล และคณุ ภาพของการให้บริการอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง กรอบคุณธรรมฉบับนี้ให้ใชบ้ งั คับตัง้ แตว่ นั ที่ ............................. เป็นตน้ ไป เหน็ ชอบ โดย ลงชือ่ ............................................. (...........................................) ศึกษาธกิ ารจงั หวดั ...............

บทท่ี 4 การจัดทาแผนการตรวจสอบ ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546กาหนดให้ผู้ตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ปฏิบัติตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด พร้อมท้ังให้หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ส่งแผนการตรวจสอบประจาปี ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายใน 30 วันนับจากวันท่ีได้รับอนุมัติ กอปรกับมาตรฐาน การตรวจสอบภายใน และเกณฑ์การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ของกรมบัญชีกลาง กาหนดใหห้ นว่ ยงานตรวจสอบภายในตอ้ งจัดทาแผนการตรวจสอบประจาปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว ตามผลการประเมินความเส่ียง และสอดคล้องกับข้อมูลข่าวสาร นโยบาย และความคิดเห็นของ หัวหน้าส่วนราชการ รวมทั้งมีองค์ประกอบตามท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด และครอบคลุม 6 ประเภท การตรวจสอบ ความหมาย แผนการตรวจสอบภายใน (Audit Plan) หมายถึง แผนการปฏิบัติงานท่ีหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในจัดทาขึ้นล่วงหน้า เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะตรวจสอบ จานวนหน่วยรับตรวจ ระยะเวลา ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ รวมทั้งงบประมาณท่ีใชใ้ นการปฏิบัติงานตรวจสอบ ท้งั น้ี เพ่ือให้เรอื่ งท่ีมีความเส่ยี งสาคญั ได้รับการตรวจสอบอย่างครอบคลมุ และทวั่ ถงึ ภายใต้ทรัพยากรที่มอี ยู่ โดยแผนการตรวจสอบ ประกอบดว้ ย แผนการตรวจสอบประจาปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว วิธกี ารจัดทาแผนการตรวจสอบ 1. ศกึ ษาแผนยทุ ธศาสตร์ ผลการปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบตั ิงานในปที ี่ผ่านมาพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปีของกระทรวงศึกษาธิการท่ีผา่ นความเห็นชอบจากสภาฯ นโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวง/กลุ่มจังหวัด /จังหวัด หนังสือสั่งการของกรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน และกลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อกาหนดกรอบทิศทาง ในการจดั ทาแผนการตรวจสอบ 2. ประเมนิ ความเส่ียงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ โดยดาเนินการตามคู่มือการประเมิน ความเส่ยี งเพ่อื การวางแผนการตรวจสอบ 3. จัดทาแผนการตรวจสอบ ตามแบบท่ีกาหนด ดงั น้ี 3.1 แผนการตรวจสอบประจาปี (ระยะเวลาตามแผน 1 ปีงบประมาณ) โดยจัดทาให้ สอดคลอ้ งตามผลการศึกษาขอ้ 1 – 2 และแผนการตรวจสอบระยะยาว 3.2 แผนการตรวจสอบระยะยาว (ระยะเวลาตามแผน 2 - 5 ปีงบประมาณ)โดยต้องจัดทา ให้สอดคล้องตามผลการศึกษาข้อ 1 – 2 และต้องครอบคลุมทุกหนว่ ยรบั ตรวจในสังกัด

38 4. กาหนดกจิ กรรมการตรวจสอบ ดังน้ี 4.1 กิจกรรมการตรวจสอบตามผลการประเมนิ ความเสยี่ ง 4.2 กิจกรรมการตรวจสอบตามหนังสือส่ังการจากหน่วยงานกลางท่ีเก่ียวข้อง เช่น กรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ เปน็ ตน้ 4.3 กิจกรรมการตรวจสอบตามนโยบายของศึกษาธิการจังหวัด และคณะกรรมการ ศกึ ษาธิการจงั หวดั 5. กิจกรรมการตรวจสอบที่กาหนด ควรมีทั้งงานให้ความเชื่อม่ัน (งานตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ผล) และงานให้คาปรกึ ษา 6. ในแต่ละกิจกรรมการตรวจสอบ ให้กาหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบให้ชัดเจน โดยภาพรวมของทุกกิจกรรมการตรวจสอบ ควรมีวัตถุประสงค์ครอบคลุมการตรวจสอบทั้ง 6 ประเภท ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ได้แก่ การตรวจสอบการเงิน การตรวจสอบการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ การตรวจสอบการปฏิบัติงาน การตรวจสอบผลการดาเนินงาน การตรวจสอบด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 7. แผนการตรวจสอบท่ีจัดทาแล้วเสร็จ ให้เสนอศึกษาธิการจังหวัดพิจารณาอนุมัติภายใน เดือนกนั ยายน 8. จัดส่งสาเนาแผนการตรวจสอบประจาปีให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 1 ชุด ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับอนุมัติ และจัดส่งแผนการตรวจสอบประจาปี พร้อมทั้งแผนการตรวจสอบ ระยะยาว ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 1 ชุดภายในระยะเวลาท่ีกาหนด Flow Chart การปฏบิ ตั งิ าน

39 กระบวนการการจัดทาแผนการตรวจสอบ สารวจข้อมูลเบอ้ื งตน้ - ศกึ ษาแผนยุทธศาสตร์ - ผลการปฏิบตั งิ านตามแผนปที ผี่ ่านมา - พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ศธ. - นโยบายรัฐบาล/กระทรวง/กลุ่มจังหวดั /จงั หวดั - หนงั สอื สั่งการของกรมบญั ชีกลาง/สตง./ กลุ่ม ตสน.สป. ประเมินความเสย่ี ง/การควบคุมภายใน วางแผนการตรวจสอบประจาปี/ระยะยาว กาหนดกจิ กรรมการตรวจสอบ (Audit Plan หรอื Audit Universe) ตามผลการประเมินความเสี่ยง/ หนงั สอื สัง่ การจากหน่วยงานท่ี ทบทวน/ เกีย่ วขอ้ ง/นโยบายจาก กศจ. ปรบั ปรงุ แก้ไข และ ศธจ. ไมอ่ นุมตั ิ เสนอศึกษาธกิ ารจงั หวดั พจิ ารณาอนมุ ตั แิ ผนการตรวจสอบ อนุมัติ แผนการตรวจสอบ จัดเกบ็ แผนการตรวจสอบ สง่ สาเนาแผนการตรวจสอบให้ เป็นข้อมลู สารสนเทศ กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

40 องค์ประกอบของแผนการตรวจสอบ 1. หลักการและเหตุผล 2. นโยบายการตรวจสอบ (ถา้ มี) 3. วัตถุประสงค์ของแผนการตรวจสอบ 4. ขอบเขตการตรวจสอบ 4.1 หน่วยรบั ตรวจ(ท่จี ะไดร้ ับการตรวจสอบ) 4.2 ระยะเวลาในการดาเนินงาน 5 กจิ กรรมการตรวจสอบและให้คาปรกึ ษา 5.1 กิจกรรมการตรวจสอบ (1) ช่ือเรอื่ ง (2) วัตถปุ ระสงค์ของการตรวจสอบ 5.2 กจิ กรรมการใหค้ าปรึกษา (1) ช่อื เรอ่ื ง (2) วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา 5.3 กิจกรรมการตรวจสอบ จาแนกตามประเภทการตรวจสอบ 6. กจิ กรรมการพัฒนาระบบการตรวจสอบภายใน (ถา้ ม)ี 7. งบประมาณ (ถา้ มี) 8. ผรู้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบ 9. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 10. ส่วนของผ้เู สนอแผน และผอู้ นุมัตแิ ผน 11 ภาคผนวกควรมีข้อมลู อยา่ งน้อย ดังต่อไปน้ี (1) ขอบเขตการปฏิบัติงาน ระบุกิจกรรม ชื่อเรื่อง ระยะเวลาดาเนินงานแยกราย เดือน จานวนคนวนั แตล่ ะกจิ กรรม และผรู้ บั ผิดชอบในแตล่ ะกจิ กรรม (2) แผนกลยุทธ์ของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั (3) ตารางสรปุ ผลการประเมนิ ความเส่ียงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ (4) นโยบายของผ้บู รหิ าร/ กระทรวง/ จงั หวดั (5) หนังสือสั่งการจากหน่วยงานกลาง เช่น หนังสือส่ังการให้จัดทาแผนการตรวจสอบ จากกรมบัญชีกลาง หนังสือส่ังการให้บูรณาการแผนการตรวจสอบจากกลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ฯลฯ - ตวั อยา่ ง - การจดั ทาแผนการตรวจสอบ สมมติ สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด .... มผี ้ตู รวจสอบภายใน ..... คน คอื 1. นาย เก่ง กบ นักวชิ าการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ 2. นาง รอง ลม นักวชิ าการตรวจสอบภายในชานาญการ 3. นางสาว สวย สม นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบตั ิการ บุคลากรเต็มกรอบอตั รากาลงั ในเดอื นพฤศจิกายน 2560

41 - ตัวอยา่ ง - แผนการตรวจสอบระยะยาวประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ……. – พ.ศ. ……. หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ....... หลกั การและเหตผุ ล การตรวจสอบภายในนับว่าเป็นเคร่ืองมือหรือผู้ช่วยที่สาคัญของผู้บริหารหน่วยงานในการกากับ ติดตามผลการปฏิบัติงานของส่วนงานต่างๆ ภายในหน่วยงาน รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะแนวทางหรือ มาตรการท่ีจะทาให้ผลการดาเนินงานสามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ การจัดท าแผนการตรวจสอบภายใน ถือเป็ นขั้นตอนการดาเนินงานท่ี สาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ของ การตรวจสอบภายใน เนื่องจากแผนการตรวจสอบภายในที่ดีจะช่วยให้งานตรวจสอบภายใน มีประสิทธิภาพและการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดภายใต้เง่ือนไขทรัพยากรท่ีจากัด นอกจากน้ีแผน การตรวจสอบภายในยังเป็นเครื่องมือที่ทาให้ศึกษาธิการจังหวัดรับทราบขอบเขตการปฏิบัติงาน ด้านการตรวจสอบภายใน และให้การสนับสนุนโดยการจัดหาทรัพยากรให้กับหน่วยตรวจสอบภายใน เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจที่กาหนดให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผนการตรวจสอบภายใน โดยแผนการตรวจสอบภายในท่ีจัดทาข้ึนน้ี เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและเกณฑ์ การประกนั คณุ ภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ นโยบายการตรวจสอบ การตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดจัดให้มีขึ้น เพ่อื สนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้การ ปฏิบัติงานของส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัด บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย อย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกากับ ดแู ลทเี่ หมาะสม ภายใตห้ ลักธรรมาภบิ าล (Good Governance) วัตถุประสงค์ของแผนการตรวจสอบ 1. เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทาแผนการตรวจสอบภายในประจาปีให้ครอบคลุม ภารกจิ การตรวจสอบภายใน ผลการประเมินความเส่ียง และหน่วยรับตรวจทง้ั หมดในสังกดั 2. เพื่อให้งานตรวจสอบภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ขอบเขตการตรวจสอบ 1. หนว่ ยรับตรวจในสงั กดั ....... หนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย 1.1 หน่วยงานในสังกดั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ……. หน่วยงาน 1.1.1 กลุ่มงานในสานักงานศึกษาธิการจังหวดั ....... กลุ่ม 1.1.2 สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั 1.1.3 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/ตาบล จานวน …. แหง่

42 1.2 หน่วยงานในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ……. หนว่ ยงาน 1.2.1 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ……. แหง่ 1.2.2 สถานศกึ ษาในสังกัด ....... แหง่ 1.2.3 ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษจังหวัด ....... 1.3 หนว่ ยงานในสังกัด สานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ……. แห่ง 1.3.1 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาจังหวดั ....... 1.3.2 วทิ ยาลยั เทคนคิ ....... 1.3.3 วิทยาลยั สารพดั ช่าง ....... 1.4 หนว่ ยงานในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาลัยชมุ ชน ....... 2. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. ....... ถึง พ.ศ. ....... กิจกรรมการตรวจสอบและให้คาปรกึ ษา 1. กิจกรรมการตรวจสอบ 1.1 การสอบทานและประเมนิ ระบบควบคมุ ภายใน วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ม่ันใจว่า ระบบการควบคุมภายในของสานักงานศึกษาธิการ จังหวัด มีความเพียงพอเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐานการจัดวางระบบควบคุมภายในของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ 1.2 การสอบทานการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานด้านบัญชีตามเกณฑท์ ก่ี รมบญั ชกี ลางกาหนด วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ม่ันใจว่า ผลการประเมินการปฏิบัติงานด้านบัญชีของสานักงาน ศึกษาธิการจงั หวดั ถูกตอ้ งน่าเช่ือถอื 1.3 การตดิ ตามการใช้จา่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทุน วัตถุประสงค์ (1) เพ่ือให้ทราบว่า หน่วยงานจัดให้มีการกากับ ควบคุม และบริหารจัดการ ความเส่ยี งเพื่อให้การใชจ้ า่ ยงบประมาณในสว่ นของงบลงทุนเปน็ ไปตามมติของคณะรฐั มนตรี (2) เพ่ือให้ทราบว่า ผลการใช้จ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนเป็นไปตาม มตคิ ณะรัฐมนตรี 1.4 การตรวจสอบการจดั ซอ้ื จดั จ้าง วตั ถุประสงค์เพื่อให้ม่ันใจว่า การจัดซ้ือจดั จ้างเปน็ ไปตามกฎระเบยี บ 1.5 การตรวจสอบผลการดาเนินงานโครงการตามแผนบูรณาการการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ วตั ถปุ ระสงค์ (1) เพ่ือทราบว่า ผลการดาเนินงานโครงการบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายอย่าง มีประสทิ ธิภาพ (2) เพื่อทราบกระบวนการดาเนินงานโครงการ มีการควบคุม กากับดูแลและ บริหารความเสย่ี งเพื่อใหก้ ารดาเนินงานโครงการบรรลุวตั ถุประสงค์เปา้ หมาย

43 1.6 การตรวจสอบดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ วตั ถปุ ระสงค์ (1) เพ่ือให้ทราบว่า ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีการควบคุมเพียงพอท่ีจะ มน่ั ใจได้ว่าข้อมลู ถูกต้องเปน็ ปจั จบุ นั และพรอ้ มใช้งาน (2) เพ่ือให้ทราบว่า เครือข่ายเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการศึกษาและระบบบริการ อเิ ลก็ ทรอนิกส์มปี ระสิทธิภาพและพร้อมใชง้ าน 2. กจิ กรรมการให้คาปรึกษา (1) การจดั วางและประเมนิ การควบคมุ ภายในของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั (2) การจดั ซอ้ื จัดจ้าง (3) การบัญชีตามระบบ GFMIS 3. กิจกรรมการตรวจสอบจาแนกตามประเภทการตรวจสอบ รายการ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การตรวจสอบ การ การเงนิ การปฏบิ ัตติ าม การปฏบิ ัตงิ าน ผลการ ดา้ นเทคโนโลยี ตรวจสอบ 1. การสอบทานและประเมินระบบ กฎระเบยี บ ดาเนินงาน สารสนเทศ การบรหิ าร ควบคุมภายใน / / 2. การสอบ ท าน การป ระเมิ น ผล / / / / / การปฏิ บั ติ งานด้ า น บั ญ ชี ต า ม เก ณ ฑ์ / / ท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด / / 3. การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ / / ในสว่ นของงบลงทุน / / 4. การตรวจสอบการจัดซอื้ จัดจ้าง 5. การตรวจสอบผลการดาเนินงานโครงการ / / ตามแผนบูรณาการการยกระดับคณุ ภาพ / การศกึ ษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ 6. การตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ / กิจกรรมการพฒั นาระบบการตรวจสอบภายใน 1. กิจกรรมพัฒนาผู้ตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด 2. กิจกรรมจดั ทาคมู่ ือ/แนวทาง/องค์ความรูด้ ้านการตรวจสอบภายใน 3. กิจกรรมพฒั นาฐานข้อมูลด้านการตรวจสอบภายใน งบประมาณ รายการ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... งบดาเนนิ การ กจิ กรรมการตรวจสอบ 25,000.- 30,000.- 35,000.- 40,000.- 45,000.- 1. การสอบทานและประเมินระบบควบคุม ภายใน 2. การสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดา้ นบญั ชตี ามเกณฑท์ กี่ รมบัญชกี ลางกาหนด

44 รายการ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... พ.ศ. ....... 3. การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณใน ส่วนของงบลงทุน 10,000.- 10,000.- 10,000.- 10,000.- 10,000.- 4. การตรวจสอบการจดั ซอื้ จัดจา้ ง 10,000.- 10,000.- 10,000.- 10,000.- 10,000.- 5. การตรวจสอบผลการดาเนินงานโครงการ ตามแผนบูรณาการการยกระดับคุณภาพ 45,000.- 50,000.- 55,000.- 60,000.- 65,000.- การศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 6. การตรวจสอบดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ กจิ กรรมการบรกิ ารใหค้ าปรึกษา 1. การจัดทาวางและประเมินการควบคุม ภายในของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด 2. การจัดซอ้ื จัดจา้ ง 3. การบัญชตี ามระบบ GFMIS กิจกรรมการพฒั นางานตรวจสอบภายใน 1. กิจกรรมพัฒนาผู้ตรวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัด 2. กิจกรรมจัดทาคู่มือ/แนวทาง/องค์ ความรูด้ า้ นการตรวจสอบภายใน 3. กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลด้านการ ตรวจสอบภายใน รวม ผ้รู ับผิดชอบในการตรวจสอบ 1. นาย เก่ง กบ นกั วิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพเิ ศษ 2. นาง รอง ลม นกั วิชาการตรวจสอบภายในชานาญการ 3. นางสาว สวย สม นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบตั ิการ ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. หน่วยรบั ตรวจไดร้ ับการตรวจสอบครบถ้วน 2. หน่วยรับตรวจมีการควบคุม กากับดแู ล และมีการบรหิ ารความเสย่ี งที่เพยี งพอเหมาะสม 3. ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ทราบและลดจุดอ่อน/ความเส่ียง ในการปฏิบัติงาน พร้อมทง้ั พฒั นาการดาเนนิ งานให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล 4. ผู้บริหารของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด และกระทรวงศึกษาธิการมีข้อมูลในการบริหาร จดั การเพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายทก่ี าหนด ลงช่อื ……………………………………………….. ผเู้ สนอแผนการตรวจสอบ (.....................................................) ผอู้ านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน ลงชอ่ื ……………………………….…………….. ผู้อนมุ ตั ิ (ศึกษาธิการจังหวัด .......)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook