Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore audit

audit

Published by internalaudit.lp, 2020-08-14 00:36:03

Description: audit

Search

Read the Text Version

159 ผลการประเมิน ปัญหา/ ข้อจากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒๔๓๐ การระบขุ ้อความ “การปฏบิ ัตงิ านเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน” ๑. ผู้ ต รว จ ส อ บ ภ าย ใน ส าม ารถ ราย งาน ผ ล การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในว่า “ได้ปฏิบัติงาน เป็ น ไป ต าม ม าต รฐาน ก าร ต ร ว จ ส อ บ ภ าย ใน ” ก็ต่อเม่ือผลการประเมินการประกันและปรับปรุง คุณภาพงานระบุว่า การปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน แล้วเทา่ นนั้ (กรณีไม่เคยเกดิ เหตกุ ารณ์ตามข้อนี้ใหร้ ะบุ N/A) ๒ . ใน กรณี ท่ี ผู้ต รวจสอ บ ภ ายใน ไม่ สาม ารถ ปฏิบตั ิงานเป็นไปตามมาตรฐาน ซ่ึงมผี ลกระทบต่อ การปฏิบัติงานได้มีการเปิดเผยไว้ในรายงานผล การปฏิบตั งิ านตามรายละเอียดดงั ต่อไปนี้ - หลักการหรือกฎเกณฑ์ในข้อใดของมาตรฐานและ จริยธรรมในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ ไม่สามารถปฏบิ ตั ิตามได้ - เหตผุ ลทีท่ าใหไ้ มส่ ามารถปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน - ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนเม่ือไม่สามารถปฏิบัติตาม มาตรฐาน (กรณไี มเ่ คยเกดิ เหตกุ ารณ์ตามข้อนใ้ี หร้ ะบุ N/A) ๒๔๔๐ การเผยแพร่ผลการปฏิบตั งิ าน ๑ .หั ว ห น้ า ห น่ ว ย ง า น ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ได้มีการเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานให้กับหัวหน้า ส่วนราชการ รวมท้ังผู้ท่ีเกี่ยวข้องทราบตาม ความเหมาะสม

160 ผลการประเมิน ปัญหา/ ข้อจากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข ๒. การเผยแพร่รายงานผลการปฏิ บัติงานให้แก่ บุคคลภายนอกท่ไี ม่ได้ระบุไวใ้ นกฎหมาย หรอื คาส่ังที่ เกี่ยวข้องทางราชการ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในได้ดาเนินการในเรือ่ งต่อไปน้ี - ป ร ะ เมิ น ค ว า ม เสี่ ย ง ที่ อ า จ เกิ ด ขึ้ น กั บ สว่ นราชการ - ปรึกษากับหัวหน้าส่วนราชการและหรือ ทีป่ รกึ ษาทางดา้ นกฎหมายตามความเหมาะสม - ควบคุมการเผยแพร่รายงานผลการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน โดยระบุข้อจากัดในการใช้ รายงาน ๓. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในมีหน้าที่ รับผิดชอบในการเผยแพร่รายงานผลการบริการ ใหค้ าปรึกษาใหก้ ับผู้รับบริการทราบ ๔. ในระหว่างการปฏิบัติงานบริการให้คาปรึกษา หากพบว่า มีการบ่งช้ีประเด็นเก่ียวกับการกากับ ดูแล การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมที่มี ค วาม ส าคั ญ ต่ อ ส่ ว น ราช ก ารใน ภ าพ รว ม ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใน ได้ ร า ย ง า น ให้ กั บ หั ว ห น้ า ส่วนราชการทราบ ๒๔๕๐ การให้ความเหน็ ในภาพรวม การให้ ความเห็ นหรือสรุปผลการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในได้คานึงถึงความคาดหวังของ ผู้บริหารและผู้ท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนมีข้อมูล ที่ เพี ยงพอ เช่ื อถื อได้ มี ความเก่ี ยวข้องและ เป็นประโยชน์ เพ่ือเป็นการสนับสนุนความเห็นหรือ สรปุ ผลการตรวจสอบ

161 ผลการประเมนิ ปัญหา/ ขอ้ จากดั มาตรฐาน แนวทางปฏิบตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ๒๕๐๐ การตดิ ตามผล ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้กาหนด กระบวนการติดตามผลการนาข้อเสนอแนะใน รายงานผลการปฏบิ ัติงานตรวจสอบไปปฏบิ ัติ ๒. หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ติดตามผลการนา คาปรึกษาของผู้ตรวจสอบภายในไปปฏิบัติตาม ขอบเขตท่ไี ด้มีการเห็นชอบร่วมกับผู้รับบรกิ าร ๒๖๐๐ การยอมรับสภาพความเสย่ี งของฝา่ ยบริหาร ๑. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้นาเร่ือง ความเส่ียงที่เหลืออยู่ ซง่ึ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย แก่ส่วนราชการ แต่ยังไม่ได้รับการแก้ไขหารือกับ ผ้บู รหิ ารระดบั สูง ๒. กรณีท่ีไม่สามารถหาข้อยุติได้ หัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในได้นาเร่ืองความเส่ียงดังกล่าว เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อพิจารณาหา ขอ้ ยุติต่อไป

162 จรยิ ธรรมการปฏบิ ัติงานตรวจสอบภายใน ผลการประเมิน ปัญหา/ ขอ้ จากัด แนวทางปฏิบตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แกไ้ ข ความซ่ือสัตย์ ( Integrity ) ๑. ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์ ขยันหมนั่ เพียรและมคี วามรับผดิ ชอบ ๒. ผู้ตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั และเปดิ เผยขอ้ มูลตามวิชาชีพทีก่ าหนด ๓. ผู้ตรวจสอบภายในไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในการกระทาใดๆ ท่ีขัดต่อกฎหมายหรือไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทาท่ี อาจนาความเสื่อมเสียมาสู่วิชาชีพการตรวจสอบภายใน หรอื สร้างความเสยี หายต่อส่วนราชการ ๔. ผู้ตรวจสอบภายในให้ความเคารพและสนับสนุน การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณของทางราชการ ความเที่ยงธรรม ( Objectivity ) ๑. ผู้ตรวจสอบภายในไม่มีส่วนเก่ียวข้องหรือสร้างความสัมพันธ์ ใดๆ ที่จะนาไปสู่ความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ ทางราชการ รวมท้ังการกระทาใดๆ ท่ีจะทาให้เกิดอคติ ลาเอียงจนเป็นเหตุให้ไม่สามารถปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามหนา้ ท่ีความรับผิดชอบได้อย่างเที่ยงธรรม ๒. ผู้ตรวจสอบภายในไม่รับส่ิงของใดๆ ท่ีจะทาให้เกิดหรือ อาจก่อให้เกิดความไม่เท่ียงธรรมในการใช้วิจารณญาณ เย่ียงผปู้ ระกอบอาชพี ทพ่ี งึ ปฏิบัติ ๓. ผู้ตรวจสอบภายในเปิดเผยหรือรายงานข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสาคัญท้ังหมดที่ตรวจพบ ซึ่งหากละเว้นไม่เปิดเผย หรือไม่รายงานข้อเท็จจริงดังกล่าวแล้ว อาจจะทาให้ รายงานการตรวจสอบบดิ เบือนไปจากข้อเท็จจริงหรือเป็น การปดิ บังการกระทาทผ่ี ิดกฎหมาย

163 ผลการประเมิน ปัญหา / ขอ้ จากดั แนวทางปฏิบตั ิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ N/A และแนวทาง แก้ไข การปกปิดความลบั ( Confidentiality ) ๑. ผู้ตรวจสอบภายในมีความรอบคอบในการใช้และรักษา ข้อมลู ต่างๆ ทไ่ี ดร้ บั จากการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ๒ . ผู้ตรวจสอบภายในไม่ น าข้อมูลต่ างๆ ที่ ได้ รับจาก การปฏิบัติงานไปใช้แสวงหาผลประโยชน์เพ่ือตนเอง และ ไม่กระทาการใดๆ ท่ีขัดต่อกฎหมายและประโยชน์ของ ทางราชการ ความสามารถในหน้าที่ ( Competency ) ๑. ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติหน้าท่ีเฉพาะในส่วนที่ตนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ ท่ีจาเป็นสาหรับ การปฏบิ ตั งิ านเท่านนั้ ๒. ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดหลักมาตรฐาน การตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ๓. ผู้ตรวจสอบภายในพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมทั้ง พัฒนาประสิทธิผลและคุณภาพของการให้บริการอย่าง สม่าเสมอและตอ่ เน่ือง ส่วนท่ี ๓ สรุปผลการประเมนิ การปฏิบตั ิงาน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ส่วนที่ ๔ ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะและหรือความคดิ เหน็ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................

164 ส่วนท่ี ๕ แผนการพัฒนาและปรบั ปรุงการปฏิบัตงิ าน ลาดบั เรื่องที่ กระบวนการ/ ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ งบประมาณ หมาย ที่ ปรับปรงุ วธิ ีการ ดาเนนิ งาน (บาท) เหตุ ดาเนินงาน ลงชอ่ื .......................................................................................... (.........................................................................................) ตาแหน่ง...................................................................................... ลงชอื่ .......................................................................................... (.........................................................................................) ตาแหนง่ ...................................................................................... ลงชอ่ื .......................................................................................... (.........................................................................................) ตาแหนง่ ...................................................................................... ลงช่อื .......................................................................................... (.........................................................................................) ตาแหนง่ ...................................................................................... ลงชอื่ .......................................................................................... (..................................................................................... ....) ตาแหนง่ ......................................................................................

165 รปู แบบการรายงานผลการประเมนิ ตนเอง - แบบฟอร์ม - รายงานผลการประเมินตนเอง (self-Assessment) หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด…………………………….. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. .......................... หลักการและเหตผุ ล ............................................................................................................................. ........ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... วตั ถปุ ระสงค์ ............................................................................................................................. ........ ............................................................................................................................. ......................... เป้าหมาย .............................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................. ......................... กระบวนการประเมินตนเอง ..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... รายการประเมนิ ............................................................................................................................. ........ ...................................................................................................................... ................................ เกณฑ์ในการพิจารณาผลการประเมนิ ............................................................................................................................. ........ ............................................................................................................................. ......................... เกณฑ์การประมวลผล ...................................................................................... ............................................... ............................................................................................................................. .........................

166 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมนิ มาตรฐานดา้ นคณุ สมบัติ ............................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .......................... ผลการประเมินมาตรฐานด้านการปฏิบตั งิ าน ............................................................................................................................. ........ ...................................................................................................................................................... ผลการประเมินจรยิ ธรรมการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน ................................................................................................................. .................... ............................................................................................................................. ......................... สรปุ ผลการประเมนิ ..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... แนวทางแก้ไข ..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... ลงชือ่ ……………………….............................. (…………………………………………………) ผอู้ านวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ..........

167 ตวั อย่าง การรายงานผลการประเมินตนเอง - ตัวอยา่ ง - รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment) ของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด.............................. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ................................ หลักการและเหตผุ ล กรมบัญชีกลางได้จัดทาแนวทางการประเมินตนเอง พร้อมทั้งแบบประเมินตนเอง ให้หน่วยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการถือปฏิบัติ ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 และได้มีการ ปรับปรุงแนวทางการประเมินตนเองเพ่ือให้สอดคล้องกับมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ได้ปรับปรุงขึ้นใหม่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 แจ้งตามหนังสือ กรมบัญชีกลางที่ กค 0409.2/ว 326 ลงวันที่ 28 สงิ หาคม 2560 เพ่อื ให้ทราบถึงผลการดาเนนิ งาน และเพื่อให้ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมีการรักษาและปรับปรุงคุณภาพการตรวจสอบภายใน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายใน อันจะช่วยสนับสนุน ให้งานตรวจสอบภายในสามารถสร้างคุณค่าเพ่ิมให้กับส่วนราชการ โดยให้หน่วยงานตรวจสอบภายใน นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการสอบทานและประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบปีที่ผ่านมาและส่งสาเนา แบบประเมินตนเองใหก้ รมบัญชกี ลางทราบภายในไตรมาสแรกของปงี บประมาณถัดไป หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จึงไดส้ อบทานและประเมินประสิทธิผล การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ตามแบบการประเมินตนเอง (Self Assessment) เพื่อนาผลการ ประเมินตนเองไปพิจารณาหาแนวทางปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและใช้เป็นเคร่ืองมือติดตาม ความก้าวหน้าและวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพิจารณาทบทวนการปฏิบัติงานในรอบปีท่ีผ่านมาว่าเป็นไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมของผู้ตรวจสอบภายในของสว่ นราชการท่ีกรมบัญชกี ลางกาหนดไว้ 2. เพ่ือให้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน พิจารณาหาแนวทางในการพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอันจะนามา ซ่ึงคุณภาพของงานตรวจสอบภายใน 3. เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบ ภายใน และใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการวางแผนพฒั นาการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งต่อเนอ่ื ง เป้าหมาย หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการปฏิบัติงานเป็นไป ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

168 กระบวนการประเมนิ ตนเอง 1. ศกึ ษาหนงั สือส่ังการและแบบประเมินตนเองท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด 2. สอบทานผลการปฏิบัติงานของตนเองในรอบปีที่ผ่านมา แล้วทาการประเมินผล ตามรายการทก่ี าหนดในแบบประเมินตนเองโดยดาเนนิ การด้วยการประชมุ ร่วมกัน 3. สรุปผลการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏบิ ัติงาน ตรวจสอบภายในของส่วนราชการในภาพรวมของหน่วยตรวจสอบภายใน โดยการสรุปผลในแต่ละข้อ สรุปผลการประเมินในภาพรวมในแต่ละหมวด และสรุปผลการประเมินในภาพรวมในแต่ละด้าน ไดแ้ ก่ มาตรฐานดา้ นคณุ สมบัติ มาตรฐานดา้ นการปฏิบตั ิงาน และจริยธรรมการปฏบิ ัตงิ าน 4. วิเคราะห์ผลการประเมินท่ีเกิดขึ้น โดยการเปรียบเทียบผลการประเมิน กับมาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในของส่วนราชการที่กาหนด เพอื่ ให้ ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน สาเหตุของปัญหา อุปสรรค และข้อจากัดในแต่ละเรื่อง ซึ่งเกิดข้ึนได้จาก สภาพแวดลอ้ มของสว่ นราชการ 5. หาแนวทางในการปรับปรุงให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพย่ิงข้ึน พร้อมท้ังแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในแล้วจัดทาแผนการพัฒนาและปรับปรุง การปฏิบัติงานให้ดยี ่ิงขนึ้ 6. สรุปผลการประเมินตนเอง แลว้ จัดทารายงานเสนอศกึ ษาธิการจงั หวดั เพือ่ ทราบและพจิ ารณา สั่งการ พร้อมส่งสาเนาให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการครั้งแรก มาตรฐานการประเมิน มาตรฐานด้านคุณสมบตั ิ 1. หมวด 1000 : วตั ถปุ ระสงค์ อานาจหน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบ 2. หมวด 1100 : ความเป็นอสิ ระและความเที่ยงธรรม 3. หมวด 1200 : ความเชยี่ วชาญและความระมัดระวงั รอบคอบ เย่ียงผูป้ ระกอบวชิ าชพี 4. หมวด 1300 : การประกันและการปรับปรงุ คุณภาพงาน มาตรฐานดา้ นการปฏบิ ัติงาน 5. หมวด 2000 : การบรหิ ารงานตรวจสอบภายใน 6. หมวด 2100 : ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน 7. หมวด 2200 : การวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 8. หมวด 2300 : การปฏบิ ตั ิงาน 9. หมวด 2400 : การรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ 10.หมวด 2500 : การติดตามผล 11.หมวด 2600 : การยอมรบั สภาพความเสยี่ งของฝา่ ยบรหิ าร

169 จรยิ ธรรมการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายใน 12. ความซ่อื สัตย์ (Integrity) 13. ความเทยี่ งธรรม (Objectivity) 14. การปกปดิ ความลับ (Confidentiality) 15. ความสามารถในหน้าที่ (Competency) เกณฑใ์ นการพิจารณาผลการประเมิน คะแนน ระดบั คาอธบิ าย 5 ดมี าก มกี ารปฏิบตั อิ ยู่ในเกณฑ์ดีมาก หรือปฏบิ ตั ิไดม้ ากกวา่ หรือเท่ากบั รอ้ ยละ 91 ของงาน 4 ดี มกี ารปฏบิ ัตอิ ยู่ในเกณฑ์ดี แต่ต้องปรับปรุงเล็กน้อย หรือปฏิบตั ิได้ร้อยละ 71 – 90 ของงาน 3 พอใช้ มีการปฏิบตั ิอยู่ในเกณฑ์พอใช้ แตต่ ้องปรับปรุงบางประการ หรือปฏิบตั ิได้ร้อยละ 51 – 70 ของงาน 2 นอ้ ย มีการปฏบิ ัติ แต่ต้องปรับปรงุ ค่อนข้างมาก หรือปฏบิ ตั ไิ ดร้ อ้ ยละ 31 – 50 ของงาน 1 นอ้ ยมาก มกี ารปฏบิ ัติ แต่ตอ้ งปรบั ปรุงมาก หรอื ปฏบิ ัติได้น้อยกวา่ หรือเทา่ กับรอ้ ยละ 30 ของงาน 0 ไม่ปฏิบตั ิ ไม่มีการปฏบิ ัตติ อ้ งปรบั ปรุงโดยเรง่ ดว่ น N/A ไม่มี ไม่สามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบตั งิ านได้ หากข้อใดระบุเป็น N/A จะเห็นได้วา่ เร่ือง เหตุการณ์ ดังกล่าวไมส่ ามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบตั ิงานได้ ซึ่งการคานวณจะไมน่ าข้อท่มี ีผลการ เกิดขึ้น ประเมิน N/A มาคานวณรวม เกณฑ์การประมวลผล 1. นาข้อมูลจากข้อคาถามทุกด้านมาประมวลผลให้ค่าคะแนนระดับการประเมินอยู่ใน ระดบั ใดคานวณหาคา่ รอ้ ยละของค่าเฉลยี่ รอ้ ยละของคา่ เฉลี่ย = คะแนนเฉล่ีย x 100 คะแนนเต็ม 2. นาคา่ รอ้ ยละของคา่ เฉลยี่ รวมทไี่ ด้มาสรุปผลการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานฯ ไดด้ งั นี้ ระดับ คา่ คะแนน คาอธิบาย ร้อยละที่ได้ ดมี าก 91 – 100% การปฏิบตั ิเป็นไปตามมาตรฐานฯ อยู่ในเกณฑด์ ีมาก ดี 71 – 90% การปฏบิ ัติเปน็ ไปตามมาตรฐานฯ อยู่ในเกณฑด์ ี แตต่ อ้ งปรบั ปรงุ เลก็ นอ้ ย 51 – 70% การปฏิบัติเปน็ ไปตามมาตรฐานฯ อยู่ในเกณฑ์พอใช้ แตต่ อ้ งปรบั ปรุงบางประการ พอใช้ 31 – 50% การปฏิบัตยิ งั ไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานฯ ตอ้ งปรบั ปรุงคอ่ นข้างมาก นอ้ ย 1 – 30% การปฏบิ ตั ิยังไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานฯ ต้องปรบั ปรงุ มาก น้อยมาก ไม่มีการปฏิบตั ิตอ้ งปรบั ปรงุ โดยเร่งด่วน ไม่ปฏิบตั ิ 0

170 ผลการประเมนิ ตนเอง การประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการ จังหวดั ...... ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.60 ซง่ึ แสดงให้เห็นวา่ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการปฏิบัติงานเป็นไปตาม มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภา ยในของส่วนราชการ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เมื่อพิจารณาจาแนกตามรายการ พบว่า รายการที่มีผลการประเมินสูงสุด คือ ด้านจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน คิดเป็นร้อยละ 96.60 รองลงมา คือ มาตรฐาน ด้านคุณสมบัติ คิดเป็นร้อยละ 93.40 และมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 85.00 ตามลาดบั (รายละเอยี ดตามตารางท่ี 1) โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ ตารางท่ี 1 สรุปผลการประเมินตนเอง (Self Assessment) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ในภาพรวม รายการ คะแนนประเมินได้ คิดเปน็ ร้อยละ ระดับ ดมี าก มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 4.67 93.40 ดี มาตรฐานดา้ นการปฏิบัตงิ าน 4.25 85.00 ดมี าก ดมี าก ดา้ นจริยธรรมการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายใน 4.83 96.60 ผลการประเมนิ โดยรวม 4.58 91.60 หมายเหต:ุ ผลการประเมินรายมาตรฐาน รายหมวด และรายประเดน็ ตามแบบประเมินตนเอง ดงั แนบ ผลการประเมนิ มาตรฐานดา้ นคุณสมบัติ การประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ตามมาตรฐานด้านคุณสมบัติ ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย 4.67 คิดเป็นร้อยละ 93.40 เมื่อพิจารณาจาแนกตามรายหมวด โดยเรียงลาดับตาม ผลการประเมิน (รายละเอียดตามตารางที่ 2) พบว่า 1. หมวด 1000 วัตถุประสงค์ อานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และหมวด 1100 ความเป็นอิสระ และความเท่ียงธรรม มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากคะแนนเฉลี่ย 5.00คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมี การจัดทากฎบัตรและเผยแพร่ให้ทราบท่ัวกันในส่วนราชการ มีการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ เท่ียงธรรม ปราศจากการแทรกแซง ท้ังในเร่ืองการกาหนดขอบเขตการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในจะปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังรอบคอบ และใช้ทั กษะ อย่างเหมาะสมเพอื่ ใหผ้ ลการปฏิบัติงานเปน็ ท่ียอมรับและน่าเช่อื ถือ 2. หมวด 1300 การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงาน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90.00 ซ่ึงมีการจัดให้มีการประกันคุณภาพ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ท้ังนี้ ผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แต่ต้องปรับปรุงประเด็นในส่วนของการประเมินผล จากภายใน กรณีการสอบทานติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเน่ือง และประเด็นเร่ือง การประเมินผลจากภายนอก กรณีการได้รับการประเมินจากบุคคลภายนอกอย่างนอ้ ยทุกๆ 5 ปี

171 3. หมวด 1200 ความเช่ียวชาญและความระมัดระวังรอบคอบเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ มีผลประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.18 คิดเป็นร้อยละ 83.60 ซึ่งมีการปฏิบัติงานด้วยความ ระมัดระวังรอบคอบ โดยคานึงถึงส่ิงต่างๆ เช่น ความเสี่ยง ความคุ้มค่า ฯลฯ ทั้งนี้ ผลการปฏิบัติงาน สว่ นใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แตต่ ้องปรับปรุงในประเด็นเรอื่ งความรู้ ทักษะ และความสามารถในการ ปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เน่ืองจากข้าราชการบรรจใุ หม่ยังขาดประสบการณ์ ทักษะและความเช่ียวชาญ ในการตรวจสอบบางประเด็นท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน เช่น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การประเมิน ความเสี่ยงของการทุจริต และการเสนอแนวทางในการบริหารจัดการการทุจริตเป็นต้น ซ่ึงส่งผล ต่อภาพรวมของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด รวมไปถึงประเด็นเรื่องการพัฒนา วชิ าชพี อยา่ งต่อเนอื่ ง เพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานเป็นทย่ี อมรับและนา่ เชือ่ ถือ ตารางท่ี 2 สรุปผลการประเมินตนเอง (Self Assessment) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จาแนก ตามมาตรฐานดา้ นคณุ สมบัติ ประเด็นการประเมนิ คะแนน คิดเป็น ระดับ ประเมนิ ได้ ร้อยละ หมวด 1000 วัตถปุ ระสงค์อานาจหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบ หมวด 1100 ความเป็นอสิ ระและความเทีย่ งธรรม 5.00 100 ดมี าก หมวด 1200 ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวงั รอบคอบ หมวด 1300 การประกนั และการปรับปรุงคุณภาพงาน 5.00 100 ดมี าก ผลการประเมนิ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 4.18 83.60 ดี 4.50 90.00 ดี 4.67 93.40 ดีมาก ผลการประเมนิ มาตรฐานด้านการปฏบิ ัตงิ าน การประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ตามมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85.00 เม่ือพิจารณาจาแนกตามรายหมวด โดยเรียงลาดับตาม ผลการประเมิน (รายละเอียดตามตารางที่ 3) พบว่า 1. หมวด 2400 การรายงานผลการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ มผี ลการประเมินอยูใ่ นระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90.00 ซ่ึงตรวจสอบภายในมีการรายงานผลการปฏิบัติงานตามท่ี ได้รับมอบหมายอย่างทันท่วงที ทั้งนี้ ผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แต่ต้อง ปรับปรุงในประเด็นเร่ืองหลักเกณฑ์ในการรายงานผลการปฏิบัติงาน ในส่วนของงานให้คาปรึกษา เรอื่ งการกาหนดรปู แบบ และเนื้อหาของการรายงานความคืบหนา้ และรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน 2. หมวด 2000 การบริหารงานตรวจสอบภายใน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89.00 ซึ่งหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการบริหารงานอย่างมีประสิทธผิ ล ทัง้ น้ี ผลการปฏิบัติงานสว่ นใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แตต่ ้อง ปรับปรุงในประเด็นเร่ืองการวางแผนการตรวจสอบ เน่ืองจากยังมิได้กาหนดรูปแบบแนวทาง การประเมินความเสี่ยงเพื่อการวางแผน และยังไม่มีการปฏิบัติในเร่ืองการหารือกับฝ่ายบริหาร ในเรื่องความเสี่ยง และนาขอ้ มูลข่าวสารมาพิจารณาในการวางแผนการตรวจสอบ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง ศึกษาธิการจังหวัด และมิได้นาแผนการตรวจสอบเขา้ หารือในชว่ งปีท่ผี ่านมา

172 3. หมวด 2200 การวางแผนการปฏิบัติงาน มีผลประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84.00 ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในมีการจัดทาแผนการปฏิบัติงาน รวมท้ังกาหนด วัตถุประสงค์ ขอบเขต ระยะเวลา และการจัดสรรทรัพยากร ทั้งนี้ ผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไป ตามมาตรฐานฯ แต่ตอ้ งปรบั ปรุงในประเด็นเรื่องการวางแผนการปฏิบตั ิงานในการใหค้ าปรึกษา 4. หมวด 2300 การปฏิบัตงิ าน มีผลประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลย่ี 4.20 คดิ เป็น ร้อยละ 84.00ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในมีการรวบรวม วิเคราะห์ประเมิน และบันทึกข้อมูล รวมถึง การรายงานผลการปฏิบัติงาน การกากับติดตามผลตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในอย่างเหมาะสม ทั้งน้ี ผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แต่ต้องปรับปรุงในประเด็นเรื่องการรวบรวมข้อมูล กรณีการคัดเลือกและรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เพียงพอ มีความน่าเช่ือถือ และการคัดเลือก กล่มุ ตัวอยา่ งขอ้ มลู หรอื ประชากรเพ่ือให้ไดห้ ลักฐานทเ่ี พียงพอ 5. หมวด 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน มีผลประเมนิ อยู่ในระดับดี คะแนน เฉล่ีย 4.15 คิดเป็นร้อยละ 83.00 โดยผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แต่ต้องปรับปรุง ในประเด็น ต่อไปน้ี 5.1 ประเด็นเรื่องการกากับดูแล กรณีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในให้สามารถ ประเมนิ ไดว้ า่ การกากบั ดูแลเทคโนโลยสี ารสนเทศได้สนับสนนุ วัตถุประสงคแ์ ละยทุ ธศาสตรข์ องส่วนราชการ 5.2 ประเดน็ เรื่องการบริหารความเส่ยี ง กรณีการประเมินโอกาสของการเกิดทุจริต และวิธกี ารบริหารความเสีย่ งของการทุจริต 5.3 ประเด็นเร่ืองการควบคุม กรณีหน่วยงานตรวจสอบภายในได้สนับสนุนและส่งเสริม ให้มกี ารควบคมุ ในเรอื่ งตา่ งๆ อย่างเพียงพอ เหมาะสม 6. หมวด 2500 การติดตามผล มีผลประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.00 คิดเป็น ร้อยละ 80.00 ซ่ึงผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานฯ แต่ต้องปรับปรุงในประเด็น เร่ืองการกาหนดกระบวนการติดตามผลการนาข้อเสนอแนะในรายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ และผลการนาคาปรกึ ษาของผู้ตรวจสอบภายในไปปฏิบัติ ตารางที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง (Self Assessment) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จาแนก ตามมาตรฐานด้านการปฏิบตั งิ าน ประเด็นการประเมิน คะแนนประเมนิ ได้ คิดเปน็ ร้อยละ ระดบั หมวด 2000 การบริหารงานตรวจสอบภายใน 4.45 89.00 ดี หมวด 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน 4.15 83.00 ดี หมวด 2200 การวางแผนการปฏิบตั งิ าน 4.20 84.00 ดี หมวด 2300 การปฏิบัติงาน 4.20 84.00 ดี หมวด 2400 การรายงานผลการปฏิบัติงาน 4.50 90.00 ดี หมวด 2500 การติดตามผล 4.00 80.00 ดี หมวด 2600 การยอมรับสภาพความเสี่ยงของฝ่ายบริหาร -- - 4.25 85.00 ดี ผลการประเมินมาตรฐานด้านการปฏบิ ัตงิ าน

173 ผลการประเมนิ จรยิ ธรรมการปฏบิ ัติงานตรวจสอบภายใน การประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการ จังหวัด ตามจรยิ ธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ในภาพรวมมผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับดีมาก คะแนนเฉล่ีย 4.83 คิดเป็นร้อยละ 96.60 เมื่อพิจารณาจาแนกตามรายหมวด โดยเรียงลาดับ ตามผลการประเมนิ (รายละเอยี ดตามตารางท่ี 4) พบวา่ 1. ความซ่ือสัตย์ (Integrity) ความเที่ยงธรรม (Objectivity) และการปกปิดความลับ (Confidentiality) มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากคะแนนเฉล่ีย 5.00 คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่ง ผู้ตรวจสอบภายในมีการปฏิบัตงิ านด้วยความซื่อสตั ย์ ขยันหม่ันเพยี ร มีความรับผิดชอบ มีความเท่ียงธรรม เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพในการรวบรวมข้อมูล ประเมินผล และรายงานผลการตรวจสอบด้วยความไม่ลาเอียง รวมท้ังไม่นาข้อมูลต่างๆ ท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานไปใช้แสวงหาผลประโยชน์เพ่ือตนเองและ ไม่กระทาการใดๆ ท่ีขดั ตอ่ กฎหมายและประโยชนข์ องส่วนราชการ 2. ความสามารถในหน้าที่ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.33 คิดเป็น ร้อยละ 86.60 ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ และมีการปฏิบัติงาน โดยยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ทั้งน้ี ผลการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นไป ตามมาตรฐานฯ แต่ต้องปรับปรุงในประเด็นเรื่องการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบภายใน รวมไปถึง การพฒั นาประสทิ ธิผลและคณุ ภาพของการให้บริการอยา่ งสม่าเสมอ ตารางท่ี 4 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561จาแนก ตามจรยิ ธรรมการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายใน ประเด็นการประเมิน คะแนนประเมนิ ได้ คดิ เปน็ ร้อยละ ระดับ ดีมาก ความซ่อื สัตย์ (Integrity) 5.00 100 ดมี าก ดมี าก ความเท่ยี งธรรม (Objectivity) 5.00 100 ดี การปกปดิ ความลับ (Confidentiality) 5.00 100 ดมี าก ความสามารถในหน้าท่ี (Competency) 4.33 86.60 ผลการประเมินจรยิ ธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 4.83 96.60 สรปุ ผลการประเมนิ จากการประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พบว่า ในภาพรวมมผี ลการประเมินอยู่ในระดับดมี าก คะแนนเฉล่ีย 4.57 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดมีการปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏบิ ัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ อยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก เมื่อพิจารณาเปน็ รายมาตรฐาน พบว่า 1. มาตรฐานด้านคุณสมบัติ การประเมนิ มาตรฐานดา้ นคณุ สมบัตกิ าหนดใหป้ ระเมนิ 4หมวดดงั น้ี (1) หมวด 1000 : วตั ถปุ ระสงค์ อานาจหนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบ (2) หมวด 1100 : ความเป็นอิสระและความเทย่ี งธรรม

174 (3) หมวด 1200 : ความเชยี่ วชาญและความระมัดระวงั รอบคอบเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชพี (4) หมวด 1300 : การประกนั และการปรบั ปรงุ คณุ ภาพงาน ผลการประเมินตามมาตรฐานด้านคุณสมบัติ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก คะแนน เฉลีย่ 4.67 คิดเป็นร้อยละ 93.40 แสดงว่า หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด เห็นว่า มีการดาเนินงานตามมาตรฐานด้านคุณสมบัติภาพรวมในระดับดีมาก โดยมาตรฐานที่ได้ค่าคะแนน 5.00 คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ หมวด 1000 : วัตถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี และความรับผิดชอบ โดยมีการจัดทา กฎบัตรและเผยแพร่ให้ทราบทั่วกันในส่วนราชการ และหมวด 1100 : ความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม ซึ่งมีการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ เที่ยงธรรม ปราศจากการแทรกแซง ท้ังในเรื่องการกาหนดขอบเขต การตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ และการรายงานผลการตรวจสอบ สาหรับมาตรฐานที่ มี ผลการประเมินต่าสุดและต่ากว่าค่าเฉล่ีย คือ หมวด 1200 : ความเช่ียวชาญและความระมัดระวัง รอบคอบเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.18 คิดเป็นร้อยละ 83.60 ซ่งึ ได้แก่ การปฏบิ ัติงานด้วยความระมัดระวงั รอบคอบ โดยคานึงถึงสิ่งต่างๆ เช่น ความเสี่ยง ความคุ้มคา่ ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินในส่วนของความรู้ ทักษะ และความสามารถในเร่ืองต่างๆ ท่ีจาเป็น ตอ่ การปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายใน เช่น ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับพอใช้ 2. มาตรฐานดา้ นการปฏบิ ตั งิ าน การประเมินมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน กาหนดให้ประเมิน 7 หมวด ดังนี้ (1) หมวด 2000 : การบริหารงานตรวจสอบภายใน (2) หมวด 2100 : ลกั ษณะของงานตรวจสอบภายใน (3) หมวด 2200 : การวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน (4) หมวด 2300 : การปฏบิ ตั งิ าน (5) หมวด 2400 : การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ (6) หมวด 2500 : การตดิ ตามผล (7) หมวด 2600 : การยอมรับสภาพความเส่ยี งของฝา่ ยบรหิ าร ผลการประเมินตามมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85.00 แสดงว่า หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เห็นว่า มีการดาเนินงานตามมาตรฐานด้านการปฏิบัติงานภาพรวมในระดับดี โดยมาตรฐานที่มี ค่าคะแนนสูงสุด คือ หมวด 2400 : การรายงานผลการปฏิบัติงาน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลย่ี 4.50 คิดเปน็ ร้อยละ 90.00 ซ่งึ ผู้ตรวจสอบภายในมีการรายงานผลการปฏิบัติงานตามที่ ได้รับมอบหมายอย่างทันท่วงที รองลงมา คือ หมวด 2000 : การบริหารงานตรวจสอบภายใน มีผล การประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89.00 ซึ่งหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิผล สาหรับมาตรฐานทมี่ ีผลการประเมินตา่ สุด และต่ากว่าค่าเฉล่ีย คือ หมวด 2500 : การติดตามผล มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉล่ีย 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80.00 โดยมีการกาหนดกระบวนการติดตามผลการนาข้อเสนอแนะในรายงานผล การตรวจสอบ และมีการติดตามผลการนาคาปรึกษาของผู้ตรวจสอบภายในไปปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินในส่วนของการหารือเรื่องความเสี่ยงกับฝ่ายบริหาร และนาข้อมูลข่าวสารมาพิจารณา ในการวางแผนการตรวจสอบ ยงั ไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิในเรอื่ งดังกลา่ ว

175 3. จรยิ ธรรมการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน การประเมินดา้ นจริยธรรม กาหนดใหป้ ระเมิน 4 ดา้ น ดงั น้ี (1) ด้านความซอ่ื สัตย์ (2) ดา้ นความเท่ยี งธรรม (3) ดา้ นการปกปดิ ความลบั (4)ด้านความสามารถในหนา้ ที่ ผลการประเมินด้านจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ในภาพรวมอยู่ใน ระดับดีมาก คะแนนเฉล่ีย 4.83 คิดเป็นร้อยละ 96.60 แสดงว่า หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัด มีความเห็นว่า การดาเนินงานตามจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในภาพ รวมอยู่ในระดับดีมากโดยด้านที่ได้ค่าคะแนน 5.00 คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ ด้านความซื่อสัตย์ ด้าน ความเที่ยงธรรม และด้านการปกปิดความลับ ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในมีการปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ มีความเที่ยงธรรมเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพในการรวบรวมข้อมูล ประเมินผล และรายงานผลการตรวจสอบด้วยความไม่ลาเอียง รวมท้ังไม่นาข้อมูลต่างๆท่ีได้รับ จากการปฏิบัติงานไปใช้แสวงหาผลประโยชน์เพ่ือตนเองและไม่กระทาการใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และประโยชน์ของส่วนราชการ สาหรับด้านที่มีผลการประเมินต่าสุด คือ ด้านความสามารถในหน้าท่ี มี ผลการประเมินอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.60 ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ และมีการปฏิบัติงานโดยยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ แต่อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินในส่วนของการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบภายใน และการพัฒนาประสิทธิผลและคุณภาพของการให้บริการอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง มีผลการประเมิน อยใู่ นระดบั ดี แนวทางแก้ไข เพ่ือให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัดมีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขึ้น หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดจึง ได้มีแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในในปีงบประมาณ พ.ศ. ........ ให้เป็นไปตามมาตรฐานทก่ี รมบัญชีกลางกาหนด ดังนี้ 1. ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน ได้แก่ หลักสตู รประกาศนียบัตรผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ มืออาชีพ (CGIA) หลักสูตรพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตามเกณฑ์ การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ และหลักสูตรอื่นๆ ท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน 2. พัฒนาความรู้ เสริมทักษะและความสามารถในการตรวจสอบภายในให้แก่ ผู้ตรวจสอบภายในบรรจุใหม่ โดยให้ร่วมเป็นทีมงาน KM ตรวจสอบท้ังด้านการปฏิบัติงาน และด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ

176 3. หากมีการเปลี่ยนแปลง ศึกษาธิการจังหวัด ให้ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด นาแผนการตรวจสอบเข้าหารือในกรณีที่มีเร่ืองท่ีต้องตรวจสอบหรือ ดาเนินการมากกว่าท่ีกาหนดไว้ในแผนการตรวจสอบ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการ จงั หวัดจะดาเนินการปรบั แผนการตรวจสอบ ต่อไป ลงช่อื …………………………………………….. (...................................................) ผอู้ านวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด ...........

177 การประเมนิ ตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด การประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามเกณฑ์ท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยกลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง เพื่อทราบผลการ ดาเนินงานด้านการตรวจสอบภายในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานในสังกัด เพื่อรักษา และปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบภายในของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด โดยกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดเกณฑ์การประเมินผล การปฏิบตั งิ าน จานวน 8 ดา้ น ดงั นี้ 1. ดา้ นโครงสร้างและสายการรายงาน 2. ด้านกฎบัตรการตรวจสอบภายใน 3. ดา้ นการประเมนิ ความเสย่ี งเพ่ือการวางแผน 4. ดา้ นการวางแผนตรวจสอบ 5. ดา้ นการรายงานสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายใน 6. ดา้ นการวางแผนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ 7. ดา้ นการรายงานผลการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ 8. ด้านการติดตามผลการตรวจสอบ 1. เกณฑ์การพจิ ารณาดา้ นโครงสรา้ งและสายการรายงาน ระดบั คะแนน 1 มีการจัดโครงสรา้ งหนว่ ยตรวจสอบภายในขน้ึ ตรงต่อศึกษาธิการจังหวดั ดังนี้ 1. มีการเสนอแผนการตรวจสอบตรงต่อศึกษาธิการจังหวัด และอนุมัติ แผนการตรวจสอบโดยศกึ ษาธิการจงั หวัด 2. มีการเสนอรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบตรงต่อศกึ ษาธิการจังหวดั ระดับคะแนน 2 มกี ารกาหนดกรอบคุณธรรมของหนว่ ยตรวจสอบภายใน ดังนี้ 1. มีองค์ประกอบท่ีประกอบด้วย การปฏิบัติตัวและการปฏิบัติงานของ ผู้ตรวจสอบภายในเก่ียวกับความเท่ียงธรรมและข้อจากัดของความเป็น อสิ ระหรือความเทยี่ งธรรม 2. มีการเสนอกรอบคุณธรรมของหน่วยตรวจสอบภายใน ให้ศึกษาธิการจังหวัด ให้ความเหน็ ชอบ 3. มีการเผยแพรก่ รอบคุณธรรมให้บุคลากรของหน่วยตรวจสอบภายในทราบ และถอื ปฏิบตั ิ 4. มีการเผยแพร่กรอบคุณธรรมของหน่วยตรวจสอบภายในให้หน่วยรับตรวจ ทราบทั่วกัน ระดับคะแนน 3 ไม่มีการตรวจสอบงานท่ีผู้ตรวจสอบภายในเคยรับผิดชอบมาก่อนภายใน ระยะเวลา 1 ปี ระดบั คะแนน 4 มีการสารวจหรือประเมินผลการปฏิบัติตามกรอบคุณธรรมของหน่วย ตรวจสอบภายในและสรุปผลเสนอศกึ ษาธกิ ารจังหวัด

178 2. เกณฑ์การพจิ ารณาดา้ นกฎบตั รการตรวจสอบภายใน ระดบั คะแนน 1 1. มอี งค์ประกอบครบถ้วน ประกอบด้วย - วัตถุประสงค์ - สายการบังคับบัญชา - อานาจหนา้ ที่ - ความรับผดิ ชอบ - คานิยามของการตรวจสอบภายใน มาตรฐานการตรวจสอบและจริยธรรม ในการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายใน โดยองค์ประกอบดังกล่าวต้องครอบคลุมลักษณะงานให้ความเช่ือมั่นและ งานการให้คาปรึกษา 2. มกี ารให้ความเห็นชอบกฎบตั รการตรวจสอบภายใน โดยศึกษาธกิ ารจังหวัด ระดบั คะแนน 2 มีการเผยแพร่กฎบัตรการตรวจสอบภายในใหห้ น่วยรบั ตรวจทราบอย่างท่วั กัน ระดับคะแนน 3 มีการทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายในและนาเสนอศึกษาธิการจงั หวดั ทุกปี ระดบั คะแนน 4 มีการบรหิ ารและพัฒนา ดังน้ี 1. มีการบริหารงานตรวจสอบภายในให้เป็นไปตามกฎบัตรการตรวจสอบ ภายในทไี่ ด้รับความเหน็ ชอบ 2. มีการทบทวนกฎบัตรการตรวจสอบภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุง งาน หรือนวตั กรรมใหมๆ่ ภายใน 3 ปี 3. เกณฑก์ ารพจิ ารณาด้านการประเมินความเสี่ยงเพื่อการวางแผน ระดบั คะแนน 1 มกี ารประเมินความเส่ียง ดงั นี้ 1. มีการระบุปัจจัยความเสี่ยงท่ีครอบคลุมภารกิจของส่วนราชการ ด้านการ ดาเนนิ งาน ด้านการเงนิ และดา้ นการปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและระเบยี บ 2. มกี ารกาหนดระบุปัจจยั เสย่ี งท้งั ระดับหน่วยงานและระดับกิจกรรม 3. มกี ารวิเคราะหแ์ ละจดั ลาดบั ความเส่ียง 4. มีการจัดทาบญั ชรี ายการความเสย่ี ง ระดบั คะแนน 2 มีการนาผลการประเมินความเสี่ยงไปใช้เพ่ือการวางแผนการตรวจสอบ โดย มีการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลังของหน่วยงานหรือกิจกรรมที่จะทาการ ตรวจสอบได้สอดคล้องกบั เป้าหมายของส่วนราชการ ระดับคะแนน 3 มีการปรับหรือทบทวนปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ สภาวการณท์ เ่ี ปลี่ยนแปลง ระดับคะแนน 4 มีการพฒั นาการประเมนิ ความเสี่ยง ดังนี้ 1. มกี ารจดั ทาข้อตกลงในการกาหนดเกณฑ์ความเสี่ยงรว่ มกนั ของบคุ ลากร หนว่ ยรับตรวจกบั หน่วยตรวจสอบภายใน 2. มีการนาแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงของส่วนราชการ รวมถึงระดับ ความเสีย่ งท่ียอมรบั ไดใ้ นแตล่ ะกิจกรรมหรือหน่วยงานมาใช้ในการประเมิน ความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ หรือหารือร่วมกับหัวหน้าสว่ นราชการ และผปู้ ฏิบัตงิ านของหน่วยรับตรวจในการใช้ดุลพนิ ิจในการระบุความเสี่ยง

179 4. เกณฑก์ ารพจิ ารณาด้านการวางแผนตรวจสอบ ระดับคะแนน 1 มีการจัดทาแผนการตรวจสอบประจาปี ดงั นี้ 1. มีองค์ประกอบครบถ้วน ประกอบด้วย - วัตถปุ ระสงค์การตรวจสอบ - ขอบเขตการตรวจสอบ - ผูร้ บั ผิดชอบ - งบประมาณ (ถา้ ม)ี โดยองค์ประกอบดังกล่าวต้องครอบคลุมลักษณะงานให้ความเช่ือมั่น และงานการใหค้ าปรกึ ษา 2. มีการเสนอแผนการตรวจสอบประจาปีให้ศึกษาธิการจังหวัดอนุมัติภายใน เดือนกนั ยายน ระดับคะแนน 2 มกี ารจัดทาแผนการตรวจสอบระยะยาวครอบคลมุ หน่วยรบั ตรวจ/กิจกรรม (Audit Universe) และไมเ่ กิน 5 ปี ระดับคะแนน 3 มีการวางแผนการตรวจสอบสอดคล้องกับข้อมูลข่าวสาร นโยบาย/ความ คิดเหน็ ของหัวหน้าส่วนราชการ ระดบั คะแนน 4 มีการวางแผนการตรวจสอบทคี่ รอบคลมุ ประเภทงานให้ความเช่อื มั่น ไดแ้ ก่ 1. การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Auditing) 2. การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบยี บ (Compliance Auditing) 3. การตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน (Operational Auditing) 4. การตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน (Performance Auditing) 5. การตรวจสอบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology Auditing) 6. การตรวจสอบการบริหาร (Management Auditing) 5. เกณฑ์การพจิ ารณาดา้ นการรายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน ระดบั คะแนน 1 มีการกาหนดระบบหรือเกณฑ์การรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในตามแผนการตรวจสอบประจาปีของหนว่ ยตรวจสอบภายในไว้อยา่ งชดั เจน ระดับคะแนน 2 มกี ารจัดทารายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเสนอศึกษาธกิ าร จงั หวัดครบถว้ นเป็นไปตามระบบหรือเกณฑ์การรายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานที่ กาหนด ระดับคะแนน 3 มีการจัดทารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่มีสาระสาคัญ ครบถว้ น ไดแ้ ก่ 1. ผลการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบประจาปี และ 2. ประเดน็ ความเสี่ยงและการควบคุมท่ีมีนยั สาคญั และ/หรือ 3. ข้อตรวจพบท่ีสาคัญ/โอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาด/การทุจริต/ความ เสียหาย และ/หรอื 4. ปญั หาอปุ สรรคทที่ าให้การปฏบิ ัตงิ านไม่เปน็ ไปตามแผนการตรวจสอบที่ กาหนด

180 ระดบั คะแนน 4 มีการจัดทารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจาปีและพัฒนารูปแบบรายงาน สรุปผลการปฏิบัติงานให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ รวมท้ังเผยแพร่ส่วนที่เป็น สาระสาคญั ใหห้ น่วยรับตรวจ และผเู้ กี่ยวข้องทราบ 6. เกณฑ์การพจิ ารณาดา้ นการวางแผนการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ 6.1 การปฏบิ ัตงิ านครอบคลมุ กระบวนการกากบั ดูแล การบรหิ ารความเสี่ยง และการควบคมุ ระดับคะแนน 1 มีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในท่ีมีการประเมินและให้คาแนะนาท่ีเหมาะสม ในการปรบั ปรุงกระบวนการกากับดแู ล เพ่อื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ เชน่ - เสริมสรา้ งจรยิ ธรรมและคณุ ค่าใหเ้ กดิ ภายในส่วนราชการ - ทาใหม้ ั่นใจว่าการบริหารจัดการของส่วนราชการมีประสิทธผิ ลและเจ้าหน้าท่ี ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านมคี วามรับผิดชอบ - มีการสื่อสารข้อมูลความเส่ียงและการควบคุมภายในครอบคลุมหน่วยงาน ต่างๆ ภายในส่วนราชการ - มีการประสานงานและสอ่ื สารข้อมลู ระหวา่ งผูต้ รวจสอบภายนอก ผูต้ รวจสอบภายในและฝ่ายบรหิ ารของสว่ นราชการ ระดบั คะแนน 2 มีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่มีการประเมินความมีประสิทธิผลและ สนับสนุนให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการ จากผลการประเมนิ เช่น - วัตถุประสงค์ของหน่วยงานมีส่วนสนับสนุนและเป็นไปในทิศทางเดียวกับ พนั ธกิจของสว่ นราชการ - การระบุและประเมนิ ความเสีย่ งที่มีนยั สาคัญ - การเลือกใช้แนวทางในการตอบสนองความเสย่ี งทเี่ หมาะสม โดยเป็นไป ในทศิ ทางเดยี วกบั ระดบั ความเส่ยี งทหี่ นว่ ยงานยอมรบั ได้ - การสอื่ สารข้อมลู สารสนเทศทีเ่ กย่ี วข้องกบั ความเสี่ยงท่ถี กู ตรวจพบ ท้ั ง หน่วยงานอยา่ งทันเวลา ระดับคะแนน 3 มีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในท่ีมีการประเมินและช่วยสนับสนุนและส่งเสริม ให้มีการควบคมุ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ท่เี หมาะสมและเพียงพอ เช่น - ความถูกตอ้ ง ครบถ้วน และความนา่ เช่ือถือของขอ้ มูลสารสนเทศด้านการเงิน และการดาเนินงาน - ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน - การดแู ลรกั ษาทรัพย์สนิ - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย วิธีการปฏิบัติงาน และขอ้ สัญญาต่างๆ ระดบั คะแนน 4 มีการให้ข้อเสนอแนะท่หี ัวหน้าสว่ นราชการสั่งการให้ปฏบิ ัติและหน่วยรับตรวจ ยอมรับนาไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบงาน/ กระบวนการทางานครอบคลมุ ทง้ั 3 ดา้ น

181 6.2 การวางแผนการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ ระดับคะแนน 1 มีการจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบครบถ้วนทุกภารกิจงานตรวจสอบ ตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดบั คะแนน 2 มีการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ ดังนี้ (1) มอี งค์ประกอบครบถว้ นและสัมพนั ธก์ ัน ประกอบดว้ ย - วตั ถุประสงค์ - ขอบเขตการปฏิบตั งิ าน - การจดั สรรทรัพยากร - แผนการปฏิบัติงานที่มีรายละเอียดของการปฏิบัติงานตรวจสอบ ในข้นั ตอนต่างๆ ซง่ึ ระบวุ ิธีการในการคดั เลือกข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผล และบันทึกข้อมูลท่ีได้รับในระหว่างการปฏิบัติงาน รวมท้ังสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ (2) มีการให้ความเห็นชอบโดยหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในหรือผู้ทไ่ี ด้รับ มอบหมาย โดยครบถ้วนทุกภารกิจงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ ประจาปี ระดบั คะแนน 3 มีการนาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบไปปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม โดยครบถ้วนทุกภารกจิ งานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดบั คะแนน 4 มีการจัดทาแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบปีปัจจุบัน โดยอาศัยข้อมูลจาก ผลการดาเนินงานตามแผนการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบของปกี อ่ น 6.3 การปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภาคสนาม ระดบั คะแนน 1 มีการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม โดยครบถ้วน ทกุ ภารกจิ งานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดับคะแนน 2 มีการสอบทานจากหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน/ผู้ท่ีได้รับ มอบหมายที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เหมาะสม โดยครบถ้วน ทุกภารกิจงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดับคะแนน 3 มีการส่ือสารยืนยันถึงความเหมาะสมของวัตถุประสงค์ และขอบเขต การตรวจสอบกับหน่วยรับตรวจก่อนเร่ิมดาเนินการตรวจสอบ โดยครบถ้วน ทกุ ภารกจิ งานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดับคะแนน 4 มีการนาผลการวิเคราะห์ และการสรุปข้อตรวจพบมาใช้ในการให้ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง/ปรับปรุงการปฏิบัติงาน/พัฒนา องคก์ รได้

182 7. เกณฑ์การพจิ ารณาดา้ นการรายงานผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ ระดบั คะแนน 1 มกี ารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ดงั นี้ 1. มกี ารรายงานผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ โดยครบถว้ นทกุ ภารกิจงาน ตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี 2. มกี ารเผยแพร่รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบใหห้ นว่ ยรับตรวจ โดยครบถว้ นทกุ ภารกิจงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปี ระดับคะแนน 2 มีการจดั ทารายงานผลการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ ดังนี้ 1. มอี งค์ประกอบครบถ้วน ประกอบดว้ ย - วัตถปุ ระสงค์การตรวจสอบ - ขอบเขตการตรวจสอบ - สรปุ ผลการตรวจสอบ (ผลการตรวจสอบ ความเสี่ยง/ผลกระทบและสาเหต)ุ - ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ที่สามารถนาไปปฏบิ ัติได้ 2. มีการจัดทาบทสรุปผบู้ รหิ ารเพื่ออธิบายผลการตรวจสอบในภาพรวม ให้ ผู้บริหารสามารถให้ความสาคัญและมุ่งเน้นการปรบั ปรงุ แก้ไขประเดน็ ทีม่ คี วามเสีย่ งสูงเป็นอนั ดบั แรก ระดบั คะแนน 3 มกี ารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบถกู ต้อง เทีย่ งธรรม ชัดเจน รัดกุม สร้างสรรค์ ครบถ้วน และทนั เวลา (เสนอรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ตรวจสอบภายใน 2 เดอื นนับจากวันตรวจสอบแลว้ เสรจ็ ตามแผนการ ตรวจสอบ) ระดบั คะแนน 4 มีการแสดงความคดิ เหน็ ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อการสร้างคณุ ค่าเพ่มิ ให้แก่ ส่วนราชการในภาพรวมโดยครอบคลุมหน่วยรับตรวจเป็นสว่ นใหญ่ 8. เกณฑ์การพิจารณาดา้ นการตดิ ตามผลการตรวจสอบ ระดบั คะแนน 1 มกี ารกาหนดระบบ/เกณฑก์ ารตดิ ตามผลการตรวจสอบไว้อย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน ระดับคะแนน 2 มีกระบวนการติดตามผลการตรวจสอบเป็นไปตามระบบ/เกณฑ์การติดตามผล ที่กาหนด ระดบั คะแนน 3 มีการรายงานผลการติดตามผลการตรวจสอบเสนอหัวหน้าส่วนราชการ โดยครบ ถ้วน ทุกภารกิจงานตรวจสอบ ตามแผน การตรวจสอบ ประจาปี (รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีหัวหน้าส่วนราชการส่ังการภายใน เดือนกันยายน) ระดับคะแนน 4 มีการรายงานสรุปผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ พร้อมทั้ง มีการ วิเคราะห์ ในภาพรวม เพื่อหาแนวทางการพัฒนาองค์กรเสนอต่อหัวหน้า สว่ นราชการ

183 การสารวจความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และเกณฑ์การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ภาครฐั กาหนดให้ หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด ต้องทาการสารวจความพงึ พอใจ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในขณะเดียวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ของ สานักงาน กพร. กาหนดให้มีการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยเหตุนี้ หน่วยตรวจสอบภายใน ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด จึงต้องทาการสารวจความพึงพอใจ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เสนอรายงานต่อศึกษาธิการจังหวัด แล้วส่งสาเนารายงานให้ กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด แบบสารวจ ดงั แนบ ตัวอยา่ งการรายงานในภาคผนวก ข

184 - ตัวอยา่ ง - แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวงั ของผ้รู ับบริการ ต่อการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายในของ.................................. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ...................... คาช้แี จง 1. แบบสอบถามชุดน้ีจัดทาข้นึ เพ่ือสารวจความพึงพอใจและไม่พงึ พอใจของผู้รับบริการที่มี ต่อการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายในของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ................ เพื่อนาผลสารวจที่ได้ไปพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัด ............... ซึ่งคาตอบของทา่ นจะมีประโยชน์อยา่ งย่ิงต่อการศึกษาถงึ ปจั จัยดา้ นตา่ งๆ ในการพัฒนา /ปรบั ปรงุ งาน ผู้รับบริการ หมายถึง ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานที่รับการตรวจสอบ หรือให้คาปรึกษา จากหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั 2. โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง  ที่ตรงกับคาตอบของท่าน หรือเติมข้อความลงใน ชอ่ งวา่ ง โดยแบบสอบถามแบ่งออกเปน็ 7 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเก่ยี วกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจในภาพรวมตอ่ หน่วยตรวจสอบภายใน ส่วนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อกระบวนการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบภายใน สว่ นที่ 4 ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน ส่วนที่ 5 ความพงึ พอใจตอ่ สิง่ อานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน สว่ นที่ 6 ความพงึ พอใจตอ่ คณุ ภาพของรายงานผลการตรวจสอบ สว่ นที่ 7 ความไม่พงึ พอใจต่อการให้บริการดา้ นตา่ งๆ ส่วนที่ 8 ความคาดหวงั ตอ่ การให้บริการ 3. เมื่อท่านตอบแบบสอบถามฉบับนี้แล้ว กรุณาส่งทางไปรษณีย์ถึงหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ........................................................ เลขท่ี .......................................................................... หรือ ทางโทรสารหมายเลข ............................................ ภายในวันท่ี ........................................................ จึงขอความอนุเคราะห์จากท่านโปรดตอบแบบสอบถามนี้ตามความเป็นจริง คาตอบของ ท่านจะไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ทา่ นเปน็ ส่วนตัวและไม่มีผลตอ่ การปฏิบัติงานของทา่ นแต่อย่างใด ขอบพระคุณอยา่ งสูง หนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด ...................

185 แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผ้รู บั บรกิ ารตอ่ การปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน ของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ..... ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู เก่ียวกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม ตาแหน่งของผตู้ อบแบบสอบถาม  ผู้บริหาร  หวั หนา้ งาน  ผปู้ ฏิบตั งิ าน ส่วนที่ 2 - 6 เปน็ การประเมินความพึงพอใจ โดยแบ่งเป็น 5 ระดบั ดังน้ี 5 = มากที่สดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยท่สี ุด ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจในภาพรวมตอ่ หน่วยตรวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ............ สงิ่ ท่ีประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ ความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ 54321 1. ภาพลักษณ์ของหน่วยตรวจสอบภายใน สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั 2. ความพึงใจท่ีมีต่อสัมพันธภาพของหน่วย ตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการ จงั หวดั กับหนว่ ยรบั ตรวจ 3. การมี มนุ ษยสั มพั นธ์ ในการติ ดต่ อ ประสานงานกับหน่วยรับตรวจ 4. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ การตรวจสอบภายในในชอ่ งทางตา่ งๆ สว่ นท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อกระบวนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน ส่ิงท่ีประเมิน ระดับความพึงพอใจ ความคิดเหน็ เพ่ิมเตมิ 54321 1. ผู้ตรวจสอบมีการอธิบายขอบเขต และ วตั ถปุ ระสงคก์ ารตรวจสอบไวอ้ ย่างชดั เจน 2. การตรวจสอบส่งผลกระทบต่อการทางาน ของบคุ ลากรในระดับท่ีเหมาะสม 3. ประเภทและปริมาณ ของข้ อมู ลที่ ผตู้ รวจสอบขอมีความสมเหตุสมผล 4. ระยะเวลาทใี่ ช้ในการปฏิบตั งิ านมคี วาม เหมาะสม

186 ส่ิงทีป่ ระเมนิ ระดับความพึงพอใจ ความคดิ เห็นเพิ่มเติม 54321 5. การปฏิบัติงานตรวจสอบได้ครอบคลุม กิจกรรมทมี่ คี วามเสีย่ งและสาคญั 6. การมีส่วนร่วมในการช่วยหน่วยรับตรวจ แก้ไขปัญหาให้การปฏิบัติงานมีความ ครบถว้ นสมบรู ณ์ 7. การให้คาแนะนา คาปรึกษา เกี่ยวกับเร่ือง ที่ตรวจสอบ รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ท่ีเก่ียวขอ้ งอย่างชัดเจน เหมาะสม 8. ความพึงพอใจในภาพรวมตอ่ การปฏิบัติงาน ตรวจสอบของหนว่ ยตรวจสอบภายใน ส่วนท่ี 4 ความพึงพอใจต่อผู้ตรวจสอบภายใน สิ่งที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม 54321 1. ผู้ตรวจสอบมีความรู้และความเชี่ยวชาญ ในวชิ าชีพการตรวจสอบ 2. ผ้ตู รวจสอบมอี ธั ยาศัยดี สขุ มุ รอบคอบรู้จัก กาลเทศะ สุภาพ อ่อนโยน (บุคลิกภาพที่ เหมาะสมกบั การปฏิบัตหิ น้าที่) 3. ผู้ตรวจสอบมที กั ษะในการสื่อสารทชี่ ัดเจน และมปี ระสิทธภิ าพ 4. ผู้ตรวจสอบมแี นวคดิ ในเชิงบวกและสร้างสรรค์ 5. ผตู้ รวจสอบมคี วามอิสระและเป็นกลาง สว่ นที่ 5 ความพงึ พอใจต่อสิง่ อานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน สง่ิ ท่ีประเมนิ ระดับความพึงพอใจ ความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ 54321 1. แนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบท่ี ผู้ตรวจสอบภายในใช้ในการปฏิบัติงาน ครอบคลุม ครบถ้วน และชัดเจนตาม ประเด็นท่ีเป็นความเสยี่ ง 2. มีช่องทางท่ีง่ายต่อการติดต่อประสานงาน การตรวจสอบกบั ผตู้ รวจสอบภายใน

187 สว่ นที่ 6 ความพึงพอใจต่อคณุ ภาพของรายงานผลการตรวจสอบ สง่ิ ที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ ความคดิ เหน็ เพิม่ เตมิ 54321 1. การรายงานผลเป็นไปอย่างรวดเร็วและ เหมาะสม 2. ประเด็นที่ ตรวจพบมีการช้ีแจงและ รายงานอย่างถกู ต้อง 3. ข้อมูลท่ีปรากฏในรายงานมีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ 4. ข้อเสนอแนะท่ีปรากฏในรายงานเป็น ประโยชนแ์ ละสามารถปฏิบัติได้ 5. รายงานการตรวจสอบมเี น้อื ความทกี่ ระชบั ชดั เจนและเข้าใจงา่ ย สว่ นที่ 7 การประเมนิ ความไม่พงึ พอใจตอ่ การใหบ้ ริการดา้ นตา่ งๆ 7.1 ความไม่พงึ พอใจต่อกระบวนการปฏิบตั งิ านการตรวจสอบภายใน ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. ข้อเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุง ..................................................................................................................................... ......................... ......................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................. 7.2 ความไม่พงึ พอใจตอ่ ผู้ตรวจสอบภายใน ................................................................................................................................... ........................... ....................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุง ........................................................................................................................................... ................... ............................................................................................................... ............................................... ............................................................................................................................. .................................

188 7.3 ความไม่พงึ พอใจตอ่ ส่งิ อานวยความสะดวก .................................................................................................................................... .......................... ........................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ................................. ข้อเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ ............................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................ .............................................. ............................................................................................................................. ................................. 7.4 ความไม่พึงพอใจตอ่ คณุ ภาพของรายงานผลการตรวจสอบ ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. สว่ นที่ 8 ความคาดหวังต่อการใหบ้ รกิ าร ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ขอขอบคุณทใี่ ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

189 - ตัวอย่าง - แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวงั ของผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย ต่อการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในของ ........................................... ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ......... คาชแี้ จง 1. แบบสอบถามชุดน้ีจัดทาข้ึนเพื่อสารวจความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เพื่อทราบว่าบุคลากรท่ีได้รับข้อแนะนา ข้อเสนอแนะ นาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงาน ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จะนาผลสารวจท่ีได้ไปพัฒนา/ ปรับปรงุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง ผู้ท่ีได้รับบรกิ ารจากผู้รบั ตรวจ เช่น ถ้าหน่วยตรวจสอบ ภายใน ศธจ. ตรวจสอบการเงิน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ครูหรือบุคลากรที่ใช้บริการของกลุ่มการเงิน เปน็ ต้น 2. โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง  ท่ีตรงกับคาตอบของท่าน หรือเติมข้อความ ลงในชอ่ งวา่ ง โดยแบบสอบถามแบ่งออกเปน็ 4 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู เก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 การประเมินความคดิ เหน็ ในการปฏิบตั ิงาน สว่ นท่ี 3 การประเมนิ ความไม่พึงพอใจต่อการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายใน ส่วนที่ 4 ความคาดหวงั ตอ่ การให้บรกิ าร 3. เมื่อท่านตอบแบบสอบถามฉบับน้ีแล้ว กรุณาส่งทางไปรษณีย์ถึงหน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด......................เลขที่..............................................หรือทางโทรสาร หมายเลข...............................................ภายในวนั ท.ี่ ............................................ จึงขอความอนุเคราะห์จากท่านโปรดตอบแบบสอบถามน้ีตามความเป็นจริง คาตอบของท่าน จะไม่มีผลกระทบตอ่ ทา่ นเปน็ ส่วนตวั และไม่มีผลต่อการปฏิบตั ิงานของทา่ นแต่อยา่ งใด ขอบพระคุณอยา่ งสูง หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวดั ................

190 แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียตอ่ การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายใน ของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด ........... สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม ตาแหน่งของผตู้ อบแบบสอบถาม  ครู  บคุ ลากรทางการศึกษา ส่วนที่ 2 เป็นการประเมนิ ความคิดเห็นในการปฏบิ ตั ิงาน โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 5 = มากท่ีสดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = นอ้ ยทสี่ ุด ส่งิ ที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ ความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ 54321 1. ท่านเห็ นว่าหน่วยงานท่านจะมีการ ควบคมุ การเงิน ดขี ึ้น 2. ท่านมั่นใจว่าหน่วยงานท่านจะมีการ ควบคมุ ทรพั ย์สินดขี น้ึ 3. ท่ านเห็ นว่าเจ้าหน้ าที่ ในหน่ วยงาน ของท่านมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ เรื่องการเงินและการใช้จ่ายงบประมาณ เพมิ่ มากขน้ึ 4. ท่านเห็นว่าเจ้าหน้าท่ีปฏบิ ตั ิงานได้ถกู ต้อง และมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่มิ ขน้ึ ส่วนที่ 3 ความคาดหวังต่อการใหบ้ ริการ ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ขอขอบคุณท่ใี ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

191 การจดั ส่งข้อมูลเพื่อการประเมินผล ให้หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จัดส่งข้อมูลถึงกลุ่มตรวจสอบ ภายใน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามรายละเอียดและ ระยะเวลาทกี่ าหนด ดงั ตอ่ ไปนี้ ลาดบั ด้าน ขอ้ มูล ระยะเวลาจัดส่ง 1 โครงสร้างและสายการรายงาน - กรอบคุณธรรม ตามหนังสือสั่งการ - บันทกึ เสนอศึกษาธกิ ารจังหวัด 2 กฎบัตรการตรวจสอบภายใน - กฎบัตรการตรวจสอบภายใน ตามหนังสือสง่ั การ - บนั ทกึ เสนอศึกษาธิการจังหวดั 3 การประเมินความเส่ียงเพ่ือการ บัญ ชีความเส่ียง และเอกสาร ตามหนงั สือสง่ั การ วางแผน สรุปผลการประเมินความเส่ียงเพ่ือ การวางแผน 4 การวางแผนตรวจสอบ - แผนการตรวจสอบประจาปี ตามหนงั สอื สง่ั การ - แผนการตรวจสอบระยะยาว - บันทกึ เสนอศกึ ษาธิการจังหวัด 5 การรายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ าน - รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงาน ตามหนงั สือสั่งการ ตรวจสอบภายใน ตามแผนการตรวจสอบ - บนั ทกึ เสนอศึกษาธิการจังหวดั 6 การวางแผนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ - แผนการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ตามหนงั สอื สง่ั การ - แนวทางการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ 7 การรายงานผลการปฏิบัติงาน - รายงานผลการตรวจสอบ ตามหนังสือสั่งการ ตรวจสอบ - บันทึกเสนอศึกษาธกิ ารจงั หวดั 8 การติดตามผลการตรวจสอบ - รายงานผลการตดิ ตาม ตามหนังสือสง่ั การ - บันทึกเสนอศึกษาธกิ ารจังหวดั

บรรณานุกรม กรมบญั ชกี ลาง. 2551. ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551. กระทรวงการคลัง. กันยายน 2551. ______. 2554. วธิ กี ารตรวจสอบข้อมลู เงนิ ฝากธนาคารและแนวทางการจดั ทางบกระทบยอดเงิน ฝากธนาคารของหนว่ ยงานภาครัฐ. กระทรวงการคลัง. กมุ ภาพันธ์ 2554. ______. 2557. แนวปฏบิ ัติทางบัญชีประกอบมาตรฐานการบญั ชภี าครัฐ ฉบับที่ 1 เร่ือง การนาเสนอ งบการเงนิ . กระทรวงการคลัง. กนั ยายน 2557. ______. 2557. แนวทางการประเมินตนเองของหนว่ ยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ. กระทรวงการคลงั . กันยายน 2557. ______. 2558. คูม่ ือการบญั ชภี าครัฐสาหรบั สว่ นราชการ. กระทรวงการคลงั . สงิ หาคม 2558. ______. 2560. เกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านด้านบัญชีของส่วนราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2560. กระทรวงการคลงั . มกราคม 2560. ______. 2560. พระราชบัญญตั กิ ารจัดซ้อื จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560. ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ท่ี 134 ตอนท่ี 24 ก, กุมภาพันธ์ 2560. ______. 2560. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ. กระทรวงการคลงั . สิงหาคม 2560. ______. 2560. ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจัดซ้อื จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครฐั พ.ศ. 2560. กระทรวงการคลัง. สิงหาคม 2560. ______. 2560. การกากับดูแลการปฏบิ ตั ิงานดา้ นการเงนิ การบัญชี และการจดั ซ้ือจัดจา้ ง. กระทรวงการคลงั . กันยายน 2560. ______. 2560. การวางแผนการตรวจสอบประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สาหรบั ผู้ตรวจสอบภายใน ภาคราชการ. กระทรวงการคลัง. ตลุ าคม 2560. ______. 2561. แนวทางการประกนั คุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. กระทรวงการคลัง. กรกฎาคม 2561. ______. 2561. หลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั วา่ ด้วยมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏบิ ัติการควบคุม ภายใน สาหรับหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561. กระทรวงการคลัง. ตุลาคม 2561. กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2553. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2553. ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มที่ 127 ตอนที่ 44 ก, กรกฎาคม 2546.

194 บรรณานกุ รม (ต่อ) กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2560. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง การแบง่ ส่วนราชการภายใน สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา พ.ศ. 2560. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 295 ง, พฤศจิกายน 2560. คณะรักษาความสงบแห่งขาต.ิ 2560. คาสั่งหัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 19/2560 เรอ่ื ง การปฏิรูปการศึกษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธิการ. ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี 134 ตอนพิเศษ 96 ง, เมษายน 2560. ______. 2546. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ วา่ ด้วยการปฏบิ ัติหน้าท่ีของผ้ตู รวจสอบภายใน พ.ศ. 2546. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 120 ตอนที่ 25 ก, มนี าคม 2546. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2560. ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง การแบ่งหนว่ ยงานภายในสานักงานศกึ ษาธิการภาคและสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด สงั กดั สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. มถิ ุนายน 2560. ______. 2561. การจดั สง่ ขอ้ มูลผลการปฏิบัตงิ านเพือ่ การตรวจสอบและประเมนิ ผลประจากระทรวง. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร. ตุลาคม 2561. สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. 2560. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพมหานคร : บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จากดั . สานกั นายกรัฐมนตร.ี 2548. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ. ราชกิจจานเุ บกษา เล่มท่ี 122 ตอนพิเศษ 21 ง, มีนาคม 2548.

(1) ภาคผนวก



(3) ภาคผนวก ก รายชื่อหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร



(5) หนว่ ยงานในสงั กดั สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานักงาน กศน. จงั หวดั จานวน 77 แหง่ สถาบนั กศน. ภาคจานวน 5 แหง่ 1. สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนือ(จงั หวัดลาปาง) 2. สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคใต้(จังหวดั สงขลา) 3. สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จงั หวดั อบุ ลราชธาน)ี 4. สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคกลาง(จงั หวดั ราชบุร)ี 5. สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคตะวนั ออก(จังหวัดระยอง) ศนู ยว์ ทิ ยาสตร์เพ่ือการศึกษา จานวน 16 แห่ง 1. ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษากาญจนบุรี 2. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาขอนแก่น 3. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาตรงั 4. ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยุธยา 5. ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษานครราชสีมา 6. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษานครศรีธรรมราช 7. ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครสวรรค์ 8. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาลาปาง 9. ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาสระแก้ว 10. ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาสมทุ รสาคร 11. ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา 12. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาอุบลราชธานี 13. ศูนย์วทิ ยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมเพ่ือการศึกษาร้อยเอ็ด 14. ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาพิษณุโลก 15. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษานครพนม 16. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษานราธวิ าส ศูนย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนจานวน 9 แห่ง 1. ศูนย์ฝกึ วชิ าชพี จังหวัดกาญจนบรุ ี “สามสงฆ์ทรงพระคณุ ” 2. ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวหิ ารอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ 3. ศูนยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนเชียงราย 4. ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนชุมพร 5. ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนปตั ตานี 6. ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร 7. ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว้ 8. ศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสรุ ินทร์ 9. ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนอุตรดิตถ์ หมายเหตุ : ขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตข์ องสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (www.nfe.go.th)

(6) รายชอ่ื วิทยาลยั ชมุ ชน จานวน 20 แหง่ 1. วทิ ยาลัยชมุ ชนแม่ฮอ่ งสอน 2. วทิ ยาลยั ชุมชนพจิ ิตร 3. วทิ ยาลยั ชมุ ชนตาก 4. วทิ ยาลัยชมุ ชนบุรีรมั ย์ 5. วทิ ยาลยั ชุมชนแพร่ 6. วิทยาลยั ชมุ ชนนา่ น 7. วิทยาลยั ชมุ ชนอุทัยธานี 8. วทิ ยาลยั ชุมชนสมุทรสาคร 9. วิทยาลยั ชุมชนสระแกว้ 10. วทิ ยาลัยชุมชนตราด 11. วทิ ยาลยั ชุมชนหนองบวั ลาภู 12. วทิ ยาลัยชมุ ชนยโสธร 13. วทิ ยาลยั ชุมชนมุกดาหาร 14. วทิ ยาลยั ชุมชนระนอง 15. วิทยาลัยชมุ ชนพังงา 16. วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา 17. วิทยาลัยชมุ ชนสตลู 18. วิทยาลยั ชมุ ชนปตั ตานี 19. วทิ ยาลยั ชมุ ชนยะลา 20. วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส หมายเหตุ : ข้อมูลจากสถาบันวิทยาลัยชุมชน www.bcca.go.th

(7) มหาวิทยาลยั ในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 57 แห่ง ประกอบดว้ ย มหาวิทยาลัยที่มี พ.ร.บ. เฉพาะ จานวน 10 แห่ง 1. มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 6. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2. มหาวิทยาลัยนครพนม 7. มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร์ 3. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 8. มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง 4. มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช 9. มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี 5. สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 10. สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จานวน 38 แห่ง 1. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จันทรเกษม 20. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ 21. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย 3. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี 22. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี 4. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 23. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย 5. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 24. มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร 6. มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 25. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี 7. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม 26. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช 27. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ 9. มหาวิทยาลยั ราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา 28. มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี ัมย์ 10. มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 29. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 11. มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 30. มหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเก็ต 12. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา 31. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด 13. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 32. มหาวิทยาลยั ราชภัฏราไพพรรณี 14. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลาปาง 33. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณฯ์ 15. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 34. มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร 16. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา 35. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา 17. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี 36. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ ินทร์ 18. มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ 37. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี 19. มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ 38. มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล จานวน 9 แห่ง 1. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก 2. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ 4. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 5. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 6. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 7. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย 8. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ

(8) ประเภทของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ประเภทสถานศกึ ษา จานวนสถานศกึ ษา (แห่ง) 1. วทิ ยาลยั เทคนิค 131 2. วทิ ยาลยั การอาชีพ 135 3. วทิ ยาลัยบรหิ ารธุรกิจและท่องเที่ยว 4 4. วทิ ยาลยั พาณชิ ยการ 5 5. วทิ ยาลัยศิลปหตั ถกรรม 2 6. วทิ ยาลยั สารพัดช่าง 51 7. วิทยาลัยอาชีวศึกษา 38 8. วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ 9 9. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 43 10.กาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั ช่างทองหลวง 43 11.วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรอื 3 12.วิทยาลยั ประมง 3 13.วิทยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ 1 14.วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมง 1 15.วทิ ยาลัยเสริมทกั ษะพระภกิ ษุสามเณร 1 หมายเหตุ : ขอ้ มูลสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2560 ของศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและกาลงั คนอาชวี ศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

(9) ภาคผนวก ข ตวั อยา่ งรายงานในภาคผนวก



(11) สารบัญ หนา้ บทท่ี 1 บทนา 1 หลกั การและเหตผุ ล 1 วัตถปุ ระสงค์ของการสารวจ 2 ขอบเขตของการสารวจ 2 วธิ ีดาเนินการ 4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ 5 บทที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 5 5 การวิเคราะห์ข้อมลู ผรู้ บั บริการ 9 - ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม 10 - สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร 11 - สว่ นที่ 3 ความไม่พึงพอใจของผ้รู ับบริการ 11 - ส่วนที่ 4 ความคาดหวงั ของผู้รบั บรกิ าร 11 12 การวิเคราะห์ข้อมลู ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย 12 - ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู เกย่ี วกับผู้ตอบแบบสอบถาม - สว่ นที่ 2 ความคดิ เห็น/ความพงึ พอใจของผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี 13 - สว่ นที่ 3 ความไม่พึงพอใจของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี - ส่วนที่ 4 ความคาดหวงั ของผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสยี 18 บทท่ี 3 สรุปผลและแนวทางการพัฒนา 23 ภาคผนวก - แบบสารวจความพึงพอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความคาดหวังของผูร้ บั บริการ ตอ่ การปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง - แบบสารวจความพงึ พอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวังของผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย ต่อการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง

บทท่ี 1 บทนา 1. หลกั การและเหตุผล การพัฒนาระบบราชการเป็นภารกิจท่ีสาคัญอย่างยิ่งในอันท่ีจะช่วยให้ระบบการบริหาร ราชการมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสังคมคาดหวังว่าภาคราชการจะเป็นกลไกสาคัญในการนานโยบายไปสู่ การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คุ้มค่า รวดเร็ว เป็นท่ียอมรับของประชาชน การ พัฒนาระบบราชการจึงเป็นภารกิจสาคัญท่ีจะต้องดาเนินการให้เป็นรูปธรรมต่อเนื่องและจริงจัง ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ในชว่ งระยะปี พ.ศ. 2556 – 2561 จานวน 3 หวั ข้อ 7 ประเดน็ คือ ยกระดบั องคก์ ารสู่ความเป็นเลิศ 1. การสรา้ งความเป็นเลศิ ในการให้บรกิ ารประชาชน 2. การพฒั นาองค์การให้มขี ดี สมรรถนะสงู และทนั สมัย บคุ ลากรมคี วามเป็นมืออาชพี 3. การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารสินทรัพยข์ องภาครัฐใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด 4. การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ พฒั นาอยา่ งย่ังยนื 5. การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน 6. การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเช่ือมั่นศรัทธาในการบริหารราชการ แผน่ ดิน ก้าวส่สู ากล 7. การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพ่ือเขา้ สู่การเปน็ ประชาคมอาเซียน ในการน้ี กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ได้ดาเนินการสารวจความพึงพอใจ ความไม่ พึงพอใจ และความคาดหวังต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือนาข้อมูล ขอ้ คดิ เห็น ข้อเสนอแนะ ท่ีไดจ้ ากการสารวจไปปรบั ปรงุ และพัฒนาการใหบ้ ริการให้มีคณุ ภาพยง่ิ ขนึ้ 2. วตั ถุประสงค์ของการสารวจ 1. เพื่อสารวจความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวังของผู้รับบริการต่อการ ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในประเด็นหลัก 5 ด้าน คือ ด้านภาพรวมต่อกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ด้านกระบวนการ/ขนั้ ตอนการปฏิบัติงานการ ตรวจสอบภายใน ด้านเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน ด้านส่ิงอานวยความสะดวก และด้านคุณภาพของ รายงานผลการตรวจสอบ 2. เพ่ือสารวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในประเด็นเรื่องผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานเม่ือได้รับ ขอ้ แนะนา/ข้อเสนอแนะจากกลุ่มตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง

(13) 3. เพื่อสารวจความไม่พึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายใน คือ ด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ด้านเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน และด้าน คุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ 4. เพ่ือสอบถามความคาดหวังต่อการให้บริการ เพ่ือพัฒนางานของกลุ่มตรวจสอบ ภายในระดบั กระทรวง 3. ขอบเขตของการสารวจ 3.1 งานบริการท่ีสารวจเป็นงานตามพันธกิจหลักของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับ กระทรวง คือ งานตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง โดยเน้นการสารวจความ พึงพอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความคาดหวังในภาพรวม 3.2 ประเด็นหลกั ทท่ี าการสารวจ ประกอบด้วย 3.2.1 ผู้รับบริการ  ความพึงพอใจ ในภาพรวมต่อกล่มุ ตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง  ความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการ ปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน  ความพงึ พอใจ และความไมพ่ ึงพอใจ ด้านเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภายใน  ความพงึ พอใจ และความไมพ่ งึ พอใจ ดา้ นสงิ่ อานวยความสะดวก  ความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจ ต่อคุณภาพของรายงานผลการ ตรวจสอบ  ความคาดหวงั ตอ่ การให้บรกิ าร 3.2.2 ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย  ความคิดเห็นในผลการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงาน  ความไม่พงึ พอใจ ด้านกระบวนการปฏบิ ตั งิ านการตรวจสอบภายใน  ความไมพ่ งึ พอใจ ดา้ นเจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบภายใน  ความไมพ่ ึงพอใจ ต่อคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ  ความคาดหวงั ต่อการให้บรกิ าร 4. วธิ ดี าเนนิ การ 4.1 วิธกี ารสารวจ ในการสารวจความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวัง ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ใช้วิธีการสารวจ โดยจดั ส่งแบบสอบถามใหผ้ ้รู บั บรกิ าร และผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี 4.2 การกาหนดกล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มผู้รับบริการ ได้แก่ ผู้รับบริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ตามพนั ธกจิ ได้แก่ ผู้บรหิ าร /หวั หน้างาน/ผปู้ ฏบิ ัติงานด้านแผน/งบประมาณ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับ กระทรวง ได้แก่ อาจารย์/บคุ ลากรทางการศกึ ษา ของมหาวทิ ยาลัยในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

(14) 4.3 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการสารวจ การสารวจความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวัง ของผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ใช้แบบสอบถามความ พึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความคาดหวังของผู้รบั บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดังน้ี 4.3.1 ผูร้ บั บรกิ าร ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ตาแหน่งของผู้ตอบ แบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านต่างๆ 5 ด้าน คือ ความพึง พอใจในภาพรวมตอ่ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ความพึงพอใจต่อกระบวนการ/ขั้นตอนการ ปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน ความพึงพอใจต่อส่ิง อานวยความสะดวกของการตรวจสอบภายใน และความพึงพอใจต่อคุณภาพของรายงานผลการ ตรวจสอบ สว่ นที่ 3 ความไมพ่ ึงพอใจตอ่ การให้บริการด้านต่างๆ 4 ด้าน คือ ความไม่ พงึ พอใจตอ่ กระบวนการปฏบิ ตั งิ านการตรวจสอบภายใน ความไมพ่ งึ พอใจตอ่ เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบภายใน ความไม่พึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวก ความไม่พึงพอใจต่อคุณภาพของรายงานผลการ ตรวจสอบ โดยเป็นคาถามปลายเปดิ ส่วนท่ี 4 ความคาดหวังต่อการให้บริการ โดยเป็นคาถามปลายเปดิ 4.3.2 ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ส่วนที่ 1 ข้อมูลเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ตาแหน่งของผู้ตอบ แบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 ความคิดเหน็ ในผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ส่วนท่ี 3 ความไม่พึงพอใจต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ด้าน กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ด้านเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน และด้านคุณภาพของ รายงานผลการตรวจสอบ โดยเป็นคาถามปลายเปิด ส่วนท่ี 4 ความคาดหวังตอ่ การใหบ้ ริการ โดยเป็นคาถามปลายเปดิ 4.4 วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดาเนินการจัดส่งแบบสอบถามให้แก่ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลังจากท่ี คณะผู้ตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ดาเนินการตรวจสอบเชิงบูรณาการ ณ สถานที่ตัง้ ของหนว่ ยรับบริการ ตามแผนการตรวจสอบภายในประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 4.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลท่ีได้จากแบบสอบถามนามาลงรหัสและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูป หาค่าต่างๆ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation : SD)

(15) วธิ ีการประมวลผลความพงึ พอใจตอ่ การให้บรกิ ารด้านตา่ งๆ ไดก้ าหนดเกณฑ์ในการ วดั ตามระบบ Likert Scales แบง่ เป็น 5 ระดับ โดยกาหนดชว่ งคะแนน ดงั น้ี คะแนน ช่วงคะแนน ระดับความคิดเหน็ 5 4.21 – 5.00 พึงพอใจมากทส่ี ุด 4 3.41 - 4.20 พึงพอใจมาก 3 2.61 – 3.40 พึงพอใจปานกลาง 2 1.81 – 2.60 พึงพอใจน้อย 1 1.00 – 1.80 พงึ พอใจน้อยทสี่ ุด 5. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ 5.1 ทาให้ทราบระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อการ ใหบ้ ริการของกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในด้านต่างๆ 5.2 ทาให้ทราบความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อการ ให้บริการของกล่มุ ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ในดา้ นต่างๆ 5.3 นาข้อมูล ข้อคิดเห็น ความคาดหวัง ข้อเสนอแนะ ที่ได้จากการสารวจไปพัฒนา ปรบั ปรุง แก้ไข ให้การบริการดียงิ่ ข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook