Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อภิธานศัพท์เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ

อภิธานศัพท์เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ

Description: อภิธานศัพท์เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ

Keywords: คำศัพท์ - ชลประทาน,ชลประทาน

Search

Read the Text Version

M main canal main canal คลองส่งน้ำสายใหญ่, คลองส่งน้ำสายหลัก : คลองที่แยกจากแม่น้ำหรือ maiหnวั tงeานnaเพnอ่ื cรeบั นำ้ เข้าไปในเขตโครงการชลประทาน การบำรุงรักษา : กิจกรรมใดๆ ท่ีดำเนินการเพื่อรักษาระบบชลประทาน เช่น คลองส่งน้ำ คลองระบายน้ำ อาคารชลประทานต่างๆ รวมทั้งถนน ทางลำเลียง majใoหr้อยlู่ใoนsสsภeาsพ สมบรู ณพ์ ร้อมที่จะใช้งา อย่างมีประสทิ ธิภาพไดต้ ลอดเวลา manกhารoสlญูe เสยี หลกั : การสญู เสยี พลังงานของการไหลเน่อื งจากแรงเสียดทาน ชอ่ งขนึ้ ลง : ช่องเปิดสำหรับขนึ้ หรอื ลงไปตรวจสอบ ทำความสะอาด และบำรุง Manรักnษiาnอgาค’าsรปfoระrเภmทuทอ่laห รืออุโมงค ์ manสoตู mรขeอtงeแrม นน่งิ : สตู รการคำนวณหาความเรว็ ในการไหลของน้ำ มาโนมิเตอร์ : เครื่องมือวัดความดันของของไหลโดยอาศัยหลักการสมดุล กับน้ำหนักของแท่งปรอท หรือของเหลวมาตรฐานในหลอดแก้วรูปตัวย ู mapหรsอื eแรrงiยeดื sห ยนุ่ ของขดลวดสปรงิ ลำดับชุดแผนท่ี : ชุดแผนท่ีซ่ึงโดยท่ัวไปแต่ละชุดจะมีมาตราส่วนและรูปแบบ เป็นอยา่ งเดียวกัน และครอบคลุมพน้ื ทใ่ี ดพน้ื ทห่ี นงึ่ โดยเฉพาะ โดยกำหนดชอื่ ชุด เป็นหมายเลขลำดับชุด เช่น แผนที่ภูมิประเทศของประเทศไทย กำหนด หมายเลขลำดับชุดเป็น L 7018, L 7017 (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ masรoาชnบrัณyฑ ิตยสถาน ปี 2549) หินก่อ : ส่ิงก่อสร้างที่ทำด้วยหิน วางบนปูนสอ (mortar) ก่อยึดกันด้วยปูนสอ โดยรอบ กระทงุ้ ใหแ้ น่น 144

M maximum probable flood masonry weir ฝายหนิ ก่อ : ฝายทท่ี ำจากหินก่อ mass curve โค้งสะสม : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณฝนหรือน้ำท่าสะสมเทียบ กับเวลา master station สถานีแม่ : สถานีแม่ขา่ ยระบบโทรมาตร ทำหนา้ ท่รี บั ข้อมลู จากสถานีเครือขา่ ย mattress แผงตะเข้ : 1. กิ่งไมห้ รือทอ่ นไมเ้ ล็กๆ นำมาสานหรอื ยดึ ติดกันเป็นแผง ใชป้ ูบริเวณลาดตลง่ิ หรือท่ีทมี่ นี ้ำไหลผา่ น เพ่อื ปอ้ งกนั การกดั เซาะของกระแสน้ำ 2. กล่องทำด้วยลวดถักบรรจุด้วยหิน ใช้ได้หลายรูปแบบ เช่น วางบนพื้น หรือตลิ่งเพ่ือป้องกันการกัดเซาะ วางในลำน้ำหรือริมทะเล เพ่ือป้องกันคลื่น วางซ้อนกันหลายๆ ช้ันทำเป็นฝาย เป็นตน้ ถ้ากลอ่ งหนากว่า 30 เซนติเมตร เรียกวา่ gabion maximum flood น้ำหลากสูงสุด : สถิติปริมาณน้ำหลากสูงสุดท่ีจุดพิจารณา ของลำน้ำในห้วง เวลาที่กำหนด ช่วงเวลาท่ีพิจารณา อาจหมายถึงรอบสัปดาห์ เดือน ปี หรือ ชว่ งเวลาท่ีมีการบนั ทกึ ไว้ maximum probable flood ปริมาณน้ำหลากสูงสุดท่ีอาจเกิดข้ึนได้ : ปริมาณน้ำหลากสูงสุดท่ีมีโอกาส เกิดข้ึนได้ ในลำน้ำสายหน่ึง ณ จุดท่ีกำหนด โดยพิจารณาจากสภาพ อุตุนิยมวิทยา และชลศาสตร์ เรียกอีกอย่างว่า probable maximum flood (PMF) 145

M maximum probable precipitation maximum probable precipitation ปริมาณฝนสงู สุดท่ีอาจเกดิ ข้นึ ได้ : ปรมิ าณฝนสูงสุดทม่ี โี อกาสเกดิ ข้ึนได้ หา ได้จากการประเมินทางทฤษฎี โดยอาศัยค่าสูงสุดของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น ปริมาณความชื้น ปริมาณฝน ความเร็วลม และการกระจายตัวของฝนในพ้ืนที่ เรยี กอกี อย่างว่า probable maximum precipitation หรือ maximum probable maxraiimnfaull m probable rainfall ปริมาณฝนสูงสุดท่ีอาจเกิดขึ้นได้ : ปริมาณฝนสูงสุดที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ หาได้จากการประเมินทางทฤษฎี โดยอาศัยค่าสูงสุดของปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง เช่น ปริมาณความช้ืน ปริมาณฝน ความเร็วลม และการกระจายตัวของฝนใน พ้ืนท่ี เรียกอีกอย่างว่า maximum probable precipitation หรือ probable maxmiamximuumm pwreactipeitratiloenv el ระดับน้ำสูงสุด : ระดับน้ำสูงสุดในอ่างเก็บน้ำที่เขื่อนสามารถรองรับได้อย่าง meaปnลอvดภeัยloตcามitทyีไ่ ด ้ออกแบบไว้ (กรมชลประทานใชค้ ำยอ่ ว่า ร.น.ส.) ความเรว็ เฉลย่ี : 1. ความเร็วของการไหลผ่านหน้าตัดที่พิจารณา คำนวณจากอัตราการไหล หารด้วยพ้นื ทห่ี น้าตดั 2. ความเร็วของการไหล ณ ช่วงใดๆ ของลำน้ำ คำนวณจากอัตราการไหล หารดว้ ยพ้ืนท่หี นา้ ตัดเฉลย่ี ของช่วงลำนำ้ น้ัน mea3n. คdวeาrมเรb็วeเฉlลtยี่ ของกระแสน้ำในแนวดงิ่ ของลกู ตง้ั ทีร่ ะดบั ความลึกต่างๆ เขตทางน้ำโค้งตวัด : บริเวณท่ีราบหุบเขาท่ีทางน้ำโค้งตวัดไปมาได้ไกลที่สุด โดยท่ัวไปถ้าทางน้ำระบายน้ำออกไปมากเท่าใดหรือพาโคลนตมไปได้น้อยลง เท่าใด ก็ย่ิงทำให้เขตทางน้ำบริเวณนี้กว้างข้ึนเท่าน้ัน (พจนานุกรมศัพท์ ภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) 146

M measuring weir meander core แกนทางนำ้ โคง้ ตวัด : บริเวณพ้ืนดนิ ทเ่ี กอื บจะลอ้ มรอบไปด้วยทางนำ้ โคง้ ตวดั เข้าใน มองดูเกือบจะมีทางน้ำล้อมอยู่รอบ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) meander neck ส่วนคอดทางน้ำโค้งตวัด : บริเวณพ้ืนดินที่แยกลำน้ำ 2 ด้านของทางน้ำ โค้งตวัดออกมา ตรงจุดท่ีลำน้ำไหลตวัดเข้าประชิดกันมากที่สุด เป็นบริเวณท่ี กระแสน้ำอาจเซาะให้ขาดเป็นลำน้ำตัดตรงไป ถ้าหากส่วนคอดนั้นแคบมาก (พจนานุกรมศพั ทภ์ มู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) mean annual rainfall ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย : ค่าเฉลี่ยปริมาณฝนรายปีที่วัดได้ในช่วงเวลาหนึ่งซึ่ง นานพอจะนำมาหาคา่ เฉลีย่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม mean annual runoff น้ำท่ารายปีเฉลี่ย : ค่าเฉลี่ยของปริมาณน้ำท่าท้ังปีของแม่น้ำสายหน่ึง หาได้ จากปริมาณน้ำทั้งปีหลายๆ ปีรวมกัน หารด้วยจำนวนปี ซึ่งควรเป็นระยะเวลาที่ นานพอควร (15-30 ปี) mean sea level (M.S.L.) ระดับทะเลปานกลาง : คา่ เฉล่ยี ของระดับน้ำทะเล ซง่ึ คำนวณจากผลการตรวจ ระดับน้ำขึ้นและน้ำลงในที่ใดท่ีหนึ่งที่ได้บันทึกติดต่อกันไว้เป็นระยะเวลานาน สำหรับประเทศไทยใช้ระดับทะเลปานกลาง ท่ีเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (กรมชลประทานใช้คำย่อวา่ ร.ท.ก.) measuring weir ฝายวัดน้ำ : เครอื่ งมือหรืออาคารสำหรบั วัดอตั ราการไหลของน้ำ มลี กั ษณะเปน็ ฝายสันกว้าง หรือช่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สามเหลี่ยม หรือรูปแบบอ่ืน ความสูง ของน้ำเหนือสันฝายจะใช้คำนวณหาปรมิ าณน้ำทไี่ หลผ่านสนั ฝาย 147

M meridian meridian เส้นเมริเดียน : เส้นสมมุติที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านผู้สังเกตการณ์ไปยัง ขั้วโลกใต้ meteoric water น้ำจากบรรยากาศ : น้ำท่ีมีกำเนิดจากบรรยากาศ เช่น จากน้ำฝน น้ำค้าง ลกู เห็บ หรอื หมิ ะ (พจนานุกรมศพั ท์ภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) meteorology อุตุนิยมวิทยา : วิทยาศาสตร์แขนงหน่ึงท่ีเกี่ยวข้องกับบรรยากาศซึ่งรวมถึง ลักษณะอากาศท่ีเกิดในปัจจุบันและภูมิอากาศ วิทยาศาสตร์แขนงนี้ศึกษา เกี่ยวกับสถานภาพทางฟิสิกส์ ไดนามิกส์ และเคมีของบรรยากาศของโลกรวมทั้ง ความเก่ียวพันระหว่างบรรยากาศของโลกกับพื้นผิวโลก (พจนานุกรมศัพท์ ภมู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) micro irrigation ชลประทานจุลภาค : วิธีการชลประทานซ่ึงน้ำจะถูกส่งให้กับรากพืชโดยตรง ในปรมิ าณทน่ี ้อยแต่มคี วามถ่ีในการส่งนำ้ สูง minimum water level ระดับน้ำต่ำสุด : ระดับน้ำต่ำสุดที่สามารถนำน้ำมาใช้งานได้ตามวัตถุประสงค ์ ทไ่ี ดอ้ อกแบบไว้ (กรมชลประทานใช้คำยอ่ วา่ ร.น.ต.) minimum reservoir level ระดับน้ำต่ำสุดในอ่างเก็บน้ำ : ระดับน้ำต่ำสุดในอ่างเก็บน้ำที่สามารถนำน้ำ มาใชง้ านได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้ minor losses การสูญเสยี รอง : การสูญเสียพลงั งานของการไหลเนอ่ื งจากอุปสรรคตา่ งๆ ใน ทางน้ำ ซงึ่ เปน็ การสูญเสยี เฉพาะแห่ง เชน่ ความคดเคยี้ ว ข้อต่อ ขอ้ งอ เป็นต้น 148

mole M mitering gate บานประตูเรือสัญจร : บานประตูก้ันน้ำชนิดบานตรงสองบานหมุนรอบ แกนตงั้ นิยมใชก้ บั ประตเู รอื สญั จร mixed flow pump เคร่ืองสบู นำ้ แบบไหลผสม : เครอื่ งสบู น้ำแบบทีม่ ีทศิ ทางการไหลของนำ้ เขา้ สู่ ใบพดั ในแนวขนานกบั เพลาและไหลออกจากใบพดั ทำมุม 45 ถงึ 80 องศา กับ แกนของเพลา model แบบจำลอง : โครงสร้าง หรือขบวนการ หรือปรากฏการณ์ท่ีถูกสร้างขึ้น เลยี นแบบจากต้นแบบหรือของจริง mathematical model แบบจำลองคณิตศาสตร์ : แบบจำลองที่ใช้ความสมั พันธ์ทางคณติ ศาสตรแ์ ทน พฤติกรรมของตน้ แบบ movable-bed model แบบจำลองพื้นอ่อน : แบบจำลองทางชลศาสตร์ซ่ึงพ้ืนและลาดด้านข้างของ ทางน้ำ ทำขึ้นจากวัสดทุ ี่ยอมใหน้ ้ำกดั เซาะได้ moisture content ปริมาณความช้ืน : ปริมาณน้ำในวัสดุซึ่งแสดงอยู่ในรูปของร้อยละโดย น้ำหนัก เรียกอกี อย่างว่า water content mole เข่ือนกันคลื่น : เขอื่ นทส่ี ร้างขึ้นตามรมิ ชายฝง่ั ทะเลโดยใช้ก้อนหินหรอื วัตถอุ ื่นๆ ถมไปเป็นแนวยื่นออกไปจากชายฝั่ง เพ่ือป้องกันไม่ให้คล่ืนซัดเซาะหาด หรือ ทา่ จอดเรือ (พจนานุกรมศพั ท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) 149

M mole drain mole drain ทางระบายน้ำแบบรูตุ่น : ทางระบายน้ำใต้ดินแบบช่ัวคราว ทำข้ึนโดยการ ลากก้อนโลหะท่ีมีลักษณะทรงกลมหรือลูกรักบี้ เส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 ถึง 15 เซนติเมตร ผ่านไปในดินทำใหเ้ กดิ เป็นโพรงลกึ จากผวิ ดนิ ประมาณ 0.5 ถึง 1.20 เมตร ห่างกัน 1 ถึง 10 เมตร โพรงนี้จะเป็นทางระบายน้ำโดยไม่ต้องฝังท่อ เหมาะสำหรบั ดินเหนียว มอี ายกุ ารใชง้ านประมาณ 2—3 ปี แตข่ ้อดคี อื ทำง่ายและ ค่าลงทนุ ต่ำ monoculture การปลกู พชื เชงิ เดย่ี ว : การปลกู พืชชนดิ เดยี วในท่ีดิน morning glory spillway ทางระบายน้ำล้นปากแตร : อาคารทางระบายน้ำล้นชนิดที่มีสันทางระบาย น้ำล้นเป็นรูปวงกลม รับน้ำสู่ท่อในแนวด่ิง แล้วไหลตามท่อในแนวนอนผ่าน ตัวเขื่อนออกไปสลู่ ำน้ำเดิม mortar ปูนสอ : วสั ดุทีเ่ ปน็ สว่ นผสมของปูนซเี มนต์ ทราย และนำ้ movable weir ฝายเคลอื่ นทไ่ี ด้ : 1. ฝายชัว่ คราวซงึ่ สามารถเคล่อื นยา้ ยออกจากทางนำ้ ได้ เมือ่ มนี ำ้ ไหลบา่ มา 2. ฝายชนดิ ท่ปี รับระดับสันฝายได้ 3. ฝายทดนำ้ ชนดิ มีบานเปดิ –ปดิ moving average ค่าเฉลี่ยเคลื่อนท่ี : ค่าเฉลี่ยท่ีตัวอย่างเคลื่อนที่ไปตามอนุกรมเวลา เช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 วัน เปน็ ตน้ 150

M multi-purpose reservoir mud crack ระแหงโคลน : ลักษณะรอยแตกท่ีเกิดจากการหดตัวของโคลนที่ถูกแดดเผา มักเป็นรูปหลายเหล่ียม ต่อมามีตะกอนบรรจุในรอยแยกแล้วแข็งตัวเป็นหิน พบในหนิ โคลนและหินดินดาน (พจนานุกรมศัพทธ์ รณีวทิ ยา ฉบับราชบณั ฑิตย- สถาน ปี 2544) mudslide โคลนถลม่ : แผ่นดินถลม่ ชนดิ ที่วสั ดุประกอบด้วยดนิ เหนียวและทรายแป้งผสม เป็นเนื้อเดียวกันและมีความเร็วในการเคล่ือนที่น้อยกว่าโคลนไหล (พจนานุกรม ศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) mudstone หินโคลน : หินชั้นท่ีประกอบด้วยโคลนตมเนื้อละเอียด มักมีทรายละเอียดปน อยดู่ ว้ ย ไมม่ รี อยชนั้ ทแี่ ยกออก (พจนานกุ รมศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) multi-purpose reservoir อ่างเก็บน้ำเอนกประสงค์ : อ่างเก็บน้ำที่สร้างเพ่ือเก็บกักน้ำสำหรับใช้ ประโยชน์หลายด้าน เช่น การเกษตร อุปโภค-บริโภค ผลิตกระแสไฟฟ้า การท่องเทย่ี ว และการประปา เปน็ ต้น 151





N nappe nappe แผน่ น้ำ : นำ้ ท่ไี หลลน้ ฝายสัน คม โดยพุ่งเป็นแผ่นน้ำที่มีผิว หน้าของน้ำสัมผัสกับอากาศท้ัง ด้านบนและด้านล่าง natural drainage การระบายน้ำตามธรรมชาติ : การระบายน้ำบนผิวดินออกจากพ้ืนที่โดย ธรรมชาติ navigation lock ประตูเรือสัญจร : อาคารท่ีสร้างข้ึนเพื่อให้เรือผ่านไปมาในบริเวณทางน้ำท่ีมี ระดับตา่ งกนั neap tide นำ้ ตาย : น้ำขน้ึ และน้ำลงที่เกิดขึน้ ในวนั ขน้ึ 8 คำ่ หรือแรม 8 คำ่ ซ่งึ ชว่ งระหว่าง ความสูงของน้ำข้ึนกับน้ำลงมีระยะต่างกันน้อยมาก (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) neck 1. พื้นทีค่ อด, พนื้ ดินคอด : บรเิ วณพน้ื ทีแ่ คบ โดยมีพน้ื นำ้ ขนาบอย่ทู ั้ง 2 ดา้ น ในลักษณะของคอคอด แหลม และสนั ดอนเชื่อมเกาะ 2. ส่วนคอด : ส่วนทแ่ี คบทีส่ ดุ ของชอ่ งเขา กว่ิ เขาและทางนำ้ โค้งตวดั (พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) neck cutoff ลำน้ำลัดส่วนคอด : ลำน้ำลัดของทางน้ำโค้งตวัดซึ่งเกิดตรงท่ีธารน้ำเซาะส่วน คอดของทางน้ำโค้งตวัดให้ขาดเป็นลำน้ำตัดตรงไป (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) 154

N normal fault net rainfall ปริมาณฝนสุทธิ : ปริมาณฝนส่วนท่ีเหลือซ่ึงกลายเป็นน้ำท่า เรียกอีกอย่าง ว่า rainfall excess net water application ปริมาณน้ำสุทธิท่ีให้แก่พืช : ปริมาณน้ำท่ีพืชต้องการจริงเพื่อใช้ในการเจริญ เติบโต หรือที่ต้องส่งให้แก่พืชท่ีปลูกอยู่ในแปลงในปริมาณตรงตามท่ีพืชต้องการ ที่ได้จากการตรวจวัดหรือการคำนวณ ทั้งน้ีจะยังไม่รวมถึงค่าการสูญเสียต่างๆ เช่น การร่ัวซึมในแปลง คูส่งน้ำ คลองส่งน้ำ และความสูญเสียจากอาคาร ชลประทานต่างๆ night-storage irrigation system ระบบชลประทานแบบสำรองน้ำกลางคืน : ระบบชลประทาน ท่ีส่งน้ำให้ พ้ืนที่เพาะปลูกเฉพาะช่วงเวลากลางวันเท่านั้น ส่วนเวลากลางคืนจะปิดท่อส่งน้ำ เข้านาทั้งหมดเพื่อรับน้ำเข้าคลองส่งน้ำ สำรองน้ำไว้ในบ่อขนาดใหญ่ข้างคลอง และ/หรือแต่ละช่วงคลอง โดยมีอาคารบังคับน้ำควบคุมเก็บกักน้ำไว้จนได้ ปรมิ าณน้ำตามความตอ้ งการในชว่ งกลางคืนเพอื่ ใช้ในการส่งน้ำในชว่ งกลางวนั non-arable land พื้นดินเพาะปลูกไม่ได้ : พ้ืนดินที่ใช้ปลูกพืชไม่ได้หากไม่มีการดัดแปลงหรือ ทำนุบำรงุ เป็นพเิ ศษ normal depth ความลกึ ปกติ : ความลึกของการไหลแบบสม่ำเสมอในทางนำ้ เปิด normal fault รอยเล่อื นปกติ : รอยเล่ือนในหินซึ่งส่วนทอ่ี ย่ขู า้ งบนระนาบรอยเลอื่ นเคลอื่ นตัว ลดระดับลงสัมพันธ์กับส่วนท่ีอยู่ข้างล่างที่เคล่ือนตัวขึ้น ถ้าส่วนที่อยู่ข้างบน เคลือ่ นตัวย้อนขนึ้ เรียกวา่ รอยเลอ่ื นย้อน (reverse fault) ถ้ารอยเลอ่ื นยอ้ นมคี ่า มุมเทเทา่ กบั หรือนอ้ ยกวา่ 45 องศา เรียกวา่ รอยเล่ือนยอ้ นมุมต่ำ (thrust fault) (พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) 155

N normal pool level normal pool level ระดับกักเก็บปกติ : ระดับน้ำท่ีกำหนดไว้ให้กักเก็บในสภาวะปกติ สำหรับ อา่ งเกบ็ น้ำประเภททีม่ อี าคารทางระบายน้ำลน้ แบบมีบาน northing ระยะกำหนดนบั เหนือ : สว่ นประกอบทใี่ ชใ้ นการอา้ งองิ คา่ พกิ ดั กรดิ (grid coordinate) โดยหมายถงึ ระยะทางทิศเหนือบนแผนที่ซึ่งวัดจากจุดท่ีกำหนด ณ มุมทิศตะวันตกเฉียงใต เป็นจดุ เรมิ่ ต้นของเส้นกรดิ การอ่านค่าพิกัดกริดน้ันถือหลักอ่านขวาข้ึนบน (read right-up) ดังน้ัน ระยะกำหนดนับเหนือจึงเป็นตัวเลขที่อยู่ในคร่ึงหลังของค่าพิกัดกริด (read up) เชน่ 47 PPR 622203 ตัวเลขในครง่ึ หลังคอื 203 เปน็ ระยะกำหนดนับเหนือท่ี ห่างจากจุดเร่ิมต้นของเส้นกริด (ดู easting ประกอบ) (พจนานุกรมศัพท์ ภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) notched weir ฝายบาก : อาคารวัดปริมาณน้ำ ท่ีทำด้วยแผ่นวัสดุ เช่น ไม้ เหล็ก หรือ คอนกรีตบากเป็นชอ่ งให้น้ำไหลผา่ น n-year flood น้ำท่วม n ปี : ปริมาณน้ำท่วมที่มีโอกาสการเกิดเท่ากับหรือมากกว่า 1 ครั้ง ในชว่ งเวลา n ปี (เชน่ นำ้ ทว่ ม 100 ปี) 156



O oblique aerial photograph oblique aerial photograph รูปถ่ายทางอากาศแนวเฉียง : รูปถ่ายที่ถ่ายจากอากาศยานในขณะท่ีแกน กล้องถ่ายรูปเอียงทำมุมกับแนวยืน การเอียงน้ีจะทำให้ได้ภาพทิวทัศน์ท่ีเห็นได้ ทั้งทางพื้นดินกับทางอากาศรวมกัน รูปถ่ายที่ถ่ายบริเวณพื้นท่ีท่ีเป็นลูกคล่ืนลอน ลาดข้ึนลงเล็กน้อย แม้จะนำไปใช้ทำแผนที่ได้ แต่เนื่องจากมาตราส่วนของ ทิวทัศน์จะเล็กลงเม่ืออยู่ไกลออกไป ดังนั้นจึงยากแก่การท่ีจะนำไปใช้ทำแผนที่ (พจนานกุ รมศัพท์ภมู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) observation well บ่อสังเกตการณ์ : บ่อท่ีขุดหรือเจาะลงไปในดิน เพื่อสังเกตความเปลี่ยนแปลง ของระดบั น้ำใตด้ ิน odograph โอโดกราฟ : เคร่ืองมืออัตโนมัติชนิดหน่ึงท่ีนำไปกับยานพาหนะเพ่ือใช้เขียน แผนทเ่ี สน้ ทางขณะยานเคลอ่ื นที่ไป ระยะทางไดม้ าจากมาตรวดั ซึง่ เครือ่ งบันทกึ อัตโนมัติ และทิศทางได้มาจากเข็มทิศ โดยเขียนเส้นทางต่อเน่ืองลงบนกระดาษ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบโฟโตอิเล็กทริก (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) odometer มาตรระยะทาง, ออดอมิเตอร์ : อุปกรณ์สำหรับวัดระยะทางโดยใช้หลักการ นับรอบของการหมุนวงล้อ ออดอมิเตอร์แบบหนึ่งซ่ึงพกติดตัวไปกับผู้เดินเท้า สามารถวัดระยะทางท่ีก้าวเดินไปได้ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) off period ช่วงเวลาไม่สง่ นำ้ : ช่วงเวลาท่ีหยดุ การสง่ น้ำชลประทาน offtake regulator อาคารบงั คบั นำ้ ปากคลอง : อาคารทป่ี ากคลองส่งนำ้ หรอื คสู ง่ นำ้ ทท่ี ำหน้าท่ี ควบคุมปรมิ าณนำ้ ทีจ่ ะสง่ เขา้ สูท่ างนำ้ สาขา เรยี กอกี อย่างว่า offtake structure 158

O optimum moisture offtake structure อาคารบงั คับนำ้ ปากคลอง : อาคารท่ีปากคลองส่งน้ำ หรือคสู ่งน้ำทที่ ำหน้าท่ี ควบคุมปรมิ าณน้ำทีจ่ ะส่งเขา้ สู่ทางน้ำสาขา เรียกอกี อยา่ งว่า offtake regulator ogee weir ฝายโอก้ี : ฝายสนั มนทีม่ ีลาดดา้ นท้ายนำ้ เอียงลาดเป็นรูปโคง้ พาลาโบล่า open channel ogee weir ทางน้ำเปิด : ทางน้ำซึ่งผิวน้ำสัมผัสกับบรรยากาศ หรือท่อน้ำท่ีมีน้ำไหลไม่ เต็มทอ่ operating platform สะพานโครงยก : พ้ืนโครงยกสำหรับติดต้ังอปุ กรณค์ วบคมุ การเปดิ -ปิดบาน opisometer โอปีโซมิเตอร์ : เคร่ืองวัดระยะบนแผนที่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวงล้อ รูปฟันปลาขนาดเล็กเช่ือมติดอยู่กับหน้าปัดท่ีมีขีดแบ่งส่วน จะทราบระยะทางได้ โดยการหมุนวงล้อไปตามแนวท่ตี ้องการทราบ เชน่ แนวถนน ทางรถไฟ ทางน้ำ (พจนานุกรมศัพทภ์ ูมศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) optimum consumptive use ปรมิ าณการใช้น้ำเหมาะสม : ปรมิ าณการใช้นำ้ ของพชื ซง่ึ ใหผ้ ลผลิตสงู สดุ optimum moisture ความชืน้ เหมาะสม : 1. ปริมาณความช้ืนในดินที่ทำให้พืชเจริญงอกงามได้ดที ่สี ดุ 2. ปริมาณความชน้ื ในดินท่ที ำใหส้ ามารถบดอดั ดนิ ได้แนน่ มากทส่ี ดุ 159

O organic soil organic soil ดินอินทรีย์ : ดินท่ีมีอินทรียวัตถุเป็นองค์ประกอบอยู่ในปริมาณมาก โดยปกติ จะมีคาร์บอนอินทรีย์มากกว่า 200 กรัมต่อกิโลกรัมของดิน (พจนานุกรมศัพท์ ธรณวี ิทยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2544) orifice ออริฟิซ : ช่องเปิดท่ีมีขอบโดยรอบ ทำไว้บนแผ่นผนังส่วนใดส่วนหนึ่งของ เคร่ืองมือหรืออาคารทางชลศาสตร์เพื่อให้น้ำไหลผ่าน ตามปกติจะมีขอบของช่อง บางหรอื คม โดยทั่วไปใชเ้ พื่อจุดประสงคใ์ นการวัดนำ้ หรอื ควบคมุ ปริมาณนำ้ orifice meter เครื่องวัดอัตราการไหลแบบออริฟิซ : เคร่ืองวัดอัตราการไหลโดยอาศัยค่า ความดนั นำ้ ทีล่ ดลงเมือ่ ผา่ นชอ่ งเปดิ มาประกอบการคำนวณหาอัตราการไหล origin (of a grid) จดุ เรมิ่ ต้นกริด : จุดจุดหน่งึ ซ่งึ กำหนดขนึ้ เพอ่ื ใช้เป็นจุดเริ่มตน้ ของการนบั ระบบ กริด จุดน้ีคือจุดตัดของเส้นตรงท่ีลากตั้งฉากกับเมริเดียนกลาง (จุดเริ่มต้นจริง) เพ่ือหลีกเลี่ยงค่าลบ จึงย้ายจุดเร่ิมต้นกริดนี้ออกไปนอกเขตกริดทางตะวันตกและ ทางใต้ (พจนานกุ รมศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) orographic rain ฝนเกดิ จากลมปะทะภเู ขา : ฝนทเี่ กดิ จากมวลของอากาศทม่ี คี วามชนื้ เคลอื่ นตวั เข้าปะทะภเู ขา เทือกเขา ทำให้เกิดเป็นฝนทางดา้ นรบั ลม หรอื ดา้ นหนา้ เขา orography ภูมิประเทศศึกษา : แขนงหนึ่งของวิชาภูมิศาสตร์กายภาพที่ศึกษาเกี่ยวกับ ความสูงต่ำของพื้นผิวโลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงการศึกษาในด้านลักษณะของภูเขา และระบบเทือกเขา (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) 160

O osmotic pressure orthographic projection เส้นโครงแผนท่ีแบบออร์โทกราฟิก : เส้นโครงแผนท่ีชนิดหน่ึงซ่ึงเกิดจาก การสมมติว่า ฉายแสงเป็นเส้นตรงผ่านลูกโลกมายังแผ่นราบท่ีสัมผัสบริเวณ ข้ัวโลก บริเวณศูนย์สูตร หรือเหนือพื้นผิวโลกบริเวณใดบริเวณหน่ึง ทำให้ สามารถแสดงแผนท่ีได้เพียงครึ่งหนึ่งของโลกเท่าน้ัน มาตราส่วนของแผนที่ ท่ีประกอบบนเส้นโครงแผนท่ีแบบออร์โทกราฟิกนี้จะถูกต้องมากท่ีสุดบริเวณที่ แผ่นราบสัมผัสผิวโลก ค่าความผิดพลาดจะเพิ่มมากข้ึนเมื่อห่างจากจุดสัมผัส ออกไป เส้นโครงแผนที่นี้นิยมใช้ทำแผนที่โลก (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) orthomorphic projection เส้นโครงแผนที่คงรูป : เส้นโครงแผนท่ีประเภทหน่ึงท่ีสามารถรักษารูปร่าง ของพื้นที่จริงบริเวณเล็กๆ ไว้ มีคุณสมบัติด้านมาตราส่วนถูกต้องทุกทิศทางและ รอบตำแหน่งท่ีมีค่าจริง ตัวอย่างเส้นโครงแผนที่คงรูป ได้แก่ เส้นโครงแผนที่ แบบเมอร์เคเตอร์ (Mercator projection) เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ เฉียงฉาก (transverse Mercator projection) เส้นโครงแผนท่ีคงรูปของ แลมเบิร์ต (Lambert’s conformal projection) และเส้นโครงแผนท่ีแบบ สเตริโอกราฟิก (stereographic projection) เส้นโครงแผนที่ประเภทน้ีเรียก อีกอย่างหน่ึงว่า conformal projection (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) osmosis ออสโมซิส : การแพร่กระจายของของเหลวหรือสารละลายท่ีมีความเข้มข้น สูงกว่า ผ่านเยื่อกึ่งทึบไปยังของของเหลวหรือสารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า จนกระทัง่ ความเขม้ ข้นทั้งสองด้านเท่ากัน osmotic pressure แรงดูดซึม : แรงดันท่ีทำให้ของเหลวหรือสารละลายท่ีมีความเข้มข้นน้อยกว่า ไปส่ขู องเหลวหรอื สารละลายท่มี คี วามเข้มขน้ มากกวา่ โดยไหลผา่ นเยือ่ ก่ึงทบึ 161

O outlet outlet ช่องทางออก : 1. ชอ่ งเปดิ ใหน้ ำ้ ไหลออกจากคลอง หรือท่อ 2. อาคารระบายน้ำออกจากอ่างเก็บน้ำ outlet transition สว่ นเชอ่ื มทางออก : สว่ นเชอื่ มตอ่ ทมี่ กี ารเปลยี่ นขนาดหรอื รปู รา่ งอยดู่ า้ นทา้ ยนำ้ ของอาคารชลประทาน outlet works อาคารสง่ นำ้ จากเข่อื น : อาคารท่อลอดท่ที ำหนา้ ทีจ่ า่ ยนำ้ ออกจากเขอื่ นกักเก็บ นำ้ สทู่ า้ ยนำ้ outline map แผนท่ีเค้าโครง : แผนท่ีซ่ึงแสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์เพียงบางอย่าง และ สามารถเพิ่มเติมรายละเอียดได้ โดยปกติจะแสดงข้อมูลเพียงเส้นขอบชายฝ่ัง แม่น้ำสายสำคัญ เส้นแบ่งเขตการปกครอง และที่ตั้งของเมืองใหญ่ ในปัจจุบัน หมายถึง แผนท่ีมูลฐานน่นั เอง (พจนานุกรมศัพทภ์ ูมศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑิตย- สถาน ปี 2549) overchute รางน้ำข้ามคลอง : อาคารรูปรางน้ำท่ีสร้างไว้เหนือคลอง เพื่อให้น้ำไหล ขา้ มคลอง overflow spillway อาคารระบายนำ้ ลน้ ชนดิ นำ้ ไหลขา้ ม : อาคารระบายนำ้ ลน้ ชนดิ หนงึ่ ออกแบบ ไว้ให้น้ำไหลผ่านข้ามสันไปได้ เพื่อระบายน้ำเม่ือเกินความต้องการ มักใช้ ประกอบกบั เขื่อนกักเก็บนำ้ 162

O overland runoff overhead irrigation ชลประทานฉีดฝอย : วิธีการให้น้ำแก่พืชโดยการฉีดเป็นฝอยเหนือพื้นท่ ี เพาะปลูก โดยใชห้ ัวฉดี หรอื ทอ่ เจาะรู หรือเคร่อื งพน่ นำ้ เรยี กอีกอยา่ งวา่ spray irrigation หรือ sprinkler irrigation overland runoff น้ำท่าผิวดิน : ส่วนของน้ำฝนที่ตกลงมาเหนือพื้นที่รับน้ำฝนแล้วไหลบ่าบน ผิวดินไปลงลำนำ้ เรยี กอีกอย่างวา่ surface runoff 163





P pan coefficient pan coefficient สัมประสิทธ์ิของถาดวัดการระเหย : อัตราส่วนระหว่างการใช้น้ำของพืช Parตs่อhกaาlรlระfเlหuยmของeน้ำ จากถาดวัดการระเหย รางพาร์แชล : เคร่ืองมือวัดน้ำที่ใช้หลักการสูญเสียของระดับน้ำ เน่ืองจากการ บบี ทางนำ้ ใหไ้ หลผ่านชอ่ งแคบ ประกอบด้วยสว่ นสำคัญ 3 ส่วนคอื สว่ นทางเข้า parสti่วaนlชอ่ cงuแคtoบตffรงtกrลeางnแcลhะ สว่ นทางออก ร่องแกนทึบนำ้ แบบบางส่วน : รอ่ งแกนใต้ฐานเข่ือนหรอื อาคารอื่นๆ ท่ไี มไ่ ด้ peaขkดุ จfนloถึงoชd้นั ทบึ นำ้ แลว้ ใส่วสั ดุทึบน้ำแทน เพือ่ ลดการซึมผ่านของนำ้ ใต้ฐาน ยอดน้ำท่วม : ค่าระดับนำ้ สงู สุดหรืออตั ราการไหลสงู สดุ ซึง่ มขี ึ้นในระยะเวลาที่ peaเkกดิ iนn้ำfทlว่oมwแต ่ละครั้ง pebกbาlรeไ หลเขา้ สงู สดุ : อัตราการไหลสงู สุดทไ่ี หลเขา้ ส่อู า่ งเก็บนำ้ ในช่วงน้ำหลาก กรวดกลาง : ตะกอนท่มี ีเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 4 - 64 มิลลิเมตร มีขนาดใหญก่ วา่ กรวดเล็ก แต่เล็กกว่ากรวดใหญ่ ลักษณะมนกลมเน่ืองมาจากการเสียดสี ครูดถู ขณะถูกพัดพาหรอื นำพาไปจากแหลง่ กำเนิดโดยน้ำ ลม หรือธารน้ำแขง็ เปน็ ตน้ pen(sพtจoนcาkน ุกรมศัพทธ์ รณีวทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2544) ทอ่ นำนำ้ เขา้ เครอื่ งกงั หนั นำ้ : ทอ่ สำหรบั สง่ นำ้ ภายใตค้ วามดนั เขา้ ไปขบั เคลอ่ื น percเคhรe่ืองdกังwหนั aนtำ้e r table ระดับน้ำใต้ดินชั้นบน : ระดับน้ำใต้ดินส่วนที่แยกอยู่ต่างหากและอยู่สูงกว่า ระดบั นำ้ ใตด้ นิ ทวั่ ไปในบรเิ วณนนั้ เนอื่ งจากมชี น้ั หนิ เนอื้ ตนั รองรบั อยู่ (พจนานกุ รม ศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) 166

P permeability percolation percกoารlaซมึtiผoา่ nนดtินyอpิม่ eตัวly:sกimารไeหtลeซrมึ ของน้ำในชน้ั ดนิ ทีอ่ มิ่ ตวั ถังวัดการใช้น้ำแบบระบายน้ำ : ถังวัดการใช้น้ำของพืชโดยอาศัยความ แตกต่างระหว่างปริมาณน้ำท่ีเติมเข้าไปและปริมาณน้ำส่วนเกินที่ระบายออกท ่ี กน้ ถังตั้งแต่เรม่ิ จนกระทั่งสิน้ สุดการตรวจวัด ปรมิ าณน้ำทีเ่ ตมิ ในแตล่ ะครั้งจะตอ้ ง มีมากเกินพอที่จะทำให้น้ำส่วนท่ีดินไม่สามารถดูดซับไว้ได้ระบายออก เพ่ือทำให้ pereดnินมnีคiวaาlมชsื้นtrทeีร่ ะaดmับค วามช้ืนชลประทาน (field capacity) เสมอ ธารน้ำไหลตลอดปี : ลำธารท่ีมีน้ำไหลตลอดปี (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา periฉoบdับรoาชfบณัcoฑnติ ยcสeถnาtนrปaีt2i5o4n4 ) ระยะเวลาน้ำไหลรวม : เวลาท่ีน้ำใช้ในการไหลจากจุดท่ีไกลที่สุดของลุ่มน้ำ permถงึ จaุดnอeอกnลtมุ่ นwำ้ ilเรtยีinกอgีกอpยoา่ งinหนt ง่ึ ว่า time of concentration จุดเหี่ยวเฉาถาวร : ปริมาณความชนื้ ในดิน ที่พชื ไมส่ ามารถดูดมาใชไ้ ด้ ทำให้ พชื เห่ยี วเฉาอย่างถาวร หรอื คอื ปรมิ าณน้ำที่อนภุ าคดนิ ดดู ซบั ไว้ด้วยแรงดึงดูด 15 permบรรeยaาbกาilศi ty ความสามารถในการซมึ ผา่ น : 1. คณุ สมบตั ิของวัสดทุ ่ียอมใหน้ ้ำซึมผ่านได้เมอื่ วสั ดุนั้นอ่มิ ตัว 2. ตัวชบี้ อกถงึ ความสามารถในการระบายน้ำของดิน 3. คุณสมบัตขิ องดนิ หรอื ตัวกลางพรนุ อื่นๆ ในส่วนท่ีแสดงอัตราการไหลผ่านของ ของเหลวหรือแก๊สภายใต้ความดนั 167

P pervious blanket pervious blanket ผนื กรองน้ำทางราบ : ผืนวสั ดุกรองท่ีติดตงั้ อยู่ทร่ี ะดับฐานรากในแนวราบ เพือ่ ระบายน้ำจากตัวเขื่อนและฐานรากไปสู่ท้ายน้ำของเขื่อนดิน ให้น้ำไหลผ่านไปได้ โดยไม่ทำให้เกิดความเสียหายเน่ืองจากเม็ดดินไหลออกจากฐานราก เรียกอีก phrอeยaา่ tงiวcา่ dwraaintaegre filter หรือ horizontal drainage blanket น้ำบาดาลไม่มีแรงดัน : น้ำบาดาลที่เกิดอยู่ในส่วนบนสุดของเขตอิ่มน้ำ และ phyสsมั icผสัaกlบั mเขตoอdิ่มeอาlก าศ ทำให้นำ้ บาดาลชั้นดงั กลา่ วไม่มแี รงดัน แบบจำลองกายภาพ : แบบจำลองที่สร้างข้ึนเพื่อเลียนแบบคุณสมบัติทาง pierก ายภาพและพฤตกิ รรมของต้นแบบ ตอม่อ : แท่งหรือกำแพงท่ีทำด้วยหินก่อหรือคอนกรีตเสริมเหล็กสร้างอยู่ใน ทางน้ำ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแบ่งทางน้ำออกเป็นช่องๆ และ/หรือรับน้ำหนักใน piezแoนmวดeง่ิ ขtอeงrอ าคารต่างๆ เชน่ สะพาน พิโซมิเตอร์ : เครื่องมือวัดแรงดันท่ีเกิดจากน้ำไหลในท่อ ในบ่อสังเกตการณ์ หรือทางน้ำเปิด มีลักษณะเป็นท่อต่อเชื่อมกับจุดท่ีต้องการวัด ปลายท่ออีกด้าน ต่อเข้ากับเคร่ืองวัดความดันชนิดบรรจุปรอทหรือน้ำ หรือเครื่องมือที่เหมาะสม pipeอน่ื dๆr op อาคารน้ำตกแบบท่อ : อาคารลดระดับน้ำทำด้วยท่อ มีวิธีสลายพลังงาน pipiโnดยgก ารทำใหเ้ กดิ น้ำโจน (hydraulic jump) ภายในท่อ การเกิดโพรงทอ่ : การกดั เซาะเปน็ รหู รือโพรงคลา้ ยทอ่ อนั เนื่องจากนำ้ ไหลซึม ผ่านหรือลอดใต้อาคารชลศาสตร์ หรือทำนบดินภายใต้แรงดันแล้วพาเม็ดดิน ออกไป 168

P point of concentration pitching การถมหิน : การป้องกันคลองหรือลำน้ำธรรมชาติโดยการวางหินใหญ่ หรือ แท่งคอนกรีต ท่ีท้องน้ำหรือข้างตลิ่ง plane table โต๊ะสำรวจ : อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเขียนเส้นสำรวจ ซ่ึงกระทำได้โดยตรงในทันที ขณะทำงานสำรวจทำแผนที่ ประกอบดว้ ยแผ่นรองเขยี นทม่ี ีสามขากับบรรทดั เล็ง planimeter เคร่อื งมอื วดั พน้ื ที่ : เคร่อื งมือสำหรบั วัดพ้นื ทบ่ี นแผ่นภาพ เชน่ แผนท่ี แผนผงั แบบ หรือภาพถา่ ย ท่ีมรี ปู ร่างต่างๆ โดยการลากไปตามเส้นขอบเขตของพน้ื ที ่ plank แผ่นกั้นน้ำ : แผงไม้ แผ่นคอนกรีต หรือแผ่นเหล็ก ใช้สำหรับปิดก้ันน้ำใน อาคารชลประทาน plastic limit ขีดจำกัดพลาสติก : ปริมาณน้ำในดินท่ีจุดซ่ึงดินเริ่มเปล่ียนสภาพจากสภาพ เหนียว (พลาสติก) กลายเป็นวัสดุกึ่งแข็ง หรือปริมาณน้ำท่ีน้อยที่สุดในดินท่ี ทำให้ดินสามารถถูกคลึงเป็นเส้นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.2 มิลลิเมตร (1/8 น้ิว) ได้โดยไม่เกิดรอยแตกท่ีผิว โดยคิดเป็นปริมาณร้อยละของน้ำในดิน เปน็ ขอ้ กำหนดในจดุ แบง่ สถานภาพของดนิ (Atterberg’s limits) point gauge เครอื่ งวดั ระดบั นำ้ แบบเขม็ : เครอ่ื งวดั ระดบั ผวิ นำ้ ทเี่ ปน็ แทง่ เหลก็ ปลายแหลม ท่ีปรบั ระดบั ได้ โดยมเี วอเนยี รส์ เกลอยดู่ ้วย point of concentration จุดออกลุ่มน้ำ : จุดท่ีน้ำจากส่วนต่างๆ ในลุ่มน้ำไหลมารวมกันแล้วไหลออก จากลมุ่ นำ้ 169

P polder polder พื้นที่ปิดล้อม : พื้นท่ีลุ่มต่ำซึ่งได้ปรับปรุงไม่ให้น้ำท่วม โดยการสร้างคันก้ันน้ำ ล้อมรอบพน้ื ท่นี ้นั ไว ้ ponding : การกกั น้ำในทางน้ำไวช้ ว่ั คราวเพอื่ นำมาใช้ประโยชน์ ponding method : การตรวจวัดการรั่วซึมของน้ำในคลองชลประทานโดยการปิดก้ัน คลองด้วยทำนบท้งั สองขา้ ง ทำใหเ้ ปน็ บ่ออยูต่ รงกลาง pore pressure ความดนั นำ้ ระหว่างเมด็ ดนิ : ความดันของนำ้ ในชอ่ งว่างของมวลดนิ เรยี กอีก อยา่ งวา่ pore water pressure pore space ช่องว่างระหวา่ งเมด็ ดิน : ที่วา่ งในมวลดนิ ท่มี ีอากาศหรอื ของเหลวแทรกอย ู่ porosity ความพรุน : ค่าอัตราส่วน ร้อยละระหว่างปริมาตรของ ช่องว่างระหว่างเม็ดดินต่อ ปริมาตรของก้อนดนิ ท้งั หมด potential energy พลังงานศักย์ : พลังงาน ทสี่ ะสมอยใู่ นของเหลวตอ่ หนงึ่ หน่วยน้ำหนัก ณ ตำแหน่ง ท่ีอยู่ เท่ากับมวลคูณด้วย อัตราเร่งแรงโน้มถ่วงของโลก คณู ดว้ ยความสงู ของของเหลว จากระดับอ้างองิ 170

P pressure head potential evapotranspiration ศักย์การคายระเหย : การคายระเหยของพืชชนิดท่ีกำหนด ภายใต้สภาพ ภมู ิอากาศทีก่ ำหนด ในสภาวะท่ีมีปรมิ าณนำ้ มากพอ pre-feasibility study การศึกษาความเหมาะสมเบ้ืองต้น : การศึกษาวางแผนพัฒนาโครงการที่ เน้นรายละเอยี ดทางดา้ นวศิ วกรรมมากขึ้นกวา่ การศึกษาโครงการเบื้องตน้ มกี าร วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลทีไ่ ด้จากการศกึ ษา หากเป็นโครงการขนาดใหญ่ จะดำเนินการศึกษาในระดบั การศึกษาความเหมาะสม หรือนำข้อมูลท่ีได้ไปศึกษาแผนพัฒนาลุ่มน้ำ สำหรับ กรมชลประทาน เรียกวา่ การศึกษาวางโครงการ precipitation หยาดน้ำฟ้า : คำรวมของน้ำในบรรยากาศท่ีตกลงมาสู่พื้นผิวโลกในรูปต่างๆ ได้แก่ ฝน ฝนละออง ฝนน้ำแข็ง ลูกเห็บ หิมะ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) preliminary study การศึกษาแนวทางพัฒนาลุ่มน้ำ : การศึกษาพัฒนาลุ่มน้ำโดยใช้ข้อมูล ที่ละเอียดข้ึนจากการศึกษาโครงการเบ้ืองต้น รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษาด้วย ผลการศึกษานี้นำไปสู่การศึกษาวาง โครงการ หรือการศึกษาแผนพัฒนาลมุ่ น้ำในลำดับต่อไป pressure cell เครื่องมือวัดแรงดันดิน : เครื่องมือท่ีใช้วัดแรงดันดินในทิศทางต่างๆ ใน ระหวา่ งการกอ่ สรา้ งเข่อื นดนิ เรียกอีกอย่างว่า earth pressure cell pressure head เฮดความดนั : ความดันของของเหลว ทรี่ ะบุเปน็ ความสูงของของเหลว 171

P pressure relief valve pressure relief valve ลนิ้ ลดความดัน, ประตนู ้ำลดความดัน : 1. ประตูน้ำหรือล้ินซ่ึงจะเปิดออกเม่ือความดันภายในท่อสูงกว่าที่กำหนดไว้ เพ่ือ ระบายนำ้ ในทอ่ ทิง้ ไป ทำให้ความดนั ลดลง 2. อุปกรณ์ลดแรงดันน้ำภายในดินใต้แผ่นคอนกรีตดาดคลอง เรียกอีกอย่างว่า weeps pressure relief well บอ่ ลดแรงดนั : บ่อรูปทรงกระบอกติดตงั้ ไว้ทา้ ยเข่อื น เพ่ือลดแรงดันขนึ้ ของน้ำ (uplift pressure) ในเขอ่ื นดนิ ใหน้ อ้ ยลง หรอื หมดไป เรยี กอกี อยา่ งวา่ relief well preventive maintenance การบำรุงรักษาแบบป้องกัน : กิจกรรมการบำรุงรักษาเพื่อป้องกันการเกิด ความเสียหาย หรือป้องกันการลุกลามของความเสียหาย เช่น การอุดโพรงดิน หลังคอนกรีตดาดคลอง primary canal คลองส่งน้ำสายใหญ่, คลองส่งน้ำสายหลัก : คลองท่ีแยกจากแม่น้ำหรือ หวั งาน เพื่อรับนำ้ เข้าไปในเขตโครงการชลประทาน priming การล่อน้ำ : 1. การดูดอากาศหรือไล่อากาศออก ทำให้ความดันภายในห้องสูบต่ำกว่า ความดันในบรรยากาศ ทำให้น้ำในท่อดูดไหลเข้าสู่ห้องสูบและใบพัด เพ่ือให ้ เครอื่ งสูบนำ้ แบบหอยโขง่ ทำงานได้ 2. การเริ่มปล่อยน้ำเข้าคลอง แล้วค่อยๆ เพิ่มปริมาณไปจนถึงความจุท่ีได้ ออกแบบไว้ หรอื ตามท่ตี ้องการ 172

P pump irrigation area probable maximum flood (P.M.F) ปริมาณน้ำหลากสูงสุดท่ีอาจเกิดข้ึนได้ : ปริมาณน้ำหลากสูงสุดท่ีมีโอกาส เกิดขึ้นได้ ในลำน้ำสายหน่ึง ณ จุดท่ีกำหนด โดยพิจารณาจากสภาพ อตุ นุ ยิ มวทิ ยา และชลศาสตร์ เรยี กอกี อย่างวา่ maximum probable flood probable maximum precipitation (P.M.P) ปริมาณฝนสูงสุดท่ีอาจเกิดข้ึนได้ : ปริมาณฝนสูงสุดที่มีโอกาสเกิดข้ึนได้ หาได้จากการประเมินทางทฤษฎี โดยอาศัยค่าสูงสุดของปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง เช่น ปริมาณความชื้น ปริมาณฝน ความเร็วลม และการกระจายตัวของฝนในพื้นท่ี เรียกอีกอยา่ งวา่ maximum probable precipitation หรอื maximum probable rainfall project area พ้ืนท่ีโครงการ : พื้นท่ีโครงการทั้งหมด ได้แก่ พื้นท่ีที่สามารถส่งน้ำได้ พ้ืนที ่ ท่ีไม่สามารถส่งน้ำได้ พื้นท่ีในส่วนที่เป็นท่ีอยู่อาศัย รวมทั้งพ้ืนที่ของคลองส่งน้ำ คลองระบายนำ้ และคูส่งน้ำด้วย protective filter ช้ันกรองกลับทาง : ชั้นของวัสดุที่น้ำซึมผ่านได้ จัดวางเป็นชั้นคละขนาด เพื่อ ปอ้ งกนั เมด็ ดินไหลออกมากบั นำ้ เรียกอีกอยา่ งว่า inverted filter public participation การมสี ่วนร่วมของประชาชน : ความรว่ มมือจากเกษตรกรผู้ใช้น้ำในเร่อื งการ จดั การนำ้ ชลประทาน โดยใหเ้ กษตรกรไดร้ บั ทราบและมสี ว่ นรว่ ม เสนอความเหน็ ตงั้ แตร่ ะยะวางแผน ระหว่างกอ่ สร้าง และหลังกอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ pump irrigation area พื้นทีช่ ลประทานสบู น้ำ : พน้ื ท่ีเพาะปลกู ที่มรี ะดับสูงกวา่ ระดับแหลง่ น้ำตน้ ทุน ทำให้ไม่สามารถส่งน้ำโดยใช้แรงโน้มถ่วงตามปกติได้ จึงต้องใช้เคร่ืองสูบน้ำ หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ ยกระดับน้ำข้ึนตามความต้องการเพื่อส่งไปให้กับพื้นท่ีนั้น เรยี กอีกอยา่ งวา่ lift irrigation area 173





Q quaternary canal quaternary canal คูส่งน้ำ : คูน้ำที่รับน้ำจากคลองแยกซอย (tertiary canal) เพื่อส่งเข้าแปลง เพาะปลกู หรือสง่ ให้ระบบสง่ น้ำในแปลงนา quicklime ปูนดิบ : สารประกอบแคลเซียมออกไซด์ ได้จากการเผาหินที่มีองค์ประกอบ หลกั เปน็ แคลเซียมคารบ์ อร์เนต quicksand บอ่ ทรายดดู : 1. บริเวณทรายละเอียด ร่วนซุย และโชกน้ำ มีลักษณะไม่อยู่ตัว เมื่อมีของหนัก กดทับ ของนั้นจะจมลงไปได้ง่ายเกือบคล้ายจมน้ำ มักพบตามริมฝั่งทะเล ริมฝั่งแม่น้ำ และบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นทรายบางแห่ง (พจนานุกรมศัพท ์ ภมู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) 2. สภาพของพื้นดินท่ีเป็นทรายละเอียดอ่ิมตัวด้วยน้ำ มีสภาพเป็นของไหล ถูกทำให้ลอยตวั ขน้ึ ด้วยแรงดนั น้ำดา้ นล่าง 176



R radial flow pump radial flow pump เคร่ืองสูบน้ำแบบไหลวน : เครื่องสูบน้ำชนิดที่มีทิศทางการไหลของน้ำเข้าสู่ ศูนย์กลางของใบพัดในแนวขนานกับเพลา และไหลออกจากใบพัดในทิศทางท่ี ตั้งฉากกับการไหลเข้า radial gate บานโค้ง : บานบังคับน้ำชนิดที่มี ตัวบานเป็นรูปโค้ง ส่วนโค้งของบาน จะเป็นส่วนโค้งของวงกลมท่ีมีจุดหมุน ของบานอยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม น้ัน เรียกอีกอย่างว่า Tainter gate เพ่ือเป็นเกียรติแก่ Burnham Tainter ผคู้ ิดประดษิ ฐ์บานชนดิ น้ ี radial-gate spillway อาคารทางระบายน้ำล้นแบบบานโค้ง : อาคารทางระบายน้ำล้นที่มีการ ควบคุมปริมาณน้ำ และระดับนำ้ ด้วยบานท่ีเป็นรูปโคง้ rain gauge เครื่องวดั ฝน, ถังวดั ฝน : เครื่องมอื วดั ปริมาณฝน ลกั ษณะเป็นถงั ทรงกระบอก ประกอบด้วยถังสองช้ัน ปากด้านในของถังใบนอกทำเป็นกรวยให้น้ำฝนไหลลง ถังช้ันในซ่ึงเป็นท่ีรองรับน้ำฝนท่ีจะนำไปวัดออกมาเป็นความสูง คิดเป็น มิลลิเมตรหรือนิ้ว มาตรฐานปากถังใบนอกมักมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12.5 เซนติเมตร (5 น้ิว) หรือ 20 เซนติเมตร (8 น้ิว) และต้ังถังให้ก้นกระบอก สูงข้ึนจากพื้น 30 เซนติเมตร (12 น้ิว) (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) 178

R rainfall-runoff model rain recording gauge เครื่องวัดน้ำฝนแบบอัตโนมัติ : เคร่ืองวัดน้ำฝนชนิดหนึ่งท่ีสามารถบันทึก ข้อมูลโดยอัตโนมัติในรูปของกราฟหรือหน่วยความจำอิเล็กทรอนิกส์ แสดงผล rainในsรtูปoขrองmปร มิ าณฝนสะสมกับเวลา rainพfาaยlฝุl น : พายุท่มี ฝี นตกด้วย ปรมิ าณฝน : ปริมาตรของนำ้ ฝนท่ีตกลงสผู่ วิ โลก ณ พ้ืนทที่ ี่กำหนด แสดงเป็น rainคfวaามllลึกeขxอcงนeำ้ssมีห น่วยเป็นความสงู เช่น มิลลเิ มตรหรอื นิ้ว ส่วนเกินน้ำฝน : ปริมาณฝนส่วนที่กลายเป็นน้ำท่าจริง เรียกอีกอย่างว่า net rainrafianflalll intensity ความเขม้ ฝน : อัตราท่ีฝนตกลงมาถงึ พื้นโลก โดยพจิ ารณาจากปรมิ าณของฝน ต่อหนึ่งหน่วยเวลา เช่น มิลลิเมตรต่อช่ัวโมงหรือมิลลิเมตรต่อ 24 ช่ัวโมง rainเรfียaกlอlกี iอnยtา่ eงวn่าsiinttyen-saityroefaracinufarllv e โค้งความเขม้ ฝน - พน้ื ที่ : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเขม้ ฝนกับ rainขfนaาlดlพiืน้ nทtี่ทeฝ่ี nนsตiกt y-duration curve โค้งความเข้มฝน-ช่วงเวลา : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม ของฝนกับช่วงระยะเวลาที่ฝนตก เพื่อศึกษาพฤติกรรมของพ้ืนที่ขนาดเล็กท่ีมีต่อ rainฝfนaทlีต่l-ก rสuำหnรoบั fกfารmออoกแdบeบl อาคารชลศาสตรข์ นาดเล็ก แบบจำลองน้ำฝน-น้ำท่า : แบบจำลองสำหรับการวิเคราะห์น้ำท่า โดยอาศัย ความสมั พนั ธ์ของนำ้ ฝนกับการระเหย 179

R random drainage system random drainage system ระบบระบายส่มุ : ระบบระบายนำ้ ซ่งึ มี ร่องระบายคดเค้ียวไปตามลาดธรรมชาติ ของพนื้ ท่ ี random fill ส่วนวัสดุถมสุ่ม : ส่วนของคันดินหรือ เข่ือนดินที่ถมด้วยวัสดุที่มีคุณสมบัติ ไม่เป็นเอกภาพนัก บดอัดให้มีความ แน่นตามทีก่ ำหนด random drainage system rapid flow การไหลเหนือวิกฤต : การไหลที่มีความเร็วสูงกว่าความเร็ววิกฤต เรียกอีก อยา่ งว่า super-critical flow หรอื shooting flow rapidly varied flow การไหลแบบเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ : การไหลซ่งึ มีความลกึ ของการไหล เปลย่ี นแปลงทันทที นั ใดตามความยาวของทางนำ้ rate of advance อัตราการหลาก : ระยะทางต่อเวลาที่น้ำไหลจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่ึง ท่ีกำหนดไว้ในร่องหรือแปลงท่ีมีการให้น้ำ ส่วนใหญ่จะคำนวณได้จากขั้นตอน การศกึ ษาหาระยะทางนำ้ ไหล (length of run) ในแปลงเพาะปลูก rate of flow อัตราการไหล : ปริมาณน้ำท่ีไหลผ่านพ้ืนท่ีหน้าตัดหน่ึงที่กำหนดของทางน้ำ ในหน่ึงหน่วยเวลา เรยี กอีกอยา่ งวา่ discharge rating curve โค้งอัตราการไหล : เส้นโค้งหรือตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำ ทีไ่ หลผา่ นอาคารชลศาสตรห์ รือทางน้ำ กบั ระดบั น้ำ 180

R reciprocation pump reach ช่วง : 1. ชว่ งลำน้ำที่มแี นวตรงเป็นระยะทางยาว 2. ช่วงของลำนำ้ ระหวา่ งสถานวี ัดนำ้ สองแห่ง 3. ชว่ งคลองทมี่ สี ภาพทางชลศาสตรเ์ หมอื นกนั real time forecasting การพยากรณ์ ณ เวลาจริง : การคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นโดยใช้แบบจำลอง ทางคณติ ศาสตร์ หรอื แบบจำลองอ่นื โดยใชข้ ้อมูลต่างๆ จากเหตกุ ารณจ์ รงิ recession curve กราฟน้ำแห้ง : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา (นับตั้งแต่เร่ิมปิดการ ให้น้ำ) กับระยะทาง (นับจากหัวแปลง) ของจุดที่น้ำเริ่มเหือดหายไปจากผิวดิน ของแปลงทีก่ ำลังทำการใหน้ ำ้ recession phase ช่วงน้ำแห้ง : ช่วงเวลาหลงั หยุดการใหน้ ้ำในแปลงเพาะปลูก นบั ตั้งแตเ่ วลาทน่ี ้ำ ทห่ี วั แปลงเริม่ แห้ง จนกระทั่งถงึ เวลาทนี่ ้ำทท่ี า้ ยแปลงเหอื ดหายจากผวิ ดนิ recharge basin ลุ่มเติมน้ำ : พ้ืนที่รับน้ำท่ีไหลบ่ามาในขณะฝนตก และยอมให้น้ำไหลลงสู่ช้ัน นำ้ ใตด้ นิ ได้ โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือเพม่ิ ปรมิ าณนำ้ ใตด้ ิน recharge well บอ่ เติมน้ำ : บอ่ ท่ีขุดขึ้นเพื่อใหน้ ้ำผิวดินไหลเขา้ ไปสู่ช้ันหนิ อมุ้ นำ้ (aquifer) โดย มจี ดุ ประสงค์เพอ่ื เพิ่มปริมาณน้ำในช้ันหนิ อมุ้ น้ำ เรยี กอีกอย่างว่า diffusion well หรอื inverted well reciprocation pump เคร่ืองสูบน้ำลูกสูบชัก : เคร่ืองสูบน้ำชนิดที่เพิ่มพลังงานให้แก่น้ำ โดยการ เคล่ือนทข่ี องลกู สูบในแนวราบ เพือ่ อัดนำ้ ในกระบอกสบู ออกสูท่ างจ่าย 181

R reclamation reclamation การฟ้ืนสภาพท่ีดิน, การแปรสภาพที่ดิน : การปรับปรุงที่ดินซ่ึงเสื่อมโทรม รวมท้ังการแปรสภาพพื้นที่ท่ีใช้ประโยชน์ไม่ได้ ให้สามารถทำการเกษตร หรือ เพ่ือเพ่มิ คุณค่าการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ให้มากขึ้น เช่น การแก้ไขพน้ื ท่ีดินเปร้ียวด้วย การส่งน้ำเข้าไปล้างดิน การจัดระบบการระบายน้ำ การทำพ้ืนที่ดินท่ีอยู่ต่ำกว่า ระดับน้ำทะเล หรือระดับน้ำในแม่น้ำท่ีใกล้เคียง ให้เป็นพื้นที่เพาะปลูกหรือใช้ ประโยชน์อย่างอื่นได้ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) reconnaissance study การศกึ ษาโครงการเบอ้ื งตน้ : การศกึ ษาเพอื่ ตรวจสอบความเปน็ ไปไดเ้ บอื้ งตน้ ทางวิศวกรรมของโครงการ กำหนดขอบเขตการสำรวจด้านต่างๆ เพ่ือใช้เป็น ข้อมูลในการศึกษาวางโครงการ หรอื การศกึ ษาแนวทางพฒั นาลุม่ น้ำ rectangular weir ฝายสี่เหล่ียมผืนผ้า : ฝายวัดน้ำสันคมซึ่งมีช่องให้น้ำผ่านที่สันฝายเป็นรูป สี่เหลย่ี มผืนผ้า recurrence interval รอบการเกิดซ้ำ : ค่าเฉล่ียของช่วงเวลาระหว่างการเกิดปรากฏการณ์ทาง อุทกวิทยา (ที่มีขนาดหรือความรุนแรงเท่ากันหรือมากกว่า) สองครั้ง มีหน่วย เวลาเป็นปี ตัวอย่างเช่น recurrence interval 100 ปี ของเหตุการณ์น้ำท่วม หมายความวา่ เหตุการณน์ ำ้ ท่วมทมี่ ีความรุนแรงเทา่ กบั หรือมากกว่าท่เี กดิ ในปนี ้ี ได้รับการคาดหมายว่าจะเกิดข้ึนอีกคร้ังในช่วง 100 ปีข้างหน้า เรียกอีกอย่างว่า return period regimen สภาพอยตู่ ัว : สภาพท่อี ยู่ตวั ของลำนำ้ หรอื คลอง ลำนำ้ หรอื คลองจะอยู่ในสภาพ 182

R relief drain อยู่ตัวเม่ือไม่มีการเปล่ียนแปลงแนว ขอบเขต หรือระดับของพื้นท้องน้ำ อนั เนื่องจากการถกู กระแสน้ำกัดเซาะหรอื การพาตะกอนมาทบั ถมอกี ตอ่ ไป regular maintenance การบำรุงรักษาปกติ : กิจกรรมการบำรงุ รกั ษาทดี่ ำเนินการเป็นประจำ เพ่ือให้ อาคารชลศาสตร์ทำงานเป็นไปอย่างปกติ เช่น งานถางหญ้า ทำความสะอาด การอัดจารบีหรือทาสีเคร่ืองกว้านบานระบาย หรือซ่อมแซมเล็กๆ น้อยๆ เปน็ ต้น regulating structure อาคารควบคุม : อาคารทท่ี ำหนา้ ที่ควบคมุ ปริมาณน้ำหรือระดับนำ้ regulator อาคารบังคับน้ำ : อาคารท่ีสร้างขึ้นในคลอง ณ ตำแหน่งท่ีเหมาะสมเพื่อ ควบคมุ ปริมาณนำ้ และระดับนำ้ rehabilitation การฟื้นสภาพ : กลมุ่ กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การเพือ่ การฟ้ืนฟูโครงการท่เี สียหายหรอื เสื่อมโทรมอย่างหนัก อันเนื่องมาจากการขาดเทคนิค การจัดการองค์กร และ การเงินอย่างรุนแรง จนต้องมีการซ่อมแซมขนานใหญ่ หรือก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง ทดแทน relative humidity ความชื้นสัมพัทธ์ : อัตราส่วนระหว่างความชื้นในอากาศขณะน้ันต่อความช้ืน ในอากาศเม่อื อ่ิมตัว ณ ตำแหน่งพจิ ารณาเดียวกนั แสดงในรปู ร้อยละ relief drain ทางระบายน้ำเพื่อลดแรงดัน : ทางระบายน้ำผิวดินหรือน้ำใต้ดิน ใช้สำหรับ ระบายนำ้ ออกจากดินทอี่ ่ิมตวั และมแี รงดันน้ำมากเกนิ ความจำเป็น เรียกอีกอย่าง ว่า seepage drain 183

R relief well relief well บ่อลดแรงดัน : บ่อรูปทรงกระบอกติดต้ังไว้ท้ายเขื่อน เพ่ือลดแรงดันข้ึนของ นำ้ ใต้ดนิ บริเวณตัวเข่อื น remote terminal unit (RTU) อุปกรณ์ตรวจวัดระยะไกล : อุปกรณ์ท่ีติดต้ังอยู่ในสถานีลูกข่ายที่อยู่ห่างไกล เพื่อเกบ็ ข้อมูล รับคำสัง่ ควบคุมการทำงานอัตโนมตั ิ และสอื่ สารกบั สถานหี ลกั reservoir อ่างเกบ็ น้ำ : 1. แอ่งขนาดใหญ่ ซึ่งเกิดตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น เพ่ือการกักเก็บและ ควบคมุ น้ำ 2. แหลง่ น้ำท่ีเกดิ ขนึ้ เน่อื งจากเขอื่ นกักเกบ็ นำ้ reservoir basin พ้ืนท่รี บั น้ำลงอ่างเกบ็ นำ้ : ลมุ่ นำ้ รบั น้ำฝนให้ไหลลงอ่างเก็บน้ำ reservoir operation rule curve โค้งการจัดการอ่างเก็บน้ำ : เส้นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ำ หรือปรมิ าณนำ้ ในอา่ งเกบ็ นำ้ กบั เวลา reservoir routing การเคลอ่ื นตวั ของนำ้ หลากผา่ นอา่ งเกบ็ นำ้ : วธิ กี ารคำนวณการเปลย่ี นแปลง ของกราฟน้ำหลาก ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสถานท่ี ขณะท่ีคล่ืน นำ้ หลากเคลอ่ื นตัวผ่านอา่ งเก็บนำ้ resistivity survey การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ : การสำรวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ มีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลในรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะการลำดับช้ันหิน ชนิดของ ช้ันหิน และความหนาของช้ันหิน รวมท้ังกำหนดกลุ่มรอยแตก (fracture) หรือ รอยเล่ือน (fault) 184

R return period retaining wall กำแพงกันดิน : กำแพงท่ีสรา้ งข้ึนเพอ่ื ป้องกนั การเคลื่อนตวั ของดิน retarder สารหน่วงการแข็งตัว : สารผสมคอนกรีตช่วยหน่วงเวลาการแข็งตัวของ คอนกรีต retarding basin อ่างชะลอน้ำ : แหล่งน้ำที่ทำหน้าท่ีกักเก็บน้ำไว้ช่ัวคราว ก่อนปล่อยลงสู่ลำน้ำ ในโอกาสท่เี หมาะสม retention water level ระดบั นำ้ กกั เก็บ : 1. ระดับนำ้ สงู สุดหนา้ อาคารทดน้ำในคลองส่งนำ้ 2. ระดับน้ำท่ีกำหนดไว้ในอ่างเก็บน้ำโดยกำหนดไว้ท่ีระดับสันของอาคาร ทางระบายนำ้ ล้น (กรมชลประทานใชค้ ำยอ่ วา่ ร.น.ก.) return flow นำ้ กลับมาใช้ : ปริมาณน้ำสว่ นเกนิ ทนี่ ำกลบั มาใชใ้ หม่ในระบบชลประทาน return period รอบการเกิดซ้ำ : ค่าเฉลี่ยของหน่วยเวลาในช่วงเวลาระหว่างการเกิดปรากฏ- การณ์ทางอุทกวิทยา (เช่น น้ำท่วม ฝนตก) เหตุการณ์หน่ึง ไปจนถึงเหตุการณ์ อื่นๆ ท่เี กิดตามมา โดยเหตกุ ารณ์เหลา่ นี้ให้ผลท่ีเกดิ ขนึ้ มีค่าเทา่ กบั หรือมากกวา่ ค่าที่กำหนดให้ มีหน่วยเวลาเป็นปี ตัวอย่างเช่น return period 100 ปีของ เหตกุ ารณน์ ้ำทว่ มหมายความว่า จากคา่ เฉล่ยี ของระยะเวลาที่นานพอควรของการ เกิดน้ำท่วมที่บันทึกไว้แต่ละปี เหตุการณ์น้ำท่วมท่ีมีปริมาณเท่ากับหรือมากกว่า ท่เี กิดในปีนี้ ได้รับการคาดหมายวา่ จะเกิดขึน้ อีกครัง้ ใน 100 ปี เรียกอกี อย่างวา่ recurrence interval 185

R rice lysimeter rice lysimeter ถังวัดการใช้น้ำของข้าว : ชุดของถังวัดการใช้น้ำของข้าวที่สามารถตรวจวัดค่า การระเหยของนำ้ (E) การคายนำ้ (T) และการรว่ั ซึมในแปลงนา (P) แตล่ ะชดุ ประกอบด้วยถังปลูกขนาดกว้าง 0.75 เมตร ยาว 0.75 เมตร สูง 1.00 เมตร จำนวน 4 ถัง เป็นถังชนิดเปิดหัว-ท้ายทั้งสองด้าน 2 ถัง และชนิดปิดเฉพาะ ด้านท้าย (ก้นถัง) 2 ถัง ถังแต่ละแบบ จะมีอยู่ถังหนึ่งที่ไม่ปลูกข้าวแต่จะใช ้ หญ้าแห้งปักแทนตรวจวัดการเปล่ียนแปลงของระดับน้ำในแต่ละถังด้วยขอวัด (hookgage) แล้วนำขอ้ มลู ที่แตกต่างกันในแต่ละถงั มาคำนวณ จะได้คา่ การใช้นำ้ ของขา้ ว Richter scale มาตราริกเตอร์ : มาตราท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน กำหนดขนาด (magnitude) ของ แผ่นดินไหว นายซี.เอฟ. ริกเตอร์ (C.F. Richter) นักธรณีวิทยาแผ่นดินไหว แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นผู้คิดค้นและเผยแพร่ใน พ.ศ. 2478 โดยใช้หลักการจากผลบันทึกของเคร่ืองวัดความไหวสะเทือนและ มีการปรับแก้เกี่ยวกับระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว มาตราน้ีมีค่าตั้งแต่ 0-9 (พจนานุกรมศพั ท์ภมู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) ridge สันเนิน : สันเนินซ่ึงมีพ้ืนที่ลาดลงไปท้ังสองด้านหรือมากกว่า เหมาะสำหรับ การวางแนวคลองสง่ นำ้ เพราะจะทำให้สามารถสง่ นำ้ จากคลองไดท้ งั้ สองด้าน 186

R river basin right main canal คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝ่ังขวา : คลองส่งน้ำชลประทานสายหลักท่ีแยกออกไป ทางดา้ นขวามอื ของแหลง่ น้ำ เมื่อหนั หน้าไปตามทิศทางการไหลของนำ้ right of way เขตคู เขตคลอง หรือเขตถนน : ขอบเขตแสดงกรรมสิทธ์ิ ตามแนวคูน้ำ คลอง หรือถนน โดยวดั จากแนวศูนย์กลางคูนำ้ คลอง หรือถนน ออกไปด้านข้าง ทง้ั สองฝ่ัง rigid model แบบจำลองแข็ง : แบบจำลองท่ีมีท้องน้ำและข้างคลองที่มั่นคงจนไม่สามารถ ถกู กดั เซาะได ้ riprap หนิ ทง้ิ : หินขนาดใหญซ่ ง่ึ ทง้ิ ตามลาดตลิง่ ลาดด้านหนา้ เขือ่ น หรอื ทางด้านทา้ ย น้ำหรือเหนือน้ำของอาคารเพื่อป้องกันการกัดเซาะ หรือเรียกอีกอย่างว่า dumped riprap risk analysis การวิเคราะห์ความเส่ียงภัย : การประมวลการคาดการณ์ความเสี่ยงจาก แหลง่ ต่างๆ แล้วนำมาเปรยี บเทยี บกบั ความเส่ยี งของกจิ กรรมปจั จบุ ัน riser pipe ทอ่ ต้ัง : ท่อต้งั ที่ใช้กับหวั ฉีดในระบบการให้นำ้ แบบฉดี ฝอย river basin ลุ่มน้ำ : บริเวณท้ังหมดซ่ึงมีแม่น้ำและลำน้ำสาขาไหลผ่าน (พจนานุกรมศัพท์ ภมู ศิ าสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) 187

R river regime river regime ระบบน้ำในลำน้ำ : รูปแบบของลำน้ำ ซ่ึงอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงตาม ฤดูกาลของปริมาณน้ำในแม่น้ำ อันเน่ืองมาจากการระเหย ปริมาณฝน หิมะ และน้ำใต้ดิน รวมถึงการละลายของธารน้ำแข็ง รูปแบบดังกล่าว มีการเกิดขึ้น ซ้ำกนั ทกุ ปี จนเปน็ ลักษณะเฉพาะของลำน้ำสายน้ัน (พจนานกุ รมศัพทภ์ ูมิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) rock salt เกลือหิน : แร่เฮไลต์หรือเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่เกิดเป็นมวลผลึกหยาบๆ ในหนิ แหล่งเกลอื ทส่ี ะสมในยุคต่างๆ ของธรณีกาล พบต้งั แตย่ คุ ไซลูเรยี นจนถึง ปัจจุบัน และมักเกิดเป็นมวลชั้นต่อเน่ือง ในประเทศไทยพบมากทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือในบริเวณแอ่งสกลนครและแอ่งโคราช ในบางครั้งเกลือหิน ถูกน้ำละลายพาซึมข้ึนมาบนผิวดินถูกแดดแผดเผา เกิดผลึกใหม่เป็นขุยขาวๆ เรียกกันว่า เกลือสินเธาว์ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) rock toe หนิ ถมตนี เขอื่ น : ตนี ดา้ นทา้ ยนำ้ ของเขอื่ นดนิ ขนาดใหญห่ รอื อาคารชลประทาน อ่ืนๆ ท่ีถมด้วยหินคละขนาดใหญ่บริเวณจุดส้ินสุดลาดท้ายเขื่อน ทำหน้าท่ีฐาน ยันเข่ือน ระบายน้ำที่ร่ัวซึมออกจากเขื่อน และปิดก้ันการกัดเซาะบริเวณด้านลาด ท้ายเขอื่ น rockfill dam เขื่อนหินถม : เขอ่ื นวสั ดถุ ม กอ่ สรา้ งด้วยหนิ อัดแนน่ เปน็ ส่วนใหญ่ และใชว้ สั ดุ อ่ืนเป็นส่วนทบึ นำ้ rockfill weir ฝายหินถม : ฝายที่สร้างโดยการถมหินใหญ่ลงไประหว่างคอกไม้หรือ กำแพงหินกอ่ เป็นฝายแบบไมท่ บึ น้ำ 188

R Romijn weir rolled-earthfill dam เขื่อนดินถมบดอัด : เข่ือนดินถมซ่ึงก่อสร้างโดยการบดอัดเป็นช้ันๆ อย่าง ต่อเนือ่ งดว้ ยเครอ่ื งจักร เรียกอกี อย่างวา่ rolled-fill dam rolled-fill dam เขื่อนดินถมบดอัด : เข่ือนดินถมซ่ึงก่อสร้างโดยการบดอัดเป็นชั้นๆ อย่าง ต่อเน่ืองดว้ ยเครื่องจักร เรียกอีกอย่างวา่ rolled-earthfill dam roller type stilling basin อ่างน้ำน่ิงแบบน้ำวน : อ่างน้ำนิ่งชนิดท่ีมีฟันตะเข้เป็นตัวสลายพลังงานโดย ทำให้น้ำหมุนวน Romijn weir roller type stilling basin ฝายโรไมน์ : ฝายวัดน้ำแบบสันกว้างท่ีสันฝายสามารถปรับขึ้นลงได้ในแนวด่ิง เพอื่ ควบคมุ และวดั ปริมาณน้ำที่ไหลผา่ น 189

R root zone root zone เขตรากพชื : บรเิ วณท่รี ากพืชสามารถหย่ังไปถงึ ได้ rotation system ระบบส่งน้ำแบบหมุนเวียน : การส่งน้ำให้แก่พ้ืนท่ีรับน้ำชลประทานด้วยการ หมุนเวียนส่งน้ำให้แก่พ้ืนที่ย่อยทีละส่วน เรียกอีกอย่างว่า rotation หรือ rotational working roughness coefficient สัมประสทิ ธ์ิความขรุขระ : ตวั ประกอบในการคำนวณความเรว็ เฉล่ียของน้ำใน ท่อหรือรางนำ้ เปิด ทเ่ี กิดจากความขรุขระของผวิ ท่อหรอื ผวิ ทางน้ำ ซงึ่ มผี ลต่อการ สญู เสียพลงั งานของน้ำ round bar เหล็กเส้นกลม : เหล็กเสน้ กลมที่มีผวิ เรียบ ใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง rubber weir ฝายยาง : ฝายท่ีมีส่วนประกอบหลักทำด้วยยาง พองหรือหดตัวได้โดยการเติม หรือปลอ่ ยน้ำหรอื ลม (กรมชลประทาน เรียกอีกอย่างว่า rubber dam) rule curve กราฟจัดการน้ำ : เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ำ หรือปริมาณน้ำ ในอ่างเก็บน้ำกับเวลา เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุมการใช้น้ำในอ่างให้ได้ผลดี ที่สดุ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ีก่ ำหนดไว ้ runoff น้ำท่า : หยาดนำ้ ฟา้ ส่วนทีป่ รากฏในลำคลองหรือลำนำ้ ธรรมชาต ิ runoff coefficient สัมประสิทธิ์น้ำท่า : อัตราส่วนของปริมาณน้ำท่าสูงสุดต่ออัตราฝนตกอย่าง สม่ำเสมอในชว่ งเวลาหนึ่งทเ่ี ท่ากับหรอื มากกวา่ ระยะเวลานำ้ ไหลรวม ทที่ ำใหเ้ กดิ ปริมาณนำ้ ท่าน ี้ 190



S salt marsh; saline salt marsh; saline ท่ีลุ่มน้ำเค็ม : บริเวณที่ลุ่มชายฝั่งทะเลท่ีมีน้ำทะเลขังอยู่เล็กน้อย หรือบางที่ก็ เป็นโคลนเกลือ เกิดเพราะน้ำทะเลเอ่อท้นขึ้นมาท่วมเป็นคร้ังคราว เมื่อน้ำทะเล ระเหยแห้งงวดลง ปริมาณเกลือจะเข้มข้นมากข้ึน จะเห็นคราบเกลืออยู่เป็น บางแห่งในบริเวณน้ัน (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2544) saline soil ดินเค็ม : ดินท่ีประกอบด้วยเกลือซึ่งสามารถละลายน้ำได้ ในปริมาณที่เป็น อันตรายต่อการเจริญเตบิ โตของพชื saline water น้ำเคม็ : น้ำที่มีปริมาณความเขม้ ข้นของสารละลายเกลอื ปานกลาง saline-alkali soil ดินเค็มด่าง : ดินท่ีมีองค์ประกอบท้ังท่ีเป็นด่างในปริมาณท่ีสามารถหยุดย้ัง การเจรญิ เติบโตของพืช และสว่ นท่ีเป็นเกลือซงึ่ สามารถละลายน้ำได้ salinity ความเค็ม : ความเข้มข้นของเกลือในน้ำ โดยทั่วไปแสดงอยู่ในรูปของจำนวน สว่ นของคลอไรดต์ ่อนำ้ หนึง่ ล้านส่วน salinity control การควบคุมความเค็ม : การควบคุมไม่ให้น้ำเค็มเข้ามามีผลกระทบและเป็น อันตรายต่อการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการประปา หรือการลดปริมาณ เกลือเพ่อื ป้องกันการเสื่อมคณุ ภาพของดนิ ในพน้ื ทเี่ พาะปลกู salt dome โดมหินเกลือ : ชั้นหินเกลือซึ่งถูกบีบอัดจากรอบด้านทำให้ปูดตัวข้ึน ณ จุดใด จดุ หนึ่งใต้เปลือกโลก จนสว่ นบนเหน็ เป็นทรงกระทะควำ่ 192

S sandstone sand ทราย : ตะกอนท่ีเป็นเศษหิน เศษแร่ มีขนาดเล็กกว่ากรวดเล็ก แต่ใหญ่กว่า ทรายแป้ง มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 1/16-2 มิลลิเมตร ตามมาตรา เวนต์เวิร์ท หรือ 0.05-2 มิลลิเมตร ตามระบบ USDA (United State Department of Agriculture) sand bar สันดอนทราย : พืดสนั ทรายใต้นำ้ เกดิ ขน้ึ ในบริเวณน้ำตืน้ ในแม่นำ้ หรือบริเวณ ใกล้ปากน้ำ เนื่องจากคลื่นและกระแสน้ำพัดพาเอาทรายมารวมกันเกิดเป็น พดื ยาว อาจมีพวกเปลอื กหอย กรวด และโคลนรวมอยู่ด้วย เป็นอันตรายตอ่ การ เดนิ เรือ (พจนานกุ รมศพั ท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2544) sand drain ทรายระบายนำ้ : ชน้ั ทรายหรือแท่งทรายทท่ี ำหน้าท่ีระบายนำ้ sand sluice ช่องระบายทราย : ช่องเปิดพร้อมบานบังคับน้ำในอาคารประเภทฝาย ใช้ สำหรับระบายตะกอนทรายที่ทับถมอยู่หน้าฝายออกไปทางด้านท้ายน้ำ โดยให้ นำ้ ไหลผา่ นด้วยความเรว็ สูงพร้อมกบั พัดพาตะกอนออกไป sand trap บ่อดักทราย : อาคารที่ทำไว้ในทางน้ำเพื่อดักจับตะกอนที่ไหลมากับน้ำ เช่น ดิน หรือทราย ใหต้ กจมลงในบรเิ วณนี ้ sandstone หินทราย : หินตะกอนชนิดหน่ึงซ่ึงประกอบด้วยเศษหินท่ีมีลักษณะกลมหรือ เหล่ียมขนาดเม็ดทรายประสมอยู่ในหินทรายเนื้อละเอียด อาจมีวัตถุประสาน เช่น ซิลิกา เหล็ก ออกไซด์ หรือแคลเซยี มคารบ์ อเนต ประสานเมด็ เศษหินต่างๆ ให้เกาะกนั แน่นแขง็ 193