S sandy loam sandy loam ดินร่วนปนทราย : ดินท่ีมีส่วนประกอบเป็นเนื้อดินเหนียวระหว่าง 0-20% ทรายระหว่าง 43-85% ดินตะกอนทรายระหว่าง 0-50% ในกรณีที่มีทราย น้อยกว่า 60% จะต้องมีดินเหนียวไม่เกิน 8% ในกรณีท่ีมีทรายเกิน 70% อาจสับสนกับทรายปนดินร่วน ควรตรวจสอบกับแผนภูมิสามเหล่ียมดิน (ดูรูป ประกอบท่ี soil texture triangle) saturated soil ดนิ อิม่ นำ้ : ดนิ ทม่ี นี ำ้ อยเู่ ต็มตามชอ่ งว่างระหว่างเมด็ ดิน saturated unit weight นำ้ หนักจำเพาะอมิ่ ตัว : นำ้ หนักของดนิ ที่มีน้ำเตม็ ชอ่ งวา่ งในดินต่อหนงึ่ หน่วย ปริมาตร saturated zone เขตอ่ิมน้ำ : เขตหรือส่วนช้ันใต้ดินที่มีน้ำบรรจุอยู่เต็มช่องว่างต่างๆ แม้ว่าช่อง ว่างเหล่านี้จะมีอากาศหรือของเหลวชนิดอ่ืนๆ แทรกอยู่บ้างก็ตาม ถือว่าอิ่มตัว เขตน้ีอยู่ใต้เขตอ่ิมอากาศโดยอาศัยระดับน้ำใต้ดินเป็นแนวแบ่ง (พจนานุกรม ศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2544) เรียกอีกอย่างว่า saturation zone หรอื zone of saturation scour การกัดเซาะ : การกัดเซาะท่เี กิดจากกระแสน้ำหรือการไหลของน้ำ scraper สเครปเปอร์ : เครอ่ื งจักรกลงานดนิ ชนิดหนึ่ง ใชใ้ นการขดุ และขนยา้ ยดิน seal bar แท่งผนึก : แท่งโลหะท่ีติดอยู่ท่ีผิวด้านท้ายน้ำของบาน ทำหน้าที่ถ่ายแรงดัน นำ้ ลงสู่กรอบบาน เพือ่ ปอ้ งกนั การรัว่ ซมึ ของนำ้ 194
S sediment runoff seasonal flow การไหลตามฤดูกาล : ปรมิ าตรของนำ้ ท่ีผา่ นจดุ สงั เกตในชว่ งฤดกู าลหนึง่ seasonal storage ความจุตามฤดูกาล : การกักเก็บน้ำในช่วงฤดูน้ำหลาก สำหรับนำไปใช้ ประโยชนใ์ นชว่ งฤดนู ้ำนอ้ ย secondary canal คลองซอย : คลองท่ีแยกออกจากคลองสง่ นำ้ สายใหญ่หรอื คลองแยก เพ่ือรบั น้ำ ไปส่งให้แก่พืน้ ที่เพาะปลกู โดยตรง หรอื สง่ ให้คลองแยกซอย sediment ตะกอน : วัตถตุ ่างๆ ท่ีกระแสนำ้ พัดพามา เช่น ดนิ หนิ ทราย และตกจมลงสู่ ท้องน้ำ เมอ่ื กระแสน้ำลดความเร็ว sediment catcher เครื่องดักตะกอน : เครื่องมือสำหรับดักตะกอนที่มีขนาดใหญ่ เช่น กรวด ที่ความลกึ ตา่ งๆ ของลำนำ้ sediment control การควบคุมตะกอน : การลดปริมาณตะกอนในลำน้ำ เพ่ือป้องกันหรือลด อัตราการตกตะกอนในระบบสง่ นำ้ แหลง่ เกบ็ กกั น้ำ และแหล่งนำ้ อืน่ ๆ sediment load ตะกอน : ปริมาณตะกอนที่ไหลมากับน้ำ ซึ่งอาจจะเป็นตะกอนท้องน้ำ หรือ ตะกอนแขวนลอย sediment runoff ตะกอนพดั พา : ปริมาณตะกอนทีถ่ กู น้ำพดั พามา ต่อหนึ่งหนว่ ยเวลา ในสภาวะ ที่กำหนด ณ ตำแหนง่ ทพี่ ิจารณา 195
S sedimentation sedimentation การตกตะกอน : การทตี่ ะกอนในน้ำจมลงสูท่ ้องนำ้ เม่อื กระแสนำ้ ลดความเรว็ seed bedding แปลงตกกล้า : พน้ื ทีส่ ำหรบั การเพาะตน้ อ่อนจากเมล็ดพืช seepage การซึม : การไหลซึมอย่างช้าๆของน้ำผ่านรอยแตกร้าว หรือรูพรุนเล็กๆ ท่ีผิว ของวัตถุที่อ่ิมตัวหรือไม่อ่ิมตัว เข้าไปสู่หรือออกจากตัววัตถุนั้น เช่น การสูญเสีย น้ำโดยการไหลซึมออกไปจากคลอง อา่ งเก็บนำ้ หรอื แหลง่ เกบ็ นำ้ อ่นื ๆ seepage drain ทางระบายน้ำเพ่ือลดแรงดัน : ทางระบายน้ำผิวดินหรือน้ำใต้ดิน ใช้สำหรับ ระบายนำ้ ออกจากดินทอ่ี ม่ิ ตวั และมีแรงดนั น้ำมากเกนิ ความจำเป็น เรียกอกี อยา่ ง ว่า relief drain seepage velocity ความเร็วการซึม : อัตราการไหลซึมผ่านตัวกลางท่ีมีรูพรุนต่อหน่ึงหน่วยพื้นท่ี ของชอ่ งวา่ งทีต่ ั้งฉากกับทิศทางการไหล seismic exploration การสำรวจคล่ืนไหวสะเทือน : การประยุกต์ใช้เทคนิคเกี่ยวกับคลื่นไหว สะเทือน เพื่อหาโครงสร้างธรณีวิทยาใต้ดินและลักษณะการเรียงลำดับชั้นหินใน การสำรวจฐานรากเข่อื น seismograph เครื่องวัดความไหวสะเทือน : เคร่ืองมือที่ใช้กำหนดความไหวสะเทือนของ วัตถุต่างๆ ของโลก ว่าสูงต่ำมากน้อยเพียงใด (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2544) 196
shale S separate spillway อาคารทางระบายน้ำล้นแยก : อาคารทางระบายน้ำล้นซ่ึงสร้างแยกออก ต่างหากจากตัวเข่ือน ถือเป็นอาคารประกอบของเข่ือน แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของตวั เขอ่ื น service spillway อาคารทางระบายน้ำล้นปกติ : อาคารระบายน้ำส่วนที่เกินความจุท่ีกำหนด ของอ่างเก็บน้ำ ให้ไหลผ่านท้ิงไปในทางน้ำเดิม เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ ตัวเขื่อน service unit แฉกส่งน้ำ : พน้ื ท่ีเพาะปลูกท่ใี ช้น้ำจากคนู ้ำสายเดียวกัน setting time ระยะเวลาแข็งตวั : ระยะเวลาท่ีปูนซเี มนต์เริ่มแขง็ ตัว settlement allowance การทรดุ ตัวทีย่ อมได้ : ค่าทยี่ อมให้เกดิ ขึน้ ได้ของการเปล่ียนแปลงความสูงของ เขอ่ื นดินอันเนื่องจากการทรดุ ตวั หรอื การขยายตัวภายหลังการก่อสร้าง settlement shrinkage การหดจากการแข็งตัว : การหดตัวที่เกิดข้ึนจากการจับตัวกันของอนุภาค ของของแขง็ ซึง่ รวมทง้ั อนภุ าคของซีเมนตใ์ นสว่ นผสมคอนกรตี หลงั การเทใหม่ๆ ก่อนเร่มิ แข็งตัว ซึง่ เหน็ ไดจ้ ากการรวมตวั ของนำ้ บนผวิ ด้านบน shale หนิ ดนิ ดาน : หินตะกอนเนือ้ ละเอยี ด เกดิ จากการอดั แนน่ ของดนิ เหนียว ทราย แปง้ หรอื โคลน มโี ครงสรา้ งเปน็ ชัน้ บางทำใหห้ นิ แตกเป็นแผน่ ได้งา่ ย โดยเฉพาะ ตามพ้ืนผิวท่ีผุพัง หินดินดานมีเน้ือแน่นแข็ง แต่ไม่แข็งแกร่งเหมือนเน้ือหิน อาร์จิลไลต์หรือหินชนวน อาจมีสีแดง น้ำตาล หรือเทาก็ได้ (พจนานุกรมศัพท์ ธรณวี ิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2544) 197
S sharp-crested weir sharp-crested weir ฝายสันคม : ฝายท่ีสันมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ตั้งฉากกับทิศทางการไหล ของนำ้ เพ่อื ให้น้ำทล่ี น้ สนั ฝายไหลพงุ่ เปน็ แผ่นน้ำ (nappe) อยา่ งชดั เจน sheep-foot roller ลูกกลิ้งตีนแกะ : เคร่ืองมือที่ใช้ในการบดอัดดินเหนียว มีลักษณะเป็นลูกกลิ้ง ท่มี ผี วิ หนา้ เป็นปุ่มๆ sheet erosion การกัดเซาะผิวหน้าลักษณะเป็นแผ่น : การกัดเซาะโดยลมหรือน้ำท่ีเกิดใน ลกั ษณะทีผ่ วิ หนา้ ของวตั ถุถูกกดั เซาะหลุดออกมาเป็นแผน shooting flow การไหลเหนือวิกฤต, การไหลพุ่ง : การไหลท่ีมีความเร็วสูงกว่าความเร็ว วิกฤต เรยี กอกี อยา่ งว่า rapid flow หรือ super-critical flow shop drawing แบบหน้างาน : แบบแสดงรายละเอียดของแบบก่อสร้างที่จัดทำเพิ่มเติมโดยผู้ ก่อสรา้ ง เพอ่ื ใหม้ คี วามชัดเจนเพ่ิมขน้ึ shotcrete ปูนพ่น : ปูนทรายท่ีเป็นส่วนผสมของปูนซีเมนต์ ทราย และน้ำ ใช้ฉีดพ่นทับ ผิวหน้าดิน หรือหินด้วยเครื่องอัดอากาศ เรียกอีกอย่างว่า air-blown mortar หรือ gunite shrinkage limit ขีดจำกัดการหดตัว : ปริมาณน้ำในดินท่ีจุดซ่ึงดินเร่ิมเปล่ียนสถานภาพจาก วัสดุก่ึงของแข็งกลายเป็นของแข็ง หรือปริมาณน้ำท่ีมากที่สุดในดิน ซึ่งถึงแม้ว่า จะมีการสูญเสียน้ำอีกต่อไป ก็ไม่ทำให้ดินหดตัวหรือลดปริมาตรลง โดยคิดเป็น ปริมาณร้อยละของน้ำในดิน เป็นขีดจำกัดในจุดแบ่งสถานภาพของดิน Atterberg’s limits 198
S silt loam shut-off valve ประตูตัดน้ำ, ล้ินตัดน้ำ : ล้ินหรือประตูเปิด-ปิดน้ำ ทำหน้าที่เพียงแค่เปิด หรือปดิ การไหลของน้ำ เรยี กอกี อยา่ งว่า isolating valve side channel spillway ทางระบายน้ำล้นด้านข้าง : อาคารทางระบายน้ำล้นท่ีมีสันฝายขนานกับ ทิศทางการไหลของน้ำ และให้น้ำไหลล้นข้ามสันฝายลงสู่ลำน้ำธรรมชาต ิ เรียกอีกอยา่ งว่า lateral flow spillway side flow น้ำสมทบ : ปริมาณน้ำทไี่ หลมาสมทบกับทางน้ำท่ีพจิ ารณา side slope ลาดข้าง : ลาดที่อยู่ด้านข้างของคลอง หรือคันดิน กรมชลประทานแสดงเป็น อัตราสว่ นระหว่างแนวต้ังต่อแนวราบ โดยให้แนวต้ังมีค่าเปน็ หนึ่ง sieve gauge ขนาดตะแกรง : ขนาดของช่องตะแกรงท่ียอมให้อนุภาคของวัสดุ เช่น ดิน หรอื หนิ ทมี่ ีขนาดเลก็ กวา่ ทก่ี ำหนด ลอดผ่านไปได ้ sill ธรณี : ส่วนของอาคารชลศาสตร์ที่รองรับบานบงั คับน้ำ silt ดินตะกอนทราย : ดินอนินทรีย์ท่ีมีขนาดอนุภาคอยู่ในช่วง 0.002 ถึง 0.02 มลิ ลเิ มตร silt loam ดินร่วนปนตะกอนทราย : ดินที่มีส่วนประกอบเป็นเนื้อดินเหนียวระหว่าง 0-27% ทรายระหว่าง 0-50% ดินตะกอนทรายระหว่าง 73-88% ในกรณี ทมี่ ดี นิ ตะกอนทรายมากกวา่ 80% จะต้องมีดินเหนียวไมต่ ำ่ กว่า 12% 199
S silting silting การตกตะกอน : กระบวนการที่พื้นท้องนำ้ ถกู ดินตะกอนทรายทบั ถมจนมีระดับ สูงขึน้ silty clay ดินเหนียวปนตะกอนทราย : ดินที่มีส่วนประกอบเป็นเน้ือดินเหนียวระหว่าง 40-60% ดนิ ตะกอนทรายระหวา่ ง 40-60% และทรายไม่เกนิ 20% silty clay loam ดินร่วนเหนียวปนตะกอนทราย : ดินท่ีมีส่วนประกอบเป็นเน้ือดินเหนียว ระหว่าง 27-40% ทรายระหว่าง 0-20% และดินตะกอนทรายระหว่าง 40-73% siltstone หินทรายแป้ง : 1. ตะกอนทรายแป้งชนิดที่มีเนื้อและองค์ประกอบของหินดินดาน แต่ขาด ลกั ษณะแนวแตกถ ่ี 2. หินโคลนท่ีประกอบด้วยตะกอนขนาดทรายแป้งมากกว่าดินเหนียว (พจนานุกรมศพั ทธ์ รณวี ิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2544) sinuous flow การไหลแบบป่ันป่วน : การไหลที่อนุภาคของน้ำเคลื่อนที่ไปในทิศทางท่ีไม่ แน่นอน และไม่เกิดเส้นกระแสน้ำ เรียกอีกอย่างว่า turbulent flow หรือ tortuous flow similitude ความคล้ายคลึง : ความคล้ายคลึงกันของพฤติกรรมของแบบจำลองและ พฤติกรรมของตน้ แบบ 200
S ski-jump bucket sinkhole; leach hole หลุมยุบ : หลุมหรือแอ่งบนแผ่นดินท่ีปากหลุมเกือบกลมและมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางราว 20 เมตรถึงกว่า 200 เมตร เกิดจากน้ำละลายเอาหินเกลือ หินยิปซัม หรือหินปูนที่อยู่ข้างใต้ออกไป ทำให้พื้นดินตอนบนยุบลงเป็น หลุมใหญ่ หากการละลายสารดังกล่าวเป็นไปอย่างกว้างขวาง หลุมยุบน้ีจะ ลึกลงๆ จนทะลุถึงทางน้ำข้างล่างเกิดเป็นปล่องข้ึนได้ หลุมยุบนี้หากเกิดใน พ้ืนท่ีหินปูนเรียกว่าหลุมยุบในหินปูน (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) siphon spillway อาคารทางระบายนำ้ ล้นแบบกาลกั น้ำ : อาคารทางระบายนำ้ ลน้ ท่รี ะบายนำ้ ด้วยหลกั การของกาลักน้ำ siphon 1. ทางน้ำใต้ดินแบบกาลักน้ำ : โพรงใต้ดินที่มีลักษณะคล้ายอักษร U คว่ำ น้ำจะสามารถไหลผ่านได้ ถ้าระดับน้ำในถ้ำท่ีอยู่ติดกันสูงถึงระดับความโค้ง ทเี่ ป็นส่วนหลังของอกั ษร U คว่ำ 2. ท่อเช่ือมกาลักน้ำ : อาคารที่เป็นท่อนำน้ำในคลองส่งน้ำไหลผ่านลอด ส่ิงกีดขวาง เช่น ถนน ทางรถไฟ ทางน้ำ หรือแอ่งน้ำ ถูกออกแบบให้น้ำ ไหลผา่ นแบบเตม็ ทอ่ ภายใตค้ วามดนั คำเต็ม เรยี กวา่ Inverted siphon 3. กาลักน้ำ : ท่อเล็กๆ ที่นำน้ำจากแหล่งน้ำหรือทางน้ำไหลผ่านสิ่งกีดขวาง เช่น คันก้ันน้ำ ถนน ลงสู่อีกด้านหน่ึงท่ีมีระดับต่ำกว่า โดยวางพาดข้าม ส่งิ ขวางนน้ั ไป และปลายท่อจะต้องมีระดบั ต่ำกว่าน้ำดา้ นเหนอื นำ้ ski-jump bucket แอง่ ล่สู กี : ส่วนสลายพลงั งานของอาคารชลศาสตร์ ทม่ี ีลกั ษณะคลา้ ยลกู่ ระโดด สกี เพ่อื บงั คบั น้ำทพ่ี ุ่งมาด้วยความเรว็ สงู ใหพ้ ่งุ ข้ึนส่อู ากาศ แล้วปล่อยใหต้ กลงมา เพ่ือสลายพลังงาน 201
S slate slate หินชนวน : หินแปรเน้ือเนียนชนิดหนึ่ง ซ่ึงเกิดจากการแปรสภาพของ หินดินดานด้วยความร้อนและความกดอัด ทำให้แกร่งและเกิดเป็นรอยแยกเป็น แผ่นๆ ขึ้นในตัว โดยรอยแยกนี้ไม่จำเป็นต้องมีระนาบเหมือนกับการวางชั้นของ หินดินดานเดิม หินชนวนท่ีแซะออกเป็นแผ่นใหญ่ๆ ใช้ทำกระดานชนวน แผ่นมุงหลังคา และแผ่นรองพ้ืนสักหลาดโต๊ะบิลเลียด (พจนานุกรมศัพท์ slidธeรณgีวaทิ tยeา ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2544) slopบeานpตrรoงt:ecบtาiนoบnงั ค บั นำ้ เปิด-ปิดโดยเลือ่ นขึน้ -ลง ตามแนวดงิ่ การป้องกันลาดตลิง่ : การใชว้ สั ดุ เชน่ ก้อนหิน แทง่ คอนกรตี หรือไมว้ างเรยี ง บนลาดตลงิ่ ของแมน่ ำ้ หรอื ชายฝง่ั ทะเล เพอ่ื ปอ้ งกนั การกดั เซาะหรอื การไหลเลอ่ื น slopขeองsดtินa bility เสถียรภาพของลาด : ความม่ันคงของลาดต่างๆ เช่น ลาดเขา ลาดคันดิน sluiลcาeด ขา้ งเข่ือน ลาดขา้ งคนั คลอง เปน็ ตน้ อาคารระบายตะกอน : อาคารท่ีสร้างข้ึนเพื่อระบายตะกอน โดยการทำให้น้ำ เคลื่อนที่ผ่านด้วยความเร็วสูง โดยการควบคุมด้วยบานระบายตะกอน ส่วนใหญ่ sluiเcปe็นอgาaคtาeรป ระกอบฝาย บานระบายตะกอน : บานทีใ่ ชป้ ระกอบกบั อาคารระบายตะกอน 202
S soil moisture tension sluiceway ทางระบายตะกอน : อาคารทส่ี ร้างข้ึนเพอ่ื ระบายน้ำและตะกอนจากชอ่ งระบาย slumทง้ิ pไปtทeาsงทt ้ายน้ำ การทดสอบการยุบตัว : วิธีการทดสอบความข้นเหลวของคอนกรีตด้วยกรวย ที่มีความสูง 30 เซนติเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางด้านบน 10 เซนติเมตร และม ี slurเrสน้yผ่าwศaนู lยlก์ ลางดา้ นลา่ ง 20 เซนติเมตร กำแพงสารละลายทบึ นำ้ : กำแพงกั้นน้ำทีม่ ีสว่ นผสมของน้ำกับสารละลายทึบ slusนh้ำ gเชrน่ oนu้ำtผiสnมgก ับเบนทอไนต ์ การอัดฉีดฉาบผิว : การอัดฉีดน้ำปูนท่ีผิวหน้าเพื่อปรับผิวให้เรียบและอุด sodiรuอยmแตกa bsorption ratio (SAR) อัตราส่วนดูดซับโซเดียม : อัตราส่วนที่ใช้เปรียบเทียบระหว่างปริมาณอนุมูล โซเดียมกับผลรวมของอนุมูลแคลเซียมและอนุมูลแมกนีเซียมที่ละลายอยู่ในน้ำ ใช้ประกอบการพิจารณาคุณภาพน้ำชลประทาน หากนำน้ำท่ีมีค่าอัตราส่วนดูด ซับโซเดียมสงู เกินไปมาใช้เป็นน้ำชลประทานติดตอ่ กนั เปน็ เวลานาน จะทำใหด้ ิน เส่ือมคุณภาพเป็นดินด่าง ทำให้ดินแน่นระบายน้ำได้ยาก น้ำชลประทานไม่ควร soilมmีอตั oราisสt่วuนดrูดeซบัteโซnเดsยีioมเnก ิน 4 แรงดึงความช้ืนในมวลดิน : แรงท่ีต้องใช้เพื่อจะดูดน้ำออกจากดินต่อหน่ึง หน่วยพืน้ ท่ ี 203
S soil structure soil structure โครงสร้างของดิน : ลักษณะการเรยี งตวั และการเกาะกันระหว่างเมด็ ดนิ soil texture ลักษณะเนื้อดิน : การระบุลักษณะดิน โดยการพิจารณาจากส่วนผสมของ เนื้อดินหลัก 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ทราย และดินตะกอนทราย ตัวอย่าง ในดินที่มีส่วนผสมของดนิ เหนียว 20% ดินตะกอนทราย 40% และทราย 40% จะจดั อยู่ในกลุม่ ดินร่วน soil texture triangle แผนภูมิสามเหล่ียมดิน : แผนภูมิรูปสามเหลี่ยมที่ใช้พิจารณาลักษณะเนื้อดิน แผนภูมิท่ีนิยมใช้กันแพร่หลายเป็นแผนภูมิที่ได้รับการพัฒนาจาก USDA (United State Department of Agriculture) ซ่ึงแบ่งดินออกเป็น 12 ชนิด เรียกอีกอยา่ งวา่ soil textural triangle นอกจากแผนภูมิในระบบ USDA แล้ว ยังมีแผนภูมิสามเหล่ียมดินใน รูปแบบอ่ืนอีก แต่ไม่แพร่หลายเท่ากับระบบ USDA เช่น Canadian texture triangle ซึ่งจัดกลุ่มดินเหมือนกับระบบ USDA แต่จัดรูปแผนภูมิเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก จัดกลุ่มดินโดยอาศัยสัดส่วนของดินเหนียวกับทรายเท่าน้ัน และเพม่ิ ดินอีก 2 กลุ่ม คอื ดินเหนียวจดั กับ ทรายปนดนิ ตะกอนทราย (ดูภาพ ประกอบที่ soil textural triangle ในหน้า 205) 204
S specific yield แผนภูมิสามเหลย่ี มดนิ แบบ USDA special maintenance งานบำรงุ รกั ษาพเิ ศษ : กิจกรรมการบำรุงรกั ษาในกรณีฉุกเฉนิ หรอื นอกเหนือ จากงานประจำ เช่น อาคารเกิดการพังทลายเนอื่ งจากอุทกภัย การอุดตันของทอ่ สง่ นำ้ ระหวา่ งการส่งนำ้ เปน็ ตน้ specific gravity ความถ่วงจำเพาะ : อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของสสารต่อน้ำหนักของน้ำท่ีมี ปริมาตรเท่ากนั specific weight น้ำหนักจำเพาะ : น้ำหนักของสสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร เรียกอีกอย่างว่า weight density specific yield ปริมาณการให้น้ำจำเพาะ : อัตราส่วนของปริมาตรน้ำท่ีสามารถไหลออกจาก ดนิ หรือหนิ ทอี่ ม่ิ ตวั ได้โดยแรงดึงดดู ของโลก ตอ่ ปริมาตรของดินหรือหินนน้ั 205
S specification specification รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ : การอธิบายรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ เก่ียวกับรูปแบบ รูปร่าง ลักษณะ ขนาด ชนิด หรือวิธีการ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ใน การทำงาน หรอื การผลิตสิ่งใดสิง่ หน่ึง เพื่อใหผ้ ลผลติ เปน็ ไปตามความตอ้ งการ spillway อาคารทางระบายน้ำล้น : 1. ทางระบายน้ำเพ่อื ระบายน้ำสว่ นทเี่ กนิ จากทก่ี ำหนดไว้ 2. อาคารประกอบของเขื่อนหรือทำนบของอ่างเก็บน้ำ เพ่ือระบายน้ำส่วนที่เกิน จากความจุซ่ึงอ่างเก็บน้ำจะกักเก็บไว้ได้ ให้ไหลผ่านท้ิงไปในทางน้ำเดิม เพ่ือ ไม่ใหเ้ กิดความเสียหายแกต่ ัวเขอ่ื น spillway design flood ปริมาณน้ำหลากออกแบบอาคารทางระบายน้ำล้น : ปริมาณน้ำหลาก สงู สดุ ท่ใี ชใ้ นการออกแบบอาคารทางระบายน้ำลน้ spoil bank คันดินท้ิง : คันดินข้างคลองที่เกิดจากนำดินส่วนเกินที่ได้จากการขุดคลอง มากองเป็นแนว spray irrigation ชลประทานฉีดฝอย : วิธีการให้น้ำแก่พืชโดยการฉีดเป็นฝอยเหนือพ้ืนท ่ี เพาะปลูก โดยใช้หัวฉีด หรือท่อเจาะรู หรือเครื่องพ่นน้ำ เรียกอีกอย่างว่า sprinkler irrigation หรอื overhead irrigation 206
S steady-non uniform flow sprinkler irrigation ชลประทานฉีดฝอย : วิธีการให้น้ำแก่พืชโดยการฉีดเป็นฝอยเหนือพ้ืนที ่ เพาะปลูก โดยใชห้ ัวฉีด หรือท่อเจาะรู หรอื เครือ่ งพ่นน้ำ เรียกอีกอย่างว่า spray irrigation หรอื overhead irrigation spur dike รอ : สงิ่ กอ่ สร้างที่สร้างย่ืนออกจากตลิง่ เป็นมมุ เฉียงลู่ไปตามทิศทางการไหลของ กระแสน้ำ มีลักษณะโปร่งหรือทึบก็ได้ เรียกอีกอย่างว่า groin, groyne, transverse dike หรอื jetty staff gauge แผน่ วัดระดับนำ้ : แผ่นวสั ดุ (สว่ นใหญท่ ำจากโลหะที่ไมเ่ ปน็ สนมิ ) ที่มีขีดแบง่ ระยะ ตดิ ท่เี สา หรอื ที่ผนังอาคารชลศาสตร์ เพ่อื ใชอ้ า่ นค่าระดับนำ้ stage hydrograph stanกdราaฟrแdสดcoงรmะดpับaนc้ำti:oกnราtฟeแsสtด งความสัมพันธร์ ะหว่างระดบั น้ำกับเวลา การทดสอบการบดอัดมาตรฐาน : การทดสอบในห้องทดลอง เพื่อหาความ สัมพันธ์ระหว่างร้อยละของความช้ืนกับความหนาแน่นของดินแห้ง เพ่ือให้ได้ ปริมาณความชื้นท่ีเหมาะสมที่จะทำให้ได้ค่าความหนาแน่นของดินสูงสุด ความช้ืนที่ทำให้ได้ค่าความหนาแน่นของดินสูงสุดเรียกว่า optimum moisture statciocntpenrte ssure ความดันน้ำน่ิง : ความดันท่ีจุดใดจุดหน่ึงในน้ำนิ่ง คำนวณจากหน่วยน้ำหนัก steaขdองyข-องnเหoลnว uคณู nกifบั oคrวาmมลึกflจoากwผ วิ น้ำ เรียกอีกอยา่ งวา่ hydrostatic pressure การไหลคงท่ีแบบไม่สม่ำเสมอ : การไหลที่มีอัตราคงที่ แต่ความเร็วของการ ไหลเปล่ียนแปลงไปตามเสน้ ทางการไหลของนำ้ 207
S steady flow steady flow stepกาwรไeหiลr แบบคงท่ี : การไหลผา่ นจุดท่ีกำหนดด้วยอตั ราการไหลคงท ่ี ฝายขั้นบนั ได : ฝายแบบหนง่ึ ทม่ี ที า้ ยฝายลดลงเปน็ ชั้นๆ คลา้ ยข้นั บันได เรียก stepอpีกอeยdา่ งsวp่า iclalswcaadye weir อาคารทางระบายน้ำล้นข้ันบันได : อาคารทางระบายน้ำล้นท่ีมีท้ายอาคาร stillลinดรgะดbับaลงsเiปnน็ ช ้ันๆ คลา้ ยขนั้ บันได เรยี กอกี อย่างว่า cascade spillway แอ่งน้ำนิ่ง : ส่วนของอาคารชลศาสตร์ที่มีลักษณะเป็นแอ่งน้ำด้านท้ายอาคาร ทำหน้าท่ีสลายพลังงาน เช่น แอ่งน้ำท้ายอาคารทางระบายน้ำล้น รางเท หรือ อาคารทางน้ำตก stilling pool บ่อน้ำน่ิง : บ่อท่ีขังน้ำไว้เพื่อใช้รับแรงกระแทกของน้ำซึ่งไหลออกจากเขื่อน รางเท อาคารน้ำตก หรืออาคารระบายน้ำล้นอ่ืนๆ เรียกอีกอย่างว่า water cushion 208
S stripping stone mesh กลอ่ งลวดถักบรรจุหนิ : กล่องทำดว้ ยลวดถกั บรรจดุ ้วยหนิ ใชไ้ ด้หลายรูปแบบ เช่น วางบนพ้ืนหรือตล่ิงเพื่อป้องกันการกัดเซาะ วางในลำน้ำหรือริมทะเล เพื่อ ปอ้ งกนั คลืน่ วางซอ้ นกันหลายๆชัน้ ทำเป็นฝาย เปน็ ตน้ เรยี กอีกอยา่ งว่า gabion ถา้ กลอ่ งหนานอ้ ยกว่า 30 เซนติเมตร เรียกวา่ mattress stone pitching หินเรียงยาแนว : ส่ิงก่อสร้างท่ีทำข้ึนจากก้อนหินคละขนาด จัดวางบนชั้นวัสดุ รองพื้น โดยวางเรียงกันในลักษณะท่ีให้ก้อนเล็กก้อนใหญ่คละกัน เพื่อให้หิน เรียงชิดกันมากท่ีสุด พร้อมทั้งแต่งผิวหน้าของหินใหญ่แต่ละก้อนให้เป็นระนาบ เสมอกับนหินก้อนข้างเคียง ใช้ปูนสอ (mortar) ยาแนวตามช่องว่างระหว่างหิน กอ้ นใหญ่ แลว้ กระทงุ้ ใหแ้ นน่ และตกแตง่ ใหเ้ รยี บ เรยี กอกี อยา่ งวา่ grouted riprap storage capacity ความจุอ่างเก็บน้ำ : ความจุของอ่างเก็บน้ำที่ระดับกักเก็บ เรียกอีกอย่างว่า gross storage stream gauging การวัดน้ำ : การวัดความเร็วของน้ำและพื้นท่ีหน้าตัดของทางน้ำ เพ่ือใช้ในการ คำนวณหาอัตราการไหลของน้ำ stream power พลังกระแสน้ำ : ความสามารถของลำน้ำธรรมชาติในการพาตะกอนไปตาม ลำน้ำ stripping การเปิดหน้าดิน : การถากหน้าดินเพื่อกำจัดวัสดุท่ีไม่ต้องการออกไปจาก บริเวณทจี่ ะกอ่ สร้างอาคาร เช่น เข่ือน หรือคนั กั้นนำ้ เปน็ ต้น 209
S structural geology structural geology ธรณีวิทยาโครงสร้าง : ธรณีวิทยาสาขาหนึ่งท่ีศึกษาเก่ียวกับโครงสร้าง รูปแบบการวางตัว และโครงสร้างภายในหิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการพรรณนา การแสดง และการวิเคราะห์โครงสร้างต่างๆ (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2544) stoplogs ท่อนก้ันน้ำ : ท่อนไม้ แท่งคอนกรีต หรือเหล็ก สำหรับใส่ในร่องบาน เพ่ือ ปิดก้ันน้ำช่ัวคราว เม่ือต้องการตรวจสอบหรือซ่อมแซมบานบังคับน้ำ ในกรณีที่ ท่อนก้ันน้ำถูกใช้เพ่ือควบคุมการไหลของน้ำผ่านอาคาร จะเรียกว่า regulation planks stop plank แผงก้นั นำ้ : บานไมห้ รอื บานเหลก็ ทำหน้าท่ไี มใ่ หน้ ้ำไหลผา่ นได้ เรยี กอีกอย่าง ว่า flashboard subcritical flow การไหลใตว้ กิ ฤต : 1. การไหลที่ฟรูดนัมเบอร์ มีค่าน้อยกว่าหน่ึง หรือความเร็วของการไหลมีค่า นอ้ ยกวา่ ความเร็วของคลืน่ ผิวนำ้ 2. การไหลในทางนำ้ เปดิ ทค่ี วามลกึ มากกว่าความลกึ วิกฤต sub-irrigation 1. ชลประทานน้ำขาด : การให้น้ำชลประทานแก่พ้ืนที่เพาะปลูกด้วยปริมาณ น้ำท่นี อ้ ยกวา่ ที่พชื ตอ้ งการ 2. ชลประทานใตผ้ ิวดนิ : การให้นำ้ แก่พืชโดยการเพ่มิ ระดบั นำ้ ใตด้ ินใหส้ ูงขน้ึ จนถึงเขตรากพืช 210
S submerged weir sub-lateral คลองแยกซอย : คลองที่รับนำ้ จากคลองซอย ไปสง่ ใหพ้ ื้นทเี่ พาะปลูกหรอื สง่ ให้ คูส่งน้ำ submerged flow การไหลแบบจม : การไหลของน้ำผ่านอาคารชลประทานท่รี ะดับนำ้ ดา้ นทา้ ยมี อทิ ธพิ ลต่อการไหล submerged intake อาคารรบั นำ้ แบบจมนำ้ : อาคารทสี่ รา้ งอยใู่ ตร้ ะดบั นำ้ เพอื่ รบั นำ้ เขา้ สทู่ อ่ สง่ นำ้ submerged orifice ออริฟิซแบบจมน้ำ : รูหรือช่องน้ำผ่านที่จมอยู่ใต้ระดับผิวน้ำท้ังด้านเหนือน้ำ และด้านท้ายน้ำ submerged unit weight น้ำหนักจำเพาะในน้ำ : ผลต่างของน้ำหนักของวัตถุกับน้ำหนักของน้ำที่มี ปริมาตรเท่ากับวัตถุ หารด้วยปริมาตรของวัตถุ เรียกอีกอย่างว่า buoyant unit weight submerged weir ฝายจม : ฝายซึ่งมีระดับน้ำด้านท้ายน้ำเท่ากับหรือสูงกว่าระดับสันฝาย เรียก อกี อยา่ งวา่ drowned weir 211
S subsidiary weir subsidiary weir ฝายท้ายน้ำ : ฝายท่ีสร้างข้ึนด้านท้ายของฝายตัวหลัก เป็นการเพ่ิมระดับน้ำ ดา้ นทา้ ยน้ำ เพ่ือบงั คบั ใหเ้ กดิ นำ้ โจน (hydraulic jump) ท้ายฝายหลกั subsurface drainage การระบายนำ้ ใตผ้ วิ ดนิ : การระบายนำ้ ใต้ดนิ ส่วนเกินออกไป subsurface flow การไหลใตด้ นิ : การไหลของนำ้ ภายใต้ผิวดนิ subsurface irrigation ชลประทานใต้ผิวดิน : 1. การให้นำ้ แกพ่ ชื ทางใต้ผิวดนิ 2. การให้น้ำแกพ่ ชื โดยการเพิม่ ระดบั นำ้ ใต้ดนิ ใหส้ ูงขน้ึ จนถึงเขตรากพชื subsurface runoff น้ำท่าใต้ดิน : น้ำใต้ผิวดินส่วนที่ไหลออกไปสู่ลำน้ำก่อนท่ีจะทันซึมลงไปถึงช้ัน นำ้ ใต้ดนิ suction head ระยะดูด : ระยะทางในแนวดิ่ง วัดจากผิวน้ำของแหล่งน้ำถึงจุดศูนย์กลางของ เครอ่ื งสูบนำ้ มคี ่าเป็นบวกเม่ือระดบั น้ำอย่สู ูงกว่าระดับเครอ่ื งสูบน้ำ 212
S surface irrigation sudden drawdown การลดระดับน้ำฉับพลัน : การลดระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำ หรือคลองส่งน้ำ อย่างกะทันหัน ด้วยขนาดที่มากพอท่ีจะก่อความเสียหายต่ออาคารชลศาสตร์ หรอื ลาดตล่งิ sump บอ่ รวมน้ำ : แอ่งนำ้ หรือบอ่ ซง่ึ อยู่ในทีต่ ำ่ กว่าพ้ืนทส่ี ่วนอน่ื ทำไว้สำหรบั ให้น้ำใน บริเวณรอบๆ นั้น ไหลไปรวมกันเป็นการชั่วคราว เพื่อความสะดวกในการใช้ เครื่องสบู น้ำสบู ทิง้ ไป supercritical flow การไหลเหนือวิกฤติ : การไหลท่ีมีความเร็วสูงกว่าความเร็ววิกฤติ เรียกอีก อยา่ งวา่ rapid flow หรือ shooting flow surcharge ความจุเผื่อน้ำหลาก : ปรมิ าตรหรือความจุในอ่างเก็บน้ำท่ีอยู่ระหว่างระดับน้ำ กักเก็บกับระดับน้ำสูงสุด เป็นท่ีว่างท่ีเผื่อไว้รองรับปริมาณน้ำส่วนเกินจากท่ี กำหนดไว้ เรียกอกี อย่าง flood surcharge surface area of reservoir พ้ืนที่อ่างเก็บน้ำ : ขอบเขตพื้นที่ผิวน้ำของอ่างเก็บน้ำ ณ ระดับกักเก็บที่ได้ ออกแบบไว้ surface drainage การระบายน้ำผิวดิน : การนำน้ำส่วนท่ีไม่ต้องการออกจากพ้ืนท่ี โดยอาศัย ระบบคูคลอง surface irrigation ชลประทานผิวดิน : วิธีการให้น้ำชลประทานโดยให้ไหลไปบนผิวดิน เช่น ชลประทานน้ำนอง ชลประทานลูกฟูก ชลประทานคนั กัน้ เป็นตน้ 213
S surface runoff surface runoff น้ำท่าผิวดิน : ส่วนหน่ึงของน้ำฝนท่ีตกลงมาเหนือพื้นท่ีรับน้ำฝน แล้วไหล ไปตามผิวดนิ ลงสู่ลำน้ำ เรยี กอีกอยา่ งว่า overland runoff surge tank ถังลดแรงกระแทก : ถังปิดท่ีสร้างเชื่อมกับระบบท่อส่งน้ำ เพื่อทำหน้าที่ซับ แรงกระแทกกลับของน้ำ surplus water ปรมิ าณน้ำเหลือใช้ : น้ำทไ่ี หลอยู่ในระบบชลประทาน ซ่ึงเป็นนำ้ สว่ นเกนิ ไม่ได้ เอาไปใช้ประโยชน์ ตอ้ งระบายทิ้งไป suspended load ตะกอนแขวนลอย : ตะกอนที่น้ำพัดพาไป ซึ่งมีการเคลื่อนที่ในลักษณะ แขวนลอยไปกับกระแสน้ำ มีขนาดและความหนาแน่นน้อยกว่าตะกอนท้องน้ำ จึงเคล่ือนทีอ่ ยสู่ งู กวา่ และไปไดร้ ะยะทางไกลกว่า swamp หนองน้ำ : พื้นที่ท่ีเป็นดินโคลนหรือมีน้ำขังเป็นบริเวณกว้าง มักจะถูกปกคลุม ด้วยพืชนำ้ swing gate บานหมุน : บานบังคับน้ำชนิดที่เปิด-ปิดบานโดยให้บานหมุนรอบจุดหมุน มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบจดุ หมนุ ยดึ แนน่ และแบบจดุ หมนุ เคลอื่ นทไี่ ด้ เรยี กอกี อยา่ ง วา่ hinged gate synthetic unit hydrograph กราฟหนึ่งหน่วยน้ำท่าสังเคราะห์ : กราฟหน่ึงหน่วยน้ำท่าท่ีประเมินจาก ลักษณะทางกายภาพของลุ่มนำ้ 214
T tail drain tail drain คูระบายน้ำท้ายแปลง : ร่องหรือคูเล็กๆ สร้างไว้ท่ีท้ายแปลงเพาะปลูก ด้าน tailทr่ีมeีรgะดuับlตa่ำtoเพrื่อ ระบายน้ำส่วนเกนิ ในแปลงทง้ิ ไป อาคารบังคับน้ำปลายคลอง : อาคารท่ีสร้างข้ึนท่ีปลายคลองส่งน้ำ เพ่ือ tailwควaบtคeุมrปรlิมeาvณeหl รอื ระดับนำ้ tailwระaดtบั eทrา้ ยrนa้ำti:nรgะดcบั uขอrงvผeิวน ้ำทางดา้ นทา้ ยน้ำของอาคารชลศาสตร ์ โค้งอัตราการไหลท้ายน้ำ : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรน้ำกับ Tainระtดeบั rน้ำgดaา้ tนeท า้ ยอาคาร บานโค้งเทนเตอร์ : บาน บั ง คั บ น้ ำ ท่ี มี ตั ว บ า น เ ป็ น รู ป โ ค้ ง ที่ เ ป็ น ส่ ว น โ ค้ ง ข อ ง วงกลมจุดหมุนของบานจะอยู่ ท่ีจุดศูนย์กลางของวงกลมนั้น เรยี กว่า Tainter gate (บานโคง้ เทนเตอร)์ เพือ่ เปน็ เกยี รตแิ ก่ Burnham Tainter tankผู้คดิirปrรiะgดaิษฐtiบ์ oาnนช นิดน้ี เรียกอีกอย่างวา่ radial gate tectชoลnปiรcะsท านขนาดเลก็ : ระบบชลประทานทมี่ แี หลง่ นำ้ เปน็ อา่ งเกบ็ นำ้ ขนาดเลก็ ธรณีแปรสัณฐาน : สาขาหน่ึงของธรณีวิทยาท่ีว่าด้วยลักษณะโครงสร้างของ เปลือกโลกท่ีเกิดจากแรงหรือกระบวนการภายในโลกที่มากระทำต่อเปลือกโลก หรือศึกษาถึงแรงกระทำต่อเปลือกโลกที่ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะ โครงสรา้ ง 216
T theodolite telemetering system tensรiะoบmบโeทtรeมrา ตร : ระบบตรวจวัดข้อมลู และสง่ ข้อมลู ทางไกลแบบอตั โนมตั ิ Terเmครsอื่ งoมfอื Rวดั eคfวeาrมeชn้ืนce: เค(รTื่องOมอืRวดั)ค วามชื้นท่อี าศยั หลกั การของแรงดึง terrขaอcบeเ ขตของงาน : แนวทางการจดั ทำขอบเขตของงาน ขัน้ บนั ได : 1. พ้ืนที่ลาดชันทถ่ี กู ตดั ให้เป็นขน้ั บนั ไดเพือ่ ใชเ้ ปน็ พน้ื ทเี่ พาะปลูก 2. คันดินเต้ียๆ ที่สร้างขวางกับแนวลาดของพ้ืนที่ลาดชัน เพื่อควบคุมการไหล ของน้ำผวิ ดินและลดการกัดเซาะหนา้ ดนิ ใหน้ ้อยลง ตะพัก : ลักษณะภูมิประเทศแบบขั้นบันไดริมตล่ิงหรือชายฝ่ัง ท่ีเรียกว่า ลานตะพักลำน้ำ ตะพักคล่ืนสร้าง และตะพักคล่ืนเซาะ (พจนานุกรมศัพท์ testธinรณgวี ทิflยuาmฉบeบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2544) รางนำ้ ทดสอบ : รางน้ำเปดิ ท่ีมพี ื้นแข็งและมีด้านข้างโปร่งใส ใช้สำหรบั สังเกต theoพdฤตoกิ lรitรeม การไหลของน้ำในแบบจำลอง กลอ้ งวัดมมุ , กลอ้ งทีโอโดไลต์ : เครอื่ งมอื สำรวจทม่ี คี วามแม่นยำ ใชส้ ำหรับ วัดมุมในทางราบและทางด่ิง อาจมีระบบการวัดมุมหลายระบบในกล้อง เครื่องเดียวก็ได้ ระบบการอ่านจะเป็นตัวกำหนดชนิดของกล้อง เช่น ทีโอโดไลต์ แบบดจิ ทิ ลั (digital theodolite) หรอื ทโี อโดไลต์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic theodolite) ประกอบด้วยบรรทัดเล็งท่ีมีกล้องส่อง บรรทัดเล็งนี้ซ้อนอยู่บนจาน หรือวงแหวนแบบกลม ซึ่งวางอยู่ตามแนวราบและมีส่วนแบ่งทางมุมรอบขอบวง อย่างถูกต้อง บนบรรทัดเล็งมีเครื่องตรวจระดับและเครื่องอ่านค่าส่วนแบ่ง บนจาน หรือวงแหวนขา้ งใต้เพอ่ื วดั มมุ แนวราบ บางชนิดมจี านหรือวงแหวนแบบ เดียวกันติดอยู่ตามแนวดิ่ง บางชนิดมีจานองศาราบและองศาดิ่ง แต่ตัวองศาจะ เป็นรหัสแถบ (พจนานุกรมศพั ทภ์ ูมิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) 217
T Thiessen polygon Thiessen polygon รูปหลายเหล่ียมธีเอสเสน : รูปหลายเหลี่ยมที่เกิดจากการลาก เส้นแบ่งคร่ึงและต้ังฉากกับเส้นที่โยง ต่อระหว่างจุดท่ีแสดงปริมาณน้ำฝนที่ ได้จากเคร่ืองวัดน้ำฝน ณ ท่ีต่างๆ บนแผนท่ ี thrust blocks แท่นรับแรงกระแทก : แท่นรองหรือหุ้มท่อตรงจุดที่มีการเปล่ียนทิศทางเพื่อ รับแรงกระแทกของนำ้ ทำด้วยคอนกรตี เสริมเหล็ก tidal river แม่น้ำท่ีมีน้ำขึ้นลง : แม่น้ำท่ีอยู่ภายใต้อิทธิพลของน้ำทะเล ทำให้เกิดสภาวะ น้ำขึ้นนำ้ ลง tide น้ำขึ้นลง : อาการขึ้นและลงของระดับน้ำตามคาบเวลาที่เกิดข้ึนในมหาสมุทร และทะเลตา่ งๆ ซ่ึงเป็นผลมาจากแรงดึงดดู ของดวงอาทิตยแ์ ละดวงจันทรท์ ่ีกระทำ ต่อโลก ขนาดของแรงดงึ ดดู นีจ้ ะเปน็ ปฏิภาคโดยตรงกับมวลของดวงอาทติ ย์ และ ดวงจันทร์ และจะเป็นปฏิภาคผกผันกับระยะทางกำลังสอง ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าดวงจันทร์ 26 ล้านเท่า แต่มีระยะห่างจากโลกประมาณ 380 เท่าของ ระยะห่างของดวงจันทร์ จึงมีแรงดึงดูดได้เพียง 4/9 ของดวงจันทร์เท่าน้ัน (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) tile drain ท่อระบายน้ำดินเผา : ท่อที่ทำมาจากดินเผาหรือคอนกรีต ฝังไว้ใต้ดินเพ่ือ ระบายนำ้ สว่ นเกนิ ในดนิ 218
T toe wall timber weir ฝายไม้ : ฝายแขง็ ทท่ี ำจากไม ้ time of application เวลาใหน้ ำ้ : เวลาทต่ี ้องใชใ้ นการใหน้ ้ำแก่พ้ืนท่เี พาะปลกู คำนวณไดจ้ ากการนำ ปริมาณน้ำท่ีตอ้ งสง่ ใหท้ ั้งหมดหารด้วยอัตราการใหน้ ้ำ time of concentration ระยะเวลานำ้ ไหลรวม : เวลาที่นำ้ ใชใ้ นการไหลจากจดุ ท่ีไกลท่ีสดุ ของลมุ่ น้ำถงึ จุดออกล่มุ นำ้ เรยี กอีกอยา่ งวา่ period of concentration time scale อตั ราสว่ นของเวลา : อัตราส่วนระหว่างเวลาท่ใี ช้ในการเคลอื่ นที่ในต้นแบบกับ เวลาของการเคลื่อนที่ที่มลี ักษณะเดียวกันในแบบจำลอง toe drain ทางระบายนำ้ ใตด้ นิ ทา้ ยเขือ่ น : ทางระบายนำ้ ซึมทต่ี นี เขื่อนด้านทา้ ยนำ้ toe protection การป้องกันตีนลาด : การป้องกันการกัดเซาะตีนลาดของอาคารชลประทาน หรอื ตีนเข่ือนดิน โดยการถมหินท้ิง หนิ เรยี ง เปน็ ต้น toe wall กำแพงตนี ลาด : กำแพงเตย้ี ๆ ทำจากหนิ ก่อ คอนกรตี หรือหนิ เรียง สร้างใต้ ระดับผิวดิน บริเวณตีนลาดของหินเรียงดาดพ้ืนลาด เพื่อช่วยยันหินเรียงไม่ให้ เลอ่ื นไถล 219
T toponym toponym ชื่อภูมิศาสตร์ : ช่ือลักษณะภูมิประเทศและสถานท่ีทางภูมิศาสตร์ต่างๆ ได้แก่ แม่น้ำ ภูเขา อำเภอ ตำบล เป็นต้น ตวั อยา่ งเชน่ แมน่ ้ำเจา้ พระยา ดอยอินทนนท์ อำเภอพนัสนิคม ต้ังขนึ้ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการบ่งช้ี หรือเรยี กว่า geographic name, geographical name (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) tortuous flow การไหลแบบปั่นป่วน : การไหลท่ีอนุภาคของน้ำเคลื่อนที่ไปในทิศทางท่ีไม่ แน่นอน และไม่เกิดเส้นกระแสน้ำ เรียกอีกอย่างว่า sinuous flow หรือ turbulent flow total available water ความช้ืนทั้งหมดท่ีพืชนำไปใช้ได้ : (การเกษตร) ปริมาณน้ำทั้งหมดที่ดิน ในเขตรากพืชสามารถกักเก็บไว้ได้ อยู่ระหว่างค่าความชื้นชลประทานและ ความชนื้ ทจ่ี ุดเหย่ี วเฉาถาวร total dynamic head เฮดรวมของป๊ัม : เฮดพลังงานรวมของป๊ัมท่ีต้องการสูบน้ำข้ึนท่ีสูง โดยไม่คิด แรงเสยี ดทานในตัวปัม๊ total evaporation การระเหยทัง้ หมด : ผลรวมของน้ำท่ีสญู เสยี ไปเนื่องจากการใช้น้ำของพชื (การ คายนำ้ และการสรา้ งเน้อื เยื่อ) การระเหยจากผิวนำ้ ผวิ ดิน และหยาดนำ้ ฟา้ ทีค่ ้าง อยู่ตามต้นไม้ใบหญ้า ในพื้นท่ีหนึ่งๆ ณ ช่วงเวลาท่ีพิจารณา เรียกอีกอย่างว่า fly off, total loss หรอื water losses total head เฮดรวม : ผลรวมของพลังงานท้ังหมดที่เกิดขึ้นเทียบเป็นความสูงของของเหลว ซ่ึงไดแ้ ก่ พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลงั งานเน่อื งจากความดัน 220
T transmission constant total runoff นำ้ ท่าทั้งหมด : ปรมิ าณรวมของน้ำทา่ จากทุกๆ แหล่ง ในลุ่มน้ำท่ีพจิ ารณา ณ ห้วงเวลาทีก่ ำหนด หรือในช่วงเวลาท่ีเกดิ พายุฝนลกู หนึ่งๆ total loss การระเหยทั้งหมด : ผลรวมของน้ำที่สูญเสียไปเน่ืองจากการใช้น้ำของพืช (การคายน้ำและการสรา้ งเนื้อเยือ่ ) การระเหยจากผิวน้ำ ผิวดิน และหยาดนำ้ ฟ้า ทค่ี า้ งอยตู่ ามตน้ ไมใ้ บหญา้ ในพน้ื ทหี่ นง่ึ ๆ ณ ชว่ งเวลาทพ่ี จิ ารณา เรยี กอกี อยา่ งวา่ fly off, total evaporation หรือ water losses tractive force แรงฉุดลาก : แรงที่น้ำกระทำต่อพ้ืนผิวขอบเปียกของทางน้ำ เนื่องจากการ เคลอื่ นท่ีของนำ้ ในแนวขนานกับทิศทางการไหล tranquil flow การไหลแบบราบเรียบ : กระแสน้ำท่ีไหลด้วยความเร็วต่ำกว่าความเร็ววิกฤติ เรยี กอีกอย่างวา่ subcritical flow transition ส่วนเช่ือมต่อ : ส่วนของทางน้ำท่ีเปล่ียนขนาดและรูปหน้าตัดไปทีละน้อยจาก ด้านเหนือน้ำไปยังท้ายน้ำ ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างทางน้ำสองส่วนที่มีขนาด หรอื รปู รา่ งต่างกัน เชน่ ช่วงเชือ่ มตอ่ ระหว่างคลองกับอาคารชลประทาน ซ่งึ เรยี ก ว่า inlet transition, entrance transition หรือ upstream transition หรือ ระหวา่ งอาคารชลประทานกบั คลอง ซ่ึงเรยี กว่า outlet transition, exit transition หรือ downstream transition transmission constant การนำชลศาสตร์ : อัตราการไหลซึมของของเหลวผ่านหนึง่ หนว่ ยพื้นท่ีหน้าตัด ของมวลสารท่ีมีรูพรุน ภายใต้ลาดชลศาสตร์ (hydraulic gradient) หน่ึงหน่วย ท่ีอุณหภูมิท่ีกำหนด เรียกอีกอย่างว่า hydraulic conductivity, unit of permeability, coefficient of permeability หรือ coefficient of transmission 221
T transmission losses transmission losses การสูญเสียจากการส่งน้ำ : การสูญเสียน้ำโดยการรั่วซึมและระเหยระหว่าง ทาง จากแหลง่ นำ้ ไปยังจดุ หมาย เรยี กอกี อยา่ งว่า conveyance losses transpiration การคายน้ำ : กระบวนการท่ีพืชดูดน้ำจากรากเข้าสู่ลำต้น เพ่ือสังเคราะห์แสง แลว้ ระบายน้ำออกทางปากใบ transverse dike รอ : สง่ิ กอ่ สร้างท่สี รา้ งยื่นออกจากตลง่ิ เป็นมมุ เฉยี งลไู่ ปตามทศิ ทางการไหลของ กระแสนำ้ มลี กั ษณะโปรง่ หรอื ทบึ กไ็ ด้ เรยี กอกี อยา่ งวา่ groin, groyne, spur dike หรอื jetty trap box บ่อดักทราย : อาคารท่ีทำไว้ในทางน้ำเพื่อดักตะกอน เช่น ดิน หรือทราย ท่ีไหลมากับนำ้ ใหต้ กตะกอนอยูภ่ ายในบอ่ trapezoidal notch ฝายส่ีเหล่ียมคางหมู : ฝายวัดน้ำสันคม ซ่ึงมีช่องให้น้ำผ่านที่สันฝายเป็นรูป ส่ีเหลี่ยมคางหมู เรียกอีกอย่างว่า trapezoidal weir ถ้ามีลาดด้านข้าง 4:1 เรียกวา่ cipolletti weir trapezoidal weir ฝายส่ีเหล่ียมคางหมู : ฝายวัดน้ำสันคม ซึ่งมีช่องให้น้ำผ่านที่สันฝายเป็นรูป ส่ีเหล่ียมคางหมู เรียกอีกอย่างว่า trapezoidal notch ถ้ามีลาดด้านข้าง 4:1 เรียกวา่ cipolletti weir trash rack ตะแกรงกันสวะ : ตะแกรงหรือลูกกรงเหล็กใช้ดักสิ่งท่ีลอยมากับน้ำ เช่น ผกั ตบชวา กิ่งไม้ หรอื ของลอยนำ้ อน่ื ๆ 222
T triaxial compression test trench drain ทางระบายน้ำใต้เขื่อน : ทางระบายน้ำใต้ดินท่ีทำไว้ท่ีฐานรากของเขื่อน เพ่อื ดักและระบายน้ำใตด้ นิ triangular weir ฝายสามเหลี่ยม : ฝายวัดน้ำสันคม มีช่องให้น้ำผ่านท่ีสันฝายเป็นรูปตัวอักษร V เรียกอีกอยา่ งว่า v-notch weir triangulation โครงข่ายสามเหล่ียม : วิธีการสำรวจเพ่ือหาค่าพิกัดของจุดยอดสามเหล่ียม ดว้ ยการรงั วัดมมุ ณ จดุ ฐานของรูปสามเหล่ียม แลว้ จงึ นำผลการรังวัดมาคำนวณ หาความยาวของดา้ นต่างๆ ด้วยวธิ ที างคณิตศาสตร ์ triaxial compression test การทดสอบแรงกด 3 ทิศทาง : การทดสอบตัวอย่างดินรูปทรงกระบอก ที่บรรจุอยู่ในแผ่นเยื่อทึบน้ำภายใต้แรงดันน้ำรอบข้าง แล้วกดด้วยแรงในแนวด่ิง จนกระทงั่ ตัวอยา่ งดินพังทลาย 223
T Tsunami Tsunami คลื่นสึนามิ : คล่ืนในทะเลที่มีช่วงคล่ืนยาวประมาณ 80-200 กิโลเมตร เกิดจากความส่ันสะเทือนของแผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่ม หรือภูเขาไฟระเบิดที่ พื้นท้องมหาสมุทร คลื่นนี้อาจเคล่ือนที่ข้ามมหาสมุทรซึ่งห่างจากตำบลที่เกิดเป็น พนั ๆ กโิ ลเมตร โดยไม่มีลกั ษณะผดิ สังเกต เพราะมีความสงู เพยี ง 30 เซนติเมตร เคลื่อนท่ีด้วยความเร็วประมาณ 600-1,000 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง (พจนานุกรม ศัพท์ธรณวี ทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2544) turbidity ความขุ่น : สภาพของน้ำที่มีสารแขวนลอยขนาดเล็กที่สามารถมองเห็นได้ ก่อให้เกิดสภาวะการกระจายหรือการดูดแสง แหล่งน้ำท่ีมีความขุ่นสูงย่อมแสดง ว่ามีการส่องผ่านของแสงน้อย แหล่งน้ำท่ัวไปไม่ควรมีค่าความขุ่นเกินกว่า 100 NTU (Nephelometric Turbidity Units) เพราะจะสง่ ผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ของสัตวแ์ ละพืชนำ้ และการผลติ นำ้ ประปา turbulent flow การไหลแบบปั่นป่วน : การไหลที่อนุภาคของน้ำเคล่ือนท่ีไปในทิศทาง ที่ไม่แน่นอน และไม่เกิดเส้นกระแสน้ำ เรียกอีกอย่างว่า sinuous flow หรือ tortuous flow 224
U unconfined compressive strength unconfined compressive strength กำลังอัด, กำลังอัดแกนเด่ียว : ค่าความเค้นสูงสุดในแนวแกนที่มวลวัสดุ สามารถรับได้ภายใต้สภาวะไร้แรงดันปิดล้อม (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา uncฉoบnับsรoาชliบdัณaฑtิตeยdสถsาeนdปimี 25e4n4)t ตะกอนร่วน : ตะกอนท่ียังไม่จับตัวกันแน่นแข็งเป็นหิน (พจนานุกรมศัพท์ undธeรrณgวี rทิ oยาuฉnบdับรdาชaบmณั ฑิตยสถาน ปี 2544) เขื่อนใต้ดิน : กำแพงทึบท่ีฝังอยู่ใต้ดินเพื่อทำหน้าท่ีปิดกั้นการไหลของน้ำใช ้ unifใoนrกาmรกักfเlกoบ็ wน ำ้ ใต้ดิน การไหลแบบสม่ำเสมอ : การไหลท่ีมีคุณสมบัติการไหล เช่น ความลึก ความเร็ว และพ้ืนที่หน้าตัด ไม่เปล่ียนแปลงไปตามระยะทาง การไหลแบบน้ี unitระdดบัrผyิวนw้ำจeะiขgนhานt กับระดับท้องน้ำ หน่วยน้ำหนักแห้ง : อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของดินแห้งต่อปริมาตรของดิน unitซ่งึ hรวyมdช่อrงoวgา่ งrรaะหpวh่าง ดนิ ด้วย เรยี กอีกอยา่ งวา่ dry unit weight กราฟหน่ึงหน่วยน้ำท่า : กราฟแสดงปริมาณน้ำท่าที่เกิดจากฝนใช้การ unitหนoงึ่ fหนp่วeยrทmกี่ รeะaจbายiอliยtา่ yง สมำ่ เสมอท่วั พ้ืนที่รบั นำ้ ฝนในช่วงเวลาทีก่ ำหนด การนำชลศาสตร์ : อัตราการไหลซมึ ของของเหลวผา่ นหน่งึ หน่วยพน้ื ทหี่ น้าตัด ของมวลสารท่ีมีรูพรุน ภายใต้ลาดชลศาสตร์ (hydraulic gradient) หน่ึงหน่วย ท่ีอุณหภูมิที่กำหนด เรียกอีกอย่างว่า hydraulic conductivity, transmission unscaotnustraantt,ecdoesffoiciieln t of permeability หรอื coefficient of transmission ดนิ ไม่อม่ิ ตวั : ดินทม่ี นี ำ้ อย่บู างสว่ นตามช่องวา่ งระหว่างเมด็ ดิน 226
U upstream shell unsteady flow unsกteารaไdหyลแnบoบnไม-ค่uงnทi่ีf:oกrาmรไหfลlผo่าwนจ ดุ ท่ีกำหนดดว้ ยอตั ราการไหลไมค่ งท่ ี การไหลไมค่ งทแี่ ละไมส่ มำ่ เสมอ : การไหลทม่ี คี วามเรว็ ของการไหลเปลย่ี นแปลง upliไfปtตาpมrเวeลsาsแuลrะรeะ ยะทาง ความดันขึ้นของน้ำ : ความดันขึ้นในแนวด่ิงใต้อาคารชลประทาน เช่น เข่ือน ฝาย อันเกิดจากแรงดันของน้ำ มีหน่วยเป็นน้ำหนักต่อพ้ืนท่ี เช่น กิโลกรัม uppตe่อrตาrรuางlเeมตcรuหrรvอื ตeนั ตอ่ ตารางเมตร กราฟจัดการน้ำเส้นบน : เส้นแสดงเกณฑส์ ูงสุดของกราฟจดั การน้ำ ใชบ้ ริหาร upsจtัดrกeาaรmนำ้ เพimอ่ื หpลeกี เrลvยี่ iงoสภuาsพนb้ำlลaน้ nอkา่ งe t ผนื ทบึ นำ้ ดา้ นเหนอื นำ้ : วั ส ดุ ทึ บ น้ ำ ท่ี ปู ด า ด ทั บ ผิวหน้าดินของเขื่อนดิน ดา้ นเหนอื นำ้ และเชอ่ื มตอ่ upsกtrบั eแaกนmเขื่อcนo(ncotrreozlo ne) เพ่อื ลดการซึมผ่านฐานรากเขื่อน การควบคุมโดยเหนือน้ำ : การควบคุมปริมาณน้ำท่ีผ่านอาคาร โดยใช้ระดับ upsดtrา้ นeเaหmนือนf้ำilเปl ็น ตัวกำหนด เปลือกเหนอื นำ้ : สว่ นประกอบของเข่อื นดนิ ทีส่ รา้ งจากวัสดุทบึ นำ้ หรอื กง่ึ ทบึ นำ้ upsอtrยู่ดe้าaนmเหนsอื hนeำ้ lขlอ งแกนเข่อื น เรียกอีกอย่างว่า upstream shell เปลอื กเหนอื น้ำ : ส่วนประกอบของเขือ่ นดนิ ทีส่ รา้ งจากวสั ดทุ ึบน้ำหรอื ก่ึงทึบน้ำ อย่ดู า้ นเหนือน้ำของแกนเขือ่ น เรียกอีกอยา่ งวา่ upstream fill 227
V v-notch weir v-notch weir ฝายสามเหล่ียม : ฝายวัดน้ำสันคม มีช่องให้น้ำผ่านที่สันฝายเป็นรูปตัวอักษร V เรียกอกี อย่างว่า triangular weir valve ประตูน้ำ, ลิ้น : อุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ ในระบบท่อปิด เพื่อทำหน้าท่ีควบคุม ป ริ ม า ณ แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ก า ร ไ ห ล ข อ ง ของเหลว และความดันภายในท่อ vapor pressure ความดันไอ : ความดนั ซ่ึงเกดิ จากไอน้ำในอากาศ varied flow การไหลแบบไม่สม่ำเสมอ : การไหลที่มีคุณสมบัติการไหล เช่น ความลึก ความเร็ว และพื้นท่ีหน้าตัด เปล่ียนแปลงไปตามระยะทาง เรียกอีกอย่างว่า non-uniform flow velocity head เฮดความเรว็ : เฮดท่ีเกดิ จากพลังงานจลนจ์ ากการไหลของของไหล หาได้จาก ความเร็วเฉล่ียของของไหลยกกำลังสอง หารด้วยสองเท่าของอัตราเร่งเน่ืองจาก แรงดงึ ดูดของโลก (g) velocity of approach ความเร็วก่อนเข้าอาคาร : ความเร็วของกระแสน้ำ วัดได้ท่ีจุดเริ่มต้นของ อาคารชลศาสตร์ เช่น ฝาย เขือ่ น รูน้ำผ่าน หรืออาคารอ่ืนๆ ทางด้านเหนอื นำ้ 230
V vertical drain vena contracta วีนาคอนแทร็กตา : ลักษณะลำของไหลท่ีผ่านออกมา จะคอดตัวเรียวเล็กกว่า ขนาดของรูระบายเล็กน้อยแล้วจึงค่อยๆ ขยายตัวอีกเล็กน้อยเป็นลำของไหล ซ่งึ บริเวณคอคอดทเ่ี ลก็ ท่ีสุดเรยี กวา่ vena contracta venturi meter มาตรเวนจูรี : เคร่ืองมือสำหรับวัดอัตราการไหลของน้ำในท่อปิดชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นท่อรูปทรงกรวยตัดสองท่อนมาต่อกัน การวัดอัตราการไหลหาได้ จากผลต่างของระดบั นำ้ ในมาโนมิเตอร ์ vertical creep การไหลซึมแนวดิ่ง : การไหลซึมของน้ำออกไปรอบๆ อาคารในแนวดิ่ง หรือ ในทิศทางท่มี คี วามลาดชนั มากกวา่ 45 องศา vertical drain ทางระบายน้ำแนวด่ิง : ทางระบายน้ำออกทางแนวด่ิง ใช้ลดแรงดันส่วนเกิน ของน้ำใตด้ ิน 231
V vertical drop vertical drop อาคารนำ้ ตก : อาคารลดระดบั นำ้ ท่ีปล่อยให้นำ้ ไหลตกลงในแนวด่ิง vertical lift gate บานยกแนวดิ่ง : บานที่เคล่ือนที่ในแนวดิ่ง โดยเคลื่อนทภ่ี ายในรอ่ งหรือชอ่ งที่ กำหนด vibrating roller รถบดแบบสั่นสะเทือน : เคร่ืองจักรสำหรับบดอัดดิน ซ่ึงมีเคร่ืองยนต์ทำให้ เกิดการส่นั สะเทอื นอยภู่ ายใน viscosimeter เคร่ืองวดั ความหนดื : เครอื่ งมอื ที่ใช้วัดความหนืดของของเหลว void ชอ่ งวา่ ง : ช่องวา่ งท่ีอยูภ่ ายในเนอ้ื ของวตั ถุ เชน่ ดนิ หนิ หรือคอนกรตี void ratio อัตราส่วนช่องว่าง : อัตราส่วนของปริมาตรทั้งหมดของช่องว่างในเนื้อระหว่าง เมด็ ดนิ ต่อปริมาตรของเมด็ ดินทงั้ หมด 232
W wall friction wall friction winคgวาwมaฝlืดlก ำแพง : ความเสียดทานท่เี กิดขน้ึ ระหว่างกำแพงกบั ดิน กำแพงปีก : กำแพงท่ยี ่ืนออกไปจากตอมอ่ รมิ ของสะพาน ตอมอ่ รมิ ของเขอื่ นทดนำ้ หรอื ตวั ฝาย เข้าไปในคันดินหรือตล่ิง เพื่อวัตถุประสงค์ ต่างๆ เช่น เพิ่มระยะการไหลซึมผ่านของน้ำ walปkอ้ wงกaนั yกาpรกlaดั เnซาkะ เป็นต้น อาคารแผ่นพื้นทางข้าม : แผ่นวัสดุท่ีวางข้ามทางน้ำ ใช้สำหรับเป็นทางเดิน warขnา้ มinทgางนleำ้ นaนั้ dๆt ime เวลาเตือนภัย : ระยะเวลานับจากการเตือนภัยว่าจะเกิดน้ำท่วมถึงเวลาท่ีเกิด warนpำ้ eทdว่ มจtรrงิ a nsition wasสh่วนloเชaอื่ dม ตอ่ ลกั ษณะโค้ง : สว่ นเชอ่ื มต่อ ซง่ึ มีกำแพงด้านขา้ งเปน็ รปู โคง้ ตะกอนชะล้าง : ตะกอนที่น้ำพัดพาไปจากผิวหน้าดินของพื้นที่รับน้ำ มีขนาด wasเtลe็กมcาhกจaนnเกnือeบlอ ยู่ในสภาพแขวนลอยอยา่ งถาวร ร่องท้ิงน้ำ : ทางน้ำที่ทำขึ้นเชื่อมต่อระหว่างระบบส่งน้ำกับทางน้ำธรรมชาติ หรือแอ่งน้ำขนาดใหญ่ เพ่ือระบายน้ำส่วนเกินในระบบทิ้งไปในทางน้ำธรรมชาติ wasหtรeือwแอaง่ yน ้ำดงั กล่าว ทางท้ิงน้ำ : อาคารท่ีสร้างไว้ในคลองส่งน้ำสำหรับระบายน้ำส่วนเกินในคลอง ทิ้งไป หรือบางแห่งอาจใช้เพ่ือระบายตะกอนในคลองด้วย 234
W water losses water application efficiency ประสทิ ธภิ าพในการใหน้ ้ำ : อตั ราสว่ นระหว่างปริมาณน้ำสทุ ธทิ ่ีพืชตอ้ งการใช้ (Net Water Requirement) ต่อปริมาณน้ำชลประทานท่ีต้องจัดส่งให้ท้ังหมด wat(eGrrobssaWlaantecreR equirement) แลว้ คดิ เป็นรอ้ ยละ watสeมrดcุลoนnำ้ t:eกnาtร ทำสมดุลน้ำระหวา่ งนำ้ เข้าและน้ำออกภายในระบบท่ีพจิ ารณา ปริมาณความช้ืน : ปริมาณน้ำในวัสดุซ่ึงแสดงอยู่ในรูปของร้อยละโดยน้ำหนัก watเeรrยี กcอีกuอsยhา่ iงoว่าnm oisture content บอ่ น้ำน่ิง : บอ่ ที่ขงั นำ้ ไว้เพื่อใชร้ ับแรงกระแทกของน้ำซง่ึ ไหลทิ้งจากเขอ่ื น รางเท watอeาrคาdรนu้ำtตyก หรืออาคารระบายนำ้ ล้นอืน่ ๆ เรยี กอีกอย่างว่า stilling pool ชลภาระ : ปริมาณน้ำชลประทานท่ีส่งให้พ้ืนที่เพาะปลูกต่อหนึ่งหน่วยพ้ืนท่ี watแeลrะตhอ่ aหmน่ึงหmนeว่ ยrเ วลา เรยี กอกี อยา่ งว่า duty of water ค้อนน้ำ : ปรากฏการณท์ ค่ี วามดนั ภายในท่อปดิ มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรนุ แรง ฉับพลันในลักษณะเป็นคลื่นเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันไป มีสาเหตุมาจากการ watทeำrใหlก้oรsะsแeสsน ำ้ ในท่อลดความเรว็ หรือหยดุ ลงอย่างกะทันหัน การระเหยทั้งหมด : ผลรวมของน้ำที่สูญเสียไปเนื่องจากการใช้น้ำของพืช (การคายนำ้ และการสรา้ งเน้ือเยอ่ื ) การระเหยจากผวิ นำ้ ผวิ ดิน และหยาดน้ำฟา้ ทค่ี ้างอยู่ตามต้นไม้ใบหญ้า ในพนื้ ทีห่ น่งึ ๆ ณ ช่วงเวลาทีพ่ ิจารณา เรยี กอีกอยา่ ง ว่า total evaporation หรอื total loss 235
W water master water master หัวหนา้ ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษา : เจ้าหนา้ ที่กรมชลประทานทีป่ ฏบิ ัตงิ านใน โครงการชลประทานต่างๆ ดูแลการส่งน้ำ และรับผิดชอบการบำรุงรักษาระบบ งานชลประทานในระดับแปลงนา อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้อำนวยการ โครงการ คำน้ีอาจมีความหมายแตกต่างกันในแตล่ ะประเทศ (โปรดดู zoneman watปeรrะกmอบi)l l โรงงานพลังน้ำ : โรงงานท่ีใช้พลังงานจากการไหลของกระแสน้ำไปหมุน watเeคrร่ือpงจaกั rร t in g สันปันน้ำ : เส้นแบ่งหรือสันเขา ยอดเขาหรือทางแคบๆ บนพ้ืนที่สูงท่ีเป็นแนว แบ่งเขตระหว่างบริเวณลุ่มน้ำสองแห่งท่ีอยู่ติดกัน หรือที่แบ่งน้ำผิวดินตาม ธรรมชาติให้ไหลไปในทิศทางตรงกันข้าม สันปันน้ำเป็นลักษณะภูมิประเทศที่ นิยมนำมาใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ เรียกอีกอย่างว่า watershed watหeรrอื rdeivqidue i rement ความต้องการน้ำของพื้นที่เพาะปลูก : ปริมาณน้ำท้ังหมดท่ีส่งให้พื้นที่เพาะ watปeลrกู ใsนuชr่วfงaเวcลาeทp่กี ำrหoนfดi le watรeูปrตtัดaตbามleย าวผิวนำ้ : รูปตัดตามยาวของระดับผวิ น้ำในทางนำ้ เปดิ ระดับน้ำใต้ดิน : พื้นผิวหรือแนวระดับน้ำใต้ผิวดินท่ีอยู่ระหว่างเขตอิ่มน้ำกับ เขตอิ่มอากาศ ณ ระดับน้ำใต้ดินน้ี แรงดันน้ำเท่ากับแรงดันบรรยากาศ wat(eพrจนtาuนrุกbรมinศพัeท ์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) กงั หนั น้ำ : กงั หันหรอื ใบพดั ท่หี มนุ ด้วยแรงดันน้ำ ส่วนใหญใ่ ช้กับเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา้ 236
W waterstop water wheel หลุก, ล้อหมุนน้ำ : เครื่องมือวิดน้ำท่ีใช้พลังงานจากการไหลของกระแสน้ำไป watหeมrนุ yวงeลaอ้ rเพ ือ่ ยกน้ำข้ึนไป ปีนำ้ : ระยะเวลาต่อเน่อื ง 12 เดอื นของข้อมลู อุทกวิทยา สำหรับประเทศไทยใช้ ต้ังแต่ 1 เมษายน ปีปัจจุบัน ถึง 31 มีนาคมของปีถัดไป เรียกอีกอย่างว่า watheyrdlroolgoggicinalgy ear สภาพน้ำขังใต้ผิวดิน : สภาพของดินที่มีน้ำใต้ดินอยู่ในระดับสูงเกือบถึงผิวดิน watซe่ึงrเปshน็ อeันdต รายตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ทำใหผ้ ลผลติ ลดลงต่ำกวา่ ปกต ิ 1. สันปันน้ำ : เส้นแบ่งหรือสันเขา ยอดเขาหรือทางแคบๆ บนพ้ืนท่ีสูง ที่เป็น แนวแบง่ เขตระหว่างบริเวณลุม่ น้ำสองแห่งท่อี ยู่ติดกนั หรือท่แี บ่งนำ้ ผิวดินตาม ธรรมชาติให้ไหลไปในทิศทางตรงกันข้าม สันปันน้ำเป็นลักษณะภูมิประเทศ ที่นิยมนำมาใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ เรียกอีกอย่างว่า water parting หรือ divide 2. บริเวณลุ่มน้ำ, พื้นที่รับน้ำ : บริเวณพ้ืนท่ีท่ีล้อมรอบด้วยสันปันน้ำ เป็น พ้ืนที่รองรับน้ำหรือหยาดน้ำฟ้าท่ีตกลงมาและไหลสู่ระบบการระบายน้ำหรือ wat erกsักhเกeบ็dน้ำm(พaจnนaานgุกeรmมศeัพnทt์ภ ูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) การจัดการลุ่มน้ำ : แผนการใช้ท่ีดินในลุ่มน้ำโดยมีการกำหนดวัตถุประสงค ์ ท่ีแน่นอน เช่น การควบคุมการตกตะกอนและการกัดเซาะ การควบคุมการไหล ของน้ำ เพ่ือส่งน้ำ หรือระบายน้ำให้แก่พื้นที่เพาะปลูกหรือป้องกันน้ำท่วม watเeปrน็ sตtน้ o p วัสดุกันน้ำ : วัสดุท่ีใช้สำหรับป้องกันการรั่วไหลของน้ำผ่านรอยต่อของอาคาร เช่น แผ่นยาง แผ่นพวี ีซี หรือแผ่นทองแดง เปน็ ตน้ 237
W wave height recorder wave height recorder เครื่องบันทึกความสูงคล่ืน : เครื่องมือเพ่ือการวัดความสูงของคล่ืนใน ธรรมชาติหรือในแบบจำลอง ประกอบด้วยส่วนเซนเซอร์วัดคล่ืนและส่วนบันทึก ข้อมูล wave making apparatus เคร่ืองทำคลื่น : เครื่องมือที่ใช้สร้างคล่ืนในแบบจำลอง โดยปรับให้ความสูง คลื่นและคาบคล่ืนเปน็ ไปตามกำหนด weed control การควบคุมวัชพืช : กรรมวิธีใดก็ตามที่ใช้เพื่อยับย้ังการเจริญเติบโตหรือ แผ่ขยายของวัชพืช weeps ลิ้นลดความดนั : ประตนู ้ำลดความดัน อุปกรณล์ ดแรงดันนำ้ ภายในดินใตแ้ ผ่น คอนกรีตดาดคลอง เรียกอีกอย่างว่า pressure relief valve weep hole รูระบายนำ้ : 1. รูที่ทำไว้บนกำแพงกันดิน คอนกรีตคาดคลอง ฐานรากของอาคาร ฯลฯ สำหรับระบายน้ำใตด้ ินเพือ่ ลดแรงดนั 2. รเู ลก็ ๆ ทผ่ี นงั ของบอ่ นำ้ สำหรบั ให้นำ้ ใต้ดินไหลเข้าสูบ่ ่อ weight density น้ำหนักจำเพาะ : น้ำหนักของวัตถุต่อหน่ึงหน่วยปริมาตร เรียกอีกอย่างว่า specific weight 238
W wilting point weighted creep length ระยะไหลซึมถ่วงน้ำหนัก : ระยะของทางเดินของน้ำที่ลอดผ่านในลักษณะ สัมผัสผิวด้านใต้หรือด้านข้างของตัวอาคาร ในการคำนวณ จะให้ความสำคัญ ของทางเดินในแนวด่ิงและแนวราบที่แตกต่างกัน ในทฤษฎีของ Lane ทางเดิน ในแนวราบจะใช้เพียง 1 ใน 3 ของความยาวจริง ส่วนทางเดินในแนวด่ิง จะใช้ weigควhาtมeยdาวจcรrงิ eเeปp็นตrน้ a tio อัตราส่วนไหลซึมถ่วงน้ำหนัก : อัตราส่วนระหว่างระยะทางเดินของน้ำ ที่ลอดผ่านในลักษณะสัมผัสผิวด้านใต้และด้านข้างของอาคาร กับผลต่างของ weirระ ดบั น้ำดา้ นเหนือน้ำและทา้ ยนำ้ ของอาคาร ฝาย : 1. อาคารท่สี รา้ งข้ึนขวางทางนำ้ เพ่ือชะลอนำ้ ยกระดบั น้ำ หรอื ผนั น้ำ weir2. hอาeคaาdรท ่ีสรา้ งขึน้ เพื่อวดั อัตราการไหลของน้ำ ความสูงของน้ำเหนือสันฝาย : ระยะทางในแนวดิ่งที่วัดจากระดับสันฝาย ไปถึงระดับผิวน้ำเหนือสันฝาย ในกรณีท่ีเป็นฝายรูปตัววี จะใช้มุมล่างเป็นระดับ wetสlaันnฝาdย พ้ืนที่ชมุ่ นำ้ : พนื้ ท่ีน้ำนองจากน้ำผิวดนิ หรอื นำ้ ใต้ดิน เปน็ พ้นื ทมี่ นี ้ำพอเพียงอยู่ wetทteุกdฤดกูpาeลrแimละเeพtยี eงrพ อทจ่ี ะให้พชื ช่มุ นำ้ สามารถเจรญิ เตบิ โตได ้ เส้นขอบเปียก : เส้นความยาวของท้องน้ำและตล่ิงส่วนท่ีอยู่ใต้ผิวน้ำตามแนว ตั้งฉากกับทางน้ำไหล เพื่อนำไปใช้ในการคำนวณหารัศมีอุทก ในการหา อัตราเร็วของกระแสน้ำ ถ้าเป็นท่อกลมท่ีน้ำไหลเต็มท่อ เส้นขอบเปียกก็เท่ากับ เส้นรอบวงภายในท่อน้ัน (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน wiltปinี 2g549p)o int จุดเหี่ยวเฉา : ปริมาณความช้ืนในดิน ณ จุดหนึ่งที่พืชไม่สามารถดูดมาใช้ ทดแทนการคายน้ำได้ ทำใหพ้ ืชเห่ยี วเฉา 239
Y yield of drainage basin yield of drainage basin ผลผลิตน้ำท่าของลุ่มน้ำ : ปริมาณน้ำท้ังหมดท่ีไหลออกจากพ้ืนท่ีลุ่มน้ำใดๆ ภายในห้วงเวลาท่ีกำหนด young river แม่น้ำใหม่ : ในทางธรณีวิทยา แม่น้ำใหม่ได้แก่ แม่น้ำท่ียังมีการกัดเซาะให ้ เห็นอยู่ 242
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310