D dam axis dam axis แกนเขื่อน, เส้นผ่าศูนย์กลางเข่ือน : แนวจากฐานยันจากฝั่งหนึ่งไปยังอีก ฝัง่ หนงึ่ ของเข่อื น 1. กรณีเป็นเข่อื นดนิ หรือเข่อื นหินถม เปน็ แนวที่ผ่านกงึ่ กลางความกวา้ งสนั เข่อื น 2. กรณีเป็นเข่ือนคอนกรีตหรือเข่ือนโค้ง เป็นแนวที่ขอบสันเขื่อนด้านเหนือน้ำ dail y เfรlียoกoอีกdอยpา่ eงวa่าka xis of dam ปริมาณน้ำหลากรายวันสูงสุด : ปริมาณน้ำรายวันสูงสุดในช่วงน้ำหลากท่ี damพ จิ ารณา เข่ือน, ทำนบ : อาคารที่สร้างข้ึนเพ่ือปิดกั้นขวางทางน้ำเพ่ือกักเก็บน้ำหรือ damยกbระrดeบั aนkำ้ ใหa้สnูงขaนึ้ l ysis การวิเคราะห์เข่ือนวิบัติ : การนำข้อมูลและปัจจัยต่างๆ มาศึกษาหาความ เส่ียงภัยและผลกระทบท่ีเกิดจากการวิบัติของเขื่อน นิยมเรียกสั้นๆ ว่า dam detebnretaiko n dam damเข่ือinนsชtะrลuอmนำ้ e:nเขt ่อื นทีส่ ร้างขนึ้ เพ่อื ชะลอการไหลของนำ้ เคร่ืองมือตรวจวัดพฤตกิ รรมเขือ่ น : อปุ กรณท์ ี่ติดต้ังท่ตี ัวเขื่อน ฐานราก และ อาคารประกอบ หรือบริเวณใกล้เคียง เพ่ือตรวจวัดการเคล่ือนตัว แรงดันน้ำ datuระmดบั น ้ำใต้ดนิ และพฤตกิ รรมอื่นๆ ท่ีมผี ลกระทบตอ่ ตัวเข่อื น มูลฐาน : (ท่ัวไป) จำนวนเลขหรือจำนวนทางเรขาคณติ ใดๆ หรือชดุ ของจำนวน เลขนัน้ ๆ ซง่ึ อาจใช้อ้างอิง หรือใช้เปน็ พืน้ หลักฐานสำหรับจำนวนอน่ื ๆ ได้ 46
D degree datum level ระดับมูลฐาน : พื้นระดับซ่ึงใช้เป็นมูลฐานในการคิดความสูงของจุดบนพ้ืนดิน โดยทั่วไปกำหนดให้ระดับทะเลปานกลางเป็นระดับมูลฐาน และให้มีความสูง เป็นศูนย์ (0) หากบริเวณใดใช้ระดับทะเลปานกลางเป็นมูลฐานในการคิด ความสูงของจุดบนพื้นดินไม่ได้ หรือได้แต่ไม่สะดวก ก็อาจกำหนดพื้นระดับอื่น deaเdป็นsรtะoดrับaมgลู ฐeา นสำหรบั บริเวณนน้ั ๆ ความจุไมใ่ ชก้ าร : ความจขุ องอ่างเก็บน้ำส่วนทต่ี ำ่ กว่าระดบั นำ้ ตำ่ สดุ ทีก่ ำหนด โดยระดับน้ำต่ำสุดเป็นการกำหนดตามปริมาณตะกอนในอ่างกักเก็บน้ำท่ีจะ เกิดขึ้นตลอดอายุการใช้งานของอ่างเก็บน้ำ และการออกแบบจะกำหนดให้มี ระดับต่ำกว่าธรณีอาคารท่อส่งน้ำ ดังนั้นปริมาณน้ำท่ีอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำต่ำสุดจะ deepไมส่ pาeมrารcถoนlำaไtปiใoชn้งา นได้ เรยี กอีกอยา่ งวา่ inactive storage deepการwซeมึ lลl กึ : การไหลซมึ ของนำ้ ลงในดินที่ลึกเลยเขตรากพชื deepบอ่ wนำ้ eลlกึl p: บuอ่ mนำ้ pบ าดาลซงึ่ ไดร้ ับนำ้ จากชั้นหินอุ้มน้ำใตด้ นิ ทีม่ แี รงดนั defoเคrรmอื่ งeสdบู นb้ำaบrอ่ น้ำลกึ : เคร่ืองสูบน้ำซง่ึ ใช้สำหรับสูบนำ้ จากบ่อน้ำลึก เหล็กข้ออ้อย : เหล็กเส้นกลมที่มีผิวเป็นลายนูน ขรุขระ เพ่ือเพิ่มพ้ืนที่การ ยึดเกาะกับคอนกรีตในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก กรมชลประทานใช้ มอก. 24- deg2r5e4e8 องศา : 1. หน่วยในการวดั ขนาดของมุม โดยกำหนดใหม้ ุมที่รองรับโค้ง 1 ใน 360 ส่วน ของเส้นรอบวง มีขนาด 1 องศา 2. หน่วยระยะทางเชิงมุมซ่ึงมีความยาวเท่ากับเศษ 1 ส่วน 360 ของความยาว ของเส้นรอบวง เชน่ องศาของละตจิ ดู และลองจจิ ูดของโลก 47
D delta delta ดินดอนสามเหลย่ี ม : ดินดอนตรงบรเิ วณปากนำ้ ท่เี กดิ ขึ้นเน่ืองจากการท่แี ม่นำ้ และสาขาใหญ่น้อยที่กระจายออกตรงปากน้ำ พาตะกอนมาทับถมอยู่ตลอดเวลา ทำให้พื้นทอ้ งนำ้ มีระดับสูงขนึ้ demonstration farm ไร่นาสาธิต : ไร่นาที่จัดตั้งข้ึน เพื่อแสดงตัวอย่างจริงให้เกษตรกรเข้าใจการ ชลประทานและการพัฒนาการเกษตร เม่ือเทียบกับไร่นาอ่ืนๆ ในบริเวณ เดียวกนั depression 1. แอ่ง : พื้นทซี่ ึ่งมีผวิ หน้าต่ำกว่าบรเิ วณใกล้เคียง 2. พายุดีเปรสชั่น : บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ มีลมพัดหมุนเวียนเข้าหา ศูนย์กลางคล้ายวงก้นหอยพัดทวนเข็มนาฬิกาทางขั้วโลกเหนือ และพัดตาม เข็มนาฬิกาทางข้ัวโลกใต้ จัดเป็นพายุท่ีมีกำลังอ่อน ความเร็วลมสูงสุด ใกล้บริเวณศูนยก์ ลางไม่เกนิ 63 กโิ ลเมตรต่อชว่ั โมง depression contour เส้นช้ันระดับลุ่มต่ำ : เส้นท่ีแสดงช้ันระดับความสูงต่ำของพ้ืนท่ีท่ีต่ำกว่าพ้ืนที่ ข้างเคียง และมีเส้นส้ันๆ ต้ังฉากกับเส้นช้ันระดับน้ี โดยมีแนวจากเส้นชั้นระดับ จากเสน้ สงู ไปหาเสน้ ทต่ี ่ำกวา่ แต่ความยาวไม่ถึงเส้นทตี่ ่ำกวา่ depression storage แอ่งพักนำ้ : บริเวณลุม่ ตำ่ ท่ีมนี ้ำฝนขงั อยู่ชัว่ คราว เช่น หนอง บงึ เป็นตน้ depth of runoff ความลึกของน้ำท่า : ปริมาณน้ำท่าที่แสดงหน่วยเป็นความลึก หาได้จาก ปรมิ าณนำ้ ท่าท้งั หมดหารดว้ ยพ้ืนท่ีลุ่มนำ้ depth scale ratio อัตราส่วนของความลึก : อัตราส่วนของความลึกการไหลในทางน้ำกับ ความลกึ การไหลในแบบจำลอง ณ ตำแหน่งเดียวกนั 48
D detail design depth-area curve โค้งความลึก-พื้นที่ : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝน (หน่วยเปน็ ความลกึ ) กบั พน้ื ทีร่ บั น้ำฝน depth-duration curve โค้งความลึก-ช่วงเวลา : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝน (หน่วยเปน็ ความลึก) กับชว่ งระยะเวลาทีฝ่ นตก design flood ปริมาณน้ำหลากออกแบบ : ปริมาณน้ำหลากสูงสุดเพ่ือใช้พิจารณาในการ ออกแบบอาคารชลศาสตร์ให้มีความปลอดภยั design flood hydrograph กราฟน้ำหลากออกแบบ : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำหลาก กับเวลา เพอ่ื ใช้พจิ ารณาในการออกแบบอาคารชลศาสตร์ใหม้ คี วามปลอดภยั design flood level ระดับน้ำหลากออกแบบ : ระดับน้ำหลากเพื่อใช้พิจารณาในการออกแบบ อาคารชลศาสตรใ์ ห้มีความปลอดภัย design storm พายุฝนออกแบบ : รูปแบบพายุฝนที่ออกแบบมาจากข้อมูลในอดีต เพื่อใช้ใน การคำนวณหากราฟนำ้ หลากออกแบบ desk study การศึกษาพัฒนาลุ่มน้ำเบ้ืองต้น : การศึกษาศักยภาพในการพัฒนาลุ่มน้ำ เบ้ืองต้นเพื่อให้ทราบภาพรวมของโครงการพัฒนาแหล่งน้ำที่เป็นไปได้ รวมทั้ง ปัญหาและผลกระทบที่สำคัญของลุ่มน้ำ ผลของการศึกษาน้ีนำไปสู่การศึกษา โครงการเบื้องตน้ หรอื การศกึ ษาแนวทางพฒั นาลมุ่ นำ้ detail design การออกแบบขั้นรายละเอียด : การออกแบบสิ่งก่อสร้างที่แสดงรายละเอียด อยา่ งเพียงพอ สามารถนำไปใช้ในการกอ่ สร้างได ้ 49
D detail drawing detail drawing แบบรายละเอียด : แบบแสดงรายละเอียดส่วนประกอบของโครงสร้างหรือ ช้ินส่วนของเคร่ืองจักร โดยการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น พร้อมแสดงรายละเอียด เพ่ิมเตมิ detention storage ความจุรองรับน้ำหลาก : ความจุของอ่างเก็บน้ำ หรือทางน้ำ ซึ่งสามารถ เก็บกกั น้ำไวไ้ ดช้ ว่ งเวลาหน่งึ เพื่อรองรบั ปรมิ าณน้ำหลากในปริมาตรท่ีกำหนด deterministic model แบบจำลองชี้เฉพาะ : แบบจำลองที่เลียนแบบพฤติกรรมทางกายภาพมาใช ้ ในการคิดวิเคราะห์ ซึ่งสามารถคำนวณผลลัพธ์ได้อย่างแน่นอนจากข้อมูล ปอ้ นเขา้ dew point จดุ น้ำคา้ ง : ค่าของอณุ หภูมขิ องอากาศ ณ ความกดบรรยากาศหนึง่ ๆ ท่ลี ดลง จนกระทั่งอากาศทม่ี ไี อน้ำอม่ิ ตวั เริม่ กลายเป็นหยดนำ้ dewatering การลดระดับน้ำ : การนำน้ำออกเพ่ือลดระดับน้ำใต้ดินทำให้สะดวกในการ ก่อสร้าง diagonal weir ฝายทแยง : ฝายท่ีออกแบบให้ความยาวของสันฝายยาวกว่าความกว้างของ ทางนำ้ โดยสรา้ งใหแ้ นวสนั ฝายไมต่ ัง้ ฉากกบั ทิศทางการไหลของนำ้ diaphragm wall กำแพงทบึ น้ำ : 1. กำแพงเชื่อมตอ่ เสาของตอมอ่ เชน่ ตอมอ่ รมิ ของสะพาน 2. กำแพงทึบน้ำใต้ฐานรากอาคาร สร้างโดยการขุดดินลงไปในแนวต้ัง รักษา ให้คงสภาพด้วยวัสดุผสมน้ำ แล้วถมกลับด้วยคอนกรีต หรือดินผสมโคลนผง หรอื ใชเ้ ข็มพดื 50
D disappearing stream differential head ระดับน้ำแตกต่าง : ความแตกต่างของระดับน้ำด้านเหนือน้ำและท้ายน้ำของ อาคารบงั คับน้ำ diffluence การแยกสาขา : การทเ่ี สน้ แสดงกระแสอากาศไหลแยกจากกนั ทางแนวระดบั diffusion well บ่อเติมน้ำ : บ่อทข่ี ุดข้นึ เพ่อื ให้นำ้ ผิวดนิ ไหลเขา้ ไปสู่ชั้นหินอุ้มนำ้ (aquifer) โดย มีจุดประสงค์เพื่อเพ่ิมปริมาณน้ำในช้ันหินอุ้มน้ำ เรียกอีกอย่างว่า inverted well หรอื recharge well dike พนัง, คัน, คันก้ันน้ำ : คันดินหรือวัสดุอ่ืนที่เสริมให้สูงข้ึนจากผิวดินเดิม เพ่ือ กั้นไม่ให้น้ำจากแม่น้ำหรือจากทะเลไหลผ่านเข้ามาได้ เพ่ือป้องกันไม่ให้น้ำบ่า เข้าไปท่วมพื้นท่ีเพาะปลูก และท่ีอยู่อาศัย เขียนอีกอย่างว่า dyke หรือเรียก อีกอยา่ งวา่ flood levee dip มุมเท : มุมที่เกิดจากระนาบของโครงสร้างทางธรณีวิทยาตัดกับระนาบ แนวนอน ทศิ ทางของแนวเทจะตงั้ ฉากกบั แนวระดบั direct runoff น้ำท่าจริง : ผลรวมของน้ำท่าผิวดิน น้ำซึมแผ่ (interflow) และส่วนของ หยาดน้ำฟา้ ทต่ี กในลำน้ำ disappearing stream ธารนำ้ มดุ : ธารน้ำทีม่ ุดหายไปใต้ดินทางหลุมยุบ โดยไหลผ่านชั้นหนิ ปูน หรอื หินที่นำ้ ซมึ ได้ แลว้ ออกจากพนื้ ดินเกดิ เป็นธารน้ำขึ้นใหม ่ 51
D discharge discharge อัตราการไหล : ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านพื้นท่ีหน้าตัดหนึ่งท่ีกำหนดของทางน้ำ ในหนงึ่ หนว่ ยเวลา เรยี กอกี อยา่ งว่า rate of flow discharge carrier ทางลำเลียงน้ำท้ิง : ส่วนลำเลียงน้ำจากอาคารระบายน้ำไปสู่จุดท่ีต้องการ ทิ้งน้ำ discharge hydrograph กราฟนำ้ ท่า : กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรมิ าณน้ำกบั เวลา discharge velocity ความเร็วการไหล : อัตราการไหลของน้ำผ่านตัวกลางที่มีรูพรุนต่อหน่ึงหน่วย พ้ืนท่ีท่ีตง้ั ฉากกบั ทศิ ทางการไหล discharge of stream อัตราการไหลของลำนำ้ : ปริมาณของนำ้ ทีไ่ หลในลำนำ้ มหี นว่ ยเปน็ ปริมาตร ตอ่ หน่วยเวลา เชน่ ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนิ าท ี discharge scale ratio อัตราส่วนของอัตราการไหล : อัตราส่วนของอัตราการไหลในทางน้ำจริงกับ อัตราการไหลในแบบจำลอง ณ ตำแหน่งทค่ี ลา้ ยคลึงกัน dispersive soil ดินกระจายตัว : ดินซ่ึงประกอบด้วยอนุภาคดินเหนียวซ่ึงเมื่อถูกกับน้ำแล้ว กระจายตัวได้ง่ายและรวดเร็ว ประกอบด้วยอนุภาคดินเหนียวชนิดไอออนท่ีมี โซเดยี มสูง เม่ือเทยี บกบั ปริมาณไอออนบวกท้งั หมด distorted model แบบจำลองต่างสัดส่วน : แบบจำลองที่มีมาตราส่วนทางแนวราบและแนวต้ัง ไม่เท่ากัน 52
D divagation distribution system ระบบกระจายน้ำ : ระบบจา่ ยนำ้ เขา้ สพู่ ื้นท่ใี นเขตชลประทาน distributor อาคารกระจายน้ำ : อาคารท่ีทำหน้าท่ีจ่ายน้ำจากคลองส่งน้ำ โดยสามารถ ควบคมุ ปรมิ าณนำ้ ที่ไหลผา่ นแต่ละช่องของอาคารได้ ditch คูน้ำ : ทางน้ำท่ีขุดหรือถมขึ้นเป็นร่องน้ำ สำหรับแจกจ่ายน้ำหรือระบายน้ำ ในแปลงเพาะปลูก กรมชลประทานเรียกว่าคูส่งน้ำ ส่วนคูระบายน้ำ ใช้คำว่า drain หรือ drain ditch ditch inlet อาคารปากคูซอยขนาดเล็ก : อาคารรับน้ำขนาดเล็กจากคูส่งน้ำสายหลัก เข้าคูสง่ น้ำสายซอย โดยใช้ทอ่ ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 20 เซนตเิ มตร ditch tail structure อาคารปลายคูส่งนำ้ : อาคารบงั คบั น้ำปลายคูสง่ นำ้ ditch turnout อาคารปากคูซอย : อาคารรับน้ำจากคูส่งน้ำสายหลักเข้าคูส่งน้ำสายซอย โดย ใช้ทอ่ ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลางมากกวา่ 20 เซนตเิ มตร ditch-drain crossing structure อาคารทอ่ ลอดคสู ง่ น้ำ : อาคารในครู ะบายน้ำเพอ่ื ระบายน้ำลอดคสู ง่ นำ้ ditcher เครือ่ งขดุ คูนำ้ : อุปกรณส์ ำหรบั ขดุ รอ่ งน้ำทตี่ อ่ พว่ งกบั เครือ่ งจักรลาก divagation ทางน้ำเบนเบ่ียง : การท่ีกระแสน้ำเปล่ียนแนวทางไปทางข้างของแม่น้ำ เนื่องจากการต้ืนเขินเป็นบริเวณกว้าง เป็นกระบวนการท่ีทำให้เกิดทางน้ำ โคง้ ตวัด (พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) 53
D diversified cropping diversified cropping การกระจายการผลิตพืช : การกระจายการผลิตพืชให้เกิดความหลากหลาย ทั้งชนิดและผลผลิต เพ่ือลดความเส่ียงต่อการผันแปรของราคาหรือดินฟ้าอากาศ diveเรrียsกiอoกี nอ ยา่ งว่า crop diversification diveกrาsรiผoนั nน้ำc:hกaาnรเnปeลlี่ย นเส้นทางการไหลของนำ้ diveทrาsงiผoันnน้ำd:aทmาง นำ้ ทีส่ ร้างข้นึ เพ่ือการผนั น้ำ เขือ่ นทดนำ้ , เขือ่ นผันนำ้ : อาคารทีส่ รา้ งขึน้ ขวางลำน้ำ มีบานควบคมุ สำหรับ ยกระดับน้ำเพ่ือผันน้ำเข้าคลองส่งน้ำ หรือเพ่ือควบคุมระดับน้ำให้อยู่ในระดับ ที่ต้องการ 54
D downstream control diversion tunnel อโุ มงค์ผันน้ำ : อโุ มงค์ทีส่ รา้ งข้นึ เพอ่ื การผนั น้ำ divide สันปันน้ำ : เส้นแบ่งหรือสันเขา ยอดเขาหรือทางแคบๆ บนพื้นท่ีสูงท่ีเป็นแนว แบ่งเขตระหว่างบริเวณลุ่มน้ำสองแห่งที่อยู่ติดกัน หรือที่แบ่งน้ำผิวดินตาม ธรรมชาติให้ไหลไปในทิศทางตรงกันข้าม สันปันน้ำเป็นลักษณะภูมิประเทศท่ี นิยมนำมาใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ เรียกอีกอย่างว่า watershed หรือ water parting division box อาคารแบ่งนำ้ : อาคารบังคับและแบ่งนำ้ ในคสู ง่ น้ำเข้าคูซอย dome โดม : ลกั ษณะภูมปิ ระเทศรปู คล้ายกระทะควำ่ dot map แผนท่ีจุด : แผนที่ภูมิศาสตร์ชนิดแสดงให้เห็นปริมาณของส่ิงต่างๆ ด้วยจุด โดยกำหนดให้จุดแต่ละจุดแทนปริมาณของสิ่งที่ต้องการแสดง เช่น 1 จุดแทน จำนวนประชากร 500 คน หรือ 1 จดุ แทนจำนวนสตั วเ์ ลี้ยง 1,000 ตวั double mass curve โค้งทับทวี : เส้นโค้งท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝนรายปีทับทวี ของสถานีที่ต้องการ (แกนต้ัง) ตรวจสอบกับค่าเฉลี่ยของปริมาณฝนรายปีทับทวี ของสถานที อี่ ยใู่ กลเ้ คยี ง (แกนนอน) มจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ได้ ของข้อมูลปรมิ าณฝน downstream control การควบคุมโดยท้ายน้ำ : การควบคุมปริมาณน้ำท่ีผ่านอาคารโดยอัตโนมัติ ทใี่ ช้ระดับนำ้ ดา้ นทา้ ยเปน็ ตวั บังคับ 55
D downstream fill downstream fill เปลือกท้ายน้ำ : ส่วนประกอบของเขื่อนดินที่สร้างจากวัสดุทึบน้ำหรือกึ่งทึบน้ำ อย่ดู ้านท้ายน้ำของแกนเข่ือน เรียกอกี อย่างว่า downstream shell downstream shell เปลือกท้ายน้ำ : ส่วนประกอบของเขื่อนดินท่ีสร้างจากวัสดุทึบน้ำหรือก่ึงทึบน้ำ อย่ดู ้านท้ายนำ้ ของแกนเขือ่ น เรยี กอกี อย่างว่า downstream fill downstream toe เชิงลาดท้ายนำ้ : จดุ บรรจบของเชงิ ลาดด้านท้ายนำ้ ติดกับระดบั ดินเดมิ dozer รถดนั ดนิ , รถตกั ดนิ : คำยอ่ ทใ่ี ชเ้ รยี ก bulldozer (รถดนั ดนิ ) หรอื shoveldozer (รถตกั ดนิ ) dragline รถขดุ บุ้งกโี๋ ยน : เครื่องจักรกลใชส้ ำหรบั ขดุ ดนิ แบบใช้บุ้งกี๋และลวดสลิง drain ditch ครู ะบายน้ำ : คูระบายน้ำทีร่ ะบายน้ำสว่ นเกนิ ออกจากพน้ื ท ี่ drainage การระบายน้ำ : การให้น้ำส่วนเกินจากผิวดินหรือใต้ดินไหลออกไปจากพ้ืนท่ี โดยวธิ ธี รรมชาติ หรือโดยวิธกี ารท่สี ร้างข้นึ drainage area บริเวณลุ่มน้ำ : บริเวณพ้ืนท่ีที่ล้อมรอบด้วยสันปันน้ำ เป็นพ้ืนที่รองรับน้ำหรือ หยาดนำ้ ฟ้าทต่ี กลงมาและไหลส่รู ะบบการระบายน้ำหรอื กกั เก็บนำ้ (พจนานกุ รม ศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) เรยี กอกี อยา่ งวา่ catchment area, catchment หรอื drainage basin 56
D drainage filter drainage basin บริเวณลุ่มน้ำ : บริเวณพ้ืนท่ีที่ล้อมรอบด้วยสันปันน้ำ เป็นพ้ืนที่รองรับน้ำหรือ หยาดน้ำฟ้าที่ตกลงมาและไหลสรู่ ะบบการระบายนำ้ หรอื กักเก็บนำ้ (พจนานุกรม ศพั ท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) เรยี กอกี อย่างว่า catchment area, catchment, drainage area drainage channel ทางระบายน้ำ : ช่องหรือทางระบายน้ำท่ีระบายน้ำส่วนเกินออกจากพ้ืนท่ี เรียกอกี อย่างวา่ drain drainage coefficient สมั ประสทิ ธิ์การระบายนำ้ : 1. (นิยามตาม ICID) ความสามารถในการระบายน้ำออกจากพื้นท่ีในหน่ึงวัน มีหน่วยเป็นความลึก 2. อัตราการระบายน้ำต่อหน่งึ หนว่ ยพืน้ ที่ หนว่ ยทน่ี ยิ มใชก้ นั คือ ลติ ร/วินาที/ไร่ หรอื ลูกบาศก์เมตร/วินาที/ไร่ เรียกอกี อย่างวา่ drainage modulus drainage density ความหนาแน่นการระบายนำ้ : 1. อัตราส่วนระหว่างผลรวมความยาวของลำน้ำทุกสายในลุ่มน้ำกับพ้ืนท่ีรับน้ำ ของลุ่มนำ้ นนั้ 2. อัตราสว่ นระหวา่ งผลรวมความยาวของทางระบายน้ำกับพ้ืนที่ระบายนำ้ drainage filter ผืนกรองน้ำทางราบ : ผืนวัสดุกรองที่ติดตั้งอยู่ท่ีระดับฐานรากในแนวราบ เพ่ือระบายน้ำจากตัวเข่ือนและฐานรากไปสู่ท้ายน้ำของเขื่อนดิน ให้น้ำไหล ผ่านไปได้โดยไม่ทำให้เกิดความเสียหาย เน่ืองจากเม็ดดินไหลออกจากฐานราก เรียกอกี อย่างวา่ horizontal drainage blanket หรือ pervious blanket 57
D drainage modulus drainage modulus สมั ประสิทธกิ์ ารระบายนำ้ : 1. ความสามารถในการระบายน้ำออกจากพ้ืนที่ในหน่ึงวันมีหน่วยเป็นความลึก (นิยามตาม ICID) 2. อตั ราการระบายน้ำตอ่ หน่งึ หนว่ ยพ้นื ท่ี หนว่ ยทนี่ ิยมใชก้ ัน คอื ลิตร/วินาท/ี ไร่ หรอื ลกู บาศก์เมตร/วนิ าที/ไร่ เรยี กอีกอยา่ งว่า drainage coefficient (นยิ าม dra inตaาgมeท่ีใpช้งaาtนtใeนrกnรม ชลประทาน) รูปแบบทางระบายน้ำ : รูปร่างหรือการจัดรูปแบบทางน้ำตามธรรมชาติใน draบinรเิaวณgeใดๆsyกsต็ tาeมmทีป่ รากฏใหเ้ หน็ เมื่อมองจากดา้ นบนลงมา ระบบระบายน้ำ : โครงข่ายการระบายน้ำของพื้นที่ท่ีกำหนด โดยอาจหมาย draรinวมaถgงึ กeารwบรeหิllา รจัดการด้วย draบwอ่ dรoะบwาnยน ้ำ : บอ่ ท่เี จาะเพื่อลดระดับนำ้ ใตด้ นิ โดยการสูบนำ้ ออก drilกliาnรgลด ระดบั นำ้ : การลดลงของระดับนำ้ เช่น อ่างเก็บน้ำ ลำนำ้ หรอื น้ำใตด้ นิ การเจาะ : การเจาะดินหรือหินเพ่ือเก็บตัวอย่างสำหรับวิเคราะห์และตรวจสอบ drilทliาnงธgรณmวี ิทuยdา และปฐพกี ลศาสตร์ โคลนเจาะ : ส่วนผสมพิเศษของโคลนผง (แร่เบนทอไนต์) กับน้ำหรือน้ำมัน และแบไรต์ผง เพื่อให้มีความหนืดและน้ำหนักที่ต้องการ เพ่ือปรับสภาพทาง ประจุไฟฟ้าระหว่างโคลนและผนังหลุม ประโยชน์ของโคลนเจาะคือ เป็นตัวนำ เศษหินที่ได้จากการเจาะข้ึนมาสู่ปากหลุม เป็นตัวหล่อเย็นให้กับหัวเจาะและ ระบายความร้อนจากก้นหลุม ป้องกันผนังหลุมพัง หรือเป็นการปรับสภาพ ความดันกน้ หลุมใหส้ มดลุ 58
D dry density drip irrigation ชลประทานนำ้ หยด : วธิ ีการใหน้ ้ำแกพ่ ชื ท่จี ุดใดจุดหน่งึ หรือหลายจดุ บนผวิ ดิน หรอื บริเวณเขตรากพชื โดยการปลอ่ ยนำ้ ไหลเป็นหยดๆ ตดิ ต่อกัน เรยี กอีกอย่าง ว่า trickle irrigation drizzle ฝนละออง : ฝนซึ่งมีเม็ดขนาดเล็กมาก (เส้นผ่าศูนย์กลางของเม็ดฝนน้อยกว่า 0.5 มิลลิเมตร) สามารถลอยปลิวไปตามกระแสลมได้ แตกต่างจากหมอกตรงที่ ฝนละอองนี้จะตกจากท้องฟ้าลงสู่พ้ืนดิน ฝนชนิดน้ีมักจะตกจากเมฆสเตรตัส ทำใหอ้ ากาศมที ศั นวสิ ยั เลว (พจนานกุ รมศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) drop อาคารน้ำตก : อาคารในคลองชลประทานท่ีมีระดับธรณี (พ้ืนอาคาร) ลดลง ทนั ทเี พือ่ ลดระดบั ผวิ น้ำ drought ช่วงฝนแล้ง : 1. ช่วงเวลาท่ีมีฝนตกน้อยกว่าค่าท่ีกำหนด โดยค่าท่ีกำหนดน้ีข้ึนอยู่กับสถานที่ และฤดูกาล 2. สภาวะที่มีฝนน้อยหรือไม่มีฝนเลยในช่วงเวลาหน่ึง ซ่ึงตามปกติควรจะมีฝน โดยขนึ้ อยู่กับสถานท่แี ละฤดกู าล ณ ทน่ี ัน้ ๆ ดว้ ย (กรมอุตุนิยมวิทยา) drowned weir ฝายจม : ฝายซ่ึงมรี ะดบั นำ้ ด้านท้ายนำ้ เทา่ กบั หรอื สงู กวา่ ระดับสนั ฝาย เรียกอีก อยา่ งว่า submerged weir dry density ความหนาแนน่ แห้ง : นำ้ หนักวัสดุอบแห้งต่อปรมิ าตรวสั ด ุ 59
D dry pack dry pack การซ่อมแบบแห้ง : การซอ่ มงานคอนกรีต โดยใชส้ ว่ นผสมของปูนซเี มนตแ์ ละ ทรายในอตั ราสว่ นเฉพาะที่เหมาะสม dry pitching การยาแนว : การใชป้ นู ทรายเปียกอุดประสานระหวา่ งผวิ หนา้ ของหิน โดยมาก มกั ใช้กบั งานหนิ เรยี ง dry unit weight หน่วยน้ำหนักแห้ง : อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของดินแห้งต่อปริมาตรของดิน ซึง่ รวมช่องวา่ งระหวา่ งดินดว้ ย เรียกอกี อย่างว่า unit dry weight duckbill weir ฝายปากเปด็ : ฝายท่ีมสี นั ฝายหยัก จะมีหยกั เดยี วหรอื หลายหยักก็ได้ข้นึ อย่กู บั ความยาวของสันฝาย เพ่ือให้สันฝายมีความยาวมากพอที่จะทำให้ปริมาณ น้ำไหลข้ามฝายปริมาณมากได้ตามต้องการ โดยท่ีระดับน้ำด้านเหนือน้ำมีการ เปล่ยี นแปลงเล็กน้อย dumped riprap หินทิ้ง : หินขนาดใหญ่ซึ่งทิ้งตามลาดตล่ิง ลาดด้านหน้าเข่ือน หรือทางด้าน ท้ายน้ำหรือเหนือน้ำของอาคารเพือ่ ปอ้ งกนั การกัดเซาะ เรยี กอกี อย่างวา่ riprap dumpy level กล้องระดับดัมปี : เครื่องมือวัดระดับชนิดหน่ึงใช้ในงานสำรวจ ประกอบด้วย ตัวกล้องส่องติดแน่นอยู่บนฐานที่สามารถปรับให้ได้ระดับ (พจนานุกรมศัพท์ ภมู ศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) duration curve โค้งชว่ งเวลา : เสน้ โคง้ แสดงความสมั พนั ธ์ของข้อมูลทพ่ี จิ ารณากับเวลา 60
D dynamic similitude duty of water ชลภาระ : ปริมาณน้ำชลประทานที่ส่งให้พ้ืนท่ีเพาะปลูกต่อหน่ึงหน่วยพื้นท่ี และต่อหนงึ่ หนว่ ยเวลา เรียกอกี อยา่ งว่า water duty dyke พนัง, คัน, คันกั้นน้ำ : คันดินหรือวัสดุอ่ืนท่ีเสริมให้สูงข้ึนจากผิวดินเดิม เพ่ือ ก้ันไม่ให้น้ำจากแม่น้ำหรือจากทะเลไหลผ่านเข้ามาได้ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำบ่า เข้าไปท่วมพน้ื ที่เพาะปลกู ท่ีอยอู่ าศัย เขียนอกี อยา่ งว่า dike หรือเรียกอีกอย่างวา่ flood levee dynamic similitude ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ : ความคล้ายคลึงของแรงที่กระทำในแบบ จำลองและของจริง ต้องมอี ัตราส่วนทคี่ ล้ายกนั ซ่งึ แรงต่างๆ ประกอบดว้ ย 1. แรงโน้มถว่ งของโลก (gravity force) 2. แรงเน่อื งจากความดัน (pressure force) 3. แรงเนอ่ื งจากความหนืด (vicious force) 4. แรงเน่อื งจากความยดื หย่นุ (elastic force) 5. แรงเนื่องจากความตงึ ผิว (surface tension force) 61
E earth canal earth canal คลองดิน : คลองท่ีเกิดจากการขุดดินธรรมชาติ หรือดินถมบดอัด แล้วขุดให้ เป็นรปู คลอง earth dam เข่ือนดิน : เข่ือนที่ก่อสร้างด้วยดินจากแหล่งยืม นำมาบดอัดแน่นเป็นตัวเข่ือน เรยี กอกี อย่างว่า earthfill dam earth flow ดินไหล : ดนิ หรือหินผุท่ีเลอื่ นไถลมาจากไหลเ่ ขาหรอื ลาดเขาอนั สบื เน่อื งมาจาก แรงดึงดูดของโลก การเล่ือนไถลเป็นไปอย่างช้าๆ จนสามารถกำหนดขอบเขต ด้านข้างของการเคลื่อนตัวนั้นได้ ถ้าปริมาณของน้ำในดินไหลมีมากขึ้นและ เคล่ือนทเ่ี ป็นไปอย่างรวดเร็ว ดินไหลนจี้ ะเปล่ียนเป็นโคลนไหล earth pressure cell อุปกรณ์วดั แรงดนั ดนิ : เคร่อื งมือทใ่ี ชว้ ดั แรงดนั ดนิ ในทิศทางตา่ งๆ ทต่ี ดิ ตง้ั ไว้ ในตวั เขือ่ นดนิ หรอื อาคารประกอบ earthfill dam เขื่อนดิน : เข่ือนที่ก่อสร้างด้วยดินจากแหล่งยืม นำมาบดอัดแน่นเป็นตัวเขื่อน เรียกอีกอย่างว่า earth dam earthquake แผ่นดินไหว : การสั่นสะเทือนของแผ่นดินท่ีรู้สึกได้ในจุดใดจุดหน่ึงบนผิวโลก แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากการคลายตัวอย่างรวดเร็วของความเครียดภายใน เปลือกโลกท่ีมีการก่อตัวของความเครียดอย่างช้าๆ อันเป็นผลสืบเน่ืองมาจาก การเคล่ือนตัวของเปลือกโลกในรูปของการเล่ือนตัวของหินหรือการระเบิดของ ภูเขาไฟ แต่ในปัจจุบัน การปะทุของระเบิดนิวเคลียร์ก็อาจทำให้เกิดแผ่นดินไหว ไดเ้ หมือนกัน 64
E echo sounding earthquake factor ตวั คณู ค่าแผ่นดนิ ไหว : ตัวเลขคงทท่ี ่ีใชเ้ ป็นตัวเพ่ิมหรอื ลดของค่าแผ่นดินไหว earthquake period ช่วงแผ่นดินไหว : ช่วงเวลาท่ีรู้สึกว่ามีการสั่นสะเทือนติดต่อกันของแผ่นดิน ณ จุดใดจุดหนึ่ง ช่วงเวลาน้ีอาจจะสั้นขนาด 11 วินาที หรือนาน 3-4 นาที หรือมากกวา่ นนั้ และมีได้หลายช่วงดว้ ยกนั easting ระยะกำหนดนับตะวันออก : ระยะบนแผนที่ที่นับออกจากจุดเร่ิมต้นของ เส้นกริดไปทางตะวันออก (หรือระยะห่างของเส้นกริดแนวต้ังที่นับออกจาก จุดเริ่มต้นไปทางขวา) การอ่านค่าพิกัดกริด นั้น ถือหลักอ่านขวาข้ึนบน ระยะ กำหนดนับตะวันออก จึงเป็นค่าตัวเลขสามหลักแรกของค่าพิกัดกริด เช่น 624203 ตวั เลขสามหลกั แรกคอื 624 เปน็ ระยะกำหนดนบั ตะวันออก ส่วนตวั เลข ทเี่ หลอื เปน็ ระยะกำหนดนบั เหนอื (ดู nothing ประกอบ) (พจนานกุ รมภมู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) echo sounder เครื่องหย่ังความลึกของน้ำด้วยเสียงสะท้อน : เครื่องมือสำรวจการหา ความลึกของท้องน้ำ โดยการวัดช่วงเวลาระหว่างการส่งสัญญาณคลื่นเสียง หรือ สัญญาณคลื่นอัลตราโซนิกลงไปในน้ำกับเวลาที่สัญญาณน้ันสะท้อนกลับขึ้นมา จากพ้นื ทอ้ งนำ้ echo sounding การหย่งั ความลึกของน้ำด้วยเสียงสะทอ้ น : การหาความลึกของนำ้ โดยการ วัดช่วงเวลาระหว่างการส่งสัญญาณคล่ืนเสียง หรือสัญญาณคล่ืนอัลตราโซนิก ลงไปในน้ำกบั เวลาท่ีสัญญาณนั้นสะทอ้ นกลบั ขนึ้ มาจากพ้ืนท้องน้ำ 65
E ecology ecology นิเวศวิทยา : การศึกษาเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตด้วยกัน และ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ในทางภูมิศาสตร์พิจารณาในแง่ ของนิเวศวิทยามนุษย์ เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับแหล่ง ทอี่ ยู่ (พจนานุกรมศัพท์ภูมศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) ecosystem ระบบนิเวศ : ระบบของความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด เช่น พืช สัตว์ แบคทีเรีย และสัมพันธ์กับปัจจัยทางกายภาพและทางเคมีของ สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตท้ังหลายอาศัยอยู่ ทุกชีวิตเช่ือมโยงกันโดยการถ่ายทอด พลังงานและการหมุนเวียนของแร่ธาตุในลักษณะของโซ่อาหาร (food chain) เป็นการยากท่ีจะกำหนดขอบเขตของระบบนิเวศหนึ่งๆ แต่คำน้ีมักใช้กับระบบ ขนาดเล็กท่ีการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนของแร่ธาตุข้ามเขตกันมีน้อย ตัวอย่างเช่น ในสระน้ำ ป่าไม้ เกาะขนาดเล็กในมหาสมุทร ระบบนิเวศหน่ึงๆ จะไม่มกี ารพ่งึ ตนเองไดท้ ้งั หมด เช่น พลังงานดวงอาทติ ย์ทไ่ี ด้รับจะมกี ารข้ามเขต กันเช่นเดียวกับการหาอาหารของสัตว์ บริเวณที่เป็นถ่ินของแต่ละระบบนิเวศ เรียกว่า พื้นที่นิเวศ (exotope) แต่คำน้ีบางครั้งก็ใช้ในความหมายเดียวกับ ระบบนิเวศ ระบบท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) eddy flow การไหลวน : กระแสน้ำซ่ึงไหลหมุนวนเคลอ่ื นท่แี ตกตา่ งไปจากกระแสหลักของ การไหล เนื่องจากมสี ่ิงกีดขวางหรอื มคี วามผดิ ปกตบิ รเิ วณตลิ่งหรอื ท้องนำ้ effective force แรงประสิทธิผล : แรงท่ีถ่ายทอดระหว่างมวลดินโดยกระทำผ่านเม็ดดินซึ่ง ไม่รวมแรงดันน้ำ 66
E electrical conductivity effective rainfall ฝนใชก้ าร : 1. (อทุ กวทิ ยา) สว่ นของฝนท่กี ลายเปน็ น้ำทา่ 2. (การชลประทาน) ส่วนของฝนท่ีตกลงบนพื้นท่ีเพาะปลูก ซ่ึงพืชสามารถ นำไปใช้ในการเจริญเติบโตได้ หรือส่วนของน้ำฝนที่ทดแทนปริมาณน้ำ ชลประทานท่ตี อ้ งส่งให้แกพ่ ชื 3. (อุทกธรณีวทิ ยา) สว่ นของฝนที่กลายเปน็ นำ้ ใตด้ ิน effective pressure ความดันประสิทธิผล : ความดันท่ีถ่ายทอดระหว่างมวลดิน โดยกระทำผ่าน เม็ดดนิ ซง่ึ ไม่รวมความดนั นำ้ เรียกอกี อยา่ งวา่ effective stress effluent 1. ลำนำ้ สาขา : ลำนำ้ ท่ีแยกออกจากลำนำ้ สายใหญ่หรอื ทะเลสาบ 2. ธารรบั นำ้ ใตด้ นิ : ลำน้ำทไ่ี ดร้ บั น้ำจากนำ้ ใตด้ ิน 3. น้ำทิ้ง : 1. น้ำทีร่ ะบายท้งิ ออกจากพ้ืนทเี่ พาะปลกู ภายหลังการส่งน้ำ 2. น้ำโสโครกทที่ งิ้ ออกมา 3. นำ้ เสียทีท่ ง้ิ จากโรงงานอุตสาหกรรม elbow meter เคร่ืองวัดอัตราการไหลแบบข้องอ : เครื่องวัดอัตราการไหลของน้ำโดยใช้ ความดันแตกต่างของน้ำท่ีไหลผ่านข้องอ คือความดันด้านในและด้านนอกของ ขอ้ งอเปน็ ตวั วัดอตั ราการไหลของนำ้ ในท่อ electrical conductivity ความนำไฟฟ้า : การวัดค่าความเป็นส่ือไฟฟ้า ซึ่งจะบอกถึงความเข้มข้นของ เกลือมีหน่วยวัด เป็นโมห์ต่อเซนติเมตร (mhos/cm) เช่น น้ำสำหรับการ ชลประทาน โดยท่ัวไปแล้วควรมีค่าไม่เกิน 750 ไมโครโมห์ต่อเซนติเมตร (micro mhos/cm) ใช้ตัวย่อวา่ EC 67
E electric log electric log ผลบันทึกทางไฟฟ้า : แถบบันทึกที่ได้จากการหยั่งธรณีหลุมเจาะ ซึ่งแสดงผล การวัดสมบตั ทิ างไฟฟา้ ของชนั้ ดนิ หรือหินในหลุมเจาะ เรยี กย่อว่า E-log elevated flume สะพานน้ำ : รางน้ำชนิดวางบนตอม่อเพื่อนำน้ำจากคลองหรือคูส่งน้ำข้ามผ่าน ทล่ี ุ่มหรือร่องน้ำธรรมชาติ elevation ระดับความสูง : ระยะความสูงตามแนวต้ังนับจากระดับมูลฐาน หรือระดับ ทะเลปานกลางถึงจุดหรือวัตถุทอี่ ยู่บนผิวโลก El Nin~o เอลนีโญ : ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นเป็นคร้ังคราวเม่ือกระแสน้ำเย็นเปรู บริเวณ ชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ ถูกกระแสน้ำอุ่นจากศูนย์สูตรไหลเข้ามา แทนที่ ทำให้อุณหภูมิท่ีผิวน้ำสูงข้ึน 10 องศาเซลเซียส และมีผลให้แพลงก์ตอน ในบริเวณน้ันลดจำนวนลง จำนวนปลาจึงลดน้อยลงไปด้วย ปรากฏการณ์เช่นนี้ เกิดข้ึนทุกๆ 7 - 14 ปี อันเป็นผลมาจากการอ่อนกำลังลงของลมค้าตะวันออก- เฉียงใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิก เม่ือเกิดปรากฏการณ์นี้ข้ึน จะมีผลกระทบต่อ ภูมิอากาศของบริเวณชายฝ่ังใกล้เคียงในลักษณะที่ทำให้มีฝนตกน้อยลง (พจนานุกรมศัพทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) 68
E end baffle embankment คัน : แนวดินหรือวัสดุอื่นที่เสริมให้สูงขึ้นจากพ้ืนดินเดิม สำหรับวัตถุประสงค์ ตา่ งๆ เชน่ คันถนน คันคลอง คนั กน้ั นำ้ embankment dam เข่ือนวัสดุถม : เขื่อนท่ีก่อสร้างด้วยวัสดุต่างๆ เช่น ดิน หรือหินนำมาบดอัด เป็นตวั เข่ือน emergence จดุ ธารโผล่ : 1. (ชายฝั่ง) การยกระดับของแผ่นดินเม่ือเทียบกับระดับทะเล ทำให้บริเวณ ซ่ึงเดิมอยู่ใต้น้ำ โผล่พ้นน้ำกลายเป็นแผ่นดิน ทั้งน้ีอาจเกิดจากการลดลง ของระดับน้ำทะเลหรือการยกตัวของแผ่นดิน ลักษณะของชายฝ่ังที่ยกตัว จะเห็นได้วา่ มชี ายหาดยกสงู ขน้ึ หรือเกดิ ท่รี าบรมิ ฝง่ั บางแห่ง เชน่ ทางฝ่งั ทะเล ตะวันออกในภาคใต้ของประเทศไทย (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) 2. (ธารน้ำ) จุดบนผิวดินที่ธารน้ำใต้ดินปรากฏตัวแล้วกลายเป็นธารผิวดิน (มคี วามหมายเหมอื นกบั resurgence หรอื rise) (พจนานกุ รมศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) emergency spillway ทางระบายน้ำล้นฉุกเฉิน : ทางระบายน้ำล้นสำหรับปล่อยให้น้ำล้นข้ามใน กรณีทป่ี รมิ าณน้ำหลากมามากผิดปกติ หรอื มากเกินกวา่ อาคารทางระบายนำ้ ล้น ปกติจะระบายไดท้ ัน เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ ห้นำ้ ไหลลน้ ตวั เข่อื น end baffle แผงปะทะน้ำด้านท้าย : แท่งหรือแผงคอนกรีตท่ีติดกับพ้ืนตรงปลายสุด ด้านทา้ ยน้ำของอาคารชลประทาน ทำหนา้ ทป่ี ะทะน้ำเพือ่ สลายพลงั งาน เรยี กอีก อย่างวา่ end sill 69
E end bearing pile end bearing pile เสาเข็มดาล : เสาเข็มที่ถ่ายน้ำหนักจากฐานรากไปท่ีปลายเข็มลงสู่ช้ันดินแข็ง ทรายแน่น หรือชัน้ หิน end sill แผงปะทะน้ำด้านท้าย : แท่งหรือแผงคอนกรีตท่ีติดกับพื้นตรงปลายสุดด้าน ท้ายน้ำของอาคารชลประทาน ทำหน้าที่ปะทะน้ำเพ่ือสลายพลังงาน เรียกอีก อยา่ งวา่ end baffle energy dissipator ส่วนสลายพลงั งาน : สว่ นของอาคารทที่ ำหน้าที่สลายพลงั งานนำ้ กอ่ นปล่อยลง สู่ทางน้ำ เชน่ แผงปะทะนำ้ ฟันตะเข ้ energy gradient ลาดพลังงาน : ความลาดเอยี งของเสน้ ลาดพลังงาน energy head เฮดพลังงาน : พลังงานรวมของของไหล ท่ีหน้าตัดใดๆ ประกอบด้วย พลงั งานศักย์ พลังงานจลน์ และความดัน มหี น่วยเปน็ ความสงู energy grade line เส้นลาดพลังงาน : เส้นแสดงระดับพลังงานตามความยาวทางน้ำ เรียกอีก อยา่ งวา่ energy line entrance loss การสญู เสียทที่ างเข้า : การสูญเสยี พลังงานของน้ำที่ทางเข้าอาคารชลศาสตร์ 70
E evaporation epicenter; epicentrum ศูนย์กลางแผน่ ดินไหว : ตำแหนง่ ทสี่ มมตุ ิ กำหนดดว้ ยจดุ ตัดของเส้นดง่ิ ทีล่ าก จากศูนย์แผ่นดินไหว (earthquake focus) ตัดกับผิวโลก (พจนานุกรมศัพท์ ภมู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) equator เส้นศูนย์สูตร : เส้นวงใหญ่ที่แบ่งโลกออกเป็น 2 ซีก คือ ซีกโลกเหนือกับ ซกี โลกใต้ จุดทุกจดุ บนเสน้ ศนู ยส์ ูตรอย่หู ่างจากขว้ั โลกท้งั สองเท่ากนั และระนาบ ของเส้นศูนย์สูตรต้ังฉากกับแกนของโลก ความยาวของเส้นศูนย์สูตรประมาณ 40,075 กิโลเมตร (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) equipotential line เสน้ ศกั ยเ์ ท่ากนั : เส้นท่เี ชือ่ มตอ่ ระหว่างจดุ ที่มพี ลังงานศักยเ์ ท่ากัน erosion 1. การกดั เซาะ : (การชลประทาน) การกดั เซาะผวิ หนา้ ดนิ หรอื อาคารชลศาสตร ์ โดยน้ำหรอื ลม 2. การกร่อน : กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการท่ีทำให้สารเปลือกโลก หลุดไป ละลายไป หรือกร่อนไปโดยตัวการธรรมชาติ ซงึ่ ได้แก่ ลมฟา้ อากาศ สารละลาย การครูดถู การนำพา ท้ังนี้ ไม่รวมถึงการพังทลายเป็นกลุ่มก้อน เช่น แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) evaporation การระเหย : กระบวนการเปล่ยี นสภาพจากของเหลวกลายเปน็ ไอ 71
E evaporimeter evaporimeter เคร่ืองวัดการระเหยของน้ำ, มาตรวัดการระเหย : เครื่องวัดจำนวนและ อตั ราการระเหยของน้ำทีก่ ลายเปน็ ไอเขา้ สู่บรรยากาศ มี 2 แบบ คือ 1. เคร่ืองวัดการระเหยแบบอ่าง (evaporation pan) เป็นเคร่ืองวัดการระเหย จากผิวของน้ำโดยตรง มีลักษณะเป็นอ่างโลหะ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 122 เซนติเมตร มีกระบอกทองเหลืองขนาดสูง 25 เซนติเมตร อยู่กลางอ่าง ปากกระบอกมีตะขอวางพาดไว้ ปลายตะขออีกข้างหนึ่งจดผิวน้ำพอดี น้ำใน อ่างและในกระบอกท่ีใส่ไว้จะมีระดับเท่ากันเสมอ เม่ือน้ำระเหยเพียงเล็กน้อย ปลายตะขอจะขยับให้เฟืองหมุน แสดงค่าน้ำทรี่ ะเหยไปบนสเกล 2. เครื่องวดั การระเหยแบบพิเช (Piche evaporimeter) เป็นเครื่องวดั การระเหย จากกระดาษชุ่มน้ำ มีลักษณะเป็นหลอดแก้ว บรรจุน้ำกลั่นเต็มหลอด มีกระดาษเป็นรูพรุนน้ำซึมได้ง่าย ตัดเป็นรูปกลมวางบนผิวน้ำ ปิดประกับ ด้วยเหล็กติดไว้ เวลาใช้วัดความระเหยของน้ำให้คว่ำหลอดแก้วลง แขวน หลอดแก้วในตู้สกรีน เม่ือน้ำซึมและระเหยผ่านกระดาษ ปริมาณน้ำใน หลอดแก้วจะลดลง การระเหยของน้ำจะแสดงค่าท่ีสเกลข้างหลอดแก้ว (พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) evaporation pan ถาดวัดการระเหย : ถาดบรรจุน้ำท่ีใช้วัดการระเหยของน้ำสู่บรรยากาศ มหี น่วยเป็นมลิ ลิเมตร หรอื ถ้าวัดอตั ราการระเหยจะมหี น่วยเปน็ มลิ ลเิ มตร/วนั evapotranspiration การคายระเหย : ปรมิ าณน้ำทสี่ ูญเสียจากพ้นื ทเ่ี พาะปลกู สูบ่ รรยากาศในรปู ของ ไอน้ำ ประกอบด้วยปริมาณน้ำที่พืชคายออกทางใบและปริมาณน้ำท่ีระเหยจาก พ้นื ท่ีเพาะปลูก excess hydrostatic pressure ความดันนำ้ สว่ นเกิน : ความดนั น้ำท่เี พมิ่ ขึ้นจากปกตเิ นอ่ื งจากแรงกระทำ 72
E extreme flood excess rainfall ปริมาณฝนส่วนเกิน : ผลต่างระหว่างปริมาณน้ำที่ได้รับ (ฝนและอ่ืนๆ) กับ ปรมิ าณนำ้ ท่สี ญู เสียไปจากการคายระเหยในหว้ งเวลาทีพ่ ิจารณา exit gradient ลาดพลังงานที่จุดออก : ตำแหน่งของลาดพลังงานที่จุดออกของอาคาร ชลศาสตร์ มีประโยชน์ในการหาอัตราส่วนความปลอดภัยจากการพัดพาเม็ดดิน ออกไป (factor of safety against piping) expansion joint รอยต่อเผื่อการขยายตัว : รอยต่อในงาน คอนกรีต อยู่ระหว่างชิ้นส่วนของโครงสร้าง หลายช้ินท่ีถูกตรึงไว้ โดยยอมให้ชิ้นส่วนแต่ละ ชิ้นขยายตัวได้อย่างอิสระตามการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูม ิ expected rainfall ฝนคาดการณ์ : ปรมิ าณฝนท่คี าดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต exploratory borehole หลุมสำรวจ : หลุมที่เจาะเพอ่ื เกบ็ ตัวอยา่ งดนิ หนิ กรวด ทราย นำมาตรวจสอบ ดูสภาพชัน้ หินอุ้มน้ำว่า มีความเปน็ ไปได้หรอื ไม่ ท่ีจะเจาะบ่อผลติ น้ำต่อไป extreme flood น้ำท่วมสุดโต่ง : ปริมาณน้ำท่วมสูงสุดในช่วงเวลาศึกษา หรือปริมาณน้ำ ทสี่ งู กวา่ ค่านำ้ หลากท่อี อกแบบไว ้ 73
F factor of safety factor of safety ส่วนปลอดภัย : อัตราส่วนระหว่างแรงท่ีต้านทานการพังทลายกับแรงที่กระทำ ท่ีทำให้เกิดการพังทลาย ซ่ึงเป็นดัชนีแสดงความแข็งแรงของอาคารท่ีมีต่อการ พงั ทลาย farm delivery efficiency ประสทิ ธิภาพการส่งนำ้ ทแ่ี ปลงนา : อตั ราส่วนเปน็ รอ้ ยละระหวา่ งปริมาณน้ำ ที่แปลงเพาะปลูกกับปริมาณน้ำที่ส่งจริง ณ ท่อส่งน้ำเข้านา เรียกอีกอย่างว่า farm irrigation efficiency farm delivery requirement ความต้องการน้ำท่ีแปลงนา : ปริมาณน้ำชลประทานท่ีส่งถึงแปลงเพาะปลูก เป็นปรมิ าณน้ำทพ่ี ชื ตอ้ งการรวมกบั ปริมาณนำ้ ทส่ี ญู เสียตา่ งๆ ไวด้ ว้ ย farm dike คันนา : ดินท่ีพูนขึ้นเป็นแนวตามท้องนา จุดประสงค์เพ่ือกั้นน้ำให้อยู่ในแปลง เพาะปลกู เป็นตน้ farm inlet อาคารรับน้ำเข้าแปลงนา : อาคารท่ีทำหน้าที่รับน้ำจากคูส่งน้ำเข้าแปลง เพาะปลกู farm intake ท่อส่งน้ำเข้านา : อาคารรับน้ำจากคลองส่งน้ำเข้าคูส่งน้ำ เรียกอีกอย่างว่า farm turnout farm irrigation efficiency ประสิทธภิ าพการส่งนำ้ ท่ีแปลงนา : ประสิทธิภาพในการส่งนำ้ เพอื่ ใหพ้ ืชใชท้ ่ี ท่อส่งน้ำเข้านา ซ่ึงรวมถึงปริมาณน้ำที่สูญเสียในคูส่งน้ำด้วย เรียกอีกอย่างว่า farm delivery efficiency 76
F fault gouge farm road ทางลำเลยี งในแปลงนา : ถนนทใ่ี ช้เปน็ ทางเขา้ ออกสูไ่ ร่นาแต่ละแปลง farm turnout ท่อส่งน้ำเข้านา : อาคารรับน้ำจากคลองส่งน้ำเข้าคูส่งน้ำ เรียกอีกอย่างว่า farm intake farm water management การจัดการน้ำชลประทานในแปลงนา : การจัดการน้ำชลประทานในไร่นา ประกอบด้วยการส่งน้ำ การแพร่กระจายน้ำ การควบคุมปริมาณน้ำแก่พืช ตามปรมิ าณและระยะเวลาทตี่ อ้ งการ รวมถงึ การระบายน้ำดว้ ย fascine ลูกตะเข้ : การมัดกิ่งไม้เล็กๆ หรือไม้ไผ่ กรุรวมกันเป็นฟ่อน เพื่อป้องกัน ลาดตลิง่ มิให้กระแสนำ้ กดั เซาะ fathom ฟาทอม : มาตราวดั ความลึกทางทะเล ความลกึ 1 ฟาทอม = 6 ฟุต = 2 หลา = 1.829 เมตร (พจนานุกรมศัพทภ์ มู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) fault รอยเล่ือน, รอยเหลื่อม : รอยแตกหรือแนวรอยแตกของหินสองฟากซ่ึง เคล่ือนที่สัมพันธ์กันและขนานไปกับรอยแตกน้ัน (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) fault gouge ผงรอยเล่ือน : สารละเอียดคล้ายแป้งที่พบตามแนวรอยเลื่อน เกิดจากการบด และขัดสกี นั ของหนิ 2 ฟากรอยเลอ่ื นเรียกอกี อย่างว่า clay gouge หรือ gouge (พจนานุกรมศพั ท์ภูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2549) 77
F fault scarp fault scarp ผารอยเล่ือน : ผาที่ปรากฏข้ึนหลังจากเกิดรอยเลื่อน สังเกตได้ง่ายตรงท่ีผา รอยเลื่อนมักมีแนวตรงตัดภูมิประเทศชัดกว่าผาตั้งหรือผาชัน (พจนานุกรมศัพท์ ภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี 2549) fault set ชุดรอยเล่ือน : กลุ่มของรอยเล่ือนต่างๆ ท่ีมีทิศทางขนานหรือเกือบขนานกัน (พจนานกุ รมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) fault system ระบบรอยเลือ่ น : ชุดรอยเล่อื นตงั้ แต่ 2 ชุด ขน้ึ ไปทเ่ี กย่ี วพนั กนั อยา่ งเป็นระบบ ดู fault set ประกอบ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) fault zone เขตรอยเลอ่ื น : บริเวณรอยเลอื่ นท่มี รี อยแตกและรอยเล่ือนจำนวนมาก มักพบ หินกรวดเหลี่ยมหรือหินไมโลไนต์ในบริเวณนั้น เขตรอยเล่ือนน้ีอาจกว้างหลาย ร้อยเมตรกไ็ ด้ (พจนานุกรมศพั ทภ์ มู ศิ าสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) feasibility study การศึกษาความเหมาะสม : การศึกษาวางแผนพัฒนาโครงการพัฒนาแหล่ง น้ำอย่างเต็มรูปแบบ ท้ังทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ - สังคม เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม หากโครงการมีความเหมาะสมจะนำไปสู่ขั้นตอนการออกแบบ รายละเอยี ดต่อไป feeder canal คลองชักน้ำ : คลองเพ่ือการนำน้ำจากแหล่งน้ำแห่งหนึ่งไปอีกแห่งหน่ึง หรือ เพือ่ เชื่อมโยงระหว่างสองจดุ ในระบบเดยี วกัน 78
F filler feeder ditch คูชกั น้ำ : 1. คทู เ่ี ช่ือมโยงระหวา่ งสองจุดในระบบเดียวกนั 2. คสู ่งนำ้ ขนาดใหญท่ ีม่ ีปริมาณนำ้ มากกว่า 180 ลติ รต่อวินาที ใช้เรียกโดยกลุ่ม ออกแบบคนั คูนำ้ และจดั รปู ที่ดนิ กรมชลประทาน fetch ระยะทางตงั้ ฉากไกลสดุ : ระยะทางทจี่ ดุ ไกลสดุ ของผวิ นำ้ ดา้ นเหนอื อา่ งเกบ็ นำ้ ที่ต้ังฉากกับเขื่อนกักเก็บน้ำ ใช้ในการคำนวณหาความสูงของคล่ืนที่เกิดจาก ความเรว็ ลมท่พี ัดเขา้ หาเข่อื น field capacity ความชนื้ ชลประทาน : ปรมิ าณนำ้ ทเี่ หลอื อยใู่ นดนิ หลงั จากทนี่ ำ้ สว่ นเกนิ ภายใต้ แรงดึงดูดของโลกได้ระบายออกไปแล้ว เป็นความจุสูงสุดในการดูดยึดความช้ืน ของดินในสภาวะธรรมชาติ ความชื้นชลประทานน้ีใช้บอกค่าพิกัดของระดับ ความชน้ื ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ พืช field ditch คไู สไ้ ก่ : คสู ง่ น้ำขนาดเล็ก field drainage system ระบบระบายน้ำในแปลงเพาะปลูก : ระบบระบายน้ำส่วนเกินออกจากแปลง เพาะปลูก field wetness สภาพน้ำในแปลงเพาะปลูก : สภาพน้ำหรือความช้ืนที่มีอยู่จริงในแปลง เพาะปลกู filler วสั ดุอุด : วัสดุทใ่ี ช้ในการอุดชอ่ งวา่ ง จะเป็นของเหลวหรอื ของแข็งก็ได ้ 79
F fillet fillet พอกมุม : การเพมิ่ ความหนาบรเิ วณมุมด้านในของอาคาร filter วสั ดกุ รอง : วสั ดตุ า่ งๆ เชน่ หนิ กรวด ทราย ฯลฯ ทน่ี ำมาจดั เรยี งหรอื ผสมให้ มีขนาดคละท่ีเหมาะสม ใช้กรองน้ำเพ่ือป้องกันการพัดพาเม็ดดินไม่ให้เคลื่อนที่ ไหลไปตามน้ำ fineness modulus โมดูลัสความละเอียด : การวัดความหยาบหรือละเอียดของมวลรวม คำนวณ ได้จากผลรวม รอ้ ยละสะสมของมวลรวมทีค่ า้ งบนตะแกรง เบอร์ 4, 8, 16, 30, 50, 100 แลว้ หารดว้ ย 100 เช่น ทรายผสมคอนกรีต มีค่าโมดูลัสความละเอียด ระหว่าง 2.3 ถงึ 3.1 fish ladder บันไดปลา : อาคารท่ีสร้างขึ้นเพื่อเป็นทางให้ปลาผ่านในทางน้ำที่มีอาคาร ปดิ กัน้ เชน่ เขือ่ นทดน้ำ หรือฝาย fish screen ตะแกรงปลา : ตะแกรงปอ้ งกนั ไมใ่ หป้ ลาผา่ น fishway ทางปลาผา่ น : อาคารทใ่ี หป้ ลาผา่ นจากทา้ ยนำ้ ไปยงั เหนอื นำ้ เพอื่ การขยายพนั ธ์ุ เรียกอีกอย่างว่า fish-pass 80
F flap gate fixed crest weir ฝายสนั แขง็ : อาคารฝายทดน้ำท่ไี มม่ ีบานระบายนำ้ ควบคุม fixed hinged gate บานชนิดจุดหมุนคงที่ : บานบังคับน้ำซ่ึงเปิด - ปิดในลักษณะที่ตัวบานหมุน รอบจุดหมุน มีท้ังแบบที่ตัวบานติดอยู่กับจุดหมุนโดยตรง และแบบท่ีตัวบาน ตดิ อยกู่ บั โครงซึ่งติดอยกู่ ับจุดหมนุ อกี ต่อหนง่ึ fixed roller gate บานชนิดล้อเล่ือน : บานบังคับน้ำท่ีเปิด - ปิดบานโดยใช้เพลาและล้อในการ เคล่ือนท่ี เรียกอีกอยา่ งว่า fixed wheel gate fixed wheel gate บานชนิดล้อเลื่อน : บานบังคับน้ำที่เปิด - ปิดบานโดยใช้เพลาและล้อในการ เคลือ่ นท่ี เรยี กอีกอย่างว่า fixed roller gate fixed-bed model แบบจำลองพ้นื แข็ง : แบบจำลองทางชลศาสตร์ซงึ่ พื้นท้องน้ำทำจากวัสดุที่ทน ตอ่ การกดั เซาะของน้ำ flap gate บานชนดิ กระดก : 1. บานเปิด - ปิดติดอยู่ที่ตอนปลายท่อจ่ายน้ำของเครื่องสูบน้ำ เพ่ือป้องกันการ ไหลกลับของน้ำ เม่อื เครอื่ งสบู นำ้ หยดุ ทำงาน 2. บานเปิด - ปิดควบคุมระดับน้ำเพ่ือป้องกันน้ำท่วม มักออกแบบให้เปิดเมื่อ ระดับน้ำด้านเหนือน้ำสูงกว่าระดับท้ายน้ำเพ่ือระบายน้ำ และปิดเม่ือระดับน้ำ ด้านท้ายน้ำสูงข้ึนเท่ากับหรือมากกว่าระดับน้ำด้านเหนือน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้ นำ้ ไหลย้อนกลับ 81
F flap valve flap valve ลิ้นชนิดกระดก : ล้ินเปิด-ปิดท่ีติดอยู่ท่ีปลายรูระบายน้ำซึม (weep hole) เพ่ือให้น้ำซึมออกอย่างเดยี ว flash board weir ฝายบานกระดก : ฝายชนิดปรับความสูงได้ด้วยแผ่นบานติดบานพับที่หมุน รอบแกนในแนวราบซึ่งตดิ ตงั้ บนสันฝาย flashboard แผงก้ันน้ำ : บานไม้หรือบานเหล็กทำหน้าที่กั้นไม่ให้น้ำไหลผ่านได้ เรียกอีก อยา่ งวา่ stop plank flash flood น้ำท่วมฉับพลัน : น้ำท่ีเกิดท่วมอย่างรวดเร็ว ฉับพลัน และไหลลดลงอย่าง รวดเร็ว ตามปกติมักเป็นผลเน่ืองมาจากฝนตกหนักในท่ีสูงบริเวณเทือกเขา หรือ ในป่า เม่ือสะสมไว้มีปริมาณมากขึ้นก็จะไหลลงสู่ที่ต่ำพร้อมๆ กัน ทำให้เกิด นำ้ ทว่ มฉบั พลนั ขนึ้ โดยมากจะเกดิ บรเิ วณชอ่ งทางนำ้ แคบๆ และมคี วามลาดชนั สงู หรอื เฉพาะทอ้ งถน่ิ float gauge เครือ่ งวัดระดับน้ำแบบลูกลอย : เครือ่ งมอื สำหรบั วัดระดบั นำ้ โดยอาศยั หลัก การเคลอื่ นทข่ี องลกู ลอยในแนวต้งั ตามการเปลย่ี นแปลงของระดบั นำ้ float measurement การวัดกระแสน้ำแบบทุ่นลอย : การวัดความเร็วของกระแสน้ำโดยใช้การวัด ความเรว็ ของทนุ่ ลอย 82
F flood crest flood 1. น้ำท่วม : น้ำซึ่งท่วมพื้นท่ีบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นคร้ังคราว เนื่องจาก มีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ทำให้น้ำในลำน้ำหรือทะเลสาบไหลล้นตล่ิง หรอื บ่าลงมาจากทส่ี งู 2. อุทกภัย : อันตรายอันเกิดจากน้ำท่วม (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2549) flood bed พ้ืนท่ีน้ำท่วมซ้ำซาก : พื้นที่ราบบริเวณริมตล่ิงแม่น้ำที่ถูกน้ำท่วมประจำ ในกรณีนี้ให้รวมถึงส่วนทเ่ี ปน็ ลำนำ้ ด้วย flood by-pass ช่องลัดลดน้ำท่วม : ทางน้ำธรรมชาติหรือท่ีสร้างขึ้นเพ่ือระบายน้ำเม่ือเกิด น้ำท่วมโดยใหน้ ้ำผา่ นไปตามทางน้ำนน้ั flood channel ร่องน้ำหลาก : รอ่ งนำ้ ท่ีทำขึน้ เพอื่ ระบายนำ้ ในชว่ งนำ้ หลาก flood control การควบคมุ นำ้ ทว่ ม : การควบคมุ เพอ่ื บรรเทาการเกดิ น้ำท่วมด้วยวิธีการตา่ งๆ flood control storage ความจุควบคุมน้ำท่วม : ปริมาตรส่วนหน่ึงของความจุของอ่างเก็บน้ำที่ ออกแบบไว้เพื่อรองรับปริมาณน้ำในช่วงน้ำหลาก โดยทำหน้าท่ีชะลอน้ำไว้ใน อ่างฯ แล้วปล่อยออกจากอ่างฯ ด้วยอัตราที่ทางน้ำท้ายอ่างฯ สามารถรองรับได้ อยา่ งปลอดภยั flood crest ยอดน้ำหลาก : ค่าระดับน้ำสูงสุดหรืออัตราการไหลสูงสุด ในระยะเวลาท่ีเกิด น้ำทว่ มแต่ละครง้ั บางครัง้ เรยี กว่า flood peak หรือ flood summit 83
F flood disaster flood disaster อุทกภัยร้ายแรง : หายนะท่ีเกดิ จากนำ้ ทว่ มรนุ แรง flood duration ช่วงเวลานำ้ ทว่ ม : ชว่ งเวลาท่ีเกิดนำ้ ท่วมในพนื้ ที่ใดพื้นที่หนึ่ง flood early warning system ระบบเตือนภัยน้ำท่วมล่วงหน้า : ระบบการตรวจวัดและรับ-ส่งข้อมูล อุทกวิทยาทางไกล ณ เวลาจริงอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนำมาประมวลผลและ คาดการณ์นำ้ ท่วมล่วงหน้าเพ่ือการเตอื นภยั flood forecasting การพยากรณ์น้ำท่วม : การประเมินปริมาณน้ำซึ่งสูงกว่าปกติท่ีอาจเกิดข้ึนได้ เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้า หรืออาจเป็นการประเมินข้อมูลระยะยาวสำหรับ วัตถุประสงคใ์ นการวางแผน flood frequency ความถนี่ ้ำท่วม : จำนวนครงั้ ของการเกิดนำ้ ทว่ มในชว่ งระยะเวลาหน่ึง flood frequency analysis การวิเคราะห์ความถ่ีน้ำท่วม : การวิเคราะห์จำนวนครั้งของการเกิดน้ำท่วม ในช่วงระยะเวลาหนง่ึ โดยใชท้ ฤษฎที างสถิติเพือ่ ใชอ้ อกแบบน้ำทว่ ม flood frequency curve โค้งความถ่ีน้ำท่วม : เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำท่วม กับ รอบการเกดิ ซำ้ (return period) flood frequency region พื้นที่ความถี่น้ำท่วม : พื้นท่ีท่ีทุกๆ จุดในพื้นที่มีคุณลักษณะของความถ ่ี การเกดิ น้ำทว่ มเหมือนกนั หรือใกล้เคียงกนั 84
F flood level flood fringe ชายเขตน้ำท่วม : พื้นที่ระหว่างพื้นที่น้ำท่วมกับทางระบายน้ำท่วมซ่ึงจะมี โอกาสเกิดน้ำท่วมแต่ไม่บ่อยนัก เรียกอีกอย่างว่า flood-plain fringe หรือ floodway fringe flood hazard ภัยพิบัติน้ำท่วม : ภัยจากน้ำท่วมท่ีมีแนวโน้มจะทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและ ความเสียหายตอ่ ทรพั ย์สิน flood hazard zone เขตภัยพิบัติน้ำท่วม : พ้ืนที่ท่ีมีแนวโน้มจะได้รับอันตรายต่อชีวิตและความ เสยี หายต่อทรพั ย์สนิ จากนำ้ ทว่ ม flood hydrograph กราฟน้ำหลาก : เส้นทแี่ สดงความสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาณนำ้ หลากกับเวลา flood index ดัชนนี ้ำท่วม : ผลรวมคา่ ความลกึ ของน้ำทว่ มท่ีบันทึกไว้ ณ สถานีวดั น้ำทา่ หลกั จำนวนหนึ่งของแตล่ ะลำนำ้ ในแตล่ ะปี ใชร้ ะบุขนาดของนำ้ ท่วม flood irrigation ชลประทานน้ำนอง : วิธีให้น้ำชลประทานโดยปล่อยท่วมขังหรือไหลบ่าไปบน พนื้ ที่ flood levee พนัง, คัน, คันก้ันน้ำ : คันดินหรือวัสดุอ่ืนที่เสริมให้สูงข้ึนจากผิวดินเดิม เพ่ือ ก้ันไม่ให้น้ำจากแม่น้ำหรือจากทะเลไหลผ่านเข้ามาได้ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำบ่า เขา้ ไปทว่ มพนื้ ทเี่ พาะปลกู ทีอ่ ยอู่ าศัย เรยี กอกี อยา่ งว่า dike หรือ dyke flood level ระดับน้ำทว่ ม : ระดบั นำ้ ที่กำหนดเปน็ เสน้ แบ่งการเกิดนำ้ ทว่ ม เรียกอีกอยา่ งว่า flood stage 85
F flood magnitude flood magnitude ขนาดน้ำทว่ ม : ปรมิ าตรน้ำทง้ั หมดของการเกิดนำ้ ทว่ มหรอื อตั ราการไหลสงู สดุ ระหว่างการเกิดน้ำทว่ ม เรยี กอกี อยา่ งว่า flood size flood management การจัดการนำ้ ท่วม : กระบวนการแก้ไขปัญหาน้ำทว่ ม flood mark คราบนำ้ สงู สดุ : รอยหรอื คราบทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามโครงสรา้ งหรอื สงิ่ ตา่ งๆ เมอื่ นำ้ ทว่ ม หรอื ระดับนำ้ ข้นึ สูงสุด เรยี กอีกอยา่ งว่า high watermark flood parameter องค์ประกอบน้ำท่วม : ปัจจัยท่ีใช้ระบุคุณลักษณะของน้ำท่วม เช่น ช่วงเวลา ขนาด ระดบั นำ้ สูงสดุ flood peak ยอดน้ำหลาก : ค่าระดับน้ำสูงสุดหรืออัตราการไหลสูงสุด ในระยะเวลาที่เกิด นำ้ ทว่ มแต่ละครัง้ บางครั้งเรยี กวา่ flood crest หรือ flood summit flood plain; flood plane ทาม, ท่ีราบนำ้ ทว่ มถงึ : พืน้ ท่รี าบบรเิ วณริมตลง่ิ แม่นำ้ ทถ่ี ูกนำ้ ท่วมประจำ flood-plain fringe ชายเขตน้ำท่วม : พื้นท่ีระหว่างพื้นที่น้ำท่วมกับทางระบายน้ำท่วมซ่ึงจะมี โอกาสเกิดน้ำท่วมแต่ไม่บ่อยนัก เรียกอีกอย่างว่า flood fringe หรือ floodway fringe flood prevention การป้องกันน้ำท่วม : วิธีการที่ใช้ในการป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำท่วม สามารถแบง่ เป็น 2 มาตรการ คอื มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น คนั กั้นน้ำ เขอ่ื น และมาตรการไมใ่ ช้ส่ิงกอ่ สร้าง เช่น การพยากรณน์ ำ้ 86
F flood storage flood probability ความน่าจะเป็นการเกิดน้ำท่วม : ความเป็นไปได้ของการเกิดปริมาณน้ำท่ ี มากกวา่ หรือเทา่ กับขนาดทีก่ ำหนด flood protection การป้องกันภัยน้ำท่วม : การป้องกันความเสียหายท่ีเกิดจากน้ำท่วม ด้วย แผนการป้องกันต่างๆ flood routing การเคล่ือนตัวของน้ำท่วม : วิธีการพิจารณาความคืบหน้าของเวลา และ รปู รา่ งของกราฟนำ้ นอง ณ จดุ ต่างๆ ในลำน้ำ flood runoff ปริมาณน้ำทว่ ม : ปรมิ าณน้ำทัง้ หมดในชว่ งเวลาการเกิดนำ้ ท่วม flood series อนุกรมน้ำท่วม : ลำดับการเกิดน้ำท่วมตามขนาด หรือปริมาณในช่วงเวลาใด เวลาหน่ึง flood size ขนาดน้ำท่วม : ปริมาตรน้ำท้ังหมดของการเกิดน้ำท่วม หรืออัตราการไหล สูงสุดระหวา่ งการเกดิ น้ำท่วม เรียกอีกอยา่ งวา่ flood magnitude flood stage ระดับนำ้ ท่วม : ระดับน้ำทก่ี ำหนดเป็นเสน้ แบ่งการเกิดนำ้ ท่วม เรียกอกี อยา่ งว่า flood level flood storage ความจุเผ่ือน้ำท่วม : ความจุของอ่างเก็บน้ำส่วนที่เผื่อไว้สำหรับรับปริมาณน้ำ ที่ระดับกกั เก็บ เพอ่ื ควบคุมการเกิดน้ำทว่ ม 87
F flood storage basin flood storage basin พ้ืนที่กักเก็บน้ำท่วม : พ้ืนที่ที่ใช้ในการกักเก็บปริมาณน้ำบางส่วนที่เกิดจาก นำ้ ทว่ มจนกระท่งั นำ้ ทว่ มไดล้ ดลงแลว้ จึงระบายน้ำออก flood summit ยอดน้ำหลาก : ค่าระดับน้ำสูงสุดหรืออัตราการไหลสูงสุด ในระยะเวลาที่เกิด นำ้ ท่วมแตล่ ะครั้ง บางครงั้ เรียกวา่ flood crest หรอื flood peak flood surcharge ความจเุ ผื่อน้ำหลาก : ปริมาตรหรือความจุในอ่างเก็บน้ำท่อี ยู่ระหว่างระดับน้ำ กักเก็บกับระดับน้ำสูงสุด เป็นท่ีว่างท่ีเผ่ือไว้รองรับปริมาณน้ำส่วนเกินจากที่ กำหนดไว้ เรยี กอีกอยา่ งวา่ surcharge flood wall กำแพงป้องกนั นำ้ ท่วม : กำแพงคอนกรีตหรอื หินกอ่ สำหรับปอ้ งกันน้ำท่วม floodway fringe ชายเขตน้ำท่วม : พื้นที่ระหว่างพ้ืนท่ีน้ำท่วมกับทางระบายน้ำท่วมซ่ึงจะมี โอกาสเกดิ น้ำท่วมแต่ไมบ่ ่อยนัก เรียกอกี อย่างวา่ flood fringe หรือ floodplain fringe flood warning การเตือนภัยน้ำท่วม : การแจ้งเตือนเกี่ยวกับข้อมูลน้ำท่วมที่จะเกิดข้ึนใน อนาคตอนั ใกล้ ในพ้ืนทท่ี จี่ ะได้รบั ผลกระทบ flood wave คลื่นน้ำทว่ ม : ลักษณะการเคลอื่ นตัวของนำ้ ท่วมคล้ายลูกคลนื่ ซ่งึ ระดบั น้ำทว่ ม จะค่อยๆ สูงขึ้นจนถึงระดับสูงสุด แล้วจึงค่อยๆ ลดลง แล้วเคลื่อนตัวไปปรากฏ ดา้ นทา้ ยน้ำ 88
F floodway flood zones เขตน้ำท่วม : 1. พ้นื ทีย่ อ่ ยในที่ราบนำ้ ทว่ มถงึ ทมี่ ีความถี่ของการเกดิ นำ้ ท่วมเท่ากนั 2. พ้ืนท่ีริมขอบอ่างเก็บน้ำหรือริมแม่น้ำที่น้ำท่วมถึงอันเนื่องมาจากระดับน้ำ สงู กว่าปกต ิ flooded area พื้นท่ีน้ำท่วม : พ้ืนที่ที่ถูกน้ำท่วมจากปริมาณน้ำส่วนเกินที่ไหลล้นตล่ิงของ รอ่ งน้ำ ลำนำ้ หรอื แม่นำ้ flooding การเกดิ น้ำท่วม; นำ้ ท่วมบ่า : 1. การที่ปริมาณน้ำไหลล้นแม่น้ำ ลำน้ำ ทะเลสาบ เข้าสู่พ้ืนที่ท่ีมีการระบายน้ำ ไมเ่ พยี งพอจงึ กอ่ ใหเ้ กดิ น้ำทว่ ม 2. รูปแบบการส่งน้ำชลประทานโดยควบคุมให้น้ำท่วมบ่าไปตามพื้นท่ี เรียกอีก อย่างว่า inundation floodplain mapping การทำแผนทน่ี ้ำท่วม : กระบวนการกำหนดขอบเขตน้ำท่วม ในรอบการเกดิ ซำ้ ที่กำหนด โดยจัดทำเป็นแผนที่นำ้ ท่วมถึง floodway ทางระบายน้ำทว่ ม : 1. ทางน้ำธรรมชาติหรือที่สร้างข้ึนเพ่ือระบายน้ำเม่ือเกิดน้ำท่วม โดยให้น้ำไหล ผ่านไปตามทางนำ้ นั้น 2. พน้ื ทรี่ ิมตลิง่ ทอ่ี อกแบบไว้ใหเ้ ปน็ ทางระบายนำ้ ท่วม 89
F floor block floor block ฟันตะเข้ : แท่งคอนกรีตท่ีหล่อติดกับพื้นอาคารเพื่อสลายพลังงานที่เกิดการ กระโจนตัวของนำ้ flow line เส้นการไหล : เส้นแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคน้ำ ภายใต้การไหล แบบราบเรียบ flow net ตาข่ายการไหล : ตาข่ายแสดงเสน้ การไหลกับเส้นศักยเ์ ทา่ กันของนำ้ ใชใ้ นการ ศึกษาการรั่วซมึ ของนำ้ เรยี กอีกอยา่ งว่า flow pattern flow pattern ตาขา่ ยการไหล : ตาข่ายแสดงเส้นการไหลกับเสน้ ศกั ย์เทา่ กนั ของน้ำ ใช้ในการ ศึกษาการรวั่ ซึมของน้ำ เรยี กอีกอย่างวา่ flow net fly off การระเหยทั้งหมด : ผลรวมของน้ำที่สูญเสียไปเนื่องจากการใช้น้ำของพืช (การคายน้ำและการสร้างเน้ือเยื่อ) การระเหยจากผิวน้ำ ผิวดิน และหยาดน้ำฟ้า ทค่ี า้ งอยตู่ ามตน้ ไมใ้ บหญา้ ในพน้ื ทหี่ นงึ่ ๆ ณ ชว่ งเวลาทพี่ จิ ารณา เรยี กอกี อยา่ งวา่ total evaporation, total loss หรอื water losses free flow การไหลแบบอิสระ : การไหลของน้ำผ่านอาคารชลประทานท่ีระดับน้ำ ด้านทา้ ยไมม่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การไหล flowing well บ่อน้ำพุ : บ่อน้ำบาดาลที่มีน้ำข้ึนมาสู่ผิวดินได้โดยไม่มีการสูบ แตกต่างจาก บ่อน้ำพุมีแรงดัน ตรงท่ีบ่อน้ำพุมีแรงดันอาจมีแรงดันท่ีเกิดจากก๊าซมากกว่า แรงดันที่เกิดจากระดับแรงดันของน้ำบาดาล (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี 2544) 90
F free-fall weir flume สะพานน้ำ, รางริน : รางน้ำท่ีจัดทำข้ึนเพื่อนำน้ำผ่านพ้ืนท่ีที่ไม่เหมาะสม ในการสร้างคลอง มที ้งั ชนิดวางบนพ้ืนดนิ และวางบนตอมอ่ form line เส้นแสดงสัณฐาน : เส้นท่ีใช้แสดงความสูงต่ำของภูมิประเทศบนแผนท ี่ คล้ายกับเส้นชั้นความสูง แต่ไม่ได้บอกความสูงท่ีชัดเจน มีประโยชน์แสดง ให้เห็นรูปร่างลักษณะภูมิประเทศโดยรวมๆ (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน ปี 2549) foundation gallery ทางเดินภายในฐานราก : อโุ มงคท์ อ่ี ยภู่ ายในฐานรากของเข่อื นเกบ็ กักนำ้ ชนิด เขื่อนคอนกรีต มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการอัดฉีดน้ำปูนในการปรับปรุงฐานราก ในระหว่างการก่อสร้าง และใช้เพื่อตรวจสอบความปลอดภัย และบำรุงรักษา เขอ่ื นรวมทงั้ ลดแรงดนั นำ้ ดว้ ยการระบายน้ำทิง้ free water น้ำอิสระ : น้ำในดินส่วนท่ีสามารถระบายออกไปจากช่องว่างระหว่างเม็ดดินได้ ด้วยแรงดงึ ดูดของโลก เรยี กอีกอย่างวา่ gravitational water freeboard ระยะพน้ นำ้ : ระยะจากระดบั นำ้ สงู สดุ ถงึ ระดบั หลงั อาคารทไี่ มต่ อ้ งการใหน้ ำ้ ไหล ล้นข้าม เช่น ระดับหลังขอบดาด ระดับหลังคันคลอง ระดับหลังคันคู หรือ สันเขอื่ น free-fall weir ฝายแบบการไหลอสิ ระ : ฝายท่มี รี ะดับนำ้ ด้านท้ายต่ำกว่าสันฝายและระดับนำ้ ท้ายน้ำไม่มีผลต่อการไหล เรียกอีกอย่างว่า free weir, clear overflow weir หรือ free overfall weir 91
F free jet stilling basin free jet stilling basin แอ่งน้ำนิ่งแบบน้ำพุ่งอิสระ : แอ่งน้ำน่ิงที่ใช้สลายพลังงานของน้ำท่ีไหลพุ่ง ออกจากปากทางออกซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำด้านท้ายน้ำผ่านอากาศตกลงสู่แอ่ง พลังงานส่วนใหญ่จะถูกสลายไปโดยการปั่นป่วนของน้ำในแอ่ง เรียกอีกอย่างว่า free jet basin free overfall weir ฝายแบบการไหลอิสระ : ฝายท่มี รี ะดบั น้ำด้านทา้ ยต่ำกว่าสนั ฝายและระดบั น้ำ ท้ายน้ำไม่มีผลต่อการไหล เรียกอีกอย่างว่า free weir, clear overflow weir หรอื free-fall weir free weir ฝายแบบการไหลอิสระ : ฝายทม่ี ีระดบั น้ำดา้ นท้ายต่ำกวา่ สนั ฝายและระดับน้ำ ทา้ ยนำ้ ไมม่ ีผลตอ่ การไหล เรียกอีกอยา่ งว่า free overfall weir, clear overflow weir หรือ free-fall weir friction pile เสาเข็มเสียดทาน : เสาเข็มท่ีถ่ายน้ำหนักให้ดินในรูปของความเสียดทาน ตลอดความยาวของเสาเข็ม friction slope ลาดความฝดื : ความลาดเอยี งของพลังงานทสี่ ญู เสียเน่ืองจากความฝดื Froude number (Fr) ฟรูดนัมเบอร์ : ตัวเลขแสดงอัตราส่วนระหว่างความเร็วของน้ำกับความเร็วของ คลืน่ นำ้ แสดงในรูปสมการ Fr = __V_ _ gD V = ความเร็วของการไหล g = อตั ราเร่งเนอ่ื งจากแรงโน้มถว่ งของโลก D = ความลกึ ชลศาสตร ์ 92
F furrow irrigation full cutoff trench ร่องแกนทึบน้ำแบบเต็ม : ร่องแกนใต้ฐานเขื่อนหรืออาคารอื่นๆ ท่ีขุดจนถึง ชัน้ ทึบน้ำแลว้ ใสว่ ัสดุทึบน้ำแทน เพอ่ื ลดการซมึ ผ่านของน้ำใตฐ้ าน full drain level ระดบั ระบายน้ำสงู สดุ : ระดับน้ำสงู สุดในคลองหรือคูระบายนำ้ full supply level ระดับน้ำสูงสุด : ระดับน้ำสูงสุดในคลองหรือคูส่งน้ำ ใช้ตัวย่อว่า F.S.L. หรือ ร.น.ส. furrow irrigation ชลประทานรอ่ งคู : วธิ ใี หน้ ำ้ ชลประทานทางผวิ ดนิ โดยปลอ่ ยใหน้ ำ้ ไหลในรอ่ งคู ถ้าเป็นร่องคูเล็กแคบ ตื้น เรียกว่า corrugation irrigation ถ้าร่องคูมีแนวยาว ไปตามส่วนลาดเทของพื้นท่ี เรียกว่า level furrow และถ้าร่องคูมีแนวขวางกับ ส่วนลาดเทของพ้นื ท่ี เรียกว่า contour furrow 93
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310