Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาระทักษะการพัฒนาสังคม

สาระทักษะการพัฒนาสังคม

Published by Kik 119, 2021-05-18 05:56:00

Description: เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา สาระทักษะการพัฒนาสังคม

Search

Read the Text Version



เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) สาระการพัฒนาสังคม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบ้านแหลม สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั เพชรบรุ ี สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) สาระการพฒั นาสังคม ศูนยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบ้านแหลม จดั ทำขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนไดศ้ ึกษารายละเอียดของ สาระน้ีและนำไปจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และส่งผลต่อการบรรลุ ต่อจดุ หมายของหลักสตู ร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) สาระทักษะการพัฒนาสงั คม ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา้ นแหลม ประกอบด้วย (1) คำชแ้ี จงสาระทักษะความรู้ พน้ื ฐาน วิชาภาษาไทย (2) สาระทักษะความรูพ้ ื้นฐาน วิชาภาษาไทย (3) ผงั มโนทัศน์ (4) มาตรฐานการ เรียนร้รู ะดบั และผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง (5) รายวิชาบงั คับและรายวชิ าเลอื ก (6) คำอธบิ ายรายวิชาบังคับ และรายละเอียดคำอธิบายรายวิชา (7) คำอธิบายรายวิชาเลือกและรายละเอียดคำอธิบายรายวิชา (8) บรรณานกุ รม และ (9) ภาคผนวก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) สาระทกั ษะการเรียนรู้ ศูนย์การศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม สำเร็จลงได้ด้วยดีเนื่องจากไดร้ ับการสนับสนุนจาก นางรชั นุช สละโวหาร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเพชรบุรี นายสหรัฐ พูลนาค รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบุรี นางทองสุข รัตนประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ นางสาวสุธกิ านต์ แย้มนลิ ผู้อำนวยการสำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบ้านแหลม ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ครูอาสาสมคั รการศึกษา นอกโรงเรียน ครู กศน.ตำบล และนักจัดการงานท่ัวไป สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยอำเภอบ้านแหลม ตัวแทนผู้เรียนสงั กดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอ บา้ นแหลม ตวั แทนชมุ ชน ตวั แทนภาคีเครอื ขา่ ยหน่วยงาน

3 ได้แก่ ที่ว่าการอำเภอบ้านแหลม สาธารณสุขอำเภอบ้านแหลม พัฒนาชุมชนอำเภอบ้านแหลม เกษตร อำเภอบ้านแหลม เทศบาลตำบลบ้านแหลม องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหลม ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำศาสนาอิสลาม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ บา้ นแหลม ขอขอบพระคุณทกุ ทา่ น มา ณ ท่ีนด้ี ว้ ย (นางวิภารัตน์ ชาแจ้ง) ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม

สารบัญ หนา้ คำชีแ้ จงสาระการพฒั นาสังคม 1 สาระการพฒั นาสงั คม 2 ผงั มโนทศั น์ 3 มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับและผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง 7 รายวชิ าบังคับและรายวชิ าเลอื ก 14 คำอธบิ ายรายวชิ าบงั คบั และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชาระดบั ประถมศึกษา 20 คำอธบิ ายรายวชิ าบงั คับและรายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น 33 คำอธบิ ายรายวิชาบงั คับและรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 47 คำอธิบายรายวิชาเลือกและรายละเอียดคำอธิบายรายวชิ าระดบั ประถมศกึ ษา 61 มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย 294 บรรณานกุ รม 295 ภาคผนวก ก. ประกาศทีป่ รกึ ษาและผรู้ ่วมปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร ข. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู ร ค. นยิ ามศัพท์

2 คำช้ีแจงสาระการพฒั นาสังคม 1. เอกสาร “สาระการพัฒนาสังคม” ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ผังมโน ทศั น์มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง คำอธบิ ายรายวิชาและรายละเอยี ดคำอธิบาย รายวิชา 2. ให้สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 นำไปพิจารณาประกอบการจัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษา 3. นำไปใช้จัดกระบวนการการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละระดับ การศกึ ษาและให้ผ้เู รยี นได้คุณภาพตามทกี่ ำหนด 4. คำอธิบายรายวิชา จัดทำตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนด โดยให้ครูและผู้เก่ียวข้อง มีความเข้าใจขอบข่ายของรายวิชานน้ั ๆ ดังนัน้ ในแต่ละคำอธิบายรายวิชาจึงมีการกำหนดชอื่ รายวิชา สาระระดับการศึกษา จำนวนชั่วโมง จำนวนหน่วยกิต การศึกษาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล 5. สาระการพัฒนาสังคมประกอบด้วย 4 มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีเน้นเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมือง และ การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

3 สาระการพัฒนาสังคม สาระการพฒั นาสังคม เป็นสาระเกี่ยวกับภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าที่พลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้ ดังน้ี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรบั ใชใ้ นการดำรงชีวติ มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพอ่ื การอยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพ่ือความ สงบสขุ ของสงั คม มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักการพัฒนา และสามารถ พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม

4 ผังมโนทัศน์

45 ผังมโนทัศน์ ระดบั ประถมศึกษา ผังมโนทัศน์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

6 ผงั มโนทัศน์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

7 6

8 มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั และผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง

9 มาตรฐานที่ 5.1 มคี วามรู ความเขาใจ และตระหนักถงึ ความสําคัญเกีย่ วกบั ภมู ิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนำปรับใช้ ในการดํารงชีวิต ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง มคี วามรู ความเขาใจ 1. อธิบายขอมลู เกี่ยวกบั มีความรู ความเขาใจ 1. อธบิ ายขอมลู เกยี่ วกับภูมิ มคี วามรู ความเขาใจ 1. อธิบายขอมูลเกยี่ วกับ ตระหนัก เกย่ี วกบั ภูมิศาสตร ประวัตศิ าสตร ตระหนกั เก่ียวกบั ศาสตร ประวตั ศิ าสตร ตระหนกั เกย่ี วกับ ภมู ศิ าสตร ประวัตศิ าสตร ภูมิศาสตร ประวัติ เศรษฐศาสตร การเมือง ภมู ศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมอื ง ภูมิศาสตร ประวตั ิ เศรษฐศาสตร การเมอื ง ศาสตรเศรษฐศาสตร การปกครอง ที่เกี่ยวของ ประวัติศาสตร การปกครอง ที่เก่ียวของกบั ศาสตรเศรษฐศาสตร การปกครอง ท่เี กี่ยวของ การเมืองการปกครอง กับตนเอง ชมุ ชน เศรษฐศาสตร การเมือง ประเทศในทวปี เอเชีย การเมือง การ กบั ประเทศตาง ๆ ในโลก ในทองถิ่น ประเทศ ทองถิน่ และประเทศไทย การปกครองในทวีป 2. นาํ เสนอผลการ ปกครองในโลกและ 2. วิเคราะหเปรยี บเทยี บ นํามาปรับใชในการ 2. ระบุสภาพความ เอเชยี และนาํ มาปรับ เปรยี บเทยี บสภาพ นาํ มาปรบั ใชใน สภาพภูมศิ าสตร ประวัตศิ าสตร์ ดําเนินชวี ติ และการ เปลย่ี นแปลงดาน ใชในการดําเนนิ ชวี ิต ภมู ศิ าสตร ประวตั ศิ าสตร การดาํ เนินชวี ติ เพ่อื เศรษฐศาสตร การเมอื ง ประกอบอาชีพ เพอ่ื ภมู ศิ าสตร ประวัตศิ าสตร เพอ่ื ความมัน่ คงของชาติ เศรษฐศาสตร การเมือง ความมน่ั คงของชาติ การปกครอง ของประเทศตาง ๆ ใน ความมั่นคงของชาติ เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ของ โลก การปกครอง และ ประเทศในทวปี เอเชีย 3. ตระหนกั และคาดคะเนสถาน กฎหมายทม่ี ีผลกระทบ 3. ตระหนกั และวิเคราะหถึงการ การณระหวางประเทศทางดาน ภู ตอวิถชี มุ ชน ทองถนิ่ ชีวติ มิศาสตรประวัติศาสตร การเมอื ง ของตน สงั คม และ เปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขนึ้ กับประเทศ การปกครอง ทมี่ ีผลกระทบตอประ เทศไทย ประเทศไทย ในทวีปเอเชียทม่ี ผี ลกระทบตอ ประเทศไทย

10 ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนร้ทู ีค่ าดหวัง 3. เกิดความตระหนกั 4. เสนอแนะแนวทางใน และสามารถนาํ ความรู การแกปญหา การปองกันและการ ทางดานภมู ศิ าสตร พฒั นาทางดาน การเมอื ง การ ประวตั ิศาสตร ปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมตาม เศรษฐศาสตร การเมือง สภาพปญหาทเ่ี กดิ ข้ึน เพ่อื ความ การปกครอง และ ม่นั คงของชาติ กฎหมายไปประยุกตใช ใหทนั ตอกาเปล่ียนแปลง กับสภาพชุมชน สงั คม เพอื่ ความมั่นคงของชาติ

11 มาตรฐานที่ 5.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพอื่ การอยรู่ ่วมกนั อย่างสันติสุข ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั มาตรฐาน ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง การเรยี นรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธบิ ายประวัติ หลกั คำสอน และ มีความรู้ 1. อธบิ าย ประวตั ิ มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธิบายประวัติ เห็นคุณคา่ ความสำคญั หลกั คำสอน เห็นคุณค่า และสบื การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาทตี่ น ความเข้าใจ ความสำคญั หลกั คำสอน และสบื ทอดศาสนา ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ทอดศาสนา นบั ถือ เหน็ คณุ ค่า ศาสนา วัฒนธรรม วฒั นธรรม ประเพณี ของประเทศในโลก ของประเทศในสงั คม 2. ยอมรบั และปฏบิ ัติตน วัฒนธรรม ประเพณี 2. เหน็ ความสำคัญของวัฒนธรรม และสบื ทอด ประเพณขี องประเทศใน โลก เพอื่ การอยรู่ ว่ มกันอย่างสันติ ของท้องถ่ิน และ ประเพณี และมสี ่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิ ศาสนา ทวปี เอเชยี สุขในสงั คมท่มี ีความ หลากหลายทางศาสนา ประเทศไทย ตนตามวัฒนธรรม ประเพณีทอ้ งถนิ่ วฒั นธรรม 2.ยอมรบั และปฏิบัติตน วฒั นธรรม ประเพณี 3. ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมทาง ประเพณี เพ่ือการอยู่รว่ มกันอย่าง 3. เลือกรับปรบั ใช้ วัฒนธรรม ประเพณี ท่ี ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศ สันตสิ ขุ ในสงั คมทมี่ คี วาม สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั 4. ยอมรับและปฏบิ ัตติ นเพ่อื การอยู่ ในทวปี หลากหลายทางศาสนา สังคมไทย รว่ มกนั อย่างสันตสิ ุขในสงั คมที่มีความ เอเชีย วฒั นธรรม ประเพณี หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

12 มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย มจี ติ สาธารณะ เพอื่ ความสงบสขุ ของสงั คม ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั มาตรฐานการ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง มาตรฐานการ ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั เรยี นรู้ เรียนรู้ มคี วามรู้ ความ 1. อธบิ ายความสำคัญและ มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. บอกสทิ ธเิ สรีภาพ บาทบาท มีความรู้ ความ 1. อธบิ ายสาระสำคญั ของ เข้าใจดำเนินชวี ติ บทบาทหน้าที่ขององคก์ รอสิ ระ ตามวิถี ตามรัฐธรรมนูญ ดำเนนิ ชวี ิตตามวถิ ี และหน้าที่ตามกฎหมายของ เขา้ ใจดำเนินชีวติ รัฐธรรมนูญ และการปกครอง ประชาธิปไตย 2. ระบุบทบาทองคก์ รระหว่าง กฎหมายเบือ้ งต้น ประเทศทม่ี บี ทบาทตอ่ การเมอื ง ประชาธปิ ไตย การเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบ ตามวถิ ี ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี กฎระเบยี บของ การปกครองของประเทศ/โลก ประเทศตา่ ง ๆ 3. ตระหนกั ถึงผลกระทบจาก กฎหมายเบอื้ งตน้ ประชาธปิ ไตยอันมี ประชาธิปไตย พระมหากษัตริยท์ รงเป็น ในโลก การไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายของ กฎระเบยี บของ พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ กฎหมายเบอ้ื งต้น ประมุข ประชาชนในประเทศต่าง ๆ 4. เสนอทางเลือกในการ ชมุ ชน สงั คม และ 2. เหน็ คุณคา่ ของการปฏิบตั ิตน กฎระเบียบของ 2. ตระหนักในปญั หาการไม่ แก้ปญั หาความไม่สงบท่ี เก่ียวขอ้ งกบั กฎหมายของ ประเทศ เป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเทศเพอ่ื น ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ 3. มีส่วนรว่ มในการปกครอง บ้าน 3. มสี ่วนร่วมสง่ เสรมิ และ สว่ นท้องถิน่ ในระบอบ สนบั สนนุ ทางการเมืองการ ประชาธิปไตยอนั มพี ระ ปกครองในระบอบ มหากษตั ยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็น ประมขุ

13 มาตรฐานที่ 5.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคญั ของหลักการพฒั นา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สงั คม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การพฒั นา หลักการพฒั นาชมุ ชน สงั คม หลกั การพฒั นา หลักการพฒั นาชมุ ชน สังคม หลักการพฒั นา หลักการพฒั นาชมุ ชน ชมุ ชน สังคม และ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจและ ชมุ ชน สังคม 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และ ชมุ ชน สังคม สังคม วเิ คราะหข์ ้อมลู ใน เห็นความสำคญั ของขอ้ มลู สามารถวเิ คราะห์ เหน็ ความสำคญั ของข้อมลู สามารถวิเคราะห์ 2. บอกความหมายและ การพัฒนาตนเอง ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ข้อมูล และกำหนด ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ขอ้ มลู และเป็นผู้นำผู้ ความสำคัญของแผนชีวิต ครอบครัว ชุมชน สงั คม แนวทางการพฒั นา สังคม ตามในการพฒั นา และชมุ ชน สังคม สงั คมม 3. วิเคราะห์ข้อมลู ตนเอง ตนเอง ครอบครวั 3. วิเคราะหข์ อ้ มลู ตนเอง ตนเอง ครอบครัว 3. วเิ คราะหแ์ ละนำเสนอ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ชุมชน สังคม ให้ ครอบครัว ชุมชน สงั คม เพอื่ ชุมชน สงั คมให้ ข้อมลู ตนเอง ครอบครัว เพ่ือใช้ในการจดั ทำแผนชวี ติ สอดคลอ้ งกบั สภาพ ใช้ในการจัดทำแผนชวี ิต และ สอดคลอ้ งกบั สภาพ ชุมชน/สงั คม ด้วยเทคนิค และชุมชน สังคม การเปลีย่ นแปลงของ ชมุ ชน สงั คม การเปล่ียนแปลงของ และวิธีการทหี่ ลากหลาย 4. เกดิ ความตระหนกั และมี เหตกุ ารณป์ จั จบุ ัน 4. เกดิ ความตระหนกั และมี เหตกุ ารณป์ จั จบุ ัน 4. จงู ใจใหส้ มาชกิ ของ ส่วนร่วมในการจดั ทำ สว่ นรว่ มในการจัดทำ ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการ ประชาคมของชุมชน ประชาคมของชมุ ชน จัดทำแผนชวี ติ และแผน ชมุ ชน สงั คมได้

14 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง 5. นำผลทีไ่ ดจ้ ากการ ประชาคมไปเพ่อื ใชใ้ น 5. นำผลท่ไี ดจ้ ากการ 5. เปน็ ผูน้ ำผตู้ ามในการ ชวี ติ ประจำวนั ประชาคมไปเพ่ือใชใ้ น จัดทำประชาคม ประชา ชวี ติ ประจำวันได้ พจิ ารณ์ของชมุ ชน 6. สามารถพฒั นาการ 6. กำหนดแนวทางในการ จดั การทำแผนชีวติ ชมุ ชน/ ดำเนินการเพื่อนำไปสู่การ สังคมใหส้ อดคลอ้ งกบั ทำแผนชวี ิต ครอบครวั สภาพการเปลยี่ นแปลง ชุมชน สงั คม ของชุมชน สังคม 7. รว่ มพัฒนาแผนชมุ ชน ตามขนั้ ตอน

15 รายวิชาบงั คับและรายวชิ าเลือก รายวิชาบงั คบั สาระการพัฒนาสังคม มาตรฐานท่ี ระดบั การศึกษา รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกิต 5.1 ประถมศึกษา 3 5.2 สค11001 สังคมศกึ ษา 2 5.3 1 5.4 มัธยมศกึ ษาตอนต้น สค11002 ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 3 2 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สค11003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม 1 3 สค21001 สงั คมศกึ ษา 2 1 สค21002 ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง สค21003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม สค31001 สังคมศึกษา สค31002 ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง สค31003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม รายวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม มาตรฐานท่ี ระดบั การศกึ ษา รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต 2 5.4 ประถมศกึ ษา สค02001 การทำแผนปฏิบัตกิ ารเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพ 1 มัธยมศึกษาตอนตน้ ชวี ติ ในชุมชน 1 5.2,5.3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สค02002 ความเปน็ พลเมอื งไทยในระบอบ 1 1 ประชาธปิ ไตย 1 5.4 สค02003 ความม่ันคง สงบสุขของชุมชน 1 5.4 สค02004 การขจัดความขดั แย้ง 5.1 สค02005 การบรหิ ารการเงนิ ในสหกรณ์ภาค การเกษตร 5.2 สค02007 การปลูกฝังอุดมการณร์ ักชาติ 5.1 สค02008 ความรทู้ ่วั ไปเก่ยี วกบั สหกรณเ์ ครดติ ยู เน่ยี น มาตรฐานที่ ระดับการศกึ ษา รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกติ 5.1 ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ สค02009 บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการ 1 สหกรณเ์ ครดิต

16 มาตรฐานที่ ระดับการศึกษา รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ยเู นย่ี น 1 5.1 1 5.1 สค02010 บัญชีสหกรณ์เครดติ ยเู นีย่ น 1 5.1 สค02011 ธรุ กจิ ในสหกรณเ์ ครดิตยเู นยี่ น 1 5.1 สค02012 การพัฒนาองค์กรสหกรณเ์ ครดติ 1 5.1 ยูเนี่ยน 3 5.1 2 5.1 สค02013 การบริหารจดั การสหกรณเ์ ครดติ 2 5.1 3 5.2 ยูเนีย่ น 2 5.1 2 5.1 สค02014 การบรหิ ารเงนิ ในสหกรณเ์ ครดิต 2 5.1 2 5.1 ยูเนีย่ น 2 5.1 2 5.1 สค02015 อาเซียนศกึ ษา 2 5.1 1 5.1 ประถมศกึ ษา สค02020 สบายดีประเทศลาว 1 5.1 1 5.1 สค02021 ซนิ จ่าวเวียดนาม 1 5.1 1 5.1 สค02022 อักขระลา้ นนา 5.1 1 สค02023 เมียนรม์ าน่าศึกษา 5.4 1 5.2 สค02026 ซวั ซะเดย็ คมั โบเดีย 1 5.2 1 สค02027 เซอลาม่ตั ดาตัง เคอ มาเลเซีย สค02028 ฮัลโหลสิงค์โปร์ สค02031 ซายอ มากัน บรูไน ดารสุ ซาลาม สค02032 มาฮาล กิตา ฟลิ ปิ ปินส์ สค02033 ซายา จนิ ตา ปาดามู อนิ โดนีเซีย สค12001 ภยั แล้ง สค12002 อทุ กภยั สค12003 ไฟปา่ สค12004 ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น สค12005 การปกครองในทอ้ งถน่ิ ของเรา สค12006 วีรบุรษุ /วรี ะสตรีไทยใน ประวตั ศิ าสตร์ สค12007 สหกรณ์ชมุ ชน สค12008 ประเพณีการแตง่ งาน สค12009 การอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมประเพณใี น

17 มาตรฐานท่ี ระดบั การศึกษา รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต 5.3 ภาคต่าง ๆ 1 5.3 1 สค12010 ประชาธิปไตยในชมุ ชน 5.4 1 5.4 สค12011 การขับข่รี ถจกั รยานยนตอ์ ยา่ ง 1 5.4 1 5.2 ปลอดภัย 2 5.2 สค12012 กระบวนการกลุ่ม 1 5.2 สค12013 การเขียนโครงงาน 1 5.2 1 5.1 สค12014 การสรา้ งบำเหนจ็ ด้วยปา่ ไม้ 2 5.1 1 5.1 สค12015 อรรถาธิบายอลั กรุ อาน 1 4 5.2 5.3 (อตั ตัฟซรี ) 2 5.4 5.1 มัธยมศึกษาตอนต้น สค12016 หลักการอ่านอัลกรุ อาน 1 1 1 5.1 (อตั ตจั วีด) 2 5.1 1 5.2 สค12017 จริยธรรม 1 (อลั อคั ลาค) 1 5.2 5.2 สค12018 ศาสนประวัติ 1 (อตั ตารีค) 1 1 5.2 สค12021 การเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 1 5.2 5.2 สค13092 อทุ ยานราชภักด์ิ 1 สค13112 ศาสตรพ์ ระราชา 1 สค22001 ทรัพยากรของประเทศตา่ ง ๆ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สค22002 เสรภี าพในการชมุ นุม สค22003 ภาวะการว่างงาน สค22004 การพัฒนาจติ และปัญญา สค22005 สถานทีส่ ำคญั ทางพทุ ธศาสนา สค22006 พุทธศาสนากบั พระมหากษตั ริย์ ไทย สค22007 บคุ คลสำคญั ทางศาสนาต่าง ๆ สค22008 การสร้างสนั ตภิ าพในโลก สค22009 พุทธศาสนาจากอดีตจนถงึ

18 มาตรฐานท่ี ระดับการศึกษา รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต มธั ยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบัน 5.4 สค22010 ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ 1 5.2 สค22011 อรรถาธบิ ายอลั กรุ อาน 2 2 (อตั ตฟซรี ) 5.2 สค22012 หลักการอ่านอลั กรุ อาน 2 2 (อัตตจั วดี ) 5.2 สค22013 จริยธรรม 2 (อัลอคั ลาค) 2 5.2 สค22014 ศาสนประวัติ 2 (อตั ตารีค) 2 5.1 สค22016 การเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 3 5.1 สค23056 อทุ ยานราชภกั ด์ิ 2 2 5.1 สค23085 ศาสตรพ์ ระราชา 2 5 5.2 5.3 สค32001 แหล่งทอ่ งเทีย่ วทส่ี ำคัญของโลก 1 5.4 สค32002 บุคคลสำคัญของโลก 1 5.1 สค32003 ประวัติประเทศมหาอำนาจของ 2 5.1 โลก 5.1 สค32004 สงครามเศรษฐกจิ 1 สค32005 สงครามนวิ เคลยี ร์ 1 5.1 สค32006 เสน้ ทางการค้าโลก 1 5.1 สค32007 เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 1 5.1 สค32008 เศรษฐศาสตรเ์ กษตร 2 5.1 สค32009 กฎหมายลิขสิทธไิ์ ทย 1 5.1 สค32010 การละเมดิ สิทธดิ ้านทรัพยากร 1 5.1 ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม 5.1 สค32011 ธรรมาภบิ าลสรา้ งสังคมสงบสขุ 1 สค32012 รปู แบบการเมอื งการปกครองของ 1 5.1 ประเทศมหาอำนาจในโลก 5.1 สค32013 การค้ามนุษย์ 1 5.1

19 มาตรฐานท่ี ระดบั การศึกษา รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต 5.1 สค32014 ปัญหาชนกลุ่มน้อย 1 5.2 สค32015 วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศ 1 ต่าง ๆ ในโลก กับอุตสาหกรรม 5.1 สค32016 การทอ่ งเที่ยว 1 5.4 สค32017 นกั ปรชั ญาที่สำคัญของโลก 1 5.4 สค32018 การพฒั นาสังคมฐานความรู้ 1 การพฒั นาบุคลกิ ภาพส่คู วาม 5.1 สค32019 เป็นเลิศ 4 อรรถาธิบายอลั กรุ อาน 3 5.1 สค32020 (อตั ตฟซรี ) 3 5.1 สค32021 จรยิ ธรรม 3 (อัลอัคลาค) 2 5.1 สค32022 ศาสนประวัติ 3 (อตั ตารีค) 2 5.2 สค32023 การแบง่ มรดก (อลั ฟะรออดิ ) 2 หลกั การเกีย่ วกับวจั นธรรม 5.1 สค32024 (มสุ ตอลาฮะดิษ) 2 5.1 สค32029 สังคมศกึ ษาเพิม่ เตมิ 3 5.1 สค33072 การเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 2 5.1 สค33107 อุทยานราชภักดิ์ 3 5 5.2 ศาสตร์พระราชา 3 5.3 5.4

20 คำอธิบายรายวิชาบังคับ และรายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา ระดบั ประถมศึกษา

21 คำอธิบายรายวิชา สค11001 สังคมศึกษา จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในทอ้ งถ่นิ ประเทศ นำมาปรับใชใ้ นการดำเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพ่ือความมั่นคงของชาติ ศกึ ษาและฝึกทักษะเก่ยี วกับเรื่องดังต่อไปน้ี 1. ลักษณะทางภูมศิ าสตร์กายภาพ และผลกระทบของภูมิศาสตรก์ ายภาพตอ่ วถิ ชี วี ิตความ เป็นอยใู่ นชุมชน ท้องถิ่น ของประเทศไทย 2. ความหมาย ความสำคัญ และผลกระทบทางประวัติศาสตร์ ที่มีต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศ 3. ความหมาย ความสำคญั ของเศรษฐศาสตรร์ ะดบั ครอบครัว ชมุ ชน 4. ความหมาย ความสำคัญ และการมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง การปกครองในระดับทอ้ งถน่ิ และประเทศ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 1. จัดให้มีการสำรวจสภาพภูมิศาสตร์กายภาพ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองของชุมชน จัดกลุม่ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางกายภาพ จากแหล่ง เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญา ฯลฯ และสรุปผลการเรยี นรู้ นำเสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ 2. จัดให้มีการศึกษาจากส่ือการเรียนรู้ เช่น เอกสาร ตำรา CD แหล่งการเรียนรู้ ภูมิ ปัญญา สถานที่สำคัญ 3. จัดใหม้ ีการสืบค้นรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการตา่ ง ๆ เชน่ การศึกษาดงู าน การเกบ็ ขอ้ มูล จากองคก์ ร ฟงั การบรรยายจากผูร้ ู้ จัดกลุ่มอภปิ ราย การวิเคราะห์ เสนอแนวคดิ ทางเลือก 4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเลา่ ประสบการณ์ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การ ค้นคว้าจากผู้รู้ แหลง่ การเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี ส่อื เอกสาร การจำลองเหตุการณ์ การอภิปราย การ วิเคราะห์ สรปุ ผลการเรียนรู้ และนำเสนอในรูปแบบทีห่ ลากหลาย การวดั และประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรมและ การตรวจผลงาน ฯลฯ

22 คำอธบิ ายรายวชิ า สค11001 สังคมศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก เก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นำมาปรับใชใ้ นการดำเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพอื่ ความมน่ั คงของชาติ ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนื้อหา จำนวน (ชวั่ โมง) 1 ภมู ศิ าสตร์ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์ 40 กายภาพ เก่ยี วกับภูมิศาสตรก์ ายภาพ กายภาพของชุมชนทอ้ งถนิ่ ประเทศไทย ชุมชนท้องถิ่น และภูมศิ าสตร์ -ทตี่ ง้ั อาณาเขต กายภาพประเทศไทย -ภูมิประเทศ -ภูมอิ ากาศ 2. ตระหนกั ในความสำคญั 2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เก่ียวกบั ภมู ิศาสตร์กายภาพ กายภาพของประเทศไทย ของชมุ ชนท้องถิ่นและ -ที่ต้งั อาณาเขต ภูมศิ าสตร์กายภาพประเทศ -ภมู ิประเทศของภาคตา่ ง ๆ ไทย -ภมู ิอากาศของภาคต่าง ๆ 3. นำความรู้เกี่ยวกับ 3. การใช้ขอ้ มลู ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตรก์ ายภาพ ชุมชน กายภาพของชุมชน ทอ้ งถน่ิ และ ทอ้ งถิ่นตนเองและของ ประเทศ เพื่อใช้ในการดำรงชวี ติ ประเทศไทยมาปรบั ใช้ในการ และความม่นั คงของชาติ ดำรงชวี ติ เพอื่ ความมน่ั คงของ -การเลอื กท่ีอยู่ และการ ชาติ ประกอบอาชพี -การปอ้ งกันตนจากภัยพบิ ตั ิ -การรกั ษาอาณาเขตของ ประเทศ 4. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ใน 4.1 ทรพั ยากรธรรมชาติในชุมชน การอนรุ กั ษ์ -ดนิ หิน แรธ่ าตุ ทรพั ยากรธรรมชาติในชมุ ชน -ป่าไม้ ภูเขา ท้องถน่ิ ของตนและของ -แม่นำ้ หนอง คลองบงึ ทะเล ประเทศ -ชายฝั่ง

23 ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 2. ประวตั ศิ าสตร์ 5. วเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ -สตั ว์ปา่ ชาตไิ ทย ชุมชนทอ้ งถิ่นเพื่อเชอื่ มโยงเขา้ -สัตวท์ ะเล สัตว์น้ำจืด 30 สู่อาชีพ -เปลอื กหอย ปะการงั 1. อธิบายความเป็นมาของ -อน่ื ๆ ประวัติศาสตร์ ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ 4.2 ทรพั ยากรธรรมชาติของ และประเทศไทย ประเทศไทย 2. ระบเุ หตุการณค์ วาม -ภาคเหนือ เปล่ยี นแปลงในประวตั ศิ าสตร์ -ภาคกลาง ของประเทศไทย -ภาคตะวนั ออก -ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ -ภาคใต้ -กรณตี วั อย่างความสูญเสยี เกิด จากการไม่อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ 4.3 วธิ ีการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ -กรณีตวั อยา่ งการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ 5.1 ศกั ยภาพของประเทศไทย -ทรพั ยากรธรรมชาติ -ภูมิอากาศ -ภมู ปิ ระเทศ และทำเลทต่ี ง้ั -ศลิ ปวัฒนธรรม และประเพณี -ทรัพยากรมนุษย์ 5.2 กระบวนการวเิ คราะห์ ศกั ยภาพชมุ ชนท้องถน่ิ 1.1 ความหมาย ความสำคญั ของ ประวัตศิ าสตร์ 1.2 ข้อมูล หลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ 2.1 วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ 2.2 ประวัติความเปน็ มาของชน ชาติไทย -กอ่ นสุโขทยั

24 ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หา จำนวน 3. เศรษฐศาสตร์ (ชัว่ โมง) -สุโขทัย -อยธุ ยา -ธนบรุ ี -รตั นโกสินทร์ 3. ตระหนัก และสามารถนำ 3.1 การศกึ ษาประวัติศาสตร์ ความร้ทู ่ไี ด้จากการศกึ ษา ชมุ ชนโดยใช้วิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ ชุมชน และของ ประวัติศาสตร์ ไทย มาเป็นกรอบในการ 3.2 ศึกษาเหตุการณ์สำคญั ของ วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ปจั จบุ นั ประวัตศิ าสตร์ชมุ ชนในแตล่ ะชว่ ง และเสนอทางเลอื กที่เป็น ท่ีแสดงถึงทางเลอื กที่เปน็ ทางออก ทางออกของวกิ ฤตสงั คมในแต่ ของวกิ ฤตสังคม ละช่วง 1. รู้และเข้าใจ ความหมาย 1.1 ความหมาย ความสำคญั ของ 30 ความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ 2. นำหลกั การทาง 2.1 เศรษฐศาสตรใ์ นครอบครัว เศรษฐศาสตร์ไปใช้ใน และชุมชน ครอบครัวและชุมชนได้ 2.2 พฤตกิ รรมการบริโภคใน 3. เข้าใจและเหน็ ความสำคญั ครอบครัว ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจทม่ี ี 3. กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตอ่ ตนเอง ชมุ ชน -การผลิต -การบริโภค -การแลกเปล่ียน -การกระจายรายได้ 4. ตระหนักในผลกระทบทเ่ี กดิ 4.1 ปัจจัยการผลิต จากกจิ กรรมทางด้านการผลิต -ทุน การบริโภค การแลกเปล่ยี น -ทด่ี นิ และการกระจายรายได้ ท่มี ีต่อ -แรงงาน ประชากรในชุมชน -ผปู้ ระกอบการ 4.2 การบรโิ ภค การแลกเปลย่ี น และการกระจายรายได้ 4.3 ผลกระทบท่ีเกดิ จากการผลิต การบริโภค การแลกเปลย่ี น และ การกระจายรายได้ (กรณี

25 ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วดั เนอื้ หา จำนวน (ชัว่ โมง) ตัวอยา่ ง) 5.1 มีคุณธรรมของ 5. เหน็ ความสำคัญของการนำ -ผูผ้ ลิต คุณธรรมมาใชใ้ นการบรหิ าร -ผูบ้ ริโภค การจดั การทรัพยากรใหเ้ กิด -การแลกเปลย่ี น ประโยชนส์ งู สุด -การกระจายรายได้ (กรณีศึกษาคุณธรรมของกจิ กรรม เศรษฐกจิ ) 6.1 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 6. ใชข้ อ้ มูลในท้องถิ่นและ สงิ่ แวดลอ้ มในท้องถ่ินและชมุ ชน ชุมชนในการจดั การทรพั ยากร 6.2 แหลง่ ทนุ ในหมบู่ ้านและ การผลิต ชมุ ชน เช่น กองทุนหมบู่ า้ น สหกรณ์ในชมุ ชน 4. การเมืองการ 1. รแู้ ละเขา้ ใจความหมาย 1. ความหมาย ความสำคัญของ 20 ปกครอง ความสำคัญ ของการเมอื งการ การเมือง การปกครอง ปกครอง 2. รแู้ ละเข้าใจ การปกครอง 2.1 อำนาจอธปิ ไตย ระบอบประชาธปิ ไตย 2.2 โครงสร้างการบริหารราชการ แผ่นดนิ สว่ นกลาง ส่วนภมู ภิ าค สว่ นทอ้ งถ่ิน 3. เขา้ ใจและสามารถวิเคราะห์ 3. ความสมั พนั ธ์ระหว่างอำนาจ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างอำนาจ นติ บิ ญั ญตั ิ อำนาจบรหิ าร อำนาจ นิติบัญญัติ กบั อำนาจบรหิ าร ตลุ าการ และอำนาจตลุ าการ 4. มสี ว่ นรว่ มในการการเมอื ง 4. การมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง การปกครองในระดบั ทอ้ งถิ่น การปกครองในระดบั ท้องถนิ่ และ และระดบั ประเทศ ระดบั ประเทศ

26 คำอธิบายรายวชิ า สค11002 ศาสนาและหน้าที่พลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ทอ้ งถน่ิ และ ประเทศไทย 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยกฎหมายเบ้อื งต้น กฎระเบียบของ ชุมชน สงั คมและประเทศ ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเก่ยี วกบั เรอื่ งดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญของศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 2. พทุ ธประวัติ และประวัตศิ าสดาของศาสนาตา่ ง ๆ ในประเทศไทย 3. หลกั ธรรม และการปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของแตล่ ะศาสนา 4. บุคคลตวั อย่างท่ใี ช้หลกั ธรรมทางศาสนาในการดำเนินชีวติ 5. วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ของชมุ ชน สังคมในทอ้ งถิน่ และสงั คมไทย 6. สิทธเิ สรีภาพ บทบาทหนา้ ทขี่ องพลเมืองในสังคมประชาธปิ ไตย 7. ปัญหาและสถานการณก์ ารเมือง การปกครองทีเ่ กิดข้ึนในชมุ ชน 8. การมีสว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมาย 9. กฎหมายในชวี ติ ประจำวัน การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ จัดให้มีการค้นคว้าหาความรู้ จากสื่อเอกสาร ตำรา ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ภูมิปัญญา ผู้รู้ สถาบันทางศาสนา การฝกึ ปฏิบัติ การทำโครงงาน การจัดกลุ่มอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ วิเคราะหส์ ถานการณจ์ ำลอง การสรุปผลการเรียนรู้ และนำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรมและ การตรวจผลงาน ฯลฯ

27 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา สค11002 ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีทอ้ งถนิ่ และ ประเทศไทย 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจดำเนนิ ชวี ิตตามวิถีประชาธปิ ไตยกฎหมายเบื้องตน้ กฎระเบียบ ของชมุ ชน สังคม และประเทศ ที่ หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1. ศาสนา วัฒนธรรม 4. มที กั ษะในการปฏิบตั ติ น 4.1 การปฏบิ ัตติ นตามหลกั 20 ประเพณี ตามหลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ศาสนา -พทุ ธ/ครสิ ต/์ อิสลาม/ฮินดู 4.2 บุคคลตัวอย่างทีใ่ ชห้ ลกั ธรรม ทางศาสนาในการดำเนินชีวติ 5. การแก้ปัญหาความแตกแยก 5. สามารถอยรู่ ว่ มกบั บคุ คล ของบคุ คล สงั คม ชุมชน เพราะ ท่ตี ่างความเชื่อทางศาสนาใน ความแตกตา่ งความเชื่อศาสนา สังคมได้อย่างสนั ตสิ ุข และสงั คมดว้ ยสันติวธิ ี (กรณี ตวั อยา่ ง) -จากพุทธประวัติ -จากประสบการณข์ องผูเ้ รียน 6. วฒั นธรรมประเพณใี นชมุ ชน 6. มีความรู้ ความเขา้ ใจใน ทอ้ งถิ่น ภาคตา่ ง ๆ ของประเทศ วัฒนธรรมประเพณีของ ไทย ชมุ ชน ท้องถิ่น และของ -ภาษา การแตง่ กาย อาหาร ประเทศ ฯลฯ ของภาคต่าง ๆ 7. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ 7. ประเพณีของแต่ละชุมชน ของวฒั นธรรมประเพณขี อง ทอ้ งถ่นิ ภาค เชน่ แห่เทียน พรรษา, บญุ เดอื นสิบ, ลอย ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ และของ ประเทศ กระทง, ประเพณีวิง่ ควาย, ยี่เป็ง 8. การอนรุ ักษ์ และสบื สาน

28 ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้วี ดั เน้อื หา จำนวน 2. หน้าทีพ่ ลเมอื ง (ช่วั โมง) 8. มีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิ วัฒนธรรมประเพณขี องภาค 20 ตนตามวัฒนธรรมประเพณี ต่าง ๆ (กรณตี ัวอยา่ ง) ของทอ้ งถนิ่ 9. การประพฤตปิ ฏิบตั ติ น 9. นำค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เพ่อื การอนรุ กั ษ์ และสบื สาน ของสงั คม ชมุ ชน มา วฒั นธรรมประเพณี ประพฤตปิ ฏิบัตจิ นเปน็ นสิ ยั 10. คา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงคข์ อง ชมุ ชน 11. การประพฤติปฏิบตั ิตนตาม ค่านิยมของชุมชน สังคมไทยทพี่ ึง ประสงค์ (กรณตี วั อย่าง ) 1. รแู้ ละเขา้ ใจในเรอ่ื งสทิ ธิ 1.1 ความหมายของ เสรภี าพ บทบาทหน้าที่ และ ประชาธิปไตย คุณค่าของความเป็นพลเมือง 1.2 สทิ ธิ เสรีภาพบทบาทหน้าท่ี ดีตามแนวทางประชาธิปไตย ของพลเมืองในวิถปี ระชาธปิ ไตย 2. ตระหนักในคุณคา่ ของการ 2. การมีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ัติ ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดตี าม ตนตามกฎหมาย วถิ ปี ระชาธปิ ไตย 3. แยกแยะปัญหา และ 3. ปญั หา และสถานการณ์ สถานการณ์การเมอื งการ การเมืองการปกครองท่เี กดิ ข้นึ ใน ปกครองทเี่ กดิ ขึน้ ในชุมชน ชมุ ชน (กรณตี วั อยา่ ง) 4. รแู้ ละเขา้ ใจสาระทวั่ ไป 4. กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับตนเอง เกยี่ วกับกฎหมาย และครอบครัว 5. นำความรกู้ ฎหมายท่ี 5. กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั ชุมชน เก่ยี วขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาตไิ ปใชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั ได้ 6. เห็นคุณคา่ และประโยชน์ 6. กฎหมายอน่ื ๆ เช่น กฎหมาย ของการปฏบิ ัตติ นตาม แรงงานและสวสั ดกิ าร กฎหมาย กฎหมาย วา่ ด้วยสทิ ธเิ ดก็ และสตรี

29 คำอธบิ ายรายวชิ า สค11003 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม จำนวน 1 หน่วยกิต ประดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชุมชน สงั คม และวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรื่องดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ของการพฒั นาตนเอง ขมุ ชน สังคม 2. วิธีการจดั เกบ็ ข้อมลู การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชมุ ชนอยา่ งงา่ ย 3. การมสี ว่ นร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม 4. การนำผลท่ไี ด้จากการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ จดั ใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ทักษะการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มลู การจัดทำแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม โดยการเข้าร่วมสังเกตการณ์ในสถานการณ์จรงิ หรือจากการ ในสถานการณจ์ รงิ หรอื จากการสร้าง สถานการณ์การจำลอง จัดทำเวทปี ระชาคม และการศกึ ษาดูงาน การวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ ผลจากงาน และการมสี ว่ นร่วมในขน้ั ตอนตา่ งๆ ของการจดั ทำแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

30 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า สค11003 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม จำนวน 1 หน่วยกิต ประดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เน้ือเรอื่ ง จำนวน (ชั่วโมง) 1. พัฒนาตนเอง 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. หลักการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน 20 หลักการพฒั นาตนเอง สังคม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 2. ความหมาย ความสำคัญ และเหน็ ความสำคญั ของ ประโยชน์ของขอ้ มลู ด้าน ข้อมลู ตนเอง ครอบครวั -ภมู ิศาสตร์ ชมุ ชน สังคม -ประวัติศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ -การเมือง การปกครอง -ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี -หนา้ ที่พลเมอื ง -ทรัพยากร สง่ิ แวดล้อม -สาธารณสขุ -การศกึ ษา 3. วิเคราะหช์ มุ ชนอยา่ ง 3. วิธกี ารจดั เกบ็ วเิ คราะหข์ ้อมลู ง่ายและอธบิ ายขอ้ มลู อยา่ งงา่ ย และเผยแพร่ขอ้ มลู 4. เกิดความตระหนกั และ 4. การมสี ว่ นรว่ มในการวางแผน มีส่วนร่วมในการจัดทำ พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน แผนพัฒนาชมุ ชน สงั คม สังคม 5. นำแนวทางการพฒั นา 5. การนำผลทีไ่ ดจ้ ากการ ชุมชน สังคมไปประยกุ ตใ์ ช้ วางแผนไปประยกุ ต์ใช้ใน กบั ตนเอง และครอบครวั ชวี ิตประจำวัน

31 คำอธิบายรายวชิ าบังคับ และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

32 คำอธบิ ายรายวชิ า สค21001 สังคมศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเก่ียวกับภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การเมือง การปกครอง ในทวปี เอเชยี และนำมาปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ เพอ่ื ความมัน่ คงของชาติ ศึกษาและฝกึ ทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งดังตอ่ ไปนี้ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์กายภาพ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิศาสตร์กายภาพ และ ความสมั พนั ธ์ทางภูมิศาสตร์กายภาพ ที่ส่งผลกระทบถึงวิถชี วี ิตความเปน็ อยขู่ องประชากร ตลอดจน การเกดิ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มของประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชีย 2. ความเป็นมาของปะวัตศิ าสตร์ประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชีย 3. ความหมาย และความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ระบบเศรษฐกจิ และกลุ่มของเศรษฐกิจ ในทวปี เอเชีย 4. การเมือง การปกครอง และการเปรียบเทียบรปู แบบการเมอื ง การปกครองของประเทศ ต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. จัดให้มีการสำรวจสภาพภูมิศาสตร์กายภาพประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองของชุมชน จัดกลุ่มอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางกายภาพ จากแหล่ง เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญา แผนท่ี Website ฯลฯ และสรุปผลการเรยี นรู้ นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ 2. จัดใหม้ กี ารศกึ ษาจากส่ือการเรียนรู้ เช่น เอกสาร ตำรา CD แหล่งการเรียนรู้ ภมู ิปัญญา สถานทีส่ ำคัญ 3. จดั ให้มีการสืบคน้ รวบรวมข้อมูล โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การศึกษาดูงาน การเกบ็ ข้อมูล จากองคก์ ร ฟังการบรรยายจากผู้รู้ จัดกลุ่มอภิปราย การวเิ คราะห์ เสนอแนวคิด ทางเลือก 4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเล่าประสบการณ์ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การค้นคว้าจากผู้รู้ แหล่งการเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี ส่ือเอกสาร การจำลองเหตุการณ์ การอภิปราย การวิเคราะห์ สรปุ ผลการเรียนรู้ และนำเสนอในรูปแบบท่หี ลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสงั เกต การประเมนิ การมีส่วนรว่ มในการทำกจิ กรรมและการ ตรวจผลงาน ฯลฯ

33 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา สค21001 สังคมศึกษา จำนวน 3 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เกี่ยวกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ในทวีปเอเชยี และนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวติ เพื่อความมนั่ คงของชาติ ที่ หวั เร่อื ง ตัวช้วี ดั เนือ้ เรอื่ ง จำนวน (ช่ัวโมง) 1. ภมู ิศาสตร์ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ 20 กายภาพทวีป ลักษณะ ภูมิศาสตร์ กายภาพของประเทศตา่ ง ๆ ใน เอเชีย กายภาพของประเทศต่าง ทวีปเอเชยี ๆ ในทวีปเอเชยี -ทีต่ ัง้ อาณาเขตของประเทศ ตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชีย -ภมู ปิ ระเทศของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย -ภูมอิ ากาศของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชยี 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 2.1 หลกั การเปลี่ยนแปลงสภาพ การเปล่ยี นแปลงสภาพ ภมู ิศาสตร์กายภาพ ภมู ศิ าสตร์กายภายทส่ี ง่ ผล 2.2 กรณีตวั อยา่ งการ กระทบตอ่ วิถีชวี ิตความ เปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตร์ เป็นอยขู่ องประชากรไทย กายภาพท่สี ่งผลกระทบตอ่ วถิ ี และประเทศต่าง ๆ ในทวปี ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องประชากร เอเชีย ไทยและทวปี เอเชีย 3. มีทกั ษะในการใช้ 3. วิธใี ชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ แผนท่ี ลูกโลก Website เช่น แผนท่ี ลกู โลก ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ Website ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 4. สภาพภูมิศาสตร์กายภาพของ เกี่ยวกับความสมั พนั ธ์ของ ไทยท่สี ่งผลตอ่ ทรัพยากรตา่ ง ๆ สภาภูมิศาสตร์กายภาพทม่ี ี คอื สภาพปา่ ไม้ ดนิ หิน แร่ ผลตอ่ การเกิด แม่น้ำ ภเู ขา ลำคลอง หนองบงึ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ทะเล ชายฝั่ง สตั วป์ า่ สตั วท์ ะเล

34 ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวชี้วัด เนอ้ื เรอื่ ง จำนวน (ชวั่ โมง) 2 ประวตั ศิ าสตร์ ส่ิงแวดล้อมในทวีปเอเชีย สัตวน์ ้ำจดื เปลือกหอย แนว ทวปี เอเชีย 20 ปะการงั และอืน่ ๆ 10 สง่ ผลตอ่ ทรัพยากรและ สง่ิ แวดลอ้ มต่าง ๆ คือ สภาพป่า ไม้ ดนิ หนิ แร่ แมน่ ำ้ ภเู ขา ลำ คลอง หนองบงึ ทะเล ชายฝัง่ สัตว์ป่า สตั วท์ ะเล สตั ว์นำ้ จดื เปลือกหอย แนวปะการงั และ อน่ื ๆ 5. นำความรูเ้ กยี่ วกับ 5.1 ความสำคัญในการดำรงชวี ิต ทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง ใหส้ อดคล้องกบั สภาพทรัพยากร ประเทศไทยและทวปี ในประเทศไทย และประเทศตา่ ง เอเชียมาปรบั ใชใ้ นการ ๆในทวปี เอเชีย ดำรงชวี ิตและความมนั่ คง 5.2 กรณีตัวอยา่ งการปรบั ตัวใน ของชาติ การดำรงชีวิตทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพทรัพยากรในประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในทวีป เอเชยี 1. อธิบายความเปน็ มาของ 1. ประวัติศาสตรส์ ังเขปของ ประวตั ิศาสตร์ประเทศใน ประเทศในทวปี เอเชยี ทวปี เอเชีย -จนี -อินเดยี -กัมพูชา -ลาว -มาเลเซยี -พม่า -อินโดนีเซีย -ฟลิ ิปปนิ ส์ -ญ่ีปนุ่ ฯลฯ 2. นำเหตุการณ์ใน 2. เหตุการณส์ ำคัญทาง ประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะห์ ประวตั ศิ าสตรท์ ีเ่ กิดขึน้ ใน ให้เหน็ ความเปล่ียนแปลงท่ี ประเทศไทยและประเทศในทวปี เกิดขนึ้ กบั ประเทศไทย เอเชีย

35 ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวชวี้ ัด เนื้อเรอื่ ง จำนวน 3. เศรษฐศาสตร์ (ช่วั โมง) และประเทศในทวปี เอเชยี -ยคุ ล่าอาณานิคม -ยคุ สงครามเย็น 15 1. เข้าใจความหมาย ฯลฯ ความสำคัญ ของ 1.1 ความหมายของ เศรษฐศาสตรแ์ ละระบบ เศรษฐศาสตร์มหภาค และ เศรษฐกจิ เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 2. เข้าใจหลกั การ และ 1.2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศ วิธีการตดั สนิ ใจเลอื กใช้ ไทย ทรัพยากร เพือ่ การผลติ 2. หลกั การ และวิธีการเลอื กใช้ สนิ ค้า และบรกิ าร ทรพั ยากรเพ่ือการผลิต 3. เลอื กวธิ ีการทม่ี ี ประสิทธภิ าพมาใชใ้ นการ 3. คุณธรรมในการผลิต ผลิตสินคา้ และบรกิ าร อย่างมีคุณธรรม 4. กฎหมาย และข้อมลู การ 4. ร้แู ละเขา้ ใจการใช้ คุ้มครองผู้บรโิ ภค กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 5. บอกแหลง่ ขอ้ มลู การ 5.1 หน่วยงานท่ใี หค้ วาม คุ้มครองผู้บริโภค และ คมุ้ ครองผ้บู ริโภค กฎหมายค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค 5.2 การพิทักษส์ ทิ ธิและ ผลประโยชนข์ องผบู้ รโิ ภค 6.1 ตระหนักบทบาท และ 6.1 ความสำคัญของกลมุ่ ทาง 15 ความสำคัญของการ เศรษฐกจิ ในทวีปเอเชีย รวบรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ 6.2 กลุ่มทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ใน ในทวปี เอเชยี ทวปี เอเชยี 6.2 รูแ้ ละเขา้ ใจบทบาท 6.3 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ของการรวมกล่มุ ประชาคม -ความเปน็ มา เศรษฐกจิ อาเซียน -ความสำคญั -กฎบัตรอาเซียน -ความร่วมมอื ดา้ นเศรษฐกจิ -ประโยชนแ์ ละผลกระทบตอ่ ประเทศไทย

36 ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือเรือ่ ง จำนวน 7. วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ (ช่วั โมง) 4. การเมอื ง การ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 7.1 สภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ ปกครอง ไทยกบั ประเทศตา่ ง ๆ ใน ไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี 20 ทวปี เอเชีย เอเชีย 7.2 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ 1. รู้และเขา้ ใจระบอบ ตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี การเมืองการปกครอง 7.3 ลักษณะ ประเภท สินคา้ ต่าง ๆ ทใ่ี ช้อยใู่ นปจั จบุ นั นำเข้า และสนิ คา้ สง่ ออก ของ ประเทศ ตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี 1. การปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย และอน่ื ๆ 2. วิเคราะหค์ วามแตกตา่ ง 2. เปรียบเทียบรปู แบบการเมอื ง ของรปู แบบการปกครอง การปกครอง ระบอบ ระบอบประชาธิปไตย และ ประชาธปิ ไตย และระบอบอ่นื ๆ ระบอบอน่ื ๆ รวมทั้ง ของประเทศ ตระหนักในคุณค่าของการ ตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี ปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย

37 คำอธิบายรายวิชา สค21002 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่าและสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศใน ทวีปเอเชยี 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจดำเนินชวี ติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศเพือ่ นบา้ น ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเก่ยี วกับเรอ่ื งดงั ต่อไปน้ี 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของศาสนาในประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชยี 2. หลกั ธรรมสำคัญ ของการปฏบิ ตั ติ นใหอ้ ยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสขุ 3. การบริหารจติ ตามหลักศาสนา 4. การปฏบิ ตั ิตนเป็นคนดตี ามหลกั คำสอนของแตล่ ะศาสนา (พุทธ คริสต์ อสิ ลาม) 5. วัฒนธรรม ประเพณี ทสี่ ำคัญของประเทศไทยและทวปี เอเชยี 6. การอนรุ ักษ์ สืบสาน วฒั นธรรม ประเพณี และคา่ นิยม จรยิ ธรรมทางสงั คม ที่พงึ ประสงค์ ของสังคมไทย 7. โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิ เสรีภาพหนา้ ท่ีของประชาชน 8. การปฏิรูปการเมืองและจุดเด่นของรัฐธรรมนูญท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิเสรีภาพหน้าท่ีของ ประชาชน 9. หลักการอยู่ร่วมกันตามวถิ ที างประชาธปิ ไตยบนพ้ืนฐานของคณุ ธรรมจริยธรรม 10. สถานการณแ์ ละการมสี ่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในสังคมไทย 11. สิทธมิ นษุ ยชนพ้ืนฐาน การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดให้มีการค้นคว้าหาความรู้ จากสอ่ื เอกสาร ตำรา ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ ภูมิปัญญา สถาบัน ทางศาสนา การฝึกปฏิบัติ การทำโครงงาน การจดั กลุ่มอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิเคราะห์ สถานการณ์จำลอง การสรปุ ผลการเรยี นรู้ และนำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ การวดั และประเมนิ ผล ประเมนิ จากการทดสอบ การสงั เกต การประเมินการมสี ว่ นรว่ มในการทำกิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

38 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา สค21002 ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ ค่าและสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในทวปี เอเชยี 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจดำเนนิ ชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศเพื่อนบ้าน ที่ หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนอ้ื เรอื่ ง จำนวน (ชวั่ โมง) 1. ศาสนา 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. ความเป็นมาของศาสนาใน 20 วฒั นธรรม เก่ยี วกบั ความเป็นมาของ ประเทศไทย ประเพณี ศาสนาตา่ ง ๆ ในประเทศ -พุทธ ไทย และประเทศในทวปี -ครสิ ต์ เอเชีย -อิสลาม -ฮินดู 2. นำหลกั ธรรมสำคัญ ๆ ใน 2. ความเปน็ มาของศาสนาในทวปี ศาสนาของตนมาประพฤติ เอเชีย ปฏบิ ตั ิใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกัน -พทุ ธ กบั ศาสนาอื่นได้อยา่ งสันตสิ ุข -ครสิ ต์ 3.เห็นประโยชน์ในการนำ -อิสลาม หลักธรรมคำสอนในศาสนาที่ -ฮินดู ตนนบั ถอื มาประพฤติปฏบิ ัติ 3. หลกั ธรรมในแต่ละศาสนาทที่ ำให้ ตน เพื่อให้เปน็ คนดีในสังคม อย่รู ว่ มกับศาสนาอื่นไดอ้ ยา่ งมี ความสุข -ศาสนาพทุ ธ คอื พรหมวิหาร 4 ฆราวาสธรรม ฯลฯ -ศาสนาครสิ ต์ -ศาสนาอสิ ลาม -ศาสนาฮินดู

39 ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้ีวดั เนอ้ื เร่ือง จำนวน (ช่ัวโมง) 4. นำขอ้ ปฏิบัตขิ องบคุ คล 4.1 หลกั ธรรมในแต่ละศาสนาที่ ตวั อยา่ งทใี่ ช้หลักธรรมทาง ทำให้ผนู้ ำมาประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ ป็น ศาสนามาปฏบิ ัตใิ น คนดใี นศาสนาพุทธ คือ เบญจศลี ชีวติ ประจำวนั มาใชใ้ ห้ พรหมวิหาร ธรรมทที่ ำใหง้ าม เหมาะสมกับวิถีชวี ิตของ ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม ตนเอง ศาสนาฮินดู 4.2 กรณตี ัวอยา่ งบุคคลตัวอยา่ ง ในแตล่ ะศาสนา 20 5. มคี วามรู้ ความเข้าใจใน 5. วัฒนธรรมประเพณีในประเทศ วัฒนธรรมประเพณขี อง ไทยและประเทศในเอเชีย ประเทศไทยและประเทศ -ภาษา ในเอเชีย -การแต่งกาย -อาหาร -ประเพณี ฯลฯ 6. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ 6. การอนุรกั ษ์ และสบื สาน ในวัฒนธรรมประเพณขี อง วัฒนธรรมประเพณี ของประเทศ ประเทศไทยและประเทศ ไทย และประเทศในเอเชีย (กรณี ในเอเชีย ตัวอย่าง ) 7. มีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติ 7. การประพฤติปฏบิ ัตติ น เพอ่ี ตนตามวฒั นธรรมประเพณี การอนุรกั ษ์ และสบื สาน ของสงั คมไทย วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศ ไทยและประเทศในเอเชีย 8. ประพฤติตนตามค่านยิ ม 8. ค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ของ จริยธรรมทพ่ี ึงประสงคข์ อง ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ สงั คมไทย ในเอเชีย

40 2. หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 1. รแู้ ละเข้าใจความสำคัญ 1.1 ความเปน็ มา หลกั การ 20 20 ของรัฐธรรมนญู แหง่ เจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนูญ ราชอาณาจักรไทย 1.2 โครงสรา้ ง และสาระสำคญั ของรัฐธรรมนญู 1.3 การปฏริ ูปการเมือง และ จดุ เด่นของรัฐธรรมนูญท่เี ก่ียวกบั สิทธเิ สรภี าพหน้าทข่ี องประชาชน 2. รู้และเขา้ ใจหลัก 2. หลกั การอยรู่ ว่ มกันตามวิถที าง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของ ประชาธปิ ไตยบนพ้นื ฐานของ การอยรู่ ว่ มกัน คุณธรรม จริยธรรม 3. มสี ว่ นร่วมทางการเมอื ง 3. สถานการณ์ และการมสี ่วนร่วม การปกครองตามระบอบ ทางการเมือง การปกครองตาม ประชาธิปไตยอนั มี ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมุข ประมุข 4. รู้และเข้าใจสทิ ธิ 4.หลักสทิ ธิมนุษยชน 5. การมีสว่ นรว่ มในการ 5. การมีส่วนร่วมในการค้มุ ครอง คมุ้ ครองปกปอ้ งตนเอง ตนเอง และผ้อู น่ื ตามหลกั สทิ ธิ และผู้อน่ื ตามหลกั สทิ ธิ มนษุ ยชน มนุษยชน 6. ตระหนักถงึ ประโยชน์ 6. ประโยชนข์ องการมสี ว่ นร่วมใน ของการมสี ่วนรว่ มในการ การคมุ้ ครองฯ (ยกตัวอยา่ ง) คุ้มครองปกปอ้ งตนเอง และผอู้ ืน่ ตามหลกั สทิ ธิ มนษุ ยชน

41 คำอธบิ ายรายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และกำหนด แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของ เหตุการณ์ปัจจบุ นั ศกึ ษาและฝึกทักษะเกย่ี วกบั เรื่องดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหมาย ความสำคญั ของข้อมลู ประโยชน์ของขอ้ มูลตนเอง ชมุ ชน สังคม 2. เทคนคิ และวิธีการจัดเกบ็ ข้อมูล เชน่ การจัดเวทีประชาคม การสำรวจข้อมลู การประชา พจิ ารณ์ โดยใชแ้ บบสอบถาม การสบื ค้นขอ้ มลู จากแหล่งต่าง ๆ ฯลฯ 3. การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่อื การจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม 4. การจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม และการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ จัดให้ผู้เรียนฝึกทักษะจากการปฏิบัติจริงการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทำ แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม โดยการเข้าร่วมสังเกตการณ์ในสถานการณ์จริง หรือจากการสร้าง สถานการณ์จำลอง จัดทำเวทีประชาคม และการศึกษาดูงาน เปรียบเทียบการจัดทำแผนพัฒนา ตนเอง ชุมชน สงั คม ระหว่างกลุ่ม ระหวา่ งชมุ ชน การวัดและประเมินผล ประเมินจากผลงาน และการมีส่วนรว่ มในการจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม

42 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า สค21003 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และกำหนด แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของ เหตุการณป์ จั จุบนั ท่ี หัวเร่ือง ตวั ช้ีวดั เนือ้ เรอ่ื ง จำนวน (ชัว่ โมง) 1. พัฒนาชมุ ชน 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1. หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม 20 สงั คม หลักการพฒั นา ชมุ ชน 2. ความหมาย ความสำคัญประโยชน์ สังคม ของขอ้ มูลดา้ น ภมู ศิ าสตร์ 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง และเหน็ ความสำคญั ของ การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ข้อมลู ตนเอง ครอบครวั ประเพณี หนา้ ท่ีพลเมอื ง ทรัพยากร ชุมชน สงั คม ส่งิ แวดล้อม สาธารณสุข การศกึ ษา 3. วเิ คราะหแ์ ละอธิบาย 3. วิธกี ารจดั เก็บ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้วย ข้อมูล วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย และเผยแพร่ ข้อมูล 4. เกดิ ความตระหนกั และ 4. การมีสว่ นร่วมในการวางแผนพฒั นา มีส่วนร่วมในการจัดทำ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม แผนพฒั นาชุมชน สังคม 5. กำหนดแนวทางการ 5.1 เทคนคิ การมสี ่วนรว่ มในการจดั ทำ 20 พัฒนาตนเอง ครอบครวั แผน เช่น ชุมชน สงั คม -การจดั ทำเวทปี ระชาคม -การประชุมกลมุ่ ย่อย -การสัมมนา -การสำรวจประชามติ -การประชาพจิ ารณ์ ฯลฯ

43 ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ช้วี ัด เนอ้ื เร่อื ง จำนวน (ช่ัวโมง) 5.2 การจดั ทำแผน -ทิศทาง นโยบาย -โครงการ -ผ้รู บั ผิดชอบ -จัดลำดบั ความสำคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพรส่ กู่ ารปฏิบตั ิ -การเขียนรายงาน -การเขยี นโครงงาน ฯลฯ 6. นำศกั ยภาพของ 6. การพัฒนาอาชพี ในชมุ ชนและ ประเทศไทยใน 5 ด้าน สงั คม มาเชื่อมโยงสงู่ านอาชพี -อาเซยี นกบั การพฒั นาอาชีพ -จุดเดน่ ของประเทศไทยในการ ผลกั ดันเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ -ศกั ยภาพประเทศไทยกบั การ พฒั นาอาชีพ

44 คำอธิบายรายวิชาบังคับ และรายละเอียดคำอธิบายรายวิชา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

45 คำอธิบายรายวิชา สค31001 สังคมศึกษา จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนำมาปรับใชใ้ นการดำเนินชวี ติ เพือ่ ความมั่นคงของชาติ ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกับเร่อื งดังต่อไปนี้ 1. สภาพภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย ทวีป แอฟริกา ทวปี อเมริกา และปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่สำคัญ ๆ 2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ แหล่งอารยะธรรมโลก บุคคลสำคัญของโลก เหตุการณส์ ำคัญของโลกท่มี ผี ลตอ่ ปจั จบุ ัน 3. ระบบเศรษฐกิจ สถาบันการเงิน และการเงินการคลังของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจ ระหวา่ งประเทศ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ของประเทศต่าง ๆ 4. การพัฒนาการ การเมือง การปกครอง ของประเทศไทย และเหตุการณ์ สำคัญทาง การเมืองการปกครองของโลกท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 1. จัดใหม้ กี ารสำรวจสภาพภูมิศาสตร์กายภาพประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การ ปกครองของชุมชน จัดกลุ่มอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สบื คน้ ข้อมูลทางกายภาพ จากแหล่งเรียนรู้ ภมู ิปัญญา แผนท่ี Website ฯลฯ และสรปุ ผลการเรียนรู้ นำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ 2. จดั ใหม้ ีการศกึ ษาจากส่ือการเรยี นรู้ เชน่ เอกสาร ตำรา CD แหลง่ การเรียนรู้ ภมู ิปญั ญา สถานทส่ี ำคัญ 3. จดั ให้มกี ารสืบค้นรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การศึกษาดูงาน การเก็บข้อมูล จากองคก์ ร ฟังการบรรยายจากผรู้ ู้ จัดกลมุ่ อภิปราย การวิเคราะห์ เสนอแนวคิด ทางเลอื ก 4. จัดกจิ กรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเล่าประสบการณ์ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การ คน้ คว้าจากผู้รู้ แหลง่ การเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี สอ่ื เอกสาร การจำลองเหตุการณ์ การอภิปราย การ วิเคราะห์ สรุปผลการเรยี นรู้ และนำเสนอในรูปแบบท่หี ลากหลาย การวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากการทดสอบ การสงั เกต การประเมินการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและการ ตรวจผลงาน ฯลฯ

46 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา สค31001 สงั คมศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เกย่ี วกบั ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ ปกครองในโลก และนำมาปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ เพ่อื ความม่นั คงของชาติ ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้วี ดั เนือ้ เร่อื ง จำนวน (ชว่ั โมง) 1. ภมู ิศาสตร์ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. สภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพของประเทศ 15 กายภาพ เก่ียวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ ไทยกับทวีปเอเชยี ทวปี ยุโรป ทวปี กายภาพของประเทศไทยกับ ออสเตรเลยี ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกา ทวีปต่าง ๆ 2. การเปรียบเทยี บสภาพภมู ศิ าสตร์ 2. เปรียบเทียบสภาพ กายภาพของประเทศไทยกบั ประเทศต่าง ภูมิศาสตร์กายภาพของ ๆ ในทวีปต่าง ๆ ประเทศไทยกบั ทวปี ต่าง ๆ 3. สาเหตแุ ละลกั ษณะการเกดิ 3. มีความรู้ ความเขา้ ใจใน ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทส่ี ำคัญ ๆ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่ี รวมทง้ั การปอ้ งกันอนั ตรายเมื่อเกดิ เกิดข้นึ ในโลก -พายุชนดิ ต่าง ๆ -นำ้ ท่วม -แผ่นดินไหว -ภเู ขาไฟระเบิด -ภาวะโลกรอ้ น ปรากฏการณ์ เรอื นกระจก -อ่นื ๆ 4. วธิ ีใช้เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ -แผนที่ 4. มีทักษะการใชเ้ คร่อื งมอื -ลูกโลก ทางภูมิศาสตร์ทีส่ ำคญั ๆ -Website 5. รวู้ ธิ ปี ้องกนั ตนเองให้ 5. วธิ ปี อ้ งกนั ตนเองจากภยั ธรรมชาติ 15 ปลอดภยั เมอ่ื เกิดภัยจาก ปรากฏการณธ์ รรมชาติ 6. ปัญหาการทำลายทรพั ยากรธรรมชาติ 6. สามารถวเิ คราะหแ์ นวโนม้ และสงิ่ แวดล้อม และวกิ ฤต สิ่งแวดลอ้ มทเี่ กดิ 7.1 การวิเคราะหส์ าเหตุการเกดิ ปัญหา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook