Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

Published by danangelo1992, 2022-08-17 03:15:36

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นโนนสวา่ ง พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรงุ ๒๕๖๐) สงั กัด สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต ๓ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใน โรงเรียนนำร่องและโรงเรียนเครือข่าย ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๕ และใช้ในโรงเรียนทั่วไป ต้ังแต่ปี การศึกษา ๒๕๔๖ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้ติดตามและประเมินผลการใช้ หลักสตู รอย่างต่อเนื่อง พบว่า หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ในด้านการกระจายอำนาจทางการศึกษา ทำให้ท้องถิ่น และสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาท สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา แต่ปัญหาของการจัดทำ หลักสูตรก็มีมาก เช่น การนำหลักสูตรลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา มีการกำหนดสาระการเรียนรู้และผล การเรียนรู้ทคี่ าดหวังมากเกิน การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน การจัดทำเอกสารหลกั ฐานทาง การศึกษา และการเทยี บโอนผลการเรยี น รวมท้งั คณุ ภาพของผเู้ รียนยังไม่เปน็ ท่ีน่าพอใจ คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน โดยสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ได้ทบทวน หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ และนำไปสู่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีการกำหนดวสิ ัยทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงมีความชัดเจนในการนำไป ปฏิบัติ และใช้เป็นทิศทางการจัดทำหลักสูตร และได้ปรับปรุงมาตรฐานตัวชี้วัดในสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ ในปี ๒๕๖๐ เพื่อเรมิ่ ใช้ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ของการจัดการ เรียนการสอนในแต่ละระดับ และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของ สถานศึกษาหรือชุมชน จากกรอบและทิศทางของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั นี้ ทำให้โรงเรียนบ้านโนนสว่าง ซ่ึงเป็นโรงเรียนต้นแบบของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๓ จัดทำหลักสูตรโรงเรียนได้ง่ายขึ้น และรู้ ทศิ ทางท่ีเหมาะสมของโรงเรียน และส่ิงท่ีชุมชนต้องการ จากคณะจัดทำหลกั สูตรโรงเรียนได้นำหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มาเปรียบเทียบกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ แลว้ ได้ผลคือ การจัดทำหลกั สูตรเรว็ ข้ึน จัดการเรยี นการสอน และวดั ประเมินผลได้ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ อนั ส่งผลไปสผู่ ู้เรยี นใหม้ ีคณุ ภาพ และเท่าเทยี มกนั ท้งั ประเทศ ขอขอบคุณผมู้ สี ว่ นร่วมในการจัดทำหลกั สูตรโรงเรยี นใหส้ ำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี หลักสูตรจะประสบ ผลสำเร็จก็ต่อเมื่อผลสะท้อนจากคุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนเรียนได้อย่างมีความสุข สามารถนำไปใช้ในชีวิต จรงิ ได้และเปน็ พลเมืองทด่ี ีของสังคม และประเทศชาติต่อไป กลุ่มงานวชิ าการ โรงเรยี นบา้ นโนนสว่าง

สารบญั คำนำ.................................................................................................................................... หน้า คำส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๕๑ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ ก เรอื่ ง ให้ใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ปรบั ๒๕๖๐) ประกาศโรงเรียนบา้ นโนนสวา่ ง เรื่อง ใหใ้ ชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นบ้านโนนสว่าง พุทธศักราช ข ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สารบญั ............................................................................................................................... ค ความนำ.............................................................................................................................. ง วสิ ยั ทัศน์ ............................................................................................................................. ๑ จดุ หมาย............................................................................................................................... ๓ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์............................................... ๓ ๓ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น.................................................................................. ๔ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค.์ .................................................................................. ๔ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา.......................................................................................... ๕ คำอธิบายรายวิชา................................................................................................................. ๓๒ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน.......................................................................................................... ๑๙๖ การวัดผลประเมนิ ผล........................................................................................................ ๒๐๒

๑ ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกันน้ีได้ปรับกระบวนการพัฒนา หลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่ีมุ่งเน้นการกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ินและ สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความ ตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ (สำนกั นายกรฐั มนตร,ี ๒๕๔๒) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีท่ีผ่านมา (สำนักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, ๒๕๔๗; สำนักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วริ ัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลักสูตรการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจดุ ดีหลายประการ เชน่ ช่วยส่งเสรมิ การกระจายอำนาจทางการศกึ ษาทำให้ ท้องถ่ินและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรยี นแบบองคร์ วมอย่างชดั เจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของ หลักสูตร หลายประการทงั้ ในส่วนของเอกสารหลกั สูตร กระบวนการนำหลกั สูตรส่กู ารปฏิบัติ และผลผลิต ท่ีเกิดจากการใช้หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ ปญั หาของผปู้ ฏิบัตใิ นระดบั สถานศกึ ษาทกี่ ำหนดสาระและผลการเรียนรทู้ ี่ คาดหวงั ไวม้ าก ทำใหเ้ กิดปญั หาหลักสตู รแน่น การวัดและประเมินผลไมส่ ะทอ้ นมาตรฐาน สง่ ผลตอ่ ปัญหา การจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพ ของ ผเู้ รียนในดา้ นความรู้ ทกั ษะ ความสามารถและคุณลักษณะท่พี ึงประสงคอ์ นั ยงั ไม่เป็นท่ีนา่ พอใจ นอกจากน้ันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้ช้ีให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรับเปล่ียนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรอู้ ย่างเทา่ ทัน ใหม้ ีความพร้อมทัง้ ดา้ นรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถ กา้ วทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างม่ันคง แนวการพฒั นาคนดังกล่าวมุง่ เตรียม เด็กและเยาวชนใหม้ พี นื้ ฐานจิตใจที่ดงี าม มจี ติ สาธารณะ พรอ้ มทั้งมสี มรรถนะ ทักษะและความร้พู น้ื ฐานที่ จำเป็นในการดำรงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา เยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมุ่งส่งเสรมิ ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม รกั ความเป็นไทย ให้มีทกั ษะ

๒ การคดิ วิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทักษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อืน่ และสามารถอยู่รว่ มกับ ผอู้ นื่ ในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑) จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒ ๕ ๔ ๔ ท่ี ผ่ าน ม า ป ร ะ ก อ บ กั บ ข้ อ มู ล จ าก แ ผ น พั ฒ น าเศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั งค ม แ ห่ ง ช าติ ฉบับที่ ๑๐ เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ใน การพัฒนาเยาวชนสูศ่ ตวรรษท่ี ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การ ปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน เพ่ือใช้เป็น ทิศทางในการจัดทำหลักสตู ร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรียน ขัน้ ต่ำของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรูใ้ นแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสใหส้ ถานศึกษา เพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้ และมคี วามชดั เจนตอ่ การนำไปปฏบิ ตั ิ จากเอกสารหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี โรงเรยี นชุมชนบา้ นโนน สว่าง ไดน้ ำไปใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการจดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาและจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื พฒั นานักเรียนทกุ คนในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานใหม้ ีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรบั การ ดำรงชีวติ ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรเู้ พ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาจะประสบความสำเรจ็ ได้ตอ้ งสร้างความเขม้ แขง็ ให้แกผ่ เู้ กี่ยวขอ้ ง โดยเฉพาะครผู สู้ อน และผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาใหม้ ีความเชี่ยวชาญในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโดย ความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษาทม่ี บี ริบทใกล้เคยี งกนั ตามมิติความต้องการและความจำเปน็ ของ สถานศึกษา มกี ารจัดกจิ กรรมรว่ มมือกันในการให้ความช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ในด้านการพฒั นาคณุ ภาพ การเรยี นการสอน การพฒั นาหลกั สตู ร และกจิ กรรมอ่นื ๆ ทสี่ ง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ให้มี ความร้คู วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย สว่ นทเ่ี ป็นหลักสูตรแกนกลางทกี่ ำหนดจาก สว่ นกลางท่ีปรากฏในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรงุ มาตรฐาน ตัวช้วี ดั ในสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละภูมิศาสตร์ ในปี ๒๕๖๐) และสว่ นทเ่ี ก่ยี วกับ สภาพชุมชนและท้องถิน่ ซงึ่ พฒั นาโดยเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาอุบลราชธานี เขต ๓ และส่วนเพิม่ เตมิ ที่ สถานศึกษาพัฒนาขึน้ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถิ่น ความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั ของผู้เรียนรวมทงั้ ความเหมาะสมกับสภาพสังคม ชมุ ชน และท้องถ่ิน

๓ วิสยั ทศั น์ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นโนนสว่าง มงุ่ พฒั นานกั เรยี นทกุ คนใหเ้ ปน็ มนุษย์ที่มีความสมดุลทง้ั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเป็นคนไทย ยึดม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพืน้ ฐาน รวมทัง้ เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อการศึกษาต่อ และ การประกอบอาชีพโดยชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และความตอ้ งการของท้องถ่นิ มงุ่ เนน้ นกั เรยี นเปน็ สำคัญบนพื้นฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนร้แู ละ พัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ จดุ หมาย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ อาชีพ จงึ กำหนดเปน็ จดุ หมายเพือ่ ให้เกดิ กับผ้เู รียน เม่ือจบการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ดงั นี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ ตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะ ชีวิต ๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นคนไทย ยึดมน่ั ในวถิ ีชีวิตและการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน การอนุรักษ์และพัฒนา สง่ิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างส่ิงที่ดีงามในชมุ ชน สงั คม และอยรู่ ่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผเู้ รียนโรงเรยี นบา้ นโนนสว่าง มงุ่ เนน้ พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ี กำหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพ่อื แลกเปลีย่ นข้อมลู ข่าวสาร และประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพอื่ ขจัด และลดปญั หาความขดั แยง้ ต่างๆการเลอื กรบั หรือไม่รบั ขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่ือสารที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม

๔ ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพือ่ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใชใ้ น การป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดข้นึ ต่อ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื ง การทำงาน และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ ง เหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จักหลีกเลีย่ ง พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ท่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร การ ทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบา้ นโนนสว่าง มุ่งพัฒนานักเรียนให้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซ่ึงสอดคล้อง ตามบริบทและจุดเน้นของโรงเรียน และนักเรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ใน ฐานะเป็นคนไทย ดงั น้ี ๑. นักเรียนเป็นผมู้ ีระเบียบวินยั ซื่อสัตย์ สุจริต ๒. นักเรียนเป็นผ้มู ีความเมตตา กรุณา และชว่ ยเหลือผ้อู น่ื ๓. นักเรยี นเปน็ ผูร้ ักการอ่าน ใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น ๔. นกั เรยี นเป็นผรู้ กั การออกกำลงั กาย รักษาสุขภาพ และจิตใจให้สมบรู ณแ์ ข็งแรง ๕. นักเรียนเปน็ ผู้มีวิถีประชาธิปไตย ภูมิใจในความเปน็ คนไทย มีจติ สาธารณะ และดำเนินชวี ิต โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๕ โครงสร้างเวลาเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรียน ดังน้ี เวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษา กิจกรรม ตอนปลาย ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ม. ๔ – ๖ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ภาษาไทย - (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) - คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) - สงั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - ประวัติศาสตร์ - (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) - สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - ศลิ ปะ - (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) - การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ภาษาต่างประเทศ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.) - รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) รายวชิ า / กจิ กรรมท่ี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติม ตามความพรอ้ มและจดุ เน้น (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ชว่ั โมง ๒๐๐ ชว่ั โมง ๑,๐๔๐ ช่วั โมง/ปี ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

๖ โครงสรา้ งเวลาเรียน โรงเรียนบา้ นโนนสว่าง พุทธศักราช ๒๕๖๓ กล่มุ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น : ปี ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ม. ๑ - ม. ๓ ภาษาไทย ป. ๑ -ป. ๓ ป. ๔- ป. ๖ ๑๒๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๒๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๒๐ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๘๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ (องั กฤษ) ๔๐ ๘๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๑๖๐ ๘๐ ๘๘๐ รายวิชา / กจิ กรรมที่จัดเพิ่มเติม ตามความ ๘๔๐ ๘๔๐ พร้อมและจดุ เนน้ ปลี ะ ๒๐๐ ช่วั โมง กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ปลี ะ ๘๐ ชวั่ โมง ปลี ะ ๘๐ ชว่ั โมง - แนะแนว - ลกู เสือ / ยุวกาชาด ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - คุณธรรม / ชมุ นมุ ๓๐ ๓๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ๔๐ ๔๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑,๐๔๐ ช่ัวโมง/ปี ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี หมายเหตุ ๑. ผูเ้ รียนปฏิบัติกิจกรรมเพอ่ื สังคม และสาธารณะประโยชน์ ในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนก็ได้ ๒. หลักสตู รตอ่ ต้านทุจริตศึกษาบรู ณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ (สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม)

๗ โครงสร้างหลกั สตู รช้นั ปี ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น ชว่ั โมง/สัปดาห์ ช่ัวโมง/ปี รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๒๐๐ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๒๐๐ ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๒ ๘๐ ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๔๐ พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑ ๔๐ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ๔ ๑๖๐ ส๑๑๒๐๑ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง (๒) (๘๐) อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑ ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กิจกรรมนกั เรยี น ๑ ๓๐ - ลกู เสอื /ยวุ กาชาด ๑ ๔๐ - ชมุ นุม ๑ ๔๐ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจดั บรู ณาการในรายวชิ า และกจิ กรรม พัฒนาผเู้ รยี น โดยจดั ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรียน ในระดบั ประถมศกึ ษา ปีละ ๑๐ ช่ัวโมง

๘ โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ปี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ พุทธศักราช ๒๕๖๓ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น ชั่วโมง/สปั ดาห์ ชวั่ โมง/ปี รายวิชาพื้นฐาน ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๒๐๐ ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๒๐๐ ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๒ ๘๐ ส๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๔๐ พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๔๐ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๔ ๑๖๐ ส๑๒๒๐๑ หนา้ ท่ีพลเมือง (๒) (๘๐) อ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๑ ๔๐ กิจกรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กิจกรรมนักเรียน ๑ ๓๐ - ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๑ ๔๐ - ชุมนมุ ๑ ๔๐ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรียนทั้งส้นิ ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ โรงเรยี นจดั บูรณาการในรายวิชา และกจิ กรรม พัฒนาผเู้ รยี น โดยจัดทงั้ ในเวลาและนอกเวลาเรยี น ในระดับประถมศึกษา ปลี ะ ๑๐ ชัว่ โมง

๙ โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ปี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ พุทธศักราช ๒๕๖๓ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น ชั่วโมง/สปั ดาห์ ชวั่ โมง/ปี รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๒๐๐ ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๒๐๐ ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ๒ ๘๐ ส๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๔๐ พ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๔ ๑๖๐ ส๑๓๒๐๑ หน้าท่พี ลเมือง (๒) (๘๐) อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑ ๔๐ กิจกรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กิจกรรมนกั เรยี น ๑ ๓๐ - ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๑ ๔๐ - ชุมนุม ๑ ๔๐ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรียนทงั้ สน้ิ ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรยี นจดั บูรณาการในรายวิชา และกจิ กรรม พัฒนาผเู้ รยี น โดยจดั ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรยี น ในระดบั ประถมศึกษา ปลี ะ ๑๐ ชัว่ โมง

๑๐ โครงสรา้ งหลกั สูตรชัน้ ปี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ช่ัวโมง/ปี รายวิชาพ้ืนฐาน ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๑๖๐ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ๑๖๐ ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๑๒๐ ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ ๘๐ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๘๐ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๘๐ รายวชิ าเพิม่ เติม ๒ ๘๐ ส๑๔๒๐๑ หน้าท่ีพลเมอื ง (๒) (๘๐) อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๑ ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กิจกรรมนกั เรียน ๑ ๓๐ - ลูกเสือ/ยุวกาชาด ๑ ๔๐ - ชมุ นุม ๑ ๔๐ กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรยี นทั้งส้นิ ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจัดบรู ณาการในรายวชิ า และกจิ กรรม พฒั นาผู้เรยี น โดยจดั ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรยี น ในระดับประถมศึกษา ปีละ ๑๐ ชั่วโมง

๑๑ โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันปี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ช่ัวโมง/ปี รายวิชาพ้นื ฐาน ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ ๑๖๐ ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ๑๖๐ ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๑๒๐ ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ ๘๐ พ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๘๐ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๘๐ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๒ ๘๐ ส๑๕๒๐๑ หน้าทีพ่ ลเมือง (๒) (๘๐) อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑ ๔๐ กิจกรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กจิ กรรมนักเรยี น ๑ ๓๐ - ลูกเสือ/ยุวกาชาด ๑ ๔๐ - ชุมนุม ๑ ๔๐ กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรยี นทั้งสนิ้ ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจัดบูรณาการในรายวิชา และกจิ กรรม พัฒนาผู้เรียน โดยจัดทั้งในเวลาและนอกเวลาเรียน ในระดบั ประถมศกึ ษา ปีละ ๑๐ ช่ัวโมง

๑๒ โครงสร้างหลักสตู รชัน้ ปี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ พุทธศักราช ๒๕๖๓ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน ช่วั โมง/สปั ดาห์ ช่ัวโมง/ปี รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย (๒๑) (๘๔๐) ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ ๑๖๐ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ๑๖๐ ส๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๑๒๐ ส๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ ๘๐ พ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑ ๔๐ ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ ๘๐ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๘๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ๒ ๘๐ ส๑๖๒๐๑ หนา้ ท่ีพลเมอื ง (๒) (๘๐) อ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๑ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑ ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว (๓) (๑๒๐) กิจกรรมนกั เรียน ๑ ๓๐ - ลูกเสือ/ยุวกาชาด ๑ ๔๐ - ชุมนุม ๑ ๔๐ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ * ๑๐ รวมเวลาเรยี นท้งั ส้ิน ๒๖ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ *กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ โรงเรยี นจดั บูรณาการในรายวิชา และกจิ กรรม พัฒนาผเู้ รียน โดยจัดทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรยี น ในระดับประถมศึกษา ปลี ะ ๑๐ ชวั่ โมง

๑๓ รายวชิ าพ้ืนฐานและเพม่ิ เติม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ประถมศกึ ษา รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๒๔๐ ชั่วโมง ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๔๐ ช่ัวโมง ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๔๐ ช่ัวโมง ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑ ๖๐ ช่วั โมง ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย รายวชิ าเพิ่มเตมิ -

๑๔ รายวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเติม กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ รายวชิ าเพิ่มเติม -

๑๕ รายวชิ าพ้นื ฐานและเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศกึ ษา รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าเพ่ิมเติม - ว๑๔๒๓๑ คอมพวิ เตอร์ ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ว๑๕๒๓๒ คอมพิวเตอร์ ๒ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ว๑๖๒๓๓ คอมพิวเตอร์ ๓ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

๑๖ รายวชิ าพน้ื ฐานและเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ส๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ รายวชิ าเพิ่มเติม ส๑๑๒๐๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ส๑๒๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๓๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมอื ง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๔๒๐๑ หน้าทพี่ ลเมือง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๕๒๐๑ หน้าทีพ่ ลเมือง จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส๑๖๒๐๑ หนา้ ที่พลเมอื ง จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง

๑๗ รายวชิ าพื้นฐานและเพม่ิ เติม กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง พ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา จำนวน ๘๐ ช่วั โมง พ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง พ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาเพม่ิ เติม -

๑๘ รายวิชาพืน้ ฐานและเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ รายวิชาเพิม่ เตมิ -

๑๙ รายวชิ าพื้นฐานและเพิ่มเติม กล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ระดับประถมศกึ ษา รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ

๒๐ รายวิชาพื้นฐานและเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดบั ประถมศกึ ษา รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ รายวชิ าเพิ่มเตมิ - จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง อ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษ

๒๑ โครงสร้างหลกั สตู รชั้นปี ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น นก. ชว่ั โมง นก. ช่วั โมง รายวชิ าพื้นฐาน ๑๑ ๔๔๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส ๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๓ สุขศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๒ ฟุตบอล ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๔ เทเบิลเทนนิส ๐.๕ ๒๐ ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ ๔๐ ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรนี าฏศิลป์ ๑ ๔๐ ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ว ๒๑๑๐๓ เทคโนโลยี ๑ ๔๐ อ ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๒.๕ ๑๐๐ รายวชิ าเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ ว ๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์เพ่ือการ ๑ ๔๐ ว ๒๑๒๐๒ Graphic designs ๐.๕ ๒๐ สืบคน้ ง ๒๑๒๐๑ การจัดสวนถาด ๐.๕ ๒๐ ง ๒๑๒๐๒ การเพาะเหด็ ด้วยวัสดผุ สม ๑ ๔๐ ๒๐ อ ๒๑๒๐๑Young Guide ๑ ๐.๕ ๒๐ อ ๒๑๒๐๒ Young Guide ๒ ๐.๕ ๒๐ ๖๐ ส๒๑๒๐๑ หน้าที่พลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๒๐๒ หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน - ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ๒๐ ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ กิจกรรมแนะแนว - * กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนักเรียน ๖๐๐ -กิจกรรมลูกเสือ-ยวุ กาชาด - ๒๐ -กจิ กรรมลูกเสอื -ยุวกาชาด - -ชมุ นมุ - ๒๐ -ชุมนมุ - กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและ -* กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ - สาธารณะประโยชน์ สาธารณะประโยชน์ รวมท้งั สน้ิ ๑๔ ๖๐๐ รวมทง้ั สิ้น ๑๔ รวมเวลาเรยี นทั้งปี ๑,๒๐๐ ชว่ั โมง หน่วยกติ ท้งั ปี ๒๘ หนว่ ยกิต หมายเหตุ *กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจดั บรู ณาการในรายวชิ า และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยจดั ท้งั ในเวลาและ นอกเวลาเรียน ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ปี ละ ๑๐ ชวั่ โมง

๒๒ โครงสร้างหลักสตู รชัน้ ปี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น นก. ชว่ั โมง นก. ชัว่ โมง รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ ๔๔๐ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๒ วอลเลยบ์ อล ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ ตะกรอ้ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๑ ๔๐ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรีนาฏศลิ ป์ ๑ ๔๐ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ ว๒๒๑๐๓ เทคโนโลยี ๑ ๔๐ อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวชิ าเพ่ิมเติม ๒.๕ ๑๐๐ รายวชิ าเพ่ิมเติม ๒.๕ ๑๐๐ ง๒๒๒๐๑ การแกะสลักของออ่ น ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๒๐๒ พืชสมุนไพร ๐.๕ ๒๐ ว๒๒๒๐๑ Science shows ๑ ๔๐ ว๒๒๒๐๒ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๑ ๔๐ ท๒๒๒๐๑ ภูมิปญั ญาทางภาษา ๐.๕ ๒๐ ท๒๒๒๐๒ การประพันธ์ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๒๐๑ หน้าท่พี ลเมือง ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๒๐๒ หน้าท่ีพลเมือง ๐.๕ ๒๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น - ๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๖๐ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ กจิ กรรมนักเรยี น กิจกรรมนักเรยี น -กจิ กรรมลูกเสือ-ยวุ กาชาด - ๒๐ -กิจกรรมลกู เสอื -ยุวกาชาด - ๒๐ -ชมุ นุม - ๒๐ -ชมุ นุม - ๒๐ กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ -* กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ -* สาธารณะประโยชน์ สาธารณะประโยชน์ รวมทงั้ ส้ิน ๑๔ ๖๐๐ รวมท้งั สิ้น ๑๔ ๖๐๐ รวมเวลาเรยี นทงั้ ปี ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง หน่วยกติ ทง้ั ปี ๒๘ หนว่ ยกิต หมายเหตุ *กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจดั บรู ณาการในรายวชิ า และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยจดั ท้งั ในเวลาและ นอกเวลาเรียน ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ปี ละ ๑๐ ชวั่ โมง

๒๓ โครงสรา้ งหลักสูตรชนั้ ปี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ พุทธศักราช ๒๕๖๓ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน นก. ชั่วโมง นก. ชวั่ โมง รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ ๔๔๐ รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๓ สังคมศกึ ษาฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๒ ฟุตซอล ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔ แบดมนิ ตนั ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๑ ๔๐ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรนี าฏศิลป์ ๑ ๔๐ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ว๒๓๑๐๓ เทคโนโลยี ๑ ๔๐ อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวชิ าเพิม่ เติม ๒.๕ ๑๐๐ รายวชิ าเพ่มิ เติม ๒.๕ ๑๐๐ ค๒๓๒๐๑ คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม ๑ ๑ ๔๐ ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ พิม่ เติม ๒ ๑ ๔๐ ง๒๓๒๐๑ การขยายพันธุพ์ ชื ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๒ การสานหมวก ๐.๕ ๒๐ อ๒๓๒๐๑ เกมและกิจกรรม ๐.๕ ๒๐ ว๒๓๒๐๑ การเขียน web site ๐.๕ ๒๐ การอา่ นภาษาอังกฤษ ส๒๓๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๒๐๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ ๒๐ กิจกรรมนกั เรียน กิจกรรมนักเรียน * -กจิ กรรมลูกเสือ-ยวุ กาชาด - ๒๐ -กิจกรรมลูกเสือ-ยวุ กาชาด - ๖๐๐ -ชมุ นมุ - ๒๐ -ชมุ นมุ - กิจกรรมเพ่ือสังคมและ -* กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ - สาธารณะประโยชน์ สาธารณะประโยชน์ รวมท้งั สน้ิ ๑๔ ๖๐๐ รวมทงั้ สน้ิ ๑๔ รวมเวลาเรยี นทง้ั ปี ๑,๒๐๐ ช่วั โมง หน่วยกิตทัง้ ปี ๒๘ หนว่ ยกติ หมายเหตุ *กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจดั บูรณาการในรายวชิ า และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยจดั ท้งั ในเวลาและ นอกเวลาเรียน ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ปี ละ ๑๐ ชวั่ โมง

๒๔ รายวิชาพน้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย รายวิชาเพิม่ เตมิ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกติ ท๒๒๒๐๑ ภูมิปญั ญาทางภาษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ท๒๒๒๐๒ การประพันธ์

๒๕ รายวชิ าพ้นื ฐานและเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ รายวิชาเพมิ่ เตมิ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ๑.๐ หน่วยกติ ค๒๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หน่วยกิต ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิม่ เติม ๒

๒๖ รายวิชาพ้ืนฐานและเพ่มิ เติม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๑ หน่วยกิต ว๒๑๑๐๓ เทคโนโลยี จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกิต ว๒๒๑๐๓ เทคโนโลยี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๑ หน่วยกติ ว๒๓๑๐๓ เทคโนโลยี รายวิชาเพม่ิ เติม จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ว๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์เพอื่ การสบื คน้ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ว๒๑๒๐๒ Graphic designs จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หน่วยกติ ว๒๒๒๐๑ Science shows จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ว๒๒๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ว๒๓๒๐๑ การเขยี น Web site

๒๗ รายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเตมิ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกติ ส๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ส๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกิต ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ส๒๒๑๐๓ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ส๒๓๑๐๓ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๓๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ รายวิชาเพม่ิ เติม - จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๑๒๐๑ หน้าที่พลเมอื ง จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๑๒๐๒ หน้าที่พลเมือง จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๒๒๐๑ หนา้ ที่พลเมือง จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๒๒๐๒ หน้าที่พลเมอื ง จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๓๒๐๑ หน้าที่พลเมือง จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๓๒๐๒ หนา้ ที่พลเมือง

๒๘ รายวิชาพ้นื ฐานและเพิม่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต พ๒๑๑๐๒ ฟุตบอล จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต พ๒๑๑๐๓ สุขศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๑๑๐๔ เทเบิลเทนนสิ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๒๑๐๒ วอลเลยบ์ อล จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต พ๒๒๑๐๓ สขุ ศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต พ๒๒๑๐๔ ตะกร้อ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต พ๒๓๑๐๒ ฟตุ บอล จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต พ๒๓๑๐๔ ฟุตบอล รายวชิ าเพิ่มเติม -

๒๙ รายวิชาพนื้ ฐานและเพ่มิ เติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หน่วยกติ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หน่วยกติ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกติ ศ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หน่วยกติ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หน่วยกิต ศ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ -

๓๐ รายวิชาพน้ื ฐานและเพมิ่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หนว่ ยกติ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ง๒๑๑๐๒ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หน่วยกติ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชพี รายวิชาเพิม่ เตมิ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หน่วยกิต ง๒๑๒๐๑ การจัดสวนถาด จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ง๒๑๒๐๒ การเพาะเห็ดด้วยวัสดุผสม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ง๒๒๒๐๑ การแกะสลักของออ่ น จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ง๒๒๒๐๒ พชื สมุนไพร จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หน่วยกติ ง๒๓๒๐๑ การขยายพันธุ์พืช จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ง๒๓๒๐๒ การสานหมวกไมไ้ ผ่

๓๑ รายวิชาพ้นื ฐานและเพ่ิมเติม กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หน่วยกติ อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกิต อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ รายวิชาเพม่ิ เติม อ๒๑๒๐๑ Young Guide ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ๐.๕ หน่วยกติ อ๒๑๒๐๒ Young Guide ๒ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ๒๓๒๐๑ เกมและกิจกรรมการอ่านภาษาองั กฤษ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง

ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๓๒ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๒๔๐ ชวั่ โมง ๖ ช่วั โมง : สัปดาห์ ศึกษาการอ่านออกเสียงบอกความหมายของคำพื้นฐาน คำคล้องจอง ข้อความ คำที่มีวรรณยุกต์ และไม่มีวรรณยุกต์ ตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา คำควบกล้ำ อักษรนำ อ่านจับใจความ จาก นิทาน เร่ืองส้ัน บทร้อง บทเพลง เรื่องราวจากบทเรียน อ่านหนังสือตามความสนใจ เครื่องหมาย สญั ลักษณ์ มีมารยาทในการอ่าน คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามแบบอักษรไทย เขยี นสือ่ สารคำที่ใชใ้ น ชีวติ ประจำวัน คำพน้ื ฐาน คำคล้องจอง ประโยคง่ายๆ ฟังและปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ จับใจความ พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรื่องเล่า สารคดีสำหรับเด็ก นิทาน การ์ตูน เร่ืองขบขัน พูดสื่อสารใน ชีวิตประจำวัน แนะนำตัวเอง ขอความช่วยเหลือ กล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคำ แจกลูก และอ่านเป็นคำ มาตราตัวสะกด ทตี่ รงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา การผันคำ ความหมายของคำ การแต่งประโยค คำ คล้องจอง บอกข้อคิดการอ่านหรือฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก เช่น นิทานเรื่องส้ัน งา่ ยๆ ปริศนาคำทาย บทรอ้ งเล่น บทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในการอา่ น การเขยี น การฟงั การดู การพูด และการใชภ้ าษาไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จริงได้อยา่ งเหมาะสม มีมารยาทที่ดี กระตือรือรน้ รักการอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูด ภูมิใจ รักภาษาไทย และ การใช้ภาษาไทย ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ป.๑/๖ ป.๑/๗ ป.๑/๘ ท๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ท๓.๑ ป.๑๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ท๔.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ท๕.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ช้ีวัด

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓๓ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เวลา ๒๔๐ ชั่วโมง ๖ ช่วั โมง : สัปดาห์ ศกึ ษาการอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ บทร้อยกรองง่าย ๆ จากมีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรปู วรรณยุกต์ ตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา อกั ษรนำ ตวั การันต์ คำ รร หนั พยญั ชนะและสระทีไ่ ม่ออกเสยี ง จับใจความจากนิทานเรอื่ งเล่าสัน้ ๆ บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง ขา่ ว และเหตุการณ์ประจำวัน อ่านหนังสือตามความสนใจ ข้อเขียนเชิงอธิบายใช้สถานที่สาธารณะ คำแนะนำ การใช้เคร่อื งใช้ทีจ่ ำเป็นในบา้ น ในโรงเรยี น มารยาทในการอา่ น คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ การเขียน ตัวอักษรไทย เขยี นเรื่องส้ันเกี่ยวกับประสบการณ์ตามจินตนาการ เขียนให้อ่านง่ายสะอาดไม่ขีด ฆ่าใช้ภาษาเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล ไม่เขียนล้อเลียน ฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำส่ังท่ี ซับซ้อน จับใจความพูดแสดงความคิดเห็นความรู้สึกจากเรื่องเล่า สารคดีสำหรับเด็ก นิทาน การ์ตูน เรื่อง ขบขัน ข่าวเหตุการณ์ประจำวัน เพลง พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่นแนะนำตัวเอง ขอความช่วยเหลือ กล่าวขอบคุณ กล่าวคำขอโทษ พูดขอร้องเล่าประสบการณ์ มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด บอกและ เขียนพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย การสะกดคำ แจกลูก และอา่ นเป็นคำ มาตราตัวสะกด ท่ีตรง ตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ ตัวการันต์ คำควบกล้ำ อักษรนำ คำท่ีมคี วามหมายตรงกันขา้ ม คำทม่ี ี รร หนั ความหมายของคำ แตง่ ประโยคเรียบเรยี งประโยคคำคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น ระบุข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก เช่น นิทาน เร่ืองส้ันง่ายๆ ปริศนาคำทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน บท รอ้ งเล่นในท้องถน่ิ โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในการอา่ น การเขียน การฟงั การดู การพดู และการใช้ภาษาไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สรา้ งสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้อย่างเหมาะสม มีมารยาทท่ีดี กระตือรอื รน้ รักการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด ภูมิใจ รักภาษาไทย และ การใชภ้ าษาไทยในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รหสั ตัวชี้วัด ท๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ป.๒/๘ ท๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ท๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ท๔.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ท๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ รวมท้ังหมด ๒๗ ตวั ชี้วดั

๓๔ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เวลา ๒๔๐ ชั่วโมง ๖ ช่วั โมง : สัปดาห์ ศึกษาการอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ บทร้อยกรองง่ายๆ ตัว การันต์ คำท่ีมี รร พยัญชนะและสระไม่ออกเสียง คำพ้อง คำพิเศษอื่น ๆ อ่านจับใจความ นิทานหรือเร่ือง เกีย่ วกบั ท้องถนิ่ เรื่องเลา่ ส้นั ๆ บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชวี ติ ประจำวันในทอ้ งถิน่ และ ชุมชน อ่านหนังสือตามความสนใจ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย ปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะ ประกาศ ป้าย โฆษณา และคำขวัญ อ่านข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย เขียนบรรยายลักษณะของ คน สัตว์ ส่ิงของ สถานที่ บันทึกประจำวัน จดหมายลาครู เร่ืองตามจินตนาการจากคำ ภาพ และหัวข้อท่ีกำหนด การจับใจความ และพดู แสดงความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ จากเรื่องทฟี่ ังและดู ทั้งทเี่ ป็นความรู้และความบันเทงิ เช่น เรอ่ื งเล่า และสารคดสี ำหรับเด็ก นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน รายการสำหรับเด็ก ขา่ วและเหตุการณ์ในชีวติ ประจำวัน เพลง พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น แนะนำตนเอง แนะนำสถานท่ีในโรงเรียนและในชมุ ชน แนะนำ เชิญ ชวนรักษาความสะอาดของร่างกาย การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน พูดขอร้อง พูดทักทาย กล่าว ขอบคุณและขอโทษ พูดปฏเิ สธ พูดซกั ถาม มารยาทในการฟัง การพูด การดู สะกดคำ แจกลกู อ่านเป็นคำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา ผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำที่มี พยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่ประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ คำท่ีมี ฤ ฤๅ คำท่ีใช้ บัน บรร คำที่ใช้ รร คำท่ีมีตัวการันต์ ความหมายของคำ ชนิดของคำ ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา ใช้ พจนานุกรม แต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร ได้แก่ ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏเิ สธ ประโยคคำถาม ประโยค ขอร้อง ประโยคคำสัง่ คำคล้องจอง คำขวญั ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น ระบขุ อ้ คิดจากการอา่ นวรรณคดี วรรณกรรมและเพลงพื้นบ้าน นิทานหรือเร่ืองในท้องถนิ่ เรื่องส้ันง่ายๆ ปริศนาคำทาย บทร้อยกรอง เพลง พืน้ บา้ น เพลงกล่อมเด็ก วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรยี นและตามความสนใจ โดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบัติในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพดู และการใชภ้ าษาไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชวี ิตจริงได้อยา่ งเหมาะสม มมี ารยาทท่ีดี กระตือรือร้น รกั การอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูด ภมู ิใจ รักภาษาไทย และ การใชภ้ าษาไทย ในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รหัสตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ท๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ รวมทัง้ หมด ๓๑ ตวั ชี้วัด

๓๕ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ช่ัวโมง : สัปดาห์ ศึกษาการอ่านออกเสียง บอกความหมายของคำ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง คำที่มี ร ล เป็น พยญั ชนะต้น คำควบกลำ้ อักษรนำ คำประสม อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน ประโยคท่มี ีสำนวนเป็น คำพงั เพย สุภาษิต ปริศนาคำทาย และเคร่ืองหมายวรรคตอน อ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะ อ่านจับ ใจความ เร่ืองเล่าจากประสบการณ์ นิทานชาดก บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ข่าว และเหตุการณ์ประจำวัน สารคดีและบันเทิงคดี อ่านหนังสือ ตามความสนใจ คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทดั และคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสอื่ สาร เชน่ คำขวัญ- คำแนะนำ แผนภาพ โครงเร่ืองและแผนภาพความคิด ไปพัฒนางานเขียน ย่อความจากส่ือต่างๆ นิทาน ความเรียง ประกาศ จดหมาย คำสอน จดหมายถึงเพ่ือนและบิดามารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เรื่องตามจินตนาการ มารยาทในการเขียน จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟังและดู ใน ชวี ิตประจำวัน จับใจความ พูดแสดงความรู้ ความคิด เรื่องที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ เร่ืองเล่า บทความส้ันๆ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงาน พูดลำดับเหตุการณ์ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด คำในแม่ ก กา มาตราตัวสะกด ผันอักษร คำเป็นคำตาย คำพ้อง ชนิดของคำ ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ การใช้พจนานุกรมประโยคสามัญ ส่วนประกอบของประโยค ประโยค ๒ สว่ น ประโยค ๓ ส่วน กลอนส่ี คำขวัญ สำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและสภุ าษิต ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ ระบุข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม เชน่ นทิ านพืน้ บ้าน นทิ านคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบตั ิในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดู การพูด และการใช้ภาษาไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สรา้ งสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้อย่างเหมาะสม มมี ารยาทที่ดี กระตือรือรน้ รกั การอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูด ภูมิใจ รักภาษาไทย และ การใช้ภาษาไทย ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ท๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ รวมท้งั หมด ๓๓ ตวั ช้ีวดั

๓๖ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ช่ัวโมง : สปั ดาห์ ศึกษาการอ่านออกเสยี งบอกความหมาย บทรอ้ ยแก้ว บทร้อยกรองคำควบกลำ้ อักษรนำ ตัวการนั ต์ อักษรย่อ เครื่องหมายวรรคตอน ข้อความ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ อ่านจับใจความจาก วรรณคดี บทความ โฆษณา งานเขียน ข่าวเหตกุ ารณป์ ระจำวนั งานเขยี นเชิงอธิบายคำสัง่ ขอ้ แนะนำการใช้ พจนานุกรมใช้วัสดุอุปกรณ์ฉลากยา เอกสาร ข่าวสารทางราชการ หนังสือที่นักเรียนสนใจ คัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัด ครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบอักษรไทย เขียนคำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำ คำอธิบาย แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด ย่อความจากนิทาน ความเรียง ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ กรอกแบบรายการ ใบฝากเงิน ใบ ถอนเงิน ธนาณัติ พัสดุไปรษณียภัณฑ์ เร่ืองตามจิตนาการ มารยาทในการเขียน อ่านจับใจความพูดแสดง ความรู้ความคิดจากเรอ่ื งเล่า บทความ ข่าวเหตุการณ์ประจำวัน โฆษณา ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ วิเคราะห์ความ นา่ เช่ือถอื เรื่องทีฟ่ ัง และดูในชวี ิตประจำวนั พูดรายงาน ลำดับขั้นตอนเหตกุ ารณ์ ระบชุ นิดและหน้าทข่ี องคำ คำบุพบท คำสันธาน คำอทุ าน ประโยค ส่วนประกอบ ของประโยค ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถน่ิ คำราชา ศัพท์ คำมาจากภาษาต่างประเทศ กาพย์ยานี ๑๑ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต สรุปเร่ืองวรรณคดีและ วรรณกรรม เช่นนทิ านพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพืน้ บ้านวรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและความ สนใจบทอาขยาน บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า โดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบัติในการอา่ น การเขียน การฟงั การดู การพูด และการใช้ภาษาไทย เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สรา้ งสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้อย่างเหมาะสม มมี ารยาทท่ีดี กระตือรือร้น รกั การอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูด ภมู ิใจ รักภาษาไทย และ การใชภ้ าษาไทย ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘ ท๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘ ป.๕/๙ ท๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ท๔.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ท๕.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชี้วัด

๓๗ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ชั่วโมง : สปั ดาห์ ศึกษาการอ่านออกเสียงและบอกความหมายบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองประกอบด้วย คำที่มี พยัญชนะควบกลำ้ อักษรนำ ตัวการันต์ คำภาษาตา่ งประเทศ อักษรยอ่ เครื่องหมายวรรคตอนวัน เดือน ปี แบบไทย ข้อความท่ีเป็นโวหาร สำนวนเปรียบเทียบ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ อ่านจับใจความ เร่ืองส้ัน นิทาน เพลงพื้นบ้าน บทความ พระบรมราโชวาท สารคดี งานเขียน บทโฆษณา ข่าวเหตุการณ์ อา่ นเรว็ งานเขียนเชิงอธบิ าย คำสั่ง ข้อแนะนำ ใชพ้ จนานุกรม ข้อตกลงการอยู่ร่วมกัน ในชุมชนสงั คมและ ท้องถิ่นข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟอ่านหนังสือตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน คัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดตามแบบอักษรไทย คำขวัญ คำอวยพร ประกาศ แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เรียงความ ย่อความ นิทาน ความเรียง ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำส่ัง จดหมายส่วนตัว จดหมายขอโทษ จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความเห็นใจ แสดงความยินดี กรอกแบบรายการ แบบ ขอร้อง ใบสมคั รศึกษาต่อ แบบฝากสง่ พัสดุ ไปรษณียภณั ฑ์ เร่อื งตามจนิ ตนาการ พูดแสดงความรู้ความ เข้าใจ ในจุดประสงค์ของเรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากส่ือโฆษณา รายงานการพูดลำดับข้ันตอน ลำดับเหตุการณ์ พูดโน้มน้าว การเลือกตั้ง กรรรมการนักเรียน การรณรงค์ โตว้ าที มารยาทในการฟัง การดู การพูดวิเคราะหช์ นิดและหน้าท่ีของคำ คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ า คำ วิเศษณ์ คำบุพบท คำเช่ือม คำอุทาน คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ กลุม่ คำหรอื วลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซอ้ น กลอนสุภาพ สำนวนคำพังเพยและสุภาษติ แสดง ความคิดเห็นวรรณคดีและวรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและท้องถ่ินอ่ืน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบา้ น วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน บทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง โดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบัติในการอา่ น การเขยี น การฟงั การดู การพูด และการใช้ภาษาไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จริงได้อย่างเหมาะสม มีมารยาทท่ีดี กระตือรือร้น รกั การอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูด ภูมิใจ รักภาษาไทย และ การใช้ภาษาไทย ในชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘ ป.๖/๙ ท๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘ ป.๖/๙ ท๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ท๔.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ท๕.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ รวมท้งั หมด ๓๔ ตวั ชี้วดั

๓๘ คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง : ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึก อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วท่เี ป็นบทบรรยาย และบทรอ้ ยกรองที่เปน็ กลอนสุภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖ กาพย์สรุ างคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่สภุ าพ จับใจความสำคัญจากเร่ืองเล่า จากประสบการณ์ เรื่องส้ัน บทสนทนา นิทานชาดก วรรณคดีในบทเรียน ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำ วิธีการใช้งาน ของเคร่ืองมือหรือเคร่ืองใช้ในระดับที่ยากขึ้น ระบุเหตุและผล อธิบาย ข้อเท็จจริงกับ ข้อคิดเห็น ข้อสังเกตและความสมเหตุสมผล ของงานเขียนประเภทชักจูงโนม้ น้าวใจ คำเปรียบเทียบและ คำที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน ลักษณะของเสียง ในภาษาไทย การสร้างคำใน ภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจาก บริบท วิเคราะห์คุณค่าท่ีได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย นำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ความแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขียน คัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั เขียน สื่อสารแนะนำตนเอง สถานท่สี ำคัญ เรียงความเชงิ พรรณนา ยอ่ ความจากส่อื เรื่องสั้น คำสอน โอวาท คำปราศรยั แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อท่ีได้รับ บรรยาย ประสบการณ์โดยระบุสาระสำคัญ และรายละเอียด สนับสนุน โดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย พูดสรุปใจความสำคัญ เล่าเร่ืองย่อ แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการ สนทนา สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรม ความรู้และข้อคดิ จากการอ่าน เพื่อประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง ท่องจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนด และบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ โดยการใช้ทักษะการ ฟัง พูด อ่าน เขียน การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปราย การจับ ใจความ การสรปุ ความ กระบวนการทำงานเป็นกลมุ่ การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เพื่อให้เห็นคุณค่ารักภาษาไทย รักการอ่าน มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน ดู และใช้ ภาษาไทยในการส่อื สารได้อย่างเหมาะสม รหัสตัวช้ีวัด ท๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๙ ท๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ท๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๔ ม.๑/๖ ท.๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ รวมทง้ั หมด ๒๙ ตัวช้ีวดั

๓๙ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝกึ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วทเี่ ป็นบทบรรยายและบทร้อยกรองกลอนสภุ าพ กลอนสักวา กาพย์ ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖ กาพย์และโคลงสส่ี ุภาพ จบั ใจความสำคัญจากวรรณคดีในบทเรียน งานเขียน สรา้ งสรรค์ สารคดี บทความ เอกสารทางวชิ าการท่มี ีคำ ประโยคและขอ้ ความทีต่ อ้ งใช้บรบิ ทช่วยพิจารณา ความหมาย ระบเุ หตุและผล ข้อเท็จจรงิ กับข้อคิดเหน็ ข้อสังเกตและความสมเหตุสมผล ของงานเขยี น ประเภทชกั จูงโนม้ น้าวใจ อธิบายลักษณะของเสียง ในภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่ อา่ น ตีความคำยากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบริบท วเิ คราะห์คุณค่าทไี่ ดร้ ับจากการอา่ นงาน เขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนำไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต ชนดิ และหนา้ ที่ของคำในประโยค วรรณคดแี ละ วรรณกรรมทอี่ า่ นพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ เขียนส่ือสารบนสือ่ อีเล็กทรอนกิ ส์ ย่อความจากสนุ ทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำสงั่ บทสนทนา เรอ่ื งเล่า แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั สาระจากสื่อทไ่ี ดร้ ับ เขยี น จดหมายสว่ นตวั จดหมายกิจธุระ รายงานการศึกษาคน้ คว้า โครงงาน บรรยายประสบการณ์โดยระบุ สาระสำคัญ และรายละเอียดสนบั สนนุ โดยใช้ถ้อยคำถกู ตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย แต่ง บทรอ้ ยกรองประเภทกาพยย์ าน๑ี ๑ พูดสรุปใจความสำคญั เล่าเร่ืองย่อ พูดแสดงความคิดเห็นอยา่ ง สร้างสรรค์ ประเมินความนา่ เช่ือถือของส่ือที่มเี นื้อหาโน้มนา้ วใจ พูดรายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ท่ีศึกษา คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรม ความรแู้ ละขอ้ คดิ จาก การอา่ น เพ่อื ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าตาม ความสนใจ โดยการใช้ทกั ษะการ ฟงั พูด อ่าน เขยี น การวเิ คราะห์ การอธิบาย การอภปิ ราย การจบั ใจความ การสรุปความ กระบวนการทำงานเป็นกลมุ่ การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เพอ่ื ให้เหน็ คณุ คา่ รักภาษาไทย รักการอา่ น มมี ารยาทในการฟัง พดู อ่าน เขยี น ดู และใช้ ภาษาไทยในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ท๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท๒.๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ท๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ท.๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ รวมท้งั หมด ๓๐ ตัวชี้วดั

๔๐ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง : ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ฝึก อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยายและบทรอ้ ยกรองท่ีเป็นกลอนบทละคร กลอน เพลงยาว กลอนนิทาน อ่านหนังสือบทความหรือคำประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือ แนวคดิ ที่ได้จากการอ่านเพือ่ นำไปใช้แก้ปญั หาในชวี ิต จบั ใจความสำคัญ สรุปความรู้ ขอ้ คิด เน้อื หาวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่านในระดบั ที่ยากข้นึ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง อธบิ ายรายละเอียด คุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน ระบุข้อสังเกต การชวนเช่ือ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แยง้ เก่ยี วกับเรอ่ื งที่อ่าน วิเคราะหแ์ ละจำแนกขอ้ เท็จจรงิ ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน คัดลายมือ ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยาย และพรรณนา เรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ ย่อความนิทาน คำสอน จดหมายกิจธุระ ผังความคิด เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากบทความ บทเพลงหนังสืออ่านนอกเวลาอย่างมี เหตผุ ล พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พดู สรุปใจความสำคัญของเร่ืองที่ฟังและดู วิเคราะห์ โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซ้อน ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและความน่าเชื่อถือของ ข่าวสารจากสื่อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองท่ีฟังและดูวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น อย่างมีเหตุผลเพ่ือนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ ในการดำเนินชีวิต แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน สร้างคำใน ภาษาไทย ทอ่ งจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองทมี่ ีคณุ ค่าตามความสนใจ โดยการใชท้ ักษะการ ฟงั พดู อา่ น เขียน การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปราย การจับใจความ การสรุปความ กระบวนการทำงานเป็นกล่มุ การศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง เพื่อให้เห็นคุณค่ารักภาษาไทย รักการอ่าน มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน ดู และใช้ ภาษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๖ ท๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ท.๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมท้ังหมด ๒๘ ตวั ชวี้ ัด

๔๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท๒่ี ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึก อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วท่ีเป็นบทพรรณนาและบทร้อยกรองท่ีเป็นกาพย์ห่อโคลง โคลงสี่ สุภาพ อา่ นหนังสอื บทความหรือคำประพนั ธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณคา่ หรือแนวคดิ ที่ได้จากการ อ่านเพ่ือนำไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ิต จับใจความสำคัญ สรปุ ความรู้ ข้อคิด เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่ อ่านในระดับที่ยากขึ้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง อธิบายรายละเอียดคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี อ่าน ระบุข้อสังเกต การชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน อภิปรายแสดงความ คิดเห็นและข้อโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน วิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็น จากบทความท่อี ่าน คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทดั เขียนบรรยาย และพรรณนา เรียงความ ย่อความ บทความทางวิชาการ นิทานชาดก รายงานการศึกษาค้นคว้า ผังความคิด เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรอื โต้แย้งจากสารคดี บนั เทิงคดีอยา่ งมเี หตผุ ล พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ี ศึกษาค้นคว้า พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู สร้างคำในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์ รวบรวม และอธิบายความหมาย ของคำภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและ ความน่าเช่ือถือของข่าวสารจากส่ือต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูวรรณคดีวรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถิ่น อย่างมีเหตุผลเพื่อนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ ในการดำเนินชีวิต ท่องจำบทอาขยานตามท่ี กำหนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ โดยการใช้ทักษะการ ฟัง พูด อ่าน เขยี น การวิเคราะห์ การอธบิ าย การอภิปราย การจับ ใจความ การสรุปความ กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง เพื่อให้เห็นคุณค่ารักภาษาไทย รักการอ่าน มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน ดู และใช้ ภาษาไทยในการสอ่ื สารได้อยา่ งเหมาะสม รหสั ตวั ชี้วัด ท๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ท๔.๑ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ท.๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมทัง้ หมด ๒๗ ตัวชี้วดั

๔๒ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที๑่ เวลา ๖๐ ชั่วโมง :ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึก อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ท่เี ป็นบทความทว่ั ไป บทความปกิณกะ บทร้อยกรองกลอน บทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี๑๑ กาพย์ฉบัง๑๖ โคลงส่ีสุภาพ อ่านเร่ืองต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน ระบุความแตกต่างของคำท่ีมีความหมายโดยตรง และความหมาย โดยนัย ใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุน จากเรื่องท่ีอ่าน วิเคราะห์ระดับภาษา วิถี ไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่าน ฟังและดู โดยใช้ กลวิธีการเปรียบเทียบเพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีข้ึน เพ่ือนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ประเมิน ความถกู ตอ้ งของข้อมูล ท่ีใชส้ นับสนนุ ในเรื่องท่อี า่ น คดั ลายมือ ตวั บรรจงครึง่ บรรทดั เขียนคำอวยพร ในโอกาสต่างๆ คำขวัญ คำคม คำโฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ ข้อคิดเห็น และทัศนคตใิ นเรอื่ งตา่ งๆ ย่อความจากนิทาน ประวัติ ตำนาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดำรัส พระบรม ราโชวาท จดหมายราชการ เขียนจดหมายกิจธุระเชิญวิทยากร ขอความอนุเคราะห์ แสดงความขอบคุณ พูดโต้วาที อภิปราย ยอวาที โน้มน้าว แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู โดย นำเสนอหลกั ฐานตาม ลำดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล และน่าเช่ือถือ ใช้คำทับศัพท์และศัพทบ์ ัญญัติ แตง่ บท ร้อยกรองประเภทโคลงส่ีสุภาพ สรุปเน้ือหา ความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีวรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคำสอน เหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตร์ ท่องจำ และบอกคุณค่าบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่าตามความสนใจและสามารถนำไปใช้อา้ งอิงได้ โดยการใช้ทกั ษะการ ฟัง พูด อ่าน เขียน การวเิ คราะห์ การอธิบาย การอภปิ ราย การจับใจความ การสรุปความ กระบวนการทำงานเป็นกลมุ่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อให้เห็นคุณค่า รักภาษาไทย รกั การอ่าน มมี ารยาทในการฟัง พดู อ่าน เขยี น ดู และใชภ้ าษาไทยในการสอื่ สารได้อย่างเหมาะสม รหสั ตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๑๐ ท๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๑๐ ท๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท๔.๑ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท.๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ รวมทั้งหมด ๒๖ ตวั ช้ีวัด

๔๓ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนท่๒ี เวลา ๖๐ ชั่วโมง :ภาคเรยี น จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทความท่ัวไป บทความปกิณกะบทร้อยกรองกลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี๑๑ กาพย์ฉบัง๑๖ โคลงส่ีสุภาพ อ่านเร่ืองต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินวิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรม เรอ่ื งท่อี า่ นโดยใช้กลวิธกี ารเปรยี บเทยี บเพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขนึ้ ความสมเหตสุ มผลการ ลำดับความและความเป็นไปได้ของเร่ือง เพื่อนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ตีความและ ประเมินคุณค่า และแนวคิด ที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียน รายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน อธิบาย ชี้แจง แสดงความรู้ แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งบท โฆษณา บทความทางวชิ าการ กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขยี นบรรยายเกย่ี วกับความรู้และทกั ษะของตนเอง ท่ีเหมาะสมกับงาน พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้า จากการฟัง การดู และการสนทนา จำแนก และใช้คำภาษาต่างประเทศ ท่ีใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน ใช้คำศัพท์ ทางวิชาการและวิชาชีพ วิเคราะห์ สรุปเนอ้ื หา ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ินเก่ียวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคำสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรอง มีคุณค่าตามความสนใจและสามารถ นำไปใชอ้ ้างอิงได้ โดยการใช้ทักษะการ ฟัง พูด อ่าน เขียน การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปราย การจับ ใจความ การสรปุ ความ กระบวนการทำงานเป็นกล่มุ การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง เพ่ือให้เห็นคุณค่า รักภาษาไทย รักการอ่าน มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน ดู และใช้ ภาษาไทยในการสอ่ื สารได้อยา่ งเหมาะสม รหสั ตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๖ ท๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ท.๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ รวมท้งั หมด ๒๖ ตัวชว้ี ัด

๔๔ คำอธิบายรายวชิ าคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค ๑๑๑๐๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ศึกษา ฝกึ ทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จำนวนส่ิงต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠ > < เรียงลำดบั จำนวนตงั้ แต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้ำหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขึ้น หรือลดลงทลี ะ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไปในแบบรปู ซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ท่ีสมาชิกใน แต่ละชุด ท่ีซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้ำหนกั เป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหล่ียม รปู ส่ีเหล่ียม วงกลม วงรี ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เม่ือกำหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หนว่ ย ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๑๐ ตวั ชวี้ ัด

๔๕ ชั้นประถมศึกษาที่ ๒ คำอธิบายรายวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค ๑๒๑๐๑ กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและ แสดงจำนวนส่ิงตา่ ง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปญั หา การบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดง การหารท่ีตัวตั้ง ไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยท่ีผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์ การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาท่ีมีหน่วย เด่ียวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ังแสดงวิธีการหา คำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบ นำ้ หนักเปน็ กิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขดี พรอ้ มทั้งแสดงวิธกี าร หาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวกการลบเก่ียวกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตร และความจุเป็นลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรปู หลายเหลย่ี มและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ ในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เมอื่ กำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ยหรอื ๑๐ หน่วย ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตวั ชี้วัด

๔๖ คำอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาที่ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค ๑๓๑๐๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน และเขียนเศษสว่ นทแี่ สดงปริมาณส่งิ ตา่ ง ๆ และแสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ นท่กี ำหนด เปรียบเทยี บเศษสว่ น ท่ีตัวเศษเท่ากัน โดยท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและการลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัว ไม่ทราบค่าในประโยค สญั ลักษณแ์ สดงการคณู ของจำนวน ๑ หลกั กับจำนวนไมเ่ กิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของ จำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธี หาคำตอบของ โจทยป์ ัญหารการลบของเสษส่วนทมี่ ตี วั ส่วนเท่ากนั ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขึ้นหรือ ลดลงทีละเทา่ ๆ กัน แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือ ความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรยี บเทียบ ความยาวและแสดงวิธหี า คำตอบของโจทย์ปญั หาเกย่ี วกับระหวา่ งเซนตเิ มตรกบั มลิ ลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกบั เมตร จาก สถานการณ์ตา่ ง ๆ เลือกใชเ้ ครื่องชั่งท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับน้ำหนกั ทมี่ ีหน่วยเป็นกิโลกรัมกบั กรมั เมตริกตัน กับกโิ ลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เลอื กใช้เครอ่ื ง ตวงท่เี หมาะสม วัดและเปรยี บเทยี บปริมาตร ความจุ เปน็ ลิตรและมลิ ลิลิตร คาดคะเนและแสดงวธิ ีหา คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุ เป็นลติ รและมิลลิเมตร ระบุรปู เรขาคณิตสองมิติท่ีมี แกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา คำตอบของโจทย์ปญั หา เขียนตารางทางเดียว จากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับและใช้ข้อมูลจากตาราง ทางเดยี วในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตวั ชี้วดั

๔๗ ชัน้ ประถมศกึ ษาที่ ๔ คำอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ รหสั วิชา ค ๑๔๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับที่ มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมท้ังเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จาก สถานการณ์ต่าง ๆ บอก อา่ นและเขียนเศษสว่ น จำนวนคละแสดงปริมาณส่ิงต่างๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตาม เศษส่วน จำนวนคละที่กำหนด เปรยี บเทยี บ เรียงลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนง่ึ เปน็ พหูคูณ ของอีกตัวหนง่ึ อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง จากสถานการณ์ตา่ งๆ แสดงปริมาณของส่งิ ต่าง ๆ ตามทศนยิ มทีก่ ำหนด เปรยี บเทียบและเรยี งลำดับทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหน่ง และประมาณผลลัพธข์ องการ บวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของ จำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ท่ีมีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารท่ี ตัวต้ังไม่เกิน ๖ หลัก ตวั หารไม่เกิน ๒ หลกั หาผลลัพธ์การบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของ จำนวนนับ และ ๐ พร้อมทงั้ หาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของเศษส่วนและจำนวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่ เกนิ ๓ ตำแหน่ง และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒ ขั้นตอนของทศนิยม ไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเกี่ยวกับเวลา วดั และสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวธิ ี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก จำแนกชนิด ของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปสี่เหล่ียมมุมฉากเมื่อกำหนดความ ยาวของดา้ น และใชข้ ้อมลู จากแผนภูมิแทง่ ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๒๒ ตัวช้ีวัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook