Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายอาญา 2

กฎหมายอาญา 2

Published by phenix stock, 2021-03-28 03:20:14

Description: กฎหมายอาญา 2

Search

Read the Text Version

๑๙๐ คาํ ͸ԺÒ ÁÒμÃÒ óóõ ÇÃäáá (๑) ลักทรัพยในเวลากลางคืน ป.อ.มาตรา ๑(๑๑) “กลางคืน” หมายความวา เวลาระหวางพระอาทิตยตกและ พระอาทิตยขน้ึ เปนการถือเอาการทพ่ี ระอาทิตยข น้ึ และพระอาทติ ยตกเปน เกณฑว ินจิ ฉัย มไิ ดถือเวลา ทกี่ าํ หนดไวแ นช ดั โดยใชน าฬก าเปน เครอ่ื งบอกเวลาแตอ ยา งไร เวลาพระอาทติ ยข นึ้ และพระอาทติ ยต ก นน้ั ถอื เกณฑก ารขน้ึ หรอื ตกจากขอบฟา เปน สาํ คญั มไิ ดถ อื เอาแสงอาทติ ยเ ปน เครอ่ื งกาํ หนดแตอ ยา งใด (๒) ลกั ทรพั ยใ นทีห่ รือบรเิ วณทมี่ เี หตุเพลิงไหม การระเบดิ อทุ กภยั หรอื ในท่หี รือบรเิ วณ ท่ีมีอุบัติเหตุ เหตุทุกขภัยแกรถไฟ หรือยานพาหนะอ่ืนท่ีประชาชนโดยสาร หรือภัยพิบัติอื่นทํานอง เดยี วกันหรืออาศัยโอกาสทีม่ ีเหตุเชน วา น้ัน หรอื อาศัยโอกาสที่ประชาชนกําลังตนื่ กลัวภยนั ตรายใดๆ กฎหมายลงโทษผูกระทําผิดฐานลักทรัพยตามขอนี้หนักข้ึน เพราะเหตุที่กรณีเชนน้ี การลักทรัพยกระทําไดสะดวกและผูกระทําฉวยโอกาสกระทําอยางไรศีลธรรมโดยไมคํานึงถึง ความทุกขเข็ญของผูอื่นซ่ึงกําลังประสบอยูในขณะน้ันแยกพิจารณาไดเปน ๓ กรณีคือ (๑) ในท่ีหรือ บริเวณทีม่ เี หตุเพลงิ ไหม การระเบิด อทุ กภยั หรอื อาศัยโอกาสทีม่ ีเหตุเชนวานนั้ (๒) ในที่หรอื บริเวณ ท่ีมีอุบัติเหตุ เหตุทุกขภัยแกรถไฟ หรือยานพาหนะอ่ืนท่ีประชาชนโดยสาร หรือภัยพิบัติอื่นทํานอง เดียวกัน หรืออาศัยโอกาสท่ีมีเหตุเชนวาน้ัน และ (๓) อาศัยโอกาสท่ีประชาชนกําลังต่ืนกลัว ภยนั ตรายใดๆ (๓) ลักทรัพยโดยทําอันตรายส่ิงกีดกั้นสําหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย หรือโดยผาน ส่ิงที่วาน้ันเขาไปดวยประการใดๆ “สิ่งกีดก้ันสําหรับคุมครองบุคคลและทรัพย” เชน ร้ัวบาน ฝาบาน ถาพังเขาไปลักทรัพยยอมมีผิดตามมาตรานี้ สวนคําวา “โดยผานส่ิงเชนวาน้ันเขาไปดวยประการใด” มตี วั อยา งเชนปน ร้ัวเขา ไปลักทรัพย (๔) ลักทรัพยโดยเขาทางชองทางซ่ึงไดทําขึ้นโดยไมไดจํานงใหเปนทางคนเขาหรือ เขาทางชองทางซ่งึ ผเู ปนใจเปด ไวให มาตรา ๓๓๕(๔) ถือเอาการ “เขาไป” เปนเกณฑท่ีจะลงโทษหนักขึ้น ถาเขาไปแลวจะ ออกกลับมาโดยวิธีใดไมถือเปนเร่ืองสําคัญท่ีจะลงโทษหนักข้ึนแตอยางใด เชน เขาไปลักทรัพย ในบานของเขาโดยเขาทางประตูที่เจาของเปดท้ิงไว แตพอจะออกมาจากบาน เจาของกลับมาพอดี จึงตอ งหนีออกทางชองหนา ตางหลงั บา น ไมตอ งรับโทษหนกั ขน้ึ ตามมาตรา ๓๓๕(๔) น้ี ชองทางซ่ึงไดทําข้ึนโดยไมไดจํานงใหเปนทางคนเขาน้ัน เชน ชองระบายลม ปลองไฟ ชองหนาตาง เปนตน แตตองชองทางท่ีไดทําข้ึนโดยคนทํา ถาลมพัดเอากระเบื้องหลังคาเปนชองไป ยงั มิไดซ อมคนจงึ ปน เขา ทางชอ งนั้นไมเขาตามมาตรา ๓๓๕(๔) นี้ สวนชอ งทางซ่ึงผูเ ปน ใจเปดไวใหน ัน้ จะเปน ชองทางประตู หนา ตา ง หรือเปน ชองทางทีไ่ ดง ัดและเปด ไวให (๕) ลักทรัพยโดยแปลงตัวหรือปลอมตัวเปนผูอื่น มอมหนาหรือทําดวยประการอื่น เพื่อไมใ หเหน็ หรอื จาํ หนาได คาํ วา “á»Å§μÇÑ ” หมายความวา จะแปลงตวั เพ่ือมิใหจาํ ได เชน ใสวกิ

๑๙๑ หรอื ใสห นวดหรอื เคราปลอม คําวา “»ÅÍÁμÑÇ” หมายความวา ปลอมตวั ใหเ หมอื นกับผูอืน่ ซึ่งมตี ัวอยู เชน ก. ปลอมตวั ใหเ หมอื น ข. แลวลักทรัพย คําวา “มอมหนา ” หมายความวา เราเอาดนิ หมอ หรอื สีมาทาหนา เพื่อไมใหจําหนาได สวนคําวา “ทําดวยประการอื่นเพ่ือไมใหเห็นหรือจําหนาได” หมายความถึง การปกปดใบหนาดวยประการใดๆ เชน เอาหนากากใสหรือเอาผาเช็ดหนาผูกหนา เหลือไวเ ฉพาะตรงนยั นตา (๖) ลักทรัพยโ ดยลวงวา เปนเจา พนกั งาน การลักทรพั ยโ ดยลวงวา เปนเจา พนักงานตามมาตรา ๓๓๕(๖) นไี้ มต องถงึ กับลวงวาเปน เจาพนักงานผูปฏิบัติหนาที่แตอยางใด เชน แตงเครื่องแบบขาราชการพลเรือนเรียกใหรถยนตหยุด เพอ่ื ตรวจคน เมอ่ื เขายอมหยดุ ใหต รวจคน กถ็ อื โอกาสลกั ทรพั ยใ นรถยนตเ ขาไป นา จะอยใู นความหมายนี้ แลวขอสําคัญนาจะอยูท่ีวาคําพูดหรือกิริยาทาทางท่ีแสดงออกนั้นลวงใหเขาเขาใจหรือไมวาเปน เจาพนกั งาน ตําแหนงใดตําแหนงหนง่ึ หรอื ไม อน่ึงคําวา “ลวง” นั้น หมายถึงการทําใหเขาใจผิดโดยวิธีใดๆ ไมจําตองมีการแอบอาง โดยตรงวาตนเปนเจาพนักงานก็ได เชน แตงกายเปนราษฎรธรรมดาแลวขอตรวจบัตรประจําตัวเขา เขาคิดวาเปนเจาพนักงานยอมใหตรวจ จึงถือโอกาสน้ันลักทรัพยเขาไปเชนนี้ ถือวาเปนการลักทรัพย โดยลวงวาเปนเจาพนักงานเพราะผูท่ีจะขอตรวจบัตรประจําตัวประชาชนไดก็มีเฉพาะเจาพนักงาน เทาน้นั (๗) ลกั ทรพั ยโดยมีอาวธุ หรือโดยรว มกระทาํ ความผิดดวยกันต้ังแตสองคนขึ้นไป เหตุท่ีทาํ ใหร บั โทษหนกั ขนึ้ ตาม มาตรา ๓๓๕(๗) น้ี แยกออกเปน ๒ เหตุคอื ลกั ทรพั ย โดยมีอาวุธ กับลักทรัพยโดยรวมกระทําความผิดดวยกันตั้งแตสองคนข้ึนไป เพียงเหตุใดเหตุหน่ึง ก็ทําใหตองรับโทษหนักขึ้นแลว แตถาลักทรัพยโดยมีเหตุทั้งสองเหตุดังกลาวแลวดวยกัน ก็ยังคงรับ โทษหนักขึ้นในระวางโทษเทาเดิมตาม มาตรา ๓๓๕ วรรคแรก มิไดรับโทษหนักข้ึนถึงขนาด มาตรา ๓๓๕ วรรคสอง แตอยางใด การลักทรัพยโดยมีอาวุธน้ัน ปกติแลวก็ตองถือหรือพกพาติดตัวไปดวยในขณะกระทํา การลักทรัพย แตแมจะไมติดตัวอยู หากอยูในที่ซ่ึงอาจหยิบฉวยไดทันทวงที เชน เอาหอกพิงเสาไว ใตถุนบานแลวปนข้ึนไปลักของในบาน ก็ถือวาลักทรัพยโดยมีอาวุธ การมีอาวุธในการลักทรัพยน้ัน ตองมีอยู ตั้งแตเริ่มลงมือลักทรัพยไปจนถึงลักทรัพยสําเร็จ ถาเพิ่งมีภายหลัง เชน ลักดาบของ เจา ทรัพยถือมาดว ย เมือ่ พบเจา ทรัพยจ งึ เงอ้ื จะฟน เชนน้ีไมเ ปนลักทรัพยโดยมอี าวธุ แตเ ปน ชิงทรพั ย แตถามีอาวุธแลวไมไดใชทําอะไรเลยนอกจากพกไปลักทรัพยเพียงอยางเดียวก็เปนลักทรัพย โดยมีอาวุธแลว การลักทรัพยโดยรวมกระทําความผิดดวยกันต้ังแตสองคนขึ้นไปนั้น หมายถึง การเปน ตัวการในการลักทรัพยน้ันดวยกันตามมาตรา ๘๓ ไมรวมถึงผูใชหรือผูสนับสนุนตามมาตรา ๘๔ มาตรา ๘๕ หรือมาตรา ๘๖

๑๙๒ (๘) ลักทรัพยในเคหสถาน สถานท่ีราชการ หรือสถานที่ที่จัดไวเพ่ือใหบริการสาธารณะ ทีต่ นไดเขา ไปโดยไมไดร ับอนญุ าต หรือซอ นตวั อยูในสถานท่นี น้ั ๆ มาตรา ๓๓๕(๘) ลงโทษการลักทรัพยในสถานท่ี ๓ ประเภทที่บุคคลน้ันไดเขาไป โดยมไิ ดร บั อนญุ าต หรอื ขณะเขา ไปนน้ั ไดร บั อนญุ าต แตเ ขา ไปแลว ไดซ อ นตวั อยใู นสถานทนี่ น้ั ๆ ไมอ อกมา และถอื โอกาสกระทําการลกั ทรพั ยใ นสถานที่นนั้ โดยลงโทษหนักข้ึนตามวรรคแรกนเ้ี ชน เดยี วกัน บคุ คลผลู กั ทรพั ยจ ะตอ งเขา ไปลกั ทรพั ยจ ากในสถานทตี่ า งๆ ดงั กลา วแลว ในขณะทเี่ ขา ไป มิไดรบั อนุญาตใหเ ขาไปได กรณใี ดที่ถอื วามสี ิทธิเขา ไปหรือไดร บั อนญุ าตใหเ ขาไปได จึงตอ งพจิ ารณา เปนกรณีๆ ไป แตอยางไรก็ตามการอนุญาตใหเขาไปในบางคร้ังอาจไมอนุญาตใหเขาไปทุกสวนของ เคหสถานก็ได ถาเขาไปลักจากสวนที่ไมไดรับอนุญาตใหเขาไปก็ถือวาเปนลักทรัพยในเคหสถาน เชน กนั เชน อนญุ าตใหเ ขา ไปในหอ งรบั แขกแตเ ขา ไปลกั ทรพั ยใ นหอ งนอน เปน ตน การเขา ไปลกั ทรพั ย ในเคหสถานน้นั จะตองเปนการเขาไปทง้ั ตวั ถาเพยี งแตย่นื มือเขาไปหยิบทรพั ยออกมา ไมถ ือวาเปน ลกั ทรัพยใ นเคหสถาน เพราะมาตรา ๓๓๕(๘) ใชค ําวาที่ “ตน” เขา ไปโดยมิไดร บั อนญุ าต คําวา “ตน” จงึ นาจะมไิ ดหมายความเฉพาะมอื หรอื แขนเทานั้น อกี กรณหี นง่ึ การเขา ไปในเคหสถาน สถานทร่ี าชการ สถานทบ่ี รกิ ารสาธารณะดงั กลา วแลว ขณะเขาไปอาจมีสิทธิหรือไดรับอนุญาตใหเขาไป แตไดซอนตัวอยูในสถานท่ีน้ันมิใหผูอื่นเห็น แลวถือโอกาสลักเอาทรัพยจากท่ีน้ันไป ก็ถือวาตองรับโทษหนักขึ้นตามมาตรา ๓๓๕(๘) น้ีเชนกัน เชน ขาราชการไมยอมกลับออกมาจากสถานที่ราชการเม่ือเลิกงาน แตไดซอนตัวอยูในสถานที่นั้น จนเม่ือเห็นปลอดคนแลว จึงลกั เอาทรพั ยจ ากสถานท่นี น้ั ไป เปน ตน (๙) ลักทรัพยในสถานท่ีบูชาสาธารณะ สถานีรถไฟ ทาอากาศยาน ที่จอดรถ หรือเรือ สาธารณะ สาธารณสถานสาํ หรบั ขนถายสนิ คา หรือในยวดยานสาธารณะ เหตุท่ีทําใหตองรับโทษหนักข้ึนตามมาตรา ๓๓๕(๙) น้ี คือ การลักทรัพยในสถานท่ี หรือท่ีดังกลาวแลว ซึ่งตางกับในมาตรา ๓๓๕(๘) ตรงที่สถานท่ีหรือท่ีตามมาตรา ๓๓๕(๙) น้ี เปนสถานที่หรือท่ีซ่ึงประชาชนทั่วไปอาจเขาออกไดโดยอิสระไมตองรับอนุญาตจากผูใด รวมทั้งไมมี กําหนดเวลาการเขาออกทแ่ี นนอนอยูแลว (๑๐) ลกั ทรพั ยทใี่ ชหรือมไี วเ พ่อื สาธารณประโยชน สําหรับตามมาตรา ๓๓๕(๑๐) น้ีตองเปนทรัพยท่ีใชหรือมีไวเพ่ือสาธารณประโยชน ของประชาชนทั่วๆ ไป เชน หลอดไฟฟาท่ีติดอยูตามเสาไฟฟาสาธารณะ หรือหลอดไฟฟาท่ีเตรียม ไวติดตามเสาไฟฟาสาธารณะก็เชนเดียวกัน โทรทัศนสาธารณะ สายไฟฟาหรือสายโทรศัพทตามเสา ทอประปาท่ีนํามาวางไวเพื่อเตรียมฝงเพื่อปลอยน้ําไปใหประชาชน ปายจอดรถของกรมการขนสง ทางบก ปายบอกช่ือถนนของเทศบาล เปนตน ทรัพยของทางราชการทั่วๆ ไปถามิไดใชหรือมีไว เพ่ือสาธารณประโยชนก็มไิ ดเขาอยใู นมาตรา ๓๓๕(๑๐) นแ้ี ตอ ยางใด เชน พมิ พดดี ในสถานทร่ี าชการ เงนิ ของทางราชการที่เก็บไวในตนู ริ ภยั ตูโตะ เกาอี้ แบบพมิ พตางๆ เปนตน

๑๙๓ (๑๑) ลักทรพั ยท่ีเปน ของนายจางหรือทอี่ ยูใ นความครอบครองของนายจา ง นายจา งตามความหมายในมาตรา ๓๓๕(๑๑) น้ี หมายถงึ นายจา งตามสญั ญาจา งแรงงาน (๑๒) ลักทรพั ยท เี่ ปน ของผมู อี าชพี กสิกรรม บรรดาทีเ่ ปนผลติ ภัณฑ พชื พนั ธุ สตั ว หรือ เคร่ืองมืออนั มีไวส าํ หรับประกอบกสิกรรม หรอื ไดมาจากการกสิกรรมนั้น มาตรา ๓๓๕(๑๒) นใี้ หค วามคมุ ครองแกท รพั ยข องผมู อี าชพี กสกิ รรมเฉพาะประเภททร่ี ะบุ เอาไวดังกลาว ซึ่งอาจเปนทรพั ยอ ันมไี วส าํ หรบั ประกอบกสิกรรมหรอื เปน ทรพั ยไ ดมาจากการกสิกรรม อยา งใดอยางหนึง่ หรือทัง้ สองอยาง ÁÒμÃÒ óóõ ÇÃäÊͧ วรรคสองนล้ี งโทษหนกั ขนึ้ ไปอกี สาํ หรบั การลกั ทรพั ยท เ่ี ขา ไปอยใู นเกณฑข องมาตรา ๓๓๕ (๑)-(๑๒) ตง้ั แตส องอนมุ าตราขน้ึ ไป เชน ลกั ทรพั ยใ นเคหสถานในเวลากลางคนื ลกั ทรพั ยโ ดยลวงวา เปน เจาพนักงานและโดยมีอาวุธ ลักทรัพยของนายจางในยวดยานสาธารณะ ลักทรัพยในเคหสถาน โดยมอมหนาโดยมีอาวุธ และท่ีเปน ของนายจาง เปน ตน แตถ า อยูในอนุมาตราเดียวกนั เชน ลกั ทรพั ย โดยมอี าวธุ และโดยรว มกนั ตง้ั แตส องคนขน้ึ ไป ไมเ ขา มาตรา ๓๓๕ วรรคสอง แตเ ขา เฉพาะมาตรา ๓๓๕ วรรคแรกเทาน้ัน ÁÒμÃÒ óóõ ÇÃäÊÒÁ กําหนดใหผูกระทําผิดตามมาตรา ๓๓๕ วรรคแรกซ่ึงก็ไดแกตามมาตรา ๓๓๕(๑๒) คือ ลักทรัพยท่ีเปนของผูมีอาชีพกสิกรรม บรรดาท่ีเปนผลิตภัณฑ พืชพันธุ สัตว หรือเคร่ืองมืออันมีไว สาํ หรบั ประกอบกสกิ รรม หรอื ไดม าจากการกสกิ รรมนน้ั จะตอ งรบั โทษหนกั ขน้ึ โดยกาํ หนดตวั ทรพั ยไ ว แนชัดวา ถาทรัพยน้ันเปนโค กระบือ เคร่ืองกล เครื่องจักร ที่ผูมีอาชีพกสิกรรมมีไวสําหรับประกอบ กสิกรรม ÁÒμÃÒ óóõ ÇÃä·ÒŒ  เปนพฤติการณท่ีทําใหผูกระทําความผิดไดรับโทษนอยลงกวาโทษที่ระบุไวในมาตรา ๓๓๕ วรรคแรก วรรคสองและวรรคสาม กลาวคอื ถาการกระทาํ ผิดดังกลาว เปน การกระทําโดยความ จําใจหรือความยากจนเหลอื ทนทานและทรพั ยน ้ันมีราคาเลก็ นอย ศาลอาจจะลงโทษผูกระทาํ ผดิ ตาม มาตรา ๓๓๔ ก็ได ดวยความจาํ ใจ เชน เปนคนพลดั หลงทางมาเปนเวลากลางคนื ไมพ บเจาของบาน อยูท่ีบานกําลังหิวโหยจึงปนหนาตางเขาไปเอาอาหารมากินประทังความหิว ศาลอาจลงโทษตาม มาตรา ๓๓๔ กไ็ ดค วามยากจนเหลอื ทนทาน คอื ไมม เี งนิ หรอื ปจ จยั พอทจ่ี ะซอื้ อาหาร ยา เครอ่ื งนงุ หม ได จะขอใครก็ไมไดหรือเขาไมยอมให จึงตัดสินใจเขาไปลักมาจากในเคหสถานของเขา ฯลฯ เชนน้ี ถาศาลเห็นวาทรัพยนั้นมีราคาเล็กนอย ก็อาจลงโทษตามมาตรา ๓๓๔ ก็ได การลักทรัพย เพราะความจําใจ หรือความยากจนเหลือทนทานนี้ ไมจํากัดวาจะตองลักมาเพ่ือตนเองเทานั้น อาจลักไปเพอ่ื บคุ คลอ่ืนกไ็ ด

๑๙๔ μÇÑ Í‹ҧ ®Õ¡Ò·èÕ ùøô/òõðø ที่จอดรถสาธารณะตามมาตรา ๓๓๕(๙) น้ันเปนที่จอดรถ ท่ีสาธารณชนมีสิทธิจะนํารถของตนไปจอดได ดังน้ันท่ีซ่ึงมีปายใหจอด ใหรถประจําทางหยุดรับสง คนโดยสารเปน ระยะๆ ไป จึงไมใชท จี่ อดรถสาธารณะตามความมงุ หมายของกฎหมาย ®¡Õ Ò·Õè ñðøð/òõññ กุญแจนั้นไมใชสิ่งกีดกั้นสําหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย เพราะไมมลี กั ษณะเปน สิ่งกีดกน้ั อยา งเชน ร้ัว หรือวาลูกกรง ประตู หนาตา งอะไรทํานองน้ัน ®¡Õ Ò·èÕ òôô÷/òõò÷ ประตรู ถเปนสวนหนึ่งของรถ ไมใชสง่ิ กดี ก้นั ®¡Õ Ò·èÕ òùùõ/òõôõ เงินท่ีลักเอาจากตูโทรศัพทสาธารณะ ไมใชทรัพยท่ีใชหรือ มีไวเ พอื่ สาธารณประโยชนตาม ม.๓๓๕(๑๐) ó. ÇÔ§è ÃÒÇ·ÃѾ ÁÒμÃÒ óóö “ผูใดลักทรัพยโดยฉกฉวยเอาซึ่งหนา ผูน้ันกระทําความผิดฐาน วิง่ ราวทรัพยต อ งระวางโทษจาํ คุกไมเ กินหา ป และปรบั ไมเกินหนึง่ แสนบาท ถาการวิ่งราวทรัพยเปนเหตุใหผ อู ่ืนรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ ผกู ระทําตอ งระวางโทษ จําคุก ตั้งแตสองปถึงเจด็ ป และปรบั ต้ังแตสีห่ มื่นบาทถงึ หนงึ่ แสนส่หี มืน่ บาท ถาการวิ่งราวทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุก ตงั้ แตสามปถงึ สิบป และปรบั ตง้ั แตห กหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ถาการวิ่งราวทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแต หาปถ งึ สบิ หา ป และปรับตงั้ แตหน่งึ หมื่นบาทถงึ สามหม่ืนบาท” ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ๑. ลกั ทรัพย ๒. ฉกฉวยของซ่ึงหนา คํา͸ԺÒ ว่งิ ราวทรพั ย คอื การลกั ทรพั ยโดยฉกฉวยเอาซึง่ หนา คําวา “ฉกฉวย” คือ กิริยาที่หยบิ หรือจับหรือกระชากเอาทรัพยไปโดยเร็ว ไมขาดตอนหรือขาดระยะรวมเปนการกระทํากรรมเดียวกับ การเอาทรพั ย คาํ วา “ซง่ึ หนา ” หมายถงึ ทรพั ยน น้ั ถกู ฉกฉวยไปซงึ่ หนา ตวั เจา ทรพั ย หรอื อยใู กลช ดิ กบั ตวั ผูครอบครองทรัพยน้ัน และความสําคัญอยูท่ีวา ทรัพยนั้นจะตองอยูใกลตัวหรือใกลชิดกับตัว ผูครอบครองทรัพยนั้น และขณะถูกฉกฉวยเอาทรัพยไป ผูนั้นรูสึกตัวหรือเห็นในการฉกฉวย เอาทรัพยไป ถา ผูน้นั ไมเห็นหรือไมร สู ึกกไ็ มเ ปน วง่ิ ราวทรัพย วิธีการฉกฉวยเอาซ่ึงหนาน้ัน จะใชเทาว่ิงหรือใชยานพาหนะเปนเครื่องมือก็ได และอาจ จะเปนการสมคบรว มมอื กนั หลายคนหรอื เปน การแบงหนา ทีก่ นั ทํากไ็ ด สว นกรณวี รรคสอง ถงึ วรรคส่นี ั้น เปน เหตุอ่ืนประกอบการเพ่มิ โทษ

๑๙๕ μÑÇÍÂÒ‹ § ®Õ¡Ò·èÕ ùñù/òõðó จําเลยเขาไปในรานขายสุรา ขอซื้อสุราแตเจาของไมขายให เพราะพนเวลาขายแลวจําเลยก็ควาขวดสุราท่ีตั้งอยูในรานสุราและกลาววาจะเอาไปจะทําไม แลว ควาขวดสุราและเดินออกจากราน การกระทําน้ันก็ยอมจะเปนความผิดฐานว่ิงราวทรัพยได เพราะมีการฉกฉวยเอาซง่ึ หนา ®¡Õ Ò·èÕ ñðøø/òõòð จําเลยลูบคลําตามเสื้อกางเกงผูเสียหาย แลวพูดขอแวนตา ผเู สยี หายสวมอยู ผเู สยี หายไมใ ห จาํ เลยแยง แวน ตาไปจากผเู สยี หาย ผเู สยี หายแยง คนื มาไดจ าํ เลยแยง ไปอกี แลว พดู วา ถา เอง็ มอี าวธุ กแ็ ทงแลว และเอามอื ลวงใตเ สอื้ ตรงขอบกางเกงหนา ทอ ง ดงั นี้ เปน การ ว่ิงราวแวน ตา แตไมเปนการขูวา จะทาํ ราย ®¡Õ Ò·èÕ òñðð/òõòñ รวบคอผเู สยี หายเพอ่ื ใหร วู า สวมสรอ ยคออยู แลว กระตกุ สรอ ยคอ หนัก ๒ สลงึ สรอยบาดคอเปน แผล ไมถงึ เปน อันตรายแกก าย ไมเปนชิงทรพั ย แตเ ปนการฉกฉวยเอา ซึ่งหนา เปน วง่ิ ราวทรพั ย ®¡Õ Ò·èÕ øóñ/òõóò จําเลยที่ ๑ ใชมือซายกระชากคอเส้ือผูเสียหาย แลวใชมือขวา กระชากสรอยคอทองคําหนัก ๑ สลึง ของผูเสียหายขาดออกจากกัน และเอาสรอยคอกับพระเลี่ยม ทองคําซึ่งแขวนอยู ๑ องคไป เปนการกระทําท่ีตอเนื่องกันในทันใดเพื่อประสงคจะเอาสรอยคอของ ผูเสียหายเปนสําคัญและเปนเพียงวิธีการเอาทรัพยของผูเสียหายเทาน้ัน มิใชเปนการใชกําลัง ประทษุ รา ยผเู สยี หาย อนั จะเปน ความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย แตเ ปน เรอ่ื งทจี่ าํ เลยใชก ริ ยิ าฉกฉวยเอาสรอ ยคอ และพระเล่ียมทองคําของผูเสียหายไปซึ่งหนาอันเปนความผิดฐานว่ิงราวทรัพย เม่ือโจทกมิได บรรยายองคประกอบความผิดฐานนี้มา และคําขอทายฟองก็มิไดขอใหลงโทษฐานวิ่งราวทรัพย จึงเปนเร่ืองท่ีโจทกมิไดประสงคใหลงโทษในความผิดฐานว่ิงราวทรัพย คงลงโทษจําเลยไดเฉพาะฐาน ลกั ทรพั ยเทา นนั้ ô. ¡ÃÃ⪡·Ã¾Ñ  ÁÒμÃÒ óó÷ “ผูใดขมขืนใจผูอื่นใหยอมใหหรือยอมจะใหตนหรือผูอ่ืนไดประโยชน ในลักษณะที่เปนทรัพยสินโดยใชกําลังประทุษรายหรือโดยขูเข็ญวาจะทําอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ช่อื เสียง หรอื ทรัพยส ินของผูถูกขูเขญ็ หรือของบคุ คลที่สาม จนผูถกู ขมขืนใจยอมเชน วาน้ัน ผูน ้ันกระทําความผิดฐานกรรโชก ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กินหาป และปรับไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท ถา ความผดิ ฐานกรรโชกไดก ระทําโดย (๑) ขูวาจะฆา ขูวาจะทํารายรางกายใหผูถูกขมขืนใจหรือผูอื่นใหไดรับอันตรายสาหัส หรอื ขวู าจะทําใหเกิดเพลงิ ไหมแกทรพั ยส นิ ของผถู กู ขมขืนใจหรอื ผอู ื่น หรือ (๒) มอี าวธุ ตดิ ตวั มาขเู ข็ญ ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหกเดือนถึงเจ็ดป และปรับตั้งแตหนึ่งหม่ืนบาท ถึงหน่ึงแสนส่หี มนื่ บาท”

๑๙๖ ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ขม ขืนใจผูอื่น ๑.๑ ใหยอมให หรือ ๑.๒ ยอมจะให ๒. แกตนหรือผูอื่น ๓. ไดร ับประโยชนใ นลกั ษณะท่เี ปน ทรพั ยสิน ๔. โดย ๔.๑ ใชกําลังประทุษราย หรือ ๔.๒ ขเู ข็ญวาจะทาํ อันตรายตอชีวติ รางกาย เสรีภาพ ชอื่ เสยี ง หรือทรัพยส นิ ของ ผถู กู ขเู ข็ญหรือบุคคลที่สาม ๕. ผูถกู ขม ขืนใจยอมเชน วา นน้ั ๖. โดยเจตนา คาํ ͸ºÔ Ò คําวา “¢‹Á¢×¹ã¨” หมายความวาบังคับใจ ซ่ึงการตัดสินใจยังอยูท่ีตัวผูกระทําเอง แตผกู ระทําถกู บงั คบั ใหตอ งตดั สินใจทีจ่ ะกระทาํ ตามทบี่ ังคับ คําวา “ÂÍÁãËŒ” หมายความวาตกลงใหประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสินในปจจุบัน น้ันเอง เชน ตกลงใหเ งินในขณะนั้นตามท่ขี มขืนใจ คําวา “ÂÍÁ¨ÐãËŒ” หมายความวาตกลงจะใหในเวลาภายหนา เชน ตกลงวาพรุงน้จี ะให ประโยชนใ นลักษณะทเ่ี ปนทรัพยสิน คาํ วา “»ÃÐ⪹ã¹Å¡Ñ ɳзÕàè »š¹·Ã¾Ñ ÂÊ¹Ô ” หมายความรวมถงึ สิง่ ตางๆ ดงั ตอ ไปนี้ (๑) “·ÃѾÊÔ¹” ตามความหมายแหงประมวลกฎหมายแพงฯ มาตรา ๑๓๘ คือ หมายความ “ÃÇÁ·éѧ·ÃѾ (คือวัตถุที่มีรูปราง เชน เงินหรือสิ่งของ) ·Ñé§ÇÑμ¶Ø·èÕäÁ‹ÁÕÃٻËҧ «Öè§ÍÒ¨ ÁÕÃÒ¤ÒáÅÐÍÒ¨¶×ÍàÍÒä´Œ” เชน สิทธิตางๆ ที่คํานวณเปนเงินได เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิเรียกรอง ทเี่ กิดจากหน้ี ทรัพยสทิ ธิ ฯลฯ (๒) »ÃÐ⪹· äèÕ Áã‹ ª‹μÑÇ·Ã¾Ñ Âʏ Ô¹´§Ñ ¡Å‹ÒÇã¹ (ñ) áμ‹à»¹š »ÃÐ⪹ã¹Å¡Ñ ɳзÕàè »š¹ ·ÃѾÊÔ¹ เชน การยอมใหดูภาพยนตรฟรี หรือยอมใหขึ้นรถประจําทางฟรีหรือใหบริการฟรีซ่ึงอาจ คาํ นวณเปน เงนิ ได ความผดิ ฐานกรรโชกตามมาตรา ๓๓๗ ผกู ระทําตอ งขม ขนื ใจผูอื่น คอื เปน การไปบังคบั บุคคลอ่ืนท่ีไมใชตัวผูกระทําความผิด และความผิดจะเกิดขึ้นตอเม่ือผูถูกขมขืนใจยอมใหคือ ตกลงให หรอื ยอมจะใหในภายหลงั และเมือ่ ยอมใหห รอื ยอมจะใหแลว ผขู มขืนใจจะไดรบั ประโยชนในลกั ษณะ ทรัพยสินแลวหรือยังไมไดรับก็ตาม ก็เปนความผิดสําเร็จทันที แตถาผูถูกขมขืนใจไมยอมไมวา เพราะเหตุใด ผกู ระทําก็มีความผิดเพยี งพยายามกระทาํ ความผิดเทาน้นั

๑๙๗ การขม ขนื ใจผอู น่ื จะเปน ความผดิ ตามมาตรานตี้ อ งเปน ผไู มม อี าํ นาจโดยชอบดว ยกฎหมาย ถา เปนผมู อี ํานาจโดยชอบดว ยกฎหมายกไ็ มม ีความผดิ ฐานกรรโชก ทง้ั นผี้ กู ระทาํ ความผดิ จะตอ งกระทาํ ไปโดยมเี จตนาคอื ผกู ระทาํ รสู าํ นกึ ในการกระทาํ และ ขณะเดียวกันผูกระทําประสงคต อ ผลหรอื ยอ มเล็งเห็นผล กรณีตามมาตรา ๓๓๗ วรรคสอง (๑)(๒) เปนเหตุฉกรรจซ่ึงเพิ่มโทษใหหนักขึ้นกวา วรรคแรก อนึง่ มขี อ สงั เกตระหวา งความผิดฐานกรรโชกและชงิ ทรพั ยด ังนี้ ๑. ชงิ ทรพั ยต อ งเปน การสง ทรพั ยใ หใ นขณะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย หรอื ขเู ขญ็ วา จะใชก าํ ลงั ประทษุ ราย ความผดิ ฐานกรรโชกถา ยอมใหห รอื สง ทรพั ยใ หท นั ทเี มอื่ ถกู ขม ขนื ใจ หรอื เพยี งรบั สญั ญา ยอมจะใหภายหลังถูกขมขืนใจ การใชกําลังประทุษรายหรือการขูเข็ญจะทําอันตรายในขณะขมขืนใจ หรือภายหลังกไ็ ด ๒. ชงิ ทรพั ยเ ปน การใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยหรอื ขเู ขญ็ วา จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยตอ ตวั บคุ คล สวนกรณกี รรโชกนอกจากกระทําตอ ตวั บุคคลแลว อาจกระทาํ ตอเสรีภาพ ช่ือเสยี ง หรอื ทรพั ยสินก็ได ๓. ชิงทรัพย ทรัพยที่สงใหตองเปนทรัพยท่ีเคลื่อนที่ได สวนกรรโชกจะเคลื่อนที่หรือไม กไ็ ด และยังรวมถึงประโยชนในลักษณะที่เปน ทรัพยสนิ μÇÑ ÍÂÒ‹ § ®¡Õ Ò·Õè ññùó/òõðò ผูเสียหายถูกจําเลยขูจนยอมรับจะใหเงินตามที่จําเลยขมขืนใจ แลว ยอ มครบองคแ หง ความผดิ ฐานกรรโชกแลว ทกุ ประการ จะไดร บั เงนิ ตามทผี่ เู สยี หายรบั ปากใหแ ลว หรอื ยงั หาใชส าระสาํ คญั ขององคค วามผดิ ฐานกรรโชกไม ฉะนนั้ การทจี่ าํ เลยถกู เจา หนา ทจ่ี บั เสยี กอ นท่ี จะไดร บั เงนิ จากผเู สยี หาย จงึ ไมเ ปน เหตใุ หก ารกระทาํ ของจาํ เลยอยใู นขน้ั พยายามกระทาํ ความผดิ ไปได ®Õ¡Ò·èÕ ñò÷ø/òõðó (ประชุมใหญ) จําเลยเขียนจดหมายไปขูเข็ญผูเสียหายใหสง เงิน ๓,๐๐๐ บาทใหจําเลย มิฉะนั้นบุตรผูเสียหายจะเปนอันตรายถึงชีวิต แมจะไดความวาบุตรของ ผูเสียหายเปนคนบอกใหจําเลยเขียนจดหมายไปขูเข็ญบิดา เพื่อหลอกลวงใหบิดาสงเงินมาใหก็ยัง ถือวา ผูเสียหายถูกขมขืนใจ เพราะในแงของผูเสียหายยังคงถือวาบุตรผูเสียหายเปนบุคคลที่สาม ตามมาตรา ๓๓๗ วรรคตน จาํ เลยจงึ มคี วามผิดฐานกรรโชกตามมาตรา ๓๓๗ ®¡Õ Ò·èÕ ñôô÷/òõñó จําเลยกับพวกมีอาวุธปนติดตัวเขาไปพูดจาใหผูเสียหายคิดบัญชี การเงินที่จําเลยกับผูเสียหายเปนหุนสวนทําการกอสราง โดยขูวาถาไมคิดจะเกิดเรื่องการกระทําของ จําเลยไมบรรลุผล เพราะผูเสียหายไมยอมคิดบัญชีให ไมวาจะดวยเหตุท่ีผูเสียหายไมกลัวหรือเพราะ มีตํารวจมาขัดขวางก็ตาม จําเลยก็มีความผิดฐานพยายามกระทําความผิดตอเสรีภาพแลวแตไมเปน ความผดิ ฐานพยายามกรรโชก เพราะไมม ที างทจี่ ะเหน็ วา จาํ เลยจะไดป ระโยชนใ นทรพั ยส นิ หากจะไดก ็ เพยี งสทิ ธิในฐานะท่เี ปน หนุ สวน

๑๙๘ ®¡Õ Ò·èÕ òðòõ/òõñö จําเลยกับพวกเขาไปในรานผูเสียหาย และพูดขูเข็ญเอาเงิน ผเู สยี หายสองครงั้ ครงั้ ทสี่ ามถกู ตาํ รวจจบั ได เมอื่ ผเู สยี หายไมย อมใหเ งนิ หรอื ไมร บั วา จะใหจ งึ อยใู นขน้ั พยายามกระทําความผดิ ฐานกรรโชก ®Õ¡Ò·èÕ òõøø/òõóð จาํ เลยเชอ่ื โดยสจุ รติ วา ผเู สยี หายลกั สตก๊ิ เกอรร าคาหนงึ่ บาทของ หางฯ ซึ่งจําเลยมีหนาท่ีดูแลกิจการอยูไป การท่ีจําเลยเรียกใหผูเสียหายเสียคาปรับแกหางฯ จํานวน ๓๐ บาท มิฉะน้ันจะสงตัวใหเจาพนักงานตํารวจน้ัน เปนกรณีท่ีจําเลยชอบท่ีจะใชสิทธิตามกฎหมาย ดาํ เนนิ คดแี กผ เู สยี หายในทางอาญาได คาํ พดู ของจาํ เลยดงั กลา วเทา กบั เปน ขอ เสนอใหช ดใชค า เสยี หาย เพือ่ ตกลงเลิกคดีตามทีห่ า งฯ ถือปฏบิ ัติจงึ ไมเปน การขมขืนใจหรอื ขูเ ขญ็ ผเู สยี หาย จําเลยไมมคี วามผดิ ฐานกรรโชก ®¡Õ Ò·èÕ ôð÷õ/òõóð จําเลยเพียงแตทํานายดวงชะตาผูเสียหายวา ผูเสียหาย กําลังมีเคราะหใหสะเดาะเคราะห โดยเสียเงินคายกครูใหแกจําเลย ดังน้ี หาใชเปนการขูเข็ญตาม ความหมายของมาตรา ๓๓๗ แหง ป.อ. ไม แมจ ําเลยพดู ขวู า ถาไมใ หเงินจะใหพ อ ปมู าทาํ อันตราย ผูเสียหายทางไสยศาสตร และผูเสียหายยอมใหเงินก็เปนเร่ืองท่ีผูเสียหายเช่ือตามคําทํานายวา จะมเี คราะห มิใชเพราะกลวั คําขูเขญ็ ของจาํ เลย การกระทําของจําเลยไมเ ปนความผดิ ฐานกรรโชก ®Õ¡Ò·Õè óññð/òõóñ จาํ เลยเปน ญาตกิ บั ผเู สยี หายถอื วสิ าสะเขา ไปในบา นของผเู สยี หาย ตามลาํ พงั โดยไมมีอาวุธ เพอ่ื พดู ขอเงนิ จากผูเ สยี หาย เม่ือผเู สยี หายวาไมมี จําเลยพดู วา จะกระทบื ให ขาหักอีก แมจะเปนถอยคําที่รุนแรงไปบาง แตก็เปนการพูดถากถางหยอกลอมากกวาท่ีจะเปนการ ขมขืนใจผูเ สียหายใหจําตอ งยินยอม ถอื ไมไ ดว าจําเลยมเี จตนากรรโชกเอาทรพั ยจากผเู สียหาย บานของผูเสียหายกับจําเลยอยูใกลกัน จําเลยเปนญาติกับผูเสียหายและรูจักกันมานาน จาํ เลยเคยไปมาหาสทู บ่ี า นของผเู สยี หาย การทจี่ าํ เลยเขา ไปในบา นของผเู สยี หายในวนั เกดิ เหตเุ พอ่ื พดู ขอเงนิ จึงยงั ฟงไมไดว า จําเลยเขา ไปโดยไมม เี หตุอันสมควร ®¡Õ Ò·èÕ óõñò/òõóò จําเลยสงจดหมายขมขูเรียกเอาเงินจากผูเสียหาย หากขัดขืน จะทําการระเบิดรานคาของผูเสียหายใหพังพินาศ แตผูเสียหายไมยอมใหเงินหรือยอมรับวาจะใหเงิน แกจําเลยตามที่เรียกรอง ถือไดวาจําเลยไดลงมือกระทําความผิดไปโดยตลอดแลวแตการกระทํานั้น ไมบ รรลผุ ล การกระทาํ ของจําเลยจงึ เปนความผดิ ฐานพยายามกรรโชก ®Õ¡Ò·èÕ ôðñò/òõóô การท่ีผูเสียหายยินยอมมอบเงินให ด. เพราะเหตุวา ด. จะนํา รูปถายของผูเสียหายซึ่งแตงตัวเปนฆราวาสไปโฆษณา อันเปนการขูเข็ญวาจะทําอันตรายตอชื่อเสียง ของผเู สียหาย และผเู สยี หายยนิ ยอมมอบเงินให ด. แม ด. จะยงั มไิ ดร บั เงินจํานวนดังกลาวไปกเ็ ปน ความผดิ ฐานกรรโชกสาํ เร็จแลว ®Õ¡Ò·èÕ ñóñ/òõôö จําเลยทั้งสี่เขามาในรานขณะผูเสียหายกําลังจัดของอยูกลางราน ผูเสยี หายถามวา มาซอื้ อะไร จําเลยท่ี ๑ บอกวาเปน เจาพนักงานตํารวจมาดูแลความเรียบรอยในรา น ตองการเงนิ ๕,๐๐๐ บาท เปน คาดแู ล ผเู สียหายรสู กึ ไมปลอดภยั จึงเดนิ ไปหลงั รานโทรศัพทไปทสี่ ถานี

๑๙๙ ตํารวจแตไ มต ิด เม่ือเดินออกมาหนารานก็เห็นจําเลยทง้ั ส่ีเดินขน้ึ รถยนตก ระบะไป จะเห็นไดว าจาํ เลย ท่ี ๑ เพียงแตÍÒŒ §ÇÒ‹ ໹š à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ และ¾Ù´¢Íà§Ô¹เปน คา ดแู ลรา นเทานน้ั «èÖ§ผเู สียหาย¨ÐãËŒ ËÃÍ× äÁ¡‹ äç ´Œ ·§Ñé äÁป‹ รากฏวา จาํ เลยทงั้ สใ่ี ชก าํ ลงั ประทษุ รา ยหรอื ขเู ขญ็ วา จะทาํ อนั ตรายตอ ชวี ติ รา งกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพยสินของผูเสียหายหรือบุคคลที่สามแตอยางใด จําเลยทั้งส่ีäÁ‹ä´Œ¾Ù´¢Ù‹Ç‹Ò ËÒ¡äÁã‹ ËàŒ §¹Ô áÅÇŒ ¨Ð·Òí ÍÐäüàŒÙ ÊÂÕ ËÒÂและไมไ ดร อเอาเงนิ จากผเู สยี หายตามทพ่ี ดู คาํ พดู ของจาํ เลยท่ี ๑ ดังกลาว จึงÂѧ¶×ÍäÁ‹ä´ŒÇ‹Òเปนการขูเข็ญวาจะทําอันตรายตอเสรีภาพและทรัพยสินของผูเสียหาย äÁเ‹ ปน ความ¼Ô´ตาม ม.๓๓๗ õ. ÃÕ´àÍÒ·ÃѾ ÁÒμÃÒ óóø “ผูใดขมขืนใจผูอ่ืนใหยอมใหหรือยอมจะใหตนหรือผูอ่ืนไดประโยชน ในลักษณะที่เปนทรัพยสิน โดยขูเข็ญวาจะเปดเผยความลับ ซึ่งการเปดเผยนั้นจะทําใหผูถูกขูเข็ญ หรือบุคคลท่ีสามเสียหายจนผูถูกขมขืนใจยอมเชนวาน้ัน ผูน้ันกระทําความผิดฐานรีดเอาทรัพย ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ต้งั แตหนง่ึ ปถึงสิบป และปรับต้งั แตสองหม่ืนบาทถึงสองแสนบาท” ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ๑. ขม ขนื ใจผูอน่ื ใหย อมใหหรือยอมจะให ๒. ตนหรือผูอืน่ ไดรับประโยชนในลักษณะที่เปน ทรัพยส ิน ๓. โดยขูเข็ญวาจะเปดเผยความลับ ซึ่งการเปดเผยน้ันจะทําใหผูถูกขูเข็ญหรือบุคคล ทีส่ ามเสียหาย ๔. จนผถู ูกขม ขืนใจยอมเชน วา น้ัน ๕. โดยเจตนา คํา͸ԺÒ ผูกระทําจะตองขูเข็ญวาจะเปดเผยความลับซ่ึงการเปดเผยจะทําใหผูถูกขูเข็ญหรือ บุคคลที่สาม เสียหายเทานั้น โดยไมมีการใชกําลังประทุษรายหรือโดยขูเข็ญวาจะทําอันตรายตอชีวิต รา งกาย เสรภี าพ ชื่อเสยี ง หรอื ทรัพยสินของผถู ูกขูเขญ็ หรือบุคคลทีส่ าม ความผดิ ฐานรดี เอาทรพั ยน ี้ ยอ มเปน การขเู ขญ็ วา จะทาํ อนั ตรายตอ ชอ่ื เสยี ง ฉะนนั้ จงึ เปน ความผิดฐานกรรโชกและความผิดตอเสรีภาพในตัวเอง แตความผิดฐานรีดเอาทรัพยน้ีแมผูถูกขูเข็ญ จะสงทรัพยใหทันทีในขณะขูเข็ญก็ไมเปนความผิดฐานชิงทรัพยเพราะการขูเข็ญน้ันไมไดขูเข็ญวา จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยเนอื่ งจากความผดิ ฐานกรรโชกนนั้ เปน การขเู ขญ็ วา จะทาํ อนั ตรายตอ ชวี ติ รา งกาย และอื่นๆ คําวา “¢‹Á¢¹× 㨔 หมายความวา บงั คับใจ คําวา “¤ÇÒÁÅѺ” หมายความวา สิ่งซ่ึงบุคคลผูมีประโยชนไดเสียประสงคจะปกปด โดยยอมใหร เู ฉพาะภายในวงบคุ คลอนั จาํ กดั ความลบั ตามมาตรานจี้ ะเปน ความลบั ในทางใดๆ กไ็ ด เชน ความลับสวนตัว อยางหญิงท่ียังไมมีสามีแตเคยเสียตัวมาแลว หรือความลับในทางอุตสาหกรรมก็ได

๒๐๐ ความสาํ คัญอยูท ว่ี า ผทู ่ีมสี ว นไดเ สยี โดยเฉพาะเจา ของความลบั ประสงคจะปกปด นอกจากนก้ี ารเผย ความลับตามท่ีขูเ ขญ็ วาจะเปดเผยนั้นจะทําใหผ ูถ กู ขเู ข็ญหรือบุคคลทสี่ าม เชน สามภี ริยาหรือบุตรของ ผถู กู ขูเข็ญเสียหาย บุคคลผูรูความลับของผูอื่นนอกจากบุคคลท่ัวไปแลวอาจเปนผูมีหนาท่ีหรือวิชาชีพก็ได เชน ทนายความ ความลับนั้นถานําไปเปดเผยแลวถาไมเสียหายก็ไมเปนความผิด ถาการเปดเผย ความลับน้นั เปน เพียงเสยี หายแกเขา แตไมไ ดขูเ ข็ญจนเขายอมใหประโยชนในลักษณะที่เปน ทรัพยสิน ไมผดิ มาตรา ๓๓๘ แตผ ดิ ฐานเปดเผยความลับตามมาตรา ๓๒๒ ถงึ มาตรา ๓๒๔ คําวา “เสียหาย” อาจจะเสียหายทางดานช่ือเสียง เกียรติยศก็ได รวมถึงความเสียหาย ทางดา นทรัพยส นิ ความผิดสําเร็จเกิดขึ้นเมื่อ ผูถูกขมขืนใจยอมใหหรือยอมจะใหประโยชนในลักษณะท่ี เปนทรัพยส นิ แลว สวนจะไดประโยชนหรอื ไมไมส าํ คัญ แตถาผูถกู ขม ขืนใจไมยอมใหหรือไมย อมจะให ไมวาเพราะไมกลัวการขูเข็ญ หรือไมไดใหประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสิน ก็เปนความผิดฐาน พยายามรีดเอาทรพั ย ®¡Õ Ò·Õè ñùôõ/òõñô จําเลยไดขมขืนใจโจทก ซึ่งเปนหุนสวนผูจัดการของหางหุน สวนจํากัดแหงหนึ่ง วาจะทําอันตรายตอช่ือเสียงของหางหุนสวนจํากัดแหงน้ัน ซึ่งเปนนิติบุคคลและ บุคคลที่สาม และไดขูเข็ญขมขืนใจโจทกวาจะเปดเผยความลับซึ่งการเปดเผยความลับน้ันจะทําให หา งหุน สวนจํากัด ดังกลา วเสยี หาย จนโจทกย อมจะใหเงนิ แกจ ําเลยตามท่ถี กู ขูเขญ็ ดงั น้ี ถอื วา โจทก ซ่ึงเปนผูถูกขูเข็ญเปนผูเสียหาย ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒(๔) มีอํานาจฟองคดีในความผิดฐานกรรโชก หรือรดี เอาทรัพย การท่ีจําเลยขมขืนใจโจทกโดยขูเข็ญวาจะทําอันตรายตอชื่อเสียงของหางหุนสวนจํากัด ซ่ึงเปนบุคคลท่ีสาม จําเลยมีความผิดฐานกรรโชกตามมาตรา ๓๓๗ และจําเลยไดขูเข็ญโจทกวา จะเปดเผยความลับ ซ่ึงการเปดเผยนั้น จะทําใหโจทกเสียหาย จําเลยมีความผิดฐานรีดเอาทรัพย ตามมาตรา ๓๓๘ อีกฐานหน่ึงดวย แตความผิดฐานรีดเอาทรัพยเปนความผิดที่มีโทษหนักข้ึนจาก ความผิดฐานกรรโชกโดยอาศัยการกระทําเดียวกัน ตองลงโทษบทหนักในการกระทํากรรมเดียวกัน ตาม ป.อ.มาตรา ๙๐ ö. ª§Ô ·Ã¾Ñ  ÁÒμÃÒ óóù “ผใู ดลักทรัพยโดยใชกาํ ลังประทุษรา ยหรือขเู ข็ญวา ในทนั ใดน้ันจะใชก าํ ลัง ประทุษรา ยเพอ่ื (๑) ใหความสะดวกแกก ารลักทรัพย หรือการพาทรัพยนน้ั ไป (๒) ใหย่นื ใหซ ่ึงทรัพยน นั้ (๓) ยดึ ถือเอาทรัพยน น้ั ไว (๔) ปกปด การกระทาํ ความผิดนนั้ หรอื (๕) ใหพนจากการจับกมุ

๒๐๑ ผนู น้ั กระทาํ ความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห า ปถ งึ สบิ ป และปรบั ตง้ั แต หนง่ึ หมน่ื บาทถงึ สองหมื่นบาท ถาความผิดนั้นเปนการกระทําท่ีประกอบดวยลักษณะดังที่บัญญัติไวในอนุมาตราหนึ่ง อนมุ าตราใดแหงมาตรา ๓๓๕ หรอื เปนการกระทําตอทรพั ยท่เี ปน โค กระบอื เครอ่ื งกลหรอื เครอ่ื งจกั ร ที่ผูมีอาชีพกสิกรรมมีไวสําหรับประกอบกสิกรรม ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสิบปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตส องหมืน่ บาทถงึ สามหม่นื บาท ถาการชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ ผูกระทําตองระวางโทษ จาํ คกุ ต้ังแตสบิ ปถ ึงย่ีสิบป และปรับต้ังแตส องหมนื่ บาทถึงสี่หม่นื บาท ถาการชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอ่ืนรับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแต สิบหา ปถึงยี่สบิ ป และปรับตัง้ แตสามหมน่ื บาทถึงส่หี ม่ืนบาท ถาการชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต หรือจาํ คกุ ตลอดชีวติ ” ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ๑. ลักทรัพย ๒. โดยใชกาํ ลังประทุษราย หรือขเู ขญ็ วาในทนั ใดนัน้ จะใชกําลังประทษุ ราย ๓. การใชกําลังหรือขูเข็ญ จะใชกําลังประทุษรายนั้นโดยเจตนาเพ่ืออยางใดอยางหน่ึง ดังตอ ไปนี้ ๓.๑ เพื่อสะดวกแกการลักทรพั ย หรอื เพ่ือพาทรัพยน ัน้ ไป ๓.๒ เพอ่ื ใหยื่นใหซึง่ ทรัพยน ั้น ๓.๓ เพ่อื ยดึ ถือเอาทรัพยน นั้ ไว ๓.๔ เพอ่ื ปกปด การกระทําความผดิ นนั้ ๓.๕ เพื่อใหพ นจากการจับกมุ คาํ ͸ԺÒ ๑. จะเปนความผิดฐานชิงทรัพยสําเร็จ การกระทํานั้นตองครบองคประกอบความผิด ฐานลักทรัพยโ ดยบริบรู ณแลว เม่ือการกระทําครบองคประกอบความผิดฐานลักทรัพยแลว ผูกระทําการลักทรัพยไดใช กําลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาในทันใดน้ันจะใชกําลังประทุษรายกอนหรือในขณะกระทําการลักทรัพย หรือหลังจากการลกั ทรพั ย จึงจะเปนความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย ๒. คําวา “ใชกําลงั ประทษุ ราย” หมายถงึ การประทษุ รา ยแกร า งกายหรอื จิตใจของบุคคล ไมวาจะทําดวยแรงกายภาพหรือดวยวิธีอื่นใด และใหหมายความรวมถึงการกระทําใดๆ ซึ่งเปนเหตุ ใหบ คุ คลใดอยใู นภาวะทไี่ มส ามารถขดั ขนื ได ไมว า จะตอ งใชย าทาํ ใหม นึ เมา สะกดจติ ใจหรอื ใชว ธิ อี นื่ ใด อันคลา ยคลึงกัน ตาม ป.อ.มาตรา ๑(๖)

๒๐๒ ๓. การใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย หรอื ขเู ขญ็ วา จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยนน้ั จะตอ งเปน การกระทาํ แกบ คุ คล จะเปน เจา ทรพั ย ผคู รอบครองทรพั ย หรอื บคุ คลอน่ื และไมว า จะทาํ กอ นลกั ทรพั ย ขณะทาํ การ ลกั ทรพั ย หรอื ลกั ทรพั ยส าํ เรจ็ ไปแลว กต็ าม แตม ขี อ สาํ คญั วา จะตอ งเปน การกระทาํ เกย่ี วเนอื่ งตดิ ตอ กนั เพ่ือทําการลักทรัพยน้ันไมขาดตอนหรือขาดระยะเปนกรรมเดียวกัน ถาไมเก่ียวเน่ืองกันขาดตอน ขาดระยะไปแลว อาจเปน ความผดิ ฐานลกั ทรัพย กบั ทํารายรางกายตางกระทงกัน ๔. ในการใชกําลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาในทันใดจะใชกําลังประทุษรายนั้น จะตอง กระทําโดยเจตนาพิเศษ คือ เพื่อประสงคตอผลอยา งใดอยา งหนึ่งในอนมุ าตรา ๑ ถงึ อนมุ าตรา ๕ ๔.๑ เพื่อสะดวกแกการลักทรัพย เชน กอนจะทําการลักทรัพยจับเอาคนยามเฝา ประตูบานมัดติดเสาไว แลวเขาไปลักทรัพย หรือเพื่อสะดวกในการพาเอาทรัพยนั้นไป หรือขูเข็ญ เจาทรพั ยไมใหขัดขวาง ถา ขดั ขวางจะถูกทําราย ๔.๒ เพอื่ ใหย นื่ ใหซ งึ่ ทรพั ย เชน เหน็ เจา ทรพั ยผ กู นาฬก าอยจู งึ ไดใ ชก าํ ลงั ประทษุ รา ย หรือขูใ หถ อดนาฬกาสงให มเิ ชน นน้ั จะฆา หรอื จะฟน ทันที เปน ตน ๔.๓ เพ่ือยึดถือเอาทรัพยนั้นไว เมื่อทําการลักทรัพยไดแลวเจาทรัพยขัดขวาง หรือแยงเอาคนื หรอื พวกเจาทรัพยต ิดตามไปทัน เพอ่ื แยงเอาทรัพยคืน จึงใชกําลังประทุษรา ยโดยจบั เจาทรัพยผ กู ตดิ กับตน ไมหรอื ผกู ตาเสยี ๔.๔ เพื่อปกปดการกระทําความผิด หมายความวา ลักทรัพยสําเร็จแลวไดขู เจา ทรัพยไมใ หนาํ เรือ่ งไปแจง ตาํ รวจ ๔.๕ เพอ่ื ใหพ น จากการจบั กมุ หมายความวา การลกั ทรพั ยส าํ เรจ็ แลว พวกเจา ทรพั ย หรือเจาพนักงานติดตามเอาทรัพยคืน และจะจับกุม ผูกระทําการลักทรัพยนั้นใชกําลังประทุษราย หรอื ขเู ขญ็ จะประทุษรา ย เปนการขัดขวางเพอ่ื ใหพ นจากการจบั กมุ ในการลกั ทรพั ยน ้ัน ๕. ถา ปราศจากการประสงคต อ ผลใน ๕ อนมุ าตรานน้ั แลว แมจ ะมกี ารทาํ รา ยหรอื ขเู ขญ็ วา จะใชก ําลงั ประทุษราย ก็ไมเ ปนความผิดฐานชิงทรัพย ๖. การใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย หรอื ขเู ขญ็ วา ในทนั ใดนน้ั จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยกอ นเอาทรพั ย ไปก็ดี หลังจากเอาทรัพยไปสําเร็จแลวก็ดี ตองเปนการกระทําผิดตอเก่ียวเน่ืองเปนกรรมเดียวกัน ไมขาดตอนหรือขาดระยะกับการลักทรัพยน น้ั ถาขาดตอนกนั แลว ไมเปนความผดิ ฐานชิงทรัพย ๗. การชิงทรัพยประกอบดวยเหตุฉกรรจ มาตรา ๓๓๙ ไดบัญญัติโทษเพิ่มหนักขึ้น เปนข้ันๆ ๗.๑ ตามวรรคแรกน้ัน เปนเพียงแตใชกําลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาในทันใดน้ัน จะทําการประทุษรายแกรางกาย หรือจิตใจ ในขั้นนี้ไมถึงกับเปนอันตรายแกรางกาย และจิตใจ เชน การจับแขนดงึ กระชาก ๗.๒ ถา การชงิ ทรพั ยน นั้ ประกอบดว ยเหตดุ งั บญั ญตั ไิ วใ นอนมุ าตราหนง่ึ อนมุ าตราใด แหงมาตรา ๓๓๕ เชน ชิงทรัพยในเวลากลางคืน ความผิดก็เพ่ิมหนักข้ึนตามความในมาตรา ๓๓๙

๒๐๓ วรรค ๓ แมการชิงทรัพยจะมเี หตตุ ามมาตรา ๓๓๕ หลายอนมุ าตราประกอบกนั ผลก็มีอยางเดียวกัน คอื มีความผิดตามวรรคสามนี้ ๗.๓ ถาการชิงทรัพยนั้นเปนการกระทําตอทรัพยที่เปนโค กระบือ เครื่องกล หรือ เครื่องจักรท่ีผูมีอาชีพกสิกรรมมีไวประกอบกสิกรรม ผูกระทําก็ตองรับโทษหนักขึ้นตามมาตรา ๓๓๙ วรรคสาม ๗.๔ ถา การชงิ ทรพั ยเ ปน เหตใุ หผ อู นื่ ไดร บั อนั ตรายแกก ายหรอื จติ ใจแลว กาํ หนดโทษ เพิ่มสงู ขน้ึ อีก ๗.๕ ถาการชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายสาหัสตามที่บัญญัติไวใน มาตรา ๒๙๗ โทษเพิ่มสงู ข้ึนอีก ๗.๖ ถาการชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ผูกระทํามีโทษสูงสุดใน ความผดิ ฐานชิงทรพั ย การชงิ ทรพั ยเ ปนเหตุใหถึงตายนี้ ผกู ระทําการชิงทรพั ยต อ งไมม ีเจตนาฆา แตถ า เปนเจตนาฆา เพื่อสะดวกในการลักทรัพยแลว ผูก ระทํายอมมีความผดิ ฐานอ่นื หรือมาตรา ๒๘๙(๖) ในการใชกําลังประทุษรายน้ัน ตองมีเจตนาใชกําลังประทุษรายดวยการชิงทรัพย เปนเหตุใหผูอ่ืนไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ รับอันตรายสาหัสหรือถึงแกความตายนั้นจะตอง เปน ผลทีเ่ กิดข้ึนจากการชิงทรัพยน ัน้ โดยตรง μÑÇÍ‹ҧ ®¡Õ Ò·Õè ñöøó/òõðù จําเลยบังคับใหเขาขับรถยนต และขับรถของเขาไป เพื่อหนี มิใหถูกทํารายและถูกจับ เมื่อหนีพนแลว ก็จอดทิ้งไวในซอยในที่โลงเตียน ไมแสดงอาการซุกซอน ไมม เี จตนาที่จะถอื เอารถคนั น้ัน ไมม คี วามผดิ ฐานลักทรัพย แตผิดฐานทําใหเ สือ่ มเสียอสิ รภาพ ®¡Õ Ò·Õè ñôðø/òõñò กรณที จี่ าํ เลยลกั กระบอื ของผเู สยี หายผเู สยี หายไลต ดิ ตามอกี ๑๐วา จะทัน จําเลยท้ิงกระบือว่ิงหนี ผูเสียหายไลติดตามตอไปอีกเพื่อจะจับกุม จําเลยชักปนออกจอง ยอ มเปน การขเู ขญ็ จะทาํ รา ยผเู สยี หายเพอ่ื ใหพ น จากการจบั กมุ เปน การกระทาํ ตอ เนอ่ื งกบั การลกั ทรพั ย ผดิ ฐานชงิ ทรัพย ®Õ¡Ò·èÕ ÷ñõ/òõñõ โจทกส บู นาํ้ ออกจากหนองนา้ํ เพอื่ จบั ปลา จนนาํ้ แหง สามารถจบั ปลา ไดแลว ยอมถือไดวาปลาในหนองอยูในความครอบครองของโจทก ไมวาหนองน้ันจะเปนหนอง สาธารณะหรือไมก็ตาม การท่ีจําเลยใชปนขูหามมิใหโจทกจับปลาในหนองแลวสั่งใหพวกของจําเลย เอาปลาเหลานั้นไป จําเลยยอ มมคี วามผดิ ฐานชงิ ทรัพย ®¡Õ Ò·Õè òøòò/òõñ÷ จําเลยเขาบีบคอผูเสียหายทางดานหลัง แลวกระชากสรอยคอ หอยพระเคร่อื งทีส่ วมอยทู ี่คอจนสรอยขาด ในทันใดผูเสยี หายใชม ือกมุ สรอยที่หลุดจากคอ แตยังอยูท่ี บรเิ วณหนา อกไวไ ดท นั จาํ เลยเอาไปไมไ ด แมส รอ ยอยทู มี่ อื จาํ เลยตอนกระชาก กเ็ ปน การกระทาํ ในขนั้ ทมี่ งุ หมายจะใหส รอ ยขาดหลดุ จากคอผเู สยี หายเทา นน้ั เมอ่ื สรอ ยขาดแลว จาํ เลยยงั ไมท นั ยดึ ถอื เอาไป ผเู สยี หายกุมสรอยเอาไวไ ด การยึดถอื เอาสรอ ยไปยังไมบรรลุผล เปน ความผดิ ฐานพยายามชงิ ทรัพย

๒๐๔ ®¡Õ Ò·Õè òóùù/òõñø จาํ เลยลกั ไกไ ปจากบา นผเู สยี หาย ตอ มา ๑ ชวั่ โมง ผเู สยี หายตาม ไปพบจาํ เลยกับไกทกี่ ระทอ มของจาํ เลยหางจากท่ีเกดิ เหตุ ๑๐๐ เสน จําเลยถอื เหล็กแหลมจองมาทาง ผเู สยี หาย การลกั ทรพั ยข าดตอนไปแลว ไมใ ชอ ยใู นระหวา งพาทรพั ยไ ป การขจู ะทาํ รา ยเปน การกระทาํ ทเี่ กิดขน้ึ ภายหลงั มิไดตอ เน่อื งจากการกระทาํ ผิดฐานลกั ทรพั ย การกระทําของจาํ เลยไมเ ปนความผิด ฐานชงิ ทรพั ย ®¡Õ Ò·èÕ òñðó/òõòñ จําเลยข้ึนไปบนเรือนผูเสียหายในเวลากลางคืน แลวลักเอา นกเขาพรอมดว ยกรงของผูเ สยี หาย นางสาวดําเห็นเขา จงึ เขาแยงกรงนน้ั แตสกู ําลังจําเลยไมไ ด จาํ เลย จึงแยงเอากรงและนกเขาของผูเสียหายไปได ดังน้ี ถือไมไดวาจําเลยไดใชกําลังประทุษรายแกกาย หรือจิตใจของนางสาวดําแตประการใด ทั้งไมไดความวาจําเลยขูเข็ญวาในทันใดน้ันจะใชกําลังกาย ประทษุ รา ยนางสาวดาํ ดว ย การใชก าํ ลงั แยง เอาทรพั ยไ ป กถ็ อื ไมไ ดว า เปน เหตใุ หน างสาวดาํ อยใู นภาวะ ที่ไมสามารถขัดขืนได ตามความหมายในมาตรา ๑(๖) การกระทําของจําเลยจึงไมเปนความผิดฐาน ชงิ ทรัพย แตเ ปนความผิดฐานลักทรัพยเทา นน้ั เพราะการใชก าํ ลังแยง กรงเปน การกระทําตอ ทรัพย ®¡Õ Ò·èÕ ñðñø/òõòù จําเลยไปเลนไพแลวก็จับไดวาผูเสียหายเลนไพโกง จึงใชเหล็ก ปลายแหลมจ้ีผูเสียหายบงั คับใหค นื เงิน ๙๒๐ บาทท่ีถูกโกง เปน การกระทําโดยจาํ เลยเช่อื วาตนมสี ิทธิ อันจะพงึ ไดเงินท่เี สยี การพนันไปคืน เพราะผูเสียหายเลนโกง ก็ไมเปนความผดิ ฐานชิงทรพั ย ที่ไมเปนความผิดฐานชิงทรัพยก็เพราะเหตุวาการกระทําของเขาไมเปนความผิดฐาน ลักทรัพยน่ันเอง มันขาดเจตนาในการลักทรัพย เม่ือไมเปนการลักทรัพยแลวแมวาจะใชเหล็ก ปลายแหลม จ้ีผเู สียหายมันกไ็ มก อ ใหเกิดเปน ความผดิ ฐานชิงทรพั ยได ®¡Õ Ò·Õè òö÷ô/òõóò จําเลยลกั ทรัพยส ําเร็จแลว ขณะหลบหนี ญ. ผดู ูแลรักษาทรัพย นั้นไดว่ิงไลจับจําเลย จําเลยสะบัดหลุดแลวใชมีดแทง ญ. ถือไดวาเปนการกระทําที่ตอเน่ืองกันยังไม ขาดตอนจากการกระทําความผิดฐานลักทรพั ย การทจี่ ําเลยใชม ีดแทง ญ. เปนการใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย เพอ่ื ใหพนจากการจบั กมุ การกระทาํ ของจาํ เลยจงึ เปนความผดิ ฐานชงิ ทรัพย ®Õ¡Ò·Õè ñðøò/òõóô พฤติการณของจําเลยท่ี ๒ ท่ีแสดงตอผูเสียหายซ่ึงเปนนักเรียน ตางโรงเรียนกัน ในขณะที่มีอาการมึนเมาโดยเอาเสื้อของผูเสียหายท่ีพาดบาผูเสียหายไป เมื่อลงจาก รถโดยสารประจําทางไปแลวก็มิไดมีกิริยาท่ีจะหลบหนี หรือพาไปใหพน ท้ังยังตามไปในโรงเรียนที่ ผเู สยี หายเขา ไป โดยเสอื้ ทเ่ี อาไปกย็ งั พาดบา จาํ เลยท่ี ๒ อยู การกระทาํ ของจาํ เลยทง้ั สองทเ่ี ปน วยั รนุ เชน นน้ั เหน็ ไดว า จาํ เลยที่ ๒ มไิ ดม เี จตนาทจ่ี ะเอาไปเปน ของตนเองอนั เปน การแสดงเจตนาทจุ รติ เกย่ี วกบั ทรพั ย ที่เอาไป แตเปนท่ีเห็นไดวาเปนการแสดงอํานาจบาตรใหญทําไปดวยความคะนอง เพ่ือใหผูเสียหาย เห็นวาเปนคนเกงพอท่ีจะรังแกคนไดตามวิสัยวัยรุนที่ความประพฤติไมเรียบรอยเทาน้ัน มิใชเปนการ มุงหมายเพือ่ ประโยชนจ ากทรพั ย จงึ ไมเ ปน ความผิดฐานชงิ ทรพั ย ®Õ¡Ò·èÕ ñòøøø/òõõö ขณะผูเสียหายยืนปสสาวะอยูบริเวณพงหญาปากทางเขา สถานขี นสง จาํ เลยซงึ่ ผเู สยี หายไมร จู กั มากอ นเดนิ เขา มาหาแลว ลว งหยบิ เงนิ สด ๒๐๐ บาท จากกระเปา เสอื้

๒๐๕ ของผูเสียหายและชกผูเสียหายซึ่งมีอายุ ๗๐ ป ทําใหไดรับบาดเจ็บและทรุดน่ังลงกับพ้ืนโดยจําเลย มิไดพูดกับผูเสียหายแลวหลบหนีไป ลักษณะการกระทําของจําเลยเปนการกระทําการท่ีตอเนื่อง กันมิใชการกระทําท่ีขาดตอน คือการลักทรัพยเงินของผูเสียหายและการทํากับรางกายผูเสียหาย โดยทํารายรางกายผูเสียหาย เปนพฤติการณที่บงชี้ถึงเจตนาของจําเลยท่ีตองทําอันตรายแกกาย ผูเสียหายเพ่ือความสะดวกแกการกระทําผิดและพาเอาทรัพย การกระทําของจําเลยจึงเปนความผิด ฐานชงิ ทรัพยเ ปนเหตใุ หผอู น่ื ไดรับอันตรายแกกาย ®¡Õ Ò·èÕ òðöøø/òõõö หลังจากจําเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ ชิงเอาเงินและโทรศัพทของ ผูเสียหายไปแลวจําเลยท่ี ๑ โทรศัพทไปแจงจาํ เลยท่ี ๓ ท่ีบาน ตอ มาจําเลยท่ี ๓ ไดเ ดินทางมาสมทบ ในที่เกิดเหตุและรวมแสดงบทบาทเปนหัวหนาสอบถามผูเสียหายเกี่ยวกับยาเสพติดตามท่ีจําเลยที่ ๑ แตงเรื่องขึ้น ถือวาความผิดฐานชิงทรัพยของจําเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ สําเร็จภาคตอนแลวนับแตเวลา จําเลย ๑ และที่ ๒ ไดเงินและโทรศัพทของผูเสียหายไป แมจําเลยที่ ๓ พาผูเสียหายออกไปจาก ท่ีเกิดเหตุหลังจากที่จําเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ ไดเงนิ และโทรศัพทของผเู สยี หายไปแลวจะถือวา จาํ เลยที่ ๓ ชว ยเหลอื หรอื ใหค วามสะดวกแกจ าํ เลยที่ ๑ และที่ ๒ กอ นหรอื ขณะกระทาํ ผดิ หาไดไ ม ถอื ไมไ ดว า จาํ เลยที่ ๓ เปน ผสู นับสนนุ การกระทําผดิ ÷. »Å¹Œ ·ÃѾ ÁÒμÃÒ óôð “ผูใดชิงทรัพยโดยรวมกันกระทําความผิดดวยกันต้ังแตสามคนขึ้นไป ผูน้ันกระทําความผิดฐานปลนทรัพย ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสิบปถึงสิบหาป และปรับตั้งแต สองหมืน่ บาทถึงสามหมืน่ บาท ถาในการปลนทรัพยผูกระทําแมแตคนหนึ่งคนใดมีอาวุธติดตัวไปดวยผูกระทําตองระวาง โทษจาํ คกุ ตงั้ แตส บิ สองปถงึ ยีส่ ิบป และปรบั ต้ังแตส องหม่นื ส่ีพันบาทถึงสีห่ มื่นบาท ถาการปลนทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุก ตลอดชีวิต หรือจาํ คกุ ตงั้ แตสบิ หาปถึงยีส่ ิบป ถาการปลน ทรัพยไดกระทําโดยแสดงความทารณุ จนเปนเหตใุ หผ ูอ่ืนรบั อนั ตรายแกกาย หรือจติ ใจ ใชป น ยิง ใชวตั ถรุ ะเบดิ หรือกระทําทรมาน ผกู ระทําตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชวี ิต หรือ จําคกุ ตั้งแตสิบหา ปถึงย่สี บิ ป ถาการปลน ทรพั ยเ ปน เหตใุ หผ ูอื่นถึงแกค วามตาย ผูกระทําตอ งระวางโทษประหารชีวติ ” ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ชิงทรพั ย ๒. โดยรว มกระทาํ ความผิด ต้ังแตส ามคนข้ึนไป คาํ ͸ԺÒ ๑. ที่จะเปนความผิดฐานปลนทรัพยในองคประกอบขอแรกน้ันจะตองเปนการชิงทรัพย เสียกอ น กรณอี ยางไรเปนการชิงทรัพย ใหด ใู นความผิดฐานชิงทรัพยต ามมาตรา ๓๓๙

๒๐๖ ๒. ในองคประกอบขอ ๒ ท่ีวา “โดยรวมกระทําความผิดดวยกัน” นั้นหมายความถึง เฉพาะผทู เ่ี ปน ตวั การรว มกนั กระทาํ ความผดิ โดยเฉพาะไมน บั รวมถงึ ผสู นบั สนนุ ดว ย กรณอี ยา งไรเรยี กวา ตัวการนั้นใหดูในมาตรา ๘๓ ผูสนบั สนุนดมู าตรา ๘๖ แหง ป.อาญา ฉะนั้นเมอื่ กระทาํ ความผดิ ครบ องคประกอบฐานชิงทรัพยแลว จะตองพิจารณาตัวผูที่รวมกันกระทําความผิดในจํานวนสามคนนั้น ดวยวา เปนตัวการรวมกันกระทําความผิดหรือไม ถาเปนตัวการรวมกันกระทําการชิงทรัพย ตั้งแต สามคนขนึ้ ไปแลว กเ็ ปน ความผดิ ฐานปลน ทรพั ย แตใ นกรณรี ว มกนั ไปลกั ทรพั ย พวกของจาํ เลยทเี่ ขา ไป ลักฆาหรือยิงเจาทรัพย หากขอเท็จจริงฟงไมไดวา จําเลยรูวาพวกของจําเลยมีอาวุธการกระทําของ พวกจําเลยจึงอยูนอกความมุงหมายหรือเจตนาของจําเลยยอมไมมีความผิดฐานปลนทรัพยหรือฆา เจาทรพั ยดว ยคงมีความผิดฐานลักทรพั ยเทานนั้ ๓. ในความผิดฐานปลนทรัพยนั้นตามองคประกอบขางตนตองทําการชิงทรัพย โดยรว มกนั ตงั้ แตส ามคนขน้ึ ไป และความผดิ ฐานชงิ ทรพั ยน นั้ องคป ระกอบจะตอ งเปน การลกั ทรพั ยก อ น ฉะนั้นในการสมคบรวมกันไปทําการลักทรัพยน้ี อาจมีบุคคลเกินกวาสามคนข้ึนไปทําการรวมกัน แตต างคนตางแยกกนั ทาํ มบี ุคคลบางสว นกระทําการชิงทรัพย คอื ใชก าํ ลังประทษุ รายขณะกระทาํ การ ลักทรัพยนั้น โดยมิไดตกลงรวมกันมากอนเชนน้ี ความผิดอาจแยกกันเปนตอนๆ ได แลวแตวา การกระทําน้ันเปน เหตสุ ว นตวั หรือเปนเหตุในลกั ษณะคดใี นการกระทาํ ความผิดน้ัน ๔. ความผดิ ฐานปลน ทรพั ยน ้ี ประมวลกฎหมายอาญาไดแ บง แยกความผดิ ออกเปน ขนั้ ๆ ประกอบดวยเหตฉุ กรรจเ ชนเดยี วกบั ความผิดฐานชงิ ทรัพย กลา วคือ ¢¹Ñé μ¹Œ คอื ความผดิ ฐานวรรคแรกนน้ั เปน การปลน ทรพั ยโ ดยใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยหรอื ขเู ขญ็ วา ทนั ใดนนั้ จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยไมถ งึ เปน อนั ตราย หรอื ถงึ เปน อนั ตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจ แตไ มถ งึ เปน อนั ตรายแกก ายหรอื จติ ใจถงึ สาหสั กฎหมายกาํ หนดโทษจาํ คกุ ตงั้ แตส บิ ปถ งึ สบิ หา ป และปรบั ตง้ั แต สองหมน่ื บาทถึงสามหม่นื บาท ¢éѹ·ÕèÊͧ ถาในการปลนทรัพย ผูกระทํามีอาวุธติดตัวไปดวยแมแตคนหนึ่งคนใด ไมวา จะเปนเพียงโดยใชกําลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาในทันใดน้ันจะใชกําลังประทุษรายแกกายหรือจิตใจ ไมถ งึ อนั ตรายแกก ายหรอื จติ ใจหรอื ไม เปน ความผดิ ตามวรรคสอง กฎหมายกาํ หนดโทษจาํ คกุ และปรบั สูงกวาข้ันตน ¢¹éÑ ·ÊÕè ÒÁ ถา ในการปลน เปน เหตใุ หผ อู นื่ ไดร บั อนั ตรายสาหสั ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๗ แลว ผนู ้ันมคี วามผิดตามวรรคสาม ซ่งึ กฎหมายกาํ หนดโทษสงู กวา ¢¹Ñé ·ÊÕè èÕ ถา การปลน ทรพั ยไ ดก ระทาํ โดยแสดงความทารณุ จนเปน เหตใุ หผ อู น่ื ไดร บั อนั ตราย แกกายหรอื จิตใจ ใชป น ยิง ใชว ตั ถรุ ะเบิด หรอื กระทาํ ทรมาน ผูกระทําไดรบั โทษสงู ขนึ้ ตามทก่ี ฎหมาย กําหนดโทษไว คําวา “¡ÃÐทาํ â´ÂáÊ´§¤ÇÒÁ·ÒÃس¹¹éÑ ” ตองเปนเหตใุ หเ ปนอันตรายแกก ายหรอื จติ ใจ เชน การตัดใบหู การชก ตอย เฆ่ยี น ตี จนสลบ การตัดนวิ้ มอื นิ้วเทา เปน ตน

๒๐๗ คาํ วา “¡ÒÃ㪻Œ ¹„ Â§Ô ” นนั้ กฎหมายมไิ ดจ าํ กดั วา ใชป น ยงิ แลว จะยงิ กอ นลงมอื ปลน ทรพั ย ระหวา งปลน ทรพั ย หรอื ภายหลงั ปลน ทรพั ยแ ลว โดยกระทาํ ตดิ ตอ สมั พนั ธก นั ยงั ไมข าดตอน และการใช ปนยิงน้ันจะยิงถูกบุคคลใดหรือไมก็ตามเปนความผิดตามวรรคส่ีน้ี และในกรณีที่ใชวัตถุระเบิดก็คงมี ความหมายเชน เดียวกนั กับใชป นยิง การกระทําโดยทรมาน เชน การเอาเชือกรัดคอทําใหหายใจไมออกหลายครั้งหลายหน การใชไฟฟาจ้ีเพื่อทําใหบอกที่เก็บทรัพย เปนตน แตการกระทําโดยทรมานนี้ ไมจําตองถึงกับเปน อันตรายแกกายหรือจิตใจ ¢éѹ·èÕËŒÒ ถาการปลนทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ผูกระทําการปลนทรัพย มีความผดิ ตามวรรคสุดทายของมาตรา ๓๔๐ การปลนทรัพยเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายและจิตใจ ไดรับอันตรายสาหัส หรือ ถงึ แกค วามตายนี้ กรณเี ปน เชน เดยี วกบั ความผดิ ฐานชงิ ทรพั ยก ลา วคอื คาํ วา ผอู น่ื นนั้ มไิ ดห มายเฉพาะ เจาทรัพยท่ีถูกปลนอาจเปนพวกเจาของทรัพย เจาพนักงาน หรือผูครองทรัพยแทนเจาทรัพยก็ได และการปลนทรัพยกับการไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ รับอันตรายสาหัสหรือแกความตายน้ี ตอ งเปน การกระทาํ ทต่ี อ เนอื่ งกนั กบั การปลน ทรพั ยน น้ั มกี ารยงิ ตอ สกู บั เจา ทรพั ยแ ตก ระสนุ พลาดไปถกู พวกคนรายดวยกันตาย จําเลยจึงมีความผิดเพียงฐานปลนทรัพยโดยใชปนยิงและฐานฆาคนตาย โดยเจตนาเทานัน้ μÑÇÍÂÒ‹ § ®¡Õ Ò·èÕ ñôöõ/òõðø คนรา ยซง่ึ อยทู พี่ น้ื ดนิ ใชป น ยงิ สนุ ขั เหา จะกดั คนรา ยขณะคนรา ยอน่ื กาํ ลงั คน หาทรพั ย ถอื ไดว า การปลน ไดก ระทาํ โดยใชป น ยงิ เพราะคนรา ยยงิ สนุ ขั ทเี่ หา และจะกดั คนรา ย ในขณะท่คี นรายกําลังปลนบา นผเู สยี หาย เปนการกระทาํ ในการปลน ทรัพยน นั้ ดว ย เปนความผิดตาม มาตรา ๓๔๐ วรรคสี่ ®Õ¡Ò·èÕ ñùñ÷/òõññ ความผิดฐานปลนทรัพยเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตายตาม มาตรา ๓๔๐ วรรคทายนั้น หมายถึง บุคคลอ่ืนมิใชพวกปลนดวยกันเอง ฉะนั้นการที่จําเลยกับพวก ปลนทรัพยและใชปนยิงเจาทรัพยบาดเจ็บกระสุนพลาดไปถูกพวกคนรายดวยกันตาย จําเลยจึงผิด เพียงฐานปลนทรพั ยโดยใชปนยิง และฐานฆา คนตายโดยเจตนา ®¡Õ Ò·èÕ õõù/òõñ÷ จาํ เลยกบั พวกอีก ๓ คน ซงึ่ ไมป รากฏวาเปนคนท่ีคุน เคยชอบพอ กบั ผเู สยี หายพอทจี่ ะขอเงนิ กนั ได มาเตะรว้ั สังกะสีและระเบยี งเรือนของผเู สยี หาย ผูเ สยี หายออกมาดู จําเลยขอเงิน ๑๒ บาท ผูเสียหายวาไมมี จําเลยกับพวกชวยกันเตะร้ัวและระเบียงเรือน จนสังกะสี หลดุ ๓ แผน ไมระแนงเรอื นหลุดหลายอัน ถือไดวา เปนการขเู ข็ญวา ในทันใดนนั้ จะใชกําลงั ประทุษรา ย ผูเสยี หายกลัวร้ัวจะพงั และกลวั ถกู ทาํ ราย จงึ ตองยอมใหเ งินแกจาํ เลยไป ๑๐ บาท จําเลยรับเงินแลว ยังพูดขเู ข็ญอกี วา ทหี ลังถา กูมา อยากไดอ ะไรใหตามใจกนู ะ ซง่ึ เขาใจไดวา ถา ไมใ หจ ะตอ งถูกทาํ รา ย การกระทาํ ของจําเลยเปน ปลน ทรัพย

๒๐๘ ®Õ¡Ò·Õè ùøð/òõñù เมอ่ื จาํ เลยที่ ๑ มอี าวุธ (มดี ) ตดิ ตัวไปดว ยในการปลน แมจ าํ เลย ท่ี ๑ จะมไิ ดใชหรือแสดงอาวุธในการกระทําความผดิ และจาํ เลยท่ี ๒ ไมรูว าจําเลยที่ ๑ มอี าวธุ ก็ตาม จําเลยที่ ๒ กต็ อ งมีความผดิ ตามมาตรา ๓๔๐ วรรคสอง ®Õ¡Ò·Õè ÷÷ø/òõñù มาตรา ๓๔๐ ตรนี น้ั ตอ งไดค วามวา ไดช งิ ทรพั ยโ ดยใชย านพาหนะ เพือ่ กระทําผิด ไมใชช ิงรถจกั รยานยนตพ าไป ®¡Õ Ò·Õè ñôöõ/òõñù (ประชมุ ใหญ) จาํ เลย ๓ คนใชเ สน ลวดขงึ กน้ั สะพานบนถนนดกั รถ ทผ่ี า นมาใหช นเพอ่ื เอาทรพั ย มผี ขู บั รถหกลอ มาเหน็ เสน ลวดและหยดุ ไดห า ง ๓ วา การกระทาํ ของจาํ เลย ทง้ั สามมใิ ชเ ปน เพยี งขน้ั ตระเตรยี มแตเ ปน การลงมอื กระทาํ ความผดิ แลว แตก ระทาํ ไปไมต ลอดถอื ไดว า จาํ เลยพยายามกระทาํ ความผดิ และเปนการพยายามกระทําความผิดฐานปลน ทรพั ย ®Õ¡Ò·Õè ôñóð/òõòø จําเลยท่ี ๑ เอาเหล็กขูดชารปมาวางบนตัวใหผูเสียหายเห็น ในขณะน่ังติดกันอยูในรถยนตโดยสารประจําทาง แลวพูดขอแวนตาจากผูเสียหาย แลวจําเลยท่ี ๑ หยิบเอาแวนตาของผูเสียหายจากกระเปาเสื้อและดึงสเกลจากในสมุดผูเสียหายไป ยอมเปน การลกั ทรพั ย โดยขเู ขญ็ วา ทันใดนั้นจะใชกาํ ลงั ประทุษรา ยอนั เปนความผิดฐานชิงทรพั ย ตาม ม.๓๓๙ ขณะเดียวกันนน้ั จําเลยที่ ๒ ท่ี ๓ ซ่ึงขึน้ รถยนตโ ดยสารประจาํ ทางไปพรอมกบั จาํ เลยท่ี ๑ และยนื อยู ใกลก ับจําเลยที่ ๑ ตา งเขาไปหยิบทรัพยจากกระเปาเส้อื และจากในมอื ผูเสยี หาย แสดงวาจาํ เลยท่ี ๒ ที่ ๓ ทราบถงึ การกระทาํ ของจาํ เลยท่ี ๑ โดยตลอด ถอื ไดว า จาํ เลยท่ี ๒ ท่ี ๓ รว มชงิ ทรพั ยก บั จาํ เลยท่ี ๑ ดว ยการกระทําของจําเลยจงึ ถอื เปน ความผิดฐานปลนทรัพย ®Õ¡Ò·èÕ ùòôñ/òõô÷ จําเลยกับพวกนําธูปซ่ึงมีสวนผสมของส่ิงของบางอยางที่ทําให มึนเมาออกมาใหโจทกรวมและ บ. ดม ทําใหโจทกรวมเกิดอาการมึนศีรษะเปนเหตุใหอยูในภาวะ ไมส ามารถขดั ขนื ไดแ ลว จาํ เลยกบั พวกอกี ๒ คน ไดล กั ทรพั ยข องโจทกร ว มไป ถอื ไดว า เปน การลกั ทรพั ย โดยใชกําลังประทุษรายเพื่อใหความสะดวกแกการลักทรัพยและการพาทรัพยน้ันไป เมื่อรวมกระทํา ความผิดตงั้ แต ๓ คนขน้ึ ไป การกระทาํ ของจาํ เลยจึงเปน ความผิดฐานปลน ทรัพย ø. ©ÍŒ ⡧ ÁÒμÃÒ óôñ “ผูใดโดยทุจริต หลอกลวงผูอ่ืนดวยการแสดงขอความอันเปนเท็จ หรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง และโดยการหลอกลวงดังวาน้ันไดไปซ่ึงทรัพยสินจาก ผูถูกหลอกลวง หรือบุคคลท่ีสาม หรือทําใหผูถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ทํา ถอน หรือทําลาย เอกสารสิทธิ ผูนั้นกระทําความผิดฐานฉอโกง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกิน หกหม่นื บาท หรือท้งั จาํ ทัง้ ปรบั ” ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. หลอกลวงผอู ื่น ๑.๑ ดวยการแสดงขอ ความอนั เปน เทจ็ หรอื ๑.๒ ดว ยการปกปดขอ ความจริงซงึ่ ควรบอกใหแจง

๒๐๙ ๒. โดยการหลอกลวงนัน้ ๒.๑ ไดไ ปซึง่ ทรัพยสนิ จากผูถกู หลอกลวง หรือบคุ คลทสี่ าม หรอื ๒.๒ ทําใหผ ูถ กู หลอกลวง หรอื บุคคลท่สี าม ทาํ ถอน หรือทําลายเอกสารสทิ ธิ ๓. โดยเจตนาทุจริต คาํ ͸ºÔ Ò ๑. การหลอกลวงผูอ ืน่ นั้น หมายความวา เปน การกระทําใหผูอ่ืนหลงผดิ หรอื สาํ คัญผิด ๒. การหลอกลวงผอู ่นื นี้ ยอ มกระทาํ ไดเ ปน ๒ ทางดวยกนั คือ ๒.๑ ดวยการแสดงขอความอันเปนเทจ็ หรอื ๒.๒ ดว ยการปกปด ขอความจรงิ ซง่ึ ควรบอกใหแ จง การแสดงขอความหรือขอเท็จจริงน้ัน อาจแสดงทางวาจา ลายลักษณอักษร ทางเคร่ือง กระจายเสียง เครื่องบันทึกเสียง วิทยุ แผนเสียง ภาพ หรือภาพยนตร โทรศัพท หรือโทรทัศนก็ได และการแสดงดังกลาวน้ี อาจเปนการแสดงโดยตรงของผูแสดงตามวิธีการตางๆ ดังกลาวแลว หรือ โดยปริยายทางกิริยาทาทางท่ีแสดงออกมาก็ได เชน การพยักหนาแสดงการยอมรับ หรือโดยกิริยา ทาทางอื่นๆ ๓. ดวยการแสดงขอความอันเปนเท็จ หมายความวา เปนการแสดงยืนยันขอเท็จจริง อยางใดอยางหนึ่ง ซ่ึงเกิดขึ้นแลวหรือกําลังเกิดอยูในขณะแสดงขอเท็จจริง ซึ่งผูแสดงรูอยูแลววา ขอเท็จจริงท่ีแสดงออกน้ันเปนความเท็จ เพื่อใหผูอื่นหลงเชื่อวาเปนความจริงตามท่ีแสดงน้ัน โดยไมใ ชค วามคิดเห็น หรอื เปน การคาดคะเนลวงหนาของผูแสดง การแสดงขอความซึ่งจะเกิดขึ้นตอไปในภายหนาที่คาดคะเนเอาไวลวงหนาน้ัน เปนการ กลาวหรือแสดงถึงเร่ืองอนาคตซ่ึงจะเกิดขึ้นหรือไมก็ไดนั้นไมใชการแสดงขอเท็จจริงอันเปนเท็จ เพราะเมือ่ ยงั ไมเกิดข้นึ ยอ มทราบไมไ ดวาเท็จจรงิ ๔. การแสดงปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงหมายความถึงการหลอกลวง ซึ่งผูกระทําการหลอกลวงน้ันแสดงการปกปดขอความจริงอันควรบอกใหแจง โดยผูหลอกลวงรูอยูวา ขอความจริงหรือเหตุการณนั้นมีอยูอยางไร กลับนิ่งเสียไมบอกใหแจงโดยเจตนาใหผูถูกหลอกลวง เขา ใจผดิ และหลงเช่อื ตามน้ัน โดยไมใ ชการหลงลมื เพราะไมรคู วามจรงิ ทีป่ กปด นนั้ ๕. องคประกอบความผิดขอ ๒. คือ การหลอกลวงโดยการแสดงตามองคประกอบ ขอ แรกนั้นทําใหผูห ลอกลวง ๕.๑ ไดไปซง่ึ ทรพั ยสนิ จากผูถกู หลอกลวงหรือบคุ คลที่ ๓ หรือ ๕.๒ ทําใหผถู ูกหลอกลวงหรือบคุ คลท่ี ๓ ทํา ถอน หรอื ทําลายเอกสารสทิ ธิ การหลอกลวงการแสดงขอความเท็จหรือปกปดขอความจริงซ่ึงควรบอกใหแจงไมเกิด ผลขึน้ เพราะ ๑) ผถู กู หลอกลวงไมห ลงเชอื่ จงึ ไมไ ดไ ปซงึ่ ทรพั ยส นิ หรอื ไมไ ดท าํ ถอน หรอื ทําลายเอกสารสิทธิ

๒๑๐ ๒) ผูถูกหลอกลวงไมหลงเชื่อ แตทําเปนเช่ือ จึงสงทรัพยสินใหไป จะเปน เพราะความเมตตาสงสาร หรอื เพอ่ื จะใหเ ปน หลักฐานในการจับกมุ ๓) ผูถูกหลอกลวงหลงเชื่อแตไมมีทรัพยสินจะใหหรือใหทรัพยสินแลว แตเอาไป ไมไดไมว าเพราะเหตใุ ด ทั้ง ๑), ๒) และ ๓) นี้เรียกวาผูหลอกลวงนั้น ลงมือกระทําความผิดฐานฉอโกงแลว แตกระทําไปไมตลอดเพราะผูถูกหลอกลวงไมเ ช่อื และกระทาํ ไปตลอดแลวแตไมบ รรลผุ ล คอื ไมไดไ ป ซึ่งทรัพยสินจากผูถูกหลอกลวง จึงมีความผิดเพียงฐานพยายามฉอโกงตามความในมาตรา ๘๐, ๓๔๑ เทานั้น เพราะความผิดฐานฉอโกงจะเปนความผิดสําเร็จ แตเมื่อผูถูกหลอกลวงเช่ือ และสงมอบทรัพยสินน้ันใหมาอยูในความครอบครองยึดถือของผูหลอกลวง หรือผูถูกหลอกลวง ทํา ถอน หรอื ทําลายเอกสารสิทธนิ ้ันแลว ๖. องคประกอบขอสุดทายคือ เจตนาทุจริตหมายความวาเปนการกระทําโดยเจตนา ธรรมดาตามมาตรา ๕๙ คอื กระทาํ โดยรสู าํ นกึ และประสงคต อ ผล หรอื ยอ มเลง็ เหน็ ผลแหง การกระทาํ น้ันไดและประกอบกับมีเหตุจูงใจโดยทุจริต ซ่ึงเปนการแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวย กฎหมายสาํ หรับตนเองหรอื ผอู น่ื ดว ย เจตนาทจุ รติ จะตอ งเกิดขนึ้ เม่อื ใด เจตนาทจุ รติ เก่ียวกบั การหลอกลวงที่จะเปนความผดิ ฐานฉอโกงนี้ จะตองมีเจตนาทุจริตมากอนท่ีจะกระทําการหลอกลวง หรือในขณะกระทําการ หลอกลวงนัน้ เพ่ือใหเ ขาหลงเช่ือสงมอบทรพั ยส ินให หรือใหเขา ทาํ ถอน หรอื ทาํ ลายเอกสารสิทธินน้ั ถาเจตนาทุจริตเกิดขึ้นหลังจากไดทรัพยสินไปไวในความยึดถือครอบครองแลว ไมเปนความผิด ฐานฉอโกง แตเปนความผิดฐานยักยอก น่ีคือขอแตกตางในสาระสําคัญของความผิดฐานฉอโกง กบั ความผดิ ฐานยกั ยอกทรพั ย μÇÑ Í‹ҧ ®Õ¡Ò·Õè ùðñ/òô÷ö ปลอมใบส่ังซ้ือนมของ รพ.ศิริราช สั่งใหหางขายนมใหที่สะพาน ทาชาง หางโทรศัพทไปถามโรงพยาบาล รูวาถูกหลอก จึงแจงตํารวจ ตํารวจบอกใหหางซอนกล สงนมใหจ ําเลย เพอ่ื จะคอยดกั จบั กุมคนรา ย เปน พยายามฉอโกง เปนการกระทาํ ตลอดแตไ มบ รรลผุ ล เพราะเจาทรัพยไ มห ลงเชอ่ื คําเทจ็ ®¡Õ Ò·Õè ñõõô/òõññ ขอซื้อโคจากผูเสียหายโดยใหผูเสียหายนําโคไปสงท่ีบานจําเลย แลว จาํ เลยจะชาํ ระราคาใหเ มอ่ื ผเู สยี หายนาํ โคไปสง ใหแ ลว จาํ เลยกลบั บา ยเบย่ี งขอชาํ ระใหใ นวนั รงุ ขนึ้ และคนื นน้ั จาํ เลยกพ็ าโคหนไี ป ดงั นี้ เหน็ ไดว า จาํ เลยมเี จตนาทจุ รติ หลอกลวงผเู สยี หายโดยไมม เี จตนา จะใชราคาโคมาแตเริ่มตน จึงเปนความผิดฐานฉอโกง อันน้ีมองดูแลวจะเห็นไดวามีการหลอกลวง เพราะฉะน้นั กต็ ัดสินวา เปน ความผิดฐานฉอโกง ®¡Õ Ò·èÕ øöó/òõñó การท่ีจําเลยนําตัวบุคคลอื่นมาแสดงวาเปนเจาของทรัพยท่ีจะยื่น ขอประกันตอศาลขอใหโจทกรับรองหลักทรัพย ซึ่งโจทกหลงเชื่อจึงรับรองหลักทรัพยน้ันตอศาล

๒๑๑ และศาลใหประกันไป ตอมาจําเลยหลบหนีดังนี้ วินิจฉัยวาหนังสือรับรองหลักทรัพยเปนเอกสารสิทธิ ในการที่จําเลยไดประกันตัวไป ถือวาไดรับประโยชนแลวจึงเปนการทุจริต จําเลยยอมมีความผิดฐาน ฉอ โกงตามมาตรา ๓๔๑ ศาลฎีกาวนิ ิจฉัยวา หนังสือรบั รองหลักทรัพยน ัน้ เปน เอกสารสทิ ธิ ®Õ¡Ò·Õè òôôð/òõòõ จําเลยหลอกลวงผูเสียหายวาสามารถนําบุตรสาวผูเสียหาย เขาเรียนเปนผูชวยพยาบาลของโรงพยาบาลไดโดยไมตองสอบคัดเลือกเขาเรียน และเรียกรองเอาเงิน จากผูเสียหาย จําเลยหลอกลวงผูเสียหายเพื่อตองการไดเงินจากผูเสียหายเทานั้น ดังนี้จําเลยยอมมี ความผิดตามมาตรา ๓๔๑ ®Õ¡Ò·èÕ òõøñ/òõòù จําเลยท้ังสองข่ีรถจักรยานยนตซอนกันเขาไปเติมน้ํามัน เมื่อผูเสียหายขอเงินคานํ้ามัน จําเลยท่ี ๒ กลับตอบวาไมมีเงินมีแตนี่เอาไหม ขณะพูดจําเลยที่ ๒ ถือลกู กลมๆ คลายลกู ระเบิด แลว จําเลยทง้ั สองก็ขีร่ ถจักรยานยนตออกไป การกระทาํ ของจําเลยทั้ง ๒ เปนความผดิ ฐานฉอโกง ù. ©ÍŒ ⡧»ÃЪҪ¹ ÁÒμÃÒ óôó ถา การกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๓๔๑ ไดก ระทาํ ดว ยการแสดงขอ ความ อันเปนเท็จตอประชาชน หรือดวยการปกปด ความจริง ซงึ่ ควรบอกใหแ จง แกประชาชน ผกู ระทาํ ตอ ง ระวางโทษจาํ คุกไมเ กินหาป หรอื ปรบั ไมเ กินหน่งึ แสนบาท หรอื ทง้ั จาํ ทงั้ ปรับ ฉอโกงอันมีลักษณะฉกรรจตามมาตราน้ี จะเปนการหลอกลวงดวยการแสดงขอความ อัน “เท็จ” ก็ดี หรือปกปดขอความซ่ึงควรบอกใหแจงก็ดี ขอสําคัญก็คือการหลอกลวงประชาชน ถาหลอกลวงเพียงคนเดยี วไมเปน ความผิดที่เขามาตราน้ี (ฎกี าท่ี ๑๒๒/๒๕๐๖) อนง่ึ การกระทาํ อนั จะเปน ความผดิ ตามมาตราน้ี ผกู ระทาํ จะตอ งกระทาํ ดว ยเจตนาแสดง ขอความอันเปนเท็จตอประชาชนโดยทั่วไป จะถือเอาจํานวนผูเสียหายท่ีถูกหลอกลวงมากหรือนอย และผลเสียหายอันเกิดจากคําหลอกลวงมากหรือนอยเปนหลักในการพิจารณาวาเปนการกระทํา ท่ีมีเจตนาแสดงขอ ความอนั เปนเท็จตอประชาชนโดยทัว่ ไปหาไดไ ม ®Õ¡Ò·èÕ òôøö/òõòø จําเลยประกาศรับสมัครคนงานไปทํางานตางประเทศ จนผเู สียหาย กลมุ หนงึ่ รวม ๗ คน หลงเช่อื ไปสมคั รเพอ่ื ทํางานตามทจี่ าํ เลยประกาศ จาํ เลยกบั พวก รับเงินผูเสียหายไวเปนจํานวนมาก แตผูเสียหายไมไดทํางานยังตางประเทศที่จําเลยกับพวกประกาศ ชักชวน ดังนี้ การกระทําของจําเลยยอมถือไดวาจําเลยโดยทุจริตหลอกลวงประชาชน รวมทั้ง ผเู สยี หายดว ยการแสดงขอ ความอนั เปน เทจ็ และโดยการหลอกลวงไดไ ปซงึ่ ทรพั ยส นิ จาํ เลยจงึ มคี วามผดิ ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๓ ®¡Õ Ò·Õè õöó/òõóñ จําเลยทําเอกสารขึ้นมีลักษณะเปนคําถามคลายขอสอบและต้ัง โตะขายเอกสารดังกลาวโดยจําเลยกลาวโฆษณาที่หนา ม.รามคําแหงวา จําเลยมีขอสอบวิชา ๓๓๑ กับ ๔๐๘ ท่ีกําลังจะสอบในไมก่ีวันขางหนาขาย ซึ่งเปนขอความอันเปนเท็จ แตการกระทําดังกลาว เปนการหลอกลวงแกนักศึกษา ม.รามคําแหง ไมเปนการหลอกลวงประชาชนท่ัวไป จึงเปนความผิด ฐานฉอ โกงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๑ ไมเ ปนความผิดตาม มาตรา ๓๔๓

๒๑๒ จําเลยยังไมสําเร็จการศึกษาช้ันปริญญาตรี แตไดกางกระเปาหนังสือ ซึ่งมีภาพจําเลย สวมเส้ือครุยปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิตของ ม.รามคําแหงไวบนโตะ ขายขอสอบ ม.รามคําแหง เพอ่ื แสดงแกผ ทู พี่ บเหน็ ใหเ ชอื่ วา จาํ เลยสาํ เรจ็ ปรญิ ญาตรคี ณะนติ ศิ าสตรข อง ม.รามคาํ แหง การกระทาํ ของจาํ เลยเปนความผิดตามมาตรา ๔๘ ของ พ.ร.บ.ฯ ม.รามคาํ แหง พ.ศ.๒๕๑๔ ñð. ⡧à¨ÒŒ ˹Õé ÁÒμÃÒ óôù “ผใู ดเอาไปเสยี ทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย ทาํ ใหเ สอ่ื มคา หรอื ทาํ ใหไ รป ระโยชน ซ่ึงทรัพยอันตนจํานําไวแกผูอ่ืน ถาไดกระทําเพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูรับจํานํา ตองระวางโทษ จาํ คกุ ไมเกินสองป หรือปรับไมเ กนิ สหี่ ม่ืนบาท หรอื ทัง้ จาํ ทงั้ ปรบั ” ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. เอาไปเสีย ทาํ ใหเสยี หาย ทาํ ลาย ทําใหเ สือ่ มคา หรือทาํ ใหไ รป ระโยชน ๒. ซึง่ ทรพั ยอ นั ตนจํานาํ ไวแกผูอ่นื ๓. เพื่อใหเกดิ การเสยี หายแกผ รู ับจํานํา ๔. โดยเจตนา คํา͸ԺÒ ๑. คําวา “จํานํา” นั้นคือสัญญาซ่ึงบุคคลหน่ึงเรียกวาผูจํานํา สงมอบสังหาริมทรัพย สงิ่ หนงึ่ ใหแ กบ คุ คลอกี คนหนงึ่ เรยี กวา ผรู บั จาํ นาํ เพอื่ เปน การประกนั การชาํ ระหนตี้ ามประมวลกฎหมาย แพง และพาณิชยมาตรา ๗๔๗ และตามความในพระราชบญั ญัตโิ รงรบั จํานาํ ๒. สาระสําคัญของการจํานําก็คือ การสงมอบสังหาริมทรัพยไวในครอบครอง ของผูรับจํานําเพียงแตกลาววาเอาทรัพยสิ่งน้ันจํานําไว แตมิไดสงทรัพยนั้นใหอยูในความครอบครอง ของผรู บั จาํ นาํ หรอื ตวั แทนของผรู บั จาํ นาํ แลว กไ็ มเ รยี กวา เปน การจาํ นาํ ฉะนน้ั ตามองคป ระกอบความผดิ ขอ ๒ ที่วา “ทรัพยอันตนจํานําไวแกผูอ่ืน” นั้น จึงหมายถึงสังหาริมทรัพยซึ่งตนไดสงมอบ ความครอบครองเปน จํานาํ ใหผรู ับจาํ นาํ แลว ๓. การเอาไปเสีย ทําใหเสียหาย ทําลาย ทําใหเส่ือมคาหรือทําใหไรประโยชนน้ัน ตองเปนการกระทําโดยตัวผูจํานําเอง และโดยเจตนาเพ่ือใหเกิดความเสียหายแกผูรับจํานําจึงจะเปน ความผิด มาตรานี้ ถาผูอื่นกระทําไมเปนความผิดตามมาตรานี้ เวนแตจะเปนการรวมกระทําผิดกับ ผูจํานาํ ในฐานะตัวการตามมาตรา ๘๓ หรอื ใชใหก ระทําความผิดตามมาตรา ๘๔ และอาจมีความผิด ในมาตราอน่ื เชน ลักทรัพยหรอื ทาํ ใหเสยี ทรพั ย เปนตน μÇÑ ÍÂÒ‹ § ®¡Õ Ò·Õè ñðõð/òõð÷ จําเลยทําสัญญากูเงินโจทกโดยเอาท่ีดินเปนประกันเงินกู ตอมาจําเลยเอาทีด่ นิ แปลงน้ไี ปจาํ นอง การกระทําดังนีไ้ มเปนความผดิ ตามมาตรา ๓๔๙ และ ๓๕๐ ®¡Õ Ò·èÕ öõð/òõñð จําเลยจํานําสรอยทองคําของตนไวกับผูเสียหาย เพ่ือเอาเงิน มาเลนการพนัน แลวจําเลยกระชากสรอยเสนนี้ไปจากคอผูเสียหาย ไมเปนความผิดฐานชิงทรัพย เพราะสรอ ยเสนนน้ั เปน ของจาํ เลยเอง

๒๑๓ ®Õ¡Ò·èÕ óöøô-õ/òõóò จําเลยไดจํานําทรัพยสินไวแกผูเสียหาย การที่จําเลยกับ พวกรวมกันขนยายทรัพยสินที่จาํ นาํ ไปจากสถานที่เก็บรักษาโดยอางวาทรัพยสินเหลาน้ันเปนของ บุคคลอ่ืนยอมเปนการทําใหเกิดความเสียหายแกผูรับจํานาํ เพราะเปนการทําใหทรัพยสินที่เปน หลกั ประกันการจํานาํ ลดจํานวนลง หรือหมดส้นิ ไป ผดิ ตามมาตรา ๓๔๙ ÁÒμÃÒ óõð ผใู ดเพอ่ื มใิ หเ จา หนขี้ องตนหรอื ของผอู น่ื ไดร บั ชาํ ระหนท้ี ง้ั หมดหรอื แตบ างสว น ซึ่งไดใชหรือจะใชสิทธิเรียกรองทางศาลใหชําระหนี้ ยายไปเสีย ซอนเรน หรือโอนไปใหแกผูอ่ืน ซงึ่ ทรพั ยใ ดกด็ ี แกลง ใหต นเองเปน หนจี้ าํ นวนใดอนั ไมเ ปน ความจรงิ กด็ ี ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ สองป หรอื ปรบั ไมเ กนิ ส่ีหม่ืนบาท หรอื ทงั้ จาํ ท้ังปรบั ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ยายไปเสีย ซอนเรน หรือโอนไปใหแกผูอื่น หรือแกลงใหตนเองเปนหน้ีจํานวนใด อนั ไมเปน ความจรงิ ๒. ซึง่ ทรัพยใ ด ๓. เพื่อมใิ หเจา หน้ีของตนหรอื ของผูอ่ืนไดรบั ชาํ ระหนท้ี งั้ หมดหรือแตบ างสวน ๔. โดยเจตนา คํา͸ԺÒ ๑. ผูก ระทําความผดิ คอื ตวั ลูกหน้ี รวมถึงผอู ่ืน ซ่งึ รว มกระทาํ ความผดิ กบั ลกู หน้ี ๒. มาตรานี้ ทรพั ยย งั อยใู นความครอบครองของลกู หน้ี เพยี งแตย า ยทตี่ งั้ ทรพั ยเ พอ่ื หลบเลยี่ ง เจาหนี้ เชน ยายทรัพยไปเก็บไวท่ีบานของผูอ่ืน หรือซอนเรนไมใหเจาหน้ีเห็นหรือโอนไปใหแก ผอู ื่น ซึง่ การโอนน้ี หมายถงึ การโอนกรรมสทิ ธไ์ิ ปใหกับบคุ คลอน่ื ๓. ทรัพยตามมาตราน้ี จะเปนสงั หารมิ ทรัพยหรืออสังหารมิ ทรพั ยกไ็ ด ๔. การแกลงใหตนเองเปนหน้ีจํานวนใดอันไมเปนความจริง เปนการแกลงใหตนเองมี ภาระผกู พนั เพื่อใหผ ูอนื่ สามารถเรียกรองเอาแกท รพั ยสนิ ของตนไดใ นอนาคต โดยเปนความผดิ สําเรจ็ ทันทีเมื่อมีการแกลงใหตนเองเปนหน้ี เพ่ือมิใหเจาหน้ีของตนหรือของผูอื่นไดรับชาํ ระหน้ีทั้งหมด หรอื แตบางสวน ®¡Õ Ò·Õè óñó÷/òõöð ความผดิ ฐานโกงเจา หน้ี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๐ จะตอ งเปน การยา ยไปเสยี ซอ นเรน หรอื โอนไปใหแ กผ อู น่ื ซง่ึ ทรพั ยใ ดกด็ ี แกลง ใหต นเองเปน หนจี้ าํ นวนใด อันไมเปนความจริงก็ดี โดยผูกระทําความผิดจะตองมีมูลเหตุชักจูงใจอันเปนเจตนาพิเศษเพื่อมิให เจาหนี้ของตนหรือของผูอื่นไดรับชาํ ระหนี้ท้ังหมดหรือแตบางสวน ซึ่งไดใชหรือจะใชสิทธิเรียกรอง ทางศาลใหช าํ ระหน้ี หนตี้ ามสญั ญาซอื้ ขายทองคําทง้ั ๓ ฉบบั ระหวา งจําเลยทง้ั สองÁãÔ ªà‹ »¹š ˹·éÕ ÁÕè ÍÕ Â¨‹Ù Ã§Ô áÅк§Ñ ¤ºÑ ä´μŒ ÒÁ¡®ËÁÒ สาเหตทุ ม่ี กี ารทาํ สญั ญาซอื้ ขายทองคําทง้ั ๓ ฉบบั เนอื่ งมาจากจําเลยท่ี ๒ ใหจาํ เลยที่ ๑ ทําสัญญาซื้อขายทองคาํ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการถอนอายัดเงินเดือนใหแกจาํ เลยท่ี ๑ และจาํ เลยท่ี ๑ มคี วามเดอื ดรอ นทางดา นการเงนิ จนไปขอกยู มื เงนิ จากจาํ เลยที่ ๒ อกี จาํ เลยท่ี ๒ จงึ ให จาํ เลยที่๑ทําสญั ญาซอื้ ขายทองคําขน้ึ มาอกี ๒ฉบบั การทําสญั ญาซอ้ื ขายทองคําทง้ั ๓ฉบบั ระหวา งจําเลย

๒๑๔ ทั้งสอง แมเปนการแกลงใหตนเองเปนหน้ีจํานวนใดอันไมเปนความจริง áμ‹¡çÁÔä´ŒÁÕÁÙÅàËμتѡ¨Ù§ã¨ Íѹ໚¹à¨μ¹Ò¾ÔàÈÉ à¾×èÍÁÔãˌ਌Ò˹Õé¢Í§μ¹ËÃ×ͧ͢¼ŒÙÍè׹䴌ÃѺªíÒÃÐ˹Õé·Ñé§ËÁ´ËÃ×Íáμ‹ºÒ§Ê‹Ç¹ «§èÖ ä´ŒãªŒËÃÍ× ¨ÐãªŒÊ·Ô ¸àÔ ÃÂÕ ¡ÃŒÍ§·Ò§ÈÒÅã˪Œ Òí ÃÐ˹Õé การกระทาํ ดงั กลาวไมเ ขา องคประกอบความผิด ฐานโกงหน้ีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๐ ®Õ¡Ò·Õè ôøöô/òõöò แมพฤติการณของจําเลยที่ ๑ ที่โอนขายหองชุดของตนกอน วันที่ศาลจังหวัดพัทยาพิพากษาคดีแพงเพียง ๑ วัน แลวยักยายถายเทหรือยายไปเสียซ่ึงเงินท่ีได จากการขายหอ งชดุ ดังกลาว เปน การสอแสดงใหเ หน็ วา จําเลยที่ ๑ อาจมเี จตนาพเิ ศษเพ่ือวา เม่ือโจทก ชนะคดีแพงแลว โจทกจะไมสามารถบังคับชําระหนี้จากจาํ เลยท่ี ๑ ไดทั้งหมดหรือแตบางสวนก็ตาม แตเมื่อคดีแพงท่ีโจทกอางเปนมูลเหตุฟองจาํ เลยที่ ๑ เปนคดีอาญาเร่ืองน้ี ถึงท่ีสุดแลวโดยศาลฎีกา ไดพิพากษายืนตามคาํ พิพากษาศาลอุทธรณภาค ๒ วา จําเลยมิไดผิดสัญญาซ้ือขายหุนกับโจทก จงึ ไมต อ งคนื เงนิ คา หนุ ๓,๘๐๐,๐๐๐ บาท พรอ มดอกเบยี้ ใหแ กโ จทก และพพิ ากษากลบั ใหย กฟอ งโจทก ตามสาํ เนาคาํ พพิ ากษาศาลฎกี าที่ ๕๒๐๗/๒๕๖๐ Á¼Õ ÅãËÃŒ ÐËÇÒ‹ §â¨·¡¡ ºÑ จําàÅ·èÕ ñ äÁÁ‹ ÁÕ Å٠˹μÕé Í‹ ¡¹Ñ à·Ò‹ ¡Ñºâ¨·¡á ÅÐจําàÅ·Õè ñ äÁ‹ä´àŒ »š¹à¨ÒŒ ˹áÕé ÅÐÅ١˹¡éÕ ¹Ñ ดงั นี้ กไ็ มอ าจมีการกระทําความผดิ ตาม มาตรา ๓๕๐ แหง ประมวลกฎหมายอาญาดงั ที่โจทกอ างมาได ที่ศาลอุทธรณภ าค ๒ พพิ ากษายกฟอ ง โจทกม านนั้ ศาลฎกี าเหน็ พอ งดวยในผล ฎีกาของโจทกฟ งไมข ้ึน ññ. ÂÑ¡ÂÍ¡ ÁÒμÃÒ óõò “ผูใดครอบครองทรัพยซึ่งเปนของผูอ่ืน หรือซึ่งผูอ่ืนเปนเจาของ รวมอยูดวยเบียดบังเอาทรัพยนั้นเปนของตน หรือบุคคลที่สามโดยทุจริต ผูน้ันกระทาํ ความผิดฐาน ยักยอก ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเ กินสามป หรอื ปรับไมเกนิ หกหม่นื บาท หรือท้ังจาํ ท้งั ปรับ ถาทรพั ยน้ันไดต กมาอยใู นความครอบครองของผูกระทําความผดิ เพราะผอู ่นื สง มอบให โดยสําคญั ผดิ ไปดว ยประการใด หรอื เปน ทรพั ยส นิ หายซงึ่ ผกู ระทําความผดิ เกบ็ ได ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษ แตเ พยี งกง่ึ หนงึ่ ” ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ๑. ครอบครองทรพั ย ๒. ทรัพยเปนของผอู นื่ หรอื ผูอื่นเปน เจา ของรวมอยูดว ย ๓. เบยี ดบงั เอาทรัพยน ้ันเปน ของตน หรอื ของบคุ คลทสี่ าม ๔. โดยเจตนาทุจรติ คํา͸ºÔ Ò ๑. คําวา “ครอบครอง” หมายความถึงวา ทรัพยนั้นไดตกเขามาอยูในความยึดถือ ของตนไมวาทรัพยนั้นจะตกเขามาอยูในความยึดถือของตนโดยบุคคลอ่ืนมอบใหโดยตรงหรือเปน การครอบครองทรัพยน้ันโดยไมมีผูอ่ืนมอบให แตทรัพยไดตกเขามาอยูในความยึดถือครอบครอง ของตน ซงึ่ อาจแยกไดเ ปน การครอบครองโดยตรงอยา งหนงึ่ และการครอบครองโดยปรยิ ายอยา งหนง่ึ ทงั้ สองอยางเปนการครอบครองตามความหมายของมาตรานี้

๒๑๕ ๑.๑ การครอบครองโดยตรง ไดแก การท่ีเจาของทรัพยหรือตัวแทนของเจาของ ทรัพยสงมอบทรัพยนั้นใหแกผูอื่นเพื่อครอบครองดูแลรักษา และผูอ่ืนน้ันไดรับมอบทรัพยน้ันมาอยู ในความครอบครองดูแลรักษาของตน นับแตบัดน้ันการมอบการครอบครองทรัพยก็เปนอันบริบูรณ ตามความหมายของมาตราน้แี ลว การครอบครองโดยตรงน้ี นอกจากเจาของทรัพยหรือตัวแทนสงมอบทรัพยแลว กรณี อาจเปน การครอบครองโดยผลของสญั ญาหรอื โดยผลของกฎหมายโดยตรงกไ็ ด เชน การรบั ฝาก จาํ นาํ จาํ นอง เชา หรือยืม เปน ตน สาระสาํ คัญในเรื่องการครอบครองโดยตรงน้ีตองเปนการสงมอบการครอบครองทรัพย จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยทรัพยที่สงมอบน้ันไดตกไปอยูในความยึดครองของบุคคลนั้น ถาไมมีการสงมอบการครอบครองใหยึดถือเพียงแตใหชวยดูแลทรัพยไวช่ัวครั้งช่ัวคราว ตามคําสั่งของ เจา ของทรพั ยแ ลว กรณีไมใ ชเ ร่อื งสง มอบการครอบครองใหย ึดถือ ถา เอาทรัพยน ้นั ไปโดยเจตนาทุจรติ มคี วามผดิ ฐานลกั ทรพั ย ๑.๒ การครอบครองโดยปริยาย คือ การที่บุคคลไดยึดถือครอบครองทรัพยของ อีกบุคคลหน่ึง โดยเจาของทรัพยหรือตัวแทนของเจาของทรัพยมิไดสงมอบใหยึดถือครอบครอง หรือ มไิ ดค รอบครองโดยผลแหง สญั ญา หรือมิใชโดยอํานาจแหง กฎหมาย การครอบครองดังกลา วเรยี กวา การครอบครองโดยปริยาย μÇÑ ÍÂÒ‹ § ก. ขึ้นรถรับจางแลวลืมกระเปาไวบนรถรับจางนั้น ผูขับรถรับจางเปนผูครอบครอง ทรพั ยข อง ก. โดยปรยิ าย ถา เจตนาทจุ รติ เบยี ดบงั เอาไปเปน ประโยชนส ว นตวั เสยี มคี วามผดิ ฐานยกั ยอก ๒. ทรัพยซ่ึงเปนของผูอื่นหรือซ่ึงผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย เรื่องน้ีมีความหมาย อยางเดียวกันกับเร่ืองทรัพยในความผิดลักทรัพยท่ีกลาวมาแลวในมาตรา ๓๓๔ คําวาทรัพยเปนของ ผอู น่ื ก็มีความหมายชัดอยใู นตัวแลว วาไมใชท รัพยข องตนเอง กลาวคอื ตนไมไ ดเปนเจาของทรัพยน น้ั ไมวาในทางกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง แตเปนการครอบครองทรัพยผูอ่ืนซึ่งเขาสงมอบทรัพยนั้น ใหมาอยูในความครอบครองดูแลของตน เมื่อมีเจตนาทุจริตเอาไปเปนประโยชนตนก็มีความผิดฐาน ยักยอก ถาไมไดมีการครอบครองทรัพยนั้น แตเปนเร่ืองเอาทรัพยของผูอ่ืนมาเปนของตน ความผิด กก็ ลายเปน เรอ่ื งลักทรพั ยไ ป เพราะเปน การเอาไปซึ่งทรพั ยผ อู ่ืน ทรพั ยซ งึ่ เปน เจา ของรวมกนั นน้ั ถา ทรพั ยน นั้ อยใู นความครอบครองของตนแลว เบยี ดบงั เอาเปน ของตนเสยี โดยทจุ รติ เปนความผดิ ฐานยักยอก ไมเปนความผิดฐานลักทรพั ย การเปน เจา ของทรพั ยร วมกนั นี้ มไิ ดจ าํ กดั วา จะเปน จาํ นวนกคี่ น ซงึ่ อาจจะเปน ๒, ๓ หรอื ๔ คน กไ็ ด ๓. เบยี ดบงั เอาทรพั ยน น้ั เปน ของตน หรอื บคุ คลทส่ี าม คาํ วา “เบยี ดบงั ” นหี้ มายความวา ยักยอกปดบังเอาไว ฉะนั้นการเบียดบังเอาทรัพยจึงเปนกรณีของผูที่ครอบครองทรัพยแสดงออก ภายนอกวาทรัพยนั้นเปนของตนเอง คือปดบังเอาทรัพยนั้นไวเปนของตน หรือปดบังเอาทรัพยน้ัน

๒๑๖ ใหแกบุคคลท่ี ๓ การแสดงออกวาตนเปนเจาของทรัพยน้ัน เชน บริโภคหรือแปรสภาพทรัพยนั้น จาํ หนา ยใหค นอน่ื ไป หรอื ซอ นเรน ทรพั ยน น้ั การเปลย่ี นแปลงรปู รา งหรอื เอาทรพั ยน น้ั มาใชอ ยา งเจา ของ พฤติการณต างๆ ดงั กลาวแสดงถึงการเบียดบงั เอาเปน เจา ของทรัพย ๔. องคป ระกอบขอสุดทา ยคือ “เจตนาทจุ ริต” นั้น เปนเจตนาพิเศษ กลา วคอื นอกจาก มีเจตนาธรรมดาตามมาตรา ๕๙ ประกอบดวยมูลเหตจุ งู ใจ เพื่อแสวงหาประโยชนท ม่ี ิควรไดโ ดยชอบ ดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่นตามความในมาตรา ๑ (๑) ซ่ึงมูลเหตุจูงใจพิเศษในเรื่องนี้ก็คือ การเบยี ดบงั เอาทรพั ยน นั้ เปนของตนหรอื ของบคุ คลทีส่ ามนน่ั เอง อนง่ึ ความผดิ ฐานยกั ยอกอนั เปน แมบ ทนกี้ เ็ หมอื นกบั ความผดิ อน่ื ๆ กลา วคอื การกระทาํ จะเปนความผิดน้ัน จะตองครบองคประกอบความผิดทุกขอ ถาขาดไปขอใดขอหน่ึงก็ยอมไมเปน ความผิดฐานยักยอก ÁÒμÃÒ óõò ÇÃä ò บญั ญัตวิ า “ถาทรัพยนั้นไดตกมาอยูในความครอบครองของผูกระทําความผิด เพราะผูอ่ืนสงมอบ ใหโดยสําคัญผิดไปดวยประการใด หรือเปนทรัพยสินหายซ่ึงผูกระทําความผิดเก็บได ผูกระทําตอง ระวางโทษแตเ พยี งกง่ึ หนง่ึ ” ความผิดตามวรรคสองน้ี เปนความผิดที่มีอัตราโทษนอยกวามาตรา ๓๕๒ วรรคแรก แตกอนจะเปนความผิดตามวรรคสองนี้ การกระทําจะตองครบองคประกอบความผิดฐานยักยอก ตามมาตรา ๓๕๒ วรรคแรกทกุ ประการ เวน แตอ งคป ระกอบขอ ครอบครองเทา นน้ั ซง่ึ วรรคสองบญั ญตั ิ ไวเ ปนพิเศษทจ่ี ะเปนความผิดตามวรรคสองนี้ กลา วคอื ๑. ทรัพยน้ันตกมาอยูในความครอบครองของผูกระทําความผิด เพราะผูอื่นสงมอบให โดยสําคัญผิดไปดว ยประการใด ๒. ทรพั ยน น้ั ตกมาอยใู นความครอบครองของผกู ระทาํ ความผดิ เพราะเปน ทรพั ยส นิ หาย ซ่งึ ผกู ระทาํ ผดิ เกบ็ ได ฉะนนั้ การกระทาํ จะเปน ความผดิ และไดร บั โทษตามมาตรา ๓๕๒ วรรคสองน้ี เพราะทรพั ย ทต่ี กมาอยใู นความครอบครองของผกู ระทาํ ผดิ เพราะผอู น่ื สง มอบใหโ ดยสาํ คญั ผดิ หรอื เปน ทรพั ยส นิ หาย ซง่ึ ผกู ระทาํ ผดิ เกบ็ ไดเ ทา นน้ั ถา ทรพั ยน นั้ ตกมาอยใู นความครอบครองของผกู ระทาํ ผดิ โดยประการอนื่ นอกจาก ๒ ประการนี้แลว ก็เปนการครอบครองตามความในมาตรา ๓๕๒ วรรคแรก คาํ วา “เพราะผอู นื่ สง มอบใหโดยสําคญั ผดิ ไปดว ยประการใด” นนั้ ตองเปนเรือ่ งสําคัญผิด ของผสู ง มอบใหฝ า ยเดยี ว ไมใ ชเ นอื่ งมาจากการหลอกลวงของผทู ที่ รพั ยน น้ั ตกมาอยใู นความครอบครอง ใหเขาสําคัญผิดสงทรัพยนั้นใหแกตน ถาเนื่องมาจากการหลอกลวงดังกลาวเขาจึงสงทรัพยให ยอ มจะเปนความผดิ ฐานฉอ โกงไป คาํ วา “สาํ คญั ผดิ ไปดวยประการใด” แยกออกได ๒ ประการ คือ สําคญั ผิดในตวั บุคคล และสาํ คญั ผดิ เกยี่ วดว ยทรพั ย

๒๑๗ ในประการที่ ๒ คําวา “เปน ทรพั ยส ินหายซง่ึ ผกู ระทาํ ผดิ เกบ็ ได” นัน้ หมายถงึ ทรพั ยสิน หายหรือตกหายโดยพนจากการยึดถือครอบครองของผูเปนเจาของ หรือผูครอบครองทรัพยน้ันแลว ทง้ั โดยตรงหรอื โดยปรยิ าย เชน แหวนหลดุ จากนวิ้ ไปไมท ราบวา ตกหายไป ณ ทใ่ี ด พอจะถอื ไดว า แหวนนนั้ พนจากการครอบครองของเจาของแลว ผูใดเก็บไดและไมดําเนินการตามกฎหมายกําหนดไวแลว เบยี ดบงั เอาเปนของตนเสียโดยทุจริต ยอมมีความผดิ ฐานยกั ยอกตามมาตรา ๓๒๕ วรรค ๒ นี้ แตถ า การตกหายของแหวนนน้ั เจา ของผทู ตี่ กรแู นน อน และกาํ ลงั หาพรรคพวกเพอื่ ชว ยหา ติดตามเอาคนื อยู ถอื วาแหวนยงั อยใู นครอบครองของเจาของ ถา ผูใดเกบ็ ไดโ ดยรู หรือมีเหตอุ ันควรรู เจา ของแหวนน้นั และกาํ ลงั ติดตามหาเอาคนื อยู การเกบ็ ของไปเสยี กเ็ ปนการเอาไปซ่ึงทรัพยใ นความ ครอบครองของบคุ คลอนื่ เปนความผิดฐานลักทรพั ยหาใชยกั ยอกทรัพย ®Õ¡Ò·Õè ñöõò/òôùò ไดรับมอบทรัพยเพื่อใหไปจัดการขายแทน โดยเจาของกําหนด ราคาใหข าย แลว ผรู บั มอบเอาไปขายตา่ํ กวา ราคาทก่ี าํ หนดโดยเจตนาทจุ รติ ยอ มมคี วามผดิ ฐานยกั ยอก ®¡Õ Ò·èÕ ñòñù/òõðò ผูเสียหายมอบวิทยุใหจําเลยนําไปขายโดยไมไดจํากัดวา จะตอ งขายราคาเทา ไร เปน แตว า จาํ เลยจะตอ งชาํ ระราคาคา เครอ่ื งวทิ ยุ ๒,๕๐๐ บาท แกผ เู สยี หายดงั นี้ แสดงวา จําเลยจะขายวิทยุในราคาเทาไรก็แลวแตจําเลย เงินที่ขายไดยอมตกเปนของจําเลย จําเลย มีความผูกพันท่ีจะตองรับผิดใชราคาเคร่ืองวิทยุ ๒,๕๐๐ บาท แกผูเสียหายเทานั้น มิใชเรื่องจําเลย ไดร ับมอบหมายราคาเครอื่ งวทิ ยุไวแทนผเู สียหาย กรณีไมเปน ความผดิ ฐานยักยอกเงนิ ®¡Õ Ò·èÕ ñù÷/òõð÷ ผูเสียหายไปเขาหองสวม ไดมอบกระเปาถือใหจําเลยถือช่ัวคราว จําเลยลอบเปดกระเปาน้ันแลวเอาสรอยกับธนบัตรไป เปนความผิดฐานลักทรัพยไมใชยักยอก เพราะผูเสยี หายไมไดสละการครอบครองถอื วา สรอ ยและธนบัตรอยใู นครอบครองของผูเสียหาย ®¡Õ Ò·èÕ òöðñ/òõñù ผเู สยี หายไดม อบกระบอื และรถจกั รยาน ๒ ลอ ใหจ าํ เลยควบคมุ ดแู ลการยดึ ถอื ครอบครองทรพั ยจ งึ อยทู จี่ าํ เลย เมอ่ื จาํ เลยเอาทรพั ยน น้ั ไปใหแ กบ คุ คลอนื่ จงึ มคี วามผดิ ฐานยกั ยอกทรัพย ®Õ¡Ò·Õè ñöóö/òõòñ โจทกจางจําเลยซอมรถไถโดยโจทกเปนผูซื้อเครื่องอะไหลนําไป มอบใหจําเลยท่ีอซู อมรถของจําเลย จาํ เลยซอมอยูนานราว ๑ ป จึงเสร็จ พฤติการณถ อื วา การยดึ ถอื ครอบครองทรัพยอยูที่จําเลย จําเลยเปลี่ยนเส้ือสูบเกาใสแทนเส้ือสูบใหมของโจทกเปนความผิดฐาน ยักยอกทรัพย ®Õ¡Ò·Õè òöð/òõòñ จําเลยไดรับมอบหมายใหพากระเปาทรัพยของนายจางออกไป ใหพนจากท่ีวิวาท เพื่อความปลอดภัยแหงทรัพย แลวจําเลยพาทรัพยสินหนีไปเปนความผิดฐาน ยักยอกทรัพย ®¡Õ Ò·èÕ ò÷ññ/òõòù ผูรับฝากมีหนาท่ีจะตองคืนทรัพยที่รับฝากแกผูฝาก ผูรับฝาก จะนําทรัพยออกใชสอย หรือมอบใหผูอ่ืนโดยไมไดรับความยินยอมจากผูฝากหาไดไม การฝากขาว ซง่ึ เปน สงั กมทรพั ยน น้ั หากผรู บั ฝากยกั ยอกเอาขา วไปโดยทจุ รติ ไมส ามารถสง คนื ขา วทร่ี บั ฝากไวใ หแ ก

๒๑๘ ผูฝากได ผูรับฝากอาจตองคืนขาวชนิดและประเภทเดียวกันใหแกผูฝาก ก็เปนเรื่องของการชําระหน้ี ใหท างแพง เทา นั้น หามผี ลใหผ ูร บั ฝากพนความผดิ ฐานยกั ยอกในทางอาญาไม ®Õ¡Ò·èÕ óõùõ/òõóò (ประชมุ ใหญ) ความผดิ ฐานยกั ยอกทรพั ยไ มใ ชค วามผดิ เฉพาะตวั ของผูครอบครองทรัพยเพียงผูเดียว ผูอื่นก็อาจรวมกระทําความผิดกับผูครอบครองในการยักยอก ทรัพยไดหากไดรวมมือรวมใจกันกระทําการยักยอกกับผูไดรับมอบหมายใหครอบครองทรัพยขอที่วา ผูใดครอบครองทรัพยน้ัน มิใชคุณสมบัติเฉพาะตัวผูกระทํา แตเปนเพียงองคประกอบความผิด ในสวนการกระทาํ อันหนึง่ เทานัน้ ®¡Õ Ò·èÕ ö÷õ/òõõö โจทกรวมมอบอุปกรณการแพทยใหจําเลยไวในฐานะตัวแทน ของโจทกรวมเพื่อใหจําเลยนําไปสาธิตหรือนําไปใหลูกคาทดลองใชตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจาก โจทกรวม จําเลยมีหนาที่ตองนําอุปกรณการแพทยที่ยืมไปมาคืนใหแกโจทกรวม การท่ีจําเลยไมนํา อปุ กรณก ารแพทยม าคนื ใหแ กโ จทกร ว มโดยจาํ เลยนาํ ไปมอบใหแ กโ รงพยาบาลเพอ่ื ใหค ณะกรรมการของ โรงพยาบาลรบั มอบเครอื่ งวดั ความดนั โลหติ จากจาํ เลยซงึ่ จาํ เลยจะไดร บั ผลประโยชนเ ปน คา ตอบแทน ในการขายสินคา แสดงใหเห็นเจตนาของจําเลยวาจะไมคืนทรัพยท่ีจําเลยครอบครองแทนโจทกรวม ใหแกโจทกรวมอันเปนการเบียดบังเอาทรัพยนั้นเปนของบุคคลที่สามโดยจําเลยไดรับประโยชน ท่ีมิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายอันเปนการกระทําโดยทุจริตและเปนความผิดสําเร็จแลวแมปจจุบัน ทรัพยยังคงอยูที่โรงพยาบาลและโรงพยาบาลประสงคจะคืนใหแกโจทกรวมก็ไมทําใหจําเลยพนผิด การกระทําของจาํ เลยเปนความผิดฐานยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๒ วรรคแรก ®¡Õ Ò·èÕ öùñ/òõõö จาํ เลยลงลายมอื ชอ่ื เปน ผเู ชา ซอื้ โทรทศั นส ใี นสญั ญาเชา ซอ้ื แทน ส. นายจางของจําเลยและจําเลยไมไดเปนผูครอบครองโทรทัศนสีท่ีเชาซื้อ แต ส.เปนผูรับมอบและ ครอบครองโทรทศั นส ที เี่ ชา ซอื้ แมจ าํ เลยนาํ โทรทศั นส ที เ่ี ชา ซอ้ื ไปขาย จาํ เลยกไ็ มม คี วามผดิ ฐานยกั ยอก โทรทศั นสที เี่ ชาซอื้ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๕๒ การท่ีจําเลยซ่ึงเปนบุคคลภายนอกมิใชผูมีอาชีพหรือธุรกิจอันยอมเปนท่ีไววางใจของ ประชาชนไดร ว มกบั ผจู ดั การและสมหุ บ ญั ชขี องธนาคารยกั ยอกทรพั ยข องธนาคาร จาํ เลยยอ มมคี วามผดิ ฐานเปนตัวการยักยอกทรัพยตาม ป.อ.มาตรา ๓๕๒ ประกอบดวยมาตรา ๘๓ แมจําเลยจะรวม กระทําผิดกับผูมีอาชีพหรือธุรกิจอันยอมเปนที่ไววางใจของประชาชนเปนเหตุเฉพาะตัวผูกระทําผิด แตละคน จําเลยจึงไมมีความผิดฐานเปนผูสนับสนุนในการท่ีผูอื่นกระทําความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๓๕๔ ประกอบดวยมาตรา ๘๖ ñò. ÃºÑ ¢Í§â¨Ã ÁÒμÃÒ óõ÷ “ผูใดชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือ รับไวโดยประการใด ซึ่งทรัพยอันไดมาโดยการกระทําความผิด ถาความผิดนั้นเขาลักษณะลักทรัพย ว่ิงราวทรัพย กรรโชก รีดเอาทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย ฉอโกง ยักยอก หรือเจาพนักงาน ยักยอกทรัพย ผูนั้นกระทําความผิดฐานรับของโจร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกิน หนง่ึ หมื่นบาท หรอื ทั้งจําท้ังปรบั

๒๑๙ ถา การกระทําความผดิ ฐานรบั ของโจรนัน้ ไดก ระทําเพ่ือคากาํ ไร หรือไดก ระทาํ ตอ ทรัพย อันไดมาโดยการลักทรัพยตามมาตรา ๓๓๕(๑๐) ชิงทรัพย หรือปลนทรัพย ผูกระทําตองระวางโทษ จาํ คุกต้งั แตห กเดือนถึงสิบป และปรับตั้งแตห น่ึงพันบาทถงึ สองหมื่นบาท ถาการกระทําความผิดฐานรับของโจรน้ัน ไดกระทําตอทรัพยอันไดมาโดยการลักทรัพย ตามมาตรา ๓๓๕ ทวิ การชิงทรัพยตามมาตรา ๓๓๙ ทวิ หรอื การปลน ทรัพยตามมาตรา ๓๔๐ ทวิ ผูกระทําตองระวางโทษจาํ คกุ ตั้งแตห า ปถ ึงสบิ หาป และปรับตั้งแตหนึ่งหมนื่ บาทถึงสามหมืน่ บาท” ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ชว ยซอนเรน ชวยจาํ หนา ย ชว ยพาเอาไปเสยี ซอื้ รบั จาํ นํา หรือรบั ไวโ ดยประการใด ๒. ซ่ึงทรพั ยอ นั ไดม าโดยการกระทาํ ผดิ ๓. ความผิดนั้นเขาลักษณะลักทรัพย วิ่งราวทรัพย กรรโชก รีดเอาทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย ฉอโกง ยักยอก หรือเจาพนกั งานยักยอกทรัพย ๔. โดยเจตนา คาํ ͸ԺÒ ๑. ผกู ระทาํ ผดิ ฐานรบั ของโจรจะตอ งรบั ไวโ ดยรสู าํ นกึ ในการกระทาํ และในขณะเดยี วกนั กระทําประสงคตอผลหรือยอมเล็งเห็นผลของการกระทําน้ัน คือ รับทรัพยซึ่งตนรูวาไดมาโดยการ กระทาํ ผดิ กฎหมายไว จึงจะเปน ความผดิ ๒. สาํ หรับองคป ระกอบในขอ ๑ ทว่ี า ผูใดชวยซอนเรน ชว ยจาํ หนาย ชว ยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวโดยประการใดน้ัน หมายถึงการกระทําตอทรัพยซ่ึงผูกระทําผิดสําเร็จมาแลว เชน ไปลักหรือชิงหรือปลนมาแลว และไดทรัพยนั้นมาแลวสงมอบทรัพยน้ันใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง ใหช ว ยซอนเรน จําหนาย พาเอาไปเสยี ซอ้ื รับจาํ นํา หรือใหรบั ไวดว ยประการใด และผูรับทรัพยนั้นไว ดวยวิธีตางๆ ดังกลาว เรยี กวา เปนผูรับของโจรตามความในมาตรานี้ ชวยจําหนาย นอกจากการนําไปจําหนายใหโดยตรงแลว ยอมมีความหมายถึงการชวย แลกเปลย่ี น โอน หรอื ให หรอื ชว ยโดยประการอน่ื เปน การชว ยใหจ าํ หนา ยไดด ว ย เชน ไปตดิ ตอ สถานท่ี รับซื้อ หรอื ชว ยหาผซู อ้ื หรอื ผูรับจํานาํ เปน ตน ชวยพาเอาไปเสีย น้ันหมายความถึงการชวยพาเอาทรัพยน้ันไปโดยพลการของตนเอง โดยตรงหรือเพยี งมสี วนชว ยพาเอาไป ไมวาจะมาจากการจางวานใชห รือสมคั รใจเขา ชวยพาเอาไปเอง สาระสาํ คญั อยทู ่กี ารเขา มสี ว นในการชวยพาเอาทรพั ยน ั้นไป รับไวโดยประการใด หมายความถึงการรบั ไว โดยวิธกี ารอยา งอืน่ นอกจากท่ีระบไุ วแลว ไมวาดว ยประการใด เชน รบั ฝาก รับเกบ็ ไว ®¡Õ Ò·Õè öøð/òõðø (ประชมุ ใหญ) มีคนเอาปนมาจาํ นาํ จําเลย จาํ เลยไมม เี งิน จึงพาไป จํานํากับผูอนื่ โดยจําเลยชว ยพดู จาใหเขารับจาํ นาํ ดังน้ี เปนการชวยจําหนายตามมาตรา ๓๕๗ ®¡Õ Ò·Õè ñò/òõññ บดิ าของจําเลยเปน ผตู ดิ ตอ รบั ซอ้ื รถจกั รยานยนตจ ากคนรา ยตลอดมา สวนจาํ เลยไดนาํ เอารถจักรยานยนตเหลาน้ันไปฝากญาติไวเพื่อหาคนซื้อตอไปตามที่บิดาของจําเลย

๒๒๐ ใชไป ดังนี้บิดาของจาํ เลยและจําเลยยอมมีความผิดฐานรับของโจรตามมาตรา ๓๕๗ ประกอบดวย มาตรา ๘๓ จะอางเหตุวาบิดาใชใหท าํ กต็ องทําเพ่อื ไมต องรับโทษหาไดไ ม ®Õ¡Ò·èÕ ñòöô/òõñó จําเลยใชผูอื่นไปลักทรัพยนั้นถือวาจําเลยเปนตัวการดวยตาม มาตรา ๘๓ เมื่อจาํ เลยรับทรัพยน้ันจากผูท่ีจาํ เลยใช ถือวาเปนการรับทรัพยซึ่งเปนผลสืบเน่ือง มาจากกรรมอันเดียวกับความผิดฐานลักทรัพยหรือฉอโกงท่ีจําเลยเปนผูใชเอง จาํ เลยจึงไมมีความผิด ฐานรับของโจร ®Õ¡Ò·Õè òñ÷÷/òõòð จําเลยรับเช็คของกลางไวโดยรูวาเปนเช็คอันไดมาโดยการ กระทําความผดิ ฐานลกั ทรพั ย แลว นําไปเบกิ เงนิ ทธี่ นาคาร แตเ บกิ ไมไ ดเ พราะถกู อายดั ไว ถอื วา ความผดิ ฐานรับของโจรของจาํ เลยเกิดขึ้น และสําเร็จแลวไมใชพยายามรับของโจร แมจาํ เลยไมมีทางรับเงิน ตามเช็คของกลางจากธนาคาร ®¡Õ Ò·èÕ ñöðù/òõòò จาํ เลยอยูปากถ้ําที่เกิดเหตุ เจาพนักงานพบคนรายมีกระบือ ผูกอยูในถาํ้ จาํ เลยเพียงแตมาดูกระบือ ต้ังใจจะซื้อ ยังไมตกลงจะซ้ือก็ถูกจับ ยังไมเปนความผิดฐาน รบั ของโจร ®Õ¡Ò·Õè òõóù/òõòõ จาํ เลยท่ี ๑ รับกระบือจากคนราย โดยรูวาเปนทรัพยท่ีถูก ลกั มาแลว นาํ ไปขายและรบั ชาํ ระราคา สวนจาํ เลยท่ี ๒ ทีช่ วยจูงกระบือรว มเดนิ ทางไปกบั จาํ เลยท่ี ๑ ตามคาํ ขอรอง ถือไมไดวารวมครอบครอง ชวยพาเอาไปเสีย ชวยจาํ หนายกระบือ การกระทาํ ของ จําเลยที่ ๒ จงึ ไมเปนความผิดฐานรับของโจร ñó. ทําãËàŒ ÊÂÕ ·Ã¾Ñ  ÁÒμÃÒ óõø “ผใู ดทําใหเสียหาย ทําลาย ทําใหเสอื่ มคา หรือทําใหไ รประโยชนซ งึ่ ทรัพย ของผูอ่ืนหรือผูอ่ืนเปนเจาของรวมอยูดวย ผูน้ันกระทาํ ความผิดฐานทาํ ใหเสียทรัพย ตองระวางโทษ จาํ คุกไมเ กนิ สามป หรือปรบั ไมเกนิ หกหมื่นบาท หรอื ทั้งจาํ ทงั้ ปรบั ” ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ผใู ด ๒. ทาํ ใหเสยี หาย ทาํ ลาย ทาํ ใหเ สอื่ มคา หรือทําใหไ รป ระโยชน ๓. ซ่ึงทรพั ยข องผูอ ่นื หรือผูอนื่ เปน เจาของรวมอยูดว ย ๔. โดยเจตนา สว นของการกระทาํ ความผิดฐานทาํ ใหเ สียทรพั ย ¡ÒÃทาํ ãËŒàÊÂÕ ËÒ หมายถงึ การใหท รัพยนัน้ ชํารุด บบุ สลาย หรือทําใหส ภาพของทรพั ย เปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลง การชาํ รุดไมจาํ เปนตองเปนการถาวร เชน เตะรถเขาจนบุบ ตอมา อาจมกี ารซอมแซมรถจนอยใู นสภาพปกติ ก็ยงั คงผดิ ฐานทาํ ใหเ สยี ทรัพยไ ด ทาํ ÅÒ หมายถึง ทําใหทรัพยสิ้นสภาพไปเลยทีเดียว เชน เอาทรัพยของเขาไปเผา จนสูญไปเอาแกวน้ําไปทุบจนแตก หรือตามฎีกาที่ ๓๕/๒๕๐๓ โปรยขาวเปลือกผสมยาพิษใหเปด ของผอู ่นื กนิ จนตายไปเกือบหมด

๒๒๑ ทาํ ãËàŒ ÊÍ×è Á¤Ò‹ หมายถงึ ทําใหร าคาของทรพั ยน น้ั ลดลง เชน การเอาเสอ้ื ผา ใหม หรอื ของใช ใหมข องเขาไปใช ทาํ ใหท รัพยน นั้ เสอ่ื มราคาลง ทําãËäŒ ÃŒ»ÃÐ⪹ หมายถงึ ทําใหป ระโยชนข องทรัพยน ัน้ หมดไป แมจ ะช่วั คราวกต็ าม เชน ปลอยยางลมรถยนตข องเขาทาํ ใหย างแบน ®Õ¡Ò·Õè ñøôö/òõðð (»ÃЪÁØ ãËÞ)‹ กง่ิ ง้ิวของโจทกร กุ ล้าํ เขาไปเหนือท่ีดนิ ของจําเลย เปน การละเมดิ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๕ ประกอบดว ยมาตรา ๔๒๐ จําเลยตอ งบอกกลา วกอ นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๗ จึงจะตัดได การทีจ่ ําเลยตดั ก่ิงงวิ้ นั้นโดยไมบ อกกลาวโจทกกอ นจะมีความผิด ทางอาญาหรอื ไม ตอ งพจิ ารณาถงึ เจตนาของจาํ เลยอกี ชนั้ หนงึ่ การทจี่ ําเลยเพยี งแตก ระทําการปอ งกนั กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส นิ ของตนตามทกี่ ฎหมายอนญุ าตใหท าํ ไดโ ดยทวั่ ๆ ไป แตม ไิ ดป ฏบิ ตั ใิ หค รบถว นตาม วิธีการทบ่ี ญั ญัตไิ วใ นกฎหมาย ยังไมมเี จตนากระทําผดิ ทางอาญา (ไมผิดฐานทาํ ใหเสียทรพั ย) ®¡Õ Ò·èÕ òòð÷/òõòô จําเลยเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินยอมมีสิทธ์ิเหนือพื้นดิน หรือ ท่ีเรียกวาแดนกรรมสิทธิ์ดวย โจทกไมมีสิทธิ์ที่จะสรางลํานํ้ารุกลํ้าเขาไปในที่ดินของจําเลย และจําเลย มีสิทธ์ิขัดขวางมิใหโจทกสอดเขาเก่ียวของกับทรัพยสินของตนโดยมิชอบดวยกฎหมาย ดังน้ัน การท่ี จาํ เลยรอื้ รางนา้ํ ดงั กลา ว โดยเชอื่ วา รกุ ลาํ้ เขา มาในทด่ี นิ ของจาํ เลย จงึ เปน การใชส ทิ ธใ์ิ นทดี่ นิ ตามสมควร แกก ารสรา งตกึ แถวของจาํ เลย ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ไมเ ปน ความผดิ ฐานทาํ ใหเ สยี ทรพั ยเ ชน กนั ®Õ¡Ò·Õè ùöó/òõðò การปลดผาปายโฆษณาหาเสียงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรไมเปนการทําใหผาปายนั้นไรประโยชน เพราะผาปายที่ปลดลงมาน้ัน ยังใชประโยชนได แมสามารถแกไ ขหรอื ซอ มแซมทรพั ยนั้นไดก ต็ าม ®¡Õ Ò·Õè ñðù÷/òõð÷ เจาหนาท่ีทองถิ่นมีอํานาจรื้อถอนอาคารท่ีไมมั่นคงแข็งแรงหรือ ไมปลอดภยั ตาม พ.ร.บ.ควบคมุ การกอสรางอาคาร การรือ้ ถอนอาคารของเจา หนา ท่ีจึงเปน การปฏบิ ตั ิ ตามอํานาจหนาทโี่ ดยชอบดว ยกฎหมายจึงไมม ีมูลความผดิ ฐานทําใหเสียทรพั ย ®Õ¡Ò·èÕ ñôõð/òõñð โจทกเชาที่ดินซ่ึงมีบอเล้ียงปลา แตโจทกไดปดกั้นบอปลูกตนไม ลมลุกและลอมร้ัวลวดหนามไว ตอมาจําเลยซื้อที่ดินแปลงน้ัน แตโจทกยังคงครอบครองในฐานะ ผเู ชา แลว จาํ เลยไปวดิ ปลาในบอ ตดั ตน ไมล ม ลกุ และรอ้ื ลวดหนามเหลา นนั้ จาํ เลยยอ มมคี วามผดิ ฐาน ลกั ทรพั ยแ ละทําใหเสียทรพั ย ผูเชาทีด่ นิ ปลกู ตน ไมล ม ลุกไว เม่อื ออกจากทดี่ ินไป มีสิทธิเอาไมลม ลุกไปได ®¡Õ Ò·èÕ øù/òõñù จําเลยเขาใจวาเสารั้วของโจทกท่ีขุดหลุมปกอยูในท่ีดินของจําเลย จําเลยจึงถอนออกโดยเจตนาใชสิทธติ าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖, ๑๓๓๗ ไมผิดฐานทาํ ใหเสียทรพั ย ตามมาตรา ๓๕๘ ®¡Õ Ò·Õè òõø÷/òõòõ ความผิดฐานทําใหเสียทรัพยผูกระทําจะตองมีเจตนากระทําให เสียหาย ทําลาย ทาํ ใหเสื่อมคา หรอื ทําใหไ รประโยชนซ่งึ ทรัพยของผอู น่ื จงึ จะมคี วามผิด การทจ่ี าํ เลยเชา ทน่ี าของผเู สยี หายมาทาํ นาประมาณ ๒๐ ป ตอ มากลว ยราคาดี จาํ เลยจงึ จา งคนขดุ ทน่ี าบางสว นเพอื่ ปลกู กลว ย มไิ ดม เี จตนากระทาํ ใหท รพั ยข องผเู สยี หายทาํ ลาย ทาํ ใหเ สอื่ มคา หรอื ทาํ ใหไรประโยชน จงึ ไมผิดฐานทําใหเ สยี ทรัพย

๒๒๒ ®Õ¡Ò·Õè óóñ/òõò÷ โจทกจําเลยตางโตเถียงกรรมสิทธ์ิพิพาทกันอยู เมื่อโจทกปลูก ตน ขา วในนาพพิ าท จาํ เลยเสยี หายอยา งไร ชอบทจี่ ะฟอ งรอ งวา กลา วกนั การทจ่ี าํ เลยกลบั เขา ไถนาพพิ าท จนเปนเหตุใหขาวที่โจทกปลูกไวเสียหาย การกระทาํ ของจาํ เลยยอมเปนความผิดฐานทาํ ใหเสียทรัพย และตอ งชดใชค า เสยี หาย ®Õ¡Ò·Õè ñùôø/òõôò จาํ เลยใชค อ นทบุ กระจกทต่ี ดิ กบั ตเู อทเี อม็ เพอื่ ระบายความแคน โดยไมม ีเจตนาลกั ทรัพย แตเปนความผิดฐานทาํ ใหเ สยี ทรัพยได ®¡Õ Ò·Õè ÷ðó÷/òõô÷ คาํ วา “ฉดี ” ตามพจนานกุ รมใหค วามหมายไวว า “ใชก ําลงั อดั หรอื ดันของเหลวพุงออกจากชองเล็กๆ” ดังน้ี กระบอกฉีดยาไมมีเข็มฉีดยาก็สามารถฉีดของเหลวเขาสูตัว กระบือโดยทางปากหรือทวารได เม่ือจําเลยมีกระบอกฉีดยาบรรจุสารพิษไวแลว และกาํ ลังจับเชือกที่ ผกู กระบอื ของผเู สยี หายซงึ่ พรอ มทจ่ี ะลงมอื ฉดี สารพษิ ใสเ ขา ไปในตวั กระบอื การกระทําของจาํ เลยดงั นี้ ใกลชิดตอผลแหงการทําใหเสียทรัพย ถือวาเปนการลงมือกระทําความผิดแลวแตกระทาํ ไปไมตลอด เพราะผูเสียหายมาพบและเขา ขดั ขวางเสยี กอน จาํ เลยจงึ มีความผิดฐานพยายามทําใหเ สียทรัพย ®Õ¡Ò·èÕ öòñó/òõõñ จําเลยเขาไปครอบครองและตัดฟนตนยูคาลิปตัสของสาํ นักงาน ปาไมเขตจังหวัดเพชรบุรี และกนสราง แผวถาง หรือกระทาํ ดวยประการใดๆ อันเปนการทําลายปา เพอื่ ยดึ ถอื ครอบครองปา เปน ของตนหรอื ผอู นื่ จงึ มคี วามผดิ ฐานรว มกนั ทาํ ใหเ สยี ทรพั ย และฐานรว มกนั ยดึ ถอื ครอบครอง กน สราง แผว ถางหรือเผาปาโดยไมไ ดรบั อนญุ าต จาํ เลยเขาไปยึดถือครอบครอง กนสรางและแผวถางปาโดยตัดฟนตนยูคาลิปตัสของ สาํ นกั งานปา ไมเ ขตจงั หวดั เพชรบรุ ี อนั เปน การทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย หรอื ทําใหไ รป ระโยชนซ ง่ึ ทรพั ยข อง ผอู ่นื แมโ จทกบ รรยายฟอ งวาจาํ เลยกระทาํ ความผิดตาม พ.ร.บ.ปา ไมฯ และ ป.อาญา แยกการกระทาํ เปนสองกรรมตางหากจากกัน แตเมื่อเปนการกระทาํ ความผิดตอตนยูคาลิปตัสจาํ นวนเดียวกันและ ไดกระทําคราวเดียวพรอมกันตอเนื่องกันไป จึงเปนการกระทํากรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท ตอ งลงโทษ ตาม พ.ร.บ. ปา ไม พ.ศ. ๒๔๘๔ มาตรา ๕๔, ๗๒ ตรี วรรคสอง ซ่งึ เปนกฎหมายบททีม่ ี โทษหนกั ท่สี ุดตาม ป. อาญา มาตรา ๙๐ ñô. ทาํ ãËàŒ ÊÕ·ÃѾàËμ©Ø ¡Ãè ÁÒμÃÒ óöð ผใู ดทาํ ใหเ สยี หาย ทําลาย ทาํ ใหเ สอื่ มคา หรอื ทาํ ใหไ รป ระโยชน ซง่ึ ทรพั ย ที่ใชหรือมีไวเพ่ือสาธารณประโยชน ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหน่ึงแสนบาท หรอื ทั้งจําทง้ั ปรับ ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. ทําใหเ สยี หาย ทาํ ลาย ทําใหเสื่อมคา หรือทําใหไ รป ระโยชน ๒. ซงึ่ ทรพั ยทีใ่ ชห รือมไี วเพื่อสาธารณประโยชน ๓. เจตนา

๒๒๓ ทรพั ยท ใี่ ชห รอื มไี วเ พอ่ื สาธารณประโยชน หมายความวา ทรพั ยน นั้ เปน คณุ แกบ คุ คลทว่ั ไป ทกุ คนมสี ทิ ธจิ ะไดร บั ประโยชนจ ากทรพั ยน นั้ ถา เปน ทรพั ยท ใี่ ชห รอื มไี วเ พอ่ื ใชป ระโยชนแ กค นทว่ั ไปแลว ใครจะเปน เจา ของไมส ําคญั จะเปน ของเอกชนหรอื เปน สาธารณสมบตั ขิ องแผน ดนิ ซง่ึ ถอื วา ไมม เี จา ของ กไ็ ด μÑÇÍ‹ҧ ®¡Õ Ò·èÕ õøø/òõðù ธงชาติไทย ซ่ึงทางโรงเรียนวัดหนองลุมพุกไดชักไวที่เสาธง ของโรงเรียน หาใชเปนทรัพยที่ใชหรือมีไวเพ่ือสาธารณประโยชน จําเลยใชปนยิงเสาธงน้ันเสียหาย จึงเปนความผิดตามมาตรา ๓๕๘ ไมผิดมาตรา ๓๖๐ ®Õ¡Ò·èÕ ñññó/òõñö สถานตี าํ รวจไมใ ชทรพั ยท ี่มไี วเพ่อื สาธารณประโยชน ®Õ¡Ò·Õè ññùö/òõñø ปายบอกชื่อ หนองนา้ํ สาธารณะเปนทรัพยที่มีไวเพื่อสาธารณ ประโยชน จําเลยถอนปายนั้นท้ิง ผิดตามมาตรา ๓๖๐ ®¡Õ Ò·èÕ òõóø/òõòòจําเลยขุดทําลายถนน ซ่ึงประชาชนชวยกันทําและไดใชสัญจร ไปมาเปน ถนนสาธารณะแลวเปน ความผดิ ตามมาตรา ๓๖๐ ñõ. ºØ¡ÃØ¡ ÁÒμÃÒ óöò “ผูใดเขาไปในอสังหาริมทรัพยของผูอื่น เพ่ือถือการครอบครอง อสงั หารมิ ทรพั ยท ง้ั หมด หรอื แตบ างสว น หรอื เขา ไปกระทาํ การใดๆ อนั เปน การรบกวนการครอบครอง อสังหาริมทรัพยของเขาโดยปกติสุข ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้งั จําทัง้ ปรบั ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. เขาไปในอสังหารมิ ทรพั ยข องผูอ ่ืน ๒. เพือ่ ๒.๑ ถอื การครอบครองอสงั หาริมทรพั ยท้งั หมด หรอื แตบ างสวน หรอื ๒.๒ เขาไปกระทําการใดๆ อันเปนการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย ของเขาโดยปกติสขุ คาํ ͸ºÔ Ò ๑. ความผิดฐานบุกรุกนี้ ในเบื้องตนมีขอสําคัญอยูวาการเขาไปในอสังหาริมทรัพยน้ัน ผเู ขา ไปจะตอ งรวู า อสงั หารมิ ทรพั ยน นั้ มเี จา ของกรรมสทิ ธิ์ หรอื สทิ ธคิ รอบครอง ถา อสงั หารมิ ทรพั ยน น้ั ไมมเี จาของหรือเปนสาธารณสมบัตขิ องแผน ดนิ การเขาไปยอมไมเ ปนความผิดฐานบกุ รกุ ๒. คําวา “เขาไป” หมายความถึงตัวบุคคลเขาไปในอสังหาริมทรัพยน้ันโดยตรงไมใช กรณโี ยน ยนื่ หรอื ขวา งปาสงิ่ ของ หรอื สว นหนงึ่ สว นใดของรา งกายเขา ไป และบคุ คลทเี่ ขา ไปนน้ั จะเปน ตวั บุคคลน้นั เอง หรือบุคคลอื่นทีถ่ กู ใช จา ง วาน หรือบังคับขูเข็ญใหเขาไปก็ได สวนคําวา “อสังหาริมทรัพย” ไดแก ท่ีดินกับทรัพยอันติดอยูกับที่ดินเปนการถาวร หรือประกอบเปน อนั เดียวกับทด่ี ินน้ัน เชน บานเรือน ตึก ซ่ึงอยูต ิดกับท่ดี ิน เปนตน

๒๒๔ ๓. การเขาไปในอสังหาริมทรัพยของผูอื่นน้ี ตองประกอบดวยเจตนาซึ่งแยกไดเปน ความผดิ ๒ ประการ คอื ๓.๑ เขาไปในอสังหาริมทรัพยของผูอ่ืนโดยเจตนาเพ่ือถือการครอบครอง อสงั หารมิ ทรพั ยทง้ั หมดหรือบางสวน ๓.๒ เขา ไปในอสงั หารมิ ทรพั ยข องผอู น่ื โดยเจตนาโดยเขา ไปกระทาํ การใดๆ อนั เปน การรบกวนครอบครองอสังหารมิ ทรพั ยของเขาโดยปกตสิ ุข (ฎีกาที่ ๑๓๕๕/๒๕๐๔) ถา การเขาไปขาดเจตนาเพ่อื ประการใดประการหน่ึง ในขอ ๓.๑ หรือ ๓.๒ หรอื การบกุ รกุ เขา ไปนั้นมีอํานาจจะกระทาํ ได หรอื โดยเจตนาอยา งอ่นื แลว การเขา ไปกไ็ มผ ดิ ฐานบุกรกุ กลาวโดยสรุป การกระทําความผิดตามมาตรานี้ จะตองมีการเขาไปในอสังหาริมทรัพย โดยรูวาเปนของผูอื่นโดยเจตนาเพื่อครอบครองเอาเปนของตนทั้งหมดหรือบางสวน หรือเพ่ือรบกวน การครอบครองของเขาโดยปกติสุข และไมมีสิทธิ หรืออํานาจที่จะเขาไปในอสังหาริมทรัพยของผูอ่ืน นัน้ ไดโ ดยชอบดวยกฎหมาย แตอยา งไรก็ตาม ขอใหเ ปนที่เขาใจไวดวยวา ตามมาตรา ๓๖๒ น้ี แบง ออกได ๒ ตอน กลาวคือเปนกรณีท่ีผูใดเขาไปในอสังหาริมทรัพยของผูอ่ืนเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย ทั้งหมดหรือแตเพียงบางสวนตอนหนึ่งหรือเขาไปกระทําการใดๆ อันเปนการรบกวนการครอบครอง อสงั หาริมทรพั ยข องเขาโดยปกตสิ ุขอกี ตอนหนง่ึ อนง่ึ ในบางกรณีการกระทําผิดฐานบกุ รุกอสงั หารมิ ทรัพยน น้ั อาจเปน ความผดิ ฐานทําให เสียทรพั ยดว ย เชน ตามฎีกาที่ ๑๐๑๓/๒๕๐๔ จําเลยรอู ยกู อ นแลววา ท่ีพพิ าทเปน ท่ีดินของผเู สียหาย และผูเสียหายไดครอบครองอยู จําเลยไดจางใหคนขุดดินในท่ีพิพาทเปนบอ และผูรับจางไดไปขุดดิน ในทพ่ี พิ าทตามทจี่ าํ เลยจา งนน้ั ดงั นเ้ี มอ่ื ทพ่ี พิ าทเปน ของผเู สยี หายแมจ ะไมม โี ฉนดมาแสดงวา ทพี่ พิ าท เปนของผูเสียหาย การท่ีจําเลยรูดีวาท่ีพิพาทเปนของผูเสียหายจําเลยยังจางใหคนเขาไปขุดดินในท่ี พพิ าทและผรู บั จา งไดข ดุ จนเปน บอ ทาํ ใหเ สยี หายเชน น้ี จาํ เลยยอ มมคี วามผดิ ตามมาตรา ๓๕๘, ๓๖๒ สําหรับการกระทําใดๆ อันเปนการรบกวนการครอบครองของผูอ่ืนโดยปกติสุข คือ การรบกวนการครอบครองของเขา เพราะวาเขาคงจะไมปกติสุข เนื่องจากสิทธิสวนตัว ถูกละเมิด เชน เขา ไปกางเต็นท เขา ไปขุดดินในที่ดินของเขา เปน ตน ®Õ¡Ò·èÕ ñ/òõñò (ประชุมใหญ) ศาลฎีกาวินิจฉัยวา การที่จําเลยใชไมกระดานตีขวาง ทับประตูหองพิพาทที่โจทกครอบครองในขณะท่ีโจทกไมอยู และปดหองไวทําใหโจทกเขาหองไมได เปนการลวงล้ําเขาไปกระทําการรบกวนการครอบครองของโจทก ถือไดวาเขาไปกระทําการรบกวน ของโจทกโ ดยปกตสิ ขุ ตามมาตรา ๓๖๒ แลว ®Õ¡Ò·Õè óöó/òõñø โจทกเชาบานของ ส. ตอมาถูก ส.ฟองขับไล ศาลลางท้ังสอง พพิ ากษาขบั ไลโ จทก แตโ จทกม ไิ ดร บั ทราบคาํ บงั คบั ของศาลทใ่ี หโ จทกอ อกจากบา นใน ๑ เดอื น โจทกฎ กี า ระหวา งฎกี า โจทกไปตางจงั หวัดใสกุญแจบา นและฝากเพ่อื นบานใหด ูแล จาํ เลยที่ ๑ สามี ส. ใหจําเลย

๒๒๕ ที่ ๒ ตดั หรู อ ยกญุ แจบา นออก และใหจ าํ เลยท่ี ๒ เขา ไปอาศยั เมอ่ื โจทกย งั ไมท ราบคาํ บงั คบั โจทกย งั มี สทิ ธอิ ยใู นบา นพพิ าทซงึ่ โจทกก ย็ งั มสี ทิ ธคิ รอบครอง จาํ เลยเปน ผใู ชใ หบ กุ รกุ ผดิ ตามมาตรา ๓๖๒, ๘๔ (สว นจาํ เลยท่ี ๒ ฟงขอเท็จจริงวาไมม ีเจตนาบกุ รกุ เพราะไมร ูขอเท็จจริง ขาดเจตนา) ®¡Õ Ò·èÕ ÷øø/òõñù ขอสัญญาเชาสํานักงานวา ถาผูเชาผิดสัญญาไมชําระคาเชาตาม กําหนด ผูใหเชากลับครอบครองสถานที่ยายบุคคลออก ฯลฯ ได ขอสัญญาน้ีไมขัดตอความสงบ เรียบรอย ผูเชาคางชําระคาเชา ผูใหเชาใชลวดไขกุญแจหองเชาออกเอากุญแจใหมใสแทน ผูเชาเขา หองเชา ไมไ ด ดังน้ีเปน การใชส ิทธิตามสัญญาเชา ไมม มี ูลเปน ความผดิ อาญา ®¡Õ Ò·èÕ öóøó/òõô÷ การท่จี ําเลยเขา ไปตาม พ. ในโรงแรมของโจทกร วม เพอ่ื จะบอก ถึงธุระเกี่ยวกับที่ดินที่จะตองไปดําเนินการในวันรุงขึ้นตามท่ี พ. นัดแนะไว นับวาเปนการเขาไป โดยมีเหตุอันสมควร การท่ีจําเลยมีมีดของกลางติดตัวไปดวยหรือไม ไมเปนขอสําคัญ เม่ือเปนการ เขา ไปโดยมเี หตอุ นั สมควรแลว แมจ ะมมี ดี ตดิ ตวั ไปดว ยกไ็ มท าํ ใหก ารเขา ไปนนั้ กลบั กลายเปน วา ไมม เี หตุ อันสมควรพฤติการณของจําเลยยังถือไมไดวาเปนการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย โดยปกติสุขของโจทกรวม ñö. ºØ¡ÃØ¡â´ÂäÁÁ‹ àÕ ËμØÍ¹Ñ ÊÁ¤Çà ÁÒμÃÒ óöô “ผใู ดโดยไมม เี หตุอันสมควร เขา ไปหรอื ซอ นตวั อยใู นเคหสถาน อาคาร เกบ็ รักษาทรพั ยห รอื สํานักงานในความครอบครองของผูอ ่นื หรือไมยอมออกไปจากสถานที่เชนวานั้น เม่ือผูมีสิทธิที่จะหามมิใหเขาไปไดไลใหออกตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน สองหมน่ื บาท หรอื ทงั้ จําทั้งปรับ ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ๑. โดยไมม ีเหตุอนั สมควร ๒. เขา ไปหรอื ซอ นตวั อยู หรอื ไมย อมออกไปเมอ่ื ผมู สี ทิ ธทิ จ่ี ะหา มมใิ หเ ขา ไปไดไ ลใ หอ อก ๓. ในเคหสถาน อาคารเกบ็ รักษาทรพั ย หรือสาํ นกั งานในความครอบครองของผูอ ืน่ ๔. โดยเจตนา คํา͸ºÔ Ò ๑. ความผิดของมาตราน้ี ในการเขาไปหรือซอนตัวอยูหรือไมยอมออกไป เม่ือผูมีสิทธ์ิ ที่จะหามมิใหเขาไปไดไลใหออกนั้น ถือเอาโดยไมมีเหตุสมควรเทานั้น ไมใชเพื่อครอบครอง หรือเพื่อถือเอาเปนของตน ตามท่ีกลาวมาแลวในมาตรา ๓๖๒, ๓๖๓ ฉะน้ัน เจตนาของมาตราน้ี จึงหมายถึงเจตนาเขาไปซอนตัวอยูในเคหสถาน อาคารเก็บรักษาทรัพย หรือสํานักงาน โดยไมมีเหตุ สมควรอยา งหนงึ่ และอกี อยา งหนงึ่ หมายถงึ การเขา ไปหรอื ซอ นตวั อยใู นเคหสถาน อาคารเกบ็ รกั ษาทรพั ย หรือสาํ นักงานเม่ือผูมีสิทธิที่จะหามมิใหเขาไปไดไลออกแลวไมยอมออกไปจากสถานท่ีเชนวานั้น โดยไมมเี หตอุ ันสมควร

๒๒๖ ๒. คําวา “โดยไมม เี หตุอันสมควร” นี้ เปนคํากวาง ซงึ่ เปนการยากทีจ่ ะหาคําจํากัดความ วามีความหมายแคไหน เพียงไร ไดถกู ตอง ๒.๑ โดยไมไดร บั ความยินยอม หรืออนญุ าตจากผคู รอบครอง ๒.๒ โดยไมมีอาํ นาจอนั ชอบดว ยกฎหมาย ท้ัง ๒ ประการนี้การเขาไปหรือซอนตัวอยู หรือไมยอมออกไปนั้นเรียกวาไมมีเหตุผล อันสมควร แตถาเปนกรณีตรงกันขาม กลาวคือ การเขาไปหรือซอนตัวอยูหรือการไมยอมออกนั้น ไดรับความยินยอมอนุญาตจากผูครอบครองสถานที่น้ัน เชน โดยการเชื้อเชิญหรือมีการนัดแนะ นดั พบ หรอื นาํ เขา ไปจากผหู นง่ึ ผใู ดในสถานทน่ี นั้ หรอื โดยมอี าํ นาจหรอื สทิ ธติ ามกฎหมายแลว กเ็ รยี กวา มเี หตอุ นั สมควรยอ มไมม คี วามผดิ แตใ นกรณที เ่ี ขา ไปทาํ รา ยผอู น่ื ในเคหสถานของเขานน้ั ถอื วา เปน การ เขา ไปโดยไมม ีเหตสุ มควร ตามมาตรา ๓๖๔ ยอ มมคี วามผิดท้งั ฐานบกุ รุก และทาํ รา ยรา งกาย (ฎกี าที่ ๙๐๕/๒๕๐๗, ๕๘๕/๒๕๑๑) แมจําเลยจะเคยไปบานผูเสียหาย และรับประทานอาหารท่ีบานผูเสียหาย แตในคืน เกดิ เหตุ จําเลยกบั พวกเมาสรุ าเขา ไปในเขตร้ัวบาน อันเปนเคหสถานทีอ่ ยูอาศัยของผูเสยี หายในเวลา ๒๔.๐๐ น.เศษ และทาํ รา ยผเู สยี หายเปน การเขา ไปดว ยเจตนากระทาํ ความผดิ มใิ ชโ ดยมเี หตอุ นั สมควร เปน ความผิดฐานบุกรุกตาม ป.อาญามาตรา ๓๖๔, ๓๖๕ (ฎกี าท่ี ๑๓๔๒/๒๕๑๕) จาํ เลยเขาไปในบานผูเสียหายเพ่ือพูดกับผูเสียหายถึงการร้ือบานของผูเสียหาย ซึ่งปลูก อยูในท่ีดินผูเสียหายกับจําเลยตกลงกันใหจําเลยซื้อคืน ดังน้ี ถือไมไดวาจาํ เลยเขาไปโดยไมมีเหตุ อนั สมควร (ฎีกาท่ี ๑๕๖๑/๒๕๑๕) ๓. ตามขอ ๒.๑ ที่วา โดยไมไดรับความยินยอมหรืออนุญาตจากผูครอบครองน้ัน หมายความถึงการยนิ ยอมอนุญาตท้ังโดยตรง และโดยปรยิ ายจากผูครอบครองสถานทนี่ ้นั และ คาํ วา ในความครอบครองของผูอ่ืนตามกฎหมาย ก็เปนการเพียงพอตามความหมาย ของมาตราน้แี ลว ไมจ ําเปน จะตองเปน เจา ของหรอื มกี รรมสทิ ธ์ิในสถานที่นั้นดวย ๔. มีขอสังเกตเกี่ยวกับถอยคาํ ในมาตรา ๓๖๔ นี้ อยูหลายประการ ซ่ึงแยกออก พิจารณาได ดังน้ี ๔.๑ การ “เขาไป” นั้น หมายความวา ผูนั้นเขาไปในเคหสถาน อาคารเก็บรักษา ทรัพยหรือสํานักงานโดยตรง ไมใชการโยนหรือหยิบยื่นสิ่งของเขาไป ตองเปนตัวบุคคลนั้นเขาไป และการเขาไปในสถานทีต่ ามที่ระบุไวโดยไมมีเหตสุ มควร เปน ความผดิ ทนั ที ๔.๒ การซอนตัวอยูนั้น หมายความรวมถึงผูท่ีไดเขาไปในเคหสถาน อาคารเก็บ รักษาทรัพยหรือสาํ นักงาน โดยไดรับอนุญาตยินยอมโดยตรงหรือโดยปริยายจากผูครอบครอง เชน การเชื้อเชิญจากผูครอบครองใหเขาไปหรือสถานที่น้ันมีงานมหรสพใหประชาชนเขาไปชมได การเขาไปเชนน้ียังไมมีความผิด แตเมื่อเสร็จธุระกลับซอนตัวอยูยอมเปนความผิดตามมาตราน้ีทันที และคาํ วาซอนหมายความวา บงั แอบแฝง ซอนเรนไมใหเ ห็น ซงึ่ อยูในลกั ษณะท่จี ะไมใหผ ูอ ่ืนคนพบ หรือยากทีจ่ ะคนพบ

๒๒๗ ๔.๓ คาํ วา “เคหสถาน” หมายความวา ที่ซ่งึ ใชเ ปน ทอี่ ยูอาศัย เชน โรง เรือน เรอื หรือแพ ซ่ึงคนอาศัย และใหหมายความรวมถึงบริเวณของที่ซ่ึงใชเปนที่อยูอาศัยน้ันดวย จะมีร้ัวลอม หรอื ไมก็ตาม ทง้ั นต้ี ามความในมาตรา ๑(๔) ในบทนิยามทีก่ ลา วมาแลว ๔.๔ คาํ วา “อาคารเก็บรักษาทรัพย” น้ัน หมายความถึงอาคารเก็บรักษาทรัพย ท่ัวๆ ไป เชน โกดังเก็บสินคา คลังสินคา โรงพักสินคา หองเก็บตูนิรภัยของธนาคารสาํ หรับ เกบ็ รกั ษาทรพั ย หรอื หอ งหรอื อาคารอนื่ ๆ ทสี่ รา งขน้ึ เพอ่ื เกบ็ รกั ษาทรพั ยก อ็ ยใู นความหมายของอาคาร เก็บรกั ษาทรพั ยท ั้งสิน้ ๔.๕ คําวา “สาํ นักงาน” หมายความถึงที่ทําการงานโดยทั่วๆ ไป ไมวาจะเปน สาํ นักงานสว นตัว หา งหุนสว น บรษิ ทั สถานที่ราชการ หรือองคการตา งๆ กต็ าม μÇÑ Í‹ҧ ®Õ¡Ò·èÕ ô÷ó/òõòò จําเลยเขาไปในบานผูเสียหายโดยบุตรีผูเสียหาย ซ่ึงเปนภรรยา โดยพฤตินัยของจําเลยนัดใหไปพบ ถือไดวาเปนการเขาไปโดยมีเหตุอันสมควรและแมเม่ือผูเสียหาย ไดไลจําเลยใหออกไป แตจําเลยไมยอมออก ทั้งนี้เพื่อขอรองภรรยาจาํ เลยกลับไปอยูกินดวยกัน ฉันสามภี รรยาดังเดมิ ดงั น้ี เห็นวาจาํ เลยไมมคี วามผดิ ฐานบกุ รุก ®¡Õ Ò·èÕ ùõñ/òõòù สามี จ.ไปทาํ งานตา งประเทศ จ. จึงมาอยูบา นผูเ สียหายซ่งึ เปน นองสาว ตอนดึกคืนเกิดเหตุ จาํ เลยเขาไปในบานผูเสียหายโดย จ. นัดใหจําเลยมา จึงไมใชเปนการ เขา ไปในบา นผเู สยี หายโดยไมไ ดรับอนุญาต จําเลยไมม คี วามผดิ ฐานบกุ รุก แม จ. จะเปนเพียงผูอ าศยั กไ็ มท าํ ใหก ารกระทาํ ของจาํ เลยกลายเปนบุกรกุ ®¡Õ Ò·Õè òð÷õ/òõòù บิดาจาํ เลยทะเลาะกับมารดาจาํ เลย แลวออกจากบานมาขอ แบงหองอยใู นตกึ แถวทเ่ี กิดเหตุของผเู สยี หาย ในวันเกิดเหตุนนั้ เอง การทจ่ี ําเลยเขาไปในตกึ ทเี่ กดิ เหตุ เพ่ือไปติดตามภรรยา ยอมมีเหตุอันสมควรและหาเปนการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย โดยปกตสิ ขุ ของผเู สยี หายซงึ่ อยใู นตกึ นน้ั ไม จําเลยไมม คี วามผดิ ฐานบกุ รกุ ตาม ป.อ.มาตรา ๓๖๒, ๓๖๔ ®Õ¡Ò·Õè òõôø/òõóò จาํ เลยเขาไปในหมูบานผูเสียหาย เพื่อทวงคาแรงท่ีผูเสียหาย คางบตุ รชายของจาํ เลย เปน การเขาไปโดยมเี หตุอันสมควรโดยสุจริต แมจ ําเลยจะไดถอื มีดเขา ไปดวย แตก็เปนเพียงมีดเหลียน ซ่ึงโดยท่ัวๆ ไปใชสําหรับหวดหญาและไมปรากฏวาจําเลยตั้งใจจะไปทําราย ผเู สยี หายแตแรก จึงไมอาจถอื ไดว าจาํ เลยมเี จตนาบกุ รุก ñ÷. º¡Ø ÃØ¡àËμ©Ø ¡Ãè ÁÒμÃÒ óöõ ถาการกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๓๖๒ มาตรา ๓๖๓ หรือมาตรา ๓๖๔ ไดก ระทาํ (๑) โดยใชก าํ ลงั ประทษุ ราย หรอื ขูเขญ็ วาจะใชก าํ ลงั ประทุษรา ย (๒) โดยมอี าวธุ หรือโดยรวมกระทาํ ความผดิ ดว ยกัน ตงั้ แตสองคนขนึ้ ไป หรอื (๓) ในเวลากลางคืน ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หา ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ หนงึ่ แสนบาท หรอื ทงั้ จําทง้ั ปรบั

๒๒๘ คํา͸ºÔ Ò มาตรานี้เปนเหตุฉกรรจของการกระทําความผิดตามมาตรา ๓๖๒ มาตรา ๓๖๓ และ มาตรา ๓๖๔ กลาวคอื การที่ผกู ระทําจะตอ งรับโทษหนกั ขน้ึ ตามมาตราน้ีน้ัน ในเบอื้ งตนการกระทาํ จะตอ งครบองคป ระกอบของความผดิ มาตรา ๓๖๒ หรอื มาตรา ๓๖๓ หรอื มาตรา ๓๖๔ แตล ะมาตราแลว และหากการกระทาํ ความผดิ นนั้ ตอ งดว ยเหตอุ ยา งใดอยางหนงึ่ ดงั ท่ีระบุไวใ นมาตรา ๓๖๕(๑) หรอื (๒) หรอื (๓) ผูกระทําก็ตองรบั โทษตามมาตรา ๓๖๕ ซึง่ มโี ทษหนักกวาโทษในมาตรา ๓๖๒ มาตรา ๓๖๓ หรอื มาตรา ๓๖๔ ฉะนน้ั ถา การกระทําเปนความผดิ ตามมาตรา ๓๖๕ แลว กไ็ มต อ งยกมาตรา ๓๖๒ มาตรา ๓๖๓ หรือมาตรา ๓๖๔ ขนึ้ ปรบั บทลงโทษอีก àËμ©Ø ¡Ãè㏠¹¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹ºØ¡Ã¡Ø Áմѧ¹éÕ (๑) โดยใชกําลังประทุษราย หรือขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษราย ใชกําลังประทุษราย มีความหมายตามบทนิยามในมาตรา ๑(๖) คือ ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจของบุคคลไมวา จะทาํ ดว ยใชแ รงกายหรอื ดว ยวธิ อี น่ื ใด และใหห มายความรวมถงึ การกระทาํ ใดๆ ซงึ่ เปน เหตใุ หบ คุ คลอยู ในภาวะทไี่ มส ามารถขดั ขนื ได ไมว า จะโดยใชย าทาํ ใหม นึ เมา สะกดจติ หรอื ใชว ธิ อี นื่ ใดอนั คลา ยคลงึ กนั เชน เขา ไปทํารา ยผอู ืน่ ในบานผดิ ทงั้ ฐานทํารายรา งกายและฐานบุกรกุ เปน ความผิดหลายบท ขเู ขญ็ จะใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย หมายความวา ยงั มไิ ดล งมอื ทาํ การประทษุ รา ย แตแ สดง วาจาหรอื กริ ยิ าใหท ราบวาจะกระทาํ เชนน้ัน เชน มีปนเขาไปในหองนอนของเขาเวลา ๐๒.๐๐ น. และ พูดขูเขญ็ ไมใหรอง เปนความผดิ ตามมาตรา ๓๖๔ มาตรา ๓๖๕ (๒) โดยมีอาวุธหรือโดยรวมกระทําความผิดดวยกันต้ังแตสองคนข้ึนไป อาวุธ หมายถึง สง่ิ ทเ่ี ปน อาวธุ โดยสภาพ และสงิ่ ซง่ึ ไมเ ปน อาวธุ โดยสภาพแตซ ง่ึ ไดใ ชห รอื เจตนาจะใชป ระทษุ รา ยรา งกาย ถึงอันตรายสาหัสอยางอาวุธตามบทนิยามในมาตรา ๑(๕) การบุกรุกโดยมีอาวุธ คือมีอาวุธติดตัวไป บกุ รกุ ไมไ ดห มายความวา จะตอ งใชอ าวธุ ในการบกุ รกุ เพยี งแตม อี าวธุ ตดิ ตวั ไป เชน พกหรอื เหนบ็ ไวท เี่ อว หรือใสไวใ นกระเปา ไมจาํ ตองถือไวในมอื ก็เปน ความผดิ ตามอนมุ าตราน้ี ลักษณะฉกรรจอ ีกประการหนงึ่ ในอนุมาตรา (๒) น้ี โดยรว มกระทําความผดิ ดวยกัน ตั้งแตสองคนขึ้นไป ซ่ึงหมายความวา รวมกระทําโดยเปนตัวการตามมาตรา ๘๓ ไมใชผูสนับสนุน ตามมาตรา ๘๖ การนับจํานวนผูกระทําความผิดตองนับเฉพาะผูที่เปนตัวการดวยกันเทานั้น และ เม่ือการกระทาํ เปนความผดิ ตามมาตรา ๓๖๕(๒) เพราะมบี คุ คลต้งั แตส องคนขึ้นไปรวมกนั บุกรกุ แลว ก็ไมเปนความผิดตามมาตรา ๓๖๒ ซึ่งเปนบทบัญญัติสําหรับความผิดฐานบุกรุกอันไมมีเหตุฉกรรจ อีกบทหน่ึงดว ย (๓) ในเวลากลางคนื คําวา “กลางคืน” มีความหมายตามบทนิยามในมาตรา ๑(๑๑) คือ เวลาระหวางพระอาทิตยต ก และพระอาทติ ยขึน้

๒๒๙ μÑÇÍÂÒ‹ § ®Õ¡Ò·èÕ ñóñð/òõñó ผูเสียหายสวมสรอยคอนอนหลับอยูในหองกับเด็กตอนกลางคืน จําเลยมีเจตนาลกั สรอ ยผเู สยี หาย จึงเขา ไปในหองนน้ั แตห องมืด จําเลยจงึ คลาํ ทค่ี อเดก็ โดยคดิ วาเปน คอผูเสียหาย เด็กต่ืนขึ้นจําเลยจึงหนีไป การกระทาํ ของจําเลยเปนความผิดฐานบุกรุก และพยายาม ลักทรพั ย การบุกรุกเขาไปเพื่อลกั ทรพั ย ถือวา เปนกรรมเดยี วผดิ กฎหมายหลายบท ®Õ¡Ò·èÕ ÷óø/òõñõ จําเลยถือปนส้ันมาพูดขูจะยิงผูเสียหาย ผูเสียหายหนีขึ้นไปอยู บนบาน จําเลยตามไปถึงบันไดบานผูเสียหายซ่ึงอยูติดทางเดินและจะขึ้นไปบนบาน ก็มีคนเขากอด ดึงจําเลยไว แสดงวาจําเลยมีเจตนาบุกรุกเขาไปในบานผูเสียหาย แตจําเลยกระทําไปไมตลอดจึงเปน ความผดิ ฐานพยายามบุกรุก โดยมีอาวธุ ปนตดิ ตัว ®¡Õ Ò·Õè ñù÷ñ/òõñø ก. ข. เปน ญาตเิ คยไปมาหาสกู นั ก. ไปรอ งดา ข. ท่ถี นนแลว ขน้ึ บันไดไปรองดา ข. ขเู ข็ญใหเปดหนา ตางบา นน้ัน มคี วามผดิ ฐานบกุ รกุ ตามมาตรา ๓๖๕ ÁÒμÃÒ óöö ความผิดในหมวดน้ี นอกจากความผิดตามมาตรา ๓๖๕ เปนความผิด อันยอมความได Å¡Ñ É³Ð ñó _¤_Ç__Ò_Á_¼_´Ô__à_¡_ÂèÕ _Ç_¡__ºÑ _È_¾__ ÁÒμÃÒ óöö/ñ ผูใ ดกระทําเพอ่ื สนองความใครข องตน โดยใชอวัยวะเพศของตนลวงล้าํ อวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือชองปากของศพ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกิน หกหมื่นบาท หรือทง้ั จําท้ังปรับ ÁÒμÃÒ óöö/ò ผใู ดกระทําอนาจารแกศ พ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเ กินสองป หรือปรบั ไมเ กนิ สห่ี มื่นบาท หรอื ทงั้ จาํ ท้ังปรบั ÁÒμÃÒ óöö/ó ผูใดโดยไมม เี หตุอนั สมควร ทําใหเ สียหาย เคลื่อนยา ย ทําลาย ทําใหเสื่อมคา หรือทาํ ใหไรประโยชนซึ่งศพ สวนของศพ อัฐิ หรือเถาของศพ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินสามป หรือปรบั ไมเกินหกหมนื่ บาท หรือทั้งจาํ ทง้ั ปรับ ÁÒμÃÒ óöö/ô ผูใดกระทาํ ดวยประการใดๆ อันเปนการดูหม่ินเหยียดหยามศพ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ สามเดอื น หรือปรับไมเ กนิ หา พันบาท หรอื ท้งั จําท้ังปรบั * มาตรา ๓๖๖/๑ เพมิ่ เติมโดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ที่ ๒๗) พ.ศ.๒๕๖๒ ลง รกจ.เลม ๑๓๖/ ตอนที่ ๖๙ ก/หนา ๑๓๓/๒๗ พ.ค. ๖๒

๒๓๐ ÊÃػἹ¼Ñ§¢ÍŒ áμ¡μÒ‹ §ÀÒ¤·ÃѾ ñ) ÅÑ¡·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ óóô) Çè§Ô ÃÒÇ·Ã¾Ñ Â (ÁÒμÃÒ óóö) - เอาไป - ใชก ิรยิ าฉกฉวยเอาซงึ่ หนา หรือ - เกรงกลวั ตอ เจาทรัพย - กระทาํ ในลกั ษณะอกุ อาจไมเ กรงกลวั ตอ เจา ทรพั ย ò) ÅÑ¡·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ óóô) ÂÑ¡ÂÍ¡ (ÁÒμÃÒ óõò ÇÃäáá) - ไมมีการครอบครองทรัพย หรือ - มีการครอบครองทรพั ย - อาจมเี พยี งการยดึ ถอื ช่ัวคราวเทานนั้ ó) Å¡Ñ ·ÃѾ (ÁÒμÃÒ óóô) Â¡Ñ ÂÍ¡·ÃÑ¾ÂÊ¹Ô ËÒ (ÁÒμÃÒ óõò ÇÃäÊͧ) - รหู รอื ควรจะรูว า อยูในระหวา งการตดิ ตาม - ไมร หู รือไมค วรจะรวู าอยูในระหวา งการตดิ ตาม เอาคืนของเจาทรัพย (ทรพั ยนั้นวางหรอื หลน เอาคืนของเจาทรพั ย (ทรัพยน นั้ วางหรือหลนไว ไวเ ปน ที่เปนทาง) ไมเปน ท่ีเปน ทาง) ô) ÅÑ¡·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ óóô) ทาํ ãËŒàÊÕÂ·Ã¾Ñ Â (ÁÒμÃÒ óõø) - เพือ่ แสวงหาประโยชนทีม่ คิ วรไดโดยชอบ - ทําลายในทันทีทนั ใดน้นั ดวยกฎหมายสาํ หรบั ตนเองหรอื ผูอ ่ืน - แมการกระทําน้ันจะมีการยึดถือทรัพยเคล่ือนที่ (โดยทุจริต) ไป แตเปนการเคล่ือนท่ีอันเปนสวนหนึ่งของ ก า ร ก ร ะ ทํ า ท่ี เ ป  น ก า ร ทํ า ล า ย ท รั พ ย  นั้ น เ อ ง การกระทําเปนการตัดการครอบครองและ กรรมสิทธิ์ดวยก็จริง แตเปนการตัดดวยการ ทําลายมิใชตัดดวยการแยง การครอบครอง เอาทรัพยไป การเอาไปไมสมบูรณ ไมครบองค ประกอบความผิดฐานลักทรัพย จึงไมมีผิดฐาน ลักทรัพย õ) ÅÑ¡·ÃѾÂ⏠´Â㪌¡Å꼯 Ò ©ŒÍ⡧ (ÁÒμÃÒ óôñ) - การไดทรพั ยไปไมใ ชผลจากการหลอกลวง - การไดทรัพยไปนั้นเปนผลโดยตรงจากการ - หลอกเพ่อื ใหไ ดใ กลชิดกบั ตัวทรพั ย หรือ เพื่อความสะดวกแกก ารลกั ทรัพย หรือเพื่อ หลอกลวง โดยเจาทรัพยห ลงเช่อื ใหการลักทรพั ยนัน้ แนบเนียนย่งิ ข้นึ - หลอกเอากรรมสิทธ์ิหรือการครอบครองทรัพย - หลอกเอาการยดึ ถือชัว่ คราว (ผูถูกหลอก มไิ ดม อบการครอบครองให) (ผูถูกหลอกตองมีกรรมสิทธิ์หรือมีการครอบครอง ทรัพย ถาผูถูกหลอกมีแตเพียงการยึดถือชั่วคราว ถึงผูหลอกจะหลอกอยางไรก็ไมเปนฉอโกงเปน เพยี งลกั ทรพั ยโ ดยใชกลอุบายเทาน้นั )

๒๓๑ ö) ª§Ô ·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ óóù) ¡ÃÃ⪡ (ÁÒμÃÒ óó÷) ๑. ขูตอชวี ติ -รา งกายของผถู กู ขูเขญ็ ๑. ขตู อชวี ติ รางกาย เสรภี าพ ทรัพยส ิน ฯลฯ ของ ๒. โดยใชก าํ ลังประทุษรายหรอื ขเู ขญ็ วาใน ทนั ใดนน้ั จะใชกําลังประทษุ รา ย ผถู ูกขูเข็ญ หรือบคุ คลที่ ๓ ๓. ขูเอาทรพั ยเทา นั้น ๒. กรณีขูต อ ชีวิต-รา งกายเปน การขูใ นอนาคต ๔. ความผดิ สําเรจ็ เมื่อไดท รัพยหรอื ผถู กู ขูเขญ็ ๓. ขูเอาทรัพย หรือประโยชนในลักษณะที่เปน สงมอบทรัพยใหดว ยความกลัวจากการใช กาํ ลงั ประทษุ ราย หรอื ขูเข็ญวาในทันใดน้นั ทรพั ยส ิน จะใชกําลังประทุษราย (ผกู ระทาํ ผดิ ตองได ๔. ความผิดสําเร็จเมื่อผูถูกขูเข็ญยอมจะใหทรัพย ทรัพยไ ปแลว) หรือประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสินดวย ความกลัวจากการขูเข็ญ (จะสงมอบทรัพยให แลว หรือไมไ มสาํ คญั )

ÊÃ»Ø ¡ÒÃμÑ駢͌ ËÒ ๒๓๒ ลาํ ดับ ฐานความผดิ องคประกอบความผิด มาตรา อัตราโทษ หมายเหตุ ๑. ลักทรัพย ๑. เอาไป ๓๓๔ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๓ ป และ ๒. ทรัพยข องผูอื่นหรือที่ผูอน่ื เปนเจาของรวมอยดู วย ปรับไมเ กิน ๖๐,๐๐๐ บาท ๓. เจตนา เจตนาพเิ ศษโดยทจุ รติ ๒. ลกั ทรพั ยทม่ี ีเหตุฉกรรจ ๑. (ล๑ัก)ทรใพันยเว ลากลางคืน ๓๓๕ ต๕องปร ะแวลาะงโปทรษับจํา๒ค๐ุก,ต๐้ัง๐แ๐ต บ๑าทปถถึงึง (๒) - (๑๒) ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒. เจตนา ๓. ว่งิ ราวทรัพย ๑. ลักทรพั ย ๓๓๖ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๕ ปแ ละ วโทรรษคหสนอักงข,น้ึ สาม, สี่ เปน เหตฉุ กรรจทม่ี ี ๓๒.. ฉเจกตฉนวายเโอดายซท่งึ จุ หรนติ า ปรบั ไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๔. กรรโชกทรัพย ๑. ขม ขืนใจผูอืน่ ๓๓๗ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตห กเดอื นถงึ ๑.๑ ใหยอมให วรรค ๗ ป และปรับต้ังแต ๑๐,๐๐๐ บาท ๑.๒ ยอมจะให สอง ถงึ ๑๔๐,๐๐๐ บาท ๒. แกตนหรอื ผูอืน่ ๓. ไดร บั ประโยชนในลักษณะทเี่ ปนทรพั ยส ิน ๔. โตดอ ยชใวีชติ ก าํราลงงั กปารยะทเสษุ รรภี า ายพหชรอื่อื เขสเู ขยี ญ็ง หวรา อืจะททรพัาํ อยนัส นิตขราอยง ๕. ผจนูถกูผขูถูเกู ขข็ญม หขรนื อื ใจบยุคอคมลเทช่สีน าวมานน้ั ๖. โดยเจตนา ๕. รีดเอาทรพั ย ๒๓๑... ตจโเจขจดมะนนตยทขหผนขนืาํถูรเูาใอืขใูกหจญ็ผขผผอูมวถูอู นื่ขา ูกื่นไืนจขดใะใหเูรจเขบัปยยญ็ ปดออหรเมมผะรใเยโอืชหยคนบหชววุคนราาือคใมนนยลลน้ัลอทบั กั มสี่ ษซาจณง่ึมะกใเะาสหเรปยี เนหปทาด ยรเผพั ยยนส นั้นิ ๓๓๘ ถ๑ตงึอ๐ง๒ปร๐ะแว๐ลา,ะ๐งปโ๐ทร๐บัษบตจาํางั้ แคทตกุ ต๒้งั ๐แ,ต๐ ๐๑๐ปบ าถทงึ ๕๔..

ลาํ ดบั ฐานความผดิ องคประกอบความผิด มาตรา อตั ราโทษ หมายเหตุ ๖. ชชถงิิงึงททวรรรรัพัพคยยหตกามเปมนาเตหรตาุให๓ร ๓ับ๙โทษวหรรนคกั สขาน้ึ ม ๒๑.. (โ(จโกล((เ(๒๑๕๓๔จดดาะกั ต)ร))))ยยใทใชนเใชรจชกเเเเเกาัพพพพพพตกําาํ ยลนอ่่ือืืออ่อ่่ืืําลงัลงัาสใปยใปหหปังเะึดกรพปยจรดะถปื่อะารื่นทวอืด กะทษุกใเกทหกอุษรแาาาุษซากรรยรท่งึารกกหถทยารารรูกยรพัรอืะจัพลขทยับหเูกัยขาํนกทรญน็ค้ันมุือรวัน้วัพขาา จูเมยขะผห็ญใชิดรกวอื าําพลใงนัาปททรรันะพัทใดษุยรนไาปั้นย ๓๓๙ ถ๑ตึงอ๐ง๒ปร๐ะแว๐ลา,ะ๐งปโ๐ทร๐บั ษตบจง้ั ําาแคทตกุ  ๑ต๐ัง้ แ๐ต,๐ ๐๕๐ปบ าถทึง ๓. ๔. ๗. ถปปึงลลวนนรททรครรพััพหยยาเต ปาน มเมหาตตุใรหารับ๓โ๔ท๐ษวหรนรกัคขสึ้นอง ๒๑๓... ชโเจดิงตยทนรรวาัพมยก ระทําผิดตงั้ แตสามคนขนึ้ ไป ๓๔๐ ต๑ถึงอ๕ง๓ปร๐ะแว๐ลา,ะ๐งปโ๐ทร๐บัษตจบงั้าําแคทตกุ  ต๒งั้๐แ๐ต,๐ ๑๐๐๐ปบาถทงึ ๘. ฉอ โกงทรัพย ๑. ๒เห๑๒๑โจด..ล..ต๑๒ย๑๒อนกกททไแปาาดลสาํรํากไโวใหปดลปดหงซางลดยผผงึ่ขยอถขทูทอูอเกกูอรุจอ่นืคพัลหครกวยวลิตวสาสงอาามนินกมรจอน้ัลสจาันวกริทงเงิผธหปซถู ิรนกูง่ึ อื หคเบทลวคุอ็จรคกบหลลอรวทือกงส่ีหใาหรมอืแ ทบจาํคุง ลคาลยทหส่ี ราอืม ๓๔๑ ตทหอรัง้ อืจงาํรปทะรว้ังบั าปไงมรโบัเทกษนิ จํา๖ค๐ุก,๐ม๐ไม๐เบกาินท๓หรปอื  ๒. ๓. ๙. ฉอ โกงประชาชน ๑๔๒๓.... กเแปจสรกตะดปนทงด าขาํ คผอ โวดิดคายตวมาทาจมมจุรเรงิ ทมิตซ็จ.๓่ึงตค๔อว๑ปรรบะอชกาใชหนแหจรง อืแกป ระชาชน ๓๔๓ ตหหรอรอืืองทรปะ้งัรวจับาาํ ไทงมโง้ั ทเปกษรินับจํา๑ค๐ุก๐ไม,๐เก๐ิน๐ ๕บาปท ๑๐. โกงเจาหน้ี ๑. ชทเโเอพดิงาํ ายือ่ทใไหเใรปจหัพไ เตรเสยปกนยี อิดราทนัะคโาํตวยใานหชมจเนเสําส ยีนยี หาํ หไาวายแยทกแาํผกลอูผารูืน่ ยบั ทจาําํ ในหําเ สอ่ื มคา หรอื ๓๔๙ ตหทรอง้ั จืองาํปรทะรั้งวับปาไมรงบัโเทกินษจ๔ํา๐ค,ุก๐ไ๐ม๐เกบินาท๒หรปือ ๒๔๓... ๒๓๓

ลําดับ ฐานความผดิ องคป ระกอบความผดิ มาตรา อัตราโทษ หมายเหตุ ๒๓๔ ๑๑. ยกั ยอกทรพั ย ๔ท๓๒๑.สี่... าเเเทคมจจบรรตตียอัพนนดบยาาบคขพังอรเิเองศอผงษาทูอ ทรโ่ืนรดพั หัพยยรยทือนุจผร้ันูอ ติ เืน่ ปเนปขน อเจงาตขนอหงรรือวมขออยงบูด ุคว ยคล ๓๕๒ หหตรอรอืืองทรปะง้ั รวจับาําทงไมโั้งทปเษกริบันจําค๖ุก๐ไ,ม๐เ๐กิ๐น ๓บาปท ๑๒. รบั ของโจร ๑. รซรชคหโดดัีบววง่ึรยาทยเอืไอวมเซรเจดาจผัพอ ตทวาดิ นยนพยนรเอพัาปรน้ันนัน ยรเกัขไะงจาดชกาลาํมิงานหกัทารษยนโรใดณกัดาัพยยยๆะยอกลพ ปากัการทลทเกอรนรรพัาพัทะไยยรทป ัพวําเง่ิสยผรยีิดาฉวซอทอื้ โรกพัจงาํยนย กาํักรยรหโอรชอืกก ๓๕๗ หหตรอรอืืองทรปะ้งัรวจับาาํ ไทงมโัง้ ทเปกษรินบัจํา๑ค๐ุก๐ไม,๐เก๐ิน๐ ๕บาปท ๓๒.. ๔. ๑๓. ทาํ ใหเสียทรพั ย ๑. ชทโไรดงิําปยทใรหเรจะพัเตโสยยนียขชาหอนาง ยผอู ทนื่ ําหลราอื ยผอู ทน่ื ําเใปหน เสเจ่ือา มขคอางรวหมรอือยทดูําวใหย ๓๕๘ หหตรอรอืืองทรปะ้งั รวจับาาํ ทงไมโั้งทปเษกริบันจําค๖ุก๐ไ,ม๐เ๐กิ๐น ๓บาปท ๒๓.. ๑๔. บุกรกุ อสังหารมิ ทรัพย ๑๒.. ๒เ๒เมขจเี..าตจ๒๑ไนตปแถอเนาขใอืตสานาไังกบเปอหพาากสาร่ือรงังรคะสิมหทรว าอทํานกรบราพัิมครหใทยรดรขอรๆืออัพงอองยนัเสขขเปงัาอหนโงดกาผยารรอูมปิ ร่นืทกบตกรวพัสิ นุขยกทารง้ั คหรมอบดคหรรออื ง ๓๖๒ หหตรอรอืืองทรปะงั้ รจวับําาทไงมโง้ั ทปเกษรินบัจําค๒ุก๐ไ,ม๐เ๐ก๐ิน บ๑าปท ๓. ๑๕. บกุ รกุ เคหสถานผอู นื่ ไมม เี หตอุ นั สมควร ๑. หหเไเขจมราาตย ไือมปนอสมหมาาํิใรอหนอื อเักซขกองาไานไปนปตจใวัไานอดกยกไสลใูาถนอราเคคอนรหกทอสเ่ี ชถบานคนวราออนางคน้ัผาอูเรม่ืนเกอื่ บ็ ผหรมูรกั สีือษทิ าธททิรพัจ่ี ยะ ๓๖๔ ตหหรอรือืองทรปะั้งรจวับําาทไงมโั้งทปเกษรินบัจําค๒ุก๐ไ,ม๐เ๐ก๐ิน บ๑าปท ๒. ๓.

๒๓๕ ô. คาํ ¶ÒÁ·ŒÒº·àÃÕ¹ ๑. นายสมชาย ยืมรถจักรยานยนตข อง นายสมชาติ ไปใช ตอมานายสมชาย ไดนํารถ คนั น้นั ไปขายใหผ ูอ่นื นายสมชาย จะมคี วามผดิ ฐานใด ๒. นางแตว เดินเขาไปในตลาดพบสรอยคอทองคําตกอยูไมรูวาเปนของใคร นางแตว จึงเกบ็ เอาสรอยเสน น้ันไปโดยทุจรติ นางแตว ผดิ อาญาฐานใด ๓. จงอธิบาย องคป ระกอบในความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย ๔. นางสาวสดุ สวย จะเขา หอ งนา้ํ จงึ มอบกระเปา ถอื ฝาก นางเหลอื ง ใหถ อื ไว นางเหลอื ง ถือวสิ าสะเปด กระเปา ถือ ของนางสาวสดุ สวย เอาสรอยและธนบตั รไป ดงั น้ี นางเหลอื ง จะมคี วามผดิ ฐานใด ๕. นายโปง รวบคอ นางแปน เพื่อใหรูวาสวมสรอยคออยู แลวกระตุกสรอยคอหนัก ๒ สลึง สรอ ยบาดคอ นางแปน เปนแผลเล็กนอ ย การกระทําของนายโปง จะเปน ความผดิ ฐานใด

๒๓๖ àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§ เกยี รตขิ จร วจั นสวสั ด.์ิ (๒๕๕๑).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาค ๑ กรงุ เทพฯ:พลสยามพรนิ้ ตง้ิ . คณติ ณ นคร.(๒๕๔๗). กฎหมายอาญา ภาคท่วั ไป. กรงุ เทพฯ:วิญูชน. ทวเี กยี รติ มนี ะกนษิ ฐ.(๒๕๕๓).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคทว่ั ไป. กรงุ เทพฯ:วญิ ชู น. ประภาศน อวยชยั .(๒๕๒๖).ประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑. กรงุ เทพฯ:สาํ นกั อบรมศกึ ษา กฎหมายแหง เนตบิ ณั ฑติ ยสภา. สหรัฐ กิติศุภการ.(๒๕๕๗).หลักและคําอธิบายกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:อมรินทร พร้นิ ต้งิ แอนดพับลชิ ช่งิ บุญเพราะ แสงเทยี น.(๒๕๕๒).กฎหมายอาญา ๑ ภาคทว่ั ไป.กรงุ เทพฯ:บรษิ ัทวทิ ยพัฒน จาํ กดั สหรัฐ กิติศุภการ.(๒๕๖๓.)หลักและคาํ อธิบายกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:บริษัทอมรินทร พร้ินตง้ิ แอนดพบั ลิชช่ิง. สุพจน นาถะพินธุ.(๒๕๓๓).ประมวลกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพรุงเรืองธรรม. สุวัฒน ศรีพงษสุวรรณ.(๒๕๔๙).คําอธิบายประมวลกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ: นติ บิ รรณาการ. วินัย เลิศประเสริฐ.(๒๕๔๗).วธิ ีไลส ายกฎหมายอาญา เลม ๑.กรงุ เทพฯ:อินเตอรบุคส. เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์.(๒๕๕๐).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิด เลม ๑. กรุงเทพฯ:หางหนุ สวนจาํ กดั จริ ัชการการพมิ พ.

๒๓๗ º··Õè ù º·ºÞÑ ÞμÑ ·Ô Õè㪌¡ºÑ ¤ÇÒÁ¼Ô´ÅËâØ ·É ñ. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃÐจําº· ๑. เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูความเขาใจ เรื่องกฎหมายอาญาเก่ียวกับ ความผิดฐานตา งๆ ๒. เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ ทราบถงึ การวดั ผลและประเมนิ ผล วชิ ากฎหมายอาญา ๒ ๓. เพ่อื ใหน ักเรียนนายสบิ ตาํ รวจมีความรู เกี่ยวกับบทบญั ญัติทใี่ ชกับความผดิ ลหโุ ทษ ò. ÊÇ‹ ¹นํา นักเรียนจะไดศึกษาประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๒ เรื่องเกี่ยวกับบทบัญญัติที่ใชกับ ความผิดลหุโทษ อันไดแก บทบัญญัติในลักษณะ ๑ ใหใชกับความผิดลหุโทษ ความผิดลหุโทษ ไมตองกระทําโดยเจตนา ไมมีพยายามกระทําความผิดลหุโทษ ผูสนับสนุนในความผิดลหุโทษ ไมต อ งรบั โทษ ตลอดจนแนวคาํ พพิ ากษาทเี่ กยี่ วขอ งเพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใชป ระกอบการเรยี น การสอน ó. à¹é×ÍËÒ ÁÒμÃÒ ñðò ºÞÑ ÞμÑ ÔÇ‹Ò “ความผดิ ลหุโทษ คือความผดิ ซ่งึ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หน่งึ เดอื น หรอื ปรับไมเ กนิ หนึง่ หม่ืนบาท หรือทัง้ จาํ ทง้ั ปรบั เชนวามานด้ี วยกนั ” ÁÒμÃÒ ñðò เปนบทบัญญัติกําหนดความหมายของความผิดลหุโทษ โดยถือเอา อัตราโทษเปนเกณฑ อัตราโทษนั้นคืออัตราโทษช้ันสูงท่ีบัญญัติไวในกฎหมาย ความผิดลหุโทษ ตามมาตรา ๑๐๒ จึงไดแ กความผดิ ท่มี อี ตั ราโทษดังน้ี (๑) จาํ คกุ ไมเกินหน่ึงเดือน หรอื (๒) ปรับไมเกนิ หน่งึ หม่นื บาท หรอื (๓) ทั้งจาํ ท้งั ปรับ ¢ŒÍÊѧà¡μ ÁÒμÃÒ ñðò เปน หลักทัว่ ไปในความผดิ ลหโุ ทษ ความผิดในภาค ๓ ตั้งแตมาตรา ๓๖๗ ถึง ๓๙๘ เปนความผิดลหุโทษทั้งสิ้น เพราะความผิดทุกมาตรากําหนดระวางโทษไมเกินที่ระบุไวใน มาตรา ๑๐๒ นอกจากความผิดตามที่บัญญัติไวในภาค ๓ แลว มาตรา ๑๐๒ ใชในกฎหมายอื่นดวย ฉะนน้ั ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ติ า งๆ ทมี่ รี ะวางโทษไมเ กนิ ทร่ี ะบไุ วใ นมาตรา ๑๐๒ ถอื เปน ความผดิ ลหุโทษดวย (ฎีกาท่ี ๘๗๐/๒๔๙๖) แมจะเปน พระราชบัญญัตทิ ่ใี ชบ งั คับกอ นประมวลกฎหมายอาญา

๒๓๘ เพราะพระราชบญั ญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.๒๔๙๙ มาตรา ๕ ใหถ อื กาํ หนดช้นั ของโทษ ตามกฎหมายท่ีอางถึงโทษฐานลหุโทษตามกฎหมายลักษณะอาญาตรงกับบทกําหนดโทษความผิด ลหโุ ทษในภาค ๓ º·ºÑÞÞÑμãÔ ¹Å¡Ñ ɳРñ ãˌ㪌¡ºÑ ¤ÇÒÁ¼´Ô ÅËØâ·É ÁÒμÃÒ ñðó บญั ญตั วิ า “บทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๑ ใหใ ชใ นกรณแี หง ความผดิ ลหโุ ทษดว ย เวน แตท ี่บญั ญตั ไิ วใ นสามมาตราตอ ไปน้”ี (คอื มาตรา ๑๐๔, ๑๐๕ และ ๑๐๖) ÁÒμÃÒ ñðó ใหนําบทบัญญัติในลักษณะ ๑ มาใชแกความผิดลหุโทษโดยไมตองอาศัย มาตรา ๑๗ เพราะมาตรา ๑๗ มีความประสงคใหนาํ ลกั ษณะ ๑ ไปใชในกฎหมายอืน่ นอกจากประมวล กฎหมายอาญา บทบญั ญตั ลิ กั ษณะ ๑ ท่นี าํ มาใช เชน บทบญั ญตั ิเรอื่ งโทษ การยกเวน โทษ หรือลดโทษ เปน ตน วา จาํ เปน ปอ งกนั เดก็ บนั ดาลโทสะ ตวั การ ผสู นบั สนนุ ผใู ชใ หก ระทาํ ความผดิ ความผดิ หลายบท หลายกระทง อายุความ ¤ÇÒÁ¼´Ô ÅËØâ·ÉäÁ‹μÍŒ §¡ÃÐทําâ´Âà¨μ¹Ò ÁÒμÃÒ ñðô บัญญัติวา “การกระทําความผิดลหุโทษตามประมวลกฎหมายน้ี แมกระทําโดยไมมีเจตนาก็เปนความผิด เวนแตตามบทบัญญัติความผิดนั้น จะมีความบัญญัติใหเห็น เปน อยางอน่ื ” มาตรา ๑๐๔ วางหลักเกณฑความผิดสําหรับความผิดลหุโทษไวตางกับความผิดอาญา สามญั บัญญัตหิ ลักเกณฑไ วเ ปนพิเศษวา “แมก ระทําโดยไมม ีเจตนากเ็ ปน ความผดิ ” เพราะตาม ลักษณะแหงความผิดลหุโทษเปนเรื่องเล็กนอย “เวนแตตามบทบัญญัติความผิดน้ันจะมีความบัญญัติ ใหเห็นเปน อยางอื่น” คือ จะถอื วา ตอ งมีเจตนาเปน องคประกอบดวย เชน ความผิดตามมาตรา ๓๙๑ “ผูใดใชกําลังทํารายผูอ่ืนโดยไมถึงกับเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจ” แสดงอยูในตัววาตอง มีเจตนา ฉะนน้ั จะตอ งพจิ ารณาบทบัญญัติของแตละมาตราวาตองมีเจตนาหรือไม ถา ไมต อ งมเี จตนา เปน องคป ระกอบแลว จะกระทาํ โดยประการใดกเ็ ปน ความผดิ เชน มาตรา ๓๗๐, ๓๗๕, ๓๘๐ เปน ตน ®¡Õ Ò·Õè óññø/òõñö ผูวาราชการจังหวัดประกาศใหผูอางสิทธิวาเปนเจาของที่ดินใน ท่ีสาธารณประโยชนไปยื่นคาํ รองขอพิสจู นสทิ ธิภายใน ๑๕ วัน จาํ เลยเขาไปครอบครองที่ดินสว นหนง่ึ น้ันอยูก อ นแลว และเขาใจโดยสจุ รติ วา ครอบครองโดยชอบโดยทางราชการผอ นผนั ใหครอบครองไป จนกวาทางราชการจะพจิ ารณาแลวเห็นวา จําเปนจะตอ งใหจําเลยออกจากทีด่ ิน และแจง ใหออกแลว ดังนี้ แมตอมานายอําเภอไดแจงใหจําเลยออกไปจากท่ีดินนั้น โดยอางวาการท่ีจําเลยบุกรุกเขาไปกอ ความเดือดรอนแกสาธารณชน และจําเลยทราบคําสั่งแลวไมออกไปก็ไมเปนการจงใจฝาฝนกฎหมาย หรือคําสั่งของนายอําเภอ การกระทําของจําเลยจึงขาดเจตนาอันเปนองคประกอบความผิดอาญา ไมเปน ความผิดตามมาตรา ๓๖๘

๒๓๙ äÁÁ‹ Õ¾ÂÒÂÒÁ¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô ÅËâØ ·É ÁÒμÃÒ ñðõ บัญญัติวา “ผูใดพยายามกระทําความผิดลหุโทษ ผูนั้นไมตองรับโทษ” ตามหลักความผิดอาญาสามัญ เพียงพยายามกระทําความผิดก็ถือวาเปนความผิดแตใหลงโทษ นอ ยกวา การกระทาํ ความผดิ สาํ เรจ็ สว นความผดิ ลหโุ ทษมหี ลกั พเิ ศษตามมาตรา ๑๐๕ วา กรณพี ยายาม กระทาํ ความผดิ ผกู ระทาํ ไมต อ งรบั โทษ ทง้ั นไี้ มว า จะเปน พยายามกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๘๐ หรอื ๘๑ เนื่องจากความผดิ ลหโุ ทษเปน ความผดิ เล็กนอยมโี ทษเบา ®Õ¡Ò·Õè òó÷/òõðù โจทกบรรยายฟองวา จําเลยยกเทาซึ่งสวมรองเทาเง้ือจะถีบ ผูเสียหายแตไมไดบรรยายใหเห็นวา ถาจําเลยกระทําไปโดยตลอดแลวจะเกิดผลอยางไร ผลธรรมดา อันจะเกิดข้นึ เพราะการถบี จะทําใหเ กดิ อันตรายแกก ายหรอื จติ ใจหรือไม ไมอาจเล็งเหน็ ได หากจาํ เลย กระทําไปโดยตลอดแลวผลท่ีเกิดไมถึงกับเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจความผิดนั้นก็เปน ลหโุ ทษ เม่ือขอเท็จจรงิ ฟงไมไดวาจาํ เลยพยายามกระทําใหผเู สยี หายเกดิ อนั ตรายแกก ายแลว ก็ลงโทษ จาํ เลยตามฟองไมไ ด การเง้ือเทาจะถีบไมเปนอันตรายตอจิตใจ เพราะอันตรายตอจิตใจนั้นตองเปนผลจาก การทาํ รา ย แตมคี วามรูส กึ วาถูกเหยยี ดหยาม เจ็บใจ แคน ใจ เหลาน้ีเปน อารมณ หาใชเปนอันตราย ตอ จิตใจไม ¼ÙŒÊ¹ÑºÊ¹Ø¹ã¹¤ÇÒÁ¼´Ô ÅËâØ ·ÉäÁ‹μŒÍ§ÃºÑ â·É ÁÒμÃÒ ñðö บัญญัติวา “ผูสนับสนุนในความผิดลหุโทษไมตองรับโทษ” ตามหลัก ความผิดอาญาสามัญผูสนับสนุนมีความผิดดวย สวนความผิดลหุโทษมีหลักพิเศษในมาตรา ๑๐๖ โดยถือวาไมมีการสนับสนุนในความผิดลหุโทษ แมจะมีการสนับสนุนก็ไมต องรับโทษ เหตุท่ีกฎหมาย บญั ญตั ิเชนนเ้ี นือ่ งจากความผดิ ลหโุ ทษเปนเรอ่ื งเลก็ นอ ยมโี ทษเบา ¢ŒÍ椄 à¡μ ๑. ผูรวมกระทําความผิดและผูใชใหกระทําความผิด ไมมีกฎหมายยกเวน กฎหมาย ยกเวนไวเ ฉพาะผูสนับสนนุ ผรู ว มกระทาํ ความผิดและผใู ชใหก ระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๘๓ และ ๘๔ ยังมีความผิดอยูเหมือนความผิดอาญาทั่วไป ฉะน้ันผูรวมกระทําความผิดและผูใชใหกระทําความผิด ในความผิดลหุโทษ กต็ องมคี วามผดิ ๒. ใชใหสนับสนุนการกระทําความผิด ผูใชในกรณีนี้เปนผูสนับสนุน คือ สนับสนุน ดวยวิธีใชผ ูอ น่ื ใหสนับสนุน จงึ ไมตอ งรบั โทษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook