Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

Description: หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

Search

Read the Text Version

ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในโรงเรียนนำ ร่องและโรงเรียนเครือข่าย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 และใช้ในโรงเรียนทัว่ ไป ตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 เป็น ตน้ มาจนถึงปจั จุบนั หน่วยงานต่าง ๆ ท่รี บั ผดิ ชอบโดยตรง และมีสว่ นเกย่ี วข้องในการใช้หลักสตู รฉบับดังกล่าว นี้ ได้ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เช่น หลักสูตรช่วยส่งเสริมการกระจายอำนาจทางการศึกษา ทำให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามสี ่วนร่วมและมบี ทบาทสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการ ของตนเอง มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจนอย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดงั กลา่ วยังไดส้ ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ประเดน็ ท่เี ปน็ ปัญหา และความไมช่ ดั เจนของหลกั สตู รหลายประการ ทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วน ใหญ่กำหนดสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มาก การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้งปัญหาคุณภาพ ของผเู้ รียนในดา้ นความรู้ ทกั ษะความสามารถและคุณลักษณะอันพึงประสงคย์ ังไม่เปน็ ทน่ี า่ พอใจ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินการ ทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยนำข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาวิจัยดงั กล่าว และขอ้ มลู จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรฯ ใหม้ คี วามเหมาะสมชัดเจน ยิง่ ข้ึน ท้งั เปา้ หมายในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนและกระบวนการนำหลกั สูตรไปสู่การปฏบิ ตั ิในระดบั เขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษาโดยได้มกี ารกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมายสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแตล่ ะชั้นปี ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และมีความชัดเจนต่อการนำไป ปฏิบัติ เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทำหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ โดยเปิดโอกาสให้ สถานศกึ ษาเพิ่มเติมไดต้ ามความพรอ้ มและจุดเน้น และไดป้ ระกาศใช้เมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวทิ ย์ ฉบบั นไ้ี ดจ้ ัดทำข้ึนโดยใชห้ ลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นกรอบโดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่จัดตามมาตรฐานและ สาระแกนกลาง และสว่ นทจี่ ดั ให้สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของท้องถ่ิน โดยในภาพรวมหลักสูตรจะ มีความยืดหยุ่น โดยคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถที่เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และมี ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ต่อการดำรงชวี ิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสขุ

วสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น โรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ เป็นองค์การแห่งการเรยี นรู้ เน้นการบรหิ ารจัดการโดยการมีส่วนร่วมเพื่อ พัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษาใหส้ ามารถพัฒนาผู้เรียนทุกคน เป็นมนุษย์ท่ีสมดุลทั้งดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกที่ดีต่อสาธารณะ มีคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ รวมทั้งมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรกำหนด จนเป็นท่ียอมรับของชมุ ชนและบุคคลท่วั ไป สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับ ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ม่งุ เนน้ พัฒนาผู้เรียนให้ มีคณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ซ่ึงจะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน หลักสูตรโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๐ มุ่งให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตผุ ลและความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธกี ารส่ือสาร ทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มตี อ่ ตนเอง และสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่ือการตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา และมีกาตัดสนิ ใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล กระทบต่อตนเองและผูอ้ ่ืน

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรยี นธาตุทองอำนวยวทิ ย์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ อย่างมคี วามสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ษช์ าติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซอื่ สัตย์สุจรติ ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มจี ิตเป็นสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดใหผเู้ รยี นเรยี นรู 8 กลมุ สาระการเรียนรู ดงั นี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุมสาระการเรียนรูไดก้ ำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปน็ เป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู ปฏิบัติได้มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงคเมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาท้ัง ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบว่าตองการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้ง เปน็ เครื่องมอื ในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมินคุณภาพภายใน และการ ประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการ ตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเนสิ่งสำคัญที่ช่วยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถ พัฒนาผู้เรียนใหมคี ุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรียนรูกำหนดเพยี งใด

ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพงึ รูและปฏบิ ัติได้ รวมทั้งคุณลกั ษณะของผู้เรียนในแต่ละระดบั ช้นั ซ่งึ สะทอนถึง มาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นําไปใช ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วย การเรียนรู จัดการเรยี นการสอน และเป็นเกณฑสำคญั สำหรบั การวัดประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรยี น 1. ตัวชี้วดั ชนั้ ป เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรยี นแต่ละช้ันปในระดบั การศึกษาภาคบังคบั (ประถม ศึกษาปท่ี 1- มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3) 2. ตวั ชี้วดั ชวงช้นั เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผู้เรยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มธั ยมศึกษาปท่ี 4-6) หลักสูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เพื่อความเขาใจและให สื่อสาร ตรงกัน ดังน้ี ว 1.1 ป.1/2 ป.1/2 ตวั ชว้ี ดั ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ขอท่ี 2 1.1 สาระท่ี 1 มาตรฐานขอท่ี 1 ว กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ต 2.2 ม.4-6/ 3 ม.4-6/3 ตัวชี้วดั ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ขอท่ี 3 2.2 สาระที่ 2 มาตรฐานขอที่ 2 ต กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

ความสมั พนั ธของการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน วสิ ัยทัศน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกําลังของชาติใหเปนมนุษยที่มี ความ สมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจต คติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสาํ คญั บนพืน้ ฐาน ความเชอ่ื วา ทุกคนสามารถเรยี นรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศกั ยภาพ จุดหมาย 1. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ มทพ่ี ึงประสงค เห็นคณุ คาของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ิตนตาม หลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรูอันเปนสากลและมคี วามสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและมี ทักษะ ชีวติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มีสุขนิสยั และรักการออกกาํ ลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองใน ระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข 5. มจี ติ สาํ นกึ ในการอนรุ กั ษวฒั นธรรมและภูมิปญญาไทย การอนรุ กั ษและพฒั นาสง่ิ แวดลอม สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 1. รกั ชาติศาสน กษัตริย 2. ซื่อสตั ยสุจรติ 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ 3. มวี ินัย 4. ใฝเรียนรู้ 5. อยูอยางพอเพยี ง 6. มุงมั่นในการทาํ งาน 7. รักความเปนไทย 8. มจี ิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชว้ี ัด 8 กลมุ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร 3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1. กจิ กรรมแนะแนว 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2. กิจกรรมนักเรียน 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาตางประเทศ 3. กิจกรรมเพ่อื สังคม คณุ ภาพของผูเรียน ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรูใน 8 กลมุ สาระการเรยี นรู จาํ นวน 57 มาตรฐาน ดงั นี้ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคดิ เพื่อนาํ ไปใชตัดสนิ ใจ แกปญหาในการดําเนินชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอาน สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต างๆ เขยี นรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควาอยางมีประสทิ ธภิ าพ สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ ความรูสึกในโอกาส ตางๆ อยางมวี ิจารณญาณ และสรางสรรค สาระที่ 4 หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคณุ คาและนํามา ประยุกตใชในชวี ิตจรงิ กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร สาระที่ 1 จํานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการของจาํ นวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากากรดาํ เนินการ สมบตั ิของการดาํ เนนิ การและการนําไปใช มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป ความสมั พนั ธ ฟงกชนั ลําดับและอนกุ รม และนาํ ไปใช มาตรฐาน ค 1.3 ใชนิพจน สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พนั ธ หรอื ชวยแกปญหาทีก่ ําหนดให สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพ้ืนฐานเก่ียวกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ที่ตองการวัดและนําไปใช มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณติ ความสัมพนั ธระหวางรูปเรขาคณิต และทฤษฏีบททางเรขาคณิต และนาํ ไปใช สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนาจะเปน มาตรฐาน ค 3.1 เขาใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชความรูทางสถิตใิ นการแกปญหา มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนบั เบ้อื งตน้ ความน่าจะเปน็ และนําไปใช้

กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธระหวางส่ิงไมมีชีวิตกับสิง่ มีชีวิต และความ สัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไข ปญหาสิ่งแวดลอม รวมทงั้ นําความสําเร็จไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของส่งิ มชี วี ติ หนวยพ้ืนฐานของสง่ิ มชี ีวติ การลาํ เลยี งสารเขาและออกจากเซลล ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธ กนั รวมทง้ั นําความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสําคญั ของการถายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สารพันธกุ รรมการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของ สิง่ มีชีวิต รวมทัง้ นาํ ความรูไปใชประโยชน สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรกายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัตขิ องสสาร องคประกอบของสสาร ความสมั พันธระหวางสมบัติของสสารกับ โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําตอวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่ แบบ ตาง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนาํ ความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลีย่ นแปลงและการถายโอนพลังงานปฏิสมั พันธระหวาง สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาํ วัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณที่เกีย่ วของกับ เสียง แสงและแมเหลก็ ไฟฟา รวมทั้งนําประโยชนไปใชประโยชน สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการคิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ และระบบสรุ ิยะ รวมท้งั ปฏิสัมพนั ธภายในระบบสุรยิ ะที่สงผลตอส่งิ มีชีวติ และการประยุกตใช เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพนั ธของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศและภูมิโลก รวมทั้งผลต อชวี ิตและสง่ิ แวดลอม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอื่ การดาํ รงชวี ิตในสงั คมที่มีการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอื่นๆ เพื่อแกปญหาหรือ พัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช เทคโนโลยอี ยางเหมาะสมโดยคาํ นงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสิง่ แวดลอม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชิงคาํ นวณในการแกปญหาทีพ่ บในชีวติ จริงอยางเปนขัน้ ตอนและ

เปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสรเทศและการสือ่ สารในการเรียนรูการทาํ งาน และการแกปญหาได อยางมปี ระสิทธภิ าพรูเทาทัน และมจี ริยธรรม กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวตั ิ ความสาํ คัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอืน่ มีศรทั ธาทถ่ี ูกตอง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพื่ออยูรวม กนั อยางสนั ติสขุ มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปนศาสนิกชนท่ดี แี ละธํารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนาหรือ ศาสนาทต่ี นนบั ถอื สาระท่ี 2 หนาทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบตั ติ นตามหนาท่ขี องการเปนพลเมืองดี มคี านิยมทีด่ งี าม และธํารงรักษา ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดํารงชวี ิตอยูรวมกนั ในสงั คมไทย และ สังคมโลกอยางสันติสขุ มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจบุ นั ยึดมน่ั ศรัทธา และธาํ รงรักษาไวซง่ึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช ทรพั ยากรท่ีมีอยู จํากัดไดอยางมีประสทิ ธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการ ดํารงชีวติ อยางมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตาง ๆ ความสมั พันธทางเศรษฐกิจ และความจําเปนของ การรวมมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสาํ คญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชวิธกี ารทาง ประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพฒั นาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปจจบุ นั ในดานความสัมพนั ธและการ เปลย่ี นแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวเิ คราะห ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาไทย มคี วามรักความภูมิใจ และธาํ รง ความเปนไทย สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พนั ธของสรรพสง่ิ ซง่ึ มีผล ตอกัน ใชแผนทแ่ี ละ เครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูล ตามกระบวนการทาง ภมู ิศาสตร ตลอดจนใชภมู สิ ารสนเทศอยางมีประสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏสิ ัมพนั ธระหวางมนษุ ยกับสง่ิ แวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควิถกี าร ดาํ เนนิ ชีวติ มีจติ สํานึกในการจดั การทรัพยากรทางธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม เพอ่ื การพัฒนาที่ ยัง่ ยืน

กลมุ สาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา สาระที่ 1 การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย สาระท่ี 2 ชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเหน็ คณุ คาตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะในการดาํ เนนิ ชีวติ สาระที่ 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกาํ ลังกาย การเลนเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มที กั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลนเกม และกฬี า มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกาํ ลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบตั ิเปนประจาํ อยาง สม่ำเสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ แขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา สาระท่ี 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกนั โรค มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสขุ ภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกนั โรคและการสราง เสริมสมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ สาระท่ี 5 ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ปองกนั และหลกี เล่ยี งปจจยั เส่ียงพฤติกรรมเสย่ี งตอสขุ ภาพอบุ ตั ิเหตุ การใชยาสารเสพติดและ ความรุนแรง กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทศั นศิลปตามจนิ ตนาการ และความคิดสรางสรรค วเิ คราะห วพิ ากษ วิจารณ คณุ คางานทัศนศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิ ระ ช่ืนชม และ ประยุกต ใชในชีวติ ประจําวนั มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทศั นศลิ ป ประวตั ิศาสตร และวฒั นธรรม เหน็ คุณคางานทศั นศิลปที่ เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ภมู ิปญญาไทยและสากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณคุณคาดนตรี ถายทอด ความรูสึก ความคิดตอดนตรอี ยางอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใชในชวี ติ ประจาํ วัน มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คาของดนตรที ่เี ปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถนิ่ ภูมิปญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศลิ ป มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วจิ ารณคุณคานาฏศิลป์ ถายทอดความรูสกึ ความคิดอยางอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวนั มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสมั พนั ธระหวางนาฏศลิ ป ประวตั ศิ าสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของนาฏศิลปที่ เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญญาทองถ่ิน ภมู ิปญญาไทยและสากล

กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพ สาระท่ี 1 การดํารงชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มคี วามคิดสรางสรรค มที ักษะกระบวนการทํางาน ทกั ษะ การจัดการ ทักษะ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทาํ งานรวมกัน และทกั ษะ การแสวงหาความรู มคี ุณธรรม และลกั ษณะนสิ ัยในการทํางาน มีจติ สํานกึ ในการใชพลงั งาน ทรัพยากร และ ส่งิ แวดลอม เพ่ือการดํารงชีวติ และครอบครวั สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสง่ิ ของเคร่อื งใช หรือวิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลอื กใชเทคโนโลยใี นทางสรางสรรค์ ตอชีวิต สงั คม สิ่งแวดลอม และมี สวนรวมในการจดั การเทคโนโลยที ย่ี ่งั ยืน สาระท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คนขอมลู การเรียนรู การส่อื สาร การแกปญหา การทาํ งาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และมี คุณธรรม สาระที่ 4 การอาชพี มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มที ักษะท่ีจําเปน มปี ระสบการณ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนา อาชพี มีคณุ ธรรม และมีเจตคติที่ดตี ออาชีพ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สาระท่ี 1 ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตีความเรื่องทฟ่ี งและอานจากส่ือประเภทตางๆ และแสดงความคดิ เห็นอยางมีเหตผุ ล มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอมลู ขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเหน็ อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต 1.3 นําเสนอขอมูลขาวสารความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ ในเรื่องตางๆโดยการพดู และการ เขียน สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสัมพนั ธระหวางภาษากบั วฒั นธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยาง เหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมอื นและความแตกตางระหวางภาษาและวฒั นธรรมของเจาของภาษากบั ภาษา และวฒั นธรรมไทย และนาํ มาใชอยางถกู ตองและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลมุ สาระการเรียนรูอ่นื มาตรฐาน ต 3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอนื่ และเปนพื้นฐานในการ พัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พนั ธกบั ชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพืน้ ฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และการ แลกเปล่ียนเรยี นรูกบั สังคมโลก

กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปน มนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย ปลกู ฝงและสรางจติ สาํ นกึ ของการทําประโยชนเพอ่ื สังคม สามารถจดั การตนเองได และอยูรวมกับผูอ่ืนอยาง มี ความสุข กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน แบงเปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เปนกจิ กรรมทส่ี งเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รรู กั ษสง่ิ แวดลอม สามารถ คิดตัดสินใจ คิด แกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยาง เหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปน กิจกรรมที่ชวยเหลือและใหคําปรึกษาแกผู ปกครองในการมี สวนรวมพัฒนาผูเรียน 2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนําผูตามที่ดี ความ รับผิดชอบ การทํางาน รวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบง ปนกัน เอื้ออาทร และ สมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวยตนเองใน ทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุง การทํางาน เนนการทํางาน รวมกันเปนกลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บริบท ของสถานศึกษาและทองถิน่ กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดวย 2.1 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบําเพญ็ ประโยชน และนกั ศึกษาวิชาทหาร 2.2 กจิ กรรมชุมนุม ชมรม 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดงี าม ความเสยี สละตอสงั คม มจี ิตสาธารณะ เชน กจิ กรรมอาสาพฒั นาตาง ๆ กิจกรรมสรางสรรคสงั คม

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา ในการการจดั ทำโครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรียนธาตทุ องอำนวยวิทย์ แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน ได้แก่ โครงสร้างเวลาเรียน และโครงสรา้ งหลักสูตรชั้นปี ตอ่ ไปนี้ 1. เวลาเรยี นท่หี ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนด หลังจากประกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม 25๖๐ ได้มคี ำสง่ั ประกาศ และหนงั สือราชการ เกยี่ วกับโครงสร้างเวลาเรียนอยหู่ ลายฉบับซง่ึ บาง ฉบบั ยงั มผี ลบังคบั ใช้ และบางฉบบั ยกเลิกไปแล้ว ซ่ึงโดยสรปุ ดังนี้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ / ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศึกษา กิจกรรม ม.๑ ม.๒ ม.๓ ตอนปลาย ม. ๔ - ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ภาษาไทย ๒๔๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) คณิตศาสตร์ ๒๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๔๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๘ นก.) - ประวตั ิศาสตร์ ๘๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๒ นก.) - ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม - หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรมและการ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๒๔๐ (๖ นก.) ดำเนินชีวติ ในสงั คม (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) - เศรษฐศาสตร์ - ภมู ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.) ศิลปะ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ การงานอาชพี (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ภาษาตา่ งประเทศ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.) (พื้นฐาน) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ รายวิชา / กิจกรรมที่ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.) สถานศกึ ษาจัดเพ่ิมเตมิ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ ตามความพรอ้ มและจุดเนน้ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๑,๖๔๐ รวมเวลาเรียนทง้ั หมด (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๔๑ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ปลี ะไมเ่ กิน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๖๐๐ ๒๐๐ ชั่วโมง ชว่ั โมง ไม่นอ้ ยกว่า รวม ๓ ปี ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง / ปี ไม่นอ้ ยกว่า ๓,๖๐๐ ชวั่ โมง

โครงสร้างเวลาเรยี นของโรงเรียนธาตทุ องอำนวยวทิ ย์ ระดับมธั ยมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) ภาษาไทย 240 120 120 120 (6 นก.) คณิตศาสตร์ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 240 (6 นก.) วทิ ยาศาสตร์ 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 320 120 120 120 (8 นก.) -ประวตั ิศาสตร์ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 80 -ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 160 160 160 (2 นก.) -หนา้ ที่พลเมืองวฒั นธรรมและการ (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) 240 ดำเนินชีวติ ในสงั คม (6 นก.) -เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 -ภมู ิศาสตร์ (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) 120 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (3 นก.) 120 120 120 120 ศลิ ปะ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 120 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80 80 80 (3 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 240 ภาษาต่างประเทศ (6 นก.) 80 80 80 1,640 รวมเวลาเรยี น(พื้นฐาน) (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (41 นก.) 360 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 80 80 80 2,200 รายวิชา/กจิ กรรมทสี่ ถานศึกษาจัด (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (55 นก.) เพ่ิมเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 4,200 รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 120 120 120 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 880 880 880 (22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) 120 120 120 400 400 400 (10 นก.) (10 นก.) (10 นก.) 1,400 1,400 1,400

โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรียนธาตทุ องอำนวยวทิ ย์ ระดับชั้นตอนตน้ ม. 1 ปีการศกึ ษา 2564 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 (วิทย-์ คณิต) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 (ภาคเรียนท่ี 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 (ภาคเรียนท่ี 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หน่วยกติ ชั่วโมง หน่วยกติ ช่ัวโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท21101 ภาษาไทย1 1.5 3 ท21102 ภาษาไทย2 1.5 3 ค21101 คณติ ศาสตร์1 1.5 3 ค21102 คณติ ศาสตร์2 1.5 3 ว21101 วิทยาศาสตร์1 1 2 ว21102 วทิ ยาศาสตร์2 12 ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี1 0.5 1 ว21104 วทิ ยาการคานวณ1 0.5 1 ส21101 สังคมศกึ ษา1 ๑.๕ ๓ ส21102 สังคมศกึ ษา๒ ๑.๕ ๓ ส21103 ประวตั ศิ าสตร์1 0.5 1 ส21104 ประวตั ศิ าสตร์2 0.5 1 พ21101 สุขศกึ ษา1 0.5 1 พ21102 สขุ ศกึ ษา2 0.5 1 พ21103 พลศกึ ษา1 0.5 1 พ21104 พลศกึ ษา2 0.5 1 ศ21101 ศลิ ปะ-ดนตรี1 1 2 ศ21102 ศลิ ปะ-ดนตรี2 12 ง21101 การงานอาชพี ฯ ๑ (เกษตร) 1 2 ง21102 การงานอาชพี ฯ ๒ (เกษตร) 1 2 อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 1.5 3 อ21102 ภาษาองั กฤษ 2 1.5 3 รวม 11 22 รวม 11 22 รายวิชาเพม่ิ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หน่วย) รายวิชาเพมิ่ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หน่วย) ค20207 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เข้มข้น 1 1 2 ค20208 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ เข้มข้น 2 1 2 อ20201 ภาษาอังกฤษฟงั -พดู 1 0.5 1 อ20202 ภาษาอังกฤษฟงั -พดู 2 0.5 1 ส20201 พทุ ธศาสนา1 1 2 ส20202 การป้องกันการทุจริต1 12 อ20207 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร1 0.5 1 อ20208 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร2 0.5 1 รวม ๓.๐ ๖ รวม ๓.๐ ๖ รายวิชาเพมิ่ เตมิ (เลอื ก 2 หน่วย) รายวิชาเพม่ิ เตมิ (เลอื ก ๑.5 หน่วย) ว20203 การพมิ พง์ านดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 2 4 ว20204 โปรแกรมประมวลผลคา 24 ง20267 การตดั เย็บเบื้องตน้ 2 4 ง20268 การเย็บผา้ ดว้ ยมอื 24 ง20241 การปลกู พชื สมนุ ไพร 2 4 ง20242 การปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดบั 2 4 รวม 2 ๔ รวม 2 ๔ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ลกู เสอื -เนตรนารี 1 ลกู เสอื -เนตรนารี 1 ชุมนุม-กจิ กรรมเพอื่ สังคมฯ 1 ชมุ นุม-กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมฯ 1 รวม 0 3 รวม 0 3 รวมทง้ั สน้ิ 16 ๓๕ รวมทงั้ สน้ิ 16 35

ม. 2 ปีการศกึ ษา 2565 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 (วิทย์-คณิต) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 (ภาคเรียนที่ 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 (ภาคเรียนท่ี 2) เวลาเรียน เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม หนว่ ยกติ ช่ัวโมง รายวิชา/กจิ กรรม หน่วยกติ ชั่วโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท22101 ภาษาไทย3 1.5 3 ท22102 ภาษาไทย4 1.5 3 ค22101 คณติ ศาสตร์3 1.5 3 ค22102 คณติ ศาสตร์4 1.5 3 ว22101 วิทยาศาสตร์3 1 2 ว22102 วทิ ยาศาสตร์4 12 ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี2 0.5 1 ว22104 วิทยาการคานวณ2 0.5 1 ส22101 สงั คมศกึ ษา3 1.5 3 ส22102 สงั คมพนื้ ศกึ ษา4 1.5 3 ส22103 ประวัตศิ าสตร์3 0.5 1 ส22104 ประวตั ศิ าสตร์4 0.5 1 พ22101 สุขศกึ ษา3 0.5 1 พ22102 สุขศกึ ษา4 0.5 1 พ22103 พลศกึ ษา3 0.5 1 พ22104 พลศกึ ษา4 0.5 1 ศ22101 ศลิ ปะ-ดนตรี3 1 2 ศ22102 ศลิ ปะ-ดนตรี4 12 ง22101 การงานอาชีพฯ 3 (งานช่าง) 1 2 ง22102 การงานอาชีพฯ 4 (งานชา่ ง) 1 2 อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 3 อ22102 ภาษาองั กฤษ 4 1.5 3 รวม 11 22 รวม 11 22 รายวิชาเพมิ่ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หนว่ ย) รายวิชาเพม่ิ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หนว่ ย) ค20209 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เข้มข้น 3 1 2 ค20210 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เข้มข้น 4 1 2 อ20209 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร1 0.5 1 อ20209 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร1 0.5 1 ส20203 พทุ ธศาสนา2 1 2 ส20204 การป้องกนั การทุจริต2 12 อ20203 ภาษาอังกฤษฟงั -พดู 3 0.5 1 อ20204 ภาษาอังกฤษฟงั -พดู 4 0.5 1 รวม 3 6 รวม 3 6 รายวิชาเพม่ิ เตมิ (เลอื ก ๑.5 หนว่ ย) รายวิชาเพม่ิ เตมิ (เลอื ก 1.5 หนว่ ย) ง20201 การทาอาหาร 1 2 4 ง 20202 การทาอาหาร2 24 ว20205 การเขียนโปรแกรมเบื้องตน้ 2 4 ว20206 หนุ่ ยนตอ์ ัตโนมตั ิ 24 ง20269 ตะเข็บและการทาตะเข็บ 2 4 ง20270 การตดั เย็บการเกงแบบ 24 ง20243 การปลกู พชื ผักสวนครัว 2 4 ง20244 การปลกู พชื ผกั สวนครัว 24 รวม 2 4 24 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ลกู เสือ-เนตรนารี 1 ลูกเสอื -เนตรนารี 1 ชมุ นุม-กจิ กรรมเพอื่ สงั คมฯ 1 ชุมนุม-กิจกรรมเพอื่ สังคมฯ 1 รวม 0 3 รวม 0 3 รวมทง้ั สนิ้ 16 35 รวมทง้ั สนิ้ 16 35

ม. 3 ปีการศกึ ษา 2566 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 (วิทย์-คณิต) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 (ภาคเรียนที่ 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 (ภาคเรียนท่ี 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หน่วยกติ ชั่วโมง หนว่ ยกติ ช่ัวโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 3 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 3 ค23101 คณติ ศาสตร์ 5 1.5 3 ค23102 คณติ ศาสตร์6 1.5 3 ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 1 2 ว23102 วิทยาศาสตร์ 6 12 ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 0.5 1 ว23104 วทิ ยาการคานวณ 3 0.5 1 ส23101 สงั คม ๕ 1.5 3 ส23102 สังคม ๖ 1.5 3 ส23103 ประวัตศิ าสตร์5 0.5 1 ส23104 ประวัตศิ าสตร์6 0.5 1 พ23101 สุขศกึ ษา 5 0.5 1 พ23102 สุขศกึ ษา 6 0.5 1 พ23102 พลศกึ ษา 5 0.5 1 พ23104 พลศกึ ษา 6 0.5 1 ศ23101 ศลิ ปะ-ดนตรี5 1 2 ศ23102 ศลิ ปะ-ดนตรี6 12 ง23101 การงานอาชพี ฯ 5 (งานบ้าน) 1 2 ง23102 การงานอาชพี ฯ 6 (งานบ้าน) 1 2 อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 1.5 3 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 1.5 3 รวม 11 22 รวม 11 22 รายวิชาเพมิ่ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หน่วย) รายวิชาเพมิ่ เตมิ (บงั คบั เลอื ก 3.5 หนว่ ย) ค20211 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ เข้มข้น 5 1 2 ค20212 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เข้มข้น 6 1 2 อ20205 ภาษาองั กฤษเพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ 1 1 2 อ20206 ภาษาองั กฤษเพอื่ ความเพลดิ เพลนิ 2 1 2 ส20205 พทุ ธศาสนา3 1 2 ส20206 การป้องกนั การทจุ ริต3 12 รวม 3 6 รวม 3 6 รายวิชาเพมิ่ เตมิ (เลอื ก 1.0 หนว่ ย) รายวิชาเพม่ิ เตมิ (เลอื ก 1.0 หน่วย) ง 20203 การทาอาหาร3 2 4 ง 20204 การทาอาหาร4 24 ง20271 กระโปรงพนื้ ฐาน 2 4 ง20272 กระโปรงป้าย 24 ง20245 เกษตรทฤษฎีใหม่ 2 4 ง20246 เกษตรทฤษฎีใหม่ 24 ว20207 การเขียนโปรแกรมภาษา python1 2 4 ว20208 การเขียนโปรแกรมภาษา python2 2 4 รวม 2 4 รวม 2 4 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ลกู เสอื -เนตรนารี 1 ลูกเสือ-เนตรนารี 1 ชุมนุม-กจิ กรรมเพอื่ สังคมฯ 1 ชุมนุม-กจิ กรรมเพอ่ื สังคมฯ 1 รวม 0 3 รวม 0 3 รวมทงั้ สนิ้ 16 35 รวมทงั้ สน้ิ 16 35

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวิทย์ ระดับช้ันตอนปลาย สายวทิ ย์-คณิต ม. 4 ปีการศกึ ษา 2564 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (วิทย์-คณิต) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 (ภาคเรียนที่ 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 (ภาคเรียนที่ 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หน่วยกติ ชั่วโมง หน่วยกติ ช่ัวโมง รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท31101 ภาษาไทย 1 1 2 ท31102 ภาษาไทย 2 12 ค31101 คณติ ศาสตร์ 1 1 2 ค31102 คณติ ศาสตร์ 2 12 ว31101 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 1 2 ส31102 สังคม 2 12 ว31102 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 1 ส31104 ประวัตศิ าสตร์2 0.5 1 ส31101 สังคม 1 1 2 ว31103 วิทยาการคานวณ 0.5 1 ส31103 ประวตั ศิ าสตร์1 0.5 1 พ31102 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 2 0.5 1 พ31101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 1 0.5 1 ศ31102 ศลิ ปะ 2 (ดนตรี1) 0.5 1 ศ31101 ศลิ ปะ 1 (ทศั นศลิ ป์1) 0.5 1 ง31102 การงานอาชีพ(งานเกษตร) 0.5 1 ง31101 การงานอาชีพ(งานเกษตร) 0.5 1 อ31102 ภาษาอังกฤษ 2 12 อ31101 ภาษาองั กฤษ 1 12 รวม 6.5 13 รวม 7.5 15 รายวิชาเพมิ่ เตมิ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ว30290 Microsoft Power Point 0.5 1 ว30289 Microsoft Word 0.5 1 ค30202 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 2 1.5 3 ค30201 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 1 1.5 3 ว30202 ฟสิ กิ ส์2 24 ว30201 ฟสิ ิกส์1 2 4 ว30222 เคม2ี 1.5 3 ว30221 เคม1ี 1.5 3 ว30242 ชีววิทยา2 1.5 3 1.5 3 อ30208 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร2 1 2 ว30241 ชวี วิทยา 1 อ30201 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาวัน1 0.5 1 อ30202 ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั 2 0.5 1 รวม 7.5 15 รวม 8.5 17 เลอื ก 1 หน่วยกติ เลอื ก 1 หน่วยกติ ว30283 การเขียนโปรแกรมภาษาซี 1 2 ว30284 การเขียนโปรแกรมภาษา PHP 1 2 ง30267 การตดั เย็บเบ้อื งตน้ 1 1 2 ง30268 การตดั เย็บเบื้องตน้ 2 12 ง30241 งานเพาะเห็ดดว้ ยวัสดผุ สม 1 2 ง30242 การเลีย้ งสตั ว์น้าจืด 12 รวม 1 2 รวม 1 2 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 ชมุ นุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 กิจกรรมเพอ่ื สังคม 1 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม 1 รวม 3 รวม 3 รวมทง้ั สนิ้ 16 35 รวมทงั้ สน้ิ 16.0 35

ม. 5 ปีการศกึ ษา 2565 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (วิทย์-คณิต) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 (ภาคเรียนท่ี 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 (ภาคเรียนท่ี 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หนว่ ยกติ ชั่วโมง หนว่ ยกติ ชั่วโมง รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท32101 ภาษาไทย 3 1 2 ท32102 ภาษาไทย 4 12 ค32101 คณติ ศาสตร์ 3 1 2 ค32102 คณติ ศาสตร์ 4 12 ว32101 วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคม)ี 1 2 ว32103 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ กิ ส์) 1 2 ว32102 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 1 ว32104 วิทยาการคานวณ 0.5 1 ส32101 สงั คม 3 1 2 ส32102 สงั คม 4 12 ส32103 ประวตั ศิ าสตร์3 0.5 1 ส32104 ประวัตศิ าสตร์4 0.5 1 พ32101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 3 0.5 1 พ32102 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 4 0.5 1 ศ32101 ศลิ ปะ 3 (นาฏศลิ ป์1) 0.5 1 ศ32102 ศลิ ปะ 4 (ทัศนศลิ ป์2) 0.5 1 ง32101 การงานอาชีพ (งานบ้าน) 0.5 1 ง32102 การงานอาชพี (งานบ้าน) 0.5 1 อ32101 ภาษาอังกฤษ 3 1 2 อ32102 ภาษาอังกฤษ 4 12 รวม 7.5 15 รวม 7.5 15 รายวิชาเพมิ่ เตมิ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ว30291 Microsoft Excell 0.5 1 ว30292 อนิ เตอร์เน็ตในชวี ติ ประจาวัน 0.5 1 ค30203 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 3 1.5 3 ค30204 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 4 1.5 3 ว30203 ฟสิ กิ ส์3 2 4 ว30204 ฟสิ กิ ส์ 4 24 ว30243 ชีววทิ ยา3 1.5 3 ว30224 เคม4ี 1.5 3 ว30223 เคม3ี 1.5 3 ว30244 ชีววทิ ยา4 1.5 3 อ30203 ภาษาอังกฤษอา่ น–เขียน1 0.5 1 อ30204 ภาษาองั กฤษอา่ น-เขียน2 0.5 1 รวม 7.5 15 รวม 7.5 15 เลอื ก 1.0 หน่วยกติ เลอื ก 1.0 หนว่ ยกติ ว30285 หุน่ ยนตแ์ ละวิศวกรรมพนื้ ฐาน 1 2 ว30286 การจัดทาระบบ Iot 12 ง30269 การตดั เย็บเสื้อผา้ สตรี 1 2 ง30270 การตดั เย็บเส้ือคอกลมแขนสั้น 1 2 ง30243 การผลติ กลา้ ไม้ 1 2 ง30244 การปลูกพชื ผกั สวนครัว 12 รวม ๑ ๒ รวม ๑ ๒ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 ชมุ นุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 กิจกรรมเพอื่ สังคม 1 กิจกรรมเพอื่ สังคม 1 รวม 3 รวม 3 หน้าทพี่ ลเมอื ง หน้าทพ่ี ลเมอื ง รวมทง้ั สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕.๐ รวมทงั้ สนิ้ ๑๖.๐ ๓๕.๐

ม. 6 ปีการศกึ ษา 2566 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (วิทย์-คณิต) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (ภาคเรียนที่ 1) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (ภาคเรียนที่ 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หนว่ ยกติ ช่ัวโมง หน่วยกติ ช่ัวโมง รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท33101 ภาษาไทย5 1 2 ท33102 ภาษาไทย6 12 ค33101 คณติ ศาสตร์5 1 2 ค33102 คณติ ศาสตร์6 12 ว33101 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ 0.5 1 ส33102 สังคม6 12 ว33102 วิทยาการคานวณ 0.5 1 พ33102 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา6 0.5 1 ส33101 สังคม5 1 2 ศ33102 ศลิ ปะ6 (นาฏศลิ ป์2) 0.5 1 พ33101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา5 0.5 1 ง33102 การงานอาชพี (งานชา่ ง) 0.5 1 ศ33101 ศลิ ปะ5 (ดนตรี2) 0.5 1 อ33102 ภาษาอังกฤษ6 12 ง33101 การงานอาชพี (งานชา่ ง) 0.5 1 อ33101 ภาษาอังกฤษ5 12 รวม 5.5 11 รวม 6.5 13 รายวิชาเพม่ิ เตมิ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ว30294 การตดั ตอ่ วิดโี อ 12 ว30293 โปรแกรมภาพกราฟกิ 1 2 ค30206 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 6 1.5 3 ค30205 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 5 1.5 3 ว30206 ฟสิ กิ ส์6 24 ว30205 ฟสิ กิ ส์5 2 4 ว30226 เคม6ี 1.5 3 ว30225 เคม5ี 1.5 3 ว30246 ชวี วทิ ยา6 1.5 3 ว30245 ชวี วิทยา5 1.5 3 อ30212 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 1 2 อ30211 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร 0.5 1 อ30206 ภาษาอังกฤษรอบรู้2 12 อ30205 ภาษาอังกฤษรอบรู้1 0.5 1 รวม 8.5 17 รวม 9.5 19 เลอื ก 1.0 หนว่ ยกติ เลอื ก 1.0 หน่วยกติ ว30287 โปรแกรมงาน 3 มติ ิ 1 1 2 ว30288 โปรแกรมงาน 3 มติ ิ 2 12 ง30271 การตดั เย็บเสอ้ื มปี ก 1 2 ง30272 การตดั เย็บเส้อื เชิต้ แขนส้ัน 12 ง30245 การผลติ พนั ธุ์พชื 1 2 ง30246 การปลูกไมด้ อกไมป้ ระดบั 12 รวม ๑ ๒ รวม ๑ ๒ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 36 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 ชมุ นุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 กิจกรรมเพอ่ื สงั คม 1 กิจกรรมเพอ่ื สังคม 1 รวม 3 รวม 3 รวมทง้ั สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕ รวมทงั้ สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นธาตุทองอำนวยวิทย์ ระดับช้ันตอนปลาย สายศิลป์ ม. 4 ปีการศกึ ษา 2564 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ศลิ ปท์ ว่ั ไป) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 (ภาคเรียนท่ี 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 (ภาคเรียนที่ 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หนว่ ยกติ ช่ัวโมง หนว่ ยกติ ชั่วโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพนื้ ฐาน ท31101 ภาษาไทย 1 1 2 ท31102 ภาษาไทย 2 12 ค31101 คณติ ศาสตร์ 1 1 2 ค31102 คณติ ศาสตร์ 2 12 ว31101 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1 2 ส31102 สังคม 2 12 ว31102 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 1 ส31104 ประวัตศิ าสตร์2 0.5 1 ส31101 สงั คม 1 1 2 ว31103 วิทยาการคานวณ 0.5 1 ส31103 ประวตั ศิ าสตร์1 0.5 1 พ31102 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 2 0.5 1 พ31101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 1 0.5 1 ศ31102 ศลิ ปะ 2 (ดนตรี1) 0.5 1 ศ31101 ศลิ ปะ 1 (ทศั นศลิ ป์1) 0.5 1 ง31102 การงานอาชพี (งานเกษตร) 0.5 1 ง31101 การงานอาชพี (งานเกษตร) 0.5 1 อ31102 ภาษาองั กฤษ 2 12 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 12 รวม 6.5 13 รวม 7.5 15 รายวิชาเพม่ิ เตมิ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ว30290 Microsoft Power Point 0.5 1 ท30201 ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร 0.5 1 ว30296 YouTuber 2 12 ว30295 YouTuber 1 1 2 ง30289 อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ 1.5 3 ง30273 อาหารไทยเบื้องตน้ 1 2 ง30279 งานประดษิ ฐ2์ 1.5 3 ง30278 งานประดษิ ฐ1์ 1 2 ง30202 การทาขนม 2 1.5 3 ง30201 การทาขนม1 1 2 ส30262 ทอ้ งถิ่นของเรา 2 12 ส30261 ทอ้ งถิ่นของเรา 1 1 2 อ30208 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร2 12 อ30207 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร1 1 2 อ30202 ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั 2 0.5 1 อ30201 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวนั 1 0.5 1 ว30289 Microsoft Word 0.5 1 รวม 7.5 15 รวม 8.5 17 เลอื ก 1 หนว่ ยกติ เลอื ก 1 หนว่ ยกติ ว30283 การเขยี นโปรแกรมภาษาซี 1 2 ว30284 การเขียนโปรแกรมภาษา PHP 12 ง30267 การตดั เย็บเบื้องตน้ 1 1 2 ง30268 การตดั เย็บเบื้องตน้ 2 12 ง30241 งานเพาะเห็ดดว้ ยวัสดผุ สม 1 2 ง30242 การเลย้ี งสัตว์น้าจืด 12 รวม 1 2 รวม 1 2 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 กิจกรรมเพอ่ื สังคม 1 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม 1 รวม 3 รวม 3 รวมทงั้ สนิ้ 16 35 รวมทง้ั สน้ิ 16.0 35

ม. 5 ปีการศกึ ษา 2565 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ศลิ ปท์ วั่ ไป) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 (ภาคเรียนที่ 1) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 (ภาคเรียนที่ 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หน่วยกติ ชั่วโมง หนว่ ยกติ ชั่วโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท32101 ภาษาไทย 3 1 2 ท32102 ภาษาไทย 4 12 ค32101 คณติ ศาสตร์ 3 1 2 ค32102 คณติ ศาสตร์ 4 12 ว32101 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ(เคม)ี 1 2 ว32103 วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ ิกส์) 12 ว32102 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 1 ว32104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 1 ส32101 สังคม 3 1 2 ส32104 สงั คม 4 12 ส32103 ประวัตศิ าสตร์3 0.5 1 ส32106 ประวัตศิ าสตร์4 0.5 1 พ32101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 3 0.5 1 พ32102 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 4 0.5 1 ศ32101 ศลิ ปะ 3 (นาฏศลิ ป์1) 0.5 1 ศ32102 ศลิ ปะ 4 (ทศั นศลิ ป์2) 0.5 1 ง32101 การงานอาชพี (งานบ้าน) 0.5 1 ง32102 การงานอาชพี (งานบ้าน) 0.5 1 อ32101 ภาษาอังกฤษ 3 1 2 อ32102 ภาษาอังกฤษ 4 12 รวม 7.5 15 รวม 7.5 15 รายวิชาเพม่ิ เตมิ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ท30202 ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สาร 2 0.5 1 ท30203 ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร 3 0.5 1 ว30291 Microsoft Excell 0.5 1 ว30292 อินเตอร์เน็ตในชีวิตประจาวนั 0.5 1 ง30280 งานประดษิ ฐข์ องชารวย1 1 2 ง30275 การจัดตกแตง่ อาหาร 1.5 3 ง30274 การบริการอาหารและเครื่องดมื่ 1.5 3 ง30281 งานประดษิ ฐข์ องชารวย2 12 ง 30203 การทาขนม3 1.5 3 ง 30204 การทาขนม 4 1.5 3 ส30263 ทอ้ งถ่ินของเรา 3 1 2 ส30264 ท้องถิ่นของเรา 4 12 อ30209 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร3 1.5 3 อ30210 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร4 1.5 3 อ30203 ภาษาองั กฤษอ่าน–เขียน1 0.5 1 อ30204 ภาษาองั กฤษอา่ น-เขียน2 0.5 1 รวม 7.5 15 รวม 7.5 15 เลอื ก 1.0 หนว่ ยกติ เลอื ก 1.0 หน่วยกติ ว30285 หนุ่ ยนตแ์ ละวิศวกรรมพนื้ ฐาน 1 2 ว30286 การจัดทาระบบ Iot 12 ง30269 การตดั เย็บเสือ้ ผ้าสตรี 1 2 ง30270 การตดั เย็บเสอ้ื คอกลมแขนสัน้ 12 ง30243 การผลิตกล้าไม้ 1 2 ง30244 การปลกู พชื ผักสวนครัว 12 รวม ๑ ๒ รวม ๑ ๒ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 ชุมนุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม 1 กจิ กรรมเพอื่ สังคม 1 รวม 3 รวม 3 รวมทง้ั สนิ้ ๑๖.๐ ๓๕.๐ รวมทง้ั สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕.๐

ม. 6 ปีการศกึ ษา 2566 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ศลิ ปท์ ว่ั ไป) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4-2566 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (ภาคเรียนที่ 1) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (ภาคเรียนที่ 2) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน หนว่ ยกติ ชั่วโมง หน่วยกติ ช่ัวโมง รายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ท33101 ภาษาไทย5 1 2 ท33102 ภาษาไทย6 12 ค33101 คณติ ศาสตร์5 1 2 ค33102 คณติ ศาสตร์6 12 ว33101 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ 0.5 1 ส33102 สังคม6 12 ว33102 วทิ ยาการคานวณ 0.5 1 พ33102 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา6 0.5 1 ส33101 สงั คม5 1 2 ศ33102 ศลิ ปะ6 (นาฏศลิ ป์2) 0.5 1 พ33101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา5 0.5 1 ง33102 การงานอาชีพ(งานช่าง) 0.5 1 ศ33101 ศลิ ปะ5 (ดนตรี2) 0.5 1 อ33102 ภาษาองั กฤษ6 12 ง33101 การงานอาชีพ(งานชา่ ง) 0.5 1 อ33101 ภาษาองั กฤษ5 1 2 รวม 5.5 11 รายวิชาเพม่ิ เตมิ รวม 6.5 13 ว30294 การตดั ตอ่ วิดโี อ 12 รายวิชาเพมิ่ เตมิ ง30277 โครงงานอาหารไทย 12 ท30204 ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร 4 0.5 1 ท30205 ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร 5 0.5 1 ว30293 โปรแกรมภาพกราฟกิ 1 2 ง30283 งานประดษิ ฐส์ ร้างสรรค์ 2 1.5 3 ง30276 การแปรรูปอาหารไทย 1.5 3 ง 30206 การทาขนม6 1.5 3 ง30282 งานประดษิ ฐส์ ร้างสรรค์ 1 1.5 3 ง 30208 ปฎิบัตงิ านอาชีพธรุ กจิ 12 ง30205 การทาขนม5 1.5 3 ส30266 ทอ้ งถิ่นของเรา 6 12 ง 30207 บัญชีเบื้องตน้ 1 2 สอ30212 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 12 ส30265 ทอ้ งถิ่นของเรา 5 1 2 อ30206 ภาษาอังกฤษรอบรู้2 12 อ30211 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร 0.5 1 อ30205 ภาษาองั กฤษรอบรู้1 0.5 1 รวม 9.5 19 รวม 8.5 17 เลอื ก 1.0 หน่วยกติ เลอื ก 1.0 หนว่ ยกติ ว30288 โปรแกรมงาน 3 มติ ิ 2 12 ว30287 โปรแกรมงาน 3 มติ ิ 1 1 2 ง30272 การตดั เย็บเสือ้ เชติ้ แขนสน้ั 12 ง30271 การตดั เย็บเสอ้ื มปี ก 1 2 ง30246 การปลูกไมด้ อกไมป้ ระดบั 12 ง30245 การผลิตพนั ธ์ุพชื 12 รวม ๑๒ รวม ๑๒ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1 แนะแนว 1 ชมุ นุม+นักศกึ ษาวชิ าทหาร 1 ชมุ นุม+นักศกึ ษาวิชาทหาร 1 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม 1 กิจกรรมเพอ่ื สงั คม 1 รวม 3 รวม 3 รวมทง้ั สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕ รวมทงั้ สน้ิ ๑๖.๐ ๓๕

โครงสรา้ งหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวิชาพน้ื ฐาน ระดบั ช้ัน ภาคเรียนที่ 1 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยกิต รหสั วิชา รายวิชา 1.5 (60) ท21102 รายวิชา 1.5 (60) ภาษาไทย 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 1.5 (60) ม.1 ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท23102 ภาษาไทย 1.5 (60) ม. 2 ท22101 ภาษาไทย ภาษาไทย ม.3 ท23101 รายวิชาเพมิ่ เติม ระดับชนั้ ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ม.1 รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกติ ท21201 1.0 (40) ท21203 เสริมทกั ษะภาษา 1 1.0 (40) ท21202 เสริมทักษะภาษา 2 1.0 (40) เสริมทักษะการอ่านไทย 1.0 (40) ท21204 เสรมิ ทักษะการอา่ นไทย 1.0 (40) 1.0 (40) 12 1.0 (40) ท21205 การศกึ ษาค้นควา้ 1 1.0 (40) ท21206 การศกึ ษาคน้ ควา้ 2 1.0 (40) ม. 2 ท22201 1.0 (40) การอา่ นงานประพันธ์ 1.0 (40) ท22202 การอ่านงานประพนั ธ์ 1.0 (40) เฉพาะเรอื่ ง 1 เฉพาะเร่ือง 2 1.0 (40) ท22203 พัฒนาการเขยี นไทย 1 1.0 (40) ท22204 พัฒนาการเขียนไทย 2 ท22205 ม.3 ท23201 การอ่านเพื่อชีวิตใหม่ 1.0 (40) ท22206 วรรณคดีและวรรณกรรม ท23203 หลักภาษาเพ่อื การส่ือสาร 1 1.0 (40) ท23202 หลักภาษาเพื่อการสือ่ สาร 2 ท23205 การฟังและการพดู 1.0 (40) ท23204 ภาษาตา่ งประเทศใน ภาษาไทย ศัพท์บัญญตั ิ 1.0 (40) ท23206 วรรณกรรมท้องถนิ่

โครงสรา้ งหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวิชาพืน้ ฐาน ระดบั ชน้ั ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกิต 1.0 (40) ม.4 ท31101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท31102 ภาษาไทย 1.0 (40) 1.0 (40) ม. 5 ท32101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท32102 ภาษาไทย ม.6 ท33101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท33102 ภาษาไทย รายวชิ าเพิ่มเติม ระดับชนั้ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ม.4 รายวชิ า ม. 5 รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกติ รหสั วชิ า หน่วยกติ ท21201 เสริมทกั ษะภาษา 2 1.0 (40) ม.6 ท21203 เสรมิ ทักษะภาษา 1 1.0 (40) ท21202 เสริมทักษะการอา่ นไทย 2 1.0 (40) ท21205 การศกึ ษาค้นควา้ 2 1.0 (40) ท22201 เสริมทักษะการอ่านไทย 1 1.0 (40) ท21204 การอ่านงานประพนั ธ์ 1.0 (40) เฉพาะเรื่อง 2 ท22203 การศกึ ษาค้นควา้ 1 1.0 (40) ท21206 พัฒนาการเขยี นไทย 2 1.0 (40) ท22205 วรรณคดีและวรรณกรรม 1.0 (40) ท23201 การอ่านงานประพนั ธ์ 1.0 (40) ท22202 1.0 (40) ท23203 หลกั ภาษาเพื่อการส่ือสาร 2 1.0 (40) ท23205 เฉพาะเร่ือง 1 1.0 (40) ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย พัฒนาการเขียนไทย 1 1.0 (40) ท22204 วรรณกรรมท้องถน่ิ การอ่านเพื่อชวี ิตใหม่ 1.0 (40) ท22206 หลกั ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร 1 1.0 (40) ท23202 การฟงั และการพูด 1.0 (40) ท23204 ศพั ทบ์ ัญญัติ 1.0 (40) ท23206

คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ท21101 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาป่ีที่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมง /สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสำคัญ ระบุเหตุผลและข้อเท็จจริงกับ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน อธิบายคำเปรียบเทียบและคำที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน ตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบรบิ ท ระบคุ วามสมเหตสุ มผลของงานเขยี นประเภทชักจูงโน้ม นา้ วใจ ปฏิบตั ิตามค่มู อื คำแนะนำ วิเคราะห์คณุ คา่ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นและมีมารยาทในการอา่ น เขียนบรรยาย สื่อสาร แสดงความคิดเห็น เขียนจดหมาย รายงาน โครงงาน คัดลายมือ และมมี ารยาทในการเขียน พูดสรุปใจความสำคัญ เล่าเรื่อง แสดงความคิดเห็น ประเมินค่า รายงานประเด็นที่ศึกษา คน้ ควา้ จากการฟังการดแู ละมมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบายลักษณะของเสียงในภาษา การสร้างคำ ชนิดของคำและหน้าที่ของคำ วิเคราะหค์ วาม แตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรอง จำแนกสำนวน คำพงั เพย และสุภาษติ วิเคราะห์ อธิบาย สรุป วรรณคดีและวรรณกรรม นำความรู้ข้อคิดที่ได้จากการอ่านไป ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง ทอ่ งจำบทอาขยานที่กำหนดและบทรอ้ ยกรองทส่ี นใจ มีความชื่นชมและรักความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีความรัก หวงแหนและธำรงไว้ซึง่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รหัสตวั ช้ีวดั ท 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/9 ท 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/7, ม.1/9 ท 3.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/6 ท 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ท 5.1 ม.1/1, ม.1/4, ม.1/5 รวม 21 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน รหัสวิชา ท21102 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมง /สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสำคัญ ระบุเหตุผลและข้อเท็จจริงกบั ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน อธิบายคำเปรียบเทียบและคำที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน ตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท ระบุความสมเหตสุ มผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้ม นา้ วใจ ปฏบิ ัตติ ามคมู่ อื คำแนะนำ วเิ คราะหค์ ุณค่าท่ีไดจ้ ากการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน เขียนบรรยาย สื่อสาร แสดงความคิดเห็น เขียนจดหมาย รายงาน โครงงาน คัดลายมือ และมีมารยาทในการเขยี น พูดสรุปใจความสำคัญ เล่าเรื่อง แสดงความคิดเห็น ประเมินค่า รายงานประเด็นที่ศึกษา ค้นควา้ จากการฟังการดแู ละมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู อธิบายลักษณะของเสียงในภาษา การสร้างคำ ชนิดของคำและหน้าท่ีของคำ วิเคราะห์ความ แตกตา่ งของภาษาพดู และภาษาเขยี น แต่งบทรอ้ ยกรอง จำแนกสำนวน คำพงั เพย และสภุ าษิต วิเคราะห์ อธิบาย สรุป วรรณคดีและวรรณกรรม นำความรู้ข้อคิดที่ได้จากการอ่านไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ทอ่ งจำบทอาขยานทกี่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองท่สี นใจ มีความชื่นชมและรักความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีความรัก หวงแหนและธำรงไว้ซึง่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ รหสั ตวั ชี้วดั ท 1.1 ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9 ท 2.1 ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9 ท 3.1 ม.1/1, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6 ท 4.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6 ท 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 รวม 20 ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน รหัสวิชา ท 22101 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 3 ชั่วโมง /สปั ดาห์ ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น อ่านออกเสียงร้อยแก้วร้อยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความจากเรื่องที่อ่าน เขียนสรุปผัง ความคิดแสดงความเข้าใจเนื้อหา อภิปรายแสดงความคิดเห็นข้อโต้แย้งจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์จำแนก ข้อเท็จจริงข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าวใจหรือความ สมเหตุสมผลของการเขียน อ่านหนังสือบทความหรือคำประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือ แนวคิดจากการอ่านและมีมารยาทในการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามแบบการเขียนอักษรไทย เขียนบรรยายและพรรณนาเขียน เรียงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาจากการค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณแ์ ละแสดงความรู้ ความคดิ เห็นหรือโตแ้ ยง้ ในเรอ่ื งทอี่ า่ นอยา่ งมเี หตผุ ลและมมี ารยาทในการเขียน พดู สรุปใจความสำคญั จากการฟงั การดู วเิ คราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ และวิจารณ์เร่ืองทีฟ่ ังดู อย่างมเี หตุผล พูดในโอกาสตา่ งๆไดต้ รงตามจดุ ประสงค์ พดู รายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ การฟัง การดแู ละการสนทนา และมีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู สร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพใช้คำ ราชาศพั ท์ได้ถูกต้องตามฐานะของบุคคล อธบิ ายความหมายของคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย วิเคราะห์ วิจารณ์ อธิบายคุณค่า สรุปวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมท้องถน่ิ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าน่าสนใจ มีความช่ืนชมและรัก ความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นอยู่อย่าง พอเพียง มจี ติ สาธารณะ มีความรกั หวงแหน และธำรงไวซ้ ึ่งชาติ ศาสนา กษัตรยิ ์ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1ม 2/1, ม2/2, ม2/3, ม2/4, ม2/8 ท 2.1 ม2/1, ม.2/2 ม2/3, ม2/4, ม2/8 ท 3.1 ม 2/1, ม2/2, ม2/3, ม2/6 ท 4.1 ม 2/1, ม2/2, ม2/3 ท 5.1 ม 2/1, ม.2.2, ม2/3, ม2/4, ม2/5 รวม 21 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวชิ า ท 22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 เวลา 3 ชั่วโมง /สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรียน อ่านออกเสียงร้อยแก้วร้อยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความจากเรื่องที่อ่าน เขียนสรุปผัง ความคิดแสดงความเข้าใจเนื้อหา อภิปรายแสดงความคิดเห็นข้อโต้แย้งจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์จำแนก ข้อเท็จจริงข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าวใจหรือความ สมเหตุสมผลของการเขียน อ่านหนังสือบทความหรือคำประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือ แนวคดิ จากการอ่านและมีมารยาทในการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามแบบการเขียนอักษรไทย เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาจากการคน้ คว้า เขียนจดหมายกจิ ธุระ เขียนวิเคราะห์ วิจารณแ์ ละแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ย้งในเร่ืองทีอ่ ่านอยา่ งมีเหตุผลและมมี ารยาทในการเขยี น พดู สรปุ ใจความสำคัญจากการฟงั การดู วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจริงและวจิ ารณ์เร่ืองท่ีฟังดู อย่างมเี หตุผล พูดในโอกาสต่างๆได้ตรงตามจุดประสงค์ พูดรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การฟัง การดูและการสนทนา และมีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ ใช้คำราชาศัพท์ได้ถกู ต้องตามฐานะของบุคคล อธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วิเคราะห์ วจิ ารณ์ อธิบายคณุ ค่า สรปุ วรรณคดวี รรณกรรม วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าน่าสนใจ มีความชื่นชมและรัก ความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นอยู่อย่าง พอเพียง มจี ิตสาธารณะ มคี วามรัก หวงแหน และธำรงไว้ซ่ึงชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ รหัสตัวชี้วดั ท 1.1ม 2/1, ม2/2, ม2/5, ม2/6, ม2/7, ม2/8 ท 2.1 ม2/3, ม2/5, ม2/6, ม2/7 ม2/8 ท 3.1 ม 2/4, ม2/5, ม2/6 ท 4.1 ม 2/4, ม2/5 ท 5.1 ม 2/1, ม.2.2, ม2/3, ม2/4, ม2/5 รวม 21 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ท 23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 3 ชัว่ โมง /สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองให้ได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน และสามารถจับ ใจความสำคัญ สามารถสรา้ งกรอบแนวคดิ กรอบแนวคดิ หรือผังความคิด และวิจารณ์เรอ่ื งที่อา่ น พรอ้ มทง้ั อธิบาย คำศพั ทแ์ ละคำท่มี ีหลายความหมาย ในบรบิ ทตา่ ง ๆ เขยี นบรรยาย สื่อสาร เรียงความ ย่อความ คำขวญั คำคม คำอวยพร เขียนอธิบาย โฆษณา เขียนแสดงความคดิ เหน็ เขียนจดหมาย การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมิน และสามารถพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากเรื่องที่ฟังที่ดูและ สามารถพดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เก่ยี วกบั ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ศึกษาการสร้างคำไทย การนำภาษาต่างประเทศมาใช่ในภาษาไทย ประโยคสามัญ ประโยคซับซ้อน การใชภ้ าษาพูดและภาษาเขียนของบุคคลในวงการต่าง ๆ มีความชื่นชมและรักความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีความรัก หวงแหนและธำรงไว้ซึ่ง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ รหัสตัวช้ีวดั ท 1.1 ม. 3/1 ม. 3/2 ม.3/3 ม.3/4 ท 2.1 ม. 3/1 ม. 3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม. 3/5 ท 3.1 ม. 3/1 ม. 3/2 ม.3/3 ท 4.1 ม. 3/1 ม. 3/2 ม.3/3 ท 5.1 ม. 3/1 ม. 3/2 รวม 17 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน รหสั วิชา ท 23102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 3 ชั่วโมง /สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรียน จากการอ่านตีความ ขยายความ คำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท วิเคราะห์ วิจารณง์ านเขียน เปรยี บเทยี บถ่ายทอดความรู้ ความคิด ตรวจสอบ เลือกอ่านหนงั สือและมีมารยาทในการอ่าน รายงาน โครงงาน คัดลายมอื และมีมารยาทในการเขียน พดู ในโอกาสต่าง ๆ เลา่ เร่อื ง แสดงความคดิ เห็น ประเมนิ คา่ รายงานประเดน็ ท่ีศึกษาคน้ คว้า จาก การฟัง การดู และการพูด สามารถใช้ราชาศัพท์ถูกต้องตามฐานะของบุคคล ศึกษาประวัติและผลงานของบุคคล ภูมิปัญญา ทอ้ งถน่ิ แต่งบทรอ้ ยกรองประเภท กาพย์ กลอน โคลง เพลงพื้นบ้าน เพลงกลอ่ มเดก็ นำความรู้ ข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบท ร้อยกรองทีส่ นใจและมคี วามช่ืนชมและรักความเป็นไทย มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มคี วามมงุ่ มัน่ ในการทำงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีความรัก หวงแหนและธำรงไว้ซึ่ง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ รหสั ตวั ช้ีวดั ท 1.1 ม. 3/5 ม. 3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม. 3/5 ม. 3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 3.1 ม. 3/4 ม. 3/5 ม. 3/6 ท 4.1 ม. 3/4 ม. 3/5 ม. 3/6 ท 5.1 ม. 3/3 ม.3/4 รวม 20 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ รายวชิ าเสรมิ ทกั ษะการอา่ นไทย 1 รหสั วิชา ท20201 เวลา 20 ชั่วโมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 0.5 หน่วยกติ ศึกษาการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ การอา่ นคำภาษาไทยตามอักขรวิธี โดยฝึกทักษะการอา่ นคำแบบ เสยี งพยางค์ อา่ นเปน็ เสียงสระโอ สระออ อ่านพยางคท์ ี่มีตัว ฑ ตวั ฤ อ่านพยญั ชนะต้น 2 ตวั อา่ นอักษรนำ คำแผลง อ่านพยางค์ท่ีมี ร หัน อา่ นพยางค์ท่ีมีพยญั ชนะหรือสระไมอ่ อกเสียง อา่ นคำสมาส อ่านคำพ้อง คำ พเิ ศษ อ่านเคร่ืองหมายวรรคตอน และอา่ นตัวเลขตา่ ง ๆ เพือ่ นำเอาความรคู้ วามเขา้ ใจไปใช้เปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นและนำไปใชจ้ ริงไดถ้ ูกตอ้ ง ผลการเรยี นรู้ 1. บอกความสำคัญของการอา่ นหนงั สอื ได้ 2. อา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจตามหลกั วิธที างดา้ นภาษา 3. อ่านคำภาษาไทยตามหลักอักขรวิธีไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อา่ นคำสมาส คำพ้อง คำพิเศษได้ 5. อ่านเครือ่ งหมายวรรคตอน และอา่ นตัวเลขตา่ ง ๆ ได้ 6. อา่ นร้อยแก้วได้ถูกต้องตามหลกั การอ่านท่ีดี 7. มีมารยาทในการอ่าน 8. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการอา่ นคำภาษาไทยและนำไปใชจ้ ริงได้

รายวชิ าเสริมทักษะการอา่ นไทย 2 คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม เวลา 20 ชั่วโมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 รหัสวิชา ท21202 0.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี 2 ศึกษาการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ การอ่านคำควบกล้ำ อ่านสำนวนโวหาร สุภาษิต คำพังเพย อ่านทำนองเสนาะ อา่ นวรรณกรรมประเภทบทความ สารคดี บทกวีนพิ นธ์ บทประพนั ธ์ และวรรณกรรมเพลง โดยฝึกอ่านออกเสียงและอ่านในใจ ตามหลักการอ่านร้อยกรองเปน็ ทว่ งทำนองเสนาะ อ่านงาน วรรณกรรมประเภทต่าง ๆ เพ่ือใหเ้ กิดความคดิ ความร้สู กึ ท่ีดี และสรา้ งสรรค์ เหน็ คุณค่าของการอ่านหนงั สอื และมนี ิสัยรักการอ่าน ผลการเรียนรู้ 1. บอกความสำคัญของการออกเสียงและอ่านในใจ 2. อา่ นคำควบกลำ้ อ่านสำนวนโวหาร สภุ าษติ คำพังเพย 3. อา่ นร้อยกรอง ทว่ งทำนองเสนาะได้ 4. อ่านวรรณกรรมประเภทบทความ สารคดี บทกวีนิพนธ์ บทประพันธ์ และวรรณกรรมเพลง 5. เลือกอา่ นหนังสือทใี่ หค้ วามรู้ คุณค่าแกช่ ีวิตได้ 6. มีมารยาทในการอ่านและมีนิสยั รักการอ่าน

รายวิชาการศกึ ษาคน้ คว้า 1 คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ เวลา 20 ชว่ั โมง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 รหัสวชิ า ท21203 0.5 หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี 1 ศึกษาวิธีการศึกษาค้นคว้าจากห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น การสัมภาษณ์ การเขียน บรรณานกุ รมและการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ ปฏิบตั กิ ารสบื ค้นข้อมลู จากคอมพิวเตอร์ บตั รรายการ ระบบอนิ เทอร์เน็ต สมั ภาษณภ์ มู ปิ ัญญาท้องถิ่น ในจังหวัดสกลนคร เขียนบรรณานกุ รมและเขียนรายงานเชิงวิชาการได้ถูกตอ้ ง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการศึกษาค้นคว้า การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ บัตรรายการ ระบบอินเทอร์เน็ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น การสัมภาษณ์ การเขียน บรรณานุกรม และการเขียน รายงานเชงิ วิชาการ ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั ประเภทของห้องสมุดได้ 2. บอกวธิ ีการศึกษาค้นควา้ จากห้องสมุด อินเทอรเ์ นต็ ภูมิปัญญาท่องถิ่น และการสัมภาษณ์ได้ 3. สบื คน้ ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอร์ บัตรรายการ และอินเทอร์เนต็ ได้ 4. สามารถสัมภาษณภ์ ูมิปญั ญาท้องถิ่นในจงั หวดั ศรสี ะเกษได้ 5. เขียนรายงานเชงิ วิชาการและเขียนบรรณานกุ รมได้ถูกตอ้ ง 6. มคี วามรู้ ความข้าใจ ในการสบื ค้นข้อมลู สารสนเทศจากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ได้

รายวิชาการศกึ ษาค้นควา้ 2 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ เวลา 20 ช่ัวโมง ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 รหัสวชิ า ท21204 0.5 หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี 2 ศึกษาวิธีการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ หนังสืออ้างอิง หนังสือ ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ วารสาร หนงั สอื พิมพ์ การอ่านหนังสือ การจดบนั ทกึ การจดั ทำหนงั สอื สง่ เสรมิ การอ่าน ปฏิบัติการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ หนังสืออ้างอิง หนังสือ ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ วารสาร หนังสอื พิมพ์ การอ่านหนังสอื การจดบันทึก การจดั ทำหนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจวิธีจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ หนังสืออ้างอิง หนังสือส่วนต่าง ๆ ของหนงั สอื วารสาร หนังสือพมิ พ์ การอา่ นหนงั สือ การจดบันทกึ การจดั ทำหนังสือสง่ เสริมการอ่าน ผลการเรยี นรู้ 1. บอกหนังสอื หนังสอื อ้างองิ วารสารและหนังสอื พมิ พไ์ ด้ 2. อธบิ ายส่วนต่าง ๆ ของหนงั สอื วารสาร หนังสือพมิ พ์และคุณลักษณะของหนงั สือได้ 3. ศกึ ษาวิธีการอา่ นหนงั สือ การจดบนั ทกึ และวิธกี ารจัดทำหนงั สือสง่ เสริมการอ่าน 4. จดั เกบ็ ทรพั ยากรสารสนเทศของห้องสมุดได้ 5. มีความรคู้ วามเข้าใจในการจดั เกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศได้ 6. มีความรู้ความขา้ ใจในเร่อื งหนงั สอื หนงั สอื อ้างอิงและส่วนตา่ ง ๆ ของหนังสือได้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม รายวชิ าภาษาต่างประเทศในภาษาไทย1 รหสั วชิ า ท23205 เวลา 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ศึกษาภาษาต่างประเทศ ที่นำมาใช้อยู่ในภาษาไทย บอกประวัติและความเป็นมา หลักสังเกตคำ ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ได้แก่ ภาษาบาลี-สันสกฤต เขมร ชวา จีน โปรตุเกส เปอร์เซีย ทมิฬ มลายู องั กฤษ ฝรัง่ เศส ญป่ี นุ่ ญวน ตะแลง และฮินดี โดยสังเกตคำภาษาต่างประเทศ ที่ไทยได้นำมาใช้ในโอกาสต่าง ๆ และคำภาษาต่างประเทศที่นิยมใช้ จนถงึ ปจั จุบัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนทางภาษาที่ถือเป็นเครื่องมือในการสื่อสารของมวล มนุษยชาติ ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายความเปน็ มาของภาษาต่างประเทศท่ีนำมาใชใ้ นภาษาไทย 2. บอกภาษาตา่ งประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทยได้แก่ภาษาบาลี-สนั สกฤต เขมร ชวา จนี โปรตเุ กส เปอร์เซยี ทมฬิ มาลายู อังกฤษ ฝรง่ั เศส ญ่ีปุ่น ญวน ตะเลง และฮนิ ดี 3. คำภาษาตา่ งประเทศท่นี ิยมใช้จนถึงปัจจุบัน 4. เลอื กคำภาษาต่างประเทศมาใช้ให้ถูกกาลเทสะและบุคคล 5. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเร่อื งของภาษาทีเ่ ปน็ เครือ่ งมอื ในการสือ่ สารของมวลมนุษยชาติ

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ รายวชิ าภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย2 รหสั วชิ า ท23206 เวลา 20 ช่วั โมง 0.5 หนว่ ยกิต ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ศึกษาภาษาต่างประเทศ ที่นำมาใช้อยู่ในภาษาไทย บอกประวัติและความเป็นมา หลักสังเกตคำ ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ได้แก่ ภาษาบาลี-สันสกฤต เขมร ชวา จีน โปรตุเกส เปอร์เซีย ทมิฬ มลายู อังกฤษ ฝรั่งเศส ญีป่ นุ่ ญวน ตะแลง และฮนิ ดี

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย 1 รหัสวชิ า ท 31101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับทักษะการฟัง การดู และการอ่านออกเสียงร้อยแก้วประเภทบทความ นวนิยาย ความเรียง การอIานออกเสียงร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อตีความ แปล ความ ขยายความ และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน ที่ฟัง ที่ดูได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจและแก้ปัญหา เขียนสื่อสารในรูปแบบจดหมายกิจธุระ เขียน เรียงความ พูด สรุปแนวคิดและพูดแสดงความคิดเห็นอย่างมีวิจารณญาณจากการฟัง การดู ฝึกแต่งคำประพันธ์ ประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิด ท่องจำและบอกคุณค่าบท อาขยาน ตามที่กำหนดและตามความสนใจจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนำไปใช้ประยุกต์ในชวี ิตจริง โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนความรู้และความ เขา้ ใจ กระบวนการไตรสิกขา เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการส่ือสาร ในการคิด ในการ แก้ ปัญญา ในการใช้ทักษะชีวิต และในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มี จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม ตัวช้ีวดั ท 1.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 ท 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/7 ท 3.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ท 4.1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/4 ท 5.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 รวม 20 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชา ภาษาไทย 2 รหสั วชิ า ท 31102 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการอ่านรายงาน อ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านทำนองเสนาะ อ่านงาน ประพันธ์ หลากหลายชนิด ท้ังท่ีให้ความรู้และความเพลิดเพลนิ ฝึกใช้กระบวนการคิดที่หลากหลาย ตคี วาม แปล ความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ตามหลักการวจิ ารณ์เบื้องต้น อ่านหนงั สอื ที่สนใจเพอื่ ตอบคำถาม จดจำ เป็น บทอาขยานและเขยี นผังความคิด มีนิสียรักการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน ศึกษาความรู้เกี่ยวกับภาษาเขียนและภาษาพูดได้ถูกต้องคล่องแคล่ว ถูกระดับและวัฒนธรรม การเขียน สะกด คำ เขียนเรียงความ บทความ เขียนเชิญชวน เขียนรายงาน เขียนจดหมาย แต่งคำประพันธ์ ย่อความ โดย ใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง ฝึกเขียนตัวอักษรให้ชัดเจนสื่อความได้แจ่มแจ้ง ใช้กระบวนการเขียนทั้งร้อยแก้วและ รอ้ ยกรองพัฒนางานเขียนด้านความรู้และความบนั เทงิ ข่าวสาร อธิบายชแี้ จงเร่ืองราวต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการ เขยี นพัฒนางานเขยี นอยา่ งมีคุณภาพ มีนสิ ยั รกั การเขียนและมมี ารยาทในการเขยี น ศึกษาความรู้เก่ียวกับการฟัง การดู ส่อื ข่าวสาร สารคดี บันเทิงคดอี ย่างมวี จิ ารณญาณ นำประโยชน์จาก การ ฟงั การดูส่ือรูปแบบต่างๆ มาสรุปแนวคดิ แสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์เร่อื งทฟี่ ังและดูอย่างมีเหตผุ ล ใช้ภาษา พูดได้ ถูกต้องคลIองแคลIว พูดแสดงความคิดเห็นในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาที่ถูกต้อง มี มารยาท ในการพดู การฟัง และการดู ศึกษาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและลักษณะของภาษาไทย คำ กลุ่มคำ การสร้างคำและประโยคความ เดียว ความรวม ความซ้อน ระดับภาษา การแสดงทรรศนะ ข้อสงั เกตและอิทธภิ าษาต่างประเทศที่มตี ่อภาษาไทย วิเคราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากส่ิงพิมพ์และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ แตง่ บทรอ้ ยกรองได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ ภูมิใจ ในภาษาประจำชาติ ชื่นชมผู้ใช้ภาษาไทยถูกต้อง ใช้ทักษะทางภาษาพัฒนาการเรียนรู้ อาชีพ การ ดำรงชวี ติ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติวรรณคดี กวีสำคัญ แนวคิดที่ปรากฏในวรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรม พื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น อธิบายภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม นำคุณค่าที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกท่องจำบทประพันธ์ที่ช่ืน ชอบ เข้าใจโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนไทย มีนิสัยรักการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน มีจริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม ตัวช้ีวัด ท 1.1 ม. 4-6/1 ท 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/3 ม. 4-6/7 ม. 4-6/8 ท 3.1 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ท 4.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ท 5.1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 รวม 14 ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วชิ า ท 32101 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1 หน่วยกติ อ่านตีความ ขยายความ แปลความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน อ่านออก เสียงร้อยแก้ว ร้อยกรองตามฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ มีนิสัยรักการอ่าน มีวิจารณญาณและ เห็นคุณค่าของการอ่าน เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องชัดเจน เขียนจดบันทึก เขียน ข้อความเชิงสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาสุภาพ อ้างแหล่งที่มาของข้อมูล และมีมารยาทในการเขียน พูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการได้ตรงตามจุดประสงค์ เสนอ แนวคิดด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด ศึกษาลักษณะภาษาไทย ความหมายของคำและสำนวน การใช้คำ การออกเสียงคำ หลักสงั เกตคำที่ใช้ในภาษาไทยท่ีได้รับอิทธิพลมา จาก ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิน่ ใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสม มคี วามภมู ใิ จและรักษาไว้ซงึ่ วัฒนธรรมในการใช้ภาษา วิเคราะห์วิจารณ์รูปแบบ เนื้อหา กลวิธีการประพันธ์ เชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาและ วัฒนธรรม ของวรรณกรรม วรรณคดไี ทยและวรรณกรรมท้องถิ่น โดยนำข้อคิดทางภาษา ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น และ ท่องจำ บทประพันธ์ที่มีคุณค่าไปใช้ในชีวิตประจำวันและเห็นคุณค่าของวรรณกรรมในฐานะมรดกทางวฒั นธรรม ตระหนักและมีความรับผิดชอบตIอตนเองและสงั คม โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเพ่ือการส่ือสารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพดู สามารถเลือกฟังและ ดู และพูดแสดง ความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลัก ภาษาไทยการเปลี่ยนแปลง ข อ ง ภ า ษ า พ ลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณTวรรณคดีและ วรรณกรรม อย่างเหน็ คุณคIานำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมนี สิ ัยรักการ อา่ น การเขียนมี มารยาทในการอา่ น การเขียน การฟัง การดู และการพูด ตัวชว้ี ัด ท 1.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ท 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/3 ท 3.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 ท 4.1 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ท 5.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 รวม 16 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ า ภาษาไทย 4 รหสั วชิ า ท 32102 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกยี่ วกับทักษะการอ่าน การเขยี น การฟfง การดู และการพดู การวิเคราะห์และประเมินค่า วรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอIานออกเสียง การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ การเขียน เรียงความ การเขียนในรูปแบบต่างๆ การประเมินคุณค่างานเขียน และการเลือกเรื่องที่ฟังและดู อย่างมี วิจารณญาณ การพูดในโอกาสต่างๆ การศึกษาธรรมชาติของภาษา ลักษณะของภาษา อิทธิพล ของ ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิ่น อธิบายหลกั การสร้างคำในภาษาไทย และการแต่งคำประพันธ์ประเภทร่าย และ โคลงสองสุภาพ วิเคราะห์ วิจารณ์ และสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง คัมภีร์ฉันทศาตร์ แพทย์ศาตสร์สงเคราะห์ และลิลิตตะเลงพ่าย ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรอง ทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเพ่อื การส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟงั การดู และการพดู สามารถเลือกฟังและ ดู และพูดแสดง ความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลัก ภาษาไทยการเปลย่ี นแปลง ของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรม อย่างเห็นคุณคIานำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การ เขียนมีมารยาทในการอา่ น การเขียน การ ฟงั การดู และการพูด ตัวชวี้ ัด ท 1.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/3 ม. 4-6/5 ม. 4-6/7 ม. 4-6/9 ท 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 ม. 4-6/7 ม. 4-6/7 ม. 4-6/8 ท 3.1 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ท 4.1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ท 5.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/6 รวม 23 ตวั ชี้วัด

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย 5 รหสั วชิ า ท 33101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1 หนว่ ยกติ ศึกษาการอ่านบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะเหมาะสมกับเรื่อง ได้แก่ ความเรียง กาพย์ โคลง กลอน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตีความ แปลความ ขยายความเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่าน อย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านและประเมินค่า เพื่อนำความรู้ ความคิดไปตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวติ แสดงความคดิ เห็นโต้แย้งเกี่ยวกบั เร่ืองทีอ่ ่านและเสนอความคิดใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล ตอบคำถาม จากการอ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ ในเวลาที่กำหนด สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียนและ พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มมี ารยาทในการอ่านและมนี ิสัยรักการอ่าน การเขยี นสื่อสารในรปู แบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสำคัญทีช่ ัดเจน โดยสามารถเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา เขียนเรียงความ เขียนประเมินคุณคIางานเขียนด้านต่าง ๆ แล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตน เขียน รายงานการศึกษาค้นคว้าและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงตามหลักวิชาการ และมีมารยาทในการเขียน การสรุป แนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดูตลอดจนวิเคราะห์ ประเมินแนวคิด การใช้ภาษา ความ น่าเชื่อถือ จากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล พร้อมทั้งกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีวิจารณญาณ ในการดู พูดอภปิ ราย และพดู ต่อทีป่ ระชุมชน และมมี ารยาทในการฟัง ดู พูด ระดบั ภาษา คำราชา ศัพท์ วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเดIนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์ และวถิ ชี ีวติ ทางสังคม วเิ คราะห์และประเมนิ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน ฐานะที่เป็นมรดก ของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบ้าน และอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรองทีส่ นใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา มีความสามารถในการสำรวจ ตรวจสอบการสืบค้นข้อมูล และการทำงานร่วมกัน เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า มีความสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป ใช้ประโยชน้ในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมคี ่านิยมทีด่ งี าม ตัวช้วี ัด ท 1.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ม. 4-6/8ม. 4-6/9 ท 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ม. 4-6/8 ท 3.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ท 4.1 ม. 4-6/3 ท 5.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 รวม 26 ตวั ชว้ี ัด

โครงสร้างหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ปีการศึกษา 2565 โรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั ช้ัน รหัสวิชา ภาคเรยี นที่ 1 รายวิชาพนื้ ฐาน ภาคเรียนท่ี 2 หนว่ ยกติ ค 21101 รายวชิ า รายวิชา 1.5 (60) ม.1 ค 22101 หนว่ ยกติ รหัสวิชา 1.5 (60) ม. 2 ค 23101 คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน 1 1.5 (60) ค 21102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 2 1.5 (60) ม.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 1.5 (60) ค 22102 คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน 4 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 5 1.5 (60) ค 23102 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน 6 รายวชิ าเพ่มิ เติม ระดบั ชั้น ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 รหสั วชิ า รายวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต รหัสวิชา หนว่ ยกติ ม.1 ค 20207 คณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ เข้มข้น 2 1.0 (40) ม. 2 ค 20209 คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ เข้มข้น 1 1.0 (40) ค 20208 1.0 (40) ม.3 ค 20211 คณติ ศาสตร์เพิม่ เติมเข้มขน้ 4 1.0 (40) คณิตศาสตร์เพ่มิ เตมิ เขม้ ข้น 3 1.0 (40) ค 20210 คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เติมเข้มขน้ 6 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เขม้ ขน้ 5 1.0 (40) ค 20212

โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรยี นธาตุทองอำนวยวทิ ย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รายวิชาพื้นฐาน ระดบั ช้ัน ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า ม.4 รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวิชา หน่วยกิต ม.5 ค 31101 คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 2 1.0 (40) ม.6 ค 32101 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 1 1.0 (40) ค 31102 คณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน 4 1.0 (40) ค 33101 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 6 1.0 (40) คณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน 3 1.0 (40) ค 32102 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน 5 1.0 (40) ค 33102 รายวชิ าเพ่ิมเติม ระดบั ชนั้ ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหสั วชิ า รายวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหสั วชิ า หน่วยกติ ม.4 ค 30201 คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ เขม้ ข้น 2 1.5 (60) ม.5 ค 30203 คณติ ศาสตร์เพิม่ เตมิ เข้มขน้ 1 1.5 (60) ค 30202 ม.6 ค 30205 คณติ ศาสตรเ์ พิม่ เตมิ เข้มขน้ 4 1.5 (60) คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ เข้มขน้ 3 1.5 (60) ค 30204 คณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ เขม้ ขน้ 6 1.5 (60) คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ เข้มขน้ 5 1.5 (60) ค 30206

คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ค 21101 รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 1 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่การแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การสือ่ สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชือ่ มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทาง คณติ ศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี จำนวน ตรรกยะ จำนวนเต็ม การเปรียบเทียบจำนวนเต็มการบวกจำนวนเต็ม การลบจำนวนเต็ม การคูณจำนวนเต็ม และการหารจำนวนเต็ม สมบัติของการบวกและการคูณจำนวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม การบวกและการลบ จำนวนตรรกยะที่อยู่ในรูปเศษส่วน การคูณและการหารจำนวนตรรกยะที่อยูใ่ นรูปเศษส่วน การบวกและการลบ จำนวนตรรกยะที่อยู่ในรูปทศนิยมการคูณและการหารจำนวนตรรกยะท่ีอยู่ในรูปทศนยิ ม สมบัตขิ องจำนวนตรรก ยะเกี่ยวกับการบวกและการคูณ และการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนตรรกยะไปใช้ในการแก้ปัญหา เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลงั เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การคูณเลขยกกำลงั ที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การคูณและการหารเลขยกกำลังเมื่อเลขช้ีกำลังเป็นจำนวนเต็มบวกและการใช้เลขยกกำลังแสดงจำนวนในรูปสัญ กรณ์วิทยาศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ คำตอบของสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว การแก้สมการ และโจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อัตราส่วน อัตราส่วน สัดส่วน การประยุกต์ เกี่ยวกับรอ้ ยละ และการประยกุ ต์เก่ยี วกับอัตราส่วนและรอ้ ยละ โดยใชก้ ระบวนการในการจดั ประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั ท่ีใกล้ตัว ใหผ้ เู้ รยี นได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริงและในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรยี นร้สู ่ิงต่าง ๆ อย่าง สรา้ งสรรค์ เพือ่ ให้เห็นคุณค่า และมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผลใช้วธิ กี ารทหี่ ลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การอ่านคดิ วิเคราะห์และ เขียนสอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนท่ตี อ้ งการวัด รหัสตวั ชวี้ ัด ค 1.1 ม.1/1 ค 1.1 ม.1/2 ค 1.1 ม.1/3 ค 1.3 ม.1/1 รวมท้ังหมด 4 ตัวช้วี ัด

คำอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ค 21102 รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 2 กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การสอ่ื สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี สมการ เชิงเส้นสองตัวแปร ความหมายของคูอ่ ันดบั กราฟของคอู่ นั ดบั บนระนาบพิกัดฉาก การอา่ นและแปลความหทาย ของกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก และสมการและกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การสร้างทาง เรขาคณิต จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสีและมุม การสร้างส่วนของเสน้ ตรงให้ยาวเท่ากับความยาวของส่วน ของเส้นตรงที่กำหนดให้ การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับขนาดของมมุ ที่กำหนดให้ การแบ่งครึ่งมุมท่ีกำหนดให้ มุม ฉากและมุมตรง การสร้างเส้นตั้งฉาก และการสร้างรูปเรขาคณิตโดยใช้การสร้างพื้นฐาน มิติสัมพันธ์ของรูป เรขาคณิต รปู เรขาคณติ สองมิติและสามิติ รูปคลีข่ องรปู เรขาคณติ สามมิติ หนา้ ตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติภาพท่ี ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ และหรือการวาดและการสร้างรูป เรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ สถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางการนำเสนอ ข้อมูลด้วยแผนภมู ิรปู ภาพ การนำเสนอขอ้ มลู ดว้ ยแผนภูมแิ ทง่ การนำเสนอขอ้ มูลด้วยกราฟเส้น และการนำเสนอ ข้อมูลด้วยแผนภมู ิรูปวงกลม โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สร้างสถานการณใ์ น ชวี ติ ประจำวันท่ใี กลต้ วั ให้ผเู้ รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพจริง สอดคลอ้ งกับเน้ือหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นสอื่ ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ทต่ี อ้ งการวัด รหสั ตวั ชว้ี ัด ค 1.3 ม.1/2 ค 1.3 ม.1/3 ค 2.2 ม.1/1 ค 2.2 ม.1/2 ค 3.1 ม.1/1 รวมทั้งหมด 5 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ค 20207 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเข้มข้น 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วย กติ ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ การ ประยุกต์ 1 รูปเรขาคณิต จำนวนนับ ร้อยละในชีวิตประจำวัน และปัญหาชวนคิด จำนวนและตัวเลข จำนวน และตัวเลข ระบบตัวเลขโรมัน ระบบตัวเลขฐานต่างๆ และการเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข การประยุกต์ของ จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง การคิดคำนวณ สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ และโจทย์ปัญหา การสร้าง การแบ่งส่วน ของเส้นตรง การสรา้ งมมุ ขนาดตา่ งๆ และการสรา้ งรปู สามเหลี่ยมและรปู ส่ีเหลี่ยมดา้ นขนาน โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ทใ่ี กลต้ วั ใหผ้ ้เู รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพอ่ื ให้เหน็ คุณค่า และมเี จตคติท่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์ และการวดั ผล ประเมนิ ผลใช้วิธีการที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์และ เขียนสอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนที่ตอ้ งการวดั ผลการเรียนรู้ 1.ใช้ความร้แู ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ กป้ ัญหาตา่ งๆได้ 2.ตระหนักถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบท่ไี ด้ 3.อา่ นและเขยี นตัวเลขโรมันได้ 4.บอกคา่ ของเลขโดดในตัวเลขฐานตา่ งๆ ท่ีกำหนดใหไ้ ด้ 5. เขยี นตัวเลขฐานทก่ี ำหนดให้เปน็ ตวั เลขฐานตา่ งๆ ได้ 6.ใชค้ วามรู้เก่ียวกับจำนวนเตม็ และเลขยกกำลังในการแกป้ ัญหาได้ 7. ใชก้ ารสรา้ งพืน้ ฐานสร้างมุมขนาดตา่ งๆ ได้ 8.ใช้การสรา้ งพื้นฐานสร้างรปู ที่ซับซ้อนข้นึ ได้ 9. สงั เกตใหข้ อ้ ความคาดการณแ์ ละให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรอ์ ย่างงา่ ยได้ รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 20208 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเข้มข้น 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………........……………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ การเตรียมความพร้อมในการให้เหตุผล ข้อความคาดการณ์ ประโยคเงื่อนไข บทกลับของประโยคเงื่อนไข และ การให้เหตุผล พหุนาม เอกนาม การบวกการลบเอกนาม พหุนาม การบวกและการลบพหุนาม การคูณพหุนาม และการหารพหุนาม บทประยุกต์ 2 แบบรูปของจำนวน ขา่ ยงาน และการประยกุ ตข์ องเศษสว่ นและทศนิยม โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกลต้ ัว ให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพจริง สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นส่ือความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนทตี่ ้องการวดั ผลการเรียนรู้ 1. สังเกต ขอ้ ความคาดการณ์ และให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์อย่างงา่ ยได้ 2. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหนุ ามได้ 3. หาผลคูณและผลหารของพหุนามอยา่ งงา่ ยได้ 4. ใชค้ วามร้แู ละทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์แกป้ ัญหาต่างๆได้ 5. ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบที่ได้ รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ค 22101 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ……………………………………………………………………………………………………….......……………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ จำนวน ตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็นพหุ นาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลตา่ งกำลงั สอง การสร้างทางเรขาคณิต การนำความรู้เก่ียวกบั การสร้างทางเรขาคณิตไป ใช้ในชีวิตจริง เส้นขนาน สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม สถิติ การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมลู การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ ในชวี ติ จรงิ โดยใชก้ ระบวนการในการจดั ประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวนั ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกับเน้ือหาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะหเ์ ขียน สื่อความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น รหสั ตัวชี้วดั ค 1.1 ม.2/1 ค 1.2 ม.2/1,ม.2/2 ค 2.2 ม.2/1, ม2/2 ค 3.1 ม.2/1 รวมทัง้ หมด 6 ตัวชว้ี ดั

คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค 22102 รายวิชาคณติ ศาสตร์พื้นฐาน 4 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วย กติ ……………………………………………………………………………………………………….......……………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การ ให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ จำนวน จริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนจรงิ รากที่สองและรากทีส่ ามของจำนวนตรรกยะ การนำความร้เู ก่ยี วกบั จำนวน จริงไปใช้ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ การนำความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีพีทาโกรัสและ บทกลบั ไปใช้ในชีวิตจริง พนื้ ที่ผิวและปริมาตร การหาพืน้ ที่ของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เก่ียวกับ พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การ สะท้อน การหมุน การนำความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา ความเท่ากันทุก ประการ ความเทา่ กนั ทกุ ประการของรปู สามเหล่ียม การนำความร้เู กี่ยวกับความเท่ากนั ทกุ ประการไปใช้ในการ แกป้ ัญหา โดยใชก้ ระบวนการในการจดั ประสบการณ์ หรอื สร้างสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ที่ใกลต้ วั ให้ผเู้ รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกบั เนอ้ื หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การอา่ น คิดวิเคราะห์เขียน ส่ือความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น รหสั ตัวชวี้ ดั ค 1.1 ม.2/2 ค 2.1 ม.2/1,ม.2/2 ค 2.2 ม.2/3, ม2/4, ม2/5 รวมทัง้ หมด 6 ตัวช้วี ัด