Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HALAL HARAM

HALAL HARAM

Published by fakrutdeen tapohtoh, 2022-08-04 10:52:45

Description: คู่มือสำคัญสำหรับผู้บริโภคมุสลิม HALAL HARAM

Search

Read the Text Version

• โลชน่ั ทามอื • รองพน้ื แป§งปดZ หน%า • ผลติ ภณั ฑYใหค% วามชมIุ ชน้ื แกIผวิ ในกลมIุ เภสชั ภณั ฑYทม่ี ีกลีเซอรนี คือ : • น้ำยาบ%วนปาก • โลช่นั บำรุงผวิ สำหรับผวิ หยาบกร%าน • ครีมใหค% วามชุมI ชื้นแกIผิว • ยาสฟี นZ • ยาหยอดหู • ยาหยอดตา เป\\นเรื่องยากสำหรับผู%บริโภคที่จะรับทราบข%อมูล หากกลีเซอรีนมี อยูIในเครื่องสำอางและเภสัชภัณฑY ซึ่งผลิตภัณฑYเหลIานี้สIวนใหญIไมIมีการบIง บอกรายละเอยี ดอยIางสมบูรณบY นฉลากผลติ ภณั ฑY 201

ตอนที่ 22 พลาสมาจากเลือดถกู นำมาใชใC นผลติ ภัณฑอL าหาร ถึงแม%เลือดจะเป\\นสิ่งหะรอมสำหรับมุสลิม แตIเลือดถูกนำมาใช% อยIางแพรIหลายในการแปรรูปอาหาร เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารไมI รังเกียจการใช%ผลิตภัณฑYจากของเสียในอาหาร เลือดจากโรงฆIาสัตวYเป\\นของ เสียอีกประเภทที่ยากตIอการกำจัด และเป\\นของเสียที่นำกลับมาใช%ใหมIใน อาหาร ผงพลาสมาจากเลือด (Blood plasma) คอื อะไร? เลือดที่ได%จากโรงฆIาสัตวYถูกนำมาหมุนเหวี่ยงเพื่อแยกเกล็ดเลือดออก ไป สิ่งที่เหลือไว%คือพลาสมาจากเลือดซึ่งเป\\นของเหลวสีครีม หลังจากนั้นผIาน กระบวนการพIนฝอยเพื่อทำให%แห%ง (spray-dried) และนำมาใช%เป\\นแหลIง ของโปรตีน หนาC ท่ขี องโปรตนี พลาสมาในอาหาร โปรตีนพลาสมาที่ได%มาจากเลือด เป\\นโปรตีนที่มีประสิทธิภาพสูงและ ราคาถูก มีความสามารถในการละลายและอิมัลซิไฟเออรYที่ดีเยี่ยม มีความ หนืดต่ำและความสามารถในการคงรูปได%ดี เจลมีความยืดหยุIนที่ไมIคืนรูป โดย ความแข็งแรงของเจลทั้งหมดจะเพ่มิ ขนึ้ เมอื่ อุณหภมู เิ พ่ิมมากข้นึ คุณสมบัตินี้เองที่ทำให%โปรตีนพลาสมาเป\\นโปรตีนที่ดีเลิศ สำหรับเป\\น สIวนประกอบในผลิตภัณฑYที่ควบคุมอุณหภูมิเกินกวIา 80 องศา เชIน การ 202

สเตอริไลทYหรือผลิตภัณฑYบรรจุกระป‡อง โปรตีนพลาสมาสามารถเพิ่มเน้ือ สมั ผัสในผลติ ภัณฑYเนอื้ และปลาท่ผี Iานการแปรรูป ในกรณีของซูริมิ ซึ่งเป\\นผลิตภัณฑYอาหารที่ถูกคิดค%นขึ้นโดยมีปลา เป\\นองคYประกอบหลัก พลาสมาจะทำหน%าที่ 2 ประการคือ เป\\นตัวยับย้ัง เอนไซมYโปรติเอสและยังทำหน%าที่เป\\นตัวยึดเกาะเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของ เจล ผลิตภณั ฑอZ าหารบางผลติ ภัณฑZมสี Cวนประกอบของพลาสมาทไี่ ดจP ากเลอื ด ตัวอยาC งผงพลาสมา จากเลอื ด 203

การนำโปรตีนพลาสมาจากเลือดไปใชC ผงพลาสมาจากเลือดถูกนำมาใช%ในการทำผลิตภัณฑYอาหารที่คิดค%น ขึ้น เชIน ลูกชิ้นปลา เต%าหู%ปลาและเนื้อปูและกุ%งเทียม ชื่อทางการค%าของ ผลติ ภณั ฑเY หลาI นค้ี ือ ซูรมิ ิ ในการทำซูริมิ โดยทั่วไปจะนำปลาเกรดต่ำมาใช% แตIเน่ืองจากเน้ือ ปลาที่มีคุณภาพต่ำ จะมีความ แข็งแรงของเจลน%อย ในกรณีนี้สาร ชIวยในการเกิดเจล เชIน ผงโปรตีน พลาสมาจากเลอื ดจึงถกู เตมิ ลงไป ในป` 1998 CAP ได%ทำการ โบชัวรZจากผผูP ลติ ผงพลาสมาจากเลอื ด สำรวจผงโปรตีนพลาสมาจากเลือด รายหนงึ่ ซ่ึงไดPเสนอแนะการใชPผง พบวIามีขายในประเทศมาเลเซีย พลาสมาจากเลอื ดในหลากหลาย ตามที่ระบุในโบชัวรYซึ่งผลิตภัณฑY ผลิตภัณฑZ ดังกลIาวมาจากสหรัฐอเมริกา ผง พลาสมาจากเลือดเป\\นโปรตีนเน้ือ ราคาถูกที่มีความโดดเดIนในการจับ กับน้ำ ทำให%ผลิตภัณฑYเหนียวแนIน มากยิ่งขึ้นและคุณสมบัติในการเกิด เจลท่ยี ืดหยIุน โบชัวรYยังได%กลIาวอีกวIาสารดังกลIาวสามารถใช%กับผลิตภัณฑYท่ี หลากหลาย เชIน ไส%กรอก เบอรYเกอรY ผลิตภัณฑYจากเนื้อไกI ปลา และเนื้อ อ่นื ๆ โดยแหลงI ทีม่ า (พลาสมาไดม% าจากไหน) ไมถI กู กลาI วไวใ% นโบชัวรY 204

ตIอไปนี้ เราได%ทำการสำรวจและพบวIามีซูริมิหลากหลายยี่ห%อใน ท%องตลาดซึ่งสIวนใหญIฉลากได%กลIาวถึงการใช%สารที่ทำให%เกิดเจล แตIพวกเขา ไมไI ด%ระบจุ ำเพาะเจาะจงถงึ ชนิดและแหลงI ทม่ี าของสารทท่ี ำให%เกดิ เจล ยังไมIมีข%อกำหนดใดภายใต%ข%อกำหนดทางด%านอาหารป` 1985 (Food Regulation 1985) ที่กำหนดให%ผู%ผลิตต%องแสดงรายละเอียดชนิดและ แหลIงทีม่ าของวตั ถุเจือปนอาหารบนฉลากทใี่ ชใ% นผลติ ภัณฑYของพวกเขา นอกจากโปรตีนพลาสมาจากเลือดแล%ว ยังมีวัตถุเจือปนอาหาร จำพวกโปรตีนอื่นอีกมากมาย ซึ่งนำมาใช%อยIางแพรIหลายในวงการ อตุ สาหกรรมอาหาร วัตถเุ จือปนจากเลือดของวัวและสุกรไดCรบั อนุญาตใหCใสdในอาหาร วัตถุเจือปนอาหารที่ได%จากเลือดของวัวและสุกรถูกนำมาใช%ใน ผลิตภัณฑYเนื้อสัตวY กลายเป\\นกรณีศึกษาในป` 2005 โดยองคYกรความ ปลอดภยั ทางอาหารแหงI ยุโรป (European food safety agency) นักวิทยาศาสตรYผู%ทรงคุณวุฒขิ ององคYการความปลอดภัยทางอาหาร แหงI ยโุ รป (EFSA) พบวาI เอน็ ไซมทY เ่ี ตรยี มขน้ึ จากทรอมบนิ (Thrombin) และ ไฟบริโนเจน (fibrinogen) นั้นปลอดภัยและ “มีความเป\\นไปได%น%อยมาก” ใน การเพิม่ ความเส่ียงการตอบสนองตIออาการแพ%และโรคภมู ิแพ% ความเห็นที่ออกตามมาโดยคณะกรรมาธิการยุโรปเรียกร%องให% เตรียมการสอบสวนในกรณดี งั กลIาว 205

การรวมกันของทรอมบินและไฟบริโนเจนที่ผลิตขึ้นด%วย กระบวนการที่ได%รับการจดสิทธิบัตร ถูกนำมาใช%ประโยชนYในอุตสาหกรรม เนอื้ สตั วY เพื่อสรา% งเนือ้ สัตวขY ึ้นมาใหมใI ห%ไดเ% นอ้ื ทม่ี ขี นาดและรปู รIางนIาพอใจ ทั้งทรอมบินและไฟบริโนเจนนั้นได%จากพลาสมIาจากเลือดของวัว และสุกร ทรอมบินและไฟบริโนเจนที่เตรียมไว%จะนำมาใช%กับเนื้อ โดยทรอ มบินได%เปลี่ยนไฟบริโนเจนให%เป\\นไฟบริน (fibrin) ที่ทำปฏิกิริยากับ คอลาเจน ทำให%สามารถประสานชิ้นเนื้อให%เกิดการสร%างชิ้นเนื้อขึ้นใหมIตามขนาดรูปรIาง หรือกรอบที่ต%องการและยังสามารถใช%กับเนื้อสัตวYป`ก ปลาและอาหารทะเลได% อกี ด%วย เนื้อที่สร%างขึ้นมาใหมIแสดงให%เห็นวIา มีการสูญเสียสภาพในการ เกาะตัวหรือจับตัวเมื่อผIานการปรุงด%วยการทอดหรือยIาง โดยทั่วไปทรอมบิน ที่ใสIเข%าไปทำให%ระยะเวลาของการแปรรูปสั้นลงและความแข็งแรงในการ เชอื่ มประสานเพม่ิ มากข้ึน ความคงตัวของทรอมบินคIอยข%างต่ำ เมื่อการเชื่อมประสานเสร็จสิ้น ก็จะไมIมีกิจกรรมของทรอมบินตกค%างให%ตรวจพบ นอกจากน้ีทรอมบินที่ หลงเหลือจะถูกยับยั้งในระหวIางการปรุงอาหาร (ความร%อนทำให%การคงตัว ของทรอมบินคIอนข%างต่ำ) และถูกยับยั้งในกระเพาะอาหารหลังจากบริโภค เข%าไป (สภาพ pH ตำ่ ) เนื่องจากทรอมบินและไฟบริโนเจนได%มาจากสIวนที่กินได%ของสัตวY จึงไมIจำเป\\นต%องทดสอบทางพิษวิทยาตามที่ได%ร%องเรียน คณะกรรมการ EFSA กลIาวIา “การเตรียมทรอมบินและไฟบริโนเจนนั้นผลิตจากพลาสมIาที่ได%จาก เลือดของวัวหรือสุกรซึ่งได%รวบรวมจากโรงฆIาสัตวYถูกสุขอนามัยภายใต%การ ตรวจสอบของสัตวแพทย”Y 206

หลายป`มานี้ ได%มีการผลิตและบริโภคผลิตภัณฑYจากเนื้อที่มีการเติม เลือดหรือพลาสมาในหลายๆประเทศโดยไมIมีผลข%างเคียงเกิดขึ้น ระดับความ เข%มข%นของการเตรียมทรอมบินกับไฟบริโนเจนที่ถูกนำมาใช%นี้ อยูIในชIวงระดับ ความเข%มข%นเดียวกันกับโปรตีนในผลิตภัณฑYเนื้อ ด%วยการเติมเลือดหรือ พลาสมาลงไป สืบเนื่องจากความเห็นของนักวิทยาศาสตรYเมื่อเร็วๆนี้ ตามที่ นักวิจัยของ EFSA กลIาววIา ทรอม บินบางสIวนที่ยังหลงเหลือจะที่ถูกยับย้ัง โดย antithrombin III (มีอยูIในขั้นตอนการเตรียมทรอมบินและไฟบริโนเจน อกี ด%วย) ผู%ทรงคุณวุฒิของ EFSA ได%สรุปออกมาวIา “การบริโภคผลิตภัณฑY จากเนื้อสัตวYที่มีการเตรียมจากเอนไซมYนี้ ไมIนIาจะเป\\นไปได%ในการเพิ่มความ เสย่ี งตIอการตอบสนองอาการแพห% รอื โรคภูมิแพไ% ด”% แมCจะมีการประกาศความปลอดภัยจากองคLการความปลอดภัย ทางอาหารแหdงยุโรป (EFSA) แตdการเตรียมทรอมบินกับไฟบริโนเจน (และแนdนอนอาหารอื่นๆที่มีวัตถุเจือปนที่ไดCจากเลือด) เปiนตCนเหตุของ ป4ญหาสำหรับผูCบริโภคมุสลิม เนื่องจากทรอมบินถูกนำมาใชCอยdาง กวCางขวางในการทำผลิตภัณฑLอาหารที่คิดคCนขึ้น อาจจะอยูdในผลิตภัณฑL เชdน เบอรLเกอรL ไสCกรอก ลูกชิ้นปลา เตCาหูCปลา กCามปูเทียม และกุCงเทียม โดยเฉพาะอยdางยิ่งสินคCาที่นำเขCาจากตdางประเทศ ผูCบริโภคมุสลิมควร ระมดั ระวังเมอ่ื บรโิ ภคผลิตภณั ฑLอาหารดังกลาd ว ที่มา : วารสาร EFSA, เมษายน ป` 2005 207

ตอนที่ 23 โมโนโซเดยี มกลตู าเมต (MSG) สารเพิ่มรสชาติในอาหารท่ตี Cองสงสัย เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2001 มุสลิมในกรุงจารYกาต%า ประเทศ อินโดนีเซียตIางตื่นตกใจเมื่อทราบขIาวเกี่ยวกับการผลิตผงชูรสยี่ห%ออายิ โนะโมะโต~ะมีการใช%เอนไซมYที่ได%จากสุกร ขIาวที่ออกมาเป\\นสิ่งกระตุ%นให%เกิด การเดินขบวนประท%วงและปxดโรงงานอายิโนะโมะโต~ะพร%อมกับผู%บริหาร 3 คนของโรงงานไดถ% ูกจับคมุ กIอนเหตุการณYนี้จะเกิดขึ้น การใช%สIวนประกอบที่ได%จากสุกรในการ ผลิตอายิโนะโมะโต~ะไมIเคยได%รับการเปxดเผย ในความเป\\นจริงแล%วบริษัทได%ทำ การตลาดผงชูรสนี้ในประเทศแถบตะวันออกกลางโดยระบุในฉลากวIา ฮาลาล สิ่งนี้ได%สร%างความมั่นใจวIาผลิตภัณฑYดังกลIาวไมIมีสIวนประกอบจากแหลIงที่ หะรอม สารที่เปน\\ ปZญหาทำให%เกดิ การโต%เถยี งกนั นนั่ คือ Bactosoytone ซ่งึ เป\\นสารอาหารที่ใช%ในการเพิ่มจำนวนแบคทีเรีย ถูกนำมาใช%เป\\นตัวเริ่มต%นใน กระบวนการหมัก การผลิต Bactosoytone ด%วยการนำโปรตีนจากถั่วเหลือง มายอI ยโดยใช%เอนไซมYทีส่ กัดจากตบั อIอนของสุกร การใช% Bactosoytone ในการผลิตผงชูรสนั้นหะรอม เนื่องจาก Bactosoytone ถกู ผลติ จากแหลIงที่หะรอม ในจดหมายฉบับหนึ่งลงวันที่ 21 มีนาคม 2001 บริษัท อายิโนะโมะ โต~ะมาเลเซียได%ปฏิเสธการใช% Bactosoytone โดยกลIาววIาโรงงานได%ใช% โปรตีนทีย่ อI ยจากพืชมาแทน 208

โมโนโซเดยี มกลูตาเมต (MSG) หรอื ผงชรู สคือ อะไร? ผงชูรส MSG เป\\นสารประกอบที่มีผลึกสีขาว โดยทั่วไปได%มาจาก สาหรIายทะเล ร%อยป`ที่ผIานมาแมIบ%านชาวญี่ปุ{นได%ใช%มันในการปรุงอาหาร MSGไมIได%เติมรสใดๆแกIอาหาร เพียงแตIปรับปรุงรสชาติที่มีอยูIในอาหาร ดงั กลIาว ผ ง ช ู ร ส MSG ผ ล ิ ต ไ ดC อยdางไร? ผ ง ช ู ร ส MSG ใ น เ ชิ ง พาณิชยYผลิตจากสาหรIาย ทะเลได%ไมIนาน ปZจจุบันผลิต ผIานกระบวนการหมักที่ขาด ลักษณะทางธรรมชาติโดยใช% แป§งเป\\นวัตถุดิบเริ่มต%น ใน ประเทศมาเลเซียได%นำแป§ง มันสำปะหลงั มาใช% ผลกระทบจากผงชูรส MSG ท่ีมีตอd สขุ ภาพ ขาC วหนังสอื พมิ พเZ กย่ี วกับป§ญหาของ ผงสีขาวที่เรียกวIาผงชูรส อายิโนะโมโตะ¨ ในอนิ โดนเี ซีย นั้น เป\\นเกลือโซเดียมของ กรด กลูตามิก ประกอบด%วยกรดแอล-กลูตามิกและด-ี กลูตามิก ซึ่งผลิตได%จาก กระบวนการหมกั โดยใชส% ารเคมีเพื่อแยกกรดกลูตามกิ ออกจากโปรตนี 209

กรดกลูตามิกยังพบในอาหารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอีกด%วย ในขณะท่ีรIางกายของเราผลิตกรดกลูตามิกเพื่อควบคุมกระบวนการสร%างและ สลายสารอาหารในรIางกายของเรา ความแตกตIางระหวIางกรดกลูตามิกที่ เกิดขึ้นตามธรรมชาติและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมโดยวิธีการยIอย สลายโปรตีนได%เป\\นกรดกลูตามิคซึ่งพบในรIางกายของเรานั้นมีเพียงกรดแอล- กลูตามิกเทIานั้น แตIในกระบวนการแปรรูปกลูตาเมต มีทั้งกรดแอล-กลูตามิค และกรดด-ี กลตู ามิค ผงชูรส MSG กIอให%เกิดผลกระทบทางด%านสุขภาพมากมาย ใน จำนวนนั้นมีสภาวะที่ถูกเรียกวIา “โรคภัตตาคารอาหารจีน (Chinese Restaurant Syndrome)” ซึ่งเหยื่อจะรู%สึกชา มึนงง และหัวใจเต%นเร็ว ด%วย เหตุนี้จึงไมIแนะนำให%เด็กบริโภค องคYการอนามัยโลก (WHO) ได%เตือนการ รับประทาน ผงชูรสท่ีมากเกินปกตอิ าจกIอใหเ% กิดสมองผดิ ปกตใิ นเด็กทารกได% การสำรวจตลาดผงชูรส MSG ในตลาดประเทศมาเลเซียมีผงชูรสอยูIหลายยี่ห%อประกอบด%วย อายิ โนะโมะโต~ะ อายิโนะทาการะ Ve-sin และ Vedan ซึ่งขายในตลาดขายปลีกมี ขนาดบรรจุต้ังแตI 25, 50, 100, 250 กรมั และ 1 กิโลกรัม สIวนVe-sin ยังหา ซ้อื แบบกระปอ‡ งได%อีกดว% ย ผงชูรส MSG ที่ไมIมีฉลาก ยังถูกนำมาขายในท%องตลาด โดยเฉพาะ อยIางยิ่งในเขตพื้นที่ชนบทโดยพIอค%ารายยIอย ผงชูรสที่ไมIมีฉลากถูกนำมาขาย ในรูปแบบที่ไมIแนIนอนและประมาณ 20% ถูกกวIารุIนที่มียี่ห%อ ตามที่ระบุจาก ผู%ขาย ผงชูรสที่ไมIมีฉลากขายดีมาก โดยเฉพาะอยIางยิ่งในหมูIคนขายเรIและ ร%านอาหาร และกลIาวกันวIามาจากประเทศไทย 210

สถานะฮาลาลของผงชูรส MSG ที่ไมIมีฉลากนั้นเป\\นสิ่งต%องสงสัย จึง มีคำถามวIา มุสลิมสามารถบริโภคสิ่งนี้ได%หรือไมI? เรามั่นใจได%หรือไมIวIา Bactosoytone ไมIถูกนำมาใช%ในระหวIางกระบวนการผลิต? เนื่องจากมีราคา ถูกและนิยมนำมาใช%โดยคนขายเรI ดังนั้นอะไรเป\\นตัวยืนยันสถานะอาหารของ คนขายเรI ทใ่ี ช%ผงชรู สไมมI ีฉลากในอาหารของพวกเขา? ผงชูรส MSG ยังถูกนำมาใช%อยIางแพรIหลายในอาหารแปรรูป และ ในบางกรณีฉลากก็ไมIระบุวIาเป\\นผงชูรส แตIได%ใช%ชื่ออื่น เพราะฉะนั้นมุสลิมจึง ควรระมัดระวังเมื่อบริโภคจะอาหารที่เตรียมในเชิงพาณิชยY อาหารประเภท ไหนนIาจะมีผงชูรส MSG ผสมอยIู แหลdงท่มี าของผงชูรสในชือ่ อืน่ ๆ เนื่องจากผู%บริโภคอาจจะมีข%อสงสัยจากการซื้ออาหารแปรรูปซึ่งมี สIวนประกอบที่สัมพันธYกับคำวIา “โมโนโซเดียมกลูตาเมต” โดยผู%ผลิตอาหาร อาจจะใชช% อ่ื อน่ื ทท่ี ำให%ผู%บรโิ ภคเกดิ ความสบั สน ในจำพวกชื่อท่นี ำมาใช%ได%แกI 1. Hydrolysed protein 2. Sodium and calcium caseinate 3. Yeast extract 4. Texturised protein 5. Glutamic acid สารตIอไปน้ีอาจจะมผี งชูรสผสมอยIดู %วย 1. สารใหก% ลนิ่ เน้อื และรสไกI 211

2. ซุปก%อน 3. สารเติมแตงI กล่นิ หรอื กลิน่ ธรรมชาติ 4. ขา% วมอลตYบารเY ลยY, มอลตYสกดั , กล่นิ มอลตY 5. โปรตนี เวยYเขม% ขน% และโปรตนี เวยสY กดั 6. รสเคร่อื งเทศ 7. โปรตีนถ่ัวเหลอื งเขม% ขน% และโปรตีนถว่ั เหลอื งสกัด 8. ซอสถว่ั เหลืองหรอื ถว่ั เหลอื งสกดั อาหารแปรรูปเกือบทุกชนิดจากข%อมูลที่กลIาวมาข%างต%น (อาหาร กระป‡อง อาหารแชIเยือกแข็งหรืออาหารแห%ง) อาจจะมีผงชูรสเป\\น สวI นประกอบไมมI ากก็นอ% ย 212

ตอนท่ี 24 อาหารดดั แปลงพันธกุ รรม ลองจินตนาการผักและผลไม%ที่ไมIเนIาเป|¹อยเป\\นสัปดาหY ทั้งยัง สามารถฆIาแมลง ต%านทานยากำจัดวัชพืช ตIอสู%กับไวรัสและเชื้อรา มีขนาด ใหญI ดูดีและมีรสชาติที่ดี นี่คือการโฆษณาชวนเชื่อของบริษัท เทคโนโลยีชีวภาพนำมาใช%เพื่อสIงเสริมอาหารดัดแปลงพันธุกรรม (GM) ไปยัง ประชาชนท่ียังคงสงสยั ในกลุIมอาหารที่สามารถผลิตโดยผIานพันธุวิศวกรรมคือ มะเขือเทศ ถั่วเหลือง มันฝรั่ง ข%าวโพดและผลิตภัณฑYนม อาหารเหลIานี้ยังเป\\น สIวนประกอบในผลิตภัณฑYอาหารเชIน ซอสถั่วเหลือง ซอสมะเขือเทศ ปลา ซารYดีนกระป‡อง เนย นม บิสกิต ขนมปZง ยาวิตามิน บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปและ อาหารแปรรูปอน่ื ๆอกี กวาI พันรายการ อาหารดัดแปลงพันธุกรรมถูกผลิตขึ้นโดยการถIายโอนยีนจาก DNA ของพชื หรอื สัตวไY ปยงั DNA ของส่งิ มีชีวิตชนดิ อนื่ ๆ กIอนที่เราจะทำความเข%าใจอาหารดัดแปลงพันธุกรรมในขั้นตอน ตIอไป เราจำเป\\นต%องร%ูกอI นวIา DNA (กรดดิออกซไี รโบนวิ คลโี อไทดY) คอื อะไร DNA รหสั ของชวี ิต พืช มนุษยY หรือสัตวYทุกชนิดนั้นมีความแตกตIางกัน เนื่องจาก สิ่งมีชีวิตแตIละชนิดมีพิมพYเขียวของสารพันธุกรรมที่ตIางกันที่ถูกเรียกวIา DNA ซึ่งได%รับการถIายทอดมาจากบรรพบุรุษ ความสมบูรณYของชุดข%อมูลและ 213

ชุดคำสั่งของสารพันธุกรรมนี้เป\\นสิ่งจำเป\\นสำหรับรIางกายของสิ่งมีชีวิตเพื่อ การเจริญเติบโต การทำงาน การดำรงชีวิตและการสืบพันธุY ชุดข%อมูลดังกลIาว พบได%แทบทุกเซลลYของรIางกาย ซึ่งเป\\นรหัสที่มากับแทIงของ DNA ที่เรียกวIา ยีนสY ซึ่งหนIวยการถIายทอดทางกรรมพันธุYเหลIานี้เป\\นตัวกำหนดคุณลักษณะ ทั้งหมดของสิ่งมีชีวิต ที่บIงบอกวIามันเป\\นนกคีรีบูน (Canary) ไมIใชIอีกา (Crow) สีของกลีบดอกไม%หรือรูปลักษณYอยIางหนึ่งที่ปรากฏ ยีนยังสังเคราะหY โปรตีนเพื่อวัตถุประสงคYอื่นๆอีกมากมายเชIน การสร%างกล%ามเนื้อของรIางกาย การสรา% งฮอรYโมนและเอนไซมY และการสรา% งสิง่ อืน่ ๆ แตIนักวิทยาศาสตรYยอมรับวIามีความร%ูเกี่ยวกับ DNA น%อยมากๆ เพียง 3-5% ในหน%าที่ของ DNA เทIานั้น สIวนที่เหลือนั้นถูกเรียกวIา “ขยะ” ของ DNA มนุษยYยังรู%น%อยเกี่ยวกับการทำงานและปฏิกิริยาของมันหรือแม%แตI จโี นมของมนุษยเY องกต็ าม (หรอื หนังสือของชวี ิต) พนั ธวุ ศิ วกรรมดำเนินการอยาd งไร? ยุคของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมIเริ่มต%นขึ้นในชIวงต%นทศวรรษท่ี 1980 เทคโนโลยีนี้ชIวยให%นักวิทยาศาสตรYสามารถเปลี่ยน DNA หรือลักษณะ ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต พวกเขาได%เรียนรู%ที่จะตัดและตIอเกลียวของ DNA และตัดยีนที่จำเพาะจาก DNA ของสิ่งมีชีวิตหนึ่งและใสIไว%ใน DNA ของ สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเป\\นสายพันธุYที่ไมIเกี่ยวข%องกันโดยสิ้นเชิง วิธีการน้ี เป\\นการผสมยีนจากสายพันธุYที่แตกตIางกันอยIางสมบูรณYอยIางสายพันธุYมนุษยY สัตวY แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อราและพืช ซึ่งเป\\นที่รู%จักในหลากหลายชื่อ เชIน เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมI เทคโนโลยียีน การดัดแปลงยีน แตIอยIางไรก็ตาม รูจ% ักกันเป\\นอยาI งดีในช่ือเทคโนโลยกี ารตดั /ตIอยีน 214

เทคนิคดังกลdาวคลCายกับการสับเปลี่ยนชุดไพdของยีนเพื่อสรCาง สิ่งมีชีวิตที่ไมdเคยมีชีวิตอยูdมากdอน นั่นคือการนำยีนปลาใสdไวCในผลไมC ยีน แมลงใสdในพืชหรือไวรัส ยีนจากไวรัสและแบคทีเรียนใสdในพืช ยีนจากไกd ใสใd นปลาและยีนจากมนุษยใL สdในสกุ รหรอื แพะเปนi ตCน การถIายโอนยีนดังกลIาวจะกระทำโดยใช%แบคทีเรียหรือไวรัสเป\\นตัว พายีนที่จะถูกถIายโอนให%อาศัยไปด%วย (Piggyback) เพื่อบุกรุกเซลลYเจ%าบ%าน หรือใช% \"ป|นยีน\" เพื่อยิงยีนเข%าสูIเซลลY แตIมันไมIได%แมIนยำเทIาที่อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพอยากให%ผู%บริโภคเชื่อ ไมIมีวิศวกรทางด%านยีนสามารถบอก ได%วIายีนที่ใสIเข%าไปใหมIจะถูกสอดไว%ตำแหนIงไหน เป\\นการถIายโอนที่มองไมI เห็นจากกระบวนการสุมI ซ่งึ จะประสบผลสำเรจ็ หรืออาจจะลม% เหลว 215

พันธุวิศวกรรมสามารถนำมาใช%ประโยชนYไมIเพียงแตIเฉพาะกับพืช เทIานั้นแตIยังใช%กับสัตวYได%อีกด%วย ยีนจากสุกรหรือสัตวYที่ไมIได%รับการเชือดตาม หลกั ศาสนบญั ญัตอิ ิสลามอาจถูกนำมาใชใ% นธญั พืช ผัก และผลไม%กเ็ ปน\\ ได% อาหารดัดแปลงพันธุกรรมคืออะไร? เทคโนโลยีนี้ได%ถูกนำมาใช%ประโยชนYกับอาหารที่เรารับประทาน โดยมีจุดมุIงหมายในการ “ปรับปรุง” หรือ “ทำให%ดีขึ้น” ในด%านคุณภาพของ ผลิตภัณฑY อยIางเชIน วิศวกรทางพันธุกรรมได%จำแนกยีนหนึ่งในปลาลิ้นหมาที่ ทำให%มันสามารถทนตIอน้ำเย็น แล%วทำการ “ตัด” ยีนที่ทนความเย็นจากปลา และ \"วาง\" ยีนดังกลIาวใน DNA ของมะเขือเทศ เป\\นผลให%ได%มะเขือเทศ ดัดแปลงพันธุกรรมที่สามารถทนตIอความเย็นและมีฤดูกาลเจริญเติบโตนาน ยิ่งขึ้น แตIกระนั้นก็ไมIเห็นลักษณะปรากฏที่แตกตIางระหวIางมะเขือเทศดัด แปลพันธุกรรมและมะเขือเทศปกติท่ัวไป ซึ่งไมIมีมะเขือเทศที่มีครีบหรือเกล็ด ของปลา อาหารดัดแปลงพนั ธกุL รรมพบไดทC ่ไี หน ? จากการศึกษาได%แสดงให%เห็นวIา อาหารดัดแปลงพันธุYกรรมที่นำมา ขายอยIางแพรIหลายมากที่สุดในประเทศมาเลเซียคือ ถั่วเหลืองหรือน้ำมันถ่ัว เหลือง นอกจากถั่วเหลืองแล%วยังมีมะเขือเทศ ข%างโพด มันฝรั่ง คารYโนลาและ เมล็ดฝ§ายที่ดัดแปลงพันธุกรรม ยังถูกนำมาขายอยIางแพรIหลายในประเทศน้ี อกี ด%วย นอกจากพืชแล%วยังมีสัตวYที่สามารถดัดแปลงพันธุYกรรมเพื่อผลิตให% ได%คุณภาพที่ต%องการเชIนให%ได%เนื้อและนมปริมาณมาก ตัวอยIาง ยีนจากสัตวY 216

แม%แตIยีนจากสุกร สามารถIายโอนไปยังสัตวYอื่นๆ เชIน วัว เพื่อที่จะ เปลี่ยนแปลงโครงสร%าง DNA ของวัวให%ได%คุณภาพตามที่นักวิทยาศาสตรY ตอ% งการ ด%วยเหตุนี้ เนื้อที่นำเข%าภายในประเทศของเราโดยเฉพาะอยIางย่ิง จากประเทศที่สนับสนุนพันธุวิศวกรรมต%องได%รับการจัดการด%วยความ ร ะ ม ั ด ร ะ ว ั ง อ ย I า ง ท ี ่ สุ ด เนื่องจากเนื้อที่นำเข%ามานั้น อาจมยี นี จากสตั วYท่ีหะรอม ความแตกตdางระหวdาง ผลติ ภัณฑอZ าหารบางผลติ ภัณฑทZ ่ีอาจจะมี อาหารจากธรรมชาติและ สวC นประกอบดดั แปลงพันธกุ รรม อาหารดัดแปลงพันธกุ รรม พืชที่ไมIผIานการ ดัดแปลงพันธุกรรมมาผลิต เ ป \\ น อ า ห า ร ท ี ่ ถื อ ว I า เ ป\\ น อ า ห า ร จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ ในขณะที่อาหารที่ได%รับการ ด ั ด แ ป ล ง พ ั น ธ ุ ก ร ร ม น้ั น องคYประกอบทางธรรมชาติ ของอาหารได%ถูกแยก ออกไปหรอื ถกู ดดั แปลงไป 217

รากฐานทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตคือ DNA ซึ่งมีหนIวยที่เป\\น องคYประกอบทางพันธุกรรม DNAดังกลIาวเป\\นตัวกำหนดลักษณะทางชีวภาพ เชIน ผลไม%ลูกหนึ่งเป\\นส%มหรือแอปเปx¡ล เป\\นเพราะส%มมีลักษณะทางพันธุกรรม ของมันที่แตกตIางจากแอปเปx¡ล การจัดการทางพันธุกรรมเป\\นความพยายามที่ จะเปลย่ี นลกั ษณะทางธรรมชาติของพชื ในขณะที่การถIายทอดข%ามพันธุYยังทำให%ผลผลิตที่ออกมาแตกตIาง จากพืชดั้งเดิม บIอยครั้งที่กระทำกับพืชสายพันธYเดียวกัน ซึ่งมีหนIวยที่เป\\น องคYประกอบทางพันธุกรรมรIวมกัน วิธีปฏิบัติเชIนนี้ทำให%เกิดการเปลี่ยนแปลง เพียงเล็กน%อย อยIางเชIน รูปรIาง ขนาด สีหรือรสชาติของผลไม% ผลที่ได%ไมI แตกตIางจากชุดเดิมโดยสน้ิ เชงิ ผลจากการข%ามพันธุYในวิธีการแบบดั้งเดิมนั้น ไมIเป\\นอันตรายตIอ มนุษยY เนื่องจากมันไมIได%เกี่ยวพันกับสารดังกลIาวที่มีอยูI ที่อาจจะกIอให%เกิด อนั ตรายบางอยาI งตIอสุขภาพ ผลกระทบทมี่ ตี dอสขุ ภาพจากการรับประทานอาหารดดั แปลงพนั ธกุ รรม เป\\นที่ทราบกันดีวIาอาหารดัดแปลงพันธุกรรมกIอให%เกิดผลกระทบ ตIอสุขภาพของมนุษยY เนื่องจากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมอาจจะ เกี่ยวพันกับการถIายโอนยีนหนึ่งจากสิ่งมีชีวิตที่เป\\นอันตรายภายในอาหาร เพื่อให%ได%อาหารที่มีคุณสมบัติใหมI (เชIน ทนทานตIอยากำจัดวัชพืช สามารถ ผลิตสารกำจัดศัตรูพืชได%ด%วยตัวเอง ชะลอการสุกให%ช%าลง ฯลฯ) อยIางไรก็ตาม การจัดวางยีนที่ใสIเข%าไปนี้ไมIสามารถควบคุมได%และจะลงเอยด%วยการจัดวาง ยีนแบบสุIมในหมูIยีนพืช กระทั่งยีนมีปฏิสัมพันธYกันซึ่งการใสIยีนใหมIเข%าไป 218

แบบสุIมสามารถรบกวนการทำหน%าที่ในภาวะปกติของยีนพืช สิ่งนี้สามารถ นำไปสูIผลกระทบที่ไมIสามารถคาดเดาได% ซึ่งอาจจะไมIใชIภาวะปกติสำหรับพืช นั้นๆ ผลกระทบที่ไมIอาจคาดเดาได%นี้ เป\\นเรื่องนIาวิตกกังวลอยIางยิ่งเกี่ยวกับ อาหารทีม่ นุษยบY ริโภคทผ่ี ลติ สารกอI ภมู ิแพแ% ละสารพิษตัวใหมI 219

กฎหมายที่ออกมาในปZจจุบันต%องการเพียงแคIให%ผลิตภัณฑYอาหาร ดัดแปลงพันธุกรรม ต%องผIานการทดสอบเพื่อให%ทราบปริมาณของสารพิษ แตI เนื่องจากสารพิษใหมIๆอาจเกิดขึ้นมาได%จากกระบวนการดัดแปลงทาง พันธุกรรม จึงเป\\นที่ชัดเจนวIากฎหมายทั้งหมดที่มีอยูIในปZจจุบันนั้นไมIเพียงพอ นักวิทยาศาสตรYและที่ปรึกษาของรัฐบาลอ%างวIา อาหารดัดแปลงพันธุกรรม ได%รับการ \"ทดสอบอยIางเข%มงวด\" เป\\นการรับรองที่เป\\นเท็จ ในความเป\\นจริง ได%เกิดเหตุการณYครั้งหนึ่งโดย L-tryptophan ซึ่งเป\\นสารเสริมตัวหนึ่งที่ได% จากการดัดแปลงพันธุกรรม ได%สIงผลให%มีผู%เสียชีวิต 37 ราย และผู%พิการนับ พันคน ถึงแม%วIาจะมีข%อถกเถียงกันวIาเหตุการณYในครั้งนี้ควรโทษ กระบวนการดัดแปลงพันธุกรรมหรือโศกนาฏกรรมครั้งนี้อาจมีสาเหตุจาก ปZจจัยอื่นๆ อยIางไรก็ตามมีหลักฐานหนักแนIนวIาเป\\นผลมาจากเหตุผลในข%อ แรก (การดัดแปลงพนั ธุกรรม) 220

โดยพื้นฐานแล%วสารกIอภูมิแพ%เป\\นสารตัวหนึ่งที่สามารถกระตุ%นให% เกิดโรคภูมิแพ% เป\\นที่ยอมรับกันวIาโรคภูมิแพ%เป\\นภัยคุกคามตIอชีวิต อยIางเชIน ประชากรจำนวนมากเสียชีวิตทุกๆ ป`จากโรคหอบหืด ซึ่งบIอยครั้งได%รับการ กระตุ%นจากสารกIอภูมิแพ% ได%มีเอกสารแสดงตัวอยIางที่เปxดเผยถึงความเสี่ยง จากการดัดแปลงพันธุกรรมจากภาพข%างบน ในการปรับปรุงถั่วเหลืองให%เป\\น แหลIงของโปรตีนที่ \"ดีที่สุด\" โดยนำยีนหนึ่งจากถั่วบราซิลใสIเข%าไปในถ่ัว เหลือง โดยเฉพาะยีนที่เป\\นรหัสพันธุกรรมที่จำเพาะสำหรับกรดอะมิโนซึ่งไมIมี อยูIในถั่วเหลือง ผลลัพธYจากการถIายโอนยีนนี้พบวIา คนที่เคยแพ%ถั่วบราซิล เพยี งอยIางเดยี ว ในขณะนีแ้ พถ% ่ัวเหลอื งดว% ย ความกังวลเรื่องสุขภาพด%านอื่น ๆ รวมถึงการสร%างซุปเปอรYไวรัส และการเพิ่มความต%านทานยาปฏิชีวนะในแบคทีเรีย ยีนที่ \"ควบคุมการ แสดงออก\" ตัวหนึ่งอาจถูกวางไว%ในอาหารดัดแปลงพันธุกรรมด%วยกันกับยีน แปลรหัสเพื่อสร%างคุณลักษณะใหมI ยีนควบคุมการแสดงออกจะทำหน%าที่ เหมือนตัว “เปxด” สวิทชYที่เป\\นการเพิ่มผลกระทบของการถIายโอนยีน ยีน ควบคุมการแสดงออกที่ถูกวางไว%ภายในอาหารดัดแปลงพันธุกรรมจำนวน มากนั้นมาจากเชื้อไวรัสตัวหนึ่ง ซึ่งเป\\นเชื้อไวรัสทั่วไปที่ถูกคัดเลือกเพื่อ วัตถุประสงคYนี้นั่นคือ ไวรัส cauliflower mosaic ไวรัสชนิดนี้สัมพันธYกับ ไวรัสจำนวนหนึ่งของมนุษยYรวมถึงไวรัส HIV และไวรัสตับอักเสบ นักพันธุ ศาสตรYจำนวนมากกังวลวIา ยีนชนิดนี้สามารถผสมกับไวรัสของมนุษยYนำไปสIู การสร%างไวรสั สายพนั ธYุใหมI ความต%านทานยาปฏิชีวนะกำลังกลายเป\\นปZญหาที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยIางยิ่งมียาปฏิชีวนะตัวใหมIและมีประสิทธิภาพน%อยมากที่อยูI ภายใต%การพัฒนาเพื่อใช%ในทางการแพทยY แพทยYจะให%ยาปฏิชีวนะอยIาง 221

สมเหตุสมผล เนื่องจากการใช%ยาปฏิชีวนะมากเกินไปจะกระตุ%นให%แบคทีเรีย จำนวนมากดื้อตIอยาปฏิชีวนะเหลIานี้ ยาปฏิชีวนะยังถูกนำมาใช%อยIาง แพรIหลายในการเพาะปลูก เชIน เป\\นตัวเรIงการเจริญเติบโต มีความวิตกกังวล วIาสิ่งนี้อาจเป\\นการสIงเสริมการดื้อยาปฏิชีวนะในสังคมและการรณรงคYนั้น กำลังเคลื่อนตัวขัดขวางการปฏิบัติเชIนนี้ ในเรื่องอาหารดัดแปลงพันธุกรรมซึ่ง ยีนที่ต%านทานยาปฏิชีวนะนั้นมักจะใสIเข%าไปในเซลลYของสิ่งมีชีวิตดัดแปลง พันธุกรรมพร%อมด%วยยีนอื่นๆ เหตุผลที่ต%องทำเชIนนี้เพราะวIา ไมIใชIเซลลY ทั้งหมดจะยอมรับยีนดังกลIาว เพื่อจะค%นหายีนหนึ่งที่เหมาะสมเซลลYดังกลIาว ที่นำออกมาต%องสัมพันธYกับยาปฏิชีวนะและเฉพาะเซลลYที่ยอมรับยีนที่ต%านยา ปฏิชีวนะเทIานั้นถึงจะอยูIรอด (ด%วยเหตุนี้ยีนอื่นๆยังถูกถIายโอนไปกับมันอีก ดว% ย) ในขณะทเี่ ซลลYทไี่ มมI ียนี ตัวใหมจI ะตาย อาหารดดั แปลงพันธกุ รรมมสี ถานะฮาลาลหรอื หะรอม นักวิชาการจำนวนหนึ่งมีความเห็นวIา อาหารดัดแปลพันธุกรรมที่มี ยีนของสุกรหรือสัตวYที่ไมIได%รับการเชือดตามหลักศาสนบัญญัติอิสลามอาหาร ดงั กลาI วนนั้ หะรอม จากความเห็นนี้ อาหารฮาลาลอาจจะกลายเป\\นอาหารหะรอมหาก มีการเจือปนด%วยยีนหะรอม ตามที่นักวิชาการทางด%านกฎหมายอิสลามได%ให% ความกระจIางแกIเรื่องนี้ เม่ือสารหะรอมใดๆนำเข%าสูIอาหารอีกชนิดที่ฮาลาล เชIน มะเขอื เทศ ทำใหอ% าหารน้นั กลายเป\\นอาหารหะรอม อยIางไรก็ตาม เป\\นเรื่องสำคัญที่เราจะไมIตกอยูIภายใต%กับดักทาง ความคิดของอาหารดัดแปลงพันธุกรรมเพียงแคIคำวIาฮาลาลหรือหะรอม อิสลามเป\\นศาสนาหนึ่งที่พิจารณาชีวิตในรูปแบบธรรมชาติ เพราะฉะนั้นใน การตัดสินใจบางอยIางที่คIอนข%างใหมI เชIนเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมวIาควรจะ 222

ยอมรับหรือจะปฏิเสธ ดังนั้นความหมายที่หลากหลายของเทคโนโลยีดังกลIาว จะต%องได%รับการอธิบาย คำสอนที่สะท%อนจากอัลกุรอานเป\\นอีกอยIางที่จะต%อง นำมาพิจารณาอยIางเชIน ในอัลกุรอานเมื่อเอIยคำวIา “ฮาลาล” ในแตIละครั้งท่ี กลIาวถงึ อาหารและคำวาI “ตอยยบี นั ” (ด)ี นัน้ ยังถกู กลIาวขึน้ มาอีกดว% ย “มนุษยOเอRย! จงบริโภคสิ่งอนุมัติที่ดีๆจากสิ่งที่อยูUในแผUนดิน (อัลบะเกาะ เราะฮ:ฺ 168) “พวกเจ$าจงบริโภคในสิ่งที่อัลลอฮฺทรงประทานปYจจัยยังชีพแกUพวกเจ$า ซ่ึง เป[นท่ีอนุมัติทด่ี .ี ..” (อลั นะหลฺ ฺ : 114) ดังนั้นกIอนที่จะตัดสินใจวIาอาหารดัดแปลงพันธุกรรมเหมาะสำหรับ การบริโภคหรือไมI จำเป\\นต%องมองมากกวIาแคIมันฮาลาลหรือหะรอมเทIาน้ัน คำวIา “ตอยยีบัน” หมายถึง ดี ซึ่งมีความหมายรวมถึงอาหารที่มีประโยชนY และมคี วามบริสุทธจิ์ ากแหลIงของมันเองต%องไดร% ับการพิจารณาด%วย เทคโนโลยีที่อาจจะเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของอาหารในระดับ รากฐานมากที่สุดคือเทคโนโลยีการดัดแปลงพันธุกรรม ซึ่งพิมพYเขียวทาง กายภาพที่แท%จริงของอาหารได%เปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิมหรือสภาพทาง ธรรมชาติ (ฟxตเราะหY) ของมัน การดัดแปลงพันธุกรรมทำลายระบบ พัฒนาการตามธรรมชาติของยีน เป\\นการกีดขวางพืชหรือผักจากการทำงาน ตามธรรมชาตทิ ่ีแทจ% รงิ ของชีวติ ไมIวIาจะใสIยีนจากผลิตภัณฑYฮาลาลหรือหะรอมก็ไมIเกี่ยวข%องกับ ผลกระทบทีย่ ุงI เหยิงน้ี ซ่งึ อาจเกดิ ข้ึนไดใ% นท้งั สองกรณี น่ีคอื อกี หนงึ่ อายะฮจฺ ากอัลกรุ อานความวาI : 223

“ดังนั้น เจ$าจงผินหน$าของเจ$าสูUศาสนาที่เที่ยงแท$ (โดยเป[น) ธรรมชาติของอัลลอฮฺซึ่งพระองคOทรงสร$างมนุษยOขึ้นมา ไมUมีการ เปลี่ยนแปลงในการสร$างของอัลลอฮฺ นั่นคือศาสนาอันเที่ยงตรง แตU สวU นมากของมนุษยไO มรU ู”$ (อัรรูม : 30) ในความเป\\นจริงการนำอายะฮฺข%างต%นมาเชื่อมโยงกับกระบวนการ อาหารดัดแปลงพันธุกรรมนIาจะมีสิทธิ์ที่จะทำได% หากกลIาววIามันไมIเกี่ยวข%อง กับอาหารดัดแปลงพันธุกรรม ดังนั้นข%อความข%างต%นจำเป\\นต%องได%รับการ พิจารณา หากการเปลี่ยนแปลงที่เป\\นรากฐานหนึ่งในพิมพYเขียวทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตที่ไมIได%อยูIภายใต%นิยามของ “การเปลี่ยนแปลงในการสร%างของ พระเจ%า” กระนน้ั แล%วอะไรหรือท่อี ยภIู ายใตน% ยิ ามน้ี เพราะฉะนั้นเพียงแคIพิจารณาจากสิ่งดังกลIาวข%างต%น ดูเหมือนจะ เป\\นไปได%วIาอาหารดัดแปลงพันธุกรรมนั้นนIาจะเบี่ยงเบนจากสิ่งที่ถูกยอมรับ ภายใต%ศาสนาอิสลาม แตIกIอนที่จะทำการยืนยันข%อสรุปใดๆ ข%อสรุปดังกลIาว จะต%องรวมผลกระทบของอาหารดัดแปลงพันธุกรรมที่มีตIอการดำรงชีวิตและ ตอI สังคมในด%านอืน่ ๆอกี ด%วย การศึกษาได%แสดงให%เห็นผลกระทบตIอสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากพิษบาง ชนิดของผลิตภัณฑYดัดแปลงพันธุกรรม เป\\นความจริงวIาไมIเพียงแตIรุIนน้ี เทIานั้นที่ได%รับผลกระทบจากการดัดแปลงพันธุกรรมแตIยังเชื่อมตIอยังรุIน ตIอไปทั้งหมดของพืชผลอีกด%วย (เนื่องจากเซลลYที่เกิดใหมIยังขนสIงถIายโอนยีน ด%วย) แตIทวIาละอองเกสรดอกไม%ที่ดัดแปลงพันธุกรรมยังสามารถแพรIกระจาย ได%ไกลเป\\นไมลYผIานกระแสลมและผึ้ง ด%วยเหตุนี้จึงเกิดการปนเป|¡อนไปยังพืชที่ ไมIดัดแปลงพันธุกรรมได%ด%วย นี่คือสิ่งที่นIากังวลสำหรับเราทุกคนและเป\\นสิ่งท่ี ไมIพึงประสงคYอยIางแนIนอน เพราะหากเกิดขึ้นแล%วอาจจะไมIมีวิธีที่มี 224

ประสิทธิภาพในการหยุดการแพรIกระจายของพิษจากอาหารดัดแปลง พันธุกรรมในรูปสิ่งมีชีวิตและผลกระทบตIอสิ่งชีวิตที่ตามมา ซึ่งยังสามารถ ทำลายความหลากหลายทางชวี วทิ ยาในธรรมชาติอีกด%วย แนIนอนวIาปZญหาอาหารดัดแปลงพันธุกรรมไปไกลกวIาคำถามที่วIา อาหารนั้นฮาลาลหรือหะรอม สิ่งจำเป\\นคือมุสลิมจะต%องได%รับการเตือนหรือ ชี้แจงในประเด็นนี้ ซึ่งมีความสำคัญในระดับ การดัดแปลงพันธุกรรมและ อาหารดัดแปลงพันธุกรรมควรปลIอยลงสูIสิ่งแวดล%อมหรือไมI จากมุมมองของ ศาสนาอิสลามประเด็นนี้ควรจะยอมรับหรือปฏิเสธ เริ่มกลายเป\\นสิ่งที่ชัดเจน มากยิ่งขึน้ กรรมสิทธ์คิ วามเปiนเจาC ของชวี ิต เพื่อให%บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพได%รับผลกำไรจำนวนมหาศาลจาก สิ่งที่พวกเขาลงทุน พวกเขาต%องการสิทธิบัตรพืชผลที่เขาดัดแปลงพันธุกรรม แม%วIาพืชจำนวนมากที่นำมาใช%ประโยชนYโดยบริษัทเหลIานี้เป\\นวัตถุดิบที่มีการ เพาะปลูกมานานหลายศตวรรษโดยเกษตรกรในประเทศโลกที่สาม แตIทวIา บริษัทข%ามชาติได%นำพืชดังกลIาวเข%าห%องปฏิบัติการและดำเนินการวิจัย บางอยIาง จากนั้นพวกเขาโมเมเอาเองวIาพชื ผลเหลาI นีเ้ ปน\\ สทิ ธ์ขิ องพวกเขา ด%วยกฎหมายสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับการดัดแปลงพันธุกรรม บริษัทใช% นำมาอ%างสิทธิความเป\\นเจ%าของยีน ราวกับเป\\นการปZกธงบนการสร%างของ พระเจ%าและการพูดวIา “ฉันเป\\นเจ%าของสิ่งนี้” ใครมีสิทธิเป\\นเจ%าของการสร%าง ของพระเจ%ากระน้นั หรอื ? 225

ความเป\\นเจ%าของกรรมสิทธิ์ที่ถูกกลIาวอ%างเหลIานั้น ไมIสอดคล%องกับ หลักการอิสลาม เนื่องจากพืชทุกชนิดนั้นเป\\นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ ดังพระ มหาคมั ภีรYอลั กรุ อานได%กลIาวไว%ความวาI “มนุษยOจงพิจารณาดูอาหารของเขาซิ เราได$หลั่งน้ำฝนลงมา มากมายอยUางไร แล$วเราแยกแผUนดินออกไป และเราได$ให$เมล็ดพืชงอกเงย ขึ้นจากในแผUนดิน และองุUนและพืชผัก และมะกอกและอินทผลัม และ เรือกสวนที่หนาทึบและผลไม$และทุUงหญ$าทั้งนี้เพื่อเป[นประโยชนOแกUพวก เจ$าและสัตวเO ล้ยี งของพวกเจา$ ” (อะบะซะ : 24-32) สิ่งสำคัญที่หายไปจากการถกเถียงอาหารดัดแปลงพันธุกรรมคือ มิติ ทางจิตวิญญาณของอาหาร อาหารเป\\นมากกวIาการนำวัตถุดิบมาประกอบ รวมเข%าด%วยกัน อาหารที่ปลูกด%วยการเชื่อมโยงกับความยำเกรงและเอกภาพ ของการสร%างจะชIวยฟ|¡นฟูจิตวิญญาณ อาหารหนึ่งเป\\นอาหารที่เจริญเติบโตใน หนทางการทำงานที่หลงผิดของบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ สำหรับการที่ผู%สร%าง ให%เราได%รับความอดยากซึ่งแท%จริงแล%วเป\\นสิ่งบำรุงที่สำคัญ ความผิดพลาด อยIางหนึ่งที่จะเป\\นอันตรายตIอความผาสุขทางจิตวิญญาณของเราและ ความสามารถของเราตIอความสำนึกในพระเจ%า นี่คือรากฐานสำหรับสุขภาพ ในอดุ มคติ 226

ตอนที่ 25 เสCนผมของมนุษยLในอาหาร จะเป\\นอยIางไรหากคุณเห็นเส%นผมในอาหารที่คุณรับประทาน? คุณ คงสะอิดสะเอียดไมIน%อย แตIคุณทราบหรือไมIวIา เส%นผมมนุษยYนั้นถูกนำเข%าสูI กระบวนการแปรสภาพให%เป\\นสIวนประกอบจริงๆในอาหาร และสารใน คำถามน้ีคอื แอล-ซิสเทอนี (L-cysteine) แอล-ซิสเทอนี (L-cysteine) คืออะไร? แอล-ซิสเทอีน เป\\นกรดอะมิโนที่ถูกนำมาใช%ในอุตสาหกรรมอาหาร เภสัชภัณฑYและเครื่องสำอาง ในการทำขนมปZง แอล-ซิสเทอีนถูกนำมาใช%ลด ระยะเวลาการผสมเพื่อให%เกิดโด (dough) ของแป§ง (ก%อนแป§งที่มีลักษณะ ยืดหยุIนได%ดี เหนียว นุIม ไมIขาดงIาย….ผู%แปล ) ยับยั้งการหดตัวของหน%าพิซซIา หลังจากกางให%เป\\นแผIนเรียบ และชIวยยับยั้งการหดตัวของโดเนื่องมาจาก อุปกรณYตIางๆที่ใช%ในการทำเบเกอรี่ หรือการหดตัวของโดเนื่องจาก เคร่ืองปรับอากาศ ยิ่งไปกวIานั้นแอล-ซิสเทอีนยังถูกนำมาใช%ในอุตสาหกรรมอาหารเพ่ือ ผลติ เปน\\ สารใหก% ล่นิ เนอ้ื (meat flavour) ในผลิตภัณฑYอยIางเชIน ซุปก%อน ถึงแม%วIาแอล-ซิสเทอีนอาจจะมีอยูIในอาหารจำนวนหนึ่ง แตIสาร เหลIานี้ไมIเคยได%รับการระบุวIาเป\\นสIวนประกอบในอาหาร เนื่องจากสารชนิดนี้ ไมIได%รับการพิจารณาวIาเป\\นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) แตIเป\\นตัว ชวI ยในกระบวนการผลิต (processing aid) 227

ผง L-cysteine สารเพ่มิ การพองตัวของแปง“ มี L-cysteine เปนV สวC นประกอบ แหลdงทีม่ าของแอล-ซิสเทอนี ในปZจจุบันแอล-ซิสเทอีนที่นำมาใช%ทั่วโลกมากกวIา 80% ที่ถูกผลิต ขน้ึ ในประเทศจนี ซึ่งสกัดมาจากเสน% ผมของมนุษยแY ละขนไกI 228

เส%นผมของมนุษยYนั้นอุดมไปด%วยกรดอะมิโน 2 ชนิดคือ แอล-ซิสเท อีนและแอล-ไทโรซีน (L-tyrosin) มีแอล-ซิสเทอีนในเส%นผมของมนุษยY ประมาณ 14% ระหวIางการสกัดแอล-ซิสเทอีน โปรตีนเคราติน (keratin) จากเส%นผมมนุษยYจะถูกยIอยด%วยกรดไฮโดรคลอริกและน้ำ หลังจากผIานไป หลายขน้ั ตอน โปรตนี เคราตนิ กไ็ ดเ% ปลี่ยนเปน\\ แอล-ซสิ เทอนี ศาสนาอิสลามมีมุมมองอยdางไรเกีย่ วกับแอล-ซิสเทอีน ตามกฎหมายชารีอะฮฺ สำหรับมุสลิมแล%วการบริโภคสIวนหนึ่งสIวน ใดของรIางกายมนุษยYนั้นเป\\นสิ่งหะรอม จากการสัมภาษณYมุฟตีของรัฐเปรัก (Perak) ดาโต~ะ เซอรี ดร.ฮารูสสานี บิน ซาการียา ทำให%ทราบวIา ทุกๆสIวน ของรIางกายมนุษยYนั้นเป\\นสิ่งที่ลIวงละเมิดไมIได%และควรได%รับความเคารพ ดังนั้นอาหารที่มีแอล-ซิสเทอีนเป\\นสIวนประกอบจึงเป\\นสิ่งที่นIาสงสัย เนอื่ งจากแอล-ซิสเทอาจจะได%มาจากเสน% ผมของมนษุ ยกY เ็ ปน\\ ได% ในมุมมองเรื่องนี้ ผู%บริโภคมุสลิมควรระมัดระวังเมื่อเลือกซื้ออาหาร ในท%องตลาด โดยเฉพาะอยIางยิ่งอาหารที่อาจจะมีแอล-ซิสเทอีนเป\\น สวI นประกอบ (เชนI ขนมปZง พซิ ซIาและอาหารท่มี กี ลิ่นเนอื้ ) สำหรับสิ่งที่ทุกคนควรทราบนั่นคือ แอล-ซิสเทอีนถูกนำมาใช%ใน อาหารที่คุณซื้อ อาจจะมาจากเส%นผมของมนุษยYและอาจจะไมIระบุไว%ใน สวI นประกอบบนฉลากอาหาร 229

ตอนท่ี 26 แอลกอฮอลใL นอาหารและเครื่องด่มื แอลกอฮอลYเป\\นสิ่งต%องห%าม (หะรอม) ในศาสนาอิสลาม แตIมุสลิม กำลังบริโภคแอลกอฮอลYในรูปสารแตIงกลิ่นอาหารโดยไมIรู%ตัว ในอุตสาหกรรม อาหาร แอลกอฮอลYเปน\\ ตัวทำละลายท่สี ำคญั รองจากนำ้ เนื่องจากแอลกอฮอลYมีคุณสมบัติพิเศษในการละลาย แอลกอฮอลY จึงถูกนำมาใช%เป\\นตัวทำละลายในสารแตIงกลิ่นอาหาร ในการผลิตสารแตIง กลิ่นอาหาร น้ำมันหอมระเหยที่สกัดมาได%จะถูกทำละลายในแอลกอฮอลY นอกจากแอลกอฮอลYจะสIงผลให%เกิดความคงทนยาวนานแล%ว สารแตIงกล่ิน อาหารท่ีทำละลายในแอลกอฮอลYยังรักษากลน่ิ เอาไวไ% ดย% าวนานอกี ด%วย ตามทัศนะทางวิชาการอิสลามบางสIวนรวมทั้งจาก JAKIM ตIอการ บริโภคแอลกอฮอลYปริมาณเล็กน%อยที่ไมIทำให%เกิดอาการมึนเมานั้นไมCหะรอม แตทI วIาอัลกรุ อานและหะดษิ ได%ระบุไว%อยIางชดั เจนวIาแอลกอฮอลนY ้นั หะรอม “พวกเขาจะถามเจ$าเกี่ยวกับน้ำเมาและการพนัน จงกลUาวเถิดวUา ในท้ัง สองนั้นมีโทษมากและมีคุณหลายอยUางแกUมนุษยO แตUโทษของมันทั้งสองนั้น มากกวาU คุณของมัน...” (อลั บะเกาะเราะฮฺ : 219) ตามรายงานจากหะดิษที่บันทึกโดยอิมIามมุสลิม ซึ่งทIานนบี (ซล.) ได%กลIาววIา “สิ่งใดที่ปริมาณมากของมันทำใหPมึนเมา ดังนั้นปริมาณนPอยของ มนั กถ็ อื วCาตอP งหPาม (หะรอม)” 230

อาจมีแอลกอฮอลLในโคคา-โคลา ในป` 1994 การศึกษาของ CAP ได%แสดงให%เห็นวIาโคคา-โคลา เครื่องดื่มชนิดหนึ่งที่ได%รับความนิยมมี ขายใน 185 ประเทศรวมทั้งประเทศ มาเลเซีย อาจจะมีแอลกอฮอลYเป\\น สIวนประกอบ เรื่องนี้อ%างหลักฐาน ข % อ ม ู ล จ า ก ห น ั ง ส ื อ “For God, Country and Coca-Cola” เขยี นโดย Mark Pendergrast ในหนังสือเลIมนี้ได%บอก ประวัติของบริษัทโคคา-โคลIา ซ่ึง Pendergrast ได%เปxดเผยสูตรลับของ เครื่องดื่มอันเกIาแกIยาวนานกวIาร%อยป` ในสตู รไดก% ลาI วถงึ การใชแ% อลกอฮอลY ตามที่ระบุในสูตรประกอบด%วย กาเฟอีน กรดมะนาวและน้ำมะนาว ผสมรวมกันในหนึ่งควอรYท (หนIวยที่ใช% ตวงมีคIาเทIากับ 1 ใน 4 แกลอน--ผู%แปล) ในน้ำเดือด เมื่อเย็นลงเติมวานิลลา และสารแตIงกล่ินลงไป ภาพด%านข%างคือสตู รลบั ของโคคา-โคลา ความลับนี้เก็บไว%เป\\นอยIางดีกวIาร%อยป` ซึ่งสูตรนี้ได%กลIาวกันวIาเป\\น สูตรดังเดิมของโคคา-โคลา ถูกค%นพบโดย Pendergrast บนกระดาษชิ้นสี เหลืองสญั ลกั ษณY “X” ทเ่ี กบ็ ไวใ% นบริษัท 231

การเปxดโปงสูตรลับของโคคา-โคลาได%แสดงให%เห็นวIา ภายใต% หน%ากากที่โคคา-โคลIาปกปxดอาจจะลวงตามุสลิมจำนวนมากในการที่พวกเขา บรโิ ภคแอลกอฮอลโY ดยไมIร%ูตัว อัลกุรอานและหะดิษได%ห%ามมุสลิมไว%อยIางชัดเจนจากการบริโภค อาหารที่มีสIวนประกอบที่ต%องสงสัย ตามที่ระบุไว%ในอัลกุรอานและหะดิษ เมื่อ มีบางส่ิงทต่ี อ% งสงสัยในอาหาร ดงั นั้นจึงควรหลกี เลีย่ งจากอาหารดงั กลIาว มแี อลกอฮอลใL นเคร่อื งดื่มโคลาย่หี อC อ่นื ๆดCวยหรือไม?d เรื่องราวของโคคา-โคลาที่ยกมาทำให%เกิดคำถามวIา โคลายี่ห%ออื่นมี แอลกอฮอลYและสวI นประกอบท่ีตอ% งสงสยั อื่นๆอีกดว% ยหรือไมI แหลIงข%อมูลจากอุตสาหกรรม เครื่องดื่มโคลIาสIวนใหญIจะได%รับการ เตรียมด%วยวิธีการที่เหมือนกัน แนะนำให%มุสลิมควรหลีกเลี่ยงการดื่มโคลIาและ น้ำอัดลมชนิดอื่นๆ ยิ่งกวIานั้นอาจจะเป\\นไปได%วIาผลิตภัณฑYดังกลIาวกำลังเจือ ปนด%วยแอลกอฮอลY เครื่องดื่มเหลIานี้ยังเสี่ยงอันตรายตIอสุขภาพ เนื่องจาก ผลิตภัณฑYดงั กลาI วมีปรมิ าณนำ้ ตาลสูง แอลกอฮอลLในกลนิ่ วานิลลา กลิ่นวานิลลาถูกนำมาใช%อยIางแพรIหลายในการอบเค%กและบิสกิต อยIางไรก็ตาม CAPได%ทำการสำรวจพบวIา กลิ่นวานิลลาจำนวนหนึ่งมีแอก กอฮฮลYเปน\\ ตัวทำละลาย 232

การตรวจสอบได%ดำเนินการในป` 2005 ตIอกลิ่นวานิลลายี่ห%อตIางๆ จำนวนหนึ่งพบวIา ปริมาณ แอลกอฮอลYในตัวอยIางที่ทำการ ตรวจสอบมีคIาระหวIาง 2.32 - 5,900 ppm (สวI นในล%านสIวน) ตัวอยIางทั้ง 3 ยี่ห%อที่ได%ทำ กลน่ิ วนลิ ลาสกดั ทง้ั สามยหี่ อP เหลาC น้ี การตรวจสอบคือ มสี วC นประกอบของแอลกอฮอลZ § ย่หี %อบุหงา รายา -----5,900 ppm § ยีห่ %อ Sim --------2.32 ppm § ยี่ห%อ FIC ------- 2.80 ppm มีตัวอยdางหนึ่งที่ทำการตรวจสอบ พบแอลกอฮอลLเปiนสdวนประกอบ อีกทั้งมีเครื่องหมายฮาลาลจาก JAKIM อีกดCวย ตามที่ JAKIM ไดCกลdาวไวC การใชCแอลกอฮอลLเปiนสารใหCความคงตัวนั้นถือวdามุบะฮ นี่คือเงื่อนไขของ แอลกอฮอลL (เอททานอล) ที่มาจากสารเคมี และเนื่องจากมันถูกนำมาใชC ในปริมาณเล็กนCอย จึงกลdาวไดCวdามันจะไมdทำใหCเกิดอาการมึนเมา แมCวdา แอลกอฮอลLที่ไดCมาจากสารเคมีหรือผdานกระบวนการหมักเชdน เหลCา แอลกอฮอลLก็ยังคงมีคุณสมบัติเหมือนกัน รวมถึงคุณสมบัติที่ทำใหCเกิดการ มึนเมา ดังนั้นอะไรคือหลักเกณฑLของ JAKIM ในการวินิจฉัยระหวdางสอง กระบวนการผลิตสนิ คCาท่ีเหมือนกันดังกลาd ว? 233

เพื่อให%เกิดความชัดเจนสำหรับการใช%แอลกอฮอลY ให%เราลองไตรIตรอง หะดษิ ดังตIอไปน้ี อบูตอลฮะหZไดPเรียนถามทCานนบี (ซ.ล.) ถึงเด็กกำพรPาที่ไดPรับสุราเปVน มรดก ทCานไดPกลCาววCา : ทCานจงเทมันทิ้งไป เขา(อบูตอลฮะหZ) ไดPกลCาววCา: ขPาพเจPาจะไมCเอามันทำเปVนน้ำสPมสายชู หรือ? ทCานตอบวCา ไมC (รายงานโดย มสุ ลิม,อาบูดาวดู และตรี มีซียZ) หะดิษนี้แสดงให%เห็นอยIางชัดเจนถึงการห%ามสิ่งดังกลIาว หากการ กระทำสิ่งนี้เพื่อทำให%แอลกอฮอลYเป\\นสิ่งที่ดีกวIา และถ%าหากชารีอะฮฺอนุญาต การกระทำดังกลIาวแล%วทำไมทIานนบี (ซล.) จึงต%องสั่งให%เขาเทมันท้ิง โดยเฉพาะอยIางยิ่งเมื่อสิ่งนี้เกี่ยวพันกับมรดกของเด็กกำพร%า ซึ่งตามที่ ชารีอะฮฺได%ห%ามนั้นเพื่อป§องกันความเสียหายหรือการสูญเสียที่อาจจะเกิดข้ึน ตามมา (Al-Ashribah lit al-mausnah al Fiqhiyyah ; al-zuhayli, Fiqh al-Islam wa Adillatah 7/4) ชัดเจนแล%ววIา หากคนหนึ่งคนใดปฏิบัติตามทัศนะของมัศฮับ (สำนักนิติศาสตรY) ชาฟ`อี ซึ่งเป\\นมัศฮับที่ถูกยอมรับในประเทศมาเลเซียและ หมูIเกาะมลายู ดังนั้นการใช%แอลกอฮอลYในผลิตภัณฑYอาหาร ไมIวIาแอลกอฮอลY ดังกลIาวได%มาจากการกลั่นหรือไมI หรือวIาปริมาณแอลกอฮอลYที่เติมลงไปน้ัน กอI ให%เกดิ การมึนเมาหรอื ไมI การใชแ% อลกอฮอลYถอื วIาทำใหอ% าหารน้ันหะรอม ดังนั้นเหตุผลของ JAKIM ในการออกเครื่องหมายฮาลาลในเรื่องน้ี เป\\นสิ่งที่ไมIนIาเชื่อถือ ด%วยเหตุนี้ผู%บริโภคที่ต%องการใช%สารแตIงกลิ่นวานิลลาใน 234

ขนมอบของพวกเขา แนะนำให%ใช%เป\\นวานิลลาผงแทนการใช%กลิ่นวานิลาที่อยIู ในรูปของเหลว 235

ตอนที่ 27 สdวนประกอบที่ตCองสงสยั ในเครื่องสำอาง สำหรับผู%หญิงโดยสIวนใหญIแล%ว เครื่องสำอางเป\\นสิ่งที่พวกเธอขาด ไปไมIได% แตIคุณทราบหรือไมIวIา เบื้องหลังสIวนประกอบที่นIาสงสัยเหลIาน้ี อาจจะบรรจุสIวนประกอบที่นIารังเกียจผสมอยูIด%วย? จากการศึกษาของ CAP แสดงให%เห็นวIามีผลิตภัณฑYเครื่องสำอางในท%องตลาดจำนวนมาก อาจจะ บรรจุสารอยIางคอลลาเจน สารสกัดจากรก (placental extract) และน้ำคร่ำ (amniotic Fluid) ในเครอื่ งสำอาง คอลลาเจนคืออะไร? คอลลาเจนเป\\นสารเมือกที่พบในกระดูก กระดูกอIอนและเนื้อเย่ือ เกี่ยวพันของสัตวYหรือตัวอIอนในครรภY ซึ่งถูกนำมาใช%อยIางแพรIหลายใน เครือ่ งสำอางหลากหลายชนิด เชนI แชมพู โลชน่ั บำรงุ ผวิ และลิปสติก ในความเป\\นจริง คอลลาเจนที่อยูIในเครื่องสำอางเป\\นสิ่งที่ผู%ผลิต ภาคภูมิใจโดยนำมาใช%เป\\นจุดขายในการโฆษณา ตามท่ีผู%ผลิตเครื่องสำอางได% โฆษณาไว% คอลลาเจนนั้นสามารถฟ|¡นคืนเซลลYผิวเกIาให%กลับมาดูอIอนเยาวY ข้นึ มาอกี ครง้ั ผิวหนังของเราประมาณหนึ่งในสามประกอบด%วยคอลลาเจน ใน รIางกายของมนุษยYนั้นมีคอลลาเจนอยูI 2 ชนิดคือ คอลลาเจนที่ละลายได% หรือ soluble collagen (ในผิวหนังของวัยรุIน) และคอลลาเจนที่ไมIละลาย หรือ insoluble collagen (ในผวิ หนงั ของผ%สู งู อายุ) 236

คอลลาเจนที่ละลายได%จะเปลี่ยนสภาพเป\\นคอลลาเจนที่ไมIละลาย เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น หรือสาเหตุจากการโดนแดดเป\\นเวลานาน จากสารเคมี (ในเครื่องสำอาง) และปZจจัยจากอาหารที่รับประทาน เมื่อเกิดสิ่งนี้ผิวหนังก็ จะตึง แหง% และเกิดรอยยนI เคร่ืองสำอางบางผลติ ภณั ฑZอาจจะใชPวัตถดุ บิ ท่ีไดมP าจากรถของมนุษยZ โดยอPางวCาคอลลาเจนท่ีมอี ยCูในรกของมนษุ ยชZ Cวยฟª«นฟูเซลลผZ วิ เกาC งานวิจัยบางชิ้นแสดงให%เห็นวIา การใช%ประโยชนYจากคอลลาเจนตIอ ผิวหนังชIวยลดหรือแทนท่ีคอลลาเจนที่สูญเสียไป แตIถึงกระนั้นไมIใชIคอลลา เจนทุกชนิดจะสามารถสIงผลตIอผิวหนังได% มีเพียงคอลลาเจนที่จำเพาะเทIาน้ัน ที่จะนำมาใช%ประโยชนYได% สารเคมีบางชนิดแม%วIาจะมีปริมาณเล็กน%อยก็ อาจจะทำให%คอลลาเจนเปลี่ยนเป\\นคอลลาเจนที่ไมIละลาย ซึ่งไมIสIงผล ประโยชนปY ระการใดแกIผิวหนัง 237

ปxโตรเคมีที่มีอยูIในสูตรผสมคอลลาเจน เชIน ไฮโดรคารYบอน (แม%วIา จะมีปริมาณเพียงเล็กน%อย) จะทำให%คอลลาเจนเป\\นคอลลาเจนที่ไมIละลายได% วัตถุกันเสียจำนวนหนึ่งที่เข%ากันไมIได%กับโปรตีน เชIน เมททิลพาราบีล (methyparaben) โพรเพิลพาราบีน (propylparaben) เอททิลพาราบีน (ethylparaben) และบิทิลพาราบีน (butylparabe) จะต%องไมIนำมาใช%กับ ผลิตภณั ฑYท่ีผสมคอลลาเจน ครั้งหนึ่ง CAP ได%สำรวจพบวIา ผลิตภัณฑYเครื่องสำอางเกือบทุก ชนิดที่ได%ตรวจสอบ (รวมทั้งลิปสติก) ประกอบด%วยสารเคมีเหลIานี้อยIางใด อยIางหนึ่ง ซึ่งจะสIงผลให%คอลลาเจนเปลี่ยนเป\\นคอลลาเจนชนิดไมIละลาย และไมIสงI ผลใหเ% กิดการเปล่ยี นแปลงแตIประการใดตIอผิวหนัง การใชทC ารกจากครรภมL นษุ ยLในเคร่อื งสำอางและการทำวิจัย ในป` 1980 ที่ผIานมา CAP ได%ทำการสำรวจพบวIา บริษัท เครื่องสำอางได%ทำการซื้อทารกมนุษยYจากคลินิกทำแท%งเพื่อนำมาใช%ในการทำ วิจัย บางบริษัทยังใช%ทารกมนุษยYเป\\นสIวนประกอบในครีมเสริมความงามหรือ ในผลิตภัณฑYเครื่องสำอางชนิดอื่นอีกด%วย โดยเชื่อวIาตัวอIอนทารกเหลIานี้มี สารที่สามารถเพิ่มความงามให%แกIผิวหนัง ด%วยเหตุนี้ทารกจึงมีมูลคIาในเชิง พาณิชยYและมีบริษัทรับซื้อทารกจากโรงพยาบาลและคลินิกทำแท%งใน สหรฐั อเมรกิ าและยโุ รป ในเดือนตุลาคมป` 1985 Mr. Horst Haase จากประเทศเยอรมนี ตะวันตก ซึ่งเป\\นนักการเมืองชาวยุโรปคนหนึ่ง ได%กลIาวอ%างวIาตัวอIอนระยะ 238

เริ่มแรกของมนุษยYกำลังถูกนำมาใช%เพื่อทำการวิจัยในเครื่องสำอาง ตัวอIอน ของมนษุ ยYนั้นถูกซอื้ มาโดยผIานการค%าระหวIางประเทศ Mr. Haase ได%ปรากฏตัว ณ สภายุโรปที่ผIานมาในเมืองสตราสบูรYก ประเทศฝรั่งเศส เพื่อเรียกร%องให%มีการประกาศห%ามการใช%ตัวอIอนของมนุษยY ในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชยY เขากลIาววIา ในป` 1982 ตำรวจ แคลิฟอรYเนียได%เข%าทำการยึดตัวอIอนมนุษยYจำนวน 500 ศพ เพื่อมาผลิตเป\\น เครือ่ งสำอาง ในป` 1981 ผู%รักษาความปลอดภัยดIานชายแดนประเทศสวิตสYเซอรY แลนดYและฝรั่งเศส พบรถบรรทุกที่เดินทางมาจากยุโรปตอนกลางได%บรรทุก ตัวอIอนมนุษยYแชIแข็ง พวกเขากำลังขนสIงไปยังห%องปฏิบัติการ (laboratory) ของโรงงานในประเทศฝรั่งเศส ตัวอIอนของมนุษยYนี้ได%รับการรายงานในวารสาร Gazette du Palais ซึ่งเป\\นวารสารทางด%านกฎหมายที่มีชื่อเสียงฉบับหนึ่งได%รายงานวIา มี การค%าซากศพตัวอIอนของมนุษยYอยIางคลIองตัวเพื่อให% “ผลิตภัณฑYเสริมความ งามนำมาใช%ในการฟ|¡นฟูสภาพผิว ถูกนำมาขายที่ประเทศฝรั่งเศสในราคา แพง” CAP ยังได%รับโบชัวรYการโฆษณาผลิตภัณฑYเสริมความงามจาก ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งได%ยืนยันถึงการสร%างผิวใหมIผIานการใช%งานของ “เซลลY ใหมIที่มีชีวิต” ซึ่งเซลลYใหมIเหลIานี้ได%จากตัวอIอนของทารกโดยเฉพาะที่มาจาก รก ม%าม ตับ และเยื่อบลุ ำไส% ตามทร่ี ะบุไวใ% นโบชัวรY ผลิตภัณฑYดังกลIาวถูกตั้งราคาไว%ที่ 180, 160, และ 120 ฟรังคY (หรือประมาณ 630, 560 และ 420 บาทตามลำดับ) ตามที่ระบุไว%ในโบชัวรYป` 239

1980 ของ ศูนยY Henri Chenot ในประเทศฝรัง่ เศส ซงึ่ ไมIทราบแนIชดั วาI ศนู ยY ดังกลIาวยังคงมีอยูIหรือไมI ผลิตภัณฑYเหลIานี้ยังคงขายอยูIอีกหรือไมI หรือวIามี ตัวออI นของมนุษยYมีอยจูI รงิ หรอื ไมI ในป` 1976 วอชิงตันโพสตY (Washington Post) ได%รายงานวIา โรงพยาบาลทั่วไปในเขตโคลัมเบียมีรายได%จากบริษัทค%าอวัยวะของเด็กที่ คลอดออกมาเสียชีวิต เด็กที่เสียชีวิตจากการคลอดกIอนกำหนด และเด็กที่ถูก ทำแท%งซึ่งมีรายได%ถึง 68,000 ยูเอสดอลลIา เงินที่ได%จากการขายสิ่งเหลIานี้ กลับมาซื้อชุดอุปกรณYทีวี คIาเดินทางของแพทยYเพื่อไปสัมมนา และการซื้อ อาหารวาI งสำหรับอาจารยหY มอทีม่ าเยีย่ ม เมื่อนิตยสารของอเมริกาฉบับหนึ่งชื่อ “All About Issues” ได% ตีพิมพYกลIาวหาการนำเด็กที่ถูกทำแท%งมาใช%ในการผลิตเครื่องสำอางในป` 1984 เป\\นสาเหตุทำให%เกิดการโต%เถียงครั้งใหญI บริษัทเครื่องสำอางชั้นแนว หน%าในอเมริกาจำนวนมากได%ออกมาปฏิเสธการใช%ตัวอIอนจากครรภYของ มนุษยYในผลติ ภณั ฑYของพวกเขา ตามที่ระบุในนิตยสาร นอกจากผลิตภัณฑYเสริมความงามจะเจาะจง การใช%คอลลาเจนจากสัตวYแล%ว ผลิตภัณฑYดังกลIาวอาจจะมีคอลลาเจนจากตัว อIอนของทารกท่ถี กู ทำแทง% อกี ด%วย การกระทำเชIนนี้นำมาซึ่งการตั้งคำถามตIอความรอบคอบของ กฎหมายที่อนุญาตการทำแท%งและวิธีการกำจัดทารกที่ถูกทำแท%ง ซึ่งใน มาเลเซยี การทำแทง% เป\\นส่งิ ผดิ กฎหมาย 240

ตัวออd นในครรภขL องมนุษยLมพี รCอมจำหนdาย CAP ได%ทำการสำรวจในป` 1980 ที่ผIานมาเปxดเผยวIา โรงงานผลิต เครื่องสำอางไมIมีปZญหาการขาดแคลนวัตถุดิบตัวอIอนของมนุษยYเพื่อนำมา จำหนIาย ในสหรัฐอเมริกาเพียงแหIงเดียว ทุกๆป`มีผู%หญิงที่ทำแท%งในคลินิก ประมาณ 1.5 ล%านคนและอาจจะมีที่บ%านอีก 1.5 ล%านคน นับตั้งแตIการทำ แท%งในสหรัฐอเมริกาเป\\นเรื่องถูกกฎหมาย ในป` 1973 ทำให%มีการทำแท%งมาก ขึ้นกวIา 18 ล%านคน ตามที่ระบุในนิตยสารจันทรYเสี้ยวของแคนาดา (Canadian magazine Crescent) ดูเหมือนวIาจำนวนการทำแท%งจะเพิ่มขึ้นในตะวันออกอีกด%วย ในป` 1984 ประเทศสิงคโปรYมีการทำแท%ง 19,000 คน เฉลี่ยประมาณ 50 คนตIอ วันซึ่งเพิ่มขึ้นเป\\น 3 เทIานับตั้งแตIรัฐบาลได%ออกกฎหมายการทำแท%งในป` 1974 ซ่ึงเปน\\ สIวนหนงึ่ ของโปรแกรมการวางแผนครอบครัว ในสหรัฐอเมริกาได%ประมาณการวIา ผลกำไรที่ได%จากการทำแท%ง ประมาณครึ่งหนึ่งจากพันล%านดอลลIาตIอป` เงินที่ได%นั้นยังมาจากการขาย รIางกายของทารกที่ถูกทำแท%งอีกด%วย ตามที่ระบุในนิตยสาร “All About Issues” รIางกายของทารกถูกนำมาขายโดยใสIในถุง นิตยสารยังได%ให%ข%อมูลท่ี นIากลัวบางอยIางเกี่ยวกับวิธีการที่ไร%จิตสำนึกของการกำจัดทารกในครรภYจาก การทำแท%ง ด%วยการนำก%อนของทารกที่ได%จากการทำแท%งใสIในถุงพลาสติก แล%วผกู ใหแ% นIนและโยนลงในถังขยะเพอ่ื สงI ตอI ไปยังกระบะถังขยะตอI ไป 241

มีเหตุการณYที่ผู%หญิงคนหนึ่งกลIาววIา ฝูงสุนัขที่หิวโหยได%ลากถุงใบ ดังกลIาวไปตามท%องถนน ถุงที่บรรจุอยูIขาดกระจัดกระจายบนพื้นถนนกระท่ัง สุนขั ไดร% ุมกันแยIงชิงรก กระดูกและเนอ้ื ของเด็กทารกอยาI งตะกละตะกลาม พบผลติ ภณั ฑLทีป่ ระกอบดCวยคอลลาเจน จากการสุIมตัวอยIางสินค%าในป` 2000 เราพบลิปสติกชื่อดังอยIาง น%อยที่สดุ 2 ยหี่ อ% คือ Yves Saint Laurent และ Maybelline ท่มี คี อลลาเจน เป\\นสIวนประกอบ การสำรวจของเราได%แสดงให% เห็นวIาคอลลาเจนเป\\นคำพรรณนาที่ถูก นำมาใช%กันโดยทั่วไปในประสิทธิภาพ ของสIวนประกอบกับคุณสมบัติพิเศษที่ ถูกระบุไว%บนบรรจุภัณฑYของลิปสติก ลิปสติกยี่ห%อ Maybelline ได%อ%างคำวIา “คอลลาเจน” ด%านหน%าและด%านหลัง ของฉลาก แตIคอลลาเจนที่อยูIใน ลิปสตกิ อาจจะไมIกIอใหเ% กดิ ประโยชนYใดๆ 242

จากการสำรวจของเราพบเพียงเครื่องสำอางที่นำเข%าจาก ตIางประเทศเทIานั้นที่ฉลากได%ระบุวIามีสIวนประกอบของคอลลาเจน ผลิตภัณฑYยี่ห%อที่เหมือนกันดังกลIาวซ่ึง ผลิตภายในประเทศฉลากไมIได%ระบุการ ใช%สIวนประกอบข%างต%น ผู%บริโภคอาจจะ ไมIสามารถหลีกเลี่ยงสIวนประกอบที่หะ รอมเชIนน้ีเมื่อพวกเขาซื้อเครอื่ งสำอาง การสำรวจของเราในป` 2000 พบผลิตภัณฑYดังตIอไปนี้มีสIวนประกอบ ของคอลลาเจน • St Ives Collagen Elastin Dry Skin Lotion • St Ives Swiss Spa Extra Body Shampoo • Alberto VO5 Hot Oil Hot Hair Treatment • Maybelline lipstick • Yves Saint Laurent Lipstick 243

การฉดี คอลลาเจน ปZจจุบัน คอลลาเจนไมIเพียงนำมาใช%เป\\นครีมทาหน%าเทIานั้น แตIยัง นำมาใช%ฉีดใต%ผิวหนังเพื่อลบรอยยIนอีกด%วย คอลลาเจนจำนวนมากจากหลาย แหลIงถูกนำมาใช%เพื่อวัตถุประสงคYนี้ เชIน แหลIงที่มาจากวัวหรือได%มาจาก มนษุ ยY 1984 – ผลิตภณั ฑเZ สริมความงามบาง รกของแมCทไ่ี ดPมาในชCวงคลอด ผลติ ภัณฑใZ ชPสารสกดั จากรก ถกู นำมาใชPในโรงงานผลิตเครื่องสำอาง การศึกษาทางคลินิกได%แสดงให%เห็นวIา คอลลาเจนที่ได%จากมนุษยY นั้นดีกวIาเมื่อเทียบกับคอลลาเจนที่มาจากสัตวY ที่เป\\นเชIนนี้เพราะคอลลาเจน ที่มาจากมนุษยYนั้นให%ผลที่ยาวนานและผู%ใช%ไมIจำเป\\นต%องอยูIภายใต%การ ทดสอบอาการแพ% เนื่องจากไมIทำให%เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะธรรมชาติ ของรIางกาย การปฏิบัติเชIนนี้จึงไมIขัดแย%งกับหลักการอิสลามในความรู%สึก แตI อยIางไรกต็ ามมันอาจจะยงั คง หะรอม หากสารท่ฉี ีดไปเปน\\ สารที่ หะรอม 244

สารสกัดจากรกในเคร่อื งสำอาง ในป` 1982 CAP ได%เปxดเผยสิ่งที่นIาอัปยศของโรงพยาบาลรัฐใน ประเทศมาเลยเซียด%วยการขายรกของมนุษยYให%กับบริษัทเครื่องสำอาง ตIางชาติ รกที่ได%นั้นถูกนำมาใช%ในการผลิตเครื่องสำอาง โดยเฉพาะอยIางยิ่ง ยาทา (ointment) และครีมทาหน%า การสืบสวนของเราได%เปxดเผยวาI โรงพยาบาลขนาดใหญจI ำนวนมาก ได%ทำสัญญากับตัวแทนของบริษัทเพื่อขายรกของแมIผู%ซึ่งได%ให%กำเนิดบุตรของ พวกเธอ รกคอื เยอ่ื บชุ น้ั ในของมดลูกทถ่ี ูกขับออกมาหลกั จากคลอดบุตร เห็นได%ชัดวIาการค%าขายรกได%เกิดขึ้นในโรงพยาบาลของรัฐมาหลาย ป`แล%ว สิ่งที่ตามมาหลังจาก CAP ได%เปxดเผยเรื่องดังกลIาว ทำให%กระทรวง สาธารณสุขได%ออกคำส่งั ไปยงั หลายโรงพยาบาลหยดุ การกระทำเชIนน้ัน ในหมูIผลิตภัณฑYเครื่องสำอางที่ทราบถึงการบรรจุสารสกัดจากรก คือ ครีมทาหน%า ครีมทาตัว (body cream) ยาทาและครีมนวดผม สารสกัด จากรกเป\\นที่ต%องการอยIางมากหลังจากที่มันชIวยฟ|¡นคืนสภาพความงามโดย เชื่อวIาฮอรYโมนจากรกนั้นสIงผลดีตIอผิวของมนุษยY แตIถึงกระนั้นก็ยังไมIมี หลักฐานขอ% สรปุ ทางวิทยาศาสตรYตอI ประเด็นนี้ นำ้ คร่ำ (Amniotic fluid) สารอีกชนิดที่ถูกนำมาใช%ในเครื่องสำอางบางยี่ห%อนั่นคือ น้ำคร่ำ ซ่ึง เป\\นของเหลวที่พบในถุงน้ำคร่ำของเด็กที่ยังไมIคลอด โรงงานผลิต เครื่องสำอางอ%างวIาผลิตภัณฑYของพวกเขามีสารชนิดนี้ในโฆษณาสินค%าเพ่ือ ดึงดูดลูกค%าด%วยการใช%คำวIา “ตัวกลางแรกของสิ่งมีชีวิตที่มาจากธรรมชาติ” ในครีมทาหนา% แชมพูและสบIู 245

ผู%บริโภคที่ไมIประสงคYใช%เครื่องสำอางที่มีสIวนประกอบจากมนุษยY หรือสัตวY ควรจะศึกษาฉลากสินค%าอยIางละเอียดกIอนซื้อและควรหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑYใดก็ตามที่ฉลากเหลIานั้นระบุการบรรจุสารสกัดจากรก คอลลาเจน หรอื นำ้ คร่ำ อยIางไรก็ตามคุณอาจคิดในใจวIายังมีผลิตภัณฑYที่มีสารเหลIานี้อยูIแตI ไมIระบุสงิ่ เหลIาน้ีไวบ% นฉลากสินคา% ของพวกเขาอีกด%วย การใช%ประโยชนYจากสารที่มาจากมนุษยYลงบนผิวหนังไมIเพียงแคIนIา รังเกียจเทIาน้ันแตIยงั หะรอมอกี ดว% ย ผลติ ภณั ฑLเสริมความงามจากผวิ หนงั ของนกั โทษประหารชีวติ บริษัทเครื่องสำอางจากจีนรายหนึ่ง ได%ใช%ผิวหนังจากนักโทษที่ถูก ตัดสินประหารชีวิตเพื่อนำมาพัฒนาเป\\นผลิตภัณฑYเสริมความงามสIงขายไปยัง ประเทศในแถบยุโรป การสืบสวนนี้ได%รับการเปxดเผยโดยหนังสือพิมพY การเY ดียน (Guardian) ขององั กฤษ ตัวแทนจำหนIายของบริษัทได%แจ%งลูกค%าถึงการพัฒนาคอลลาเจน เพื่อลบเลือนริ้วรอยและรักษาริมฝ`ปากที่ได%จากผิวหนังของนักโทษหลังจากที่ พวกเขาถูกยิงประหารชีวิต ตัวแทนจำหนIายกลIาววIา ผลิตภัณฑYของบริษัท บางบริษัทได%สIงออกไปยังสหราชอาณาจักร และยังใช%ผิวหนังจากนักโทษ ประหารชีวิตอีกด%วย ด%วยข%อกำหนดของสหภาพยุโรปเพื่อการควบคุมการเสริมความงาม จากสิ่งที่ไมIคาดคิด เชIนคอลลาเจน แพทยYและนักการเมืองกลIาวถึงการค%นพบ ด%านที่อันตรายตIอใบหน%า จากจำนวนของผู%บริโภคที่ค%นหาสิ่งปรับปรุง 246

รูปลักษณYของพวกเขาที่กำลังเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจากความกังวลทางด%าน จริยธรรมแลว% ยังมโี อกาสเสีย่ งตIอการตดิ เช้ืออีกดว% ย สมาชิกสภาผู%แทนราษฎรได%รIวมกันคัดเลือกคณะกรรมการด%าน สุขภาพ เพื่อดำเนินการตรวจสอบระบบการควบคุมดูแลและอาจจะเริ่มการ สอบสวนและตัง้ คำถามเกย่ี วกบั ความจำเป\\นในการควบคุมใหมIโดยทนั ที ศัลยกรรมตกแตIงยังเป\\นเรื่องที่นIากังวลเนื่องจากความลIาช%าในการ เขา% สูIกฎระเบียบเพือ่ การควบคุมอุตสาหกรรมเสรมิ ความงาม ยังไมIชัดเจนวIา “ฟxลเลอรYความงาม” ตIางๆ เชIน คอลลาเจนที่มีอยIู ในสหราชอาณาจักร หรือบนอินเตอรYเน็ตนั้น ได%จัดจำหนIายโดยบริษัท ดังกลIาวหรอื ไมI ซึ่งไมIสามารถระบุได%เนือ่ งจากเหตุผลทางกฎหมาย นอกจากน้ี ยังไมIเป\\นที่แนIชัดวIา คอลลาเจนที่ทำมาจากผิวหนังของนักโทษนั้น อยูIใน ขั้นตอนการวิจัยหรืออยูIในขั้นตอนการผลิตแล%ว แตIอยIางไรก็ตามการYเดียนได% เรียนรู%วIา บริษัทดังกลIาวได%สIงออกผลิตภัณฑYคอลลาเจนไปยังสหราช อาณาจักรในอดีตที่ผIานมา ตัวแทนของบริษัทได%บอกลูกค%าวIาได%สIงออกไปยัง ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบยุโรปอีกด%วย และบริษัทกำลัง พยายามพัฒนาฟxลเลอรYโดยใช%เนื้อเย่อื จากทารกที่ถกู ทำแทง% เมื่อการYเดียนได%เข%าสัมภาษณYอยIางเป\\นทางการ ผู%แทนของบริษัท กลับปฏิเสธการใช%ผิวหนังจากนักโทษประหารชีวิต แตIกIอนหน%านี้เขาได% ยอมรับการใช%ผิวหนังนักโทษในระหวIางการสนทนากับนักวิจัยในฐานะนัก ธุรกิจฮIองกงจำนวนหนึ่งวIาสง่ิ นไี้ ด%ถกู กระทำอยIางแนนI อน ผู%แทนจำหนIายของบริษัทได%บอกกับนักวิจัยวIา : “งานวิจัยจำนวน มากยังคงดำเนินการในวิธีการแบบดั้งเดิม โดยใช%ผิวหนังจากนักโทษที่ถูก 247

ประหารและทารกที่ถูกทำแท%ง” วัตถุดิบนี้ เขากลIาววIาซื้อมาจากบริษัท “ไบ โอเทค” ซึ่งบริษัทตั้งอยูIในจังหวัดทางภาคเหนือของเฮยหลงเจียง (Heilongjiang) และได%รับการพัฒนาในทีอ่ ่นื ๆของประเทศจีน เขากลIาววIาการใช%ผิวหนังและเนื้อเยื่อสIวนอื่นๆ ของนักโทษ ประหารชีวิตไมIใชIเรื่องแปลก โดยกลIาววIา “ในประเทศจีนถือเป\\นเรื่องปกติ อยIางมากและผมตกใจมากที่ประเทศตะวันตกทำเรื่องเชIนนี้เป\\นเรื่องใหญI” เขากลIาวให%สัมภาษณYจากสำนักงานทางตอนเหนือของประเทศจีน และยัง กลIาวเสริมวIา “รัฐบาลได%สร%างแรงกดดันบางอยIางที่มีตIอสิ่งอำนวยความ สะดวกทางการแพทยทY ั้งหมด เพือ่ ให%งานประเภทนไี้ มเI ปน\\ ท่ีจบั ตามอง” ผู%แทนจำหนIายได%กลIาวถึงการสIงออกของบริษัทไปยังประเทศ ตะวันตกผIานทางฮIองกงวIา “เรายังคงอยูIในชIวงแรกของการขายผลิตภัณฑY เหลIานี้และลูกค%าจากตIางประเทศคIอนข%างแปลกใจที่ประเทศจีนสามารถผลิต คอลลาเจนเหมือนคอลลาเจนจากมนุษยYแตIมีคIาใช%จIายที่น%อยกวIาตะวันตกถึง 5%” ผิวหนังจากนักโทษถูกนำมาใช%เพื่อทำให%ราคาถูก เขากลIาว “ปZจจุบันมี คาI ธรรมเนียมบางอยIางทจี่ ะต%องจIายให%กบั ศาล” ผู%แทนที่รับสารภาพหลังการสอบสวนภายในอุตสาหกรรมการ ศัลยกรรมความงามในประเทศอังกฤษที่ทำหน%าที่โดยกรมอนามัย ได%ชี้แจงถึง ความจำเป\\นในการออกกฎระเบียบใหมIเพื่อควบคุมการรักษาด%วยคอลลาเจน เซอรYเลียมโดนัลดYสัน (Sir Liam Donaldson) หัวหน%าเจ%าหน%าที่การแพทยYได% เน%นย้ำถึงความกังวลจากการสอบสวนการใช%ซากศพเพื่อรักษาความงาม “กิจการความงามเป\\นกิจการที่เติบโตอยIางรวดเร็วในการดูแลสุขภาพของ เอกชน” เขากลIาววIา “เราต%องเชื่อมั่นวIาเราปกป§องความปลอดภัยของผู%ป{วย อยาI งเหมาะสม ด%วยการปรบั ปรงุ กฎระเบยี บและการฝ†กอบรม” 248

กรมอนามัยได%ตกลงเสนอแนะที่จะให%มีการสอบสวนเพิ่มเติม แตI กำลงั รอใหค% ณะกรรมาธกิ ารยุโรป รIางข%อเสนอกฎหมายการควบคุมผลิตภณั ฑY เสริมความงาม ซง่ึ อาจใชเ% วลาหลายป`กอI นทก่ี ฎหมายน้ีจะบังคับใช% ในขณะที่การรักษาความงามรวมถึงผู%ที่มีฟxลเลอรYความงามนั้นกำลัง เติบโตและได%รับความนิยมอยIางรวดเร็ว ในสหราชอาณาจักรมีการฉีดและฝZง ลงไปประมาณ 150,000 ครั้งในแตIละป` การรักษาริมฝ`ปากให%ดูอวบอิ่มเป\\น การรักษาประเภทหนึ่งที่ได%รับความนิยมมากที่สุด มีคIาใช%จIายเฉลี่ย 170 ปอนดY ฟxลเลอรYบางสIวนได%ทำมาจากเนื้อเยื่อของวัวหรือเนื้อเยื่อจากสุกร และอีกแหลIงได%มาจากเนื้อเยื่อของมนุษยY กรมอนามัยเชื่อวIา อาจจะมีความ เสี่ยงของการแพรIเชื้อไวรัสผIานทางเลือด และโรคสมองฝ{อจากคอลลาเจนที่มี เนื้อเยื่อของมนุษยY ถึงแม%จะยังไมIพบหลักฐานวIาสิ่งนี้เคยเกิดขึ้น แตIการ สอบสวนพบวIา คอลลาเจนบางชนิดที่ฉีดเข%าไปกระตุ%นให%เกิดปฏิกิริยาการ อักเสบที่กIอให%เกิดความเจ็บปวด มีแผลเป\\นและทำให%เสียโฉมอยIางถาวร ใน รายงานของทีมสอบสวนพวกเขากลIาววIา หากมีความเสี่ยง “การปฏิบัติบัติ จะต%องดำเนินการผIานกฎระเบียบเพื่อป§องกันความปลอดภัยของผ%ูปว{ ย” ในขณะที่กฎระเบียบใหมIถูกรIางขึ้นมา กรมอนามัยในปZจจุบันไมIมี อำนาจที่จะควบคุมฟxลเลอรYจากเนื้อเยื่อที่สIวนใหญIเป\\นของมนุษยY มีไว%เพื่อฉีด หรือฝZงลงไป เชIนเดียวกับที่พวกมันครอบครองพื้นที่สีเทาทางกฎหมาย กฎระเบียบที่ควบคุมผลิตภัณฑYทางการแพทยYไมIครอบคลุมผลิตภัณฑYโดยสIวน ใหญI ในขณะเดียวกันสารเหลIานี้ก็ไมIถูกจัดอยูIในประเภทของยา พวกมันยัง หลบหลีกกฎระเบียบเครื่องสำอาง ที่บังคับใช%เฉพาะกับสารที่ใช%บนพื้นผิวหนัง เทาI นัน้ และไมรI วมสารทฉี่ ดี ใต%ผวิ หนัง 249

ในเดือนมิถุนายนป` 2001 Wang Guoqi ซึ่งเป\\นอดีตนายแพทยY ทหารชาวจีนทIานหนึ่ง ได%บอกสมาชิกสภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกาวIา เขา เคยทำงานในพื้นที่ประหารเพื่อชIวยศัลยแพทยYเก็บชิ้นสIวนอวัยวะของนักโทษ ทถ่ี กู ประหารชวี ติ มากกวIา 100 ศพ โดยไมIต%องได%รบั ความยนิ ยอม ศัลยแพทยY ใช%รถต%ูท่ีจอดอยใIู กลก% บั พ้นื ที่ประหารเพอ่ื ทำการผาI ศพ กลIาวกันวIาผิวหนังมีมูลคIาสูงในการรักษาเหยื่อผู%เคราะหYร%ายจาก แผลไฟไหม% และ Dr. Wang ได%กลIาววIา ในป` 1995 เขาถลกหนังรIางกายของ นักโทษที่ถูกยิงประหารชีวิตขณะที่หัวใจของชายคนนั้นยังคงเต%น Dr. Wang กำลังมองหาที่ลี้ภัยในสหรัฐอเมริกา ยังได%กลIาวอีกวIา กระจกตาและเนื้อเยื่อ สIวนอื่นๆของรIางกายถูกถอดออกมาเพื่อการปลูกถIาย และกลIาววIา โรงพยาบาลของเขาคือ โรงพยาบาลกองพลตำรวจทหารทั่วไทเทียนจิน (Tianjin paramilitary police general brigade hospital) ได%ขายชิ้นสIวน ของศพเพ่ือหากำไร คอลลาเจนคืออะไร? คอลลาเจน เป\\นโครงสร%างหลักของโปรตีนที่พบในชั้นผิวหนัง กระดูก เอ็น และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันธYอื่นๆ แผIนที่มัดรวมกันเป\\นก%อนของคอลลาเจน (matted sheets) ทำให%ผิวหนังมีความเหนียว ทนและจากการม%วนภายใน โมเลกุลทีเ่ รยี กวIา “เคเบลิ ” ชIวยเพ่ิมความแขง็ แรงใหก% บั เสน% เอน็ คอลลาเจนถกู นำมาใชทC ำอะไร? 250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook