Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึมปีการศึกษา2562

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึมปีการศึกษา2562

Published by aory2520, 2019-05-07 22:31:45

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึมปีการศึกษา2562

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านท่าเสียวคนั ลมึ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นบา นทา เสยี วคันลมึ อำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวดั อบุ ลราชธานี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คานา กระทรวงศึกษาธิการ มีคาสัง่ ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคาสั่งให้ เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 รวมท้ังประกาศ เรื่องการบริหารจัดการหลักสูตร สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ .ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ลงวนั ที่ 8 มกราคม 2561 โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๒ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒ เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์และเปน็ กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน อีกท้ัง ในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม ได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการ นาหลกั สตู รไป สกู่ ารปฏิบตั ิ โดยมีการกาหนดวิสัยทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทา หลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทาง ทีช่ ัดเจนเพือ่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสสู่ ังคมคุณภาพ มีความรอู้ ย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาติไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ (นายถวิลศกั ดิ์ อมตะพงศ์พันธุ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคนั ลมึ 2 พฤษภาคม ๒๕๖๒ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ก

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 สารบัญ คานา หน้า สารบัญ ก ประกาศโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคนั ลมึ เรือ่ งให้ใช้หลักสตู รสถานศึกษา ฯ ข ความนา ค ลักษณะหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคนั ลมึ 1 วิสยั ทัศน์ 2 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน 4 โครงสร้างเวลาเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา 5 โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา 12 คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 13 คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 22 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 46 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ 66 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 86 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ๑33 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑43 คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๑68 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑85 เกณฑ์การจบ ๒09 เอกสารอ้างอิง ๒๑3 ภาคผนวก ๒16 217 ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ข

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 ประกาศโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคนั ลมึ เรือ่ ง ให้ใช้หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคันลมึ พุทธศกั ราช ๒๕6๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแ กนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐ าน พุทธศักราช ๒ ๕๕ ๑ ตาม คา ส่ั ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวช้ีวัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียน ดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมาและในปีการศึกษา 2562 ให้ใช้หลักสูตรในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2 4 และ5 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ๒ โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม จึงได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕62 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๒๕๕๑ ขึ้น คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพืน้ ฐานโรงเรียนได้ตรวจสอบผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิตประจาวันอย่างมีคุณค่าต่อสังคม จึง เหน็ สมควรแลว้ ว่ามีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ๒๕๕๑ และความ ต้องการของท้องถิ่น อนุญาตให้ใช้หลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคันลมึ ได้ ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอ บจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐา น เมื่อวันที่ ๑๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕6๒ จึงประกาศให้ใช้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียว คนั ลึม พุทธศกั ราช ๒๕6๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ๒๕๕๑ ตั้งแต่บดั นเี้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕6๒ ลงชื่อ........................................ ลงชื่อ........................................ (นายพิสสมัย สภุ าสาย) (นายถวิลศักดิ์ อมตะพงศ์พันธ์ุ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเสยี วคันลมึ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนบ้านท่าเสยี วคนั ลมึ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ค

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแ กนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐ าน พุทธศักราช ๒ ๕๕ ๑ ตาม คา ส่ั ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวช้ีวัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียน ดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เปน็ หลักสตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เปูาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเปูาหมายของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๒ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑และ ๒ เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน อีกท้ัง ในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม ได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน เกิด ความรู้ มีคณุ ธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเปูาหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการ นาหลกั สตู รไป สกู่ ารปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทา หลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทาง ทีช่ ดั เจนเพือ่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสสู่ ังคมคณุ ภาพ มีความรอู้ ย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเปูาหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝุาย ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 ลกั ษณะของหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนได้พัฒนาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น โดยยึดองค์ประกอบหลักสาคัญ ๕ ส่วนคือ ๑) หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒) มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๓) นโยบายการจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง ๔) กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และ๕) สาระสาคัญ จุดเน้นที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม เป็นกรอบในการจัดทารายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่กาหนดเหมาะสมกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของโรงเรียน โดยหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทีพ่ ฒั นาขึน้ มีลักษณะของหลักสตู ร ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม สาหรับจัดการศึกษาในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานจัดในระดับประถมศึกษาและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) ๒. เป็นหลักสูตรที่มีความเป็นเอกภาพสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาหรับให้ครผู ู้สอนนาไปจดั การเรียนรู้ไดอ้ ย่างหลากหลาย โดยกาหนดให้มีรายละเอียด ดังนี้ ๒.๑ สาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพืน้ ฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ประกอบดว้ ย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๒ สาระการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทางาน ประกอบด้วย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒.๓ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทาเป็นรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและ สอดคลอ้ งกับโครงสร้างเวลาเรยี น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความต้องการของผู้เรียน และบริบทของโรงเรียน และเพิ่มวิชาหน้าทีพ่ ลเมือง และภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ให้สอดคล้องกับนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต๓ สานักงานงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระทรวงศึกษาธิการดว้ ย ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 ๒.๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สงั คม เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพัฒนาตนตามศกั ยภาพ ๒.๕ การกาหนดมาตรฐานของโรงเรียนทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพื่อเป็นเปูาหมาย ของการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน จัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพในชุมชน สงั คม และภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เปูาหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน บ้านท่าเสยี วคนั ลมึ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดเกี่ยวกับความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเปน็ แนวทางในการประกนั คุณภาพการศึกษา โดยมีการกาหนดมาตรฐานไว้ดงั นี้ ๓.๑ มาตรฐานหลักสตู ร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรยี นหรือผลผลิตของหลักสูตรโรงเรียน เกิดขึ้นจาก การจัดกิจกรรมตามโครงสร้างของหลักสูตรท้ังหมดของครู และใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพ โดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับ ซึง่ โรงเรียนต้องใช้สาหรบั การประเมินตนเองเพื่อจัดทา รายงานประจาปีตามบทบญั ญตั ใิ นพระราชบญั ญตั ิการศึกษา เพื่อนามาเป็นข้อมลู ใน การกาหนดแนวปฏิบัติใน การสง่ เสริม กากบั ติดตาม ดูแล และปรบั ปรุงคุณภาพ เพือ่ ให้ไดต้ ามมาตรฐานที่กาหนด ๓.๒ มีตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเปูาหมายระบุส่ิงที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของ ผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนดเนอื้ หา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับ การวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผเู้ รียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์และเป็นหลักในการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ๓.๓ มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรโรงเรียน คือมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการส่ิงแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีคุณลักษณะที่จาเป็นในการอยู่ในสังคมได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสยี สละ การเออื้ เฟื้อ โดยอยู่บนพนื้ ฐานของความพอดรี ะหว่างการเปน็ ผนู้ า และผู้ตาม การทางานเป็นทีม และการทางานตามลาพัง การแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปญั ญาท้องถิ่น การรับวฒั นธรรมต่างประเทศ และการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะ ทาง และการบรู ณาการในลักษณะทีเ่ ปน็ องค์รวม ๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนจัดทา รายละเอียดต่าง ๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลักที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลกั สูตรระดับท้องถิ่น เปน็ ขอบข่ายในการจดั ทา ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 จึงทาให้หลักสตู รของโรงเรียนมีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความ ต้องการของท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ มคี วามเหมาะสมกับตัวผู้เรยี น ๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ เพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเปูาหมายหลักในการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดบั ไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการ ประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพฒั นาและเรยี นรู้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ วสิ ยั ทศั น์ของหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีสมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต ร่วมสร้าง จิตสานึกความเป็นพลเมืองดี ยึดหลักศาสตร์พระราชา พัฒนาครูสู่มืออาชีพสู่ระดับสากล โดยมุ่งเน้นผู้เรียน เปน็ สาคัญบนพนื้ ฐานความเชือ่ ว่าทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลอื กใช้วิธกี ารส่อื สาร ที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ผชญิ ได้ อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไข ปัญหา และมีการตดั สินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนนิ ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษา ข้ันพืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซือ่ สตั ย์สุจริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝเุ รียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๕

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๓1 สาระ ๕5 มาตรฐาน ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหาใน การดาเนนิ ชีวิตและมีนิสัยรกั การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟงั การดแู ละการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิ ของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (๓ สาระการเรียนรู้ ๗ มาตรฐานการเรียนรู้) สาระที่ ๑ จานวนและพีชคณิต มา ตรฐ าน ค ๑.๑ เ ข้าใจ ค ว า ม ห ลา กห ลา ยขอ งกา ร แ สดงจา นว น ระ บ บ จา นว น การดาเนนิ การของจานวน ผลทีเ่ กิดขนึ้ จากการดาเนินการสมบตั ิของการดาเนินการและนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๖

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรอื ช่วย แก้ปัญหาทีก่ าหนดให้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพืน้ ฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงที่ต้องการวัด และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ ระหว่างรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนบั เบือ้ งต้น ความนา่ จะเป็น และนาไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับ ส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงานการ เปล่ยี นแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อม รวมท้ังนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบตา่ งๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวิต รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลอ่ื นทีแ่ บบตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๗

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง กบั เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟูา รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิตและการ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบตั ิภัย กระบวนการเปลย่ี นแปลงลม ฟูา อากาศ และภูมิอากาศโลก รวมทั้ง ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมทีม่ ีการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่งิ แวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสขุ มาตรฐาน ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ สาระที่ ๒ หน้าทีพ่ ลเมืองวฒั นธรรมและการดาเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันยึดม่ัน ศรัทธา และธารง รกั ษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๘

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่ เกิดขนึ้ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยมีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมี ผลต่อกนั ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพื่อการ พฒั นาที่ยัง่ ยืน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ๒.๑เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทกั ษะในการดาเนนิ ชีวิต สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๙

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจาอย่าง สมา่ เสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกฬี า มีจติ วิญญาณในการแข่งขนั และชืน่ ชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปูองกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมที กั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกัน โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ปูองกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ ยาสารเสพติด และความรุนแรง สาระการเรียนรู้ศิลปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ภูมิปญั ญาไทยและสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของดนตรีทีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระชื่นชมและประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ นาฏศิลป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๐

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (๒ สาระ ๒ มาตรฐาน) สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชพี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพฒั นาอาชีพมีคุณธรรมและมีเจตคตทิ ี่ดีต่ออาชีพ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องทีฟ่ ังและอ่านจากสอ่ื ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นข้อมูลขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพดู และการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ ได้อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อืน่ มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น พืน้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสมั พันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆท้ังในสถานศึกษา ชุมชน และ สังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาตา่ งประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับสังคมโลก ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๑

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา ม.๑ ม.๒ ม.๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ 120 120 120 ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ 160 160 160 120 120 120 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 160 ๑60 120 วทิ ยาศาสตร์ 120 120 80 ๘๐ ๘๐ ๘๐ 120 120 120 40 40 40 80 80 80 40 40 40 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40 80 80 80 40 40 40 80 80 80 80 80 80 ประวัติศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 40 40 80 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 80 80 80 80 120 120 120 120 120 120 80 80 80 880 880 880 ศลิ ปะ 840 840 840 840 840 840 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ปลี ะ ๒๐๐ ปลี ะ 80 ชว่ั โมง ปลี ะ 40 ชวั่ โมง ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ ชว่ั โมง/ปี ๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี ๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี ๔๐ รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) ๔๐ ๔๐ รายวชิ า/กจิ กรรมทสี่ ถานศกึ ษาจดั ๔๐ เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและจดุ เนน้ ๔๐ ๔๐ 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น/ 40 40 กิจกรรมแนะแนว 200 กิจกรรมนักเรียน 120 200 - กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี - กิจกรรมชุมนุม/ชมรม/ กิจกรรมจริยธรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ รวมเวลาทงั้ สนิ้ ๑,160 ชว่ั โมง/ปี ๑,2๐๐ ชวั่ โมง/ปี ๑,4๐๐ ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จดั บูรณาการในรายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยจดั ทั้งใน เวลาและ นอกเวลาเรียน 2. วชิ าหนา้ ที่พลเมือง ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1,2,3 จดั บูรณาการในรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพมิ่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเตมิ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแตล่ ะช้ันปี โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี วชิ าพนื้ ฐาน (840) ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 200 ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ 1 200 ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 120 ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม 1 40 ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ 1 40 พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 1 40 ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ 1 40 ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ 1 40 อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 1 120 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ (80) อ 11201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 80 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (๑๒๐) กิจกรรมแนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 ชุมนมุ /กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ 40 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น - เพมิ่ เวลารู้ 120 รวมเวลาเรยี น 1,160 ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ จัดบรู ณาการในรายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยจดั ทั้งใน เวลาและ นอกเวลาเรียน 2. วชิ าหนา้ ที่พลเมือง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1,2,3 จัดบรู ณาการในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๓

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี รายวชิ า/กจิ กรรม (840) วชิ าพนื้ ฐาน ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย 2 200 ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 2 200 ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 2 120 ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ 2 40 พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 2 40 ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ 2 40 ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 40 อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 2 120 (80) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 80 อ 12201 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร 2 (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 ชมุ นุม/ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 40 120 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ รวมเวลาเรยี น 1,160 ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ จดั บูรณาการในรายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน โดยจัดทั้งในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. วิชาหน้าทีพ่ ลเมือง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1,2,3 จัดบูรณาการในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิ่มเวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๔

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี รายวชิ า/กจิ กรรม (๘๔๐) วชิ าพนื้ ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 200 ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 200 ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 3 80 ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 40 ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ 3 40 พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 3 40 ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ 3 40 ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 80 อ ๑๓101 ภาษาองั กฤษ 3 120 (80) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 80 อ 13201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 ชุมนมุ /กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ 40 120 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ รวมเวลาเรยี น 1,160 ชว่ั โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ จดั บรู ณาการในรายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน โดยจัดทั้งในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. วิชาหน้าทีพ่ ลเมือง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1,2,3 จดั บรู ณาการในรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๕

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี รายวชิ า/กจิ กรรม (๘๔๐) วชิ าพนื้ ฐาน ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐ ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ ๘๐ ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๔ ๘๐ ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ ๔๐ พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๘๐ ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๘๐ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ๘๐ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ 80 (๔๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 40 ส 1๔234 หน้าที่พลเมือง 4 (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 ชุมนุม /กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ 20 200 กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิ่มเวลารู้ รวมเวลาเรยี น 1,2๐๐ ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ จดั บรู ณาการในรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยจดั ท้ังในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. วิชาหน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2,3 จัดบรู ณาการในรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๖

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี รายวชิ า/กจิ กรรม (๘๔๐) วชิ าพนื้ ฐาน ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐ ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๘๐ ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๕ ๘๐ ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ๔๐ พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๘๐ ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ๘๐ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ 80 (๔๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 40 ส 1๕23๕ หน้าทีพ่ ลเมือง ๕ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 ชุมนุม/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 40 200 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ รวมเวลาเรยี น 1,200 ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ จัดบรู ณาการในรายวิชาและกิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี นโดยจัดทงั้ ในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. วิชาหน้าทีพ่ ลเมือง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1,2,3 จัดบูรณาการในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๗

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี รายวชิ า/กจิ กรรม (๘๔๐) วชิ าพนื้ ฐาน ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๑๖๐ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๘๐ ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๖ ๘๐ ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๖ ๔๐ พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖ ๘๐ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ๘๐ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ ๘๐ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ 80 (๔๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 40 ส 1๖23๖ หน้าทีพ่ ลเมือง ๖ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 ชมุ นุม/กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ 40 200 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ รวมเวลาเรยี น 1,๒00 ชวั่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ จัดบูรณาการในรายวิชาและกิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี นโดยจัดทงั้ ในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. วิชาหน้าทีพ่ ลเมือง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1,2,3 จัดบรู ณาการในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๑๘

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ภาคเรยี นที่ ๑ ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ภาคเรยี นที่ ๒ ) รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) รายวิชาพนื้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ท ๒๑๑๐2 ภาษาไทย ๑๑ (๔๔๐) ๑๑ (๔๔๐) ๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐2 คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐3 วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว 21102 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 0.5 (20) ว 21104 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 0.5 (20) ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐3 สงั คมศึกษา ฯ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐4 ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา 0.5 (๒๐) พ ๒๑๑๐3 สขุ ศึกษา 0.5 (๒๐) พ 21102 ยิมนาสติก 0.5 (๒๐) พ 21104 เทเบิลเทนนิส 0.5 (๒๐) ศ ๒๑๑๐๑ ทศั นศิลป์ 1.0 (4๐) ศ ๒๑๑๐2 ดนตรี นาฏศิลป์ 1.0 (4๐) ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 0.5 (๒๐) ง ๒๑๑๐2 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 0.5 (๒๐) อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๑.๕ (๖๐) รายวิชาเพิม่ เติม 2.5 (100) รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 (100) ท 21201 เขียนเสริมเพิม่ ทกั ษะ 0.5 (๒๐) ท 21202 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ 0.5 (๒๐) ว 21201 เทคโนโลยี 1 1.0 (4๐) ว 21202 เทคโนโลยี 2 1.0 (4๐) ส ๒๑๒๓1 หน้าทีพ่ ลเมือง ๑ 0.5 (๒๐) ส ๒๑๒๓2 หน้าที่พลเมือง ๒ 0.5 (๒๐) อ 21201 ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ 1 0.5 (๒๐) อ 21202 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 2 0.5 (๒๐) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 20 กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี 20 ชุมนุม/กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะฯ ๒๐ ชมุ นมุ /กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะฯ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 13.5 รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 13.5 (7๐๐) (7๐๐) หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จดั บรู ณาการในรายวิชาและกิจกรรมพัฒนา หน้า ๑๙ ผู้เรยี นโดยจัดทงั้ ในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิ่มเวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ (ภาคเรยี นที่ ๑ ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ (ภาคเรยี นที่ ๒ ) รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) รายวิชาพืน้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ท ๒๒๑๐2 ภาษาไทย ๑๑ (๔๔๐) ๑๑ (๔๔๐) ๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐2 คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐3 วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว 22102 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 0.5 (20) ว 22104 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 0.5 (20) ๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๑ สังคม ศาสนา วัฒนธรรมฯ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐3 สงั คม ศาสนา วัฒนธรรมฯ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา พ ๒๒๑๐3 สุขศึกษา พ 22102 กรีฑา ๐.๕ (๒๐) พ 22104 กระบีก่ ระบอง ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ 1.0 (๔๐) ศ ๒๒๑๐2 ดนตรี นาฏศิลป์ 1.0 (๔๐) ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐) ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ (๖๐) รายวิชาเพิ่มเติม รายวิชาเพิม่ เติม 2.5 (100) 2.5 (100) ท 22201 ประวตั วิ รรณคดไี ทย 0.5 (๒๐) ท 22202 วรรณคดมี รดก 0.5 (๒๐) ว 22201 เทคโนโลยี 3 1.0 (๔๐) ว 22202 เทคโนโลยี 4 1.0 (๔๐) ส ๒๒๒๓3 หน้าทีพ่ ลเมือง ๓ 0.5 (๒๐) ส ๒๒๒34 หน้าที่พลเมือง ๔ 0.5 (๒๐) อ 22201 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 3 0.5 (๒๐) อ 22202 ภาษาอังกฤษเพิม่ เตมิ 4 0.5 (๒๐) กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 20 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 20 ชุมนุม/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะฯ ๒๐ ชมุ นมุ /กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะฯ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 13.5 รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 13.5 (7๐๐) (7๐๐) หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ จดั บูรณาการในรายวิชาและกิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี นโดยจัดทง้ั ในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๐

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ภาคเรยี นที่ ๑ ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ภาคเรียนที่ ๒ ) รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) รายวิชาพืน้ ฐาน (หนว่ ยกติ /ชม.) ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ท ๒๓๑๐2 ภาษาไทย ๑๑ (๔๔๐) ๑๑ (๔๔๐) ๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐2 คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐2 วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐3 สังคมศึกษาฯ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐4 ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐3 สขุ ศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ 23102 วอลเลย์บอล ๐.๕ (๒๐) พ 23104 บาสเกตบอล ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๓๑๐2 ดนตรี นาฏศิลป์ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๑๐2 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑.๐ (๔๐) อ ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๓๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 (100) รายวิชาเพิม่ เติม 2.5 (100) ท 23201 หลกั การใช้ภาษา ๐.๕ (๒๐) ท 2320๒ กวีนิพนธ์ไทย ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๒35 หน้าทีพ่ ลเมือง ๕ 0.5 (๒๐) ส ๒๓๒36 หน้าทีพ่ ลเมือง ๖ 0.5 (๒๐) ง 23201 เทคโนโลยี ๑.๐ (๔๐) ง 2320๒ เทคโนโลยี ๑.๐ (๔๐) อ 23201 ภาษาอังกฤษเพิม่ เตมิ 5 0.5 (๒๐) อ 2320๒ ภาษาองั กฤษเพิม่ เตมิ 6 0.5 (๒๐) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 60 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 20 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 20 ชุมนมุ /กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะฯ ๒๐ ชุมนุม/กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะฯ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 กจิ กรรมลดเวลาเรยี น – เพมิ่ เวลารู้ 100 รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 13.5 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 13.5 (7๐๐) (7๐๐) หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จดั บรู ณาการในรายวิชาและกิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี นโดยจัดทง้ั ในเวลาและ นอกเวลาเรยี น 2. กิจกรรมลดเวลาเรียน – เพิม่ เวลารู้ ไม่ลงหน่วยกิตใน ปพ. ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๑

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หา ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรกั การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง มปี ระสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ ค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๓

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 รายวิชากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ รายวิชาพนื้ ฐาน จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ จานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง จานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต จานวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หน่วยกติ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ จานวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกิต จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๔

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ จานวน ๒0 ช่วั โมง 0.๕ หน่วยกิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ จานวน ๒0 ชั่วโมง 0.๕ หน่วยกิต ท๒๑2๐๑ เขียนเสริมเพิ่มทักษะ จานวน ๒0 ชั่วโมง 0.๕ หน่วยกิต ท๒๑2๐๒ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ จานวน ๒0 ชั่วโมง 0.๕ หน่วยกิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ท๒๒๒๐๑ ประวัตวิ รรณคดไี ทย จานวน ๒0 ชัว่ โมง 0.๕ หน่วยกิต ท๒๒๒๐๒ วรรณคดมี รดก จานวน ๒0 ชว่ั โมง 0.๕ หน่วยกิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ท๒๓๒๐๑ หลักการใช้ภาษา ท๒๓๒๐๒ กวีนิพนธ์ไทย ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๕

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๑ รหสั วิชา ท ๑๑๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี ศึกษาและฝึกปฏิบัตเิ กี่ยวกับการอ่านออกเสียง คา คาคล้องจอง และข้อความ พร้อมบอกความหมาย ของคาและข้อความ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอและนาเสนอเรื่องที่อ่าน และบอกความหมาย ของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน การเขียนส่ือสารด้วยคาและประโยค คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด ฟังคาแนะนา คาสัง่ ง่ายๆ และปฏิบัติตาม พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ ตอบ คาถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู และพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีมารยาท บอกและ เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคา และบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็น ประโยค และต่อคาคลอ้ งจองง่ายๆ ศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก เพื่อบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวันโดยใช้การฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน กระบวน การคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย ต้ังใจเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้า หาความรู้ จากแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ อย่างสม่าเสมอ ซกั ถามและสืบค้นเพื่อหาข้อมูล มีความรอบคอบในการ ทางาน ใช้ภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอ่าน การเขียน และการฟัง นาความรู้ ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม 5 มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๖

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท ๑๒๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง/ปี ฝึกอ่านคาพื้นฐาน ความหมายของคา กลุ่มคา ประโยค และข้อความ จดบันทึกและสรุปเรื่อง จากการอ่าน บทร้อยแก้ว บทร้อยกรองและบทอาขยาน เลือกอ่านเรื่องที่เป็นประโยชน์ เพื่อหาความรู้และ ความบันเทิง มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน สามารถนาความรู้จากการอ่านมาพัฒนาความคิด คาดคะเนเรือ่ งราวหรือเหตุการณ์กาหนดเปน็ แนวทางปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ฝึกเขียนตามหลักเกณฑ์จากความรู้และประสบการณ์ ฝึกนิสัยรักการเขียนอย่างมีมารยาท โดยใช้ ภาษาสุภาพและเหมาะสมกับเหตุการณ์ ฝึกใช้หลักเกณฑ์การฟัง การดู และการพูด อย่างมีมารยาท สามารถจบั ใจความสาคัญ โดยการตั้งคาถาม ตอบคาถาม สนทนา แสดงความคิดเห็น เล่าเรื่องถ่ายทอด ความรู้ จากการฟงั การดู ด้วยถ้อยคาที่เหมาะสม พดู สื่อสารได้ชดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ แสดงความคิด และความรู้อยา่ งสร้างสรรค์ ศึกษาลักษณะของเสยี ง รปู ของพยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต์ที่ประสมเป็นคาที่ มีความหมาย เข้าใจความหมายของคา กลุ่มคา และเลือกใช้คาได้ตรงตามความหมายและความรู้สึก เลือกใช้คาในการเรียบเรียงประโยคตามรูปแบบโครงสร้างของประโยค ส่ือสารได้ถูกต้องชัดเจน ตรงตาม วัตถุประสงค์ เลือกใช้สานวน คาคล้องจอง คาภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้ถูกต้องตามฐานะของ บุคคล แสวงหาความรู้ ความบันเทิงจากการอ่านวรรณคดี และวรรณกรรมง่าย ๆ สั้น ๆสาหรับเด็ก บท ร้องเลน่ บทอาขยาน นามาเชื่อมโยงความรทู้ ีไ่ ด้จากการอ่านกับประสบการณ์และชีวิตจริง เพื่อนาข้อคิดไปใช้ ในการพัฒนาตน และจาบทรอ้ ยกรองทีป่ ระทับใจได้ การเรียนรู้ภาษาไทยจาพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถอ่าน เข้าใจ ความหมายของคา กลุ่มคา ประโยค ข้อความและนาความรทู้ ี่ได้จากการอ่านมาคิดคาดคะเนเรื่องราว หรือเหตุการณ์ และกาหนดแนวทางปฏิบัติ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การพูด และการฟัง สามารถเขียนแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกความ ต้องการได้ รู้จักการเลือกฟัง และดูส่ิงที่เป็นประโยชน์ และเชื่อมโยงความรู้กับระสบการณ์ที่ได้จากการอ่าน การฟัง และการดูอย่างมีเหตผุ ล มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม 5 มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชวี้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๗

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เรื่องส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ ข้อความที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและ นาเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของ ข้อมลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจาวัน เขียนเรื่องตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าที่ของคา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและ คาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝังความชื่นชม วัฒนธรรมท้องถิน่ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั วรรณคดีที่อ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๘

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน รายวิชาภาไทย ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง/ปี ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจาก เรื่องทีอ่ ่าน อ่านเรื่องสน้ั ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเรือ่ งที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น จากเรื่องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจาก เรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรื่องทีอ่ ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง บรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดเพือ่ ใช้พฒั นางานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องสนั้ ๆ เขียนจดหมายถึงเพือ่ นและมารดา เขียนบนั ทึก และเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปจากการฟังและดู พูดแสดง ความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกบั เรื่องทีฟ่ ังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาใน บรบิ ทต่าง ๆ ระบชุ นิดและหน้าทีข่ องคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ ถูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่นได้ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อ นาไปใช้ในชีวิตจริงร้องเพลงพื้นบ้านท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ สนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและ การพดู พูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๒๙

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชีว้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๐

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๕ รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่ เปน็ การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเหน็ วิเคราะห์ แสดง ความคิดเหน็ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตาม ความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียน แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทใน การเขียน ฝึกทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สึก ตั้งคาถาม ตอบ คาถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าที่ของคาใน ประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ใช้คาราชาศัพท์ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สานวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ วรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่าตาม ความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บนั ทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู และการพดู พูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชวี้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๑

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๖ รหสั วิชา ท ๑๖๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่ เป็นโวหาร อ่านเรื่องส้ัน ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตอ่านงานเขี ยนเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและ กราฟ เลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจและอธิบายคณุ ค่าทีไ่ ดร้ บั มีมารยาทในการอ่านฝึกคดั ลายมือด้วยตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียน จดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทกั ษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ต้ังคาถาม และตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเร่อื งทีฟ่ งั และดู วิเคราะห์ความน่าเชอ่ื ถอื จากเรื่องที่ฟังและดูสือ่ โฆษณาอย่างมี เหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมี เหตผุ ลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน ภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์เปรียบเทียบสานวนที่เป็นคาพังเพยและ สุภาษิต ฝึกแสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดหี รือวรรณกรรมทีอ่ ่าน เลา่ นิทานพนื้ บ้านท้องถิ่นตนเองและนิทาน พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการ ใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ท ๕.๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๓

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๑ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสักวากาพย์ ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ การอ่านจับใจความสาคัญจากส่ือต่างๆ เช่น เรื่องเล่า จากประสบการณ์ เรื่องสั้น บทสนทนา วรรณคดีในบทเรียน บันเทิงคดี เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และข้อความที่ต้องใช้บริบทชว่ ยพิจารณาความหมาย โดยระบุเหตุผล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ระบุและอธิบาย คาเปรียบเทียบ คาที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจาก บริบท ระบุข้อสังเกตและ ความสมเหตุสมผล ของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ การอ่านและปฏิบัติ ตามเอกสารคู่มือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ในระดับที่ยากขึ้น การอ่านหนังสือที่ครูและ นักเรยี นร่วมกนั กาหนด วิเคราะห์คุณค่า ทีไ่ ดร้ ับจากการอ่านเพือ่ นาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตตามความสนใจและ มีมารยาทในการอ่าน การเขียนคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคา ถูกต้อง ชดั เจนเหมาะสม สละสลวย การเขียนย่อความจากเรื่อง ที่อ่าน การเขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจ ธุระ การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน และมีมารยาทในการเขียน การพูดสรุปความ พูดแสดง ความรู้ ความคิด อย่างสร้างสรรค์จากเรื่องที่ฟังและดู ประเมินความน่าเชื่อถือของส่ือที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด การอธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคาในภาษาไทย ประเภทคาประสม คาซ้า คาซ้อน คาพ้อง แตง่ บทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ การจาแนกและใช้สานวน ที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต การสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สภุ าษิตคาสอน และบนั เทิงคดี การวิเคราะห์ อธิบายคุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม การสรุป ความรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านเพือ่ ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รหัสตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๕ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ท ๓.๑ ม.๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๑ – ๒ ท ๔.๑ ม.๑/๕ – ๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ – ๔ รวมทั้งหมด ๒๗ ตวั ชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๔

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย บทร้อยกรองประเภทโคลงส่ีสุภาพ การอ่านจับ ใจความสาคัญจากสื่อตา่ งๆ เช่น นิทานชาดก งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ บทความ สารคดี งานเขียนประเภทชัก จูงโน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ โดยระบุเหตุผล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบ คาที่มี หลายความหมายในบรบิ ทต่างๆ ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท ระบุข้อสังเกตและ ความสมเหตสุ มผล ของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ การอ่านหนังสือตามความสนใจและเหมาะสมกับ วัยของนักเรียน และมีมารยาทในการอ่าน การเขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคัญและ รายละเอียดสนับสนุน เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับสาระจากส่ือที่ได้รับ และมีมารยาทใน การเขียน การพูดประเมินความน่าเชื่อถือของส่ือที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจาก แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ในชมุ ชน การพดู สรปุ ความ พดู แสดงความรู้ ความคิด อย่างสร้างสรรค์จากเรื่องที่ฟังและดู ประเมินความนา่ เชือ่ ถอื ของสื่อที่มเี นือ้ หาโน้มน้าวใจ การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และ การสนทนา จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชนและท้องถิ่นของตน มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค การวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน การสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันทึกการเดินทาง วรรณกรรม ท้องถิน่ การวิเคราะห์ อธิบายคุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การสรุปความรู้และข้อคิดจาก การอ่าน เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามที่กาหนดและตาม ความสนใจ รหัส ตัวชวี้ ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๖ ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ท ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวชีว้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๕

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยายและบทพรรณนา บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง การอ่านจับใจความสาคัญจากส่ือต่างๆ เช่น วรรณคดีใน บทเรียน บทความ บันทึกเหตุการณ์ บทสนทนา โดยสรุปความ อธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เขี ยน แผนผังความคิด อภิปรายแสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ จาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความ สมเหตสุ มผลของงานเขียน การอ่านหนงั สือนอกเวลาตามความสนใจ และมีมารยาทในการอ่าน การเขียนคัด ลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย โดยการเขียนบรรยาย การเขียนเรียงความเกีย่ วกับประสบการณ์ การเขียนย่อความจากส่ือต่างๆ เช่น นิทานชาดก คาสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ์ เรื่องราวในบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือ โต้แย้งจากส่ือต่างๆ เช่น บทความ บทเพลง หนังสืออ่านนอกเวลา และมีมารยาทในการเขียน การพูดสรุป ความจากเรื่องที่ฟังและดู การพูดวิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากส่ือต่างๆ การวิเคราะห์ วิจารณ์เร่อื งทีฟ่ ังและดู อย่างมีเหตุผล เพื่อนาข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิต การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด การอธิบายลักษณะของประโยคในภาษาไทย การแต่งบทร้อย กรองประเภทกลอนสุภาพ การสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคาสอน การวิเคราะห์ อธิบายคุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การสรุปความรู้และ ข้อคิดจากการอ่านเพือ่ ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยานทีม่ ีคณุ ค่าตามที่กาหนด มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ท ๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๒๙ ตัวชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๖

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง การอ่านจับใจความสาคัญจากส่ือต่างๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ บทความแสดงข้อเท็จจรงิ เรือ่ งราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น โดยสรุปความ อธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เขียนแผนผังความคิด อภิปรายแสดง ความคิดเห็น และ ข้อโต้แย้งเกีย่ วกับเรือ่ งทีอ่ ่าน วิเคราะห์ จาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบขุ ้อสงั เกตการชวนเช่อื การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน การอ่านหนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย และมีมารยาทในการอ่าน การเขียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตัวอกั ษรไทย การเขียนพรรณนา การเขียนรายงานและโครงงาน การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ โดยการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากส่ือต่างๆ และมีมารยาทใน การเขียน การพดู ในโอกาสต่างๆ เช่น พดู อวยพร พดู โน้มน้าว พูดโฆษณา และมีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด การสร้างคาในภาษาไทย คาสามาส การใช้คาราชาศัพท์ คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ การสรุป เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการ เดินทาง การวิเคราะห์ อธิบายคุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม การสรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน เพื่อประยุกต์ ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๔ ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมทั้งหมด 5 มาตรฐาน ๒๓ ตัวชีว้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๗

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ รหสั วิชา ท ๒๓๑๐๑ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไปและบทความปกิณกะ บทร้อยกรอง เช่น กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ การอ่านจับใจความสาคัญจากส่ือต่างๆ เช่น วรรณคดีใน บทเรียน ข่าวและเหตุการณ์สาคญั บทความ บันเทิงคดี โดยระบุความแตกต่างของคาที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบ แนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน วิเคราะห์วิจารณ์และประเมินเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธี เปรยี บเทียบ ประเมินความถูกต้องของข้อมลู วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเป็นไปได้ ของเรื่อง วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือนอกเวลา หนังสือที่ครู และนักเรยี นร่วมกนั กาหนด โดยตีความ ประเมินค่า และแนวคิดที่ไดจ้ ากงานเขียนเพือ่ นาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต และมีมารยาทในการอ่าน การเขียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การ เขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆเช่น คาขวัญ คาคม คติพจน์ สุนทรพจน์ โดยใช้ถ้อยคาได้ ถกู ต้องตามระดบั ภาษา การเขียนอัตชีวประวตั หิ รือชวี ประวตั ิ โดยการเขียนย่อความจากสอ่ื ต่างๆ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ โครงงาน และมีมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู การ พูดวิเคราะห์ วิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การพูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์และมีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด การจาแนกและใช้ คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การวิเคราะห์ระดับภาษา การใช้คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ การอธิบายความหมายคาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ การสรุป เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมเกี่ยวกบั ศาสนา ประเพณี พิธกี รรม บันเทิงคดี การวิเคราะห์วิถไี ทย อธิบาย คณุ ค่าและข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิต จริง การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองที่ที่มีคณุ ค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด หน้า ๓๘ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชวี้ ดั ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ รหสั วิชา ท ๒๓๑๐๒ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไปและบทความปกิณกะ บทร้อยกรอง เช่น กลอน บทละคร และโคลงสีส่ ุภาพ การอ่านจับใจความสาคัญจากสือ่ ตา่ งๆ เช่น วรรณคดใี นบทเรียน สารคดี สารคดี เชิงประวตั ิ ตานาน การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่ม สาระการเรียนรู้อืน่ โดยระบุความแตกต่างของคาทีม่ ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ระบุใจความ สาคัญและรายละเอียดของข้อมูลทีส่ นบั สนนุ จากเรือ่ งที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน วิเคราะห์วิจารณ์และประเมินเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธีเปรียบเทียบ ประเมินความถูกต้องของ ข้อมูล วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง วิเคราะห์เพื่อแสดงความ คิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตามความสนใจและตามวัยของนักเรียน โดยตีความ ประเมินค่า และแนวคิดที่ได้จากงานเขียนเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตและมีมารยาทในการอ่าน การเขียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนข้อความตาม สถานการณ์และโอกาสต่างๆเช่น คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา การเขียนอธิบายชแี้ จง แสดงความคิดเห็น และโต้แยง้ ในเรื่องต่างๆ อย่างมีเหตุผล การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้ง จากส่ือต่างๆ การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน และมีมารยาท ในการเขียน การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟงั และการดู การพูดวิเคราะห์ วิจารณ์จาก เรื่องที่ฟงั และดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการ พูดยอวาที และมีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อนการแต่งโคลงส่ี สุภาพ การสรปุ เนอื้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมเกี่ยวกับ สุภาษิตคาสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิง คดี การวิเคราะห์วิถไี ทย อธิบายคุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การสรุปความรู้และข้อคิด จากการอ่านเพือ่ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองทีท่ ี่มีคุณค่าตามความสนใจ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.3/1 ม.๓/2 ม.๓/3 ม.๓/4 ม.๓/5 ม.๓/6 ม.3/7 ม.๓/8 ม.๓/9 ม.๓/10 ท ๒.๑ ม.3/1 ม.๓/2 ม.๓/4 ม.๓/6 ม.3/7 ม.๓/8 ม.๓/9 ม.๓/10 ท ๓.๑ ม.3/1 ม.๓/2 ม.๓/3 ม.๓/4 ม.๓/5 ม.๓/6 ท ๔.๑ ม.๓/2 ม.๓/3 ม.๓/4 ม.๓/5 ม.๓/6 ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/2 ม.๓/3 ม.๓/4 รวมทั้งหมด 5 มาตรฐาน ๓๐ ตัวชีว้ ัด ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๓๙

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า เขยี นเสรมิ เพมิ่ ทกั ษะ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 รหสั วิชา ท ๒1201 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง ศึกษาความมุ่งหมายงานเขียน งานเขียนอันทรงคุณค่า จุดหมายปลายทางแห่งนักเขียนไปสู่ ประสบการณ์ตรง การสร้างงานเขียนอย่างมีเทคนิค การสรรหาวิธีเขียนคาทาย ภาษิตและสานวน ตานาน นิทาน นิยาย เรื่องเล่า งานเขียนเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมไทย มาใช้ในการเขียน การเขียนใ ห้ได้ อรรถรส การนาเสนองานเขียนการเขียนเรื่องที่ตรงประสบการณ์อย่างชาญฉลาดโดยให้ศึกษาเกี่ยวกับที่มา เนอื้ หาคาศพั ท์ สานวน ความหมาย และวรรณกรรมทีม่ ีผลต่อการดารงชีวิตในอดตี ทีท่ รงคุณค่า เพือ่ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่วมมือในการอนุรักษ์ความเป็นไทยสามารถนาความรู้ไป ใช้เปน็ พนื้ ฐานในการสร้างสรรค์ผลงานต่ออย่างมีประสทิ ธิภาพ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับหลักการเขียนจดหมายและเขียนจดหมายได้อยา่ งถกู ต้องตามรูปแบบ การเขียนจดหมาย 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเขียนรายงาน และสามารถเขียนรายงานตาม หลักเกณฑ์ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3. มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับหลกั เกณฑ์ทั่วไปในการเขียนเรียงความ และสามรถเขียนเรียงความ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 4. มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั รปู แบบของการย่อความ และย่อความได้ใจความครบถ้วน รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๐

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า การเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 รหสั วิชา ท ๒1202 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง เขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ เขียนบรรยาย พรรณนา เขียนแสดงทรรศนะ เขียนโต้แย้ง เขียนโน้ม น้าว เขียนเชิญชวน เขียนประกาศ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และ สาระสาคญั อยา่ งชดั เจน เลอื กใช้โวหารให้เหมาะสมกับเนอื้ เรือ่ งและโอกาส ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบ ต่างๆ สารคดี บันเทิงคดี ประเมินคณุ ค่างานเขียนของผู้อื่นและนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน ศึกษาค้นคว้าเรอ่ื งทีส่ นใจตามหลกั การเขียนเชิงวิชาการและใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ อ้างอิงอย่างถูกต้อง การเขียน บนั ทึกความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการอ่าน มุ่งมน่ั ในการทางาน ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น ใช้ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาตนเองและสังคม ผลการเรียนรู้ 1. เขียนสอ่ื สารในรปู แบบต่างๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ 2. เขียนเรียงความ และเขียนย่อความจากสอ่ื ต่างๆ ได้ 3. ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบต่างๆ ได้ 4. ประเมินงานเขียนในดา้ นการใช้ถอ้ ยคา สานวนโวหาร และกลวิธีในการเขียน รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๑

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า ประวตั วิ รรณคดีไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รหสั วิชา ท ๒2201 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกบั ความหมายของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ลกั ษณะของวรรณคดี ประเภทของ วรรณคดีและประโยชน์ของวรรณคดี สภาพและความเป็นมาของวรรณคดี การแบ่งยุคสมัยวรรณคดีไทย สภาพเหตกุ ารณ์ทัว่ ไปของวรรณคดีสมัยสุโขทัยและอยุธยา ลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัยและอยุธยา กวี และวรรณคดีที่สาคัญในสมัยกรุงสุโขทัยและอยุธยา โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้าการคิดวิเคราะห์ เปรยี บเทียบและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ คิดไดอ้ ย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการ สอ่ื สาร มีคุณธรรม จริยธรรม และเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีจิตซาบซึ้งในคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดสี ามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ 1. รู้เข้าใจความหมายของวรรณคดแี ละวรรณกรรมได้ 2. รู้เข้าใจความสาคญั ของการเรยี นประวัตวิ รรณคดไี ด้ 3. รู้ความเป็นมาของวรรณคดไี ทยสมัยกรงุ สุโขทยั และสมยั อยุธยา 4. รู้จักกวีทีส่ าคญั ในสมยั กรุงสุโขทยั และสมยั อยธุ ยา 5. รู้และเข้าใจวรรณคดสี าคัญๆ ในสมัยกรุงสุโขทัยและสมัยอยธุ ยา 6. เข้าใจค่านยิ มและลกั ษณะชีวิตของคนในสมัยกรุงสโุ ขทัยและสมยั อยธุ ยา 7. เห็นคณุ ค่าของวรรณคดสี าคญั ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม 8. แสดงทรรศนะและวิจารณ์วรรณคดสี มัยสโุ ขทยั และอยุธยาอย่างมีหลกั เกณฑ์และมเี หตผุ ล 9. แสดงนิสัยรกั การศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เติมด้วยการอ่าน การฟงั และการดวู รรณคดแี ละวรรณกรรม 10. นาแนวคิดท่ไี ด้จากวรรคดีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั รวมท้ังหมด 10 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๒

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า วรรณคดมี รดก กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รหสั วิชา ท ๒2202 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง ศึกษาความหมายลักษณะองค์ประกอบ วรรณกรรม วรรณศิลป์และวรรณคดีมรดก สามารถอ่าน วรรณคดมี รดกของไทยเรื่อง รามเกียรติ์ อิเหนา ขุนช้างขนุ แผนและพระอภัยมณีรู้เรื่องโดยตลอด พร้อมทั้ง มองเหน็ สภาพชีวิตในสมัยบรรพบรุ ษุ เข้าใจถึงธรรมชาติของมนษุ ย์จนสามารถวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความ คิดเหน็ เกีย่ วกบั ตวั ละครทีส่ าคัญ ได้แนวคิดจากเนื้อเรื่องมาเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ในชีวิตจริงการใช้ภาษา ในวรรณคดมี รดกของไทยในดา้ นวรรณศิลป์ ผลการเรียนรู้ 1. สามารถอ่านบทกวีนิพนธ์ประเภทกลอน บทละครรู้เร่อื งโดยตลอด 2. สามารถอ่านวรรณกรรมประเภทเรื่องสน้ั นวนยิ าย สารดดี และ บทความ 3. สามารถใช้หลักการวิจารณว์ รรณคดี เบือ้ งต้นพิจารณาเรือ่ งทีอ่ ่านได้ 4. สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบของงาน ประพนั ธ์ประเภทวรรณคดมี รดกได้ 5. รู้จกั ประเมินคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ เนอื้ หาและคณุ ค่าทางสังคม และ นาไปใช้ในชีวิตจริง 6. รู้จกั ความงามทางภาษา 7. สามารถเข้าใจประวตั ิวรรณคดแี ละวรรณกรรมในแตล่ ะสมยั 8. รู้จกั ปัจจัยแวดล้อมทีม่ สี ว่ นให้เกิดวรรณคดี และวรรณกรรม 9. สามารถเข้าใจวิวัฒนาการทางวรรณคดแี ละวรรณกรรมในแตล่ ะสมยั 10. สามารถใช้ความรู้ พนื้ ฐานในการเข้าใจโลกทศั น์และวิถชี ีวิตของคนไทย รวมท้ังหมด 10 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๓

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า หลกั การใชภ้ าษา กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 รหสั วิชา ท ๒3201 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง ศึกษาหลักการใช้ภาษาไทยเรื่องธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษาการใช้คา กลุ่มคาสร้างประโยค ประโยคชนิดต่างๆ การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับระดับชี้นของบุคคล อิทธิพลของภาษา ของภาษาต่างประเภทที่มีต่อภาษาไทย การสร้างคาในภาษาไทย และการแต่งบทร้อยกรองประเภทต่างๆ เพื่อให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจหลักการใช้ภาษาไทย สามารถนาความรู้ไปใช้วิเคราะห์การใช้ภาษาและใช้ภาษาได้ อย่างถกู ต้อง อนั จะนาไปสู่การอนุรกั ษ์และพฒั นาภาษาไทย ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายและวิเคราะห์ธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา ลักษะของภาษา 2. ใช้และกลุ่มคาสร้างประโยคตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. ใช้ภาษาในการติดต่อส่อื สารได้อยา่ งมีประสิทธิผล 4. อธิบายระบบการเรียงคาเข้าประโยคในภาษาไทย และเห็นความสาคญั ของการสือ่ ความเข้าใจด้วย ข้อความที่เปน็ ประโยค 5. บอกลักษณะของคา กลุ่มคา ประโยคชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในภาษาไทย และประโยคที่มีโครงสร้าง ซบั ซ้อน 6. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร และใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารได้ถูกต้อง เหมาะสมกบั การเทศะและระดบั ของบุคคล 7. อธิบายและวิเคราะห์การสร้างคาขึ้นใช้ในภาษาไทย 8. มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ภาษาถิ่นในประเทศไทย และภาษาต่างประเทศที่นามาใช้ในภาษาไทย 9. วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นมีต่อภาษาไทยได้ รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๔

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ รายวชิ า กวนี ิพนธ์ไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 รหสั วิชา ท ๒3202 จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 20 ช่วั โมง ศึกษารูปแบบฉันทลักษณ์ ตลอดจนข้อบังคับของบทร้อยกรองทุกประเภท แล้วสามารถระบุ ลักษณะสาคัญของคาประพันธ์แต่ละประเภทตลอดจนเขียนแผนผัง สัมผัสบังคับของคาประพันธ์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน แสดงความรใู้ นเรื่องฉนั ทลักษณ์ประเภทของคาประพันธ์ ประเภทกลอน โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ และสามารถแต่งบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องไพเราะมีอรรถรส ใช้คาศัพท์ โวหารในคา ประพนั ธ์ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม กบั ประเภทของคาประพันธ์ มีคุณค่า และสร้างสรรค์ทางสังคมเป็นที่ยอมรับ และชื่นชม นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั หรือใช้ประกอบอาชีพได้ ผลการเรียนรู้ 1. แสดงความรู้ในเรื่องฉันทลักษณ์ประเภทของคาประพันธ์ ประเภทกลอน โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ 2. ใช้คาศพั ท์ โวหารในคาประพันธ์ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม กบั ประเภทของคาประพนั ธ์ 3. แตง่ กาพย์ประเภทตา่ ง ๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 4. แตง่ กลอนประเภทต่าง ๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 5. แตง่ โคลงและร่ายประเภทต่าง ๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 6. แตง่ ฉันท์ประเภทต่าง ๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๕

โรงเรยี นบา้ นทา่ เสยี วคนั ลมึ สพป.อบุ ลราชธานี เขต 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า เ สี ย ว คั น ลึ ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๖ ๒ หน้า ๔๖