Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารคำสอนวิชา 2723121 เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน

เอกสารคำสอนวิชา 2723121 เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน

Published by ์Nuttaporn Suddee, 2021-01-22 18:20:28

Description: ใช้เป็นคู่มือประกอบการเรียนการสอนของอาจารย์

Keywords: เอกสารคำสอน

Search

Read the Text Version

เอกสารคาสอน วชิ า 2723121 เทคนคิ การสอนเกมมูลฐาน Techniques and Skills in Fundamental Games ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ณฐั พร สุดดี สาขาวชิ าสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2561

เอกสารคาสอน วชิ า 2723121 เทคนคิ การสอนเกมมลู ฐาน Techniques and Skills in Fundamental Games ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณฐั พร สดุ ดี สาขาวชิ าสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2561

ค คำนำ เกมพลศึกษาในปัจจบุ ัน ควรมีรูปแบบการจดั การเรียนการสอนและมีเน้อื หาที่เหมาะสม และทันสมัย โดยเพ่ิมเน้ือหาที่เน้นกระบวนการตอบสนองต่อความต้องการของผู้เล่นและยกระดับ ความสามารถของผู้นาเกมที่มีความแตกต่างกันไป ซ่ึงจะเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษา ยุคใหม่ ทเ่ี นน้ ใหผ้ นู้ าเกมและผูเ้ ล่นแสวงหา เรียนรู้และพัฒนาทกั ษะได้ด้วยตนเอง วชิ าเทคนิคการสอนเกมมูลฐานเป็นวิชาที่นิสิตสาขาสุขศึกษาและพลศึกษาจะต้องเรียน เพราะเป็นวิชาบังคับ มุ่งให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถวิเคราะห์หลักการและวิธีเล่นเกม ไทยและสากลประเภทต่าง ๆ รวมถึงฝึกฝนตนเองให้มีเทคนิคการเป็นผู้นาเกมที่ดีได้ เอกสาร คาสอนเล่มนี้ ผู้เขียนได้เรียบเรียงหลักการ ทฤษฎี และวิธีการจัดเกมและการเล่นเกมจาก นิสิตและเขียนจากประสบการณ์จากการเป็นอาจารย์สอนวิชาน้ีมาระยะหน่ึง เนื้อหาในเล่มน้ีจะ เป็นแหล่งอ้างอิงและแนวทางท่ีดี สาหรับอาจารย์ นิสิตพลศึกษาหรือนิสิตท่ัวไปที่เตรียมตัวจะเป็น ผู้นาในการจัดกิจกรรมหรือผู้นาเกม โดยเกมที่นาเสนอได้ออกแบบและพัฒนาตามความสามารถ เฉพาะบุคคลเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของผเู้ ลน่ ขอขอบคุณสาขาสุขศึกษาและพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เขียน ได้สอนวิชาน้ีทาให้ได้ใช้ความรู้ ได้เพิ่มพูนประสบการณ์โดยการนาไปถ่ายทอดให้กับผู้เรียนได้ทุก วัยเกิดประโยชนท์ ั้งทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สติปญั ญาและสังคม ผเู้ ขียนหวงั เป็นอย่างย่ิง วา่ เนือ้ หาในเล่มนจี้ ะมปี ระโยชน์ และเปน็ ส่วนหน่ึงในการสร้างผ้นู าเกมทด่ี ีในสงั คมต่อไป ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ณัฐพร สดุ ดี

ง สำรบัญ คานา ค สารบญั ง ประมวลรายวชิ า (Course Syllabus) ฉ บทท่ี 1 ความหมายเกมและองค์ประกอบ 1 1 - บทนา 2 - ความหมายเกม 3 - องค์ประกอบของเกม 4 - หลกั การและวธิ กี ารเลน่ เกมไทยและสากล 5 - ลักษณะและสง่ิ ทจี่ าเป็นสาหรับเกม 7 - วิธีการสอนเกมแต่ละประเภทท่ีเหมาะสมกับวยั และเพศ 13 - พฤตกิ รรมและความต้องการของมนุษย์ 17 - บทสรปุ 20 - คาถามท้ายบท 21 - รายการอา้ งอิง บทท่ี 2 ความสาคญั และประโยชนข์ องเกม 23 - บทนา 23 - ความสาคัญและประโยชน์ของเกมโดยภาพรวม 24 - ความสาคญั และประโยชนข์ องเกมจาแนกเปน็ ประเภทของเกม 26 - บทสรุป 30 - คาถามท้ายบท 31 - รายการอา้ งองิ 32 บทท่ี 3 การเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ 33 - บทนา 33 - หลักการ แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกบั การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ 33 - รูปแบบการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้เร่ืองเกม 41 - บทสรุป 49

จ 50 51 - คาถามท้ายบท - รายการอา้ งองิ 52 52 บทท่ี 4 ลักษณะและประเภทของเกม 52 - บทนา 60 - ลกั ษณะและประเภทของเกม 73 1. เกมกลมุ่ สมั พนั ธ์ 85 2. เกมเบด็ เตล็ด 98 3. เกมเลียนแบบ 118 4. เกมประกอบเพลง 130 5. เกมนาไปสกู่ ารเลน่ กฬี า 142 6. เกมเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย 158 7. เกมนันทนาการ 169 8. เกมทางน้า 170 - บทสรุป 181 - ตารางวิเคราะหป์ ระเภทของเกม 184 - คาถามทา้ ยบท - รายการอา้ งองิ 187 187 บทท่ี 5 เทคนิคการเป็นผู้นาเกม 188 - บทนา 194 - องคป์ ระกอบหรือคุณลกั ษณะของผู้นาเกม 201 - เทคนิคการเปน็ ผนู้ าเกม 202 - บทสรุป 203 - คาถามท้ายบท - รายการอา้ งองิ 204 213 บทท่ี 6 บทสรปุ - รายการอา้ งอิง 214 รายการอา้ งอิง

ฉ จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั ประมวลรำยวชิ ำ (Course Syllabus) 1. รหัสวิชำ 2723121 2. ช่อื ย่อภำษำองั กฤษ TECH-SK FUND GAMES 3. ช่ือวชิ ำ ช่อื ภาษาไทย : เทคนิคการสอนเกมมลู ฐาน ชือ่ ภาษาองั กฤษ : Techniques and Skills in Fundamental Games 4. หนว่ ยกิต 1.0 ( 0.0 – 2.0 – 1.0 ) 5. ส่วนงำน 5.1 คณะ/หน่วยงานเทียบเท่า คณะครุศาสตร์ 5.2 ภาควชิ า ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน 5.3 สาขาวิชา สาขาวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 6. วธิ กี ำรวดั ผล Letter Grade (A B+ B C+ C D+ D F) 7. ประเภทรำยวิชำ ลงทะเบยี นเรยี นซา้ ได้ทกุ ภาคการศึกษา 8. ภำคกำรศึกษำทเ่ี ปดิ สอน ทวภิ าค ภาคตน้ 9. ปกี ำรศึกษำทเี่ ปดิ สอน 2561 10.กำรจัดกำรสอน ตอนเรียน ผู้สอน ช่วงเวลำประเมนิ 0 10001832 ผศ. ณัฐพร สุดดี 12-11-2561 ถึง 28-12-2561 11.เง่อื นไขรำยวชิ ำ 12.หลกั สูตรทใ่ี ชร้ ำยวิชำนี้ 25480011107709: หลกั สูตรครุศาสตรบัณฑติ เอกพลศกึ ษา(หลักสูตร 5 ปี) (rev.2018) 25480011107709: พลศกึ ษา (rev.2016) 25480011107709: หลกั สูตรครุศาสตรบัณฑิต เอกพลศึกษา(หลกั สูตร 5 ปี) ปกี ารศกึ ษา 2558 (rev.2015)

ช 25520011107311: หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ป)ี (rev.2014) 25480011107709: หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ (หลกั สูตร 5 ป)ี (rev.2000) 13.ระดบั กำรศึกษำ ปรญิ ญาบณั ฑติ 14.สถำนทเ่ี รียน ชน้ั ลา่ งอาคาร ๕๐ ปี สาธิตจฬุ าฯ โรงเรยี นสาธิตจุฬาฯ ฝา่ ยประถม 15.เนื้อหำรำยวชิ ำ ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการวิเคราะห์ หลักการและวิธีเล่นเกมไทยและ สากลประเภทต่าง ๆ ได้แก่ เกมเบ็ดเตล็ด เกมแบบผลัด เกมประกอบจังหวะ เกมที่จะนาไปสู่กีฬา ใหญ่ประยุกต์ วิธีการสอนเกมแต่ละประเภทท่ีเหมาะสมกับวัยและเพศ การมีเทคนิคการเป็นผู้นา เกมส์ท่ีดี Knowledge, and analysis of principle and how to; teaching techniques in game and Thai folk game in competition; general game, relay game, game with rhythm, game that aim for building Sport skills and How to select game for suitable groups. And techniques to lead the game. 16.ประมวลกำรเรยี นรำยวิชำ 16.1 วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ลำดบั วตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1 อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลักการและวิธีเล่นเกมไทยและสากลได้ ผลกำรเรียนรู้ : 01.1. รรู้ อบ 03.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 04.5. มีทักษะ การบรหิ ารจัดการ 05.1. ใฝ่รู้ 05.2. ร้จู กั วิธกี ารเรียนรู้ วธิ ีกำรสอน/พัฒนำ : 01. การบรรยาย 02. การอภิปราย 33. การสรปุ ประเดน็ สาคญั หรือการนาเสนอผลของการสบื คน้ ท่ีได้รับมอบหมาย วธิ ีกำรประเมนิ : 01. การสอบข้อเขยี น 04. การสังเกตพฤติกรรม 17. การประเมินตนเอง 2 ปฏบิ ัติทกั ษะการเลน่ เกมไทยและสากลประเภทต่าง ๆ ไดแ้ ก่ เกมเบด็ เตลด็ เกมแบบ ผลดั เกมประกอบจังหวะได้ ผลกำรเรียนรู้ : 04.1. มีทักษะทางวชิ าชพี 04.4 มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 07. มสี ขุ ภาวะ วิธกี ำรสอน/พฒั นำ : 12. การสาธิต 14. การใช้เกม 17. การฝึกปฏิบัติ วธิ กี ำรประเมิน : 03. การสอบทกั ษะ 17. การเขา้ ช้ันเรยี น

ซ ลำดบั วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3 อธิบายและสาธติ วิธกี ารสอนเกมแต่ละประเภทท่เี หมาะสมกบั วยั และเพศ และมี เทคนคิ การเปน็ ผู้นาเกมส์ทดี่ ี ผลกำรเรยี นรู้ : 04.3. มที ักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 06. มภี าวะผู้นาทีม่ จี ริ ิการ 07. มีสขุ ภาวะ 08. มจี ติ อาสาและสานกึ สาธารณะ 10. มีความเป็นครู วิธีกำรสอน/พัฒนำ : 12. การสาธติ 14. การใช้เกม 17. การฝกึ ปฏบิ ัติ วิธกี ำรประเมนิ : 01. การสอบขอ้ เขียน 04. การสงั เกตพฤตกิ รรม 17. การเข้าชั้นเรียน 4 วิเคราะห์เกมท่จี ะนาไปสู่กีฬาใหญ่ได้ ผลกำรเรียนรู้ : 03.1. สามารถคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 08. มจี ิตอาสาและสานึก สาธารณะ 09. ดารงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ วธิ กี ำรสอน/พฒั นำ : 02. การอภิปราย 21. การสะทอ้ นความคิด 29. การเรียนรู้แบบ ร่วมมือ 33. การสรุปประเด็นสาคัญ หรอื การนาเสนอผลของการสืบค้นทไี่ ด้รับมอบหมาย วิธีกำรประเมนิ : 01. การสอบข้อเขียน 12. การประเมนิ จากการสะทอ้ นผลการ ทางานร่วมกัน 17. การเขา้ ชนั้ เรียน 5 นาเสนอการประยกุ ต์เกมทจ่ี ะนาไปสกู่ ีฬาใหญไ่ ด้ ผลกำรเรียนรู้ : 03.1. สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 03.2. สามารถคดิ ริเริ่ม สรา้ งสรรค์ 04.3. มีทกั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 10. มคี วามเป็นครู วิธีกำรสอน/พัฒนำ : 17. การฝึกปฏิบตั ิ 35. กจิ กรรม วธิ ีกำรประเมนิ : 05. การประเมนิ กระบวนการทางาน/บทบาทในการทากจิ กรรม 11. การประเมินการวิพากษ์/การนาเสนอผลงาน 17. การเข้าชน้ั เรียน

ฌ 16.2 แผนการสอนรายสปั ดาห์ สปั ดำห์ที่ เน้อื หำท่ีสอน กำรมอบหมำยงำน 1 1. ปฐมนิเทศความรู้ทั่วไปเกีย่ วกับเกม-อุปกรณแ์ ละมารยาทใน สรุปเร่อื งท่ีเรียนทา้ ย การเปน็ ผู้นาและผู้เลน่ เกม-ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการเปน็ ผ้นู า ช่วั โมงแลว้ สง่ อาจารย์ และเลน่ เกม-ระเบยี บข้อควรปฏิบตั ใิ นการเรียน-ลกั ษณะการ เรยี น การวัดและประเมนิ ผล วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม : 1 ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2 ผู้สอน : ผศ. ณัฐพร สุดดี 2-3 เกมและองคป์ ระกอบ สรปุ เรอ่ื งท่ีเรียนทา้ ย วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : 1, 3 ชั่วโมงแลว้ ส่งอาจารย์ ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.3, 06, 07, 08, 10 ผสู้ อน : ผศ. ณัฐพร สุดดี 4 การเขียนแผนการจัดการเรยี นรแู้ ละวธิ ีการสอน สรุปเร่อื งท่ีเรยี นทา้ ย วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : 1, 3 ชว่ั โมงแล้วสง่ อาจารย์ ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.3, 06, 07, 08, 10 ผ้สู อน : ผศ. ณัฐพร สดุ ดี 5 เกมสรา้ งความสมั พันธ์ สรุปเร่อื งท่ีเรียนท้าย วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : 1, 2, 3 ชว่ั โมงแล้วสง่ อาจารย์ ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผสู้ อน : ผศ. ณัฐพร สุดดี 6 เกมเบด็ เตล็ด สรุปเรือ่ งท่ีเรยี นทา้ ย วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3 ช่วั โมงแลว้ สง่ อาจารย์ ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผสู้ อน : ผศ. ณัฐพร สดุ ดี

ญ สัปดำห์ที่ เนือ้ หำท่สี อน กำรมอบหมำยงำน สรุปเร่อื งท่ีเรียนทา้ ย 7 เกมเลยี นแบบ และเกมประกอบเพลง ชั่วโมงแลว้ สง่ อาจารย์ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3 ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, สรุปเร่อื งท่ีเรยี นท้าย 04.4, 06, 07, 08, 10 ชั่วโมงแล้วส่งอาจารย์ ผสู้ อน : ผศ. ณฐั พร สดุ ดี -สรุปเรือ่ งที่เรียนท้าย 8 เกมนาไปสกู่ ารเลน่ กฬี า ชั่วโมงแล้วส่งอาจารย์ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : 1, 2, 3, 4, 5 ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, -สรุปเร่ืองท่ีเรยี นท้าย 04.4, 06, 07, 08, 09, 10, 03.2 ชั่วโมงแล้วสง่ อาจารย์ ผู้สอน : ผศ. ณฐั พร สุดดี -สรุปเรอ่ื งท่ีเรียนทา้ ย 9 เกมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ชว่ั โมงแล้วส่งอาจารย์ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม : 1, 2, 3 ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผู้สอน : ผศ. ณฐั พร สุดดี 10 เกมนันทนาการ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม : 1, 2, 3 ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผ้สู อน : ผศ. ณัฐพร สดุ ดี 11 เกมทางน้า วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม : 1, 2, 3 ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผสู้ อน : ผศ. ณฐั พร สุดดี

ฎ สัปดำห์ท่ี เน้อื หำที่สอน กำรมอบหมำยงำน 12 นาเสนอเกมสรา้ งความสัมพนั ธ์ และเกมเบ็ดเตลด็ (งานกลมุ่ ) 1. วางแผนออกแบบเกม วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : 1, 2, 3 นอกเวลาเรียน ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 2. สรุปเรือ่ งท่ีเรียนท้าย 04.4, 06, 07, 08, 10 ชว่ั โมงแล้วสง่ อาจารย์ ผู้สอน : ผศ. ณฐั พร สดุ ดี 13 นาเสนอเกมเลยี นแบบ เกมประกอบเพลงและเกมนันทนาการ 1. วางแผนออกแบบเกม วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3 นอกเวลาเรยี น ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 2. สรุปเรือ่ งที่เรยี นทา้ ย 04.4, 06, 07, 08, 10 ชัว่ โมงแลว้ สง่ อาจารย์ ผู้สอน : ผศ. ณัฐพร สดุ ดี 14 นาเสนอเกมนาไปสูก่ ารเล่นกฬี าและเกมสรา้ งสมรรถภาพ 1. วางแผนออกแบบเกม วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3, 4, 5 นอกเวลาเรียน ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 2. สรุปเรอ่ื งที่เรยี นท้าย 04.4, 06, 07, 08, 10 ชวั่ โมงแล้วสง่ อาจารย์ ผสู้ อน : ผศ. ณัฐพร สุดดี 15 นาเสนอเกมทางน้า 1. วางแผนออกแบบเกม วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : 1, 2, 3 นอกเวลาเรยี น ผลการเรยี นรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 2. สรุปเรอ่ื งที่เรียนทา้ ย 04.4, 06, 07, 08, 10, 03.2 ชั่วโมงแล้วสง่ อาจารย์ ผู้สอน : ผศ. ณฐั พร สดุ ดี 16 สอบทฤษฏี - นาเสนอ "สรุปสิ่งที่ไดจ้ ากการเรียนรู้ในวิชา - เทคนคิ และทกั ษะเกมมลู ฐาน" วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1, 2, 3 ,4, 5 ผลการเรียนรู้ : 01.1, 03.1, 04.5, 05.1, 05.2, 04.1, 04.3, 04.4, 06, 07, 08, 10 ผสู้ อน : ผศ. ณัฐพร สุดดี

ฏ 16.3 สื่อการสอน (Media) เขยี นกระดาน สอ่ื นาเสนอในรปู แบบ Powerpoint media สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เว็บไซต์ ใบความรู้ 16.4 การติดตอ่ สื่อสารกบั นิสิตผา่ นระบบเครือข่าย 16.4.1 รปู แบบและวธิ ีการใช้งาน : อีเมล/์ Email ID-LINE 16.4.2 ระบบจดั การการเรยี นรู้ (LMS) ทีใ่ ช้ Blackboard 16.5 จานวนช่ัวโมงที่ให้คาปรึกษาแกน่ สิ ิต 5.0 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ 16.6 กำรประเมนิ ผล กิจกรรมกำรประเมิน ร้อยละ เกณฑก์ ารวดั ผล ประเมินความรู้ 20 % ประเมินทกั ษะ 40 % ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ 40% 17. รำยชอื่ หนงั สอื อ่ำนประกอบ 17.1 หนงั สือบงั คบั 17.2 หนังสือ่ อา่ นเพิ่มเติม 1. นวพรรณ อมรรตั นานนท์.(2540). ทักษะและวิธสี อนเกม. กรงุ เทพมหานคร: ภาควิชา พลศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา) 2. กติ ิพงษ์ เทียนตระกลู . (2533). เกมนำไปส่กู ฬี ำ. กรงุ เทพมหานคร: คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อดั สาเนา). 3. พฒั นาการพลศกึ ษา สขุ ภาพและนนั ทนาการ, สานกั . (ม.ป.ป). ผนู้ ำนันทนำกำรและ กำรออกกำลังกำย.(อัดสาเนา) 4. ประพัฒน์ ลักษณพสิ ุทธิ์. (2548). เกมส์พลศกึ ษำ. พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 5. Morris, G.S. and Stiehl, J. (1989). Changing Kids’ Games. United States: Human Kinetics. 6. Hughes, J.D. (2002). No Standing Around in My Gym. United States: Human Kinetics. 17.3 บทความวจิ ยั /บทความวิชาการ (ถา้ ม)ี

ฐ 17.4 สือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซตท์ ี่เกยี่ วข้อง 1. Department of Education and Training’s physical activity. Fundamental Game Strategies Middle childhood physical activity curriculum support materials. สบื ค้นจากdet.wa.edu.au/education/physicalactivity/ 2. Game Category: Fundamental Movement Skill Games. สืบคน้ จาก https://thephysicaleducator.com/game_category/fundamental- movement-skill-games/ 18 กำรประเมินกำรสอน 18.1 การประเมนิ การสอน ผ่ำนระบบ CUCAS - SCE 18.2 การปรบั ปรุงจากผลการประเมนิ การสอนครงั้ ที่ผา่ นมา 19. หมำยเหตุ

1 บทที่ 1 ความหมายและองค์ประกอบของเกม บทนา จุดมุ่งหมายในการเรียนวิชาพลศึกษา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ในการสร้างสุขภาพที่ดีโดย เข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมที่หลากหลาย ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มีเจตคติที่ดีต่อการออกกาลังกายและพฤติกรรมด้านการ ดูแล สุขภาพ ตามหลัการความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม ตามทฤษฎี KAP คือ Knowledge Attitude และ Practice ท้ังสามอย่างน้ีจะช่วยให้นักเรียนมีความเจริญเติบโต มี สุขภาพที่สมบรู ณ์แขง็ แรงอนั จะสง่ ผลให้สังคมโดยรวมมีคณุ ภาพ หลายปีท่ีผ่านมา คณาจารย์หลายท่านมีคาถามกับผู้เขียนเสมอว่า สิ่งที่จะสามารถเปล่ียน ความเจตคติของเด็กให้มีใจรักอยากจะเรียนวิชาพลศึกษา และเกมพลศึกษาจะช่วยเปล่ียนแปลง เด็กได้จริงไหม คาตอบคือ เกมจะช่วยเปล่ียนแปลงได้ เพราะเกมจะเป็นส่ือที่จะช่วยสร้างความ มั่นใจให้เด็กในทากิจกรรมหรอื เล่นกีฬา เด็กจะมีความคุ้นเคยและเร่มิ มีปฏิสัมพันธท์ ี่ดีผ่านการเล่น เกมทาให้การเรียนพลศึกษาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ เกมพลศึกษาจะฝึกให้เด็กเป็นคนที่มีความตั้งใจ ในการทากิจกรรมหรืองานต่าง ๆ ผลของความต้ังใจน้ันสามารถแสดงให้เห็นผ่านกิจกรรมการเล่น และการแขง่ ขัน สงั เกตจากเด็กพร้อมที่เผชิญหน้ากับการแข่งขัน พรอ้ มทาคะแนน หรือนาชัยชนะ มาให้ได้ การเป็นผู้นาเกมหรือจัดกิจกรรมทางพลศึกษาไม่ได้มีเพียงเรื่องของเนื้อหาวิธีการเล่นเกม เท่าน้นั ต้องมีประเภทของเกม สถานท่ีในการจดั เกม เช่น สนามเด็กเล่น โรงยิมฯ สนามหญ้า หรือ ในสระน้า รวมถึงอุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการเลน่ เช่น ลูกบอล แรก็ เกต็ ตะกรา้ ฮูลาฮูป เชือก การแบง่ กลุ่ม จานวนผู้เล่น เช่น เล่นคนเดียว เล่นเป็นคู่ เล่นเป็นกลุ่ม หรอื แบ่งตามวัตถุประสงค์เช่น ต้องการให้ ผู้เล่นได้วิ่ง ต้องการให้ผู้เล่นได้เต้น ต้องการพัฒนาทักษะทางด้านสมรรถภาพให้เหมาะสมกับ ช่วงวัย เช่น เกมพัฒนาด้านความเร็ว ความอดทน ความคล่องแคล่วว่องไว เป็นต้น ที่กล่าวมา ทัง้ หมดน้ีคือ องคป์ ระกอบของเกมทผ่ี นู้ าเกมจะต้องศกึ ษาหาความรเู้ พ่อื ใหก้ ารจดั เกมได้ดาเนินการ ให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ท้ังนี้ไม่ได้หมายถึงว่าเราจะต้องใช้เกมในการจัดกิจกรรมพลศึกษาทุก คร้ังไป ขอให้ผู้จัดกิจกรรมดูความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กและเป็นไปตามปรัชญา การจัดการ เรียนรู้พลศึกษาเป็นสาคัญ ดังท่ี วรศักด์ิ เพียรชอบ (2561) ได้กล่าวไว้ว่า การจัดการ เรียนรู้วิชา พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ การเรียนการสอนที่จัดข้ึนต้องให้

2 ผู้เรียน มีพัฒนาการ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสมรรถภาพทางกาย เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2) ได้ทักษะเบื้องต้นของการเคล่อื นไหวและทักษะทางกฬี า เพ่ือนาไปใช้ในการเล่นกีฬาและใช้ใน การ ทากิจกรรมเวลาว่าง 3) ด้านความรู้ความเข้าใจในวิธีการเล่นเพื่อใหเ้ ล่นได้อย่างถูกหลกั และ ปลอดภัย 4) ด้านคุณธรรม ฝึกการเป็นผู้ที่มีน้าใจเป็นนักกีฬา 5) ด้านเจตคติท่ีดีต่อการออกกาลังกายและการ เลน่ กีฬาเพ่ือนาความรู้และประสบการณไ์ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อการออกกาลังกาย และเล่นกฬี า ความหมายเกม จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทั้งในประเทศและตา่ งประเทศพบว่า มผี ูใ้ หค้ วามหมาย ไว้หลายท่านด้วยกัน Hawks (1963) อ้างถึงใน วรศักดิ์ เพียรชอบ (2561) ได้กล่าวว่า เกม หมายถึง กิจกรรมการเล่นที่เล่นด้วยความเต็มใจจนการเล่นส้ินสุด โดยอาจจะได้คะแนนครบหรือ ได้ถึงเส้นชัย สามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย Gibbs (1978) อ้างถึงใน สุชาติ ทวีพรปฐมกุล (2547) ได้กล่าวถึงเกมไว้ว่า เกมเป็นการแข่งขันที่เก่าแก่ของมนุษยชาติ เป็นกิจกรรมของเด็ก คาว่าเกมมาจากตาเก่าแก่ของชาวแองโกลแซกซอนในประเทศอังกฤษ คือคาว่า “Game” ซึ่งหมายถึงการเล่นหรือกีฬา เป็นกิจกรรมที่จัดข้ึนเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เข้าร่วมกิจกรรมได้ ทั่วไป มีทั้งการเล่นในพื้นท่ีเฉพาะหรือการเล่นกลางแจ้ง เช่นเดียวกับ Schurr (1985) กล่าวว่า เกมและกีฬาเปน็ กจิ กรรมสาหรบั เดก็ และผใู้ หญ่ ใชก้ ิจกรรมการเล่นเพอื่ ความสนุกสนานและความ พงึ พอใจหลังจากกลบั จากโรงเรียนในชว่ งเวลาว่าง กิจกรรมที่นามาใชม้ ักจะเป็นเกมหรือกีฬา ทั้งนี้ เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะการเคลื่อนไหวเบือ้ งต้น และเปน็ กิจกรรมเพื่อผ่อนคลายจิตใจดว้ ย รวมทงั้ สุชาติ ทวีพรปฐมกุล (2547) ท่ีกล่าวว่า เกมหมายถึง กิจกรรมต่างๆ ท่ีก่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน รวมท้งั ก่อใหเ้ กดิ ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์และพฒั นาการแกผ่ รู้ ว่ มกจิ กรรม นอกจากนี้ ประพัฒน์ ลักษณพิสุทธ์ิ (2548) ยังได้กล่าวว่า เกมเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมท่ีแสดงให้รู้ถึง ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้เยาวชนเจริญเติบโตและมีพัฒนาการเป็นไป อย่างมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้กล่าวว่า เกม หมายถึง การ แข่งขันท่ีมีกติกากาหนด เช่น เกมกีฬาหรือการเล่นเพื่อความสนุก เช่น เกมคอมพิวเตอร์ หรืออาจ หมายถึงลักษณะนามเรียกการแข่งขันหรือการเล่นที่จบลงด้วยการแพ้ชนะครั้งหนึ่ง ๆ เช่น แบดมินตัน 3 เกม เช่นเดียวกับ เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย (2556) ได้กล่าวถึงความหมายของเกม ไว้ว่า เป็นกิจกรรมการล่นแข่งขันเพ่ือชัยชนะ มีกฎ ระเบียบสั้น ๆ ง่าย ๆ คู่มือผู้นานันทนาการ กรม พลศึกษา(2557) ได้กล่าวว่า เกม เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายและเป็นการเล่นท่ีดี จะต้องได้รับการอธบิ าย แนะนา และสาธิตใหเ้ ด็กยอมรบั เพือ่ ให้เกิดความเขา้ ในการเลน่ อยา่ งถูกวิธี

3 ยอมรับปฏิบัติตามกฎ กติกาและร่วมเล่นกันอย่างมีระเบียบแบบแผน แต่ที่สาคัญคือ การเล่นเกม ต้องทาให้เด็กเกิดความสนุกสนาน ร่าเริง และช่วยเสริมสร้างสุขภาพทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ไปพร้อม ๆ กัน เกมเป็นกิจกรรมท่ีนามาใช้เพ่ือความสนุก ร่าเริง ผ่อนคลายอารมณ์ เป็นกิจกรรมนอกแบบที่สามารถนามาประยุกต์ดัดแปลงใช้ให้เหมาะกับโอกาส เวลา หรือช่วง จังหวะท่ีอานวยให้ซึ่งกิจกรรมนั้น ๆ สามารถนามาประยุกต์ดัดแปลงจัดให้ผู้เรียนได้มีการ แสดงออก โดยมุ่งหมายให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตลอดจนได้รับทักษะต่าง ๆ ท่ีสามารถ นาไปสู่การพัฒนาในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา สอดคล้อง กับ ปฏิวัติ กมลรัตน์ (2558) ไดก้ ล่าววา่ เกม หมายถึง กิจกรรมทางพลศึกษาแขนงหน่ึง ทจี่ ดั ให้เด็ก หรือเยาวชนหรือบุคคลท่ัวไปทุกเพศ ทุกวัยได้ออกกาลังกายเพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการพัฒนา ทางด้านสมอง ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม โดยอยู่ภายใต้กฎกติกาท่ีไม่ยุ่งยาก ซับซ้อนมากนัก ทาให้ผู้เล่นเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่อนคลายความเคลียด และได้รับ ทักษะพ้ืนฐานท่ีสามารถพัฒนาไปส่กู ารฝึกกิจกรรมการออกกาลงั กายอ่ืน ๆ ได้ นอกจากนี้ วรศกั ด์ิ เพียรชอบ (2561) ได้กล่าวถึงความหมายของเกมไว้ว่า กิจกรรมหน่ึงท่ีไม่เป็นกิจวัตรประจาวัน มี กฎ กติกาการเล่น เล่นในเวลาวา่ งด้วยความสมัครใจ และมีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ความสนุกสนานเป็น สาคัญ กล่าวโดยสรุปว่า เกมเป็นการเล่นท่ีก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งเสริมและ พฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ และชว่ ยเสริมสร้างสุขภาพ ทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสังคม ไปพร้อม ๆ กัน ถ้าเป็นเกมทางพลศึกษา จะหมายถึง กิจกรรมทางพลศึกษาแขนงหน่ึงท่ีทาให้ ผู้เล่นได้เคล่ือนไหวร่างกาย โดยอยู่ภายใต้กฎกติกาที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก ส่งเสริมให้เกิด พัฒนาการทางทักษะการเคล่ือนไหว เกิดสติปัญญา มีทักษะทางสังคม คือการได้เล่นร่วมกับ ผู้อื่นอย่างสนุกสนาน ทาให้เกิดมิตร การพลศึกษาจึงได้ใช้เกมเป็นกิจกรรมฝึกฝนทักษะการ เคลื่อนไหวและทักษะทางกีฬาประเภทต่าง ๆ เช่น การเล่นประกอบเสียงเพลง การเล่นเพื่อ สนกุ สนานต่าง ๆ เปน็ ตน้ องคป์ ระกอบของเกม ดนู ธรี ะเดชากุล (2542) ส่วนประกอบสาคญั ในการเล่นเกมของเดก็ การเล่นเกมของเดก็ มีสว่ นประกอบท่สี าคัญทคี่ วรคานึงถึงดงั นี้

4 1. วิธีการเล่น (Rituals) ในที่นี้หมายถึงวิธีการต่าง ๆ ท่ีเป็นลักษณะของเกมน้ัน ๆ ผเู้ ล่นอาจถูกสมมติให้แสดงหรือเกดิ พฤติกรรมบางอยา่ งเพ่ือให้เป็นไปตามลกั ษณะของเกมและเพื่อ บรรยากาศของการเลน่ เกมให้สนุกเป็นไปตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ 2. กติกา (Rules) กติกาหรือกฎเกณฑ์ในการเล่นเกมควรให้เข้าใจว่าอยู่ในรูปของ ขอ้ ตกลง ไม่ถอื วา่ เป็นกตกิ าตายตัว เช่น เม่ือมีผู้ทาผดิ จะตอ้ งมีความผิดเหมือนการเลน่ กีฬา เพราะจะ ทาใหบ้ รรยากาศการเล่นเสยี ไป กติกาในการเลน่ เกมต้องสามารถอนโุ ลม ยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์ ทิศนา แขมมณี (2550) ได้กลา่ วถงึ องคป์ ระกอบของวิธสี อนโดยใช้เกม ไว้มดี ังน้ี 1. มผี สู้ อนและผูเ้ รียน 2. มเี กม และกติกาการเลน่ 3. มีการเล่นเกมตามกตกิ า 4. มีการอภิปรายเกีย่ วกบั ผลการเล่น วิธกี ารเลน่ และพฤตกิ รรมการเล่นของผ้เู ลน่ หลงั การเล่น 5. มผี ลการเรียนร้ขู องผูเ้ รียน ท้งั นี้จะมีข้ันตอนสาคัญของการสอนโดยใชเ้ กม ดงั น้ี 1. ผู้สอนนาเสนอเกม ชแี้ จงวธิ ีการเล่น และกติกาการเลน่ 2. ผเู้ รียนเล่นเกมตามกตกิ า 3. ผู้สอนและผเู้ รียนอภปิ รายเกยี่ วกับผลการเล่นและวธิ ีการหรือพฤตกิ รรมการเลน่ ของผู้เรยี น 4. ผู้สอนประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน กล่าวโดยสรุปวา่ องค์ประกอบของเกม หมายถึง ส่วนสาคัญท่ีทาให้เกิดกรเล่นเกมข้ึน ประกอบด้วย 1.ผู้นาเกม 2.ผู้เล่นตามจานวนของเกมนั้น ๆ ท่ีกาหนด 3.อุปกรณ์การเล่นเกม 3.เปา้ หมายของเกม 4.กฎ กตกิ า และแนวทางของเกมทีผ่ ้เู ล่นจะต้องปฏบิ ตั ติ าม หลกั การและวธิ ีการเลน่ เกมไทยและสากล ดนู ธีระเดชากุล (2542) ได้กล่าวถึงหลักการและการเล่นเกมไทย คือ สาระสาคญั ที่ยึดถือ เป็นแนวปฏิบัติในการเล่นเกมไทยและสากล ประกอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เป็นลักษณะของเกม นั้น ๆ ผู้เล่นอาจแสดงพฤติกรรมบางอย่างเพ่ือให้เป็นไปตามลักษณะของเกมและเพื่อบรรยากาศ ของการเลน่ เกมให้สนุกเปน็ ไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้

5 ประพัฒน์ ลักษณพสิ ุทธิ์ (2548) ได้กล่าวถงึ หลักการเลือกและนาเกมมาใช้ มีดังนี้ 1. ความมงุ่ หมายในการสอน 2. เกมทเี่ ลือกมาตอ้ งเหมาะสมกับอายุ ส่วนสูง และนา้ หนัก 3. สถานท่ีทมี่ ีการนาเกมไปใช้ 4. จานวนคนท่ีจะเขา้ รว่ มในเกม 5. อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการเลน่ จานวนสภาพ ไมค่ วรกอ่ ให้เกิดอนั ตรายแก่ผเู้ ล่น 6. ผูน้ าเกมควรจดั การเล่นใหเ้ หมาะกบั ความสามารถพื้นฐานหรอื ภมู ิหลังของผู้เล่นท่ี แตกตา่ งกันดว้ ย กล่าวโดยสรุปว่า หลักการและวิธีการเล่นเกมไทยและสากล เป็นแนวปฏิบัติในการ เล่นเกมไทยและสากล โดยจะมีวิธีการ คือ 1. ศึกษารายละเอียดของเกมเพื่อเลือกเล่นให้ เหมาะกับวัย 2. สร้างความพร้อมทางร่างกายและจิตใจให้สามารถที่เข้าร่วมการเล่นได้ 3.ถ้าเป็นเกมไทยจะเล่นได้ทุกเพศทุกวัย ต่างจากเกมสากล ที่มีการแบ่งเพศในการเล่น บางเกมเพื่อหลีกเล่ียงไม่ให้เกิดอันตราย 4. เป้าหมายในการเล่น คือ ผู้เล่นจะได้รับความ สนุกสนานจากการภายใต้การปฏิบัติตามกติกาของท้ังเกมไทยและสากล ลักษณะและส่งิ ทจี่ าเปน็ สาหรบั เกม ประพัฒน์ ลกั ษณพิสุทธิ์ (2548) ไดก้ ลา่ วถึง ลักษณะของเกมแต่ละประเภท ไวว้ ่า เกมทกุ เกมจะมีลักษณะรว่ มทเ่ี หมือนหรอื คลา้ ยกัน ดังน้ี 1. เกมมีจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ ที่แตกต่างในแต่ละเกม เช่น จุดมุ่งหมายในการ ไลแ่ ตะผูอ้ ่ืนในเกมแมวไล่หนู 2. จุดมุง่ หมายคอื การทา้ ทาย อาจจะหมายถึงการกาหนดระยะเวลาให้ทาให้โอกาส ลองทาดู กาหนดหน้าที่ให้ทา จุดมงุ่ หมายในทนี่ ไี้ มไ่ ดห้ มายถึง ส่ิงทที่ ุกคนจะต้องทาเหมอื น ๆ กนั ยกตัวอยา่ ง เกมบอลรอ้ น 3. เกมมีการเริ่มต้นและการส้ินสุด การเริ่มต้นของเกมจะมีสัญญาณ สัญญาณจะให้ ข้อเสนอแนะในการดาเนินการเล่นต่อไป มีวิธีการในการให้สัญญาณหลายอย่าง ซึ่งเปรียบเหมือนมี เด็กและมีครูอยู่หลายคน เช่น ในตอนเริ่มเล่นเกม ครูจะให้สัญญาณเริ่มต้น เด็กก็จะพยายามทาตัว ให้คนุ้ เคยกับกิจกรรม สญั ญาณจะชว่ ยให้เดก็ เร่มิ มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน

6 4. เกมมีบริเวณและขอบเขตกาหนด การเล่นเกมต้องอาศัยบริเวณที่ว่างและการกาหนด ขอบเขต การจดั เกมต้องคานึงถงึ บริเวณและขอบเขตดังกล่าวด้วย รูปแบบเกมที่นิยมจดั และให้เหมาะสมกับ สถานที่ ได้แก่ เกมประเภทวงกลม เกมประเภทแถวหน้ากระดาน แถวเดียว สองแถว เกมประเภทผลดั 5. เกมมีกฎกติกา กฎกติกาของเกมจะช่วยให้ผู้เล่นรู้ถถึงวิธีเล่น การมีเสรีภาพ และการถูกควบคุมในการเล่น ในเด็กเล็ก ๆ การเล่นเกมท่ีมีกติกามาก เด็กอาจจะจากตกิ าไม่ได้ เกมสาหรบั เด็กในวยั ตน้ ๆ จงึ ควรมีกตกิ าทม่ี ีกตกิ าน้อยขอ้ 6. เกมให้โอกาสแก่เด็กได้พัฒนาและฝกึ ทักษะ เกมคอื กีฬาของเดก็ ๆ จากการเขา้ รว่ ม จะทาให้เด็กพฒั นาทักษะทางกลไก และทางสังคม ซ่ึงจาเปน็ ตอ่ การเขา้ รว่ มกฬี าใหญ่ในชีวติ ภายภาค หนา้ 7. เกมให้โอกาสแก่สมาชิกทกุ คนของกลุ่มได้เลน่ ร่วมกนั การเข้าร่วมหมายถึงการที่ ทุกคนจะได้ร่วมสนุกกนั วรศักด์ิ เพียรชอบ (2562) ได้กลา่ วถงึ คณุ สมบตั ิโดยทวั่ ๆ ไป ของเกม มดี ังต่อไปน้ี 1. เป็นกิจกรรมทม่ี คี วามเปน็ อสิ ระในการเลน่ ผเู้ ล่นจะเล่นในเวลาว่างด้วยความสมคั รใจ 2. สถานทแี่ ละเวลาของการเล่นจะแยกออกจากกจิ กรรมที่เป็นกิจวัตรประจาวัน ตามปกติและมักจะกาหนดไว้ลว่ งหนา้ ตามความพอใจ 3. มีกฎและระเบียบของการเล่น กฎและระเบียบของการเล่นอาจได้มาจากระหว่าง ผเู้ ล่นด้วยกันเป็นผู้วางและกาหนดขนึ้ เอง เพื่ออานวยความเรียบร้อย และเพ่ือความสนุกสนานในการ เลน่ กฎและระเบียบเหลา่ นี้ อาจจะมีการเปล่ียนแปลง หรอื วางไวเ้ พอื่ การเลน่ ในระยะยาวนานกไ็ ด้ 4. การมีสว่ นร่วมในการเล่นในกจิ กรรมแตล่ ะครง้ั ผู้เลน่ ไม่หวังผลตอบแทนหรือ สินจ้างรางวลั อื่นใด นอกเหนือจากความสนุกสนานทีไ่ ด้จากกิจกรรมการเลน่ เท่าน้นั 5. การเล่นเกมแต่ละครัง้ ผูเ้ ลน่ จะไม่สามารถคาดการณผ์ ลท่ีจะเกิดข้ึนจากการเลน่ ลว่ งหนา้ ได้ ผลการเล่นเกมแตล่ ะคร้ังจะบอกผลได้กต็ ่อเมือ่ การเลน่ ไดส้ ้ินสดุ ลงแลว้ เท่าน้ัน 6. เกมการเล่นจะมคี ณุ สมบตั เิ ชน่ เดยี วกับกจิ กรรมนนั ทนาการ เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชยั (2556) ได้กล่าวถึงลกั ษณะของเกมทวั่ ไป เกมแต่ละเกมมกี ารเล่น ทแี่ ตกตา่ งกนั แต่ยังคงลักษณะทเี่ ปน็ แบบหรือแนวทางของการเล่นคล้าย ๆ กนั ซง่ึ พอจะสรุปไดด้ ังนี้ 1. มีช่ือเกม 2. มีกฎหรอื ระเบียบและวธิ กี ารเลน่ งา่ ย ๆ ในเชิงการแข่งขัน

7 3. มลี ักษณะเฉพาะในแตล่ ะเกมหรือแต่ละประเภท 4. เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนมสี ว่ นรว่ ม 5. มีเวลาเร่มิ เล่นและเลิกหรือสิน้ สุดการแขง่ ขนั กล่าวโดยสรุปว่า ลักษณะและสิ่งท่ีจาเป็นสาหรับเกม คือ เกมท่ีเล่นจะต้องส้ันแต่ เฉพาะเจาะจง โดยเฉพาะในการจัดให้เด็กเล็ก ผู้นาต้องอธิบายสาธิตให้เด็กฟังและดูเป็นข้ันตอน ผนู้ าเกมต้องพร้อมให้ข้อเสนอแนะ แนะนาและคอยตักเตือนอยู่เสมอ พยายามช่วยเหลือและกระตุ้น ให้เด็กพร้อมและเล่นในสถานการณ์ของการเล่นเกมเสมอ ในการเลือกเกม จึงคานึงถึงประสบการณ์ และความสามารถของเด็กแต่ละคนแต่ละกลุ่ม เกมท่จี ัดต้องช่วยให้เด็กเจรญิ เติบโตและมีพัฒนาการ ทางดา้ น และเกมทีจ่ ดั ตอ้ งทาให้ผ้รู ว่ มเลน่ เกมไดร้ บั ประสบการณ์ท่ีดีในเกมนัน้ ดว้ ย วธิ กี ารสอนเกมแตล่ ะประเภททีเ่ หมาะสมกบั วยั และเพศ เกมในแต่ละประเภทอาจจะมีวธิ ีเล่นที่เหมอื นกันหรือตา่ งกนั ขนึ้ อยกู่ ับวัตถุประสงคใ์ นการ จัดเกมและทักษะที่ต้องการให้เกิดข้ึน ผู้สอนเกมจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ในวิธีการสอนเกมและ สามารถถ่ายทอดให้ผู้เล่นได้เล่นเกมอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงสภาพร่างกาย ความถนัด ความ สนใจ เพศ วัย เพื่อให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ ในกรณีที่กลุ่มผู้เล่นเป็นบุคคลที่มีสภาพ ร่างกายไม่สมประกอบ ต่างวัย ต่างเพศ ก็ให้เล่นร่วมกันกับกลุ่มได้ โดยผู้นาจะเลือกกิจกรรมท่ี เหมาะสมให้ หรือมอบหมายหน้าท่ีให้เป็นผู้ช่วยผู้นาเกม ผู้สังเกตการณ์ ผู้จดหรือนับคะแนนก็ได้ เช่น เกมกระต่ายขาเดียว เป็นเกมที่เล่นได้ท้ังเพศชายและเพศหญิง เล่นร่วมกันได้ ช่วงอายุที่ เหมาะสมกับการเล่น คือระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไม่เหมาะกับเด็กอนุบาล เน่ืองจากเกมน้ีจะต้องใช้ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ความอดทน คล่องแคล่ว และการมี สมรรถภาพทางกายที่พรอ้ ม เทพประสิทธ์ กุลธวัชวิชัย (2556) ได้กล่าวถึงประเภทของเกมท่ีแบ่งตามเพศและวัย ประกอบดว้ ย 1) เกมสาหรบั ชาย 2) เกมสาหรบั หญิง 3) เกมวยั เดก็ 4) เกมวัยรนุ่ ทิศนา แขมมณี (2550) กล่าวถึงวิธีสอนโดยใช้เกมเป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรื่องต่าง ๆ อย่างสนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดยผู้เรียนเป็นผู้เล่นเอง ทาให้ได้รับ ประสบการณ์ตรง เปน็ วธิ ีการทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นรว่ มสูง

8 สุชาติ ทวีพรปฐมกุล (2547) ได้กล่าวถึงการเลือกเกมใดมาจัดกิจกรรม ไว้ว่า เพ่ือให้ ประสบความความสาเร็จในการจัดกิจกรรมแต่ละคร้ังน้ัน จะต้องคานึงถึงส่ิงต่าง ๆ หลายอย่าง รวมถึงควรเลือกให้เหมาะสมกับเพศและวัยของผู้ร่วมกิจกรรม ท้ังน้ีหากแบ่งตามเพศและวัย จะ แบง่ เป็น 1) เกมเดก็ ปฐมวัย หรอื เกมเด็กเลก็ 2) เกมเดก็ ระดับประถมศกึ ษา 3) เกมพฒั นาองค์กร จากประสบการณ์การเปน็ ครูผสู้ อนวิชาพลศกึ ษาและผ้สู อนเกมมาไม่น้อยกวา่ 20 ปี จึง ขอสรุปวธิ กี ารสอนเกมในแต่ละประเภทท่ีเหมาะสมกับวยั และเพศ มดี ังน้ี 1. ทราบถึงพนื้ ฐานของกลุ่มเปา้ หมาย 2. เลือกเกมที่เหมาะสมกับช่วงวัยและเพศ โดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ของการจัด เกมในแต่ละครั้ง 3. ดาเนินการจัดเกม ประกอบด้วยขั้นนาและสาธิตการเล่น ขั้นทดลองเล่น ข้ัน เล่นจรงิ (หวงั ผลแพห้ รือชนะ) และข้ันสรปุ 4. ประเมินผลการจดั เกม เพอ่ื พฒั นา ปรับปรงุ หรอื เปล่ียนแปลง ทง้ั นผี้ เู้ ขียนขอสรุปหลักการและวิธกี ารสอนเกมเพื่อความเหมาะสมกบั วัยและเพศ ดงั น้ี

9 ตารางการวิเคราะห์หลกั การและวธิ ีก ประเภทของเกม หล อนุบาล ประถมตน้ ประถมป 1. เกมกลุม่ สมั พนั ธ์ - สอนโดยเน้นการตบ - ยังใช้กิจกรรมการตบมือ - ยังใชก้ ิจกรรม มือ เชน่ ได้ สามารถเพ่ิมข้อความ ได้ โดยใช้สอื่ กา - ตบมือ 1 คร้ัง ตบมือ 2 หรือคาพูดเพื่อสร้างสมาธิ สอนช่วยในก ครั้งตบมือ 3 ครั้ง เพ่ือ เชน่ ตบมอื เรยี กช่อื เพอื่ น เช่น เกมโยนบอ ตรวจสอบความพร้อม เปน็ ต้น และถื อ ว่ าเป็ น การ หมายเหตุ : กระตุ้นให้ผู้เล่นมีความ เร่ิมแยกเพศ สนใจ ในการทากจิ ก

9 การสอนเกมเพอื่ ความเหมาะสมกับวัยและเพศ ลกั การและวธิ กี ารสอน ปลาย มธั ยมตน้ มัธยมปลาย วัยทางาน มการตบมือ - สอนเกมท่ีเล่นได้ท้ังเพศ - วิธีการสอนเกมจะมี - สอนให้ ท าความรู้จัก การเรียนการ ชายและเพศหญิง เน้น ลักษณะใกล้เคียงกับวัย เพื่อนท่ีมากข้ึน ในเร่ือง การจัดเกม การพูดคุย หรือซักถาม มั ธยมต้ น ใช้เกมท่ี มี อื่นๆ เพราะผู้เล่นในวัยน้ี บอลเรียกช่ือ กัน เช่น เกมเรียงลาดับ วิธีการเล่นท่ีเริ่มจากการ มักจะมีความลับหรือเก็บ จะเป็นเกมที่มีโจทย์ให้ ไม่แตะต้องร่างกายกัน ความรู้สึกอะไรหลายๆ เป็นวัยท่ี ผู้เล่นยืนเรียงกันตาม และกันเพื่อสร้างความ เรื่อง หากใช้วิธีการจัด ศชายหญิง พยัญชนะชื่อเล่น อายุ คนุ้ เคยกอ่ น เกมท่ี ให้ ผู้ เล่ นได้ ระบาย กรรม วันเกิด เดือนเกิด ปีเกิด หมายเหตุ : เป็นวัยที่ ความรู้สึกออกมาได้ เกม ผู้เล่นจะมีความสนิทสนม ระมัดระวังตัวในการทา จะมีความสนุกและผู้เล่น จนลมื การแบง่ เพศได้ กิจกรรมในลักษณะถูก จะคุ้นเคยกันได้เร็วขึ้น หมายเหตุ : เป็นวัยท่ี เน้อื ต้องตวั กนั เช่น เกมขโมยหัวใจ ที่มี ระมัดระวังตัวในการทา วิธีการเล่นให้ผู้เล่นได้คุย กิจกรรมในลักษณะถูก กันมากกว่าการถามหรือ เนอื้ ต้องตวั กัน บอกช่ือ หมายเหตุ : ช่วงวัยน้ีการ เล่นเกมที่ถูกเนื้อต้องตัว กันจดั ไดง้ ่ายกวา่ วยั มัธยม

1 ตารางการวเิ คราะห์หลกั การและวธิ ีการสอ ประเภทของเกม หล อนุบาล ประถมตน้ ประถมป 2. เกมเบ็ดเตลด็ - เน้นสอนการเล่นเกม - วิธีการสอนเกมแบบ - วิธีการสอนเก เด่ียว หรอื เล่น 2 คน เป็น เล่นเป็นกลุ่ม แต่ไม่ควร เป็นกลุ่ม สลับ หลักเพราะการทางาน เกิน 6 คน เพื่อให้การ เพื่อให้การจัดก ประสานกันของอวัยวะ จัดการในกลุ่มมีความ มีความเหมาะส ต่าง ๆ กับเพ่ือนหลายคน เหมาะสม เช่น เกมต่อตัว ยืนบนหนังสือพ ในเวลาเดียวกันของเด็ก วัยอนุบาลยังทาได้ไม่ดี เชน่ เกมส่งของ 3. เกมเลียนแบบ - วิธีการสอน เน้นการ - วิธีการสอน เน้นการ - วิธีการสอน เคลื่อนไหวสาหรับเด็ก เคลื่อนไหวขั้นพ้ื นฐาน เคลื่อนไหวขั้นพ เล็ ก เล่ นเพ่ื อคุ้ นเคย เพ่ือให้เกิดความคุ้นเคย ทักษะท่ีมีควา เป้ าหมาย คื อ ให้ เกิ ด และความสนุ กสนาน ส่วนตัว บางคร ความสนุกสนาน ผา่ นการ เป้าหมาย คือ การปฏิบัติ แพ้ชนะ เช่น เล่านิทานหรือเรื่องราว ทักษะหรือแสดงท่าทางที่ ขา้ มห้วย เกม ท่ั ว ไป ไม่ ใช่ ก า ร ถู กต้ อง ผ่ านการเล่ า บรรยายหรือการส่ังให้ นิทาน ไม่ใช่การบรรยาย ทา เช่น เกมซาลาเปา หรือการส่ังให้ทา เช่น เกม เกมกระรอกประแต กระโดดกบเกมแมวจบั หนู

10 อนเกมเพอ่ื ความเหมาะสมกับวยั และเพศ ลักการและวิธีการสอน ปลาย มธั ยมต้น มัธยมปลาย วยั ทางาน กมแบบเล่น - ใช้ เกมที่ มี การคิ ด - ใช้ เก ม ท่ี มี ก ารคิ ด - วิ ธี ก า ร ส อ น เก ม บกลุ่มผู้เล่น วิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์ วิเคราะห์ มีการวางแผน เห มือน มัธยมป ลาย การในกลุ่ม เล่นเป็นกลุ่ม เด็กในวัยน้ี เล่นเป็นกลุ่ม เป็นเกมท่ีเอา แต่กฎ กติกาของเกม สม เชน่ เกม จะยอมรับซ่ึงกันและกัน ภาพรวมของปั ญหาที่ ค ว ร ผ่ อ น ค ล า ย มี พมิ พ์ หากมกี ารช่วยเหลอื หรือ เกิดขึ้น มาให้ผู้เล่นหาวิธี เงื่อนไขในการตัดสิน แบ่งปันซ่ึงกันและกัน แก้ปัญหา เช่น เกม Walk ผลไมม่ าก เชน่ เกมสะพานชวี ติ Rally เน้นการ - เล่นเป็นเดี่ยว หรือกลุ่ม - เล่นเป็นเด่ียว หรือกลุ่ม - เล่นเป็นกลุ่มโดยสมมติ พื้นฐาน ใน โดยสมมติตนเองเป็ น โดยสมมติตนเองเป็ น กลุ่มตนเองเป็นสิ่งมีชีวิต ามท้าทาย ส่ิงมีชีวิตหรือสิ่งของ เช่น สง่ิ มีชีวิตหรือสิ่งของ และ หรือสิ่ งของ และแต่ ง ร้ังหวังผลที่ เกมแปลงร่างยอดมนษุ ย์ แต่งเรื่องราวเป็นนิทาน เรื่องราวเป็นนิทาน เล่า น เกมเสือ เล่าเรื่องพร้อมกับแสดง เรื่ องพ ร้อมกั บแสดง ท่าทางประกอบ เช่น ท่าทางประกอบ เช่น เกม My Space เกม ยิงเรอื รบ

1 ตารางการวเิ คราะห์หลักการและวิธีการสอ ประเภทของเกม หล อนุบาล ประถมต้น ประถมป 4. เกมประกอบ - ใช้เพลงประกอะ ตตี บ- ใช้ เพ ล งป ร ะ ก อ บ - ใช้เพลงประก เพลง การเลน่ เกม ควรเป็น ทา่ งทาง ควรเปน็ เพลงส้ัน และมเี นื้อรอ้ ง เพลงสนั้ รอ้ งงา่ ย มี ร้องง่าย มีการให้จังหวะ ได้ เชน่ เพลงห ทา่ ทางประกอบ เชน่ ตัวอย่างเช่น การตบมือ กาลงั สบาย เพลงชา้ ง เช่น เพลง “ปรบมือ 5 ครั้ง” เพลง “ปรบมือปับ ปบั ปับ” 5.เกมนาไปสกู่ าร - สอนเกมที่ใช้ทักษะ - สอนเกมท่ีใช้ทักษะ - สอนเกมท่ี เล่นกฬี า การเคลื่อนไหวสาหรับ การเคลื่อนไหวสาหรับ ก ารเค ลื่ อ น เด็ กเล็ ก เน้ นพั ฒ นา เด็กเล็ก แบบประกอบ พ้ืนฐาน แบบ กล้ามเน้ือมือ กล้ามเน้ือ อุปกรณ์หรือไม่มีก็ได้ อุปกรณ์หรือ มัดเล็กแบบประกอบ เกมที่เล่นจะเพิ่มความ เน้นการเล่น อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ ไม่ มี ซับซ้อนข้ึน เช่น เกม เช่น เกมลิงชงิ อุปกรณ์ก็ได้ เช่น เกม ว่งิ เปีย้ ว สง่ บอล เกมกลง้ิ บอล

11 อนเกมเพ่อื ความเหมาะสมกับวยั และเพศ ลกั การและวธิ ีการสอน ปลาย มัธยมต้น มัธยมปลาย วัยทางาน กอบทา่ ทาง - ใช้เพลงประกอบท่าทาง - ใช้ เพ ล งป ระก อ บ - ใช้เพลงท่ีมีการโต้ตอบ งยาว รอ้ งซ้า อาจเป็นการเล่นเพื่อจับ ท่าทาง โดยใช้ทักษะ กัน ทักทายกัน เพ่ือ งหากวา่ เรา กลุ่ม หรือเตรียมความ การเคล่ื อนไหวแบบ ความสนุกสนาน และ พร้อมก่อนทากิจกรรม เคล่ือนที่เป็นการเล่น ตื่นเต้น เหมาะสมกับวัย เช่น เพลงลมเพลมพัด เพื่อจับกลุ่ม หรือเตรียม เช่น เพลงสวสั ดี เพลงรวมเงนิ ความพร้อมก่อนท า กิจกรรม เช่น เพลงลม เพลมพัด เพลงรวมเงนิ ใช้ทักษะ - สอนเกมที่เล่นเป็นกลุ่ม - สอนเกมที่เล่นเป็นกลุ่ม - สอนเกมที่เล่นเป็นกลุ่ม น ไห วข้ั น เช่น เกมสามัคคีส่งบอล หมายเหตุ จะแยกเพศ วิธีการเล่ นเน้ นความ บประกอบ มนิ ิเบสบอล ชายและเพศหญิง สนุกสนาน ใช้ทักษะ อไม่มีก็ได้ หมายเหตุ จะเร่ิมแยกเพศ พื้นฐานทางด้านกีฬารวม นเป็นกลุ่ม ชายและเพศหญิง กับความคดิ สร้างสรรค์ งบอล หมายเหตุ : ผูเ้ ลน่ ในวัยนี้ จะมีเหตุผลในการถูกเนื้อ ต้องตวั

1 ตารางการวเิ คราะหห์ ลักการและวิธกี ารสอ ประเภทของเกม หล อนุบาล ประถมต้น ประถมป 6.เกมเสริ มสร้ าง - สอนโดยใช้อุปกรณ์ - ใช้ท้ังเกมท่ีมีอุปกรณ์- เกมท่ีเล่นคว สมรรถภาพทางกาย เพื่อดึงดูดความสนใจ และไม่มีอุปกรณ์ เน้นการเล่นที่มีความท โดยมีอุปกรณ์เป็นส่ือ เล่นเป็นกลุ่ม เพ่ือช่วยเหลือเกมว่ิงเก็บของ เชน่ เกมว่งิ เก็บของ กนั มีวธิ ีการเล่นท่ีง่าย เช่นแขง็ เกมกระตา่ เกมวงิ่ เกบ็ ของ เกมแปะแขง็ 7. เกมนันทนาการ - ใช้เกมท่ีมีวิธีการเล่น - ใช้เกมที่มีวิธีการเล่น - ใช้เกมท่ีมีวิธีก ง่าย ๆ ใช้เวลาส้ัน ๆ ง่าย ๆ ใช้เวลาส้ัน ๆ เพิ่ม ๆ ไม่จากัดเวลา เน้นความสนุกสนาน การเล่นเป็นกลุ่ม เช่น ประกอบหรือ เล่นเป็นคู่ หรือเล่นกับ เกมต่อแถวเปา่ ยิ้งฉบุ เช่น เกมสตั ว์ปา่ อาจารย์ก็ได้ เช่น เกม เป่าย้งิ ฉบุ 8.เกมทางน้า - สอนใหเ้ ป่าลมออก สูด เกมแตะ เกมควานหาไข่ ลมเขา้ เป็นได้ เช่น เกมงม เหรียญ

12 อนเกมเพอ่ื ความเหมาะสมกบั วัยและเพศ ลกั การและวธิ กี ารสอน ปลาย มธั ยมต้น มัธยมปลาย วัยทางาน วรมีวิธีการ - ใช้การเล่นเกมที่เล่นเดี่ยว-ใช้การเล่นเกมที่เล่นเด่ียว - ใช้การเล่นเกมที่เล่นเด่ียว ท้าทาย เช่น หรือกลมุ่ กไ็ ด้ ท่ีมีวิธกี ารเลน่ หรือกลุ่มก็ได้ มีวิธีการเล่น หรือกลุ่มก็ได้ มีวิธีการเล่น ง เกมแปะ ที่ท้าทายความสามารถ เช่นที่ท้าทายความสามารถเช่น ท่ที ้าทายความสามารถเช่น ายขาเดยี ว เกมกระโดดข้ามสง่ิ กดี ขวาง เกมการละเล่นเสือข้ามห้วย เกมการละเล่นเสือข้ามห้วย เกมการละเล่นชกั เยอ่ เกมการละเล่นชักเย่อ เกมวงิ่ กระสอบ การเล่นง่าย - ใช้เกมท่ีมีวิธีการเล่นเร่ิม เกมแจวเรอื เกมนวด เกมสวัสดี 4 า จะมีเพลง ซับซ้อน ใช้ความคิด การ ชาติ อไม่มีก็ได้ วางแผน เล่นเป็นกลุ่ม ไม่ ามหาสนุก จ ากั ดเวลา จะมี เพลง ประกอบหรื อไม่ มี ก็ ได้ เชน่ เกมจับคู่หาคาตอบ เกมปาทอ่ งโก๋ เกมแชรบ์ อลน้า เกมนั่งยาง หมายเหตุ : เป็นวัยท่ี หมายเหตุ : เป็นวัยท่ี ระมัดระวังตัวในการทา ระมัดระวังตัวในการทา กิจกรรมในลักษณะถูก กิจกรรมในลักษณะถูก เนอ้ื ตอ้ งตัวกัน เนอ้ื ตอ้ งตวั กนั

13 สรุปการสอนเกมแตล่ ะประเภทใหเ้ หมาะสมกบั เพศและวัย ผสู้ อนจะต้องมีความรู้ พืน้ ฐานพฤติกรรมและความตอ้ งการของมนษุ ย์ จากประสบการณ์ของผู้เขียนในการเป็นผู้นาเกม นอกจากช่วงอายุ ความรู้ของผู้เล่นผู้นา ทีด่ ีจะตอ้ งศึกษาพฤติกรรม อาชีพการทางานของผู้เล่นก่อนการเลน่ ทุกครั้ง เพ่ือให้การเตรยี มเกม สอดคล้องกับความตอ้ งการและการจัดเกมเป็นไปได้อย่างราบรน่ื กับผ้เู ลน่ ทกุ คน สชุ าติ ทวีพรปฐมกลุ (2547) ไดก้ ล่าวถึงพฤติกรรมและความต้องการของมนุษย์ ไว้ดังนี้ ความตอ้ งการ (Need) ของมนษุ ย์จะเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ของการเกดิ พฤตกิ รรม (Behavior) ท่แี สดงออก สภู่ ายนอก เพอ่ื ให้เกดิ ข้นึ ตามเป้าหมายท่มี นุษยต์ ้องการ ดงั แผนภูมิ ดังน้ี แต่พฤติกรรมท่ีแสดงออกน้ีจะปรากฏในทางท่ีดีหรือไม่ดีน้ัน ขึ้นอยู่กับขบวนการในการ สนองความต้องการ ซึ่งถ้าหากมีวิธีการทาให้เกิดความต้องตรงตามเป้าหมาย พฤติกรรรมก็จะ ออกมาดี โดยผู้นาการท่องเที่ยวจาเป็นต้องศึกษา และเตรียมความพร้อมในวิธีการเก่ียวกับการ สร้างแรงจงู ใจ (Mo-tivation) ใหเ้ กิดแกน่ ักท่องเที่ยวซ่งึ มหี ลายรูปแบบหลายวธิ กี าร อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow ) นักจิตวทิ ยาท่ีมีชื่อเสียงโดง่ ดงั เป็นที่รู้จักกันอย่าง กว้างขวาง ไดก้ าหนดพน้ื ฐานของมนุษยไ์ ว้ 5 ลาดบั ขนั้ ดังนี้ 1. ความตอ้ งการทางด้านร่างกาย (Physiological Need) เป็นความต้องการข้นั พนื้ ฐาน อนั เป็นส่งิ จาเป็นในการดารงชวี ติ เพื่อการอยู่รอด เช่น อาหาร นา้ อากาศ ทีอ่ ยู่อาศัย การพักผ่อน เปน็ ต้น 2. ความตอ้ งการดา้ นความปลอดภยั (Safety Need) เมอ่ื ความต้องการทางดา้ นรา่ งกายไดร้ ับการตอบสนองแล้ว ความตอ้ งการเก่ียวกับ ความปลอดภัยกเ็ กดิ ขึน้ เชน่ ความมั่นคงในชีวิตและทรพั ย์สนิ เป็นต้น

14 3. ความต้องการทางสงั คม (Social Need) มนุษย์เม่ือได้รับการตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและความปลอดภัย ครบถ้วนแล้ว ความต้องการทางสังคมจะปรากฏชัดขึ้นทันทีในรูปของความต้องการเพ่ือน ต้องการ ความรกั ต้องการการยอมรับของสังคม มีความรู้สึกว่าตนเองจะต้องเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่ม หรือ สังคมท่ีตนเองปรารถนาตอ้ งการมีช่ือเสียงในสงั คม เป็นต้น 4. ความตอ้ งการการยกย่องสรรเสริญ (Esteem Need) เปน็ ความตอ้ งการที่สงู ขึ้น (ใหผ้ อู้ ่ืนรคู้ วามสามารถของตนเอง ตอ้ งการมีสถานภาพ ตอ้ งการยกย่องสรรเสรญิ ไดร้ ับเกียรติ ตอ้ งการตาแหนง่ และอานาจ 5. ความต้องการความสาเร็จสมหวังในชีวิต (Self Actualizoation Need) เป็นความต้องการในระดบั สงู สดุ ของชวี ิตมนุษย์ ตอ้ งการความสาเร็จในทุกสิ่งทุกอย่าง ที่ตนเองนึกคิดและปรารถนา เม่ือเรารู้ถึงพื้นฐานความต้องการของมนุษย์แล้ว ในฐานะของผู้นา เกมจาเป็นต้องวางแผนในการปฏิบัติหน้าที่อย่างดีที่สุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงการจูงใจ การสร้าง ความคุ้นเคยและการเลือกเกมให้ตรงตามลักษณะของผู้ร่วมกิจกรรม เพ่ือให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของ การนาเกมได้อย่างดีย่ิง ทฤษฎลี าดับข้นั ความตอ้ งการพน้ื ฐานของมาสโลว์ ท่ีมา : https://www.krupatom.com/มาสโลว/์

15 ข้นั ที่ 4 ความตอ้ งการการยกย่องสรรเสริญ ข้นั ท่ี 3 ความตอ้ งการทางสงั คม ขัน้ ที่ 2 ความต้องการด้านความปลอดภัย ขน้ั ที่ 1 ความต้องการทางดา้ นร่างกาย ขนั้ ที่ 5 ความตอ้ งการความสาเร็จสมหวังในชวี ติ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=tpZ6d7dhQiY ทิศนา แขมมณี (2560) ได้กล่าวถึงแนวคิดทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) และ หลกั การศึกษาการสอน ไว้ว่า นักคิดกลุ่มมนุษยนิยมใหค้ วามสาคญั ของความเป็นมนุษย์ และมอง มนุษย์ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ และมีแรงจูงใจท่ีจะพัฒนา ศักยภาพของตน หากบุคคลได้รับอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ ความเป็นมนษุ ย์ทีส่ มบรู ณ์ นกั จิตวิทยาคนสาคัญในกลุ่มนี้ประกอบด้วย มาสโลว์ (Maslow) รอเจอร์ (Rogers) โคมส์ (Combs) โนลส์ (Knoeles) แฟร์ (Faire) อลิ ลชิ (Illich) และนีล (Neil)

16 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของมาสโลว์ (Maslow, 1962) ได้กล่าวถงึ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ไว้ว่า 1. มนุษย์ทุกคนมีความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติเป็นลาดับข้ัน คือ ขั้นความ ต้องการทางร่างกาย (Physical Need) ขั้นความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety Need) ขนั้ ความต้องการความรัก (Love Need) ขนั้ ความต้องการยอมรับและยกย่องจากสังคม (Esteem Need) และข้ันความต้องการท่ีจะพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ (Self Actualizoation Need) หากความต้องการข้ันพ้ืนฐานได้รับการตอบสนองอย่างพอเพียงสาหรับตนในแต่ละข้ัน มนุษย์จะ สามารถพัฒนาตนไปสู๋ข้ันทีส่ ูงสุดได้ 2. มนุษย์มีความต้องการท่ีจะรู้จักตนเองและพัฒนาตนเอง ประสบการณ์ที่เรียกว่า “Peak Experience”เปน็ ประสบการณ์ของบุคคลท่อี ยู่ในภาวะต้องการรู้จักตนเองตรงตามสภาพ ความเป็นจริง มีลักษณะน่าตื่นเต้น เป็นความรู้สึกดี เป็นช่วงเวลาที่บุคคลเข้าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างถ่องแท้ เป็นสภาพท่ีสมบูรณ์ มีลักษณะผสมผสานกลมกลืน เป็นช่วงเวลาแห่งการรู้จัก ตนเองอย่างแท้จริง บุคคลที่มีประสบการณ์เช่นนี้บ่อย ๆ จะสามารถพัฒนาตนไปสู่ความเป็น มนษุ ยท์ ่สี มบรู ณไ์ ด้ จิราภรณ์ ตั้งกติ ติภาภรณ์ (2557) ไดก้ ลา่ วถงึ การศึกษาพฤติกรรมมนษุ ย์ สามารถแบง่ การศึกษาได้ 2 ระดบั คอื พฤติกรรม ระดับรายบคุ คล พฤติกรรมระดับกลุ่ม 1.พฤติกรรมรายบุคคล (Indivadual Behavior) พฤติกรรมรายบุคคล หมายถึง การกระทาหรือการแสดงออกของบุคคลเม่ืออยู่โดดเดี่ยว การกระทาหรือการแสดงออกจึงข้ึนอยู่กับปัจจัยกระตุ้น ซึ่งแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ปัจจัย กระตุ้นภายใน เช่น การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ ความคิด แรงจูงใจ อารมณ์ ระบบสรีระ ฯลฯ สว่ นปจั จัยกระตุ้นภายนอก เชน่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สถานทที่ างาน บุคคลในครอบครัว เพอ่ื นบ้าน ผูบ้ ังคบั บญั ชา ลักษณะตัวงาน ฯลฯ 2. พฤตกิ รรมกลุ่ม (Group Behavior) พฤตกิ รรมกลมุ่ หมายถึง การกระทาหรือการแสดงออกของบุคคลเมอื่ มีปฏิสมั พนั ธ์ กบั บคุ คลอื่น ๆ ภายในกลุ่ม

17 บทสรุป ความหมายและองค์ประกอบของเกม เป็นสงิ่ แรกที่ผทู้ ีม่ สี ว่ นในการจดั กจิ กรรมเกมจะต้องรู้ เพื่อท่ีจะนาไปสู่วางแผนการจัดเกมในฐานะผู้จัดกิจกรรมเกม หรือในฐานะผู้เล่นได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ความหมายของเกม ผู้จัดกิจกรรมเกมจะต้องรู้ว่า เกมที่จัดจะต้องทาให้เกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งเสริมและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และช่วยเสริมสร้างสุขภาพ ทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ไปพร้อม ๆ กัน ถ้าเป็นเกมทางพลศึกษา จะหมายถึง การเล่น หรือกิจกรรมทางพลศึกษาท่ีไม่มีกฎ-กติกาซับซ้อนมากนัก เป็นการเล่นที่ส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการ ทางทักษะการเคลื่อนไหวข้ันมูลฐานและทักษะเบ้ืองต้นไปสู่การเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ เช่น การ เล่นประกอบเสยี งเพลง การเล่นเพ่ือสนุกสนานตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ความหมายของเกม ทาใหเ้ กิดความ ส่งเสรมิ และพฒั นา เสรมิ สรา้ งสุขภาพกาย สนกุ สนาน ความคิดสรา้ งสรรค์ สุขภาพใจ ด้านในดา้ นหน่ึง ถ้าเป็นเกมทางพลศึกษา จะหมายถึง การเล่นหรือกิจกรรมทางพลศึกษาท่ีไม่มีกฎ-กติกา ซับซ้อนมากนัก เป็นการเล่นท่ีส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการ ทางทักษะการเคลื่อนไหวขั้นมูลฐานและ ทักษะเบ้ืองต้นไปสู่การเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ เช่น การเล่นประกอบเสียงเพลง การเล่นเพ่ือ สนุกสนานต่าง ๆ เปน็ ต้น ความหมายของเกมทางพลศกึ ษา r]L7dKk การเลน่ หรอื กิจกรรมทาง การเล่นทสี่ ่งเสรมิ ให้เกดิ พฒั นาการ พลศึกษาท่ีไมม่ ีกฎและกติกาซับซ้อน ทางทักษะการเคลอื่ นไหวข้ันมูลฐาน ทกั ษะเบือ้ งตน้ ไปสูก่ ารเลน่ กฬี า ประเภทต่าง ๆ

18 ลักษณะและสิ่งท่ีจาเป็นสาหรับการจัดเกม คือ เกมที่เล่นจะต้องสั้นและเฉพาะเจาะจง โดยเฉพาะ ในการจัดให้เด็กเล็ก ผู้นาต้องอธิบายและสาธิตให้เด็กฟังเป็นข้ันตอน พร้อมให้ข้อเสนอแนะอย่างละเอียด รวมทงั้ ในการเลอื กเกมยงั ต้องคานงึ ถงึ ประสบการณ์และความ สามารถของผเู้ ล่นในแต่ละคนแต่ละกลุ่ม องค์ประกอบทสี่ าคญั ในการพิจารณาเลอื กสรรเกม เพอ่ื นามาสอนขนึ้ อย่กู บั ส่ิงต่อไปน้ี 1. ความมงุ่ หมายในการจดั กิจกรรมเกม เชน่ - เน้นความสนุกสนาน ความเพลิดเพลนิ ควรเลอื กเกมท่ีสรา้ งความสนกุ สนานให้กับ ผู้เล่น โดยใช้เวลาไม่มาก และเกมนัน้ ต้องไม่ยากจนเกนิ ไป - เน้นความเป็นผู้นาและผู้ตาม ควรเลือกเกมท่ีพยายามให้ผู้เล่นได้แสดงออกอย่างเต็มท่ี โดยใช้ ความสามารถของตนเองใหม้ ากท่ีสดุ - เนน้ ใหไ้ ด้ทกั ษะด้านกีฬา ควรเลือกเกมที่มีแบบอยา่ งของทักษะเฉพาะเจาะลงในกฬี าทต่ี ้องการเท่าน้ัน 2. ตรวจสอบระดบั ความสามารถของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม โดยคานึงถึงเกมท่ีเหมาะสมกับสภาพร่างกาย ความถนัด ความสนใจ เพศ วัย เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุมุ่งหมายที่ต้องการ ในกรณีท่ีกลุ่มผู้เล่นเกมมีบุคคลที่มีสภาพร่างกายไม่สมบูรณ์ ต่างเพศ ต่างวัย ก็ให้เล่นร่วมกับกลุ่มได้และเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมให้ หรือมอบหมายหน้าท่ีให้ เปน็ ผูช้ ว่ ยผูน้ าเกม ผสู้ ังเกตการณ์ ผูบ้ นั ทึกคะแนน หรือหน้าที่อ่ืน ๆ 3. สถานที่ ความเหมาะสมของสถานการณ์ท่ีถือว่าสาคัญต่อการจัดเกมเป็นอย่างมาก เพราะการจัดเกมให้ เหมาะกับจานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ต้องคานงึ ถึงสถานทีด่ ว้ ย เพือ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการเล่นมากท่สี ุด 4. อุปกรณ์ ควรจัดหาอุปกรณท์ ่ีเหมาะสม สะดวก ประหยัด และสามารถจดั หาได้ง่าย ปลอดภยั ต่อการนามา ประกอบการเล่น ซงึ่ อาจใช้วิธีจดั หาหรอื ทาขึน้ ใชเ้ อง และควรใช้อปุ กรณ์ท่ีมีอยู่หรือหาไดง้ า่ ยท่ัวไป 5. กฎกติกาและระเบียบในการเลน่ เกมที่มีกฎกติกาและระเบียบในการเล่นมาก หรือมีเทคนิคสูงไม่เหมาะสมกับการนามาใช้ในการ เล่นเกมแบบกลุ่ม หรือเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพราะจะทาให้ผู้เล่นเกิดความเบ่ือหน่าย และควร ชี้แจงให้ผเู้ ลน่ ไดเ้ ข้าใจถึงกฎกติกาการเล่น และสามารถเปลี่ยนแปลงหรอื ยดื หยุน่ ไดต้ ามความเหมาะสม 6. จานวนผู้เข้าร่วมกจิ กรรม พิจารณาเลือกเกมที่ทุกคนสามารถเข้าร่วมเล่นได้ท้ังหมด ถ้าจานวนมากก็อาจจะ แบ่งกลุม่ และจัดกิจกรรมที่เหมาะสมใหเ้ ล่นได้ในเวลาเดียวกันทัง้ กลุ่ม

19 ทั้งน้ีเกมที่จัดจะต้องให้ผู้เล่นมีพัฒนาการในทุกด้านแล้วแต่วัตถุประสงค์ในการจัดเกม และเกมท่ีจัดต้องทาให้ผู้ร่วมเล่นเกมทกุ คนได้รับประสบการณ์ท่ีดีในเกมน้ันด้วย หมายถึง ผู้นา เกม ต้องเตรียมตัวมาอย่างดี นอกจากจะศึกษาช่วงอายุ ความรู้ของผู้เล่นแล้ว ผู้นาท่ีดีจะต้อง ศึกษาพฤติกรรม อาชีพการทางานของผู้เล่นด้วย เพื่อให้การเตรียมเกมสอดคล้องกับความ ต้องการและการจัดเกมเป็นไปได้อย่างราบร่ืนกับผู้เล่นทุกคน ลดการเกิดปัญหาต่าง ๆ ในระหว่าง การเล่น จากประสบการณ์ของผู้เขียนในเร่ืองการจัดเกมที่ไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เล่น อาจทาให้บรรยากาศในการเล่นเกมไม่ราบรื่น ส่งผลต่อผู้เล่นเกมรอบข้างท่ีเล่นด้วยในเกมน้ัน การศึกษาพ้ืนฐานพฤติกรรมของมนุษย์ก่อนการจัดเกมจึงสาคัญ ท่ีควรคานึงถึงก่อนวางแผนการ จัดเกม ตามทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) มี 5 ขั้นตอน คอื ข้ันที่หน่ึง คือ มนุษย์มีความต้องการทางด้านกายภาพ เช่น การหายใจ การกินและ การนอน เม่ือเราได้รับสิ่งทเ่ี ราต้องการในขั้นน้ีครบถ้วน ไดก้ ินอิ่มและนอนหลับ พักผ่อนเพยี งพอ แลว้ เรากจ็ ะคานึงถึงความตอ้ งการในขัน้ ต่อไป ข้ันท่ีสอง คือ มนุษย์ต้องการความปลอดภัย เราจะพยายามจะหาเงินเพ่ือสะสม ทรัพยากร และมองหาที่อยู่อาศยั เพื่อปกป้องตัวเราจากภัยอันตรายต่าง ๆ เม่ือเรารู้สึกปลอดภัย หรอื มน่ั คงแลว้ เราก็จะมองหาสง่ิ ทตี่ อ้ งการในลาดบั ถัดไป ขั้นท่ีสาม คือ มนุษย์ต้องการความรักและการยอมรับ ต้องการอยู่ใกล้ชิดกับครอบครัว และเพ่ือนฝูง เป็นที่ยอมรับและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และเมื่อเรามีสังคมแล้ว เราก็จะเร่ิม ยกระดบั ฐานะทางสังคมของเราใหด้ ีกวา่ ผูอ้ ืน่ ขน้ั ที่ส่ี คอื มนษุ ย์จะเร่ิมมองหาคุณค่าและความม่ันใจในตวั เอง ต้องการฐานะทางสังคม และการเคารพต่อผู้อ่ืน มนุษย์อยากเป็นคนสาคัญ ถ้ามีเงินก็จะซ้ือนาฬิกาท่ีมียี่ห้อ ราคาแพง หรือมีความเก่งก็จะพยายามคิด หรือทางานมากกว่าผู้อ่ืน นี่คือจุดท่ีมนุษย์จะมีแรงจูงใจในการ ทางานและการแขง่ ขันสงู ไมว่ ่าจะเป็นนกั เรียน นักกีฬาหรือนกั ประดษิ ฐ์ ขัน้ ทห่ี ้า คือ มนษุ ย์จะไขว่คว้าหาความสมบูรณแ์ บบในชีวิต ขนั้ ตอนน้ีมนุษย์จะเร่ิมผอ่ น คลายและปลดปล่อยตัวเองไปกับความคิดสร้างสรรค์ ยอมรับความจริงในแบบที่มันเป็น ให้ทาน และทาส่งิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ราตอ้ งการโดยซง่ึ ไรค้ วามกดดัน นอกจากจะเผชญิ กับปัญหาบางอย่าง หาก ผู้จัด กิ จก รรม เก ม ได้ รู้ว่าภู มิ ห ลังข องผู้เล่น ว่ามี พ้ื น ฐาน ค วาม เป็ น ม าอ ย่างไรจาก การศึกษาทฤษฎีดังกล่าว ก็จะช่วยทาให้เกิดการวางแผนและจัดกิจกรรมเกมได้ประสบ ความสาเร็จย่ิงขน้ึ ซงึ่ จะเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการจัดกิจกรรมการเล่นเกมในลาดบั ตอ่ ไป

20 คาถามทา้ ยบท 1. จงบอกสงิ่ ท่ีเหมอื น และแตกต่าง ระหว่างเกม กับเกมพลศกึ ษา .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. เหตใุ ด จึงต้องศกึ ษาพฤติกรรมความตอ้ งการของมนุษย์กอ่ นการจดั กจิ กรรมเกม .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

21 รายการอ้างองิ ภาษาไทย จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. (2557). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ดนู จีระเดชากุล. (2544). นนั ทนาการสาหรับเด็ก. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พไ์ ทยวัฒนาพานิชจากดั . ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตรการสอน: องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เทพประสิทธ์ กุลธวัชวิชัย. (2556). การนันทนาการ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ.์ (2548). เกมพลศึกษา. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้นเมอ่ื 10 มถิ ุนายน 2561, จาก http://www.royin.go.th/dictionary วรศักด์ิ เพียรชอบ. (2561). รวมบทความเก่ียวกับปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพ่ือ ประเมินผลทางการพลศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล. (2547). เทคนิคและทักษะเกมมูลฐาน. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สุวิทย์ มูลคา และ อรทัย มูลคา. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาระบบความคิด. พมิ พค์ รัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ.์ ภาษาอังกฤษ Gibbs, G. I. (1978). Dictionary of gaming, modelling & simulation. Indiana University: E & F N Spon, อ้างถึงใน สุชาติ ทวีพรปฐมกุล (2547). เทคนิคและทักษะเกมมูลฐาน. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

22 Hawks, G. W. ( 1963) . Games are for playing. Journal of Health and Physical Education and Recreation 25 (May 1963) :23, อ้างถงึ ใน วรศกั ด์ิ เพยี รชอบ.(2561). รวมบทความเกี่ยวกับปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินผลทางการ พลศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . Schurr, E. (1985). Movement Experiences for Children: A Humanistic Approach to Elelmentary School Physical Education. Retrieved June, 10, 2018, from: http://mje.mcgill.ca/article/ view/7077

23 บทท่ี 2 ความสาคัญและประโยชนข์ องเกม บทนา ความสาคัญของการออกกาลังกายเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญต่อการดารงชีวิตอย่างปกติสุข ทาอย่างไร มนุษย์จึงอยากจะออกกาลังกายได้อย่างสม่าเสมอ เกมเป็นสื่อประเภทหนึ่งที่ทาให้ มนุษย์ได้ออกกาลังกายโดยท่ีไม่รู้ตัว เกมเป็นกจิ กรรมการเลน่ ท่ีได้ประโยชน์ต่อร่างกาย และจิตใจ ของมนุษย์และยังแฝงด้วยคุณประโยชน์อื่น ๆ ซ่ึงจะทาให้เกิดพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน การเล่น เกมจะช่วยให้เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ มีความกระปร่ีกระเปร่า ตอบสนองต่อความต้องการของ ร่างกายตามหลักสรีรวิทยา การท่ีเราได้มีโอกาสเข้าร่วมเล่นเกม ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะผู้จัดเกม ผนู้ าเกม และผูเ้ ลน่ เกม ถือวา่ ทาให้บคุ คลท่เี กี่ยวขอ้ งได้มโี อกาสฝึกหัด ทาใหท้ ักษะไดม้ ีการพัฒนา ไปในทางที่ดี ประโยชน์ของเกมจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการจัดเพื่อส่ิงใด เพื่อใครบ้าง หาก วัตถุประสงค์ชดั เจน และไดจ้ ัดกิจกรรมตามทไี่ ด้กาหนดไว้ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับก็จะดงี ามไปด้วย การเล่นเกมอาจทาให้ผู้เล่นตระหนักถึงสภาพแวดล้อม ทาให้ต่ืนตัวและเพ่ิมพลังได้ เกมต่าง ๆ ต้องการกลยุทธ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานเป็นทีม เพิ่มความสามารถในการคิดของ ผู้เล่นและสอนให้ผู้เล่นรู้จักนาไปใช้ประกอบในการทางานเป็นทีมและหาทางออกจากสถานการณ์ ที่เคยพบตอนยากลาบากในการเล่น เกมและกีฬาต้องการความร่วมมืออย่างมากระหว่างผู้เล่น ด้วยกัน สุดท้ายเกมทั้งหมดมีกฎและข้อบังคับของตนเอง ซึ่งหากไม่ปฏิบัติตามจะนาไปสู่จุดท่ี ล้มเหลวได้ ดังนั้นผู้เล่นสามารถพูดได้ว่า “เกม เป็นกิจกรรมที่สอนเรารู้ถึงความสาคัญของการ ปฏิบัติตามกฎในชวี ติ จริง ๆ”

24 ความสาคัญและประโยชน์ของเกมโดยภาพรวม WeisKopf (1978) ไดก้ ล่าวถงึ คณุ คา่ ของการเล่นเกมว่าใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนร้สู ง่ิ ต่อไปน้ี 1. เรยี นรู้ ร้จู กั การเลน่ ท่ีถกู ต้องในกฎระเบยี บ 2. เรยี นรกู้ ารยอมรับซึ่งกันและกนั 3. เรียนรูท้ กั ษะใหม่และความประทับใจ 4. เรยี นรู้ทบทวนส่ิงท่ีผา่ นมาแลว้ 5. เรยี นรู้การยอมรบั ผลแพแ้ ละชนะจะมีนา้ ใจ 6. เรยี นรกู้ ารพฒั นาคุณลักษณะของนักกีฬาทด่ี ี 7. เรยี นรู้ความสมั พันธก์ ับผอู้ นื่ หรือการอยู่ร่วมกนั 8. เรยี นรกู้ ารตดั สนิ ใจท่ดี ี นอกจากนั้นยงั ได้กลา่ วถึงประโยชน์ของเกมต่อบุคคลทรี่ ว่ มในนนั ทนาการกบั สังคม อันเปน็ ประโยชนต์ อ่ ดา้ นพัฒนาการดังตอ่ ไปนี้ 1. พฒั นาการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2. พัฒนาการดา้ นอารมณ์และการผอ่ นคลาย 3. พัฒนาการความรสู้ ึกและนึกคิดของบคุ คลอย่างถกู ตอ้ ง 4. พฒั นาในลักษณะความเปน็ เพือ่ นใหม่ 5. พฒั นาในดา้ นการแสดงตนกบั ผู้อน่ื 6. พฒั นาความคิด การตัดสินใจทดี่ ี 7. พฒั นาด้านประสบการณ์ความเปน็ ประชาธิปไตย 8. พัฒนาความรูส้ ึกส่วนบุคคล 9. พฒั นาดา้ นประสบการณใ์ หม่ 10.พัฒนาบคุ ลิกคุณลกั ษณะผู้นา สุชาติ ทวพี รปฐมกุล (2547) ไดก้ ลา่ วถึงประโยชน์ท่ัว ๆ ไปทไี่ ด้จากการเลน่ กม 1. ทาให้เกดิ ความสนกุ สนาน ร่าเริง ทัง้ ผรู้ ่วมกจิ กรรม และผู้ชมการเล่น 2. ผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด ทาใหส้ ขุ ภาพจติ ดขี ้ึน 3. ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 4. เปน็ การออกกาลงั กายขั้นพนื้ ฐาน มกี ารเคลื่อนไหวสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ก่อใหเ้ กิดสมรรถภาพทางกายท่ดี ี 5. เสรมิ สร้างทกั ษะพืน้ ฐานของการนาไปสูก่ ารเล่นกีฬาใหญ่

25 6. ช่วยใหท้ ราบถงึ พฤติกรรมที่แท้จรงิ ของผู้รว่ มกิจกรรม 7. ชว่ ยปลูกฝงั ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ มนุษยสัมพนั ธ์ การทางานรว่ มกับผ้อู ่ืนได้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ เคารพกฎกตกิ าและสทิ ธิ 8. ช่วยในการเรียนการสอนทง้ั การพลศกึ ษา และสาขาวิชาอ่ืน ๆ เช่น เกมกลมุ่ สัมพันธ์ เกมนันทนาการ เกมนาไปสู่การเลน่ กีฬา ฯลฯ 9. ช่วยส่งเสรมิ ดา้ นธรุ กิจ ประโยชน์ตา่ ง ๆ ที่นามารวบรวมให้ทราบน้นั เปน็ ประโยชน์โดยทัว่ ไป ท่ีได้จากการ มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมเกมแลว้ ยังพอจาแนกได้ ทงั้ นี้ท้งั นนั้ แต่ละเกมยงั มีจดุ ม่งุ หมายและ ประโยชน์โดยเฉพาะของเกมน้ัน ๆ ประพัฒน์ ลกั ษณพสิ ุทธิ์ (2548) ได้กล่าวถึงประโยชนข์ องเกม ไวด้ ังนี้ 1. ทาให้เดก็ ไดร้ ับความสนุกสนาน รา่ เรงิ ผอ่ นคลายอารมณ์ท่ีตึงเครียด 2. ทาให้เด็กทกุ คนได้รว่ มกจิ กรรมทางกายเพอื่ สง่ เสรมิ ทกั ษะขนั้ มลู ฐาน 3. ชว่ ยส่งเสริมให้เด็กไดเ้ รียนรู้ถึงวธิ ีการทางานและเล่นรว่ มกับคนอน่ื ปฏิบัตติ าม ระเบียบและร้จู ักใช้ความคิดตนเอง 4. เปิดโอกาสให้ครไู ด้ศึกษาถงึ พฤติกรรมที่แทจ้ รงิ ของเดก็ 5. สง่ เสรมิ การเรียนการสอนในวิชาการด้านอืน่ ๆ โดยการนาเอาเกมเขา้ มา สอดแทรกทาให้เดก็ ไม่เบ่อื สรา้ งความสนใจในการเรียน 6. สร้างพ้นื ฐานทกั ษะทางกีฬาและสมรรถภาพทางกาย เพอื่ การเข้าร่วมในกฬี า ประเภทอน่ื ๆ เทพประสทิ ธิ์ กุลธวัชวชิ ยั (2556) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์และคณุ คา่ ของเกมดงั นี้ 1. ช่วยพัฒนาทางดา้ นร่างกายใชเ้ กมเปน็ กิจกรรมใช้การเคล่อื นไหวของร่างกายใน การประกอบกิจกรรม ซึ่งการออกกาลังกายการเคลื่อนไหวเป็นปัจจัยที่สาคัญของมนุษย์ ผลของ การออกกาลังกายทาให้ร่างกายเจริญเติบโตสุขภาพแข็งแรง พัฒนาระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่กล้ามเนื้อให้เจริญเติบโตแข็งแรง ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบประสาท ระบบ ขับถ่าย และมีทักษะการเคล่ือนไหวท่ีดี ซึ่งเป็นการเสริมสร้างสมรรถภาพด้านต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึงพฒั นาบคุ ลิกภาพแก่บคุ คลให้ดขี ึน้ 2.ชว่ ยพัฒนาด้านจติ ใจและอารมณใ์ ห้เกดิ ความรา่ เรงิ แจม่ ใส มอี ารมณ์ดแี ละมน่ั คง ฝึกให้รูจ้ ักยอมสิ่งตา่ ง ๆ ที่เกดิ ข้นึ ซ่งึ มีผลทางด้านจติ ใจ เช่น สมหวงั ผิดหวงั ความมนี า้ ใจเปน็ นกั กฬี า

26 3. ช่วยพัฒนาด้านสังคม ให้รจู้ ักการใชช้ วี ิตร่วมกันโดยจาลองสภาพของสงั คมให้เปน็ ลักษณะของการเล่น รู้จักมารยาทสังคม การยอมรับซ่ึงกันและกัน พัฒนาแนวทางของประชาธิปไตย เสรมิ คณุ ค่าการเปน็ ลักษณะผู้นาและผตู้ ามทด่ี ี รู้จักเคารพกฎ ระเบยี บกตกิ าท่กี าหนดไว้ 4. ช่วยพฒั นาสติปัญญาให้ใช้ความสามารถเพอื่ แสดงออกมาให้เตม็ ที่เป็นการฝกึ ฝน ความสามารถและเป็นเชงิ การแขง่ ขนั ท่ีทุกคนต้องใช้ความสามารถและสติปญั ญา สานักพฒั นาการพลศึกษา สขุ ภาพ และนนั ทนาการ กรมพลศกึ ษา (มปป.) ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชนข์ องเกมไวว้ า่ 1. ทาให้ไดร้ ับความสนุกสนานรา่ เริง ผ่อนคลายอารมณท์ ี่ตึงเครียด 2. ทาให้ทกุ คนไดร้ ่วมกจิ กรรมทางกายเพอ่ื สร้างพน้ื ฐานทักษะทางกฬี าและ สมรรถภาพทางกายก่อนเข้ารว่ มกิจกรรมกีฬาประเภทอื่น ๆ ต่อไป 3. ช่วยส่งเสริมให้ทกุ คนได้เรยี นรถู้ งึ วิธีการทางานและเล่นร่วมกับคนอืน่ ปฏิบัติ ตามระเบียบและรู้จักใช้ความคิดด้วยตนเอง 4. เปน็ การสรา้ งความสมั พันธท์ ดี่ ี ระหว่างหมู่คณะ กล่าวโดยสรุปว่า ความสาคัญและประโยชน์ของเกม โดยหลัก ๆ เล่นเพ่ือเป็นการใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เล่นแล้วทาให้ผู้เล่นมีความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตึงเครียด พร้อมจะเรียนรู้และได้ทักษะอื่น ๆ เพิ่มขึ้นจากการได้เข้าร่วมเล่นเกม เช่น ทักษะทางด้าน ร่างกาย สติปัญญาและสังคม ซึ่งเกิดขึ้นได้จากการเรียนรู้ การฝึกฝน การท่ีทากิจกรรมร่วมกับ ผอู้ นื่ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเคลื่อนไหว ทักษะ การฟงั พดู อา่ น เขยี น การคิด คานวณ หรือทักษะทางสังคม เปน็ ต้น ความสาคัญและประโยชน์ของเกมจาแนกตามประเภทของเกม กิติพงษ์ เทียนตระกูล (2533) ได้กล่าวถงึ ประโยชนข์ องเกมนาไปสกู่ ฬี า เปน็ ข้อๆ ดงั นี้ 1. ทาใหเ้ ด็กเรยี นรู้ทกั ษะการเลน่ กีฬาท่เี รว็ ข้ึน 2. ทาใหเ้ ดก็ สนใจท่จี ะเลน่ กฬี ามากข้นึ 3. ชว่ ยแก้ไขทักษะการเล่นกฬี าท่ีไมส่ มบรู ณ์ 4. ชว่ ยเพิ่มพูนทกั ษะเบอ้ื งต้นของกฬี าต่าง ๆ 5. ทาให้เด็กมีความร้คู วามเขา้ ใจ กฎ กตกิ า และวิธกี ารเล่นกีฬาใหญ่ประเภททีมมากยง่ิ ขึน้ 6. ทา้ ทายให้เดก็ อยากจะเลน่ กีฬาที่ยากและมีความสลับซับซอ้ น 7. เดก็ ไดฝ้ ึกทกั ษะการเลน่ เปน็ กล่มุ ก่อนทจี่ ะไปเลน่ เปน็ ทมี ในกฬี าใหญ่

27 8. เด็กจะให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เพราะเกมนาไปสู่กีฬา ทาให้การจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนสนุกและน่าสนใจ 9. สนองความแตกต่างของเด็กแต่ละคน เพราะได้เปิดโอกาสให้เด็กท่ีไม่มีทักษะได้ เลน่ เกมนาไปสู่กีฬาท่เี ป็นทักษะเบอื้ งต้นของกฬี าท่ยี าก สชุ าติ ทวีพรปฐมกลุ (2547) ได้กล่าวถึงประโยชนข์ องเกมจาแนกตามประเภทของเกม มดี งั น้ี 1. เกมการเล่นเป็นนยิ าย (Story Play) 1.1 เพอ่ื ให้เด็กไดอ้ อกกาลังกาย 1.2 เพื่อปลูกฝังความคิดสร้างสรรค์ในการมโนภาพหรือทาท่าต่าง ๆ ตาม เนื้อเรอ่ื งในนยิ าย 1.3 เพอ่ื ฝกึ ใหเ้ ด็กได้มสี ว่ นร่วมและการแสดงออกต่อบุคคลอ่ืน ๆ 2. เกมการเลน่ เลยี นแบบ (Mismetics) 2.1 เพ่ือให้เด็กได้ฝึกการแสดงออกถึงท่าทาง ลักษณะอาการของสิ่งท่ี ตนเองเลียนแบบ 2.2 เพื่อปลูกฝังใหเ้ ดก็ รจู้ ักสงั เกตส่งิ แวดลอ้ มตัวเอง 3. เกมเบ็ดเตล็ด (Low Organizer Games) 3.1 เพ่ือพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวแบบง่ายๆ เช่น กระโดด เดินวิ่ง เหวี่ยง ท่มุ ปา ฯลฯ 3.2 เพอ่ื ฝกึ พน้ื ฐานของทกั ษะพ้นื ฐานของกฬี าประเภทต่าง ๆ 4. เกมการเล่นทีส่ ่งเสรมิ สมรรถภาพตวั เอง (Self-Testing Activities) 4.1 เพื่อให้เกดิ สมรรถภาพทางกายทด่ี ตี อ่ ผู้รว่ มเลน่ 4.2 เพ่ือสง่ เสริมใหเ้ กิดความเช่อื มน่ั และการตัดสนิ ใจท่ดี ี 4.3 เพือ่ ส่งเสรมิ ความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว 5. เกมนาไปส่กู ฬี าใหญ่ (Lead-up Games) 5.1 เพื่อฝกึ ทกั ษะเบอื้ งต้นของทักษะกีฬาต่างๆ เชน่ การจับ การทรงตัว การยิงประตู ฯลฯ เพอ่ื นาไปสูท่ ักษะของกฬี าพื้นฐาน 6. เกมเล่นทม่ี กี ารเคลอื่ นไหว และเกมประกอบเพลง (Motionsong and Singing Games) 6.1 เพื่อฝึกทักษะการเคลื่อนไหวแบบง่าย ๆ ให้เกิดความสัมพันธ์กัน เช่น ว่ิงสลบั เท้า ควบม้า ฯลฯ 6.2 เพื่อฝกึ ทกั ษะการเคลื่อนไหวใหเ้ ขา้ กับจังหวะเพลง

28 7. เกมประเภ ทผลัด เปล่ียน (Relay Games) 7.1 ฝกึ ให้รจู้ กั กฎ ระเบียบ กติกา 7.2 ฝกึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล 8. เกมธรุ กจิ (Commercial Games) 8.1 เพือ่ ใหเ้ กิดความสนุกสนานและเกิดประโยชน์ในเชิงธุรกจิ 9. เกมกลมุ่ สมั พันธ์ 9.1 เพือ่ พฒั นาการบริหารงาน การจัดการขององค์กร 9.2 เพือ่ ฝกึ ทบทวนการทางานเป็นกลมุ่ 9.3 เพือ่ ฝกึ ถงึ บทบาทของแตล่ ะคนในการพัฒนาองค์กร 10. เกมนันทนาการ (Recreation Games) 10.1 เพื่อใหเ้ กดิ ความสนกุ สนานเพลิดเพลิน 10.2 เพ่ือใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ เทพประสิทธิ์ กลุ ธวชั วิชัย (2556) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของกจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ ดงั น้ี 1. เพื่อสร้างความคุ้นเคยและสนิทสนมในกลุ่มสมาชิก กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ สามารถดาเนินการได้หลายรปู แบบทั้งเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ 2. เพ่อื สง่ เสริมใหบ้ คุ คลกล้าท่ีจะแสดงความคิดเห็นและแสดงออก 3. เพ่ือแลกเปลยี่ นความคิดเห็นซ่ึงกนั และกันตลอด จนไดร้ บั ความรใู้ หมเ่ พม่ิ เตมิ 4. เพ่ือส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และใช้ความสามารถวิเคราะห์การเลือก แนวทางการแก้ปญั หา 5. เพอ่ื ใหร้ จู้ กั การใช้ชวี ิตร่วมกบั ผ้อู ่ืนในการทางานได้ดขี ้นึ 6. เพือ่ ให้รู้จักการทางานรว่ มกนั ในลักษณะเปน็ ทมี งาน 7. เพอ่ื ให้รจู้ กั ลักษณะของบคุ คลท่ัวไป โดยเฉพาะความแตกตา่ งของแต่ละบุคคล 8. เพ่ือใช้เป็นกจิ กรรมในการจัดอบรมหรอื ประชมุ สมั มนา 9. สามารถดัดแปลงกิจกรรมให้เหมาะกับสถานท่ี อุปกรณ์ จานวนคน และตาม วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะดา้ น ทศิ นา แขมมณี (2560) ได้กลา่ วถงึ ขอ้ ดแี ละข้อจากัดของวิธีการสอน โดยใชเ้ กม ไว้ดงั นี้ 1. ขอ้ ดี 1.1 เปน็ วธิ สี อนท่ีช่วยใหผ้ ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนรสู้ ูง ผเู้ รียนได้รบั ความสนุกสนานและเกิดการเรียนรูจ้ ากการเลน่

29 1.2 เป็นวธิ ีสอนที่ช่วยให้ ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ โดยการเหน็ ประจกั ษแ์ จ้ง ดว้ ยตนเอง ทาให้การเรียนรู้นั้น มีความหมายและอยูค่ งทน 1.3 เป็นวธิ ีสอนทผี่ สู้ อนไม่เหน่อื ยแรงมาก และผู้เรียนชอบ 2. ขอ้ จากดั 2.1 เป็นวธิ สี อนที่ใชเ้ วลามาก 2.2 เป็นวธิ ีสอนท่ีมีค่าใชจ้ า่ ย เนอื่ งจากเกมบางเกมต้องซ้อื หาอปุ กรณ์มา โดยเฉพาะ เช่น เกมจาลองสถานการณ์ เนือ่ งจากการเลน่ เกมส่วนใหญ่ ผู้เรียนทกุ คนต้องมวี ัสดุอปุ กรณ์ในการเล่นเฉพาะตน 2.3 เปน็ วธิ สี อนทขี่ ้ึนกบั ความสามารถของผู้สอน ผู้สอนจาเป็นตอ้ งมี ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการสรา้ งเกมจึงจะสามารถสอนได้ 2.4 เปน็ วิธสี อนทตี่ อ้ งอาศัยการเตรยี มการมาก เกมเพอ่ื การฝึกทักษะแม้จะ ไม่ยุ่งยากซับซ้อนนกั แต่ผ้สู อนจาเป็นตอ้ งจดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ใน การเลน่ ใหผ้ เู้ รียนจานวนมาก เกมการศึกษา และเกมจาลอง สถานการณ์ผูส้ อนจาเป็นตอ้ งศึกษาและทดลองใช้จนเข้าใจ ซึง่ ตอ้ ง อาศยั เวลามากโดยเฉพาะเกมท่มี คี วามซบั ซ้อนมากและผ้เู ล่นจานวน มากยงิ่ ต้องใชเ้ วลามากขึ้นอกี 2.5 เปน็ วิธีสอนที่ผู้สอนต้องมีทักษะในการนา การอภปิ รายท่มี ีประสิทธิภาพ จงึ จะสามารถช่วยให้ผ้เู รียนประมวลและสรุปการเรียนรู้ได้ตาม วตั ถุประสงค์ กล่าวโดยสรุป ความสาคัญ และประโยชน์ของเกมจาแนกตามประเภทของเกม เป็น รายละเอียดข้อมูลที่ผู้จัดกิจกรรมเกมและผู้เล่นเกมต้องคานึงถึง เพ่ือจะได้จัดกิจกรรมเกมให้ เป็นไปตามเป้าหมายเฉพาะเจาะจงของแต่ละเกม และเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เข้าร่วม กิจกรรม

30 บทสรปุ ความสาคัญและประโยชน์ของเกมเป็นสาระสาคัญของการวางแผนในการจัดกิจกรรมเกม เพื่อให้ผู้จัดกิจกรรมได้วางเป้าหมายในการคิดเกมและดาเนินการจัดกิจกรรมได้ถูกต้อง โดยเป็น องค์ประกอบส่วนหน่งึ ของการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ดว้ ย ทั้งน้ีผูเ้ ขยี นขอสรุปความสาคญั และ ประโยชน์ของเกม ดังนี้ ประเภทของเกม ความสาคัญและประโยชน์ของเกม เกมทวั่ ไป เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ผู้เล่นมีความสนุกสนานท่ีได้เล่น เล่นแล้วผ่อนคลายความตึงเครียด ได้ทักษะอ่ืน ๆ เพ่ิมข้ึน เช่น ทักษะ ทางด้านร่างกาย สติปัญญาและสังคม ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเคล่ือนไหว ทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียน การคิดคานวณ หรอื ทกั ษะทางสังคม เปน็ ต้น เกมกลุม่ สมั พันธ์ ทาให้เกดิ ความคนุ้ เคยและสนิทสนมในกลุ่มสมาชิก และมีส่วนในการ พฒั นางานในระบบบรหิ ารงานบุคคลการจดั การขององค์กร เกมเบ็ดเตล็ด ทาให้ผู้เล่นมีทักษะการเคล่ือนไหวแบบง่าย ๆ เช่น กระโดด เดนิ วงิ่ เหวย่ี ง ทมุ่ ปา ฯลฯ เกมเลยี นแบบ ปลูกฝงั ความคดิ สรา้ งสรรค์ในการมโนภาพหรอื ทาท่าต่าง ๆ ตามเนื้อเรอ่ื ง ใหเ้ ด็กไดฝ้ ึกการสงั เกตและแสดงออกถึงท่าทาง ลักษณะอาการของส่ิง ทีต่ นเอง เกมประกอบเพลง ได้ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบง่าย ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความสัมพันธก์ นั เช่น เดิน ว่ิง ก้าว กระโดด ควบมา้ ฯลฯ รวมถงึ ทักษะการเคลื่อนไหวให้ เขา้ กบั จังหวะเพลง เกมนาไปสู่การเล่นกฬี า ไดท้ กั ษะการเคลื่อนไหวท่ีเป็นพ้นื ฐานของทักษะของกฬี าประเภทต่าง ๆ เกมเสริมสรา้ ง ผูร้ ว่ มกจิ กรรมเกิดทัศนคติทีด่ ีตอ่ การฝกึ และมสี มรรถภาพทางกายท่ดี ี สมรรถภาพทางกาย ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความเชื่อม่ันและการตัดสนิ ใจท่ดี ใี นอนาคต เกมนันทนาการ ช่วยใหผ้ ้เู ลน่ ได้รับความสนุกสนาน เน้นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ อาจรวมถึงพฒั นาเรอื่ งสุขภาพ พัฒนามนษุ ยสมั พนั ธ์ และพัฒนา บคุ ลกิ ภาพ เกมทางน้า มคี วามผ่อนคลายและมคี วามสขุ และได้คุ้นเคยกบั น้าดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ เพื่อเพิ่มความมนั่ ใจเมอ่ื อยู่ในสถานการณต์ กนา้

31 คาถามทา้ ยบท ให้จดั กลมุ่ ความสาคัญและประโยชนข์ องเกม ท้งั 8 ประเภทเกมที่สอดคลอ้ งกัน และแสดงความ คดิ เหน็ ว่าเป็นเพราะเหตุใดจึงอยู่กลุ่มเดยี วกนั 1. เกมกลุม่ สมั พนั ธ์ 2. เกมเบ็ดเตล็ด 3. เกมเลียนแบบ 4. เกมประกอบเพลง 5. เกมนาไปสู่การเล่นกีฬา 6. เกมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย 7. เกมนันทนาการ 8. เกมทางน้า .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

32 รายการอ้างอิง ภาษาไทย กิติพงษ์ เทียนตระกูล. (2533). เกมนำไปสู่กีฬำ. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. (อัดสาเนา). ทิศนา แขมมณี. (2545). ศำสตรกำรสอน: องค์ควำมรู้เพื่อกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภำพ. พิมพ์คร้ังท2่ี . กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เทพประสิทธ์ กุลธวัชวิชัย. (2556). กำรนันทนำกำร. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์ (2548). เกมสพ์ ลศึกษำ. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพแ์ ห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. พัฒนาการพลศึกษาสุขภาพและนันทนาการ, สานัก. (ม.ป.ป.). ผู้นำนันทนำกำรและกำรออกกำลังกำย. (อัดสาเนา) สมบตั ิ กาญจนกิจ.(2535). นนั ทนำกำรชมุ ชนและโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล. (2547). เทคนิคและทักษะเกมมูลฐำน. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ภาษาองั กฤษ DarshilPipalia. (2019). What is the importance of games and sports? Retrieved April, 18, 2019, from: https://www.quora.com/What-is-the-importance-of- games-and-sports. WeisKopf, D.C.(1978). A guide to recreation and Leisure. Boston: Allyn and Bacon.

33 บทที่ 3 การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้เรอ่ื งเกม บทนา แผนการจัดการเรียนรู้เป็นคาท่ีนามาใช้แทนคาว่า แผนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 โดยผู้สอนจัดกิจกรรมท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้สอดคล้องกับ เป้าหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 22 ที่กล่าวไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความ สามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนสาคัญท่ีสุด การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้คล้ายกับ การเขยี นเพือ่ วางแนวทางไปสู่จดุ ประสงค์ของการสอน ถ้ากิจกรรมการเรยี นการสอนเริม่ ไม่พาไปสู่ จุดประสงค์ แผนการจัดการเรียนรู้จะช่วยให้กลับมาสู่สิ่งท่ีต้องการได้ ดังน้ันการสอนโดยขาด แผนการจัดการเรียนรู้จึงเป็นส่ิงท่ีไม่ควรทา ผู้สอนจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องเขียนแผนการจัดการ เรียนรู้เพื่อนาไปสู่เป้าหมาย (Ryan, 2011) ซ่ึงการศึกษายุคใหม่ Next Generation Education ต้องเน้นให้ผู้เรียนแสวงหา เรียนรู้ได้เอง อย่างท้าทาย สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ต่อยอดความรู้เดิม คิดและประยุกต์ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ได้ เหมาะกับตนเอง สังคมตามสถานการณ์ (ไพฑูรย์ สินลารตั น์ และคณะ, 2560) การเรียนการสอนพลศึกษาเป็นสาระหน่ึงท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงการท่ีจะจัดการศึกษาสาระพลศึกษาให้ได้ คุณภาพและประสิทธิภาพท่ีดีนั้น นิสิตครูผู้ที่จะต้องไปเป็นครูผู้สอนพลศึกษาจะต้องวางแผน เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และสอนพร้อมทั้งจัดกิจกรรมตามแผนที่ได้กาหนด เพ่ือให้งานมี ประสิทธิภาพและนักเรยี นไดร้ บั ความรู้ มคี วามเข้าใจและนาไปปฏิบัตไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง หลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้องกบั การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีจะต้องประกอบไปด้วยส่วนสาคัญอย่างน้อย 3 ส่วนรวมเรียกว่า “ไตรยางค์สอน” โดยเรียกย่อ ๆ ว่า“OLE” ได้แก่ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives = O) กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning and teaching activities = L) และการประเมินผล (Evaluation = E) ซง่ึ ทั้ง 3 สว่ นจะต่อเนอ่ื งเปน็ วงจรการเรียนการสอน แสดงเป็นวงจรไว้ดังภาพ (ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น,์ 2526)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook