Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคม 64

หลักสูตรสังคม 64

Published by rananglankampom, 2021-09-10 07:28:30

Description: หลักสูตรสังคม 64

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนมุกดาหาร โรงเรียนมุกดาหาร สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา มุกดาหาร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้มคี าส่งั ใหใ้ ชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ใน โรงเรียนตน้ แบบและโรงเรียนที่มีความพรอ้ มในการใช้หลกั สูตรในปีการศึกษา 2552 และใช้ในโรงเรยี นท่วั ประเทศ ในปกี ารศึกษา 2553 โรงเรียนมกุ ดาหารเปน็ หนง่ึ ในโรงเรียนท่มี ีความพรอ้ มในการใช้หลักสูตร ไดเ้ รม่ิ ใช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ต้งั แตป่ ีการศึกษา 2552 ซึ่งทางโรงเรยี น ได้ ดาเนินการจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษาฉบับแรกเสร็จเรียบร้อย และนาไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ตลอดมา จากผลการดาเนินงานพบว่า หลักสตู รบางสว่ นยงั มีความบกพร่องไม่สมบรู ณ์ และและสานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ไดด้ าเนนิ การจดั ทาสาระภมู ิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 พร้อมทง้ั จดั ทาสาระการเรยี นรู้แกนกลางของกลุ่มสาระการเรยี นรู้และสาระดังกลา่ วในแต่ละระดับชั้น ขน้ึ มาใหม่ ทางโรงเรียนจึงได้ทาการปรบั ปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2564) ฉบบั นีข้ น้ึ มาใหม่ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาและสง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รยี นได้บรรลคุ ณุ ภาพตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ ขอขอบคุณท่านผู้อานวยการ และคณะบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ครผู สู้ อน และผทู้ ่ี มีส่วนเกยี่ วขอ้ งทุกท่าน ท่ีมีสว่ นรว่ มในการจัดทาหลักสตู ร ฉบับน้ี ซ่งึ จะเป็นประโยชนใ์ นการจัดการเรียนรู้ให้ เกิดประสทิ ธภิ าพประสทิ ธิผลตอ่ ไป กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หลักสูตรสถานศึกษากลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2564) ความนา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 ให้เป็นหลักสตู ร แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เปูาหมายและกรอบทศิ ทางในการ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี แี ละมีขดี ความสามารถในการแขง่ ขันในเวที ระดบั โลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พรอ้ มกันนีไ้ ด้ปรับกระบวนการ พฒั นาหลกั สตู รใหม้ ีความสอดคลอ้ ง กบั เจตนารมณ์แหง่ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ทม่ี ุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศกึ ษาใหท้ ้องถน่ิ และสถานศึกษาไดม้ ีบทบาทและมสี ่วนรว่ มในการ พฒั นาหลักสตู ร เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542) จากการวจิ ยั และตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้หลักสตู รในชว่ งระยะ 6 ปีท่ผี า่ นมา (สานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา,2547; สานกั ผ้ตู รวจราชการและตดิ ตามประเมินผล, 2548; สุวมิ ล ว่องวาณิช และ นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittisunthorn, 2003) พบว่า หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มจี ุดดี หลายประการ เช่น ชว่ ยส่งเสรมิ การกระจายอานาจทางการศึกษาทาใหท้ ้องถนิ่ และสถานศึกษามสี ว่ นร่วม และมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของทอ้ งถิ่น และมีแนวคดิ และ หลกั การในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรยี นแบบองค์รวมอยา่ งชดั เจน อยา่ งไรก็ตาม ผลการศกึ ษาดงั กล่าว ยัง ได้สะท้อนให้เหน็ ถงึ ประเด็นที่เปน็ ปญั หาและความไมช่ ัดเจนของหลักสตู รหลายประการทัง้ ในสว่ นของเอกสาร หลักสูตร กระบวนการนาหลักสตู รสู่การปฏบิ ตั ิ และผลผลิตท่ีเกดิ จากการใชห้ ลักสูตร ไดแ้ ก่ ปัญหาความ สบั สนของผู้ปฏบิ ัตใิ นระดบั สถานศกึ ษาในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา สถานศึกษาสว่ นใหญก่ าหนดสาระ และผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวังไวม้ าก ทาให้เกิดปญั หาหลกั สูตรแนน่ การวดั และประเมนิ ผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลตอ่ ปญั หาการจัดทาเอกสารหลกั ฐานทางการศกึ ษาและการเทียบโอนผลการเรยี น รวมท้ังปญั หาคุณภาพ ของผเู้ รยี นในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์อันยังไม่เปน็ ท่นี า่ พอใจ นอกจากน้ันแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554 ) ได้ ช้ีให้เห็นถงึ ความจาเป็นในการปรบั เปลีย่ นจดุ เน้นในการพัฒนาคณุ ภาพคนในสงั คมไทย ให้มีคณุ ธรรม และมี ความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งดา้ นร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถกา้ วทนั การเปล่ียนแปลงเพือ่ นาไปสสู่ งั คมฐานความรู้ได้อย่างมน่ั คง แนวการพฒั นาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและ เยาวชนใหม้ ีพ้ืนฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมสี มรรถนะทกั ษะและความรู้พนื้ ฐานทจี่ าเปน็ ใน การดารงชีวิต อันจะสง่ ผลต่อการพฒั นาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, 2549) ซึ่งแนวทางดงั กลา่ วสอดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สู่โลกยุค ศตวรรษที่ 21 โดยม่งุ สง่ เสริมผเู้ รยี น มีคุณธรรม รักความเปน็ ไทย ให้มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์

มที ักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผอู้ ่ืน และสามารถอยูร่ ว่ มกับผอู้ นื่ ในสังคมโลกไดอ้ ย่างสันติ (กระทรวง ศึกษาธกิ าร, 2551) จากข้อคน้ พบในการศกึ ษาวจิ ยั และติดตามผลการใช้หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 ทผ่ี ่านมาประกอบกับข้อมลู จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 เกี่ยวกบั แนวทางการพัฒนา คนในสังคมไทย และจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการในการพฒั นาเยาวชนสศู่ ตวรรษที่ 21 จึงเกดิ การทบทวนหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เพ่ือนาไปสู่การพฒั นาหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทีม่ ีความเหมาะสม ชดั เจน ท้งั เปาู หมายของหลักสตู ร ในการ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมพัฒนาประเทศพื้นฐานในการดารงชวี ิต การพัฒนาสมรรถนะ และทักและกระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การปฏิบตั ิในระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการ กาหนดวสิ ัยทัศน์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ช้ีวัด ทีช่ ดั เจน เพอ่ื ใช้เปน็ ทศิ ทางในการจัดทาหลกั สูตร การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั นอกจากน้ัน ไดก้ าหนดโครงสร้างเวลาเรยี นขั้นต่าของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรใู้ นแต่ละช้ันปีไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง และ เปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรยี นไดต้ ามความพร้อมและจดุ เนน้ อีกทั้งไดป้ รบั กระบวนการวดั และ ประเมินผลผเู้ รียน เกณฑ์การจบการศกึ ษาแตล่ ะระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมคี วามชดั เจนต่อการนาไปปฏิบัติ วสิ ัยทศั นห์ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นทุกคน ซ่งึ เป็นกาลงั ของชาติใหเ้ ปน็ มนุษย์ท่ี มีความสมดลุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มั่น ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมทั้งเจตคติทจ่ี าเป็นตอ่ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผเู้ รียนเป็นสาคัญบนพนื้ ฐานความเชอื่ วา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มศักยภาพ

วสิ ยั ทัศน์โรงเรยี น บรหิ ารจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ พัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลศิ เทียบเคยี ง มาตรฐานสากลมคี ุณธรรม จริยธรรมและดารงชวี ติ อยู่ในสงั คมโลกอยา่ งมีความสุข หลักการ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นมุกดาหาร พุทธศักราช 2553 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มีหลกั การที่สาคัญ ดังน้ี 1. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีมีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาผเู้ รยี นให้ มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพน้ื ฐาน ของความเป็นไทยควบคูก่ บั ความเปน็ สากล 2. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษา ท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ใหส้ ังคมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่ 4. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาท่ีมีโครงสรา้ งยืดหยนุ่ ทัง้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้ 5. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 6. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาสาหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทกุ กลุ่มเปาู หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนมุกดาหาร พุทธศักราช 2553 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มปี ัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพใน การศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพือ่ ให้เกดิ กับผ้เู รยี น เมอื่ จบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ดังน้ี 1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ัยและปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยีและมที ักษะชวี ติ 3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี มีสขุ นสิ ัย และรกั การออกกาลังกาย 4. มคี วามรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี ีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข 5. มจี ิตสานกึ ในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิง่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนมุกดาหาร พุทธศักราช 2553 ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุง่ เนน้ พัฒนาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน ท่กี าหนด ซง่ึ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการส่อื สาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพื่อขจดั และลด ปญั หาความขดั แย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รบั ข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลือกใชว้ ธิ กี ารสื่อสาร ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ ท่เี ผชญิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ า่ งๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรูม้ าใชใ้ นการปูองกนั และแก้ไข ปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการ ดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปญั หาและความขัดแยง้ ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการร้จู ักหลีกเลย่ี งพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ สี่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่างๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมุกดาหาร พุทธศักราช 2553 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนใน สังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซือ่ สัตย์สุจริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝุเรียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. มุง่ มั่นในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ นโยบายโรงเรยี นมุกดาหาร 1. ดา้ นพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล 1.1 พฒั นาการจัดแผนการเรียนตามหลักสตู ร ให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รมาตรฐานสากล และความ สนใจความสามารถและความถนดั ของนักเรยี น 1.2. พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรู้ โดยนานวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษามาใชใ้ ห้ สอดคล้องกับจุดหมายของหลักสตู ร 1.3. ส่งเสริมและสนับสนุนการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละสง่ เสรมิ การเรียนอยา่ ง น้อย 2 ภาษา 1.4 ส่งเสริมสขุ ภาพอนามัย ดนตรี กีฬา 1.5 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ กั เรียนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตย มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มวี นิ ัย และสามารถดารงชีวติ อยูใ่ นสงั คมโลกอย่างมคี วามสขุ 1.6. ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นได้เรียนร้เู กย่ี วกบั ประชาธิปไตยท้ังทางดา้ นทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ รวมท้ังมีส่วน ร่วมในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมุข 2. ดา้ นเครือขา่ ยความร่วมมือและพฒั นาระบบบริหารการจดั การด้วยระบบคุณภาพ 2.1 พฒั นาภมู ทิ ัศนแ์ ละแหล่งเรียนรใู้ หเ้ อ้ือต่อการจดั การเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น 2.2 พัฒนาการบรหิ ารงานด้วยระบบคณุ ภาพทุกดา้ นใหเ้ อ้อื อานวยต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล 2.3 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาเพอื่ ให้เทียบเคยี ง มาตรฐานสากล 2.4 พฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และงานประชาสมั พนั ธ์

3. ด้านพฒั นาบคุ ลากรให้มีประสิทธภิ าพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล 3.1. สนับสนุนและสง่ เสรมิ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตามเกณฑ์โรงเรยี น มาตรฐานสากล 3.2 สง่ เสรมิ สรา้ งขวัญกาลังใจแกค่ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏบิ ัติงาน 4. ด้านพัฒนาความสมั พันธ์ระหวา่ งโรงเรยี นกับชมุ ชน 4.1 สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี น บ้าน และชุมชน ปลกู ฝังใหน้ ักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ และดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมโลกอย่างมีความสุข 4.2 สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมกบั ชุมชน เพื่อให้นกั เรียนมคี ุณลักษณะที่พึงประสงค์ รู้ และรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณี อนุรักษ์ เผยแพร่ และสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย นโยบายเร่งรดั โรงเรียนมกุ ดาหาร ปกี ารศกึ ษา 2556 1. ดา้ นพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนสู่ประชาคมอาเซยี น เทียบเคียงมาตรฐานสากล 1.1 สง่ เสริมการจัดแผนการเรยี นตามหลกั สตู ร ใหส้ อดคล้องกับหลักสตู รประชาคมอาเซียน และ มาตรฐานสากล ตามความสนใจ ความสามารถและความถนดั ของนักเรียน 1.2 สง่ เสริมการจัดกระบวนการจัดการเรยี นรู้ โดยนานวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษามาใช้ ใหส้ อดคล้องกบั จุดม่งุ หมายของหลักสูตรท่ีสอดคล้องกบั หลักสตู รประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล 1.3 สนับสนนุ กระบวนการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน สูงข้นึ เทยี บเคียงมาตรฐานสากล 1.4 ปรับกระบวนการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกบั ศักยภาพของผู้เรียน 1.5 แก้ไขสง่ เสริมให้นกั เรยี นมีนสิ ยั รักการอา่ น และแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ สอ่ื ตา่ ง ๆ รอบตัว เทยี บเคียงมาตรฐานสากล 2. ด้านเครอื ขา่ ยความร่วมมอื และพฒั นาระบบบรหิ ารการจดั การด้วยระบบคุณภาพ 2.1 พัฒนาการจัดกระบวนการการเรียนการสอน เพอื่ รองรับการประเมนิ ระดับชาติ 2.2 พฒั นาการบรกิ าร และสนบั สนุนทรัพยากรทางการศึกษาให้เอือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ 3. ดา้ นพฒั นาบคุ ลากรให้มปี ระสิทธิภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล 3.1 สง่ เสริมใหค้ รูมกี ารกาหนดเปูาหมายคุณภาพผ้เู รียนท้งั ทางดา้ นความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะและคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 3.2 นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านและการจัดการเรียนการสอนของครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง ใหไ้ ด้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.3 สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การพฒั นาผลงานทางวิชาการของครูเพ่ือพัฒนาวิชาการและเลือ่ นวิทยฐานะ

4. ดา้ นพฒั นาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโรงเรียนกับชมุ ชน 4.1 ส่งเสริมให้ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา 4.2 โรงเรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการบรกิ ารชมุ ชนในทุก ๆ ดา้ น 4.3 สง่ เสรมิ การแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหวา่ งสถานศึกษา ครอบครัว ชมุ ชน และองค์กร ท่ีเก่ียวขอ้ ง

กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทาไมตอ้ งเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ช่วยใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ วา่ มนษุ ย์ดารงชวี ติ อย่างไร ทัง้ ในฐานะปจั เจกบคุ คล และการอยู่ รว่ มกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรทมี่ ีอยูอ่ ยา่ งจากัด นอกจากนี้ ยงั ช่วยให้ ผู้เรยี นเขา้ ใจถงึ การพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตปุ จั จยั ตา่ งๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน ตนเองและผอู้ น่ื มีความอดทน อดกลน้ั ยอมรบั ในความแตกตา่ ง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ ในการดาเนนิ ชวี ิต เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เรยี นรูอ้ ะไรในสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมวา่ ดว้ ยการอยู่ร่วมกันในสงั คม ที่มคี วามเช่อื ม สมั พนั ธก์ ัน และมคี วามแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย เพอ่ื ช่วยใหส้ ามารถปรับตนเองกบั บริบทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมืองดี มคี วามรบั ผดิ ชอบ มคี วามรู้ ทกั ษะ คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังน้ี ● ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม แนวคดิ พื้นฐานเกยี่ วกบั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของ พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพฒั นาตนเอง และการอยู่ รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ุข เป็นผกู้ ระทาความดี มีคา่ นิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยเู่ สมอ รวมทัง้ บาเพ็ญประโยชน์ต่อ สงั คมและส่วนรวม ● หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจบุ นั การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ลักษณะและความสาคัญ การเปน็ พลเมือง ดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม คา่ นยิ ม ความเชอื่ ปลกู ฝังคา่ นิยมด้านประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชวี ติ อย่างสนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทยและสงั คมโลก ● เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบรโิ ภคสนิ คา้ และบริการ การบริหารจดั การ ทรพั ยากรท่ีมีอยู่อย่างจากดั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การดารงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ และการนาหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวิตประจาวัน ● ประวัตศิ าสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนษุ ยชาติจากอดีตถงึ ปจั จุบนั ความสมั พันธ์และเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตกุ ารณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคญั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการเปล่ียนแปลงตา่ งๆในอดตี ความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมท่ีสาคัญของโลก ● ภมู ิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร และภูมอิ ากาศ ของประเทศไทย และภูมภิ าคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ความสมั พันธ์กนั ของส่ิง

ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พนั ธข์ องมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งทม่ี นษุ ยส์ ร้างข้ึน การ นาเสนอข้อมูลภูมสิ ารสนเทศ การอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาทีย่ ่ังยนื คุณภาพผู้เรยี น จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ● มีความรูเ้ กย่ี วกบั ความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกบั ประเทศใน ภมู ิภาคต่างๆในโลก เพ่ือพฒั นาแนวคิด เรอ่ื งการอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข ● มีทักษะท่จี าเป็นต่อการเป็นนักคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ได้รบั การพฒั นาแนวคดิ และขยาย ประสบการณ์ เปรียบเทยี บระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศในภมู ิภาคต่างๆ ในโลก ไดแ้ ก่ เอเชีย โอเชยี เนยี แอฟริกา ยโุ รป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม ความเช่อื ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง ประวตั ิศาสตรแ์ ละภูมิศาสตร์ ดว้ ยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ● รูแ้ ละเขา้ ใจแนวคิดและวิเคราะหเ์ หตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใชเ้ ปน็ ประโยชน์ในการดาเนิน ชีวติ และวางแผนการดาเนินงานไดอ้ ย่างเหมาะสม จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ● มีความรู้เกย่ี วกบั ความเปน็ ไปของโลกอย่างกว้างขวางและลกึ ซงึ้ ยิง่ ข้ึน ● เปน็ พลเมืองที่ดี มคี ุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ติ ามหลักธรรมของศาสนาทตี่ นนับถอื รวมท้ังมี คา่ นยิ มอนั พึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่ และอยใู่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข รวมทัง้ มีศกั ยภาพเพ่ือ การศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้ ● มคี วามรูเ้ รื่องภมู ิปญั ญาไทย ความภูมใิ จในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทยยดึ มน่ั ในวถิ ี ชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ● มนี สิ ัยทีด่ ีในการบรโิ ภค เลือกและตัดสนิ ใจบรโิ ภคได้อย่างเหมาะสมมจี ิตสานึก และมีส่วนรว่ มใน การอนรุ ักษ์ ประเพณวี ฒั นธรรมไทย และส่ิงแวดลอ้ ม มีความรักท้องถ่ินและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และ สรา้ งส่งิ ท่ดี งี ามให้กบั สังคม ● มคี วามรูค้ วามสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้ จากแหลง่ การเรยี นรูต้ ่างๆในสังคมได้ตลอดชวี ิต

สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาท่ตี นนับถือและศาสนาอืน่ มศี รัทธาที่ถูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏิบตั ิตาม หลักธรรมเพือ่ อยรู่ ่วมกันอยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏิบัตติ นเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ สาระท่ี 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ัติตนตามหน้าทขี่ องการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นยิ มท่ีดงี าม และธารง รกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอย่รู ่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลก อยา่ งสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยึดมัน่ ศรทั ธา และธารงรกั ษา ไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรที่มีอยู่จากดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทัง้ เขา้ ใจหลกั การของ เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ การดารงชีวิตอย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ และความ จาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้ วิธกี ารทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสมั พันธ์ และ การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มคี วามรกั ความภมู ใิ จ และธารงความเปน็ ไทย

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธ์ของสรรพส่ิงซง่ึ มผี ลตอ่ กัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรปุ และใชข้ ้อมลู ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทกี่ ่อใหเ้ กิดการ สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม มจี ติ สานกึ และมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรและ ส่ิงแวดล้อมเพื่อการพฒั นาท่ยี ั่งยนื

มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 ร้แู ละเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธ ศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือและศาสนาอ่นื มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ิ ตามหลักธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ตสิ ุข ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ♦ การสงั คายนา ตนนับถือส่ปู ระเทศไทย ♦ การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศไทย 2. วิเคราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรือ ♦ ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทยในฐานะเป็น ศาสนาทตี่ นนบั ถอื ทม่ี ตี ่อสภาพแวดลอ้ มใน ◊ ศาสนาประจาชาติ สังคมไทยรวมทงั้ การพัฒนาตนและครอบครัว ◊ สถาบนั หลกั ของสังคมไทย ◊ สภาพแวดล้อมท่ีกวา้ งขวาง และครอบคลุมสงั คมไทย ◊ การพัฒนาตนและครอบครวั 3. วิเคราะหพ์ ทุ ธประวัตติ ัง้ แต่ประสูติ จนถึง ♦ สรุปและวิเคราะห์ พทุ ธประวตั ิ บาเพญ็ ทกุ รกิรยิ า หรอื ประวัตศิ าสดาที่ตนนับถอื ◊ ประสูติ ตามทีก่ าหนด ◊ เทวทตู 4 ◊ การแสวงหาความรู้ ◊ การบาเพ็ญทกุ รกริ ยิ า 4. วเิ คราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการ ♦ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ดาเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจากประวตั สิ าวก ชาดก/เร่ือง ◊ พระมหากสั สปะ เล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามทก่ี าหนด ◊ พระอบุ าลี ◊ อนาถบณิ ฑิกะ ◊ นางวิสาขา ♦ ชาดก ◊ อัมพชาดก ◊ ตติ ตริ ชาดก ♦ ศาสนิกชนตัวอย่าง ◊ พระเจ้าอโศกมหาราช ◊ พระโสณะและพระอตุ ตระ

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 5. อธิบายพทุ ธคณุ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบ (ตอ่ ) อริยสัจ 4 หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนับถือ ♦ พระรตั นตรยั ◊ พุทธคณุ 9 ตามทก่ี าหนด เหน็ คณุ ค่าและนาไปพฒั นา แก้ปญั หาของตนเองและครอบครวั ♦ อริยสจั 4 ◊ ทุกข์ (ธรรมท่ีควรร)ู้ > ขนั ธ์ 5 - ธาตุ 4 ◊ สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) > หลักกรรม - ความหมายและคณุ ค่า > อบายมุข 6 ◊ นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ > สขุ 2 (กายกิ , เจตสกิ ) > คหิ ิสขุ ◊ มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ ) > ไตรสกิ ขา > กรรมฐาน 2 > ปธาน 4 > โกศล 3 > มงคล 38 - ไมค่ บคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผคู้ วรบชู า ♦ พทุ ธศาสนสภุ าษติ > ย เว เสวติ ตาทิโส : คบคนเช่นใดเป็นคนเชน่ น้นั > อตตฺ นา โจทยตตฺ าน : จงเตือนตน ดว้ ยตน > นสิ มมฺ กรณ เสยฺโย :ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี > ทรุ าวาสา ฆรา ทุกฺขา : เรือนท่คี รองไม่ดีนาทุกข์มาให้

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 6. เหน็ คณุ ค่าของการพัฒนาจติ เพอ่ื การเรียนรู้ ♦โยนโิ สมนสิการ (ตอ่ ) และการดาเนนิ ชวี ติ ดว้ ยวิธีคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ ◊ วิธีคดิ แบบคณุ คา่ แท้ – คณุ ค่าเทียม คือ วธิ ีคิดแบบคณุ ค่าแท้ –คณุ ค่าเทยี ม และวิธคี ดิ ◊ วิธคี ิดแบบคณุ - โทษและทางออก แบบคุณ – โทษ และ ทางออก หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนับถอื 7. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และเจริญ ♦ สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา ปัญญาด้วยอานาปานสติหรอื ตามแนวทางของ ◊ วิธีปฏบิ ัตแิ ละประโยชนข์ องการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา ศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด การฝึกบริหารจติ และเจริญปญั ญาตามหลักสตปิ ัฎฐานเนน้ อานา ปานสติ ◊ นาวธิ กี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน 8. วเิ คราะหแ์ ละปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมทาง ♦ หลกั ธรรม (ตามสาระการเรยี นรู้ขอ้ 5) ศาสนาทต่ี นนับถอื ในการดารงชีวิตแบบพอเพียง และดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อม เพือ่ การอยูร่ ่วมกันได้ อย่างสันติสุข 9. วเิ คราะห์เหตผุ ลความจาเปน็ ทที่ ุกคนต้องศึกษา ♦ ศาสนกิ ชนของศาสนาตา่ ง ๆ มกี ารประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นและวถิ ี เรียนรศู้ าสนาอนื่ ๆ การดาเนินชวี ติ แตกต่างกันตามหลกั ความเช่อื และคาสอนของ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ 10. ปฏิบตั ติ นตอ่ ศาสนกิ ชนอน่ื ในสถานการณต์ ่างๆ ♦ การปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสมตอ่ ศาสนิกชนอ่นื ในสถานการณต์ า่ งๆ ได้อย่างเหมาะสม 11.วิเคราะหก์ ารกระทาของบุคคลท่เี ป็นแบบอยา่ ง ♦ ตัวอยา่ งบุคคลในท้องถนิ่ หรือประเทศท่ีปฏิบตั ติ นเปน็ ด้านศาสนสมั พนั ธ์ และนาเสนอแนวทางการ แบบอย่างด้านศาสนสัมพันธห์ รือมผี ลงานดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ ปฏบิ ัตขิ องตนเอง ม.2 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ี ♦ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพ่อื นบ้านและการนับ ตนนบั ถือสปู่ ระเทศเพือ่ นบา้ น ถอื พระพทุ ธศาสนาของประเทศเพอื่ นบ้านในปัจจบุ นั 2. วิเคราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ♦ ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาทีช่ ่วยเสริมสรา้ งความเข้าใจอัน ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ทีช่ ่วยเสรมิ สรา้ งความเข้าใจอนั ดี ดีกบั ประเทศเพอื่ นบ้าน กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น 3. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของพระพุทธศาสนาหรอื ♦ ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเปน็ ศาสนาทีต่ นนบั ถอื ในฐานะท่เี ปน็ รากฐานของ ◊ รากฐานของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเอกลักษณข์ องชาติและมรดกของชาติ ◊ เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ 4. อภปิ รายความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรอื ♦ ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนากับ ศาสนาทต่ี นนบั ถอื กบั การพัฒนาชมุ ชนและการจดั การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสงั คม ระเบียบสงั คม

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.2 5. วิเคราะห์พทุ ธประวัติหรือประวตั ิศาสดาของ ♦ สรปุ และวิเคราะห์ พุทธประวตั ิ (ต่อ) ศาสนาทีต่ นนับถือตามทก่ี าหนด ◊ การผจญมาร ◊ การตรสั รู้ ◊ การสัง่ สอน 6. วเิ คราะห์และประพฤตติ นตามแบบอยา่ งการ ♦ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ดาเนินชีวติ และข้อคดิ จากประวตั สิ าวก ชาดก/ ◊ พระสารีบุตร เร่อื งเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามทกี่ าหนด ◊ พระโมคคัลลานะ ◊ นางขชุ ชุตตรา ◊ พระเจา้ พมิ พิสาร ♦ ชาดก ◊ มติ ตวินทกุ ชาดก ◊ ราโชวาทชาดก ♦ ศาสนิกชนตัวอยา่ ง ◊ พระมหาธรรมราชาลไิ ท ◊ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชิรณาณวโรรส 7. อธิบายโครงสรา้ ง และสาระสงั เขป ♦โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ ของพระไตรปฎิ ก หรือคัมภรี ข์ อง พระวนิ ัยปฎิ ก พระสตุ ตันตปิฎกและ ศาสนาที่ตนนับถอื พระอภิธรรมปฎิ ก 8. อธิบายธรรมคณุ และขอ้ ธรรมสาคญั ในกรอบ ♦ พระรตั นตรัย อรยิ สัจ 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถอื ◊ ธรรมคณุ 6 ตามที่กาหนด เหน็ คณุ คา่ และนาไปพัฒนาแกป้ ัญหา ♦ อรยิ สจั 4 ของชุมชนและสังคม ◊ ทกุ ข์ (ธรรมทีค่ วรร)ู้ > ขนั ธ์ 5 - อายตนะ ◊ สมุทยั (ธรรมทค่ี วรละ) > หลกั กรรม - สมบัติ 4 - วบิ ัติ 4 > อกุศลกรรมบถ 10 > อบายมขุ 6 ◊ นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ > สุข 2 ( สามสิ , นริ ามสิ ) ◊ มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) > บุพพนมิ ติ ของมัชฌมิ าปฏิปทา > ดรณุ ธรรม 6 > กลุ จิรัฏฐติ ธิ รรม 4

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.2 > กศุ ลกรรมบถ 10 (ต่อ) > สติปฏั ฐาน 4 > มงคล 38 - ประพฤติธรรม - เวน้ จากความชั่ว - เวน้ จากการดื่มน้าเมา ♦ พุทธศาสนสภุ าษิต > กมมฺ ุนา วตฺตตี โลโก : สตั วโ์ ลกย่อมเป็นไปตามกรรม > กลฺยาณการี กลยฺ าณ ปาปการี จ ปาปก : ทาดีไดด้ ี ทาชว่ั ไดช้ ่ัว > สุโข ปญุ ญฺ สฺส อุจจฺ โย : การส่ังสมบญุ นาสขุ มาให้ > ปชู โก ลภเต ปชู วนทฺ โก ปฏวิ นทฺ น : ผบู้ ชู าเขา ย่อมไดร้ ับการบชู าตอบ ผไู้ หวเ้ ขาย่อมได้รับการไหว้ ตอบ 9. เหน็ คณุ ค่าของการพฒั นาจติ เพอ่ื การเรียนรู้และ ♦ พฒั นาการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ คี ดิ แบบโยนิโส-มนสกิ าร 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบ ดาเนินชวี ิต ด้วยวิธีคดิ แบบโยนโิ สมนสิการคือ วธิ ี อุบายปลกุ เรา้ คณุ ธรรม และวธิ คี ดิ แบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ คดิ แบบอบุ ายปลุกเรา้ คุณธรรม และวธิ ีคิดแบบ อรรถธรรมสมั พันธ์ หรือการพฒั นาจิตตามแนวทาง ของศาสนาท่ตี นนับถอื 10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และเจรญิ ♦ สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของ ◊ รแู้ ละเขา้ ใจวธิ ีปฏิบตั ิและประโยชนข์ องการบริหารจติ และเจรญิ ศาสนาทีต่ นนับถอื ปัญญา ◊ ฝึกการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาตามหลักสตปิ ฎั ฐาน เนน้ อานา ปานสติ ◊ นาวธิ ีการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน 11.วิเคราะห์การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมทาง ♦ การปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ ขอ้ 8.) ศาสนาที่ตนนับถือเพ่ือการดารงตนอย่างเหมาะสม ในกระแสความเปลีย่ นแปลงของโลกและการอยู่ ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข ม.3 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี ♦ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่างๆ ท่ัวโลกและการนบั ถือ ตนนับถือสู่ประเทศตา่ งๆทั่วโลก พระพทุ ธศาสนาของประเทศเหลา่ นั้นในปัจจบุ ัน

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.3 2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาหรอื ♦ ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะทช่ี ่วยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและ (ตอ่ ) ศาสนาที่ตนนับถอื ในฐานะทีช่ ว่ ยสร้างสรรค์ ความสงบสุขใหแ้ กโ่ ลก อารยธรรมและความสงบสขุ แก่โลก 3. อภปิ รายความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรอื ♦ สัมมนาพระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพฒั นา ศาสนาท่ีตนนับถือกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อย่างย่ังยนื (ทส่ี อดคล้องกับหลักธรรมในสาระการเรยี นรู้ ขอ้ 6 ) และการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน 4. วิเคราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูปปางต่างๆ ♦ ศึกษาพทุ ธประวัติจากพระพทุ ธรปู ปางต่าง ๆ เช่น หรอื ประวตั ิศาสดาทต่ี นนับถือตามทีก่ าหนด - ปางมารวิชยั - ปางปฐมเทศนา - ปางลีลา - ปางประจาวนั เกดิ ♦ สรปุ และวิเคราะห์พุทธประวตั ิ ◊ ปฐมเทศนา ◊ โอวาทปาฏโิ มกข์ 5. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการ ♦ พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ดาเนนิ ชวี ิตและขอ้ คดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก/เร่อื ง ◊ พระอัญญาโกณฑญั ญะ เล่าและศาสนิกชนตัวอยา่ ง ตามทก่ี าหนด ◊ พระมหาปชาบดเี ถรี ◊ พระเขมาเถรี ◊ พระเจ้าปเสนทิโกศล ♦ ชาดก ◊ นนั ทวิ สิ าลชาดก ◊ สวุ ัณณหงั สชาดก ♦ ศาสนิกชนตัวอย่าง ◊ ม.จ.หญงิ พูนพิสมัย ดสิ กุล ◊ ศาสตราจารย์ สญั ญาธรรมศกั ด์ิ 6. อธบิ ายสงั ฆคุณ และข้อธรรมสาคัญ ในกรอบ ♦ พระรตั นตรยั อริยสัจ 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือ ◊ สังฆคณุ 9 ตามท่ีกาหนด ♦ อรยิ สจั 4 ◊ ทกุ ข์ (ธรรมทคี่ วรร)ู้ > ขนั ธ์ 5 -ไตรลักษณ์ ◊ สมุทยั (ธรรมทค่ี วรละ) > หลกั กรรม -วฏั ฏะ 3 -ปปัญจธรรม 3 (ตัณหา มานะทิฎฐ)ิ ◊ นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ)

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 ◊ มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) (ต่อ) > มรรคมอี งค์ 8 > ปัญญา 3 > สปั ปุรสิ ธรรม 7 > บุญกิรยิ าวัตถุ 10 > อุบาสกธรรม 7 ◊ มงคล 38 > มีศิลปวทิ ยา > พบสมณะ > ฟังธรรมตามกาล > สนทนาธรรมตามกาล ♦ พทุ ธศาสนสภุ าษิต > อตตฺ า หเว ชิต เสยโฺ ย : ชนะตนนน่ั แลดีกว่า > ธมมฺ จารี สขุ เสติ : ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยูเ่ ป็นสุข > ปมาโท มจจฺ โุ น ปท : ความประมาทเปน็ ทางแห่งความตาย > สุสสฺ สู ลภเต ปญญฺ : ผ้ฟู ังด้วยดียอ่ มได้ปญั ญา ♦ เร่ืองน่ารู้จากพระไตรปฎิ ก : พุทธปณธิ าน4 ในมหาปรนิ พิ พานสตู ร 7. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัตติ นตาม ♦ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม (ตามสาระการเรยี นรู้ ข้อ 6.) หลักธรรมในการพฒั นาตนเพื่อเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การทางานและการมีครอบครวั 8. เห็นคณุ ค่าของการพัฒนาจติ เพื่อการเรียนรู้และ ♦ พฒั นาการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2 วธิ ี คือ วธิ ีคดิ แบบ ดาเนนิ ชวี ิต ดว้ ยวิธคี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารคือ วิธีคิด อริยสจั และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตปุ จั จัย แบบอรยิ สจั และวธิ คี ดิ แบบสบื สาวเหตุ ปัจจยั หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือ 9. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา ♦ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา ด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาท่ี ◊ รูแ้ ละเขา้ ใจวิธีปฏบิ ตั แิ ละประโยชนข์ องการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ตนนบั ถือ ◊ ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาตามหลักสตปิ ฎั ฐานเน้นอานาปานสติ ◊ นาวิธีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.3 10. วเิ คราะห์ความแตกต่างและยอมรบั วิถกี าร ♦ วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอ่นื ๆ (ต่อ) ดาเนินชีวติ ของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืนๆ ม.4-6 1.วเิ คราะหส์ งั คมชมพูทวปี และคติความเชื่อทาง ♦ ลกั ษณะของสงั คมชมพูทวปี และคตคิ วามเชอ่ื ทางศาสนาสมัยกอ่ น ศาสนาสมัยกอ่ นพระพทุ ธเจ้าหรอื สงั คมสมยั ของ พระพุทธเจ้า ศาสดาทต่ี นนับถอื 2. วิเคราะห์ พระพุทธเจา้ ในฐานะเปน็ มนุษย์ผฝู้ กึ ตน ♦ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนษุ ย์ ผู้ฝึกตนไดอ้ ย่างสงู สดุ (การตรสั ร)ู้ ได้อยา่ งสงู สุดในการตรสั ร้กู ารก่อตงั้ วิธีการสอนและ ♦ การกอ่ ต้ังพระพุทธศาสนา วธิ ีการสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรอื วเิ คราะหป์ ระวตั ิ ตามแนวพุทธจรยิ า ศาสดาทตี่ นนบั ถือตามที่กาหนด 3.วิเคราะห์พทุ ธประวตั ิดา้ นการบริหารและการ ♦ พทุ ธประวตั ดิ า้ นการบริหารและการธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา ธารงรกั ษาศาสนาหรอื วิเคราะหป์ ระวตั ิศาสดาทตี่ น นับถือตามทีก่ าหนด 4. วิเคราะหข์ ้อปฏบิ ตั ิทางสายกลางใน ♦ พระพุทธศาสนามที ฤษฎแี ละวิธกี ารท่ีเป็นสากลและมขี อ้ ปฏบิ ตั ทิ ยี่ ดึ พระพทุ ธศาสนาหรอื แนวคดิ ของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ทางสายกลาง ตามท่ีกาหนด 5. วเิ คราะหก์ ารพฒั นาศรทั ธา และปัญญาท่ถี ูกต้อง ♦ พระพุทธศาสนาเน้นการพฒั นาศรัทธาและปญั ญาท่ถี กู ตอ้ ง ในพระพุทธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาท่ีตนนับ ถอื ตามท่ีกาหนด 6. วิเคราะหล์ ักษณะประชาธิปไตยใน ♦ ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ ตามทกี่ าหนด 7. วเิ คราะหห์ ลักการของพระพทุ ธศาสนากบั หลัก ♦ หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ หรอื แนวคิดของศาสนาทีต่ นนบั ถอื ♦ การคดิ ตามนัยแหง่ พระพทุ ธศาสนาและการคดิ แบบวิทยาศาสตร์ ตามทีก่ าหนด 8. วิเคราะหก์ ารฝกึ ฝนและพฒั นาตนเองการ ♦ พระพทุ ธศาสนาเน้นการฝึกหดั อบรมตน การพ่งึ ตนเอง และการมงุ่ พง่ึ ตนเอง และการม่งุ อสิ รภาพในพระพทุ ธศาสนา อสิ รภาพ หรอื แนวคิดของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามทกี่ าหนด 9. วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาว่าเปน็ ศาสตร์แหง่ ♦ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตรแ์ หง่ การศกึ ษา การศึกษาซ่งึ เน้นความสมั พนั ธข์ องเหตปุ จั จยั กับ ♦ พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธข์ องเหตุปัจจัยและวิธกี ารแก้ปญั หา วิธกี ารแกป้ ญั หา หรอื แนวคดิ ของศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามท่กี าหนด 10. วเิ คราะห์พระพุทธศาสนาในการฝกึ ตนไม่ให้ ♦ พระพทุ ธศาสนาฝึกตนไมใ่ ห้ประมาท ประมาท มุง่ ประโยชนแ์ ละสนั ติภาพบคุ คล สงั คม ♦ พระพุทธศาสนามงุ่ ประโยชน์สขุ และสันตภิ าพแกบ่ คุ คล สงั คมและโลก และโลกหรือแนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามท่ี กาหนด

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.4-6 11. วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของ ♦ พระพุทธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาแบบ (ตอ่ ) เศรษฐกจิ พอเพยี งและการพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยืน ย่ังยนื หรือแนวคิดของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามทก่ี าหนด 12. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ♦ ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการศกึ ษาทส่ี มบูรณ์ เกย่ี วกับการศกึ ษาทสี่ มบูรณ์ การเมืองและสันตภิ าพ ♦ ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากับการเมอื ง หรือแนวคิดของศาสนาทตี่ นนับถือตามที่กาหนด ♦ ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสนั ตภิ าพ 13. วเิ คราะหห์ ลกั ธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลกั ♦ พระรตั นตรยั คาสอนของศาสนาทีต่ นนบั ถือ ◊ วิเคราะห์ความหมายและคณุ ค่าของพุทธะ ธรรมะ สังฆะ ♦ อรยิ สจั 4 ◊ ทุกข์ (ธรรมทีค่ วรร)ู้ > ขนั ธ์ 5 - นามรูป - โลกธรรม 8 - จติ เจตสกิ ◊ สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) > หลกั กรรม - นยิ าม 5 - กรรมนิยาม ( กรรม 12 ) - ธรรมนยิ าม(ปฏิจจสมปุ บาท) > วิตก 3 > มจิ ฉาวณิชชา 5 > นวิ รณ์ 5 > อุปาทาน 4 ◊ นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ > ภาวนา 4 > วมิ ตุ ติ 5 > นพิ พาน ◊ มรรค (ธรรมท่คี วรเจรญิ ) > พระสทั ธรรม 3 > ปัญญาวุฒิธรรม 4 > พละ 5 > อุบาสกธรรม 5 > อปรหิ านยิ ธรรม 7 > ปาปณกิ ธรรม 3

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.4-6 > ทิฏฐธัมมิกตั ถสังวตั ตนกิ ธรรม 4 (ตอ่ ) > โภคอาทิยะ 5 > อรยิ วัฑฒิ 5 > อธปิ ไตย 3 > สาราณียธรรม 6 > ทศพิธราชธรรม 10 > วิปสั สนาญาณ 9 > มงคล 38 - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะห์ภรรยา - สนั โดษ - ถูกโลกธรรมจิตไมห่ วน่ั ไหว - จติ ไมเ่ ศร้าโศก - จิตไมม่ วั หมอง - จติ เกษม - ความเพยี รเผากเิ ลส - ประพฤติพรหมจรรย์ - เห็นอรยิ สจั - บรรลนุ พิ พาน ♦ พุทธศาสนสภุ าษติ > จติ ตฺ ทนตฺ สขุ าวห : จติ ท่ีฝกึ ดแี ลว้ นาสุขมาให้ > นอุจฺจาวจ ปณฑฺ ติ า ทสสฺ ยนตฺ ิ : บัณฑติ ยอ่ มไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ > นตถฺ ิ โลเก อนนิ ทฺ โิ ต : คนทไ่ี มถ่ ูกนนิ ทา ไม่มีในโลก > โกธ ฆตวฺ า สขุ เสติ : ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยเู่ ปน็ สขุ > ปฏิรปู การี ธรุ วา อฎุ ฺฐาตา วนิ ฺทเต ธน : คนขยนั เอาการเอางาน กระทาเหมาะสม ยอ่ มหาทรัพย์ได้ > วายเมถว ปุริโส ยาว อตถฺ สฺส นปิ ปฺ ทา : เกดิ เป็นคนควรจะพยายามจนกว่าจะประสบความสาเรจ็ > สนฺตฎฐฺ ี ปรม ธน : ความสันโดษเปน็ ทรัพยอ์ ยา่ งยง่ิ

ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.4-6 > อณิ าทาน ทุกฺข โลเก (ต่อ) : การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก 14. วเิ คราะหข์ ้อคิดและแบบอย่างการ > ราชา มุข มนุสสฺ าน ดาเนนิ ชีวติ จากประวัตสิ าวกชาดกเรอ่ื ง เลา่ และศาสนิกชนตัวอยา่ งตามท่ี : พระราชาเป็นประมขุ ของประชาชน กาหนด > สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร : สติเป็นเครือ่ งตื่นในโลก > นตฺถิ สนตฺ ปิ ร สขุ : สุขอ่ืนยิ่งกวา่ ความสงบไม่มี > นพิ ฺพาน ปรม สุข : นพิ พานเปน็ สขุ อยา่ งยิ่ง ♦ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ◊ พระอสั สชิ ◊ พระกสี าโคตมีเถรี ◊ พระนางมลั ลกิ า ◊ หมอชีวก โกมารภจั ◊ พระอนุรทุ ธะ ◊ พระองคลุ ิมาล ◊ พระธัมมทนิ นาเถรี ◊ จติ ตคหบดี ◊ พระอานนท์ ◊ พระปฏาจาราเถรี ◊ จูฬสภุ ทั ทา ◊ สมุ นมาลาการ ♦ ชาดก ◊ เวสสนั ดรชาดก ◊ มโหสธชาดก ◊ มหาชนกชาดก ♦ ศาสนกิ ชนตัวอย่าง ◊พระนาคเสน - พระยามิลนิ ท์ ◊ สมเดจ็ พระวันรตั (เฮง เขมจารี) ◊ พระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตโฺ ต ◊ สุชพี ปุญญานภุ าพ ◊ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ◊ พระธรรมโกศาจารย์ ( พุทธทาสภกิ ข)ุ ◊ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปญั ญานันทภกิ ข)ุ ◊ ดร.เอ็มเบดการ์

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.4-6 ◊ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว (ต่อ) ◊ พระโพธญิ าณเถร ( ชา สภุ ทฺโท ) ◊ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป.อ.ปยุตโต ) ◊ อนาคาริก ธรรมปาละ 15. วเิ คราะห์คณุ ค่าและความสาคญั ของการ ♦ วิธีการศกึ ษาและคน้ คว้าพระไตรปฏิ ก และคมั ภรี ข์ องศาสนาอ่นื ๆ สงั คายนา พระไตรปิฎก หรอื คัมภรี ข์ องศาสนาที่ตน การสังคายนาและการเผยแผพ่ ระไตรปิฏก นับถือและการเผยแผ่ ♦ ความสาคญั และคณุ ค่าของพระไตรปฏิ ก 16. เชื่อมั่นตอ่ ผลของการทาความดี ความช่วั ♦ ตัวอยา่ งผลทเ่ี กดิ จากการทาความดี ความชวั่ สามารถวเิ คราะห์สถานการณ์ที่ตอ้ งเผชญิ และ ♦ โยนโิ สมนสิการด้วยวิธคี ิดแบบอริยสัจ ตดั สินใจเลอื กดาเนินการหรือปฏบิ ตั ิตนได้อย่างมี ♦ หลักธรรมตามสาระการเรยี นรขู้ ้อ 13 เหตผุ ลถูกตอ้ งตามหลกั ธรรม จริยธรรม และกาหนด เปาู หมาย บทบาท การดาเนนิ ชวี ติ เพอื่ การอยรู่ ่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ และอยรู่ ว่ มกันเป็นชาติอย่าง สมานฉนั ท์ 17. อธบิ ายประวตั ศิ าสดาของศาสนาอนื่ ๆ ♦ ประวตั พิ ระพทุ ธเจา้ มฮุ ัมมดั พระเยซู โดยสังเขป 18. ตระหนกั ในคุณคา่ และความสาคัญของค่านยิ ม ♦ คณุ ค่าและความสาคัญของค่านยิ มและจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมท่ีเปน็ ตวั กาหนดความเชอ่ื และพฤตกิ รรมท่ี ♦ การขจดั ความขัดแย้งเพ่ืออยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข แตกต่างกันของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ เพ่อื ขจัด ความขัดแย้งและอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างสนั ตสิ ขุ 19. เหน็ คณุ ค่า เชอื่ มัน่ และมงุ่ มั่นพฒั นาชวี ิตด้วย ♦ พัฒนาการเรยี นรดู้ ้วยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ 10 วธิ ี (เนน้ วธิ ีคดิ การพฒั นาจติ และพัฒนาการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีคดิ แบบ แบบแยกแยะส่วนประกอบ แบบสามญั ญลักษณะแบบเป็นอยูใ่ นขณะ โยนิโสมนสิการหรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของ ปัจจุบัน และแบบวภิ ชั ชวาท ) ศาสนาที่ตนนบั ถอื 1) วธิ ีคิดแบบสบื สาวเหตปุ จั จยั 2) วธิ ีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3) วิธีคดิ แบบสามัญลกั ษณะ 4) วธิ คี ดิ แบบอรยิ สัจ 5) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ 6) วธิ ีคิดแบบคณุ ค่าแท-้ คุณคา่ เทียม 7) วธิ คี ิดแบบคณุ -โทษ และทางออก 8) วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเรา้ คณุ ธรรม 9) วธิ ีคดิ แบบเป็นอยู่ในขณะปจั จุบัน 10) วธิ ีคดิ แบบวิภชั ชวาท

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.4-6 20. สวดมนต์ แผเ่ มตตา และบริหารจติ และ ♦ สวดมนต์แปล และแผเ่ มตตา รูแ้ ละเข้าใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ของ (ต่อ) เจริญปญั ญาตามหลักสติปัฏฐาน หรอื ตาม การบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ♦ ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญาตามหลักสติปฎั ฐาน ♦ นาวิธกี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญาไปใช้ในการพัฒนาการเรยี นรู้ คุณภาพชวี ติ และสงั คม 21. วิเคราะหห์ ลกั ธรรมสาคัญในการอยรู่ ่วมกนั ♦ หลกั ธรรมสาคัญในการอยรู่ ่วมกันอย่างสันติสขุ อย่างสันตสิ ุขของศาสนาอน่ื ๆและชักชวน ส่งเสริม ♦ หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา เช่น สาราณยี ธรรม 6, อธิปไตย3 , มจิ ฉา สนบั สนุน ให้บคุ คลอน่ื เหน็ ความสาคัญของการ ทา วณชิ ชา 5 อรยิ วฑั ฆิ 5 ,โภคอาทิยะ 5 ความดตี อ่ กนั ♦ คริสตศ์ าสนาได้แก่ บญั ญตั ิ 10 ประการ (เฉพาะที่เก่ียวขอ้ ง) ♦ ศาสนาอสิ ลาม ได้แก่ หลกั จรยิ ธรรม (เฉพาะทีเ่ ก่ียวขอ้ ง) 22. เสนอแนวทางการจดั กจิ กรรมความร่วมมือ ♦ สภาพปญั หาในชมุ ชน และสังคม ของทกุ ศาสนาในการแก้ปัญหาและพัฒนาสงั คม มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเป็นศาสนิกชนทีด่ ี และธารงรกั ษา พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. บาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ศาสนสถานของศาสนาท่ี ♦ การบาเพญ็ ประโยชน์ และการบารุงรักษาวัด ตนนบั ถือ 2. อธบิ ายจริยวตั รของสาวกเพื่อเปน็ แบบอยา่ งใน ♦ วถิ ชี ีวติ ของพระภกิ ษุ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และปฏิบตั ิตนอย่าง ♦ บทบาทของพระภิกษใุ นการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม เหมาะสมตอ่ สาวกของศาสนาทตี่ นนับถือ ปาฐกถาธรรม การประพฤตติ นใหเ้ ป็นแบบอย่าง - การเขา้ พบพระภิกษุ - การแสดงความเคารพ - การประนมมอื การไหว้ การกราบ - การเคารพพระรตั นตรยั - การฟงั เจรญิ พระพทุ ธมนต์ - การฟงั สวดพระอภิธรรม - การฟงั พระธรรมเทศนา

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.1 3. ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คลตา่ งๆ ตาม ♦ ปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมตอ่ เพอ่ื นตามหลกั พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตน (ตอ่ ) หลักศาสนาท่ตี นนับถอื ตามทก่ี าหนด นบั ถอื 4. จัดพธิ กี รรม และปฏิบตั ิตนในศาสนพิธี ♦ การจัดโตะ๊ หมบู่ ชู า แบบ หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 7 หมู่ 9 การจดุ ธูปเทยี น การจดั พธิ ีกรรมได้ถกู ต้อง เครอ่ื งประกอบโต๊ะหม่บู ชู า ♦ คาอาราธนาต่างๆ 5. อธบิ ายประวัติ ความสาคญั และปฏิบตั ติ นใน ♦ประวตั ิและความสาคญั ของวนั ธรรมสวนะ วันเขา้ พรรษา วันออกพรรษา วนั วันสาคัญทางศาสนาท่ีตนนับถอื ตามทีก่ าหนด ได้ เทโวโรหณะ ถกู ตอ้ ง ♦ ระเบียบพธิ ี พิธีเวยี นเทยี น การปฏบิ ัติตนในวันมาฆบูชา วนั วิสาขบชู า วนั อฏั ฐมบี ูชา วนั อาสาฬหบชู า วันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคัญ ม.2 1. ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ตาม ♦ การเป็นลูกที่ดี ตามหลกั ทศิ เบ้ืองหน้าในทศิ 6 หลกั ศาสนาท่ตี นนบั ถือตามที่กาหนด 2. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ตี ามที่ ♦ มรรยาทของศาสนกิ ชน กาหนด ◊ การต้อนรบั (ปฏสิ นั ถาร) ◊ มรรยาทของผเู้ ป็นแขก ◊ ฝึกปฏิบตั ริ ะเบยี บพิธี ปฏิบัตติ อ่ พระภิกษุ ◊ การยนื การใหท้ น่ี ่งั การเดินสวน ◊ การสนทนา การรบั ส่งิ ของ ◊ การแต่งกายไปวัด การแตง่ กายไปงานมงคลงานอวมงคล 3. วเิ คราะหค์ ณุ ค่าของศาสนพธิ ี และปฏิบตั ติ นได้ ♦ การปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสม ถูกต้อง ◊ การทาบุญตักบาตร ◊ การถวายภตั ตาหารสงิ่ ของทคี่ วรถวายและสิง่ ของตอ้ งหา้ มสาหรบั พระภกิ ษุ ◊ การถวายสงั ฆทาน เครื่องสงั ฆทาน ◊ การถวายผา้ อาบน้าฝน ◊ การจัดเครือ่ งไทยธรรม เครื่องไทยทาน ◊ การกรวดน้า ◊ การทอดกฐนิ การทอดผา้ ปาุ 4. อธิบายคาสอนทีเ่ กีย่ วเนอื่ งกบั วนั สาคญั ทาง ♦ หลักธรรมเบอ้ื งตน้ ที่เกี่ยวเน่ืองในวนั มาฆบูชา วันวสิ าขบชู า วันอัฏฐมีบชู า วนั ศาสนา และปฏิบตั ติ นได้ถูกตอ้ ง อาสาฬหบชู า ♦ วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั ♦ ระเบียบพิธีและการปฏบิ ัตติ นในวนั ธรรมสวนะ วันเขา้ พรรษา วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.2 5. อธิบายความแตกตา่ งของศาสนพธิ ี พิธีกรรม ♦ ศาสนพธิ /ี พธิ ีกรรม แนวปฏิบัตขิ องศาสนาอน่ื ๆ (ตอ่ ) ตาม แนวปฏิบัติของศาสนาอน่ื ๆ เพือ่ นาไปสู่ การยอมรบั และความเข้าใจซึง่ กนั และกนั ม.3 1. วิเคราะห์หน้าทแี่ ละบทบาทของสาวกและ ♦ หนา้ ทขี่ องพระภิกษใุ นการปฏบิ ตั ติ ามหลกั พระธรรมวินยั และ ปฏิบตั ิตนตอ่ สาวก ตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง จรยิ วัตรอย่างเหมาะสม ♦ การปฏบิ ตั ติ นตอ่ พระภิกษใุ นงานศาสนพิธีทีบ่ า้ น การสนทนา การ แต่งกาย มรรยาทการพดู กับพระภกิ ษตุ ามฐานะ 2. ปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ตาม ♦ การเปน็ ศิษย์ทด่ี ี ตามหลักทิศเบ้ืองขวา ในทิศ 6 ของ หลักศาสนา ตามทก่ี าหนด พระพทุ ธศาสนา 3. ปฏิบตั หิ น้าทข่ี องศาสนกิ ชนทด่ี ี ♦ การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีชาวพทุ ธตามพทุ ธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพาน สตู ร 4. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธีพธิ กี รรมได้ถูกต้อง ♦ การปฏิบตั ิในศาสนพธิ ี ◊ พิธที าบญุ งานมงคล งานอวมงคล ◊ การนมิ นตพ์ ระภกิ ษุ การเตรยี มทต่ี งั้ พระพุทธรปู และเครื่องบูชา การวงด้ายสายสญิ จน์ การปลู าดอาสนะ การเตรยี มเครื่องรบั รอง การ จุดธูปเทยี น ◊ ข้อปฏบิ ตั ิในวันเลีย้ งพระ การถวายขา้ วพระพทุ ธ การถวายไทย ธรรม การกรวดน้า 5. อธบิ ายประวตั วิ นั สาคัญทางศาสนาตามท่ี ♦ ประวตั ิวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย กาหนดและปฏบิ ัตติ นไดถ้ ูกต้อง ◊ วนั วิสาขบชู า (วันสาคัญสากล) ◊ วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ ♦ หลักปฏบิ ตั ติ น : การฟงั พระธรรมเทศนา การแต่งกายในการ ประกอบศาสนพธิ ที ี่วดั การงดเวน้ อบายมขุ ♦ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคญั 6. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรือแสดงตน ♦ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ เป็นศาสนกิ ชนของศาสนาทต่ี นนับถือ ◊ ขน้ั เตรยี มการ ◊ ขั้นพิธกี าร 7. นาเสนอแนวทางในการธารงรกั ษาศาสนาท่ี ♦ การศกึ ษาเรยี นรู้เรอ่ื งองค์ประกอบของพระพุทธศาสนา นาไป ตนนบั ถอื ปฏบิ ัติและเผยแผ่ตามโอกาส ♦ การศึกษาการรวมตัวขององคก์ รชาวพทุ ธ

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.3 ♦ การปลกู จติ สานึกในดา้ นการบารงุ รกั ษาวัดและพทุ ธสถานให้เกดิ ประโยชน์ (ต่อ) ม.4-6 1. ปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนิกชนท่ดี ตี ่อสาวกสมาชกิ ใน ♦ ปฏิบตั ติ นเป็นชาวพทุ ธท่ีดตี ่อพระภกิ ษุ ◊ การเขา้ ใจในกิจของพระภิกษุ เชน่ การศึกษา การปฏิบัตธิ รรม และการ ครอบครัว และคนรอบข้าง เป็นนักบวชท่ดี ี 2. ปฏบิ ัตติ นถูกตอ้ งตามศาสนพธิ ี พธิ กี รรมตาม ◊ คุณสมบตั ทิ ายกและปฏคิ าหก หลักศาสนาท่ีตนนับถอื ◊ หนา้ ทแ่ี ละบทบาทของพระภกิ ษุในฐานะพระนักเทศก์ พระธรรมทูต พระ ธรรมจารกิ พระวิทยากร พระวิปสั สนาจารย์ และพระนกั พฒั นา ◊ การปกปอู งคุ้มครองพระพุทธศาสนา ของพทุ ธบรษิ ทั ในสังคมไทย ◊ การปฏิบตั ติ นต่อพระภิกษทุ างกาย วาจา และใจ ท่ีประกอบดว้ ยเมตตา ◊ การปฏสิ ันถารทเ่ี หมาะสมตอ่ พระภกิ ษุ ในโอกาสต่าง ๆ ♦ ปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ที่ดขี องครอบครวั และสงั คม ◊ การรักษาศลี 8 ◊ การเข้าร่วมกจิ กรรมและเปน็ สมาชิกขององค์กรชาวพทุ ธ ◊ การเป็นชาวพทุ ธทดี่ ี ตามหลกั ทศิ เบ้ืองบนในทิศ 6 ◊ การปฏบิ ตั ิตนท่ีเหมาะสมในฐานะผ้ปู กครองและ ผอู้ ยูใ่ นปกครองตาม หลกั ทศิ เบื้องล่างในทศิ 6 ◊ การปฏสิ ันถารตามหลักปฏสิ นั ถาร 2 ◊ หนา้ ท่ีและบทบาทของอบุ าสก อบุ าสกิ า ทม่ี ตี อ่ สงั คมไทยในปจั จบุ นั ◊ การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องครอบครวั ตามหลักทศิ เบอ้ื งหลังในทิศ 6 ◊ การบาเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติและ โลก ♦ ประเภทของศาสนพธิ ีในพระพทุ ธศาสนา ◊ ศาสนพิธเี นอื่ งดว้ ยพทุ ธบญั ญตั ิ เช่น พธิ แี สดงตนเป็นพทุ ธมามกะ พธิ ี เวียนเทียน ถวายสงั ฆทาน ถวายผา้ อาบนา้ ฝน พิธีทอดกฐิน พิธปี วารณา เปน็ ตน้

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.4-6 ◊ ศาสนพธิ ีทีน่ าพระพุทธศาสนาเขา้ ไปเกย่ี วเน่ือง เชน่ การทาบุญเล้ียง (ต่อ) พระในโอกาสต่างๆ ♦ ความหมาย ความสาคัญ คตธิ รรมในพิธีกรรม บทสวดมนตข์ องนักเรยี น งานพธิ ี คณุ คา่ และประโยชน์ ♦ พธิ ีบรรพชาอุปสมบท คณุ สมบตั ิของผู้ขอบรรพชาอปุ สมบท เครอื่ งอัฏฐ บริขาร ประโยชนข์ องการบรรพชาอปุ สมบท ♦ บญุ พิธี ทานพธิ ี กุศลพธิ ี ♦ คุณคา่ และประโยชนข์ องศาสนพธิ ี 3. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรอื แสดงตนเป็นศา ♦ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ สนกิ ชนของศาสนาทีต่ นนับถือ ◊ ข้ันเตรียมการ ◊ ขนั้ พธิ ีการ 4. วเิ คราะหห์ ลกั ธรรม คติธรรม ทเ่ี ก่ียวเน่ืองกบั วัน ♦ หลกั ธรรม/คติธรรมที่เก่ยี วเน่อื งกบั วันสาคญั และเทศกาลทสี่ าคัญใน สาคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สาคญั ของ พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาอื่น ศาสนาที่ตนนบั ถือและปฏบิ ตั ิตนไดถ้ กู ต้อง ♦ การปฏิบัติตนทีถ่ ูกตอ้ งในวันสาคญั และเทศกาลทสี่ าคญั ใน พระพุทธศาสนาหรือศาสนาอน่ื 5. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธารง ♦ การปกปอู ง คุ้มครอง ธารงรักษาพระพุทธศาสนาของพุทธบริษทั ใน รกั ษาศาสนาทต่ี นนบั ถอื อันสง่ ผลถงึ การพัฒนาตน สังคมไทย พฒั นาชาตแิ ละโลก ♦ การปลูกจติ สานึก และการมสี ว่ นรว่ มในสังคมพทุ ธ

สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบตั ติ นตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมอื งดี มคี ่านยิ มที่ดีงามและธารง รกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อยรู่ ่วมกันในสงั คมไทยและ สงั คมโลกอย่างสันติสุข ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. ปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคมุ้ ครองสิทธิของ ♦ กฎหมายในการคุม้ ครองสทิ ธิของบคุ คล บุคคล ◊ กฎหมายการคมุ้ ครองเดก็ ◊ กฎหมายการศกึ ษา ◊ กฎหมายการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ◊ กฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ ♦ ประโยชนข์ องการปฏิบตั ิตนตามกฎหมายการคมุ้ ครองสทิ ธิของ บุคคล 2. ระบุความสามารถของตนเองในการทา ♦ บทบาทและหน้าทีข่ องเยาวชนทม่ี ตี ่อสงั คมและประเทศชาติ โดย ประโยชน์ต่อสงั คมและประเทศชาติ เน้นจติ สาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย มี สว่ นรว่ มและรบั ผิดชอบในกิจกรรมทางสงั คม อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รกั ษา สาธารณประโยชน์ 3. อภปิ รายเกี่ยวกับคณุ คา่ ทางวฒั นธรรมท่ีเปน็ ♦ ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั ปัจจัยในการสร้างความสัมพนั ธ์ทด่ี หี รอื อาจนาไปสู่ วัฒนธรรมของประเทศในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ ความเข้าใจผดิ ตอ่ กัน ♦ วฒั นธรรมท่เี ปน็ ปัจจยั ในการสร้างความสมั พนั ธ์ทด่ี ี หรืออาจ นาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกนั 4. แสดงออกถงึ การเคารพในสิทธขิ องตนเองและ ผอู้ ่นื ♦ วธิ ปี ฏบิ ัติตนในการเคารพในสิทธิของตนเองและผอู้ น่ื ♦ ผลทีไ่ ด้จากการเคารพในสทิ ธขิ องตนเองและผอู้ ื่น ม.2 1. อธบิ ายและปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ♦ กฎหมายทเี่ กีย่ วข้องกับตนเอง ครอบครัว เช่น กบั ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและประเทศ ◊ กฎหมายเกยี่ วกบั ความสามารถของผเู้ ยาว์ ◊ กฎหมายบตั รประจาตวั ประชาชน ◊ กฎหมายเพ่งเก่ียวกับครอบครัวและมรดก เช่น การหมั้น การสมรส การรับรองบตุ ร การรบั บตุ รบุญธรรม และมรดก ♦ กฎหมายทเี่ กี่ยวกับชมุ ชนและประเทศ ◊ กฎหมายเก่ียวกับการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดล้อม ◊ กฎหมายเก่ยี วกับภาษอี ากร และกรอกแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ◊ กฎหมายแรงงาน ◊ กฎหมายปกครอง

ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.2 2. เหน็ คุณคา่ ในการปฏิบัตติ นตามสถานภาพ (ตอ่ ) บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ทใี่ นฐานะพลเมืองดี ♦ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ที่ ในฐานะพลเมอื งดีตาม วิถปี ระชาธิปไตย ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย ♦ แนวทางส่งเสรมิ ให้ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย 3. วเิ คราะห์บทบาท ความสาคญั และ ♦ บทบาท ความสาคัญและความสัมพนั ธ์ของสถา บันทางสงั คม เชน่ ความสัมพนั ธข์ องสถาบันทางสังคม สถาบนั ครอบครวั สถาบันการ ศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน เศรษฐกิจ สถาบันทางการเมอื งการปกครอง 4. อธบิ ายความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่างของ วฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมของประเทศใน ♦ ความคลา้ ยคลึงและความแตกตา่ งของวัฒนธรรมไทย และ ภูมภิ าค เอเชียเพือ่ นาไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดี วัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย วฒั นธรรมท่เี ปน็ ปจั จยั สาคญั ระหวา่ งกนั ในการสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งกนั ม.3 1. อธบิ ายความแตกต่างของการกระทาความผดิ ♦ ลักษณะการกระทาความผดิ ทางอาญาและโทษ ระหวา่ งคดีอาญาและคดแี พง่ ♦ ลกั ษณะการกระทาความผดิ ทางแพง่ และโทษ ♦ ตัวอย่างการกระทาความผดิ ทางอาญา เชน่ ความผิดเก่ียวกับ ทรพั ย์ ♦ ตัวอยา่ งการทาความผดิ ทางแพ่ง เชน่ การทาผดิ สญั ญา การทา ละเมดิ 2. มีสว่ นร่วมในการปกปอู งคุ้มครองผ้อู ่นื ตามหลกั ♦ ความหมาย และความสาคญั ของสทิ ธิมนษุ ยชน สทิ ธิมนุษยชน ♦ การมสี ่วนร่วมคุ้มครองสิทธมิ นษุ ยชนตามรฐั ธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจักรไทยตามวาระและโอกาสท่ีเหมาะสม 3. อนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยและเลอื กรับวัฒนธรรม ♦ ความสาคญั ของวัฒนธรรมไทย ภมู ปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรม สากลท่เี หมาะสม สากล ♦ การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยและภูมปิ ัญญาไทยทเี่ หมาะสม ♦ การเลอื กรับวัฒนธรรมสากลทเี่ หมาะสม 4. วเิ คราะหป์ จั จัยทกี่ ่อให้เกดิ ปญั หา ♦ ปัจจยั ทก่ี อ่ ให้เกิดความขดั แยง้ เช่น การเมือง การปกครอง ความขัดแยง้ ในประเทศ และเสนอ เศรษฐกิจ สงั คม ความเช่ือ แนวคดิ ในการลดความขัดแย้ง ♦ สาเหตปุ ญั หาทางสงั คม เชน่ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม ปญั หายาเสพตดิ ปัญหาการทุจรติ ปญั หาอาชญากรรม ฯลฯ ♦ แนวทางความร่วมมือในการลดความ ขัดแย้งและการสรา้ งความ สมานฉันท์

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 ๕. เสนอแนวคดิ ในการดารงชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ ใน ♦ ปัจจัยทส่ี ่งเสริมการดารงชวี ติ ให้มีความสุข เช่น การอยู่ร่วมกันอย่าง (ต่อ) ประเทศและสงั คมโลก มีขนั ติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง ร้จู กั มองโลกในแง่ดี สร้างทกั ษะทางอารมณ์ ร้จู กั บริโภคดว้ ยปญั ญา เลอื กรบั -ปฏิเสธ ขา่ วและวัตถุตา่ งๆ ปรับปรุงตนเองและสง่ิ ตา่ งๆใหด้ ี ขึ้นอยเู่ สมอ ม.4-6 1. วเิ คราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายท่เี กีย่ วข้อง ♦ กฎหมายเพ่งเกี่ยวกบั นติ ิกรรมสญั ญา เช่น ซื้อขาย ขายฝาก เชา่ กับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนประเทศชาติ และสงั คม ทรพั ย์ เช่าซอ้ื ก้ยู มื เงนิ จานา จานอง โลก ♦ กฎหมายอาญา เช่น ความผดิ เก่ียวกับทรัพย์ความผดิ เกี่ยวกับชวี ติ และรา่ งกาย ♦ กฎหมายอ่ืนทส่ี าคญั เช่น รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จุบัน กฎหมายการรบั ราชการทหาร กฎหมาย ภาษีอากร กฎหมาย ค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค ♦ ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ เช่น ปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสทิ ธมิ นุษยชน กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ 2. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของโครงสร้างทางสงั คม ♦ โครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลยี่ นแปลงทาง - การจัดระเบยี บทางสงั คม สังคม - สถาบันทางสังคม ♦ การขัดเกลาทางสงั คม ♦ การเปล่ียนแปลงทางสังคม ♦ การแก้ปญั หาและแนวทางการพฒั นาทางสังคม 3. ปฏิบตั ติ นและมสี ว่ นสนบั สนุนให้ผู้อน่ื ประพฤติ ♦ คุณลักษณะพลเมอื งดีของประเทศชาติและสงั คมโลก เช่น ปฏิบัติเพื่อเป็นพลเมอื งดีของประเทศชาติ และ - เคารพกฎหมาย และกตกิ าสังคม สงั คมโลก - เคารพสิทธเิ สรภี าพของตนเองและบุคคลอืน่ - มีเหตผุ ล รับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื - มีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง สงั คม ชุมชน ประเทศชาติและสังคม - เข้าร่วมกิจกรรมทางการเมอื งการปกครอง - มีส่วนรว่ มในการปอู งกัน แกไ้ ขปัญหา เศรษฐกิจ สังคมการเมืองการ ปกครอง สิ่งแวดล้อม - มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลกั ในการดาเนินชวี ิต

ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4-6 4. ประเมินสถานการณส์ ิทธมิ นุษยชนในประเทศ (ต่อ) ไทย และเสนอแนวทางพฒั นา ♦ ความหมาย ความสาคัญ แนวคิดและหลกั การของสิทธิมนุษยชน ♦ บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกทีม่ ผี ลต่อประทศไทย 5. วิเคราะห์ความจาเปน็ ทต่ี ้องมกี ารปรับปรงุ ♦ สาระสาคญั ของปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสิทธมิ นษุ ยชน เปลี่ยนแปลงและอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยและเลือก ♦ บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปจั จบุ นั รบั วัฒนธรรมสากล เกี่ยวกับสทิ ธิมนษุ ยชน ♦ ปัญหาสทิ ธมิ นุษยชนในประเทศและแนวทางแกป้ ัญหาและพัฒนา ♦ ความหมายและความสาคญั ของวัฒนธรรม ♦ ลักษณะและ ความสาคญั ของวัฒนธรรมไทยท่ีสาคญั ♦ การปรับปรุงเปล่ยี นแปลงและอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทย ♦ ความแตกต่างระหวา่ งวัฒนธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากล ♦ แนวทางการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยทดี่ งี าม ♦ วธิ ีการเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจบุ นั ยดึ ม่ัน ศรทั ธา และธารงรกั ษาไวซ้ ่ึง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ ♦ หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ สาระสาคญั ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย สาระสาคญั ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จุบันโดยสังเขป ฉบับปัจจบุ นั 2. วเิ คราะหบ์ ทบาทการถว่ งดุลของอานาจอธิปไตย ♦ การแบง่ อานาจ และการถ่วงดลุ อานาจอธปิ ไตย ในรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จุบนั ทงั้ 3 ฝุาย คอื นิติบญั ญตั ิ บริหาร ตุลาการ ตามที่ ระบุในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยฉบับ ปจั จุบนั 3. ปฏิบัตติ นตามบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู แห่ง ♦ การปฏิบัตติ นตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู ราชอาณาจักรไทยฉบับปจั จบุ ันทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปจั จบุ นั เกยี่ วกับสิทธิ ตนเอง เสรภี าพและหนา้ ที่

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.2 1. อธบิ ายกระบวนการในการตรา ♦ กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผ้มู สี ิทธิเสนอรา่ งกฎหมาย - ขนั้ ตอนการตรากฎหมาย - การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตรากฎหมาย 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ข่าวสารทางการเมอื งการ ♦ เหตกุ ารณ์ และการเปลี่ยนแปลงสาคัญของ ระบอบการ ปกครองท่ีมีผลกระทบตอ่ สงั คมไทยสมัยปจั จุบนั ปกครองของไทย ♦ หลกั การเลือกข้อมูล ขา่ วสาร ม.3 1. อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆทีใ่ ชใ้ น ♦ ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ท่ใี ชใ้ นยุคปัจจุบัน เชน่ การ ยคุ ปจั จุบัน ปกครองแบบเผด็จการ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย ♦ เกณฑ์การตัดสินใจ 2. วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการ ♦ ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการ ปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ ทม่ี ี ปกครองของไทย กบั ประเทศอนื่ ๆ ทม่ี ี การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 3. วเิ คราะหร์ ัฐธรรมนญู ฉบบั ปัจจบุ นั ในมาตรา ♦ บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญในมาตราตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การ ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเลอื กตั้งการมสี ว่ นร่วม เลือกตัง้ การมสี ่วนรว่ มและการตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั และการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ♦ อานาจหน้าท่ขี องรัฐบาล ♦ บทบาทสาคัญของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดนิ ♦ ความจาเปน็ ในการมรี ฐั บาลตามระบอบประชาธิปไตย 4. วิเคราะห์ประเดน็ ปัญหาทีเ่ ปน็ ♦ ประเดน็ ปัญหาและผลกระทบทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการพฒั นา อปุ สรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ ประชาธิปไตยของประเทศไทย ไทยและเสนอแนวทางแก้ไข ♦ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ม.4-6 1. วเิ คราะหป์ ญั หาการเมอื งทสี่ าคญั ใน ♦ ปญั หาการเมอื งสาคัญทเ่ี กิดขน้ึ ภายในประเทศ ประเทศ จากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ พรอ้ มท้งั เสนอ ♦ สถานการณก์ ารเมืองการปกครองของสังคมไทย และสงั คมโลก แนวทางแกไ้ ข และการประสานประโยชน์ร่วมกนั ♦ อทิ ธิพลของระบบการเมอื งการปกครองที่มผี ลตอ่ การดาเนิน ชีวิตและความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ 2. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองท่ี ♦ การประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหว่างประเทศ เช่น การสรา้ ง นาไปสู่ความเขา้ ใจ และการประสานประโยชน์ ความสัมพันธร์ ะหว่างไทยกบั ประเทศต่าง ๆ รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.4-6 ♦ การแลกเปลย่ี นเพื่อชว่ ยเหลือ และสง่ เสรมิ ด้านวฒั นธรรม การศกึ ษา (ต่อ) เศรษฐกจิ สังคม 3. วิเคราะห์ความสาคญั และ ความจาเปน็ ที่ ♦ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ตอ้ งธารงรกั ษาไวซ้ ่ึงการปกครองตามระบอบ ประมขุ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็น - รูปแบบของรฐั ประมุข - ฐานะและพระราชอานาจของ พระมหากษัตรยิ ์ 4. เสนอแนวทางและมสี ว่ นรว่ มในการ ♦ การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั ฉบบั ปจั จุบนั ท่ีมีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เชน่ การตรวจสอบโดย องคก์ รอิสระการตรวจสอบโดยประชาชน สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภคการใช้ ทรัพยากรท่ีมอี ยู่จากัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและค้มุ ค่า รวมท้ังเข้าใจ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพือ่ การดารงชวี ติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.1 1. อธิบายความหมายและความสาคญั ของ ♦ ความหมายและความสาคญั ของเศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองตน้ เศรษฐศาสตร์ ♦ ความหมายของคาว่าทรัพยากรมจี ากัดกบั ความต้องการมไี ม่จากัด ความ ขาดแคลน การเลอื กและค่าเสยี โอกาส 2. วิเคราะหค์ ่านยิ มและพฤตกิ รรมการบริโภคของ ♦ ความหมายและความสาคญั ของการบรโิ ภคอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ คนในสังคมซึง่ ส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชนและ ♦ หลกั การในการบริโภคทีด่ ี ประเทศ ♦ ปัจจยั ที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค ♦ คา่ นยิ มและพฤตกิ รรมของการบรโิ ภคของคนในสงั คมปจั จุบนั รวมทั้ง ผลดีและผลเสยี ของพฤติกรรมดงั กลา่ ว 3. อธบิ ายความเปน็ มาหลักการและความสาคญั ♦ ความหมายและความเปน็ มาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ ♦ ความเปน็ มาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงานของ พอเพยี งต่อสงั คมไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรวมทงั้ โครงการตามพระราชดาริ

ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 ♦ หลักการของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ต่อ) ♦ การประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดารงชีวติ ♦ ความสาคัญ คณุ ค่าและประโยชน์ของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงต่อ สงั คมไทย ม.2 1. วิเคราะหป์ ัจจยั ท่มี ผี ลต่อการลงทนุ และการออม ♦ ความหมายและความสาคญั ของการลงทุนและการออมตอ่ ระบบ เศรษฐกจิ ♦ การบรหิ ารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครวั เรอื น ♦ ปจั จยั ของการลงทนุ และการออม คือ อัตราดอกเบย้ี รวมทง้ั ปจั จยั อ่ืน ๆ เช่น คา่ ของเงินเทคโนโลยี การคาดเดาเกยี่ วกับอนาคต ♦ ปัญหาของการลงทุนและการออมในสงั คมไทย 2. อธบิ ายปจั จัยการผลติ สินคา้ และบรกิ าร และ ♦ ความหมาย ความสาคญั และหลกั การผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารอย่างมี ปัจจยั ท่มี อี ิทธิพลต่อการผลิตสินคา้ และบรกิ าร ประสทิ ธภิ าพ ♦ สารวจการผลติ สินคา้ ในท้องถ่ิน วา่ มีการผลติ อะไรบา้ ง ใชว้ ิธีการผลิต อยา่ งไรมปี ญั หาดา้ นใดบ้าง ♦ มกี ารนาเทคโนโลยอี ะไรมาใช้ท่มี ีผลต่อการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ♦ นาหลกั การผลติ มาวเิ คราะหก์ ารผลิตสินคา้ และบรกิ ารในทอ้ งถิน่ ท้ัง ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม 3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตในท้องถ่นิ ♦ หลักการและเปูาหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ♦ สารวจและวิเคราะหป์ ญั หาการผลิตสินคา้ และบริการในทอ้ งถิ่น ♦ ประยกุ ตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลติ สินคา้ และบรกิ าร ในทอ้ งถิ่น 4. อภปิ รายแนวทางการคุ้มครองสทิ ธิของตนเอง ♦ การรกั ษาและคมุ้ ครองสทิ ธิประโยชน์ของผูบ้ รโิ ภค ในฐานะผบู้ รโิ ภค ♦ กฎหมายค้มุ ครองสิทธิผู้บริโภคและหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ♦ การดาเนนิ กจิ กรรมพทิ ักษ์สิทธแิ ละผลประโยชนต์ ามกฎหมายในฐานะ ผู้บรโิ ภค ♦ แนวทางการปกปอู งสิทธขิ องผู้บรโิ ภค

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.3 1. อธบิ ายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ♦ ความหมายและประเภทของตลาด ♦ ความหมายและตัวอยา่ งของอุปสงคแ์ ละอปุ ทาน ♦ ความหมายและความสาคญั ของกลไกราคาและการกาหนดราคาใน ระบบเศรษฐกจิ ♦ หลกั การปรบั และเปลยี่ นแปลงราคาสินคา้ และบริการ 2. มีส่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาทอ้ งถิน่ ♦ สารวจสภาพปัจจบุ นั ปญั หาทอ้ งถ่ินทง้ั ทางดา้ นสังคม เศรษฐกิจและ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สง่ิ แวดลอ้ ม ♦ วเิ คราะหป์ ญั หาของท้องถ่ินโดยใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ♦ แนวทางการแก้ไขและพฒั นาทอ้ งถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแนวคดิ ♦ แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การพัฒนาในระดับตา่ ง ๆ เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ระบบสหกรณ์ ♦ หลักการสาคญั ของระบบสหกรณ์ ♦ ความสัมพันธ์ระหวา่ งแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งกบั หลักการและระบบ ของสหกรณเ์ พอื่ ประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน ม.4-6 1. อภปิ รายการกาหนดราคาและค่าจา้ งในระบบ ♦ ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจั จบุ นั ผลดี และผลเสียของระบบเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ แบบตา่ งๆ ♦ ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดีและข้อเสยี ของตลาดประเภทตา่ ง ๆ ♦ การกาหนดราคาตามอปุ สงค์ และอุปทานการกาหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ ทมี่ ีในสังคมไทย ♦ การกาหนดคา่ จา้ ง กฎหมายที่เกีย่ วขอ้ งและอตั ราคา่ จ้างแรงงานใน สังคมไทย ♦ บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคมุ ราคาเพอ่ื การ แจกจ่ายและจดั สรรในทางเศรษฐกิจ 2. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของปรชั ญาของ ♦ การประยุกตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียงที่มตี ่อเศรษฐกิจสงั คมของ ในการดาเนินชวี ิตของตนเอง และครอบครัว ประเทศ ♦ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี งใน ภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.4-6 ตอ่ ♦ ปัญหาการพฒั นาประเทศทผี่ า่ นมา โดยการศกึ ษาวิเคราะห์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบบั ทผ่ี ่านมา 3. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบสหกรณใ์ น ♦ การพัฒนาประเทศที่นาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ ในการ การพัฒนาเศรษฐกจิ ในระดบั ชมุ ชนและประเทศ วางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมฉบับปัจจบุ นั 4. วเิ คราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกิจในชุมชนและ ♦ ววิ ัฒนาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย เสนอแนวทางแก้ไข ♦ ความหมายความสาคญั และหลกั การของระบบสหกรณต์ วั อย่าง และประเภทของสหกรณ์ในประเทศไทย ♦ ความสาคญั ของระบบสหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกิจในชมุ ชนและ ประเทศ ♦ ปญั หาทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชน ♦ แนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจของชมุ ชน ♦ ตัวอย่างของการรวมกล่มุ ทปี่ ระสบความสาเรจ็ ในการแกป้ ญั หาทาง เศรษฐกิจของชุมชน มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. วเิ คราะห์บทบาทหนา้ ท่แี ละความแตกต่าง ♦ ความหมาย ประเภท และความสาคญั ของสถาบันการเงนิ ท่มี ีตอ่ ของสถาบนั การเงนิ แตล่ ะประเภทและธนาคาร ระบบเศรษฐกจิ กลาง ♦ บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความสาคญั ของธนาคารกลาง ♦ การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทนุ ซึง่ แสดงความสมั พันธ์ ระหว่างผผู้ ลติ ผ้บู ริโภค และสถาบนั การเงนิ 2. ยกตวั อยา่ งทสี่ ะท้อนใหเ้ ห็นการพึ่งพาอาศัย ♦ ยกตวั อยา่ งที่สะทอ้ นใหเ้ หน็ การพ่ึงพาอาศยั กนั และกัน การแขง่ ขันกัน กัน และการแข่งขันกนั ทางเศรษฐกิจในประเทศ ทางเศรษฐกิจในประเทศ ♦ ปัญหาเศรษฐกจิ ในชุมชน ประเทศ และเสนอแนวทางแกไ้ ข 3. ระบปุ จั จัยที่มอี ิทธิพลต่อการกาหนดอปุ สงค์ ♦ ความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน และอุปทาน ♦ ปจั จยั ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การกาหนดอุปสงค์และอปุ ทาน 4. อภปิ รายผลของการมีกฎหมายเกย่ี วกับ ♦ ความหมายและความสาคญั ของทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ♦ กฎหมายทีเ่ กยี่ วกบั การคุ้มครองทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาพอสงั เขป ♦ ตวั อย่างการละเมิดแหง่ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาแตล่ ะประเภท

ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.2 1. อภิปรายระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ งๆ ♦ ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ งๆ 2. ยกตวั อยา่ งทส่ี ะท้อนให้เห็น ♦หลักการและผลกระทบการพงึ่ พาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกจิ การพึ่งพาอาศยั กนั และการแข่งขันกนั ในภมู ภิ าคเอเชีย ทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย 3. วิเคราะหก์ ารกระจายของทรัพยากรในโลกท่ี ♦ การกระจายของทรพั ยากรในโลกท่สี ง่ ผลตอ่ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจ สง่ ผลต่อความสมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ ง ระหว่างประเทศ เช่น นา้ มนั ปุาไม้ ทองคา ถ่านหิน แร่ เป็นต้น ประเทศ 4. วิเคราะหก์ ารแขง่ ขันทางการคา้ ในประเทศและ ♦ การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ตา่ งประเทศส่งผลตอ่ คณุ ภาพสนิ คา้ ปริมาณการ ผลิต และราคาสนิ คา้ ม.3 1. อธบิ ายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบ ♦ บทบาทหนา้ ท่ีของรฐั บาลในการพัฒนาประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ เศรษฐกิจ ♦ บทบาทและกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของรัฐบาล เช่นการผลติ สินคา้ และ บริการสาธารณะที่เอกชนไมด่ าเนนิ การ เช่น ไฟฟูา ถนน โรงเรยี น - บทบาทการเกบ็ ภาษเี พ่ือพัฒนาประเทศของรฐั ในระดบั ตา่ ง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพ่ือการแจกจา่ ยและ การจัดสรรในทางเศรษฐกจิ ♦ บทบาทอืน่ ของรฐั บาลในระบบเศรษฐกิจในสงั คมไทย 2. แสดงความคดิ เห็นตอ่ นโยบาย และกจิ กรรม ♦ นโยบาย และกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรฐั บาล ทาง เศรษฐกจิ ของรฐั บาลทีม่ ตี ่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ 3. อภิปรายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ♦ บทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ♦ ลักษณะของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ ♦ กลุ่มทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคตา่ งๆ 4. อภิปรายผลกระทบทเ่ี กิดจากภาวะเงินเฟูอ เงิน ♦ ผลกระทบทเี่ กดิ จากภาวะเงนิ เฟูอ เงินฝืด ความหมายสาเหตุและแนว ฝืด ทางแก้ไข ภาวะเงนิ เฟอู เงนิ ฝืด 5. วเิ คราะหผ์ ลเสยี จากการว่างงานและแนวทาง ♦ สภาพและสาเหตุปญั หาการวา่ งงาน แก้ปัญหา ♦ ผลกระทบจากปญั หาการวา่ งงาน ♦ แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน 6. วเิ คราะหส์ าเหตุและวิธีการกีดกนั ทางการคา้ ใน ♦ การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ การคา้ ระหว่างประเทศ ♦ สาเหตแุ ละวิธกี ารกดี กันทางการคา้ ในการค้าระหวา่ งประเทศ

ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.4-6 1. อธบิ ายบทบาทของรฐั บาลดา้ น นโยบาย ♦ บทบาทของนโยบายการเงนิ และการคลังของรฐั บาลในด้าน การเงนิ การคลังในการ พัฒนาเศรษฐกจิ ของ - การรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ประเทศ - การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ - การรักษาดลุ การคา้ ระหวา่ งประเทศ 2. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปดิ เสรีทาง - การแทรกแซงราคาและการควบคมุ ราคา เศรษฐกิจในยคุ โลกาภิวตั น์ที่มีผลตอ่ สงั คมไทย ♦ รายรบั และรายจ่ายของรัฐทม่ี ผี ลตอ่ งบประมาณ หนส้ี าธารณะ การพฒั นาทาง 3. วิเคราะหผ์ ลดี ผลเสยี ของความรว่ มมอื ทาง เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศในรปู แบบต่าง ๆ - นโยบายการเกบ็ ภาษีประเภทตา่ ง ๆ และการใช้จา่ ยของรฐั - แนวทางการแกป้ ญั หาการวา่ งงาน ♦ ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบทีเ่ กิด จากภาวะทางเศรษฐกิจ เช่น เงินเฟอู เงนิ ฝดื ♦ ตัวชีว้ ดั ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ เช่น GDP , GNP รายได้เฉล่ยี ต่อบุคคล ♦ แนวทางการแก้ปญั หาของนโยบายการเงนิ การคลงั ♦ วิวฒั นาการของการเปิดเสรที างเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั น์ของไทย ♦ ปจั จัยทางเศรษฐกิจท่มี ผี ลตอ่ การเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ของประเทศ ♦ ผลกระทบของการเปิดเสรที างเศรษฐกิจของประเทศทม่ี ตี ่อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและบรกิ าร ♦ การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ ♦ บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีการเงนิ โลกท่มี ีผลกับประเทศไทย ♦ แนวคิดพ้ืนฐานท่ีเก่ยี วข้องกับการคา้ ระหว่างประเทศ ♦ บทบาทขององค์การความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ทีส่ าคญั ในภูมภิ าคต่าง ๆ ของ โลก เช่น WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB , OPEC , FTA , APECในระดบั ต่างๆ เขตส่เี หลย่ี มเศรษฐกิจ ♦ ปจั จัยต่าง ๆ ท่นี าไปสู่การพง่ึ พา การแขง่ ขนั การขัดแย้ง และการประสาน ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ♦ ตัวอยา่ งเหตุการณ์ที่นาไปส่กู ารพงึ พาทางเศรษฐกิจ ♦ ผลกระทบจากการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ♦ ปัจจยั ตา่ งๆ ทน่ี าไปสกู่ ารพงึ่ พาการแข่งขนั การขดั แยง้ และการประสาน ประโยชน์ทางเศรษฐกิจวิธีการกดี กันทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ

สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อย่างเป็น ระบบ ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศกึ ษา ♦ ตัวอยา่ งการใช้เวลา ชว่ งเวลาและยคุ สมยั ทป่ี รากฏใน ประวตั ศิ าสตร์ เอกสารประวัตศิ าสตรไ์ ทย ♦ ความสาคญั ของเวลา และชว่ งเวลาสาหรับการศกึ ษา ประวัตศิ าสตร์ ♦ ความสมั พนั ธแ์ ละความสาคัญของอดีตทมี่ ีตอ่ ปัจจบุ ันและ อนาคต 2. เทยี บศักราชตามระบบตา่ งๆ ทใ่ี ช้ศึกษา ♦ ทีม่ าของศกั ราชที่ปรากฏในเอกสารประวัตศิ าสตร์ไทย ประวัติศาสตร์ ได้แก่ จ.ศ./ ม.ศ./ ร.ศ./พ.ศ./ ค.ศ. และ ฮ.ศ. ♦ วธิ กี ารเทยี บศกั ราชต่างๆ และตัวอย่างการเทยี บ ♦ ตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชต่าง ๆ ท่ปี รากฏในเอกสาร ประวตั ศิ าสตร์ไทย 3. นาวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรม์ าใชศ้ ึกษา ♦ ความหมายและความสาคัญของประวัติศาสตร์และวิธีการ เหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ ทางประวัตศิ าสตร์ทมี่ คี วามสัมพนั ธ์เช่อื มโยงกนั ♦ ตวั อยา่ งหลกั ฐานในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ไทยสมัย สโุ ขทยั ท้ังหลักฐานชนั้ ต้น และหลกั ฐานชัน้ รอง ( เชือ่ มโยง กบั มฐ.ส 4.3) เชน่ ขอ้ ความ ในศลิ าจารึก สมยั สโุ ขทยั เปน็ ต้น ♦ นาวิธีการทางประวตั ิศาสตรไ์ ปใช้ศกึ ษาเรื่องราวของ ประวัติศาสตร์ไทยทมี่ อี ยู่ในทอ้ งถนิ่ ตนเองในสมยั ใดกไ็ ด้ (สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ สมยั ก่อนสโุ ขทยั สมัยสโุ ขทัย สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี สมยั รตั นโกสินทร์ ) และเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมยั สโุ ขทยั

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.2 1. ประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของหลกั ฐานทาง ♦ วธิ ีการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของหลักฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ น ประวตั ิศาสตรใ์ นลักษณะตา่ ง ๆ ลกั ษณะตา่ ง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ เช่น การศึกษาภมู หิ ลงั ของผ้ทู าหรือ 2. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหว่างความจรงิ กับ ผ้เู กี่ยวขอ้ ง สาเหตุชว่ งระยะเวลา รปู ลักษณ์ของหลักฐานทาง ข้อเทจ็ จริงของเหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เป็นตน้ 3. เห็นความสาคญั ของการตคี วามหลกั ฐานทาง ♦ ตวั อยา่ งการประเมินความน่าเชอื่ ถือของหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตร์ท่ีนา่ เชือ่ ถอื ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยที่อยูใ่ นท้องถ่ินของตนเอง หรือหลักฐานสมยั อยุธยา ( เช่ือมโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) ♦ ตวั อยา่ งการวิเคราะหข์ อ้ มลู จากเอกสารตา่ ง ๆ ในสมัยอยุธยา และ ธนบรุ ี ( เช่ือมโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) เช่น ขอ้ ความบางตอน ในพระราช พงศาวดารอยธุ ยา/จดหมายเหตุชาวตา่ งชาติ ♦ การแยกแยะระหว่างขอ้ มูลกบั ความคดิ เหน็ รวมทง้ั ความจรงิ กับ ขอ้ เทจ็ จริงจากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ♦ ตวั อยา่ งการตคี วามข้อมลู จากหลกั ฐานที่แสดงเหตุการณส์ าคัญใน สมัยอยุธยาและธนบรุ ี ♦ ความสาคญั ของการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและการตคี วามทาง ประวตั ิศาสตร์ ม.3 1. วิเคราะห์เร่ืองราวเหตกุ ารณส์ าคญั ทาง ♦ ขั้นตอนของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรส์ าหรบั การศกึ ษาเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ได้อยา่ งมีเหตผุ ลตามวธิ ีการทาง ทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ กดิ ข้ึนในทอ้ งถิน่ ตนเอง ประวัติศาสตร์ 2. ใชว้ ิธกี ารทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา ♦ นาวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ในการศึกษาเรอ่ื งราวทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เรื่องราวตา่ ง ๆ ท่ีตนสนใจ กบั ตนเองครอบครัว และท้องถ่นิ ของตน ♦ วิเคราะห์เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ โดยใช้วธิ ีการทาง ประวัตศิ าสตร์ ม.4-6 1. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ♦ เวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรท์ ป่ี รากฏในหลักฐานทาง ทางประวัติศาสตร์ ทแ่ี สดงถงึ การเปลย่ี นแปลงของ ประวตั ิศาสตรไ์ ทยและประวัตศิ าสตร์สากล มนษุ ยชาติ ♦ ตัวอยา่ งเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษยท์ ม่ี ี ปรากฏในหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ( เชอื่ มโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) ♦ ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ 2. สร้างองคค์ วามรูใ้ หมท่ างประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใช้ ♦ ขัน้ ตอนของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ โดยนาเสนอตวั อยา่ งทลี ะ วธิ ีการทางประวัติศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ ขน้ั ตอนอย่าง ชัดเจน ♦ คุณค่าและประโยชน์ของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีมีตอ่ การศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ ♦ ผลการศึกษาหรอื โครงงานทางประวตั ิศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนือ่ ง ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ ♦ ทต่ี ง้ั และสภาพทางภมู ิศาสตร์ของประเทศตา่ ง การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ทีม่ ผี ลตอ่ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พัฒนาการทางด้านตา่ งๆ ♦ พฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื ง ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้ ♦ ความร่วมมือผา่ นการรวมกลมุ่ เป็นอาเซยี น ของ ประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทถี่ อื วา่ เปน็ พัฒนาการของภมู ิภาค 2. ระบุความสาคญั ของแหล่งอารยธรรมในภูมภิ าค ♦ท่ีต้งั และความสาคัญของแหลง่ อารยธรรมใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่น แหล่งมรดก โลกในประเทศต่างๆ ของเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ♦ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดนไทยที่ มีตอ่ พัฒนาการของสงั คมไทยในปจั จุบัน ม.2 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ ♦ ที่ตัง้ และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องภมู ภิ าคตา่ งๆ การเมอื งของภูมภิ าคเอเชีย ในทวปี เอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ทีม่ ี ผลตอ่ พฒั นาการโดยสงั เขป ♦ พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ สงั คม เศรษฐกิจ และ การเมอื งของภมู ภิ าคเอเชีย (ยกเวน้ เอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต)้ 2. ระบุความสาคญั ของแหล่งอารยธรรมโบราณใน ♦ ทต่ี งั้ และความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม ภูมิภาคเอเชีย โบราณในภูมภิ าคเอเชยี เช่น แหลง่ มรดกโลกใน ประเทศต่างๆ ในภมู ิภาคเอเชยี ♦ อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมภิ าค เอเชียในปัจจุบัน

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.3 1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ และ ♦ ทตี่ งั้ และสภาพทางภูมศิ าสตร์ของภมู ิภาคต่างๆของโลก (ยกเว้น การเมอื งของภูมิภาคต่างๆ ในโลกโดยสังเขป เอเชีย) ทมี่ ผี ลตอ่ พฒั นาการโดยสังเขป 2. วเิ คราะหผ์ ลของการเปลย่ี นแปลงที่นาไปสู่ความ ♦ พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ สังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งของ รว่ มมอื และความขดั แย้งในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 ภูมิภาคต่างๆของโลก(ยกเว้นเอเชยี )โดยสังเขป ตลอดจนความพยายามในการขจดั ปัญหาความ ♦ อิทธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกทมี่ ผี ล ต่อพฒั นาการและการ ขดั แยง้ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลกโดยสงั เขป ♦ ความร่วมมือและความขดั แยง้ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 เชน่ สงครามโลก ครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 สงครามเย็น องค์การความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ม.4-6 1.วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และ ♦ อารยธรรมของโลกยคุ โบราณ ไดแ้ ก่ อารยธรรมลมุ่ แมน่ า้ ไทกรสี -ยู การติดต่อระหวา่ งโลกตะวนั ออกกับโลกตะวนั ตกที่ เฟรตสี ไนล์ ฮวงโห สนิ ธุ และอารยธรรมกรีก- โรมนั มีผลต่อ พฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงของโลก ♦ การตดิ ต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตก และอทิ ธิพลทาง วัฒนธรรมท่ีมตี อ่ กันและกัน 2. วเิ คราะห์เหตุการณส์ าคัญตา่ งๆ ท่ีส่งผลตอ่ การ ♦ เหตุการณ์สาคญั ตา่ งๆทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกในปจั จบุ นั เปลีย่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกิจและการเมอื ง เช่น ระบอบศกั ดินาสวามิภกั ด์ิ สงครามครเู สด การฟื้นฟูศลิ ปะ เขา้ สู่โลกสมัยปัจจุบนั วิทยาการ การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ การสารวจทางทะเล การปฏริ ปู ศาสนา การปฏวิ ัติ อุตสาหกรรม แนวคิดเสรีนยิ ม แนวคดิ จักรวรรดิ 3. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการขยายอิทธิพลของ นยิ ม แนวคดิ ชาตนิ ิยม ประเทศในยุโรปไปยังทวปี อเมริกา แอฟรกิ าและ เอเชยี ♦ การขยาย การล่าอาณานคิ มและผลกระทบ 4. วเิ คราะหส์ ถานการณข์ องโลกในครสิ ตศ์ ตวรรษ ♦ ความร่วมมอื และความขดั แยง้ ของ มนษุ ยชาตใิ นโลกใน ท่ี 21 ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 ♦ สถานการณส์ าคัญของโลกในคริสตศ์ ตวรรษที่ 21 เชน่ - เหตกุ ารณร์ ะเบดิ ตกึ World Trade Center ( เวลิ ดเ์ ทรด เซ็นเตอร์ ) 11 กันยายน 2001 - การขาดแคลนทรพั ยากร - การก่อการรา้ ยและการตอ่ ตา้ นการก่อการรา้ ย - ความขดั แย้งทางศาสนา

มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จและธารงความเปน็ ไทย ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธบิ ายเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตรส์ มยั กอ่ น ♦ สมัยก่อนประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนไทยโดยสงั เขป สุโขทัยในดินแดนไทยโดยสงั เขป ♦ รฐั โบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวชิ ัย ตามพรลิงค์ ทวารวดี เปน็ ต้น 2. วเิ คราะห์พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทัยใน ♦ รฐั ไทยในดนิ แดนไทย เชน่ ล้านนานครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ เป็นต้น ดา้ นตา่ ง ๆ 3. วเิ คราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรม และภมู ิปญั ญา ♦ การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทัย และปจั จยั ท่ีเกีย่ วข้อง (ปัจจัยภายในและ ไทยสมยั สโุ ขทัยและสงั คมไทยในปจั จบุ ัน ปัจจยั ภายนอก) ♦ พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทยั ในดา้ นการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ ♦ วฒั นธรรมสมยั สโุ ขทยั เชน่ ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี าคญั ศลิ ปกรรมไทย ♦ ภูมปิ ญั ญาไทยในสมยั สุโขทัย เช่น การชลประทาน เครอื่ งสังคมโลก ♦ ความเสือ่ มของอาณาจักรสโุ ขทยั ม.2 1. วิเคราะห์พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา และ ♦ การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา ธนบุรใี นดา้ นต่างๆ ♦ ปัจจัยท่สี ง่ ผลต่อความเจรญิ ร่งุ เรืองของอาณาจกั รอยุธยา 2. วเิ คราะห์ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ ความม่ันคงและความ ♦ พัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยาในด้านการเมอื งการปกครอง สังคม เจรญิ รุง่ เรอื งของอาณาจกั รอยุธยา เศรษฐกจิ และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ 3. ระบภุ ูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยา ♦ การเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ท่ี 1 และการกเู้ อกราช และธนบรุ ี และอทิ ธิพลของภมู ิปญั ญาดงั กล่าว ตอ่ ♦ ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา เชน่ การควบคุมกาลงั คนและ การพัฒนาชาติไทยในยุคตอ่ มา ศิลปวฒั นธรรม ♦ การเสียกรงุ ศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 การกู้เอกราช และการสถาปนาอาณาจักร ธนบรุ ี ♦ ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ธนบรุ ี ♦ วรี กรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย ผลงานของบุคคลสาคัญของไทยทมี่ สี ว่ น สรา้ งสรรคช์ าตไิ ทย เชน่ - สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 2 - พระสรุ ิโยทัย - พระนเรศวรมหาราช - สมเด็จพระเจ้าตากสิน - พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาู จฬุ าโลกมหาราช (ด้วง) สมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาสรุ สิงนาถ (บุญมา)

ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.3 1. วิเคราะห์พฒั นาการของไทยสมยั รตั นโกสินทร์ ♦ การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานขี องไทย ในด้านตา่ งๆ 2. วเิ คราะหป์ จั จยั ทีส่ ่งผลต่อความมัน่ คงและความ ♦ ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อความมนั่ คงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมยั เจรญิ รุง่ เรืองของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ 3. วิเคราะหภ์ มู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ♦ บทบาทของพระมหากษตั ริยไ์ ทยในราชวงศ์จกั รีในการสรา้ งสรรคค์ วาม รตั นโกสินทร์ และอทิ ธพิ ลตอ่ การพัฒนาชาติไทย เจรญิ และความมน่ั คงของชาติ 4.วเิ คราะหบ์ ทบาทของไทยในสมยั ประชาธปิ ไตย ♦ พฒั นาการของไทยในสมัยรตั นโกสินทรท์ างด้านการเมอื ง การปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศตามช่วงสมัยตา่ งๆ ♦ เหตุการณ์สาคัญสมยั รตั นโกสนิ ทร์ท่ีมีผลต่อการพฒั นาชาตไิ ทย เชน่ การ ทาสนธสิ ัญญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ 4 การปฏิรูปประเทศในสมยั รชั กาลที่ 5 การเข้าร่วมสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และครงั้ ท่ี 2 โดยวเิ คราะหส์ าเหตปุ จั จยั และ ผลของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ♦ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทรท์ ม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การ พัฒนาชาตไิ ทยจนถึงปจั จบุ ัน โดยเฉพาะพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิ พลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศร รามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดินทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ รและสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ♦ บทบาทของไทยตงั้ แต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึงปจั จบุ นั ในสังคมโลก ม.4-6 1.วิเคราะห์ประเดน็ สาคัญของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ♦ ประเด็นสาคญั ของประวตั ศิ าสตร์ไทย เช่น แนวคิดเก่ยี วกับความเป็นมา 2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของสถาบนั ของชาตไิ ทย อาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย และอทิ ธิพลทีม่ ตี ่อสงั คมไทย พระมหากษตั ริยต์ ่อชาตไิ ทย ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การสถาปนาอาณาจกั รไทยในช่วงเวลาต่างๆ สาเหตแุ ละผล 3. วิเคราะห์ปัจจยั ท่สี ง่ เสรมิ ความสรา้ งสรรคภ์ มู ิ ของการปฏิรูปการปกครองบ้านเมอื ง การเลิก ทาส เลิกไพร่ การเสด็จ ปัญญาไทย และวฒั นธรรมไทย ซึ่งมผี ลตอ่ ประพาสยโุ รปและหวั เมืองสมัยรัชกาลท่ี 5 แนวคิดประชาธิปไตยตง้ั แตส่ มยั สังคมไทยในยคุ ปจั จุบัน รัชกาลที่ 6 จนถงึ การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมยั รชั กาลที่ 7 บทบาทของสตรีไทย 4. วิเคราะหผ์ ลงานของบุคคลสาคญั ทงั้ ชาวไทย ♦ บทบาทของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ในการพฒั นาชาตไิ ทยในด้านตา่ งๆ และต่างประเทศ ที่มสี ว่ นสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมไทย เช่น การปูองกนั และรักษาเอกราชของชาติการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทย และประวตั ศิ าสตร์ไทย ♦ อทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวันตก และตะวันออกทมี่ ตี อ่ สงั คมไทย ♦ ผลงานของบคุ คลสาคญั ทง้ั ชาวไทยและตา่ งประเทศ ที่มีส่วนสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรมไทยและประวตั ิศาสตรไ์ ทย เชน่ - พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย - พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจ้าอยหู่ วั - พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว - สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรณาญวโรรส - พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์ - สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.4-6 - หม่อมราโชทยั หม่อมราชวงศ์ กระต่าย อิศรางกรู (ต่อ) - สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสรุ ิยวงศ์ ( ชว่ ง บุนนาค ) - บาทหลวงปา เลอกวั ซ์ - พระยากลั ยาไมตรี ( Dr.Francis B.Sayre ดร.ฟรานซสี บี แซร์ ) - ศาสตราจารยศ์ ิลป พรี ะศรี - พระยารัษฎานปุ ระดิษฐม์ หศิ รภกั ดี ( คอมซมิ บี้ ณ ระนอง ) ♦ ปัจจัยทส่ี ง่ เสริมความสร้างสรรค์ภูมปิ ัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซ่งึ มผี ล ตอ่ สงั คมไทยในยุคปจั จบุ นั เช่น - พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดลุ ยเดช - สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ พ์ิ ระบรมราชินนี าถ - สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี - สมเด็จพระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟาู กลั ยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราช นครินทร์ 5. วางแผนกาหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการ ♦ สภาพแวดลอ้ มทมี่ ผี ลตอ่ การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทย อนุรกั ษ์ภูมปิ ัญญาไทยและวฒั นธรรมไทย ♦ วถิ ชี ีวติ ของคนไทยในสมยั ต่างๆ ♦ การสืบทอดและเปลยี่ นแปลงของวัฒนธรรมไทย ♦ แนวทางการอนรุ กั ษภ์ มู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยและการมสี ว่ นร่วมในการ อนุรกั ษ์ ♦ วิธีการมีส่วนรว่ มอนรุ กั ษ์ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย

สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซ่ึงมผี ล ตอ่ กันและกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนทแ่ี ละเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์ ในการค้นหาวเิ คราะห์ สรุป และใชข้ ้อมูล ภูมิสารสนเทศอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ♦ ที่ต้ัง ขนาด และอาณาเขตของทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอ ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี โดยใช้ เคร่ืองมอื เชียเนีย ทางภมู ิศาสตรส์ ืบค้นข้อมลู ♦ การใช้เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ แผนท่ี รปู ถา่ ยทางอากาศ ภาพ จากดาวเทยี มในการ สบื ค้นลกั ษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย 2. อธบิ ายพิกดั ภูมิศาสตร์ (ละตจิ ดู และลองจิจดู ) ♦ พกิ ดั ภูมศิ าสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ดู ) เสน้ แบง่ เวลา และเปรยี บเทยี บวนั เวลา ♦ เส้นแบ่งเวลา ของโลก ♦ การเปรยี บเทียบวัน เวลาของโลก 3. วเิ คราะห์สาเหตกุ ารเกดิ ภัยพิบตั ิ ♦ สาเหตุการเกดิ ภยั พบิ ัติและผลกระทบใน ทวีปเอเชยี ทวีป และผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย และโอเชยี เนยี ม.2 1. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป ♦ ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขตของทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา และทวปี แอฟริกา โดยใช้เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ♦ การใชเ้ คร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ เช่น แผนท่ี รปู ถ่ายทางอากาศ ภาพ สืบค้นขอ้ มูล จากดาวเทียมในการ สืบคน้ ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป และ ทวปี แอฟริกา 2. อธิบายมาตราสว่ น ทิศ และสญั ลักษณ์ ♦ การแปลความหมาย มาตราส่วน ทิศ และ สญั ลักษณ์ในแผนที่ 3. วิเคราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภยั พิบัติ และ ♦ สาเหตุการเกิดภยั พิบัตแิ ละผลกระทบใน ทวปี ยโุ รป และทวีป ผลกระทบในทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกา แอฟริกา ม.3 1. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของ ทวีป ♦ ทต่ี ั้ง ขนาด และอาณาเขตของทวปี อเมรกิ าเหนอื และทวีปอเมรกิ า อเมรกิ าเหนือ และทวปี อเมรกิ าใต้ โดยเลือกใช้ ใต้ แผนท่ีเฉพาะเร่อื งและเครอ่ื งมือ ทางภมู ศิ าสตร์ ♦การเลือกใช้แผนทีเ่ ฉพาะเรอ่ื งและ เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตรส์ บื ค้น สืบค้นขอ้ มูล ขอ้ มูล ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกา ใต้ 2.วิเคราะหส์ าเหตกุ ารเกิดภยั พิบัตแิ ละ ผลกระทบ ♦ สาเหตุการเกิดภยั พิบัติและผลกระทบ ในทวีปอเมริกาเหนอื และ ในทวปี อเมริกาเหนอื และ ทวีปอเมริกาใต้ ทวปี อเมริกาใต้ ม.4-6 1. วิเคราะหก์ ารเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ใน ♦ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (ประกอบดว้ ย 1. ธรณภี าค 2. ประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ งๆ ของโลก ซึง่ ได้รบั บรรยากาศภาค 3. อุทกภาค 4. ชวี ภาค) ของพ้ืนที่ใน ประเทศไทย อทิ ธิพลจากปจั จัยทางภูมศิ าสตร์ และภมู ภิ าคต่างๆ ของโลก ซ่งึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากปัจจัยทางภมู ศิ าสตร์

2. วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพซงึ่ ทาให้เกิด ♦ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพทสี่ ่งผล ตอ่ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ปญั หาและภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และ ทรพั ยากรธรรมชาติ และภมู ิภาคตา่ งๆ ของโลก ♦ ปญั หาทางกายภาพและภยั พบิ ตั ิ ทางธรรมชาตใิ นประเทศและ ภูมิภาคต่างๆ ของโลก 3. ใชแ้ ผนทแ่ี ละเครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ ในการ ♦แผนที่และองคป์ ระกอบ คน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการ ♦ การอ่านแผนท่เี ฉพาะเร่อื ง ทางภูมิศาสตร์ และนาภมู สิ ารสนเทศมาใช้ ♦การแปลความหมายรปู ถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวนั ♦ การนาภมู สิ ารสนเทศไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ส 5.2เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทกี่ อ่ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์ วฒั นธรรม มจี ิตสานกึ และมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยนื ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. สารวจและระบุทาเลทต่ี ้งั ของกิจกรรม ทาง ♦ ทาเลที่ต้งั ของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม เช่น พนื้ ทเี่ พาะปลกู และ เศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย เล้ียงสตั ว์ แหลง่ ประมง การกระจายของภาษาและศาสนา ในทวปี เอเชีย และโอเชียเนีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี 2. วเิ คราะหป์ จั จยั ทางกายภาพและปัจจัย ทาง ♦ ปจั จยั ทางกายภาพและปจั จัยทางสงั คม ท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลง สงั คมท่สี ง่ ผลตอ่ ทาเลที่ตงั้ ของกิจกรรม ทาง โครงสร้างทาง ประชากร สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สงั คมและ วัฒนธรรมในทวีป เศรษฐกจิ และสังคมในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี และโอเชยี เนยี 3. สบื ค้น อภิปรายประเด็นปัญหาจาก ปฏสิ ัมพนั ธ์ ♦ ประเดน็ ปญั หาจากปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนษุ ย์ ระหว่างสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ กับมนษุ ยท์ ี่ ทเ่ี กิดขนึ้ ในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และ โอเชียเนีย เกดิ ข้ึนในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชีย เนยี 4. วเิ คราะหแ์ นวทางการจดั การภยั พบิ ตั แิ ละ การ ♦ แนวทางการจัดการภยั พบิ ตั ิและการจดั การ การจดั การทรัพยากรและ จัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อม ในทวปี เอเชีย ส่งิ แวดลอ้ ม ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี ทีย่ ั่งยืน ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ที่ยัง่ ยนื ม.2 1. สารวจและระบุทาเลทต่ี ั้งของกิจกรรม ทาง ♦ ทาเลที่ตงั้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม เชน่ พื้นทเี่ พาะปลกู และ เศรษฐกิจและสังคมในทวปี ยโุ รป และ ทวีป เล้ยี งสตั ว์ แหล่งประมง การกระจายของภาษาและศาสนา ในทวีปยุโรป และ แอฟรกิ า ทวปี แอฟริกา 2.วเิ คราะหป์ จั จยั ทางกายภาพและปัจจยั ทาง ♦ ปจั จยั ทางกายภาพและปัจจยั ทางสงั คม ทีส่ ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลง สงั คมทีส่ ่งผลตอ่ ทาเลทีต่ ง้ั ของกิจกรรม ทาง โครงสรา้ ง ทางประชากร สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรมในทวีป เศรษฐกจิ และสังคมในทวปี ยุโรป และ ทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา แอฟรกิ า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook