(๑สิ่) เก่าขน ชื่อว่า สายบญญาสมาคม มีว่ตถุประสงค์อยู่ขอหนึ่งว่า ให้นกเร เก่าไค้มาพบปะลังสรรสมานสามกคีลัน และช่วยก่นบำเพ็ญประโยช เงินวายได้มาบำรุงโรงเรียนอีกทางหนึ่ง ต่อมาได้รบพระมหากรุณา จากสมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงรีบ สมาคมไว้ในพระบรมราชินูปถมภจึ ช่วย'ให้การบริหารกาวศึกษาก้าวหนำ’ใด้รวคเร็วยีงขน อนึ่ง ท่านมีความรกใคร่เอ็นดูกรูนักเรียนโดยท่ว ถึงสม ก่น โดยไม่เลือกชาติชื่นวรรณะ ใครมีทุกขรอนท่านเฅมใจช่วยเหลือห บํวยไข้ก็เอาใจใส่ไต่ถามเยียวยาและนนะนำให้ได้ พกผ่อน เพียงพอ จนก จะหาย ท่าให้ผุ้ใต้ปงคบบญชาซาบซ็งชื่นใจ อบอุ่น มีกำลังใจทจะ ท่างานลับท่านโดยเค็มความสามารถ นอกจากเมฅฅาจึฅของท่านลังกล่าวมาแลัว ท่านยงได้ดูแลส ล่องทวถึงจนพบความลำบากยากแค้น ของนักเรียนที่ ขาดแคลน ทุ 'โนการศึกษาและการคำรงชีวิดมีก'วามIเบน'อยู่'ที่'น่าเ,วทนาสงสาร ท่านจึง : ริเร็มก่อต8งมูลนิธิขนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ขาคแคสนน โดย มูลนิธิขํ้นอยู่กบสายนญญาสมาคมใน,พระบรมรา'ชินูปถมค์ เพื่อหาเงินแ ดอกผลเบนทุนเรียน'ให้แก่น'ก1เรียนที่,น่าสงสารเทล่า,น1นึ่ ท่านได้นำคว กราบนังคมทุลขอพระวาช'อาน พระราชทลัพยี สมเดจ พระบรมรา ชินี องค์บรมรา ชินูปลัมค์ของโรงเรียน และ สมาคน เบี่นมึง มงคล ประเติมทุน มูลนิธินึ่ และได้รบความเมตากรุณาจากทายาทราชคระกูสสนิท ท่าน รวมที่งครูอาจารยีก็ ได้ร่วมบริจาคเงินที่งมูลนํ®นครย อนึ่ง ติฉนลังรำถึกถึงพระคุณของท่าน ซึ่งให้กำลังใจในกา งานทีแสนจะสาบากคราวนนง เมอสมยสงคร เมโลกครงทสอง โรงเรยน
นํ]ข้)อ) สายบญญาอย่ใกล้จดยุทธศาสตร์ กระทรวงจึงมีกำส่งให้อพยพ โรงเรียนทำการสอนชนม*ธยมตอนล้นที่'ว*ดธาตุทอง บางกะบี่ ขืนแห และ'ให้โรงเรียนยัดเพื่มชนประถมขั้นอีก เพื่อริบิพ้า โรงเรียนต่าง ‘ยุ ที่ไค้อพยพไปอยู่แถบน็นเบนกรณีพิเศษล้วย ม*ธยมปลายให้ไปเบี่คสอนที่ยัดด่านสำโรง ยังหยัดสมุทรปราก หนึ่ง มีกำส่งให้ขนพ*สคุเครื่องเรียนเครื่องใช้ไปหมด ในเวลานนโร ต่าง ‘ยุ ในพระนครต่องบี่ดเกือบหมด กระทรวงจึงให้โรงเรียนสายบญ ริบน*ทเรียนท*วไปจากโรงเรียนอื่น ‘ยุ ที่อพยพไปอยู่ใกล้โรงเรียนอพยพ โรงเรียนสายบญญาเขำร่วมเรียนด้วย เวลาน1นคิฉ*นหน'กใจเบ็นอย่ การเดินทางก็เหน็ดเหนื่อย กิจการงานก็ตํองเพื่มขน ค ทางไกล ทรพย์ก็กํองจ่ายมากฅามระยะทาง งานก็มากขั้นจิดใจก็ไห ไม่ปรกฅสขเช่นเคย แต่ก็ไค้ท่านอดีตอาจารย์ใหญ่ ม.ร.ว. หญิ สนิทวงศ์ ร่วมความทุกข์ด้วย เห็นอกเห็นใจและสงสารพวกเรา ท่ กำลงใจ ท่านปลอบใจและช่วยแนะนำหายานพาหนะขนของโรงเรียนไป ไปยังโรงเรียนอพยพท8ง ๒ แห่งนน ท่านแสดงกวามชื่นชมทื่ สายบญญาในพระบรมราชินูปล้มภ์ สามารถเบี่ด ทำการ สอนไค้ ถึงสอง ทำให้ ไค้ชื่อว่าการศึกษาของน*กเรียนไม่ท่องหยุด ชะยักลง ในยาม ส ทงยังสามารถเบี่คร*บน*กิเรียนอื่น ๆ ที่อพยพหลบภ*ยไค้ด้วย ท่ บุญกุศลน*ก ท่านคอยพ้งข่าวและคอยให้กำลงใจอยู่เสมอเหมือน ความคุ้มกรองเราอยู่เช่นครํ้งอดีตกาล ท่านห่วงใยในสภา โรงเรียนอพยพยัดธาตุทองของกรูและนกเรียน ซงล้องลงจากร ไฟพาสายสมุทรปราการแล้วต1งแถวเดินไปตามถนนกล้วยน ประมาณ ๒อ นาทีจึงจะถึงโรงเรียน บางยันล้องเดินผ่า
(1*0©) เกรี่องบินนำมาทํ้งไว้ฅอนกลางคืน ขวิญ่ของครูและนำเรียนเสียไ กน แก่ดำขอุฅสาหวิริยะที่งกรูและนำเรียนไม่มีใครขาดโรงเรียน ว*นหนึ่ ขณะ ที่ กิฉํน ออก จากโรงเรียนสาย บญญา อพยพ วิดธาตุทอง ไปคูกิจการ โรงเรียนสาขบญญาอพยพที่ว*ภด่านสำโรง พอถึง'โรงเรียนน\"1งิพำสกครู่ก็ไค ยินเสียงส*ญญาณภ*ยทางอากาศค*งกึกวิอง แล*วิมีเสียงกรูคนหนึ่งเรียก ครูใหญ่จนเสียงหลงดำยกวามกลำว่า “ครูใหญ่อยู่ไหน ๆ ๆ ๆ” คิฉไ เองก็กลำจนใจสินเหมือนกน แต่ก*องพยายามระงไมิให้กวามกลำปราก ออกมาให้ใครเห็นได้ สิงให้ครูควบคมน์กเรียนแด่ละช5นเข*าที่หลบภำกา ที่ไค้ซ่อมก*นไว้ ปรากฏว่าเครื่องบินที่มาทั้งระเบิดในพระนครบ ' หลำกาโรงเรียนอพยพวิดด่านสำโรงไปสำครู่ ก็ทั้งระเบิดลงมานไไม เห็นเบี่นจุดดำๆ เล็ก ๆ เพราะระยะไกลมาก คิฉไระลึกถึงอำนาจคุณพระ ศรีร*ค้นไกร พระบารมีพระมหากษค้ราธิราชเจ*า ตุณบิดามารดา พุทธคาถาคุ้มภไ]ที่ท่านอดีตอาจารย์ใหญ่ ม.ร.ว. หญิงเดอง สนิทว ไว้คุ้มครองคณะครูนำเรียนอยู่ฅลอดเวลาที่อยู่'ในสถานะการณ์ ทำให้รู้สึกว่าสบายใจและปลอดภขจากอไกรายที่งมวล มีกำลำใจทำง ยากลำบากให้เบ็1นที'เรียบร่อยไค้ จึงขอกราบแสดงกวามคารวะกต กกเวทีกาคุณเบ็1นลายลำษณ์อำษร’ไว้ ณ ทนดำย ทางราชการไค้ยกย่องสรรเสริญเกียรติตุณ ม.ร.ว. หญิงเกอง สนิทวงศ อย่างสูง จะเห็นไค้จากการที่โรงเรียนขอกงชื่อกึกเรียนสามชื่นที่สร่า ใหม่ในโรงเรียนสายบญญา โดยเงินงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการ ว่า “ตึกเฅั้อง สนิทวงศ์” เพื่อเบ็๋นการตอบสนองคุณงามกวามดียิ ของท่าน ทางกระทรวงศึกษาธิการก็อนุมกให้กามกำขอ
(10)21) ท่านถึงแก่อนิจกรรมโดยสงบ คิฉนไม่ทนไค้ทราบข่าวว่าท่ เจ็บ นบว่าเบนกุศลของท่านที่ ไค้สรำงสมมาทำให้ท่านไม่ตองรบ ทรมาน ท่านล่วงคบไปเพราะความชราภาพซึ่งเบนไป ตามกฏมรณกรร ไม่มีใครที่จะผืนกฏนืไค้ แต่ก็ทำ'ให้ผู้ใต้บ*งก*บบญชาและบรรดาศ จะเศร้าสลดใจอาล*ยเสียมิ ไค้ เพราะด่างกนย*งเคารพและระลึกถึงพ อ'นใหญ่หลวงของท่านอยู่เสมอ ผลงานที่ท่านไค้ปฏิปตมาท่วยค อดทนและซื่อส*ฅย์สุจรีฅดีเด่นในอดีตกาล จะเบื่นอนุสรณ์ให้บ และน'กเรียนสายบญญาระลึกถึงไปตลอดกาลนาน คิฉ'นขอต8ง์ปณิธานให้ วิญญาณอ'นบริสุทธื้ของท่านอดีตอาจารย์ใหญ่ ม.ร.ว. หญิงเตอง สน จงไปสู่ความสงบสุขในส*มปรายภพน่นเทอญ กุหิน สุกุมารทิต
แด่ คุณ ทึบาพเปี”ารํกและเดารฟสยางสูง คืนวนที่ @๕ ธ*นวากม ๒๕๑ว เวลาราว ๒๒.00 น. เศษ ถ้าพเจ้าขั้นถ้องนอนถ้างบนแถ้ว ได้ยินเสียงกรีงโทรศ'พทีจ รีบลุกขั้นถ้วยกวามหกใจ เพราะหามปกฅิในเวลาคึกเช่นนึ จะไม่มีใคร โทรศ'พที่มาถ้าไม่มีเหตุการณ์สำถ้ญเกิคขั้น ถ้าพเจ้ารออยู่จนเดีกขั้น ว่ามีผ้ถ้องการพูคโทรศ'พที่ถ้วย ได้ยินเท่านั้ก็ใจล่นแลว เกิดขั้นก*บ่ผู้ที่เการพน*บ่ถึอหรือสนิทชิดชอบแน่ทีเดียว จึงรีบลงไปร'บ โทรศ*พที ผ้ที่พูดมาคือ คุณกรยุพิน อดีฅอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสายบ คุณกรบอกว่า ณุจ์าอย่ากก'ใจนะ คุณเสีย ๆ แล้วเมื่อหะก็นึ โทรศ*พทีมาบอก คุณกรบอกว่า คุณชม*ยห่อมาที่ถ้านถ้าพเจ้าไม ขอให้คุณกรช่วยบอกให้ถ้าพเจ้าทราบถ้วย ถ้าพเจ้าหกใจม ข่าวว่าคุณเจ็บบ่วยเลย คุณกรูยุพินบอกว่าคุณไม่ได้เจ็บไข อย่หี ‘คุ บ่นว่าหนาว แถ้วคุณก็หล*บ่ไปเลย พอทราบเช่นนึถ้าพ ไห้ว่า กณมีบุญแท้ที่จากไปถ้วยอาการสงบ ไม่ไห้เจ็บบ่วย เลย แห่ก็อดเสียใจไม่ไห้ว่า ไม่ไห้มีโอกาสไปกราบเยี่ยมและร'บ่ใช้ ในระยะนํ้เลย นบฅํ้งแห่วนเถ้าเรียนท กวามร้สึกที่ถ้เพเจ้ามีห่อคุณ บญญา จนทุกวนนั้ว่า คุณเบนเจ้าของโรงเรียนและศิษย์สายบญ ท,งอหีฅ บ่จจุถ้น และอนากห ถึงแม้ว่าร่างกายของคุณจะจากสา ไปแลว แห่ถ้าพเจ้าเชื่อว่าว่ญญาณของคุณห่องสิงฟิอิออยู่ที อย่างแน่นอน คุณเบืนกรู'ใหญ่คนแรกของ'โรงเรียนสายบ'ญญา และเบ
( 1*0๔) ผู้ก่อหงสายบญญาสมาคมและมูลนิธิ ส.ป.ส. ซึ่งเบนสมาคมนกเรียน หญิงสมาคมที่สองรองจากสมาคมน์กเรียนเก่าราชินี คุณเบื่นกรูใ ความคิดทไเสม”ยอยู่เสมอ เล็งเห็นการณ์ไกล ในการก่อห1ง์สมาคมน เก่าน คุณไค้คุณอาจมื่นมานิดย่นเรศรี ซึ่งขณะนไเคุณพ่ ไค้เชิญมาช่วยผีกห'ดละกรที่โรงเรียนสายบญญา เบนที่ปรึกษ ร่วมด*วิยกรูในโรงเรียนอีกหลายท่านคือ คุณกรูหงส์ กี่ศิรี คุณ แรงขำ คุณครูลำเพา สุขุมาลจํนทรี (ถึงแก่กรรม) คุณกรล จ'นทรงาม (เวลานั้เบนหม่อมละไม ชยางกูร) คุณกรูสมถวิล ส'งขะทร และข*าพเจำ เมื่อจํดฅั้งสมาคมสำเร็จ คุณก็เบนนายกสมาคมกนแรก ร'กโรงเรียนสายบํญญา และสายบญญาสมาคมอย่างที่จะหาใครร'กไ ท่านยากมาก คุณพยายามทุกวิถีทางที่จะนำความเจริญมาสู่โ สมาคม ที่งในระหว่างที่ท่านร'บราชการอยู่และออกร'บบำนาญแล*วิ คุณทำบุญอายุครบ ๗๙ ย่างบี1ที่ ๘๐ ทางโรงเรียนและสมาคมไค้จ ให้ที่ ร.ร. สายบญญา ในงานนั้ใค้มีศษย์เก่าแทบทุกรุ่นมาก และนำเงินมาร่วมทำบุญก'บคุณแล*วิแค่คุณจะทำบุญทางไหน ปรากฎว่ รวบรวมเงินไค้ในวนนนหลายหมื่นบาท คุณไค้มอบเงินจำนวนนั นิธิ ส.ป.ส. ที่งหมด รู้สึกว่าคุณปล็มบี่กิมากที่ไค้บริจาคเงินจำน นิธิ เวิฅมล ส.ป.ส. ใน ของคุณเท่าทไค้ใกล้ชิด ก็ไค้เห็ ประโยชนํค่อผู้อึ่นฅลอดมา ใครมีบญหาอะไร กิคข่ดอะไร ไม่ว่าจะเบ็1น เรื่องส่วนห่วิหรีอเรึ่องธุระการงาน ไปหาคุณแล็วิจะไค้รบความสว่ สบายใจกลบไปแน่นอน คุณไม่หวงวิชาเหมือนผู้ใหญ่สมัยโบราณ อยากจะสอนทุกอย่างที่ผู้อนฅองการเรียน คุณสอนด*วิยศร'ท่ธาและด*วิ ความเค็มใจ ชีวิฅของคุณเบนกรูจริง ๆ ข่าพเจำอยากขอเน์น์ว่า คุณ
(1ยง0 กรทํ้งชีวิทจก่1จ ในว'นเกิดของบื่น่ คือว่นที่ ๒๗ มีนาคม คณก็ไค้เฅ รวบรวมคำราก*บข้าวที่คุณไค้ทดลองทำแล่ว (วิธีแต่งคำราก'บข้าวของคุ คุณจะต้องทำเสียก่อนด้วยส่วนล่ต่ที่ถูกล่อง) พิมพ์แจกลกศิษย์ เสียดายที่คุณไม่ไค้มีโอกาสอยู่แจกหน'ง์สีอที่คุณด้งใจไว้ว่า จะแจกในงานว'น เกิด กลายเบนพวกเราไค้ร'บแจกหน'งสือนํนในว'นที่ไม่มีร่างของคุณ พวกเราไค้กราบไหว้บูชาเสียแล่ว คุณไค้จากพวกเร าไปแล่ว คุณจ ะ'ไม่กล'บมาอีก สีงที่คุณทั้ ก*บเราก็คือกวามทรงจำที่ใมมว*น่ลมเลอน เราจำไค้ทุกอย่างทีคุณ ก'บเราและก'บ่โลกด้วยเมดดาอารีและ'ใมกรีจิฅ และด้วยอุดมการอนสงสง ของ ครู เรณู สูตะบุตร ร.ร. สมถวิล ราขคำร
ควยระลึกถง “คณ9 9 เมื่อข้าพเจ้าไค้ทราบข่าวว่า กุณเกอง ถึงแก่กรรม รู้สึก งง ขนลุก แค่พอทราบฅ่อไปว่า ท่านจากไปกำยอาการอ้นสงบ ท่าให ก่อยมีสฅิ แก่เสียใจที่มิไค้เห็นใจท่าน เพราะ'ใน-ว*น่น้นข่าพเจ จำเหว'คเสีย ข้าพเจำมาเข้าเรียนในโรงเรียนสายบญญา พ.ศ. ๒๔๖๘ ไค้เห็ ท่านนงอยู่ที่โต๊ะอาจารย์ใหญ่ สวมแว่น รู้สึกเการพยำเก เกือบจะพกไค้ว่ากลำท่านที่สุคในโลก ท่านมีบุกกลกล*กษณะ น่าเคารพ นาเสียงก่ง เฉยบขาค บางกรงท่านเรียกชื่อ ผู้ถูกเรียกถึง สะกุ้ง ท่านไค้อบรมให้ลูกศิษย์มีมรรยาทเรียบรอย มีความเบึนผ้ค้ท่ ใจและการแสคงออก ท่านไม่ยอมให้พวกเราคอบท่านว่าท่าไม่ไค้ กำคอบว่า จะพยายามท่าให้ไค้ หรือจะท่าให้คีที่ลุคเท่าที ข่าพเจำไค้จคจำมาอบรม ลูก—หลาน—ศิษย์ของข้าพเจ้าจนทุกจ้นน้ ข้าพเจ้ากำพรำมารคา พ.ศ. ๒๔๗๓ พอท่านทราบ ท่านก แสคงความสงสาร เมฅฅาก่อข้าพเจ้า กอยเรียกไปไก่ถามทุกข์สุขอยู่เส นอกจากท่านจะอบรมพวกเราให้มีจิกใจเขมแข็ง อคทน ร์อส่ฅย์ แลำ ยำให้เบนแม่บานท่าอาหารการกรำ การช่างไค้ทุกอย่าง ผ้ที่เข แลำจะก่องไค้ถ่ายทอควิช'เการบำนการเรือนอยู่เสมอ เมื่อข้าพเจ้าสอบวิชากรูประถมไค้ พ.ศ. ๒๔๗๖ อายุยำไม่ถึ บื่ กามระเบืยบยำบรรจุเบนกรูไม่ไค้ แก่ท่านไค้กรุณาสนบสนนขอ ข้าพเจ้าเบนกรูน้อยโรงเรียนสายบญญา โกยอ้างว่าข้าพเจ้า
(เ80าเ) สอนมาแล*ว มีกวามสามารถเบี่นกรประ จำชนไเา ขำพเจำ จึงได้เข่าร ราชการเบ็๋นกรประจำชนม่ธยมบี่ที่ ๕ ค. ของโรงเรียนสายบญญามาฅลอด จนถึง พ.ศ. ๒๔๘® จึงไปศึกษาวิชากรอนุบาลต่อ ถเ ประเทศญี ท่านได้ส่งสอนให้ความห่วงใยก่อข่าพเจ้าอยู่ดลอดมา ถึงแม้ว่าข ถูกข่ายส่งก'คไปบรรจุอยู่กองผึ1กหํด้กรเมื่อสำเร็จการศึกษาจากประเท แล้วก็ดาม เมื่อข์าพเจ้าไปกราบเยี่ยมเขียนท่านทุกกร*ง ท่านจ กวามดีใจและพูดว่า แหม ฉ'นกำล้งคิดถึงถวิลอยู่ทีเคียว ท กวามสนิทสนมแก่ครอบกร'วของข่าพเจ้าเสมือนเบนถูก - หลานของท่ ดํว์ยเหดุน้เอง กวามล้มพ'นธ์ทางจึฅใจของพวกเราที่มีฅ่อท่าน ประดจญาฅิผ้ใหญ่ที่ร'กและเคารพจึงแน่นแพนดลอดมา ท่านจะทำบุญ ที่ไหนค*องบอกให้ร่วมทำบุญด่วย ในระยะสอง-สามบื่น่ท่านแข็งแ อื่มเอิบ ไม่ก่อยมีโรกภ*ข จึงทำให้พวกเราไม่เคยคิดว่าท่านจะจากไ เร็วเช่นนื อย่างไรก็คาม ท่าน ซึ่งเรไรกเการพยี่ง ได้จากไปอย น สงบสุข ไม่มืห่วงใย มีแต่กวามปลั๊มบิฅิในกุศลทาน และวิทยาภาพ ซึ่งท่านได้ปฏิบํฅไวิ ข่าพเจ้าม่นใจว่าท่านได้ถู่สวรรค์ช*นวิมานแล้ แน่นอน กงที่งไว้แต่คำส่งสอน และวิชาความรู้ ซึ่งคิษย์จะได้น ฅลอดช^วกาลปIาวสาน สแถวิล ลํวิบะทรพย์ ร.ร, ตมถวิล
ทานอาปีารยํ่ ม.ร.ว. เตอง สนิทวาส พระคุณที่ย'งจคจำและไม่เกยลืมเลยในชีวิต เมื่อข้า อุปการะคุณจาก “ม.ร.ว. เตอง สนิทวงศ์ ผู้เบั้นครูประชำชว่ต” กวามจริงที่จะกล่าวได้ว่า ชวิฅนั้ ท่านผู้มีพระคุณนั้ พรรณาพระกณเท่าที่สามารถจะเขยนได้ ซึ่งกวามจริงแล้ว ๖ บ ใกล้ชิดท่านได้รบการอบรมสงสอนจากท่าน จนเพื่อนบางกนก '‘ลูกศษย์กนกุฎิ” ซึ่งไม่สามารถพรรณาได้หมด ไม่ได้ยกยอว่า ท เบนกรสฅรีที่เลิศผู้หนึ่งในประเทศไทย ล้าเปรียบคุณงามกวามดีขอ แล้วท่านเบนผู้มีน์าใจกรุอ'นงามตลอดกาล เบนอาจารย์ก่งแท่ล ชีวิต ที่จำใด้ผงใจ “ล้องทำทุกอย่างให้ได้ ไม่มีลืงใดที่จะทำ ไม่ได้ ทำใหม่ ทุ ทุ” จนน\"งนึ่าฅาไหล แท่น'นแหละกรุที่หาไม อย่างล้องทำให้ได้ ก'บข้าว กาว หวาน ดอกไม้ — สด แล้ ใบฅอง เย็บ บั้ก ถ'ก ร่อย แม้มีกรอบกรำแล้วไปกราบเยี่ยมเยึยนจะ; ได้รบการอบรมส่งสอนแนะแนวชีวิตที่มีประโยชน์กล'บไปทุกกรํ้ง หาอาหารแปลก ทุ ที่ทำขั้นใหม่ ตลอดจนการผี่มีอที่ทำใหม่ ทุ ขั้นมา สอนเพื่มให้ รุ้สืกว่าไม่มีสึงใดที่ท่านทำไม่ได้ ท่านเบั้นกรุอย ของท่าน สอนอยู่ตลอดชีวิตจริง ทุ ทุกส็งทุกอย่างของท่านป ระเบยบ ประด้ษ3 บ่ระดอย อย่างหาไกรเหมีอนยาก ไม่ว่าจะฅิดข อะไร ท่านสามารถแก้ไขให้ได้ทุกอย่าง แม้แค่การศึกษาทางพร ศาสนา ท่านย'งให้กำแนะนำ ซึ่งย'งจำกองหู เมื่อกราบเรึยนท่านว ขณะนึ่อยากศึกษาทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้วิดใจสงบ
()®สิ่) ว่า “ฉินอยากให้จร*สไปหาพระอาจารย์ ท่านมหาบ*ว” แท่น่าเสียคา ผ่านมา ต๐ บื่ ขำพเจ้าพึ่งไค้กราบท่านพระอาจารย์มหาบ'ว และก เรียนลิบท่านว่า ม.ร.ว. เฅํ้อง ให้มากราบ ย'งม์ใค้นำข่าวน ทราบว่าไค้พบท่านพระอาจารย์มหาบ'วแลิว ท่านมาจากไปเสียก่อน รู้ เสียดายและอดโทษลิวเองไม่ไค้ว่าเพราะนอนใจว่าท่านจะลิงไม่เบน นี่แหละคือกวามประมาท ลิาท่านจะทราบไค้โดยวิธีใดแลิว ไค้โ ประทานกรณาอภ้ยในกวามประมาทกรงนี่ลิวย ยงระลึกถึง พระกุณทไค เกยกรุณาโดยมิไค้ลืมเลย เด็กไทย ท่องประณํ!ฅ ใจเย็น มุ่งทำให้เรียบร่อย อร่อ เพียรทำให้เสร็จ ฅ่ง์ใจมุ่งมน แก้ไขให้คีขึน อย่าเอาอย่างใกร เบนค้น ทุ จงร้จกประฅิษ^ประคอ!]ให้มีกวามกิคกวามรู้ของกวกว^ วิ*3 เอาแก่เยี่ยง ใช้บญญาของฅนแก้ไขออกมาใหม่ วินเบนนิสสย ทำท กรงก่องให้คีขนกว่าเค้ม ถาคแลวกวิคเบนคำราไว้เคือ^กรามวิา การทำบญของทาน เช่นการใสบากร ใส่กร งละ ๕๐ — ๘๐ องค์ ของที่ใส่ท่องอร่อย ประณีต สวย น่ารบประทาน คือใส่แท่ข และทำเองเสมอ ๆ เช่น มะปรางรั้ว ๕0 กระทง ๆ ละประมาณ ๗ —๘ ผลปอกกนกนยง รง หมกเค ฅองผคท ละกะทะ ทุ ละ© กระทง ขนมทุก ขนํคท่องท่าเอง ประณีต สอาด ท่านเบนผู้ไค้ทำบุญไว้มาก ถกค จนท่องรองไห้ตาม ๆ ลิน่ แท่ผลที่รบคุ้มค่า ไปที่ไห หน้าใกร เห็นเขาอวดกนว่าเขาทำลิ'ยไน่น ลิ™นี่ ดีลิน ไ อาจารย์เราสอนแท่ร แท่ทำเบน’ไม่รู้ดูเขาทำลิน ท่านผึ1กแบ ท่วยและไดรอมบุญไปด,'ดาาา^รเสร^
(๓อ) สี่งที่น่าสรรเสริญที่สุด ท่านไม่มีกวามล็บดีตองกาวิจะไ ไว้เก่งกนเดียวจนวิชาคายไปก*บก*ว ท่านบอกให้หมกโกยไม่มิคบง ท่าน สอน\")ให้ได้ดีจริง\") เมี่อท่านทราบอะ'ไงดีๆ หรือมีอะไรดีๆ มา ฅ้อ์งบอก แจก เขียนไว้ให้ ท่านเบื่นกรจริง ๆ ท่านศึกษาของท่ เสมอ แม้แต่หน*งสือต่างประเทศก็อ่านมิได้ชาด สี่ง'ไหนทีท่า'ไม่ก่อยดี ถ้าท่านท่าได้ดีขั้น จะเรียกไปและสอนให้ท*นที ท่านศึกษาก่นกวาฅล ชวิฅ และถ่ายทอคความรู้ที่เบนประโยชน์ฅลอดชึวิฅ ท่าน มีศร*ทธา ไม่เบื่อสอน ท่านมีเลือคเนอเบื่นกรู เหึนอกเห็นใจ ม*กจะไม่ถูกหู แต่ถ้าเราทนได้ม*กจะเบื่นคุณประโยชน์ ชร*ส สนิทวง/ ณ อยุธยา
ร?5ลึกฉึฒระคุณท่านอาปีารยึ้ อมนา สกุกาเรน กตฌูณู กตเวทินํ อาจๅริย คุณุตฺตริ สงฺขาร สรริ ปูชํ ท!) ธ!) บุ!)ผํ สุคนธํ ปท!) อภปูชายามิ พระคุณของอาจารย์ ผู้ประสิทธป!:สาทความรู้ ไม่มิสิ จะนำมาเปรยบเทยบได้ ขอบุชๅ ท่านอาจารย์หญิง เตอง สนทวงศเช์อพระวงศ์พงศ์เดชพระทรงศร เบ็1นบี่นหลกแก่กุลสฅรี นวลนารีที่เรียน ณ สายบญญา สมโ)น,นท่านเบนอาจารย์ใหญ่ เขไ)งวดในการอบรมบ่มศึกษา นอกจากจะเพียรเรียนวิชา กิริยามารยาทคํองงามดี ทะงการกรำเย็บบกและถกรํอย ไม่ให้นํอยคุณค่ามารศรี เพื่อศ*กดเพื่อสกลยฺพดี ได้เบนที่ชูหนำพานิยม กรุณาเหล่าศิษย์ไม่ขึ๋นขม น&า-เ. จทIานมปทะงเมตตา ศิษย์ที่งรกทํ้ง์กลำทงชื่นชม สมกรสมานเกลียวกลมตลอดกาล เมื่อเรียนจบจากโรงเรียนลาออกไป มีเกียรติใหญ่ได้ดีมีหลำจู[ไน ก็ได้ใช้วิชาของอาจารย์ ปางชำนาญปางถ่ายทอดเผยแพร่ไป อายุท่านยืนยาวแปดสิบกว่กา็ยํงมากราบพบเคารพไหว้ ต่างพาลูกพาหลานหนายองใย “แกยำซนอยู่หรือไม่”นะนงกร
(๓)®) สม่ยก่อนพวกเราชอบบี!นหน่าตท่่านางเกยย่างมาพบประสพหาญ เรียกไปทำโทษก่นเสียจุนอาน ต่วยการให้เดินกล*บไปและกลบ โอ้พร ะคุณของท่านก่งอบอุต่วงนจิตกรุ่นกวามหล*งอาลยหา ท่านจุากไปไม่กลบคืนมา ทํ้งํ้กายาก็ไม่เห็นเช่นก่อนวาร “ไปไม่กล'บหลบ'ใม่ตึ่นพ1น'โม่ได้ ” กำเตือนให้คิดระลึกถึงสงขาร แม้ชีวิตขอไค้จุากพระยามาร จะซมซานกรานกราบเข้าพาที อ้นเกิดแก่เว็บตายวายชีวาฅม์ แม้ขยาดอย่างไรไม่อาจหนี ถึงคราวแลํวก็ตองยอมพลี ท่าความดีคง'ไม่สั้นผ้จดจำ ขอต8งจิตอธิษฐานให้อาจารย์ กมลมาลย์จงผ่านเนตรและโสตรสไ) ศิษย์ที่ร*กอาลไ)เหลือระกำ ขอรำพ*นพรํ่าวอนถอนฤท่ย ปวงเทพไท้เทวาในสรวงสวรรค์ กรรมดีม่นกต่ญฅกํนิสสย บุญกุศลจุงนำท่านสู่แดนไตร ศิษย์บไ/^.กึ. เช (2 ไว?น่ - เ20ปน่ (ท)๓ กาญจนา ดิษยวรรธนะ (กำลํงสร) ๒๓ โแเ/ไ'ไพนธ ๒(เ'๑๑
ราลกถงคุฌ เมอเด็ก ทุ พวกเรากล*วคุณ,ก่นมาก พอเห็นคุณอยู่ที่ จะตองเสียงไปอยู่ที่อื่น เวลาทำการผี1มือหรือการครำ พอคุณ เราใจกอตึกตำไม่สบายใจเลย พอกณเคินออก'ไป พวกเราหายใจโล่งอก ไปฅาม ๆ ก่น เมื่อเราเรียนสำเร็จ ออกจากโรงเรียน คุณแจกเข็มกลำกนละก่น เบ็1นเข็มเงินลงยาสีเขียว อำษร ต คุณอธิบายว่า ต คือ เตือน เตือนใจพวกเราให้ประพฤติด็อยู่เสมอ ในระยะหลำ'น เมื่อถึงก่นเกิดคุณ ก่นที่ ๒๗ มีนาคม พวกเรา เรี่ยไรก่นคนละบาทสองบาทซอของทีไม่มืรากาค่างวดอะไร เข่น นำห สบ่ ๆลฯ แต่เราเขียนชื่อพวกเราเรยงเบนแถวยาวยด คุณอ่านชอพวก เราแลำดีใจมาก ท่านนำไปบิ1คไว้ในสมุดของท่านต่อ ทุ กนมาทุก ไปเห็นแลำชื่นใจจริง ๆ เมื่อก่นที ๒๗ มนากม ๒๕0๖ สายบญญาสมาคมในพ',ะบรม ราซินปก่มภ์ ร่วมกบ'โรงเร?-)นสายบญญ’1 ไดจดงานทาบุญอายุครบ ๘ว บี'ของคุณ ในวนนนทางโรงเรียนได้จำให้นกเรียนบวิยุบนมารำอวยพร คุณ ดำคำประพ่นธ์ต่อไปนี
๓๔ นางนาค ว*น เอย ว*นน้ ดลดิถีศรีกำเนิดประเสริ'1เสนต ศิษยานศิษย์ย่อมมาพรํอมก่น โดยกต่ญญุฅาฅวงจากดวงใจ ขอให้ “คณ” บุญญฤทธประสิทธสุข เบีนมื่งขว*ญศิษย์ทุกยุ ศิษย์เกษมเปรมปรีคิ้ทุกบีไป สนอง'ในการณของ “คุณ” เอย สํ่าเอย สํ่าศิษย์ ทุกคนคิดถึง “คุณ” อยู่ไม่รู้หาย พระคุณเนาเก่าก่อนไม่คลอนคลาย ทุกลมหายใจกรุ่นพระคุณคร ขอการุญของ ''คุณ” ในสม*ยก่อน เอั้ออาทรท่านลอายุม\"น โฉลกเสริมเฉลิมศรีฉวีวรรณ สุฃะสรรพ์พละพูนไพบูลย์เอย วรเชษช พรเอย พรผอง ซงศิษย์ปองโปรดสมอารมณ์ประส สนองหนุน “คุณ” ชื่นชีพยืนยงเบีนร่มธงทิพย์สถิตศิษย์บชา สุขเกษมเปรมปราศพยาธิสรรพ์ ประไพพรรณผ่องพกฅร์บุญรกบา นิราศทุกข์สุขสว*สดเบีนอ*ตรา ทุกทิวาราฅรีทวีเอย. อนึ่ง อร่ามสม มินประพาห ก็ได้แต่งกำประพนธ์ไว้บท เตรียมจะแสดงในงานว*นนํ้น หากแต่บ'งเอิญไม่ใช่ว*'นหยุดราชกา สามารถจะจ*คทำได้ จึงขอขอนำกำประพ*นธ์ค*งกล่าวมาลงไว้ในทิน ยี่สิบเจ็ดมีนามาบรรจบ แปดสิบครบอายุคุณบุญฉนำ ท่านอาจารย์ผู้ประเสริ^เลิศคุณธรรม พระคุณลาศิษย์รำลึกจารึกน มิรู้ลืมดื่มคํ่าที่พรํ่าสอน สรรพวิชาอาทรวอนไต่ถาม
๓(^ ให้รู้ซ็งถึงหล*กิจโ)ดีงาม พยายามอบรมสมสตรี ท1งทางโลกทางธรรมกำบํณฑิต กล่อมเกลาจิตให้รู้จกรไศกิดศรี จริยศึกษาบรรคามี คุณท่านชั้แจงศิษย์ไม่!!คบ ดุจประทีปส่องทางสว่างหลำ ศิษย์ท”วหนำซาบซงถึง ความหล จึงพร่อมใจไหว้พระตร่ยร่ตนํ โปรดประทานพรขล่งดิงขำ ฯ (ไฟดิบ เทพบุตร—เทพธิดา ออก รำดาวดึงส์) วํนเอยวนนั้ เบ็1นวํนดึ พวกขำ ฯ จะรองจะรำ บำ รองรำพรชโ) ให้สุขสำราญ สำเริงหฤหโ) ให้พลานามโ) อายุขโ)ยืน ประสงค์สื่ง'ใด ได้สมใจกด จะประกอบกิจ สไ)ฤทธี้ทุกสถาน ทุกวนสดชื่น ทุกคืนเบิกบาน โรคร่ายภโ)พาล คลบนดาลพ่ายภินท์ ในวไทำบุญอายุครบ ๘0 บีน คุณได้แจกสมุดที่ระลึกมีภาพถ่า แก่ผู้ไปกราบรดนาท่านทุกกน ในสมุดที่ระลึกนั้ ท่านไค ใจแก่ศิษย์ไว้ดิงน “ขำพเจารู้สิกปลมบิต ดใจ สุขใจ เมอทราบว่า เธอท ทุกรุ่น ทุกว'ย ยิงคงนกถึงขำพเจา คนแก่ซงควรจะถูกลมแก่ว ทำให้รู้สิกซาบซงเบนอย่างยิงใน นำใจของ พวกเธอ ท'งหลาย สิงทขำพเขำอยากจะให้เธอไว้เบนทระลกก็คอ ขอให้เธอจงยด ธรรมะเหล่าน ๑. ให้มสติสมปชญญะ คอให้ระถึกก่อนทจะท้า จะพูด คด มความรอบคอบละเอยดลออ ไม,ประมาท ก่อนทจะพูดจะทำ ถาเราม่สติสมปช่ญญะแลว ก็เปรยบเหมอนรถทมสารถึทดนนเอง ไม่ ม่ถึดพลาด
(๓๖) ๒. มหิริโอตตไ]ปะ คอ ละอายใจตนเองทจะทำช'ว ธรรมะ ขอนคุ้มครองโลก และทำให้คนเบนผู้ด มอ'ธยาศ'ยเรยบรอ อาริ เมตตาต่อผ้อน ไมเบยดเบยฬผู้ใดให้ได้รบความเดอดรอน ๓. ม ศล ขอให้เธอทุกคนจงปฎิบตศลห้าไว้เบนประจำ เคยชน ๔. ม สมาธิ คอทำจิตใจบรสุทธิ รู้สกต'วว่าตนทำอะ ทํไหน หิดอะไรอยู่เสมอ ยิงทำได้มากก็ยิงด้ขนเบนทวคูณ จิ บริสุทธิใสสว่าง ก็จะเหิดบญญา 4 ^ ^ ๔ เ^ ^ ๕. ม บญญา ทเหิดจากจิตบริสุทธินแหละทจะนำเราสู คต ทไโลกนและโลกหห้า ทไร่1ความฉลาดรอมรู้ในสิงทคนธรรมด จะรู้ได้ ห้าเธอทไหลายได้ปฎิบตตามธรรมะอย่างย่อ ซงห้าพเห้ ปฎิบตมาเบนประจำ และได้ผลในทางจิตสงบ เช่นนํแห้ว จะ ความเจริญรุ่งเรืองมไสู่ห้3เธอทั้งหลายเบนแม่นมน ขอขอบใจ อำนวยพรให้เธอทํ้งหลายจงประสบแต่ความสุข ความสำเร็จ ปฎบํตธรรม และการดำเนํนช่ริตตลอดช'วกาลนานเทอญ ” หากคุณสามารถทราบห้วยญาณวิถีใดก็ฅาม พวกเราขอกรา เรียนว่า จะพยายามดำเนินตามแนวคำส่งสอนของคุณทุกประอๅร- ศิษย์สายบญญารุ่น ๒๔๖๗-๗๗
ปรย้วํต หม่อมราชวงศ์เตอง สนิทวงส (เมอประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๖ กณ'ไค้ปรารภกบผู้เขียนว่า มกมีศิษย์ ผู้คุ้นเกยมๅไฅ่ถามถึงการศิกษาข0งท่ๅน การปกครองกรและนกเรียนฅลอควินวิธีสอนใน โรง^รียนสายบญญา หากไค้เรียบเรียงขนไว้ ก็กงจะเบนประโยชน์แก่อนุชนรุ่ บางไม'มากก็นอย ผู้เขียนไค้กราบเรียนขอให้ท่านเล่าให้พ้ง แล่วผู้เขียนนำไ ชอกวามในเกรองหมายอญญประกาศฅ่อไปน เบนขอกวามที่ผู้เขียนเรียบเรียงขน แล คุณ'ไค้แก้ไขเพี่มเศิมแล่'ว) เกษม แขาพเจาเกิคเมื่อวํนที่ ๒๗ มื่นากม พ.ศ. ๒๔๒๖ ที่วงถนนกรุง คือที่บ้งโรงเรียนสายบญฌาบจจุบ้นนั้ เสด็จพ่อของขำพ พระวรวงศ์เธอ พระองศ์เจ่าสายสินิทวงศ์ มารดาของขำพเจ่ แจ่ม สนิทวงศ์ณอยุธยา การศึกษาของขำพเขำออกจะกระท่อนกร มาก ลุ่มๆคอนๆไม่เ!!นไปดามลำก*บด'งเด็กรุ่นหล,ง เบน'กินว่าเมื่ออาย ราว ๕-๖ขวบ ก่อนที่จะเรีมเรียนหนังสือไทย ก็ได้เรียนหนังสื ก*บแหม่มแมรี ขึกส์ เหฅุที่ได้เรียนก็เพราะ'โนระยะนํ้นพระเข เธอ พระองศ์เขำเขาวภาพงศ์สนิท และสมเด็จพระเขำบรมวงศ์ พระยาช*ยนาทนเรนทร พระเขำลูกเธอและพระเขำลูกยาเธอในพระบาท สมเด็จพระจลจอมเกขำเขํ1อย่ห์วได้เสด็จมาประทบอยู่ทีข พระองศ์เขำสายสินิทวงศ์ เสด็จดาได้ทรงจางแหม่มมาสอนหนง เขำจึงพลอยไดเรยนควย แดเรยนอยู่ไม่นานกเลิก เพราะพระอง สายสนิท'วงศ์ทิดราชการบกษใฅ้ ต่อมาขำพเขำได้เรีมเรียนหนังสือ บ้านกบญาด็ผู้ใหญ่ คือ ม.ร.ว. วงศ์ นพวงศ์ ผู้อำนวยการโอสถศาล
(๓๘) (เดิม) ชึ่งฅ่อมาท*งเบนโรงพยาบาลกลาง นอกซาก ม.ร.ว. วงศ นพวงศ แล้ว ครูของขาพเจ่าอีกผู้หนึ่ง'1นระยะนืก็คือ ม.ร.ว. อน พี่ชายของข่าพเล้าเอง หนังสือเรียนไนครง๎น้น คือ ชคมลบทบรรพกิจ ๖ เล่ม พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารียางกร) ซึ่งโรงเรียนพระฅำหนก สวนกุหลาบล้กพิมพ์ขั้น วิธีเรียนของล้าพเล้ามีกํงนิ มนต์และท่องสระพยญชนะแจกลูกก่อนเสมอ เรื่มกำยการสวกมนต์ “นโ พุทธายะ สิทธิ” แล้วจึงท่องสระ พยํญชนะ จบแล้วถึงไตรยางศ จึงแจกลูกเรีมจากแม่ ก. กา จำไค้แล้วล้นวรรณยุกศ์ พอแจกลูกครบทุกกำ ก็ล้นวรรณยุกต์เหมือนแม่ ก. กา วิธีเร น้นก็คือเรียนก่อไปทีละแม่ ทำนองนิอีกจนจบแม่เกอข ขณะที่เรียนจบแม่กนนน มีอายุไค้ @0 ขวบ ยิงอ่านหนั ออก กร4นิไค้พงเกรีคพงศาวดารจีนเรื่องช้องก่ง รู้สึกสนุก อยากอ่านหนังสือให้ออกล้าง จึงไปขอให้พี่ชายสอนให้ แล้วหา ท่า พุ มาหกอ่านเองล้าง ก็อ่านไค้ ไค้ไปอ่านให้มารดาพี่ มาก อ่าใกอ่านไม่ลูก ท่านก็บอกให้ ขาพเจา,จึงอ่านหนังสือ'ไค้ มา อนึ่งในล้องที่ช้าพเล้าอยู่น1น มีหนังสือสุภาษิ จีนหลายเรื่อง เช่น สามก๊ก สุภาษิตสอนหญิง สวสดิรกษา กฤษ สอนนอง พาลีสอนนอง ๆลๆ ล้าพเล้าไค้อ่านแก่หนังสือเหล่าน ก่นจนจำไค้ จึงกล้บมาอ่านมูลบทบรรพกิจอีกก็สามารถอ่าน'ไค้แก่ย VเI ม•ไ/[)ค*^
(๓ส์) สม'ยอยู่ขํงและเบนน*ภเรยนว‘งบล*ง ย่อมามารคาถึงแก่กรรมลง ราวพ.ศ.๒๔๔๐สมเด็จพระพ'นขํสส อยยิกาเขำทรงพระกรุณาร'บอปการะ ขำพเจ่าจึงไค้เขำไปอยู่ใ เขํศึกษาย่อในโรงเรียนกุลสตรีว'งหล'ง สมยแหม่มโกสํเบ็นกรูใหญ่ ครูอ ก็มีครูสุวรรณ กรูฅาก ขำพเจ่าไค้เรียนก'บกรูฅาค เขำเรียนช8นประโย เรียนอยู่ ๓ บี่ สอบไล่ไค้ทุกบื่ไม่เคยตกเลย สำเร็จช1น ๓ ขอ กุลสตรีว'งหล*ง เมือ พ.ศ. ๒๔๔๓ (เวลาน1นเรียกว่า รใ311ส31-(3 ๓ ชนสูง สุดกึอช,น ๖) วิธีการสอบไล่ในสม*ยน็นก็คือ มีกรรมการมาจากกระทรวง เบนผู้สอบ สอบทงภาษาไทยและภาษาอ'งกฤษ ในขณะที่เรียนอ โรงเรียนว'งหขํงน1น ม*กจะต้องช่วยโรงเรียนทำงานพิเศษเสมอ เช่ รบแขกเมืองย่างประเทศ เวลาที่มีเขำฝร*งเขำมาเยือนประเทศไท การ'ไม่มีผู้หญิงที่พุดภาษาฝร'ง'ใต้ ทางโรงเรียนกุลสตรีว'งหล'งรืงม'กไค้ กำขอร*อง'ให้ส่งกรและน'กเรียนสอน'ไปร'บแขกเมืองที่เบื่นผู้หญ่งเสมอ น8นแฟชนแย่งกายถือตามแบบในขํง ขำพเขำเกยอยู่ในว*งจึงต้อ ช่วยแย่งต'วให้กรคำย เวลาน,นนิยมใส่เสอคุมหลงสะพายแพร ขาพเจ ศึกเปลี่ยนเบนเอาแพรมาจคที่บ่า เมือกรูแย่งไปก็ได้รบกำชมเชยว่ โน พ.ศ. ๒๔๔๓ เต้าจอม หม่อมราชวงศ์ขอ สนิทวงศ์ พี่ ขำพเขำซึ่งรบราชการอยู่ในขํงบวย ทรงพระกรุณาโปรดเกขำ รกษาตวทบาน ขาพเจากตามพออกมาอยูบานกาย ระยะน1.สกจพอทรง กรุณาขำงแหม่มมาสอน แย่เรียนอยู่ไม่ถึงบี่ พอพี่หายกขํบเขำขํง เจ่าก็กล'บเขํไปอยู่'ใน'ขํงอีก ไค้ไปรบใช้สมเก็^ขำพี่าท กรมหลวงเพชรบุรราชส่ธีนบร ในระหว่างอยู่ในขํงใด้มืโอกาสไกล เขำนาย ได้เห็น'งานพิธีย่าง ๆ ได้เรียนการปกครองและกิาเการงาน
(๔๐) ที่กุลสฅรีพึงรู้พึงเรียน ข่าพเฑ้บกพ*ดไค้ฅ^เท่ย'งไม่ไค้เข ว*,งหล'ง เมื่อเข่าไปอยู่ในว*,งกริงํ้ที่สองนื่ ข่าพเข่าผอมลง จากนอนคึกและร*บประทานอาหารไม่เบนเวลา ราวใน พ.ศ. ๒๔๔๘ จึง ทูลลาออกมาร*กษากำที่ม่าน เมื่อหายแล่วก็มิไค้กล*บเข่าไปอยู เวลาที่อยู่ในว*ง์ ๙ บ ตอนริบราชการระยะแรก เมื่อออกจากข่ง่แล่ว่ไค้มาอยู่ที่-ว*งเสคึจพ่ออีก ๗ บ องกท่านทูแลกิจการต่าง ๆ จึงไค้คุ้นเกยก*บงานทางการปกกรอง และ ศึกษาธรรมะทางพระพุทธศาสนา สำหริบการเรียนวิชา'สาม*ญนํ้น ก็เร ศวยฅนเอง ข่าพเข่าชอบอ่านพงศาวศาร ก็หาพงศาวดารเท่าที่มีอย เวลาน1นมาอ่าน หาหน*งสึออ*งกฤษมาอ่านและผึ'กห'?]แปลเอง โดยอา ล่นศ*,พที่จากคึกช*,นนารี ในรชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกฏเกล่าเข่า ทรงมีริบล่งให้ผ้รู้ภาษาอ',งกฤษมาแปลหน'งสือ ไค้แปลพวกนิทาน (?811 ฟธธ) แท่ไม่ จบ พระองศ์เข่าสายสํนิทวงศ์ สน พระชนมี ใน พ.ศ. ๒๔๕๕ พริอมใจก*น่ยกกำหน',กพริอมล่วยที่คึนข่างเอียงให้เบนของร'ชบาล โรงเรียนสำหริ,บกุลสฅรี ทงไค้บริจาคทริพย์ปฎิล่งขรณ์ท่าหน หาอุปกรณ์การสอนคลอคจนเศรองใช้ต่าง พุ สำหริบโรงเรียน หม่อ ราชวงศ์สุวพรรณ สนิทวงศ์ ไค้ริบฉนทะจากพระประยูรญาคึในพว วรวงศ์เธอ พระองคเจาสายสินิทวงศ ปรารภมาย'ง่กระทรวงธรรมกา พร’อมท*งหน*ง์สืออีกฉบบหนึ่ง มอบคึกและว*,งพระวรวงศ์เธอ พระองศ์ เข่าสายสินิท'วงศ์ให้กระทรวงธรรมการข่ดเบน'โรงเรียนสศรี
(๔®) ธรรมการไค้มอบให้กรมศึกษาธิการเบีนเจ่าหนำที่ จิ?'เการเบี่ครบน เขาเล่าเรียนไปพลางก่อนฤงแต่จินที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.กี. ๒๔๖0 แล็วนำ กวามกราบบงคมทลพระกรุณา ขอพระราชทานชี่อโรงเรียน พระบาท สมเกจพระมงกุฎเกลำเจ่าอยู่ห*วพระราชทานชื่อว่า โรงเรียนสายบีญญ, ขณะที่จ่กฅํ้ง๎โรงเรียนนน อธีบศึกรมศึกษาธิการ คือ พระยาราชนกูล (รื ศมายานนท์) เมื่อกรํ้งํ้เบนพระยาไพศาลศิลปคาสฅรี ไค้มาชวนข่าพเจ่ ไปเบื่นกรุใ หญ่ ฟ้าพเจ่าปฏิเสธอ่าง-ว่าศึกษามาน้อย ไม่มีความรู้อ อะไรก็ไม่เบน ท่านก็ฅอบว่า “ไม่มีกวามรู้ก็ไค้ ไม่?ว่องทำอะไร นํง นอน \"I ไม่รู้จะท่าอะไร ลุกขั้นปลูกพริกปลูกมะเขึอก็ไค้’, เคยฃอฅำ ทำราท่านก็บอกว่าไม่ต่อง ฉะนใเข่าพเจ่าจึงเรีมเข่าร'บราชการ 9๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ คือฅง็แต่จิ'นเบีกโรงเรียนเบีนกินมา กรนํจิ'นที่ @๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๑ พระประยรญาค้ในพระ วรวงศ์เธอ พระองศ์เจ่าสายส์นํทวงศ์ ไค้พรยมกนจ่กงานพิ เรียน อาราธนาพระสงฆ์ ๕ รูปเจริญพระพุทธมนท์ มีสมเก็จพระพ โฆษาจารย์ (เจริญ สุขบท) อศึฅเจ่าอาวาสจิกเทพศ์รินทรี เบีนพระธรรม'ใกรโลกาเบีนประธาน เจ่าพระยาธรรมศกคมนฅรี (สนน เทพห*'สค้น ณ อยุธยา) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ กราบบ*'งกมทูล รายงานการตงโรงเรียนสายบี’ญญา แก่สมเด็จพระเจ่าบรม'วงศ์เธอ เจ กรมพระยาภาณุกินธุวงศ์วรเคช องศ์ประธานในพิธี มีพระทำ สํ้นกระแสพระทำร*สแล้ว เสศึจทรงเบีกบานประทูห้องเรียน พระสงฆ์สวกชยมงกลศ'1ก'1 รื่ใพาทย์บรรเลงเพลงสาธุการ แลวเสก็จทอ พระเนฅรการสอนพุก'ง1•วิ111น
(๔!®)) เมื่อมารไ]หน้าที่กรใหญ่ ข่าพเจ้าก็ด้อ์งขวนขวายหาค ศึกษาด้วยฅนเธง ในด้านการปกกรอง ข่าพเจ้าถือสปปุริสธรรม ๗ กำของส่ฅบุรุษ ๗ อย่าง ได้แก่ กวามเบี่นผู้รู้จำเหฅุ ความเบนผู้รู กวามเบีนผู้รู้จ้กฅน ความเบนผู้รู้จ้กประมาณ ความเบื่นผู้รู้จ้กก ความเบนผู้รู้จำประชุมชน และความเบนผู้รู้จำเลือกบุกกล เบ็!นหล ในการปกครองโรงเรียน ข่าพเจ้าคแลโรงเรียนในด้านการปกครองแล ระเบียบการงานผายธุรการ กไ!สอนวิชาการช่างการครำ ไม่ได้สอ สาม'ญ เมึ๋อแรกเบี่คยำมีนำเรียนน้อยประมาณ, ๖0 กน มีกรู ๓ กน หลวงคุ้นขบวนสาฅร (กุ๊น อนไ]กุล) ครูวงศ์ ค*ณ,'ขสุร*ฅน์ และกรูโ เบ็๋นฝรงชาติรำแชีย เบ็1นกรูสอนภาษาอำกฤษ แห่มาสอนอยู่ไม่น ก็ลาออก ห่อมาไค้กรูเพิ,มอีก ๒ คน คือ ครูระเบียบ สุวงศ์ (น.ส. ระเบ สุวงศ์) และหม่อมหลวงสุกใจ อิกรางกร เบี่คสอนชนประถมบีที่®'—๒— และชนม*ธยมบี่ที่ @-๒—๓ (บีจซุบไแรียกว่าช*นประถมบีที่ ๕—๖—๗) ชนม*ธยมบื่ที่ ๓ มีนำเรียนเพียง ๓ กน ภายหลำไค้กรูแห (นางสาววาณี บ*ณ,เย็น) และครูนพ (นางนพ เนตรรำษี) มาเบนกรูภาษาอำกฤษ ขยายชนเรียนถึง'ชนม*ธยมบีที่ ๖ ไค้กรูมาเพีมอีก ๒ กน คือ กรทองเย (นางสาวทองเย็น เลขยานนท์) และกรูสงวน รำประเทศ นำเรียน สำเร็จชนม*ธยมบีที่ ๖ รุ่นแรกของโรงเรียนมี ๒ กน คือ กรชุ่ม ( นาง ชุ่มชื่น สุคนธรส ) และวงศ์ พ่วงเภฅรา ในกราวที่ออกรำนงานส จฅรลคา โรงเรียนกองออกที่งร่านกาวผี่มีอและรำนอาหาร ขำ ให้กรวงศ์ก*บกรแหอยู่รำนหนง และครูทองเย็นก*บกรูระเบีย หนึ่ง ข่าพเจ้าก่องกอยควบกุมกูแลทง๒ ราน ด้องจ'คอาหารเลยงผ้ที่ งาน เมื่อเลิกงานแลำ ว*นอาทิฅย็ก็ยำตองให้กรูมาทำบ''ญชีจน ๕
เสร็จ เพราะจะต้องรีบส่งกระทรวง บิคามารดาของกรูเหล่าน เบนห่วง เพราะเบนกรสาว \"I ทํ้งนน ขำพเจ่าจึงต้องเช่ารถม็ เหลานทกกน ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ ข้าพเจ่าเรีมบวยเบน'โรกประสาทอย่างแรง จึ ได้ลาพ*กราชการฅง์แต่ว*'นที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๕ ในระหว่า งลาได พ*กร*กษาฅำที่เมืองชายทะเล จนหายเบนปรกติ ร่างกายสมบูรณ์ วะหว่างที่ข้าพเจ้าลาพ*ก่ราชการน1น ทางกระทรวงไค้ส่งชนวิชาสิทธี้ ร*กนเนมิ) มาเบ็่นกรู'ใหญ่ ต่อมาขุนวิชาสิทธลอบวิชากฎหมายได ร*บราชการกระทรวงยุฅิธรรม โรงเรียนขาดกรูใหญ่ พระนิพ*นิธ์นิฅิสิท (สน'น สิงหแพทย์) พน'กงานดรวจการแขวงพระนกรใฅ้ มาขอให้ข้าพ เจ้ากลบไปเบนกรูใหญ่อึก ข้าพเจ้าจึงกล*บเข้าร*บราชการใหม ดลากม พ.ศ. ๒๔๖๙ รวมเวลาลาพ'กราชการประมาณ ๕ บิ1 โดยเหตุที่ข้าพเจ้าเกยบืวยเบนโรคประสาทมาแต้ว เมื่อ ร*บราชการกรีงหต้ง์ ทางกระทรวงจึงส่งกรูนพ เจริญวุ เจริญวุฒิ) ให้มาช่วยงานผายธุรการ พระนิพ*'นธ์นิติสิทธซ มาตงแต่ต้นน1นช่วยดุแลผาย1วิชาการ ข้าพเจ้าจึงดูแลแต่ต้านการ และการช่างการกรว ในระยะหล*ง์นได้กรูเพึ่มมาอีกหลายกน เช เทียบ พลภ'กด (นางประเทียบ พึ่งบุญ ณ อยุธยา) กรูสนิท (น.ส. สนิท จ*'นทนสมิต) กรูบุญเกลอ (น.ส. บุญเกลอ กรลกษณ์) กรยุ (น.ส. ยพิน สุกุมารท*ด)กรูชุ่ม (นางชุ่มชน สุกนธรส) ครูสอิง(น.ส. ลอง ผลาชีวะ) กรเลื่อน (น.ส. กอบกาญจน์ รตนวิจึฅร) ๆลๆ กรร่นหล*งๆต่อมๆก็มี กรูหงษ (น.ส. หงษ กี่ศิริ) กรูตาบ จแรงบ (นางตาบ แรงขำ) กรูละไม เภฅรารีฅน์ กรูนอม (นางอรรถไกว'
(๔!*) กรลำเพา สุนทรจินดา (นางลำเพา สุขุมาลจนทร) กรูละไม จนท (หม่อมละไม ชยางกร ณ อยธยา) กรูจำลอง (นางจำลอง มุสิกถาวร) กรูเรณู จุลสม\"ย (นางเรณู สูตะบุฅร) กรูกั๊ม (นายยม อุณณานน ครูประยร สุกุมารท'ด (นางยงประยูร ชวนเสถียร) ครูถวิล (น.ส. ถวิลวค พรหมากม) กรูจำลอง (น.ส. นวลปอง ประกายสินธุ) ฯลฯ ใน พ.ศ. ๒๔๗๔ เริมเบี่คสอนชํ้นม่ธยมบี1ที่ ๗ แผนกกลา คกนั้ไค้กรูที่สำเร็จอนุปริญญากรูม'ธยมจากจุฬาลงกรณมหาวิ ช8นม'ธยมบี'ที่ ๗ สองคน คือ กรร‘กนา (น.ส. ร*ฅนา ศุภคิริว ก\"บ กรูละออง วิริยคิริ (นางนวลละออ ลีละพ*นธุ) แด่แผนกกลางมี อยู่เพียงรุ่นเดียวก็เลิก ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ ใด้เบิ'ดสอนช8นม*ธ ภาษา บี!น็เบนบี!ที่น*กเรียนช8นม*ธยมบี,ที่ ๘ แผนกกลางสำเร และน*กเรียนสายบั๋ญญาที่ไปเขำศึกษาในคณะอ*,กษรคาสฅริและวิทยากา จุฬาลงกรณมหาวิทยาล*ยไค้เบนคนแรกก็คือ ละเมียค ลิมอ'’กษร (น.ส. ล เมียด สิมอ*กษร) ต่อมาไฅ้ครูจากจุฬาลงกรณมหา'วิทยาล*ยเพื่มขั้ กน คือ กรฉลวย กาญจนาคม (นาบงี, ฉลวย ว-ธา; ทํฅย์ะ) และกรพวง ^บี* บี ข่ เพชร กนดีเจริญ (นางพวงเพชร เอยมสกุล) นอกจากนน กระทรวง ย'งไค้ส่งอาจารย์มาสอนวิชาภาษาอ'งกกุษและกณิฅคาสตริช8นมํธยมบี!ที อีก คือ พระประมูลวิชาเพีม และนายอุดม กนิษฐ่ร*ฅน์ ใน พ.ก. ๒๔๗๗ ครู๔ กน ที่มาจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาล'ยลาออกเพื่อไปเรียนชํ้น ทำ'ให้เกิดขดุกขลก เพราะขาดกรูที่จะมาสอนช8นม'ธยมบี!ที่ ๗ เลื่อนกรูสอนชนม*ธยมบี่ที่ ๕—๖ เช่น กรูทองเย็น กรบุญเกลื่อ ๆลๆ มาสอนแทน กระทรวง'ไค้ส่งขุนประสงกจรรยามาสอนกณิ?)ศๅสตริแร นายอุดม กนิษ^รตน์ และไค้กรูเต็มดวง (น.ส. เต็มควง บนนาก) ม 4
((ะ^*3ะ) สอนวิชาภาษาองกฤษ แค่ถึงแม้จะขาคคร การสอบ1ไล่ชนมธยมบที่ พ.ศ. ๒๔๗๗—๒๔๗๘ กไครบผล1บนทนาพอใจ น*!ๆเรียนทง์ ๒ รุ่นนั้ไ สอบเช่าจุฬาลงกรณมหาวิทยาลโ)ไค้หลายกน ใน พ.ศ.๒๔๗๘ไค้เบี่ดแ วิทยาศาสตร์อีกแผนกหนึ่ง และไค้ ม.ล. ดวงแข สนิทวงศ์ (ม.ล. ด เลขยานนท์) มาสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ครุอื่น \"I นอกจากนึ่ก็มี ค (น.ส. จงถวิล พาณิช) กรุถวิล สวยสำอาง (นางสมถวิล ส*งขทร*พย์) กรุเทียบ (น.ส. เทียบจุฑา ฤกษสาร) ครุแอบ (นางกองกาญ สิทธิแพทย์) ครุเล็ก (นางเล็กดา จุลสมย) ครุบุญยง (น.ส. จรี มีศุข) กรุพ*นทีพา บุนนาก (นางพ้นทีพา อนุมานราชธน) ๆลๆ ใน พ.ศ. ๒๔๗ กรุที่ลาออกไปทำปริญญาอ*กษรศาสตร์บ*ณ'ทิต ไค้รบปริญญาแ มาสอนประจำในโรงเรียนดามเค้ม ๒ กน คือ อาจารย์ละออง วิริยศริ และอาจารย์พวงเพชร ฅนติเจริญ สายบญญาสมาคม การที่โรงเรียนหนึ่ง ๆ จะเจริญล่าวหนำท*งในค่านสถ กรณ์การสอนและเครื่องใช้ต่าง ๆ น,น จะอาศ*ย์เพียงงบประมาณโรงเรียน อย่างเทียวหาเบนการพอเพียงไม่ ขำพเล่พง’ไค้หารือก*บบรรดากร นกเรียนเก่า ท*งหลาย คิดจ*ด ดํ้งํ้ สมาคม นกเรียน เก่าสาย บญญาขนใน พ. ๒๔๗๘ เรียกว่า สายบญญาสมาคม ทง์นึ่เพื่อจะไค้อาศํยสมาก รายไค้มาบำรุงโรงเรียนอีกทางหนึ่ง และไค้กราบทูลสมเด็จพระเล วงศ์เธอ กรมพระยาชยนาทนเรนทร เมื่อกร*งคำรงพระอิสริยยศเบนพระ เล่าบรมวงศเธอ กรมขุนช'ยนาทนเรนทร เสด็จองศ์อุปการะโรงเว ขอให้ทรงกิคแบบเครื่องหม''ยสม'1คมไห้ ค่งไค้อ*ญเช่ญลายพระหํฅถ์บ ดอนมาลงไว้ ณ ทีนี
(๔ไว) ‘เรืองดราสำหร*,บโรงเรียนนน ฉินได้กวามคิดมาจากสมเด็จก พระนรีศๆว่า สายพาแลบ ถกใจมาก ที่จริงฉิน'บี่นผ้ทูลท่านเองว่า กระทรวงศึกษาธการเบนดวงประทีป น่าจะเทียบแสงไพ่ก*บบญญาแ กวามร้ พอทลด'งนึ่ ท่านก็อ้อชั้นมาทีเคียว ถกแล่ว พ ทรงเทียบบญญาก่บแสงสว่างไว้แล*ว มีความว่า นตฺถิ ปฌฺญา สมา ไม่มีแสงใดสว่างเท่าบญญา ท่านก็เลยท่อออกไปว่า สายบญญ สายพาแลบ น'นเอง เบนยินไค้การ ฉินชอบธย่างยง ฉนคิดจะเขี แบบเองสำหร'บเลือก แท่เกรงจะเซ่อเกินไป จะเอาเกรึ๋องหมายของ ไพ่พาท*งหลายหรีอของ'วิทยุที่ใช้ก'น่ทํว พุไปกจืดน'กิ เลยย'งไม่ ได มามีโอกาสเหมาะ หญิงไปเรียนวาดเขียนก*บนายเวนิงที่เบนช่า เขียน เคยอยู่เมืองไทย เบนคนช่างคิด ฉินเลยวานแกคิดให้ แกก ให้หลาย ๆ อนด่าง พุ ก่น ทื่จรีงคุก็ง่าย พุ แท่ม*นชวนจะจืดไป หร งาม เยี่นเยอ สายพาแลบที่เบนลูกศรทง๎สํ้นจืกน'ก ทำกัน จะทำกระจายฝอยอย่างพาแลบจรีง พุ ก็ดูเบนรูปถ่าย'ไป ไม่เบนค หมาย และที่มืพ้า มีคีน หรือมีนำดวย ก็ไม่เช้าที ฉินจึง อ้นหนึ่งที่ใค้ส่งมาให้นั้ อ้นนึ่เช้าท้ทุกประการ ข*อสำกญท่อง พาแลบ ใคร พุ รู้ได้ท'นทีว่า ในรปนเบนพาแลบและปลายไม่เบนลูก แท่ก็เห็นได้ว่าแสงลงมาจากช้างบน สายเคียวก็ดหลอนไป สามสาย กระจายด*งนึ่เช้าที่ บญญามาจากสวรรก โรงเรียนเบ็!นผุ้แผ่กระ สายพาแลบที่กระจายออก’ไปสามสายนึ่ ก็คือโรงเรียนของเรานึ่ ฅราท่องเบ็1นพ้ามืดเฉยพุ ไม่ ให้เห็นแผ่นดินจึงจะงาม เ สายพ้าแลบให้ความสว่าง คือโรงเรียนนึ่ให้บญญาแก่กุลธิดา ทงในความคิดและ'ในแบบที่เขียนมานึ่ พนจะใช้สีดำหรือนำ
(สฟ่) ขางม่วงกโก้ สายพ้าแลบเบั้นสีเหลือง หรึอทอง ทำง่ายและแล ผ่าเผย กนทชอบลวดลายกระจํมกระจุมกงไม่ชอบ แท่กนที่เบนน ทางแบบฅราประจำอะไรท่าง \"I และที่มีกวามกิคทางฝรํ่งหน่อย \"I จะเข้าใจกทุกกน ถึงกนไทยพวกสมโ)ใหม่คงเข้าใจุดี ส่วนโล่น*นจ นหรือรูปอะไรก็ใต้ แต่ปลายฅอนล่างสอบแหลมไม่ได้ เพราะส กระจายแผ่ออกไปตอนล่าง ฉํนเห็นว่ารูปโล่ที่เขาเขยนมานึ่เหมา จะเสียนคาถา นตฺถิ ปญฺญา สมา อาภา ข้างบนหรือข้างล่างก็ได้ สำหร'บ'ใช้?าามเข้าอหรือข้าวของอื่น ฯ มึแฅ่โล่สายพาแลบเท สำหร*บฅิกอกเสอก็งามดี ใช้แพรท่าเบั้นพื่นแลํวบั้กสายพาส เท่นกี’ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้าพเข้ากไ)น*ณรืยนเก่าบางคนได้ช่วยก่ ออกกวามเห็นก’คแปลงรปโล่ให้งกงามเหมาะ ที่จะใช้เบน เข็มเกรี่องหม นกเรียนเก่า คือได้เพื่มริบบั้นสีขาวรองรบโล่อีกที่หนึ่ง บรรจุพุท ว่า นตถิ ปฌฺญา สมา อาภา ก*บ สายบญญานุสรณ์ นอกจากนนย ได้เพื่มพระขรรศ์ซื่งเบนเครื่องหมายที่เสก็จองศ์อุปการะทรง'ใช้ องศ์สอกตามยามของรูปโล่อีก ที่งนึ่เพื่อให้เบั้นอนุสรณใ พระกรณาประทานแบบเกรองหมา1ยสาย11ญญาสมาอม ใน พ.ศ. ๒๔๘อ พระเข้าบรมวงศเธอ กรมพระยาช'ยนาทนเรนทร ได้ทรงนิพนธ์เรื่องตราสายบั้ญญ'าสม'ากม นามโรงเรียนสายบญญา สกุลสนิทวงศ์ ซึ่งประทาน'ให้ลงที่ษิมพื่ในหน’:ง์สือสายบญญาส ป^มกุกษ พทธศกราช ๒๔๘0 ดงไกกกมาไว แเ ทน
(๔๘) บกนึ่ ผู้อ่านได้ทราบเรื่องฅราของโรงเรียนสายบญญา ทรา เหฅุที่เอาสายพาแลบมาใช้เบ็1นเครื่องหมายของโรงเรียนแล่ว แค่ท โรงเรียนนึ่จึงมีชื่อว่า สายบญญา นํ้น อารีมีผู้อ่านหลายกนที่ ขำพเขำจึงเห็นว่าน่าจะเล่าต่อท้ายเรื่องของคราโรงเรียนคำย เท่าที่ทราบอยู่แลำก็คือ โรงเรียนนั้เกยเบนว\"งของพระวรวง พระองค์เขำสายสินิทวงศ์ พระบาทสมเก็จพระเจ่าอยู่หำร ได้พระราชทานนามโรงเรียนน้ว่า สายบญญา โคยเอากำหนำของพระน ผู้เบนเจ่าของว'ง คือ สาย ไว้ขำงหนำ และเค็ม บญญา Iข้าไปขำ ที่ทราบก้นคเหมีอนรีะเพียงเท่านํ้เธง ขำพเขำจึงอยากจุ โคยวิธีขํบฅ่นมาหาปลาย คือยอนไปกล่าวถึงบรรพบุรุษของสกุล ส คํงนึ่ พระบาทสมเด็รีพระเขำอยู่หำ รำกาลที่ ๒ พระพ นภาลำ มีเขำจอมองศ์หนึ่งมีนามว่า ปราง เขำจอมมารคาปรางผ ญาค็ก*บสมเด็จพระอมรีนทราบรมราชินีรำกาลที่ ๑ ทางสกุลบาง พระบาทสมเอีจพระพุทธเลิศหลำ ทรง'ได้เขำจอมมารดาปรางม บาทบริจาริกา จึงน*บว่าได้พระญาค็มาเบนเขำจอมสนิทก'นมากขั้ ผ้ร่วมสกุลกบพระราชชนนี เขำรีอมมารคาปรางมีโอรสองศ์หนึ พระนามว่า พระองศ์เขำนวม เมื่อพระองศ์เขำนวมได้ทรงรบ พระยศเบึนกรมหมื่น ได้รบพระราชทานนามว่า กรมหมื่นวงศาสนิท คำยเหฅุที่เขำจอมมารคาของท่านกบสมเด็จพระชนกนาถเบนญา ว่ามาแล่ว ต่อมาเมื่อกรมหมนวงศาสนิทได้เลอนขั้นเบนกรมหลวง รบพระราชทานนามว่า กรมหลวงวงศาธิราชสนิท กรมหลวงวงศา มีพระโอรสองศ์หนึ่งซึ่งค่อมาไค้เลอนพระยศขั้นเบน พระองศ์เขำ พระราชทานนามว่า สายสนทวงศ
(๔๙) กำว่า สาย นั้ นอกจากเกี่ยวกไเวลาแลํว มีความหมายว่า เคร เสน แถว แนว กระแส ๆลๆ เมื่อใช้เบนนามบุคคลก็มีกวามหมายไป ในทางว่าเบึนเชอชาด็ผู้สืบสกล เบนกระแสโลหิฅ เบนทางที่จะให้ แฅกฉานและยืดยาวออกไปอึก สายสนิทวงศ์ ก็แปลว่าเบนผู้สืบส เบื่นกระแส'ใสหดของผู้มีพระนามว่า วงศาสนิท หรือ วงศาธิราชสนท แด่ในที่นึ่กลบกำเสียและย่อให้สํ้น สนิทวงศ์, (กำว่า สนิทวงศ น พร บาทสมเด็จพระมงกุฎเกลำเจ้าอยู่หิว เลยทรงนำมาพระราชท สายโลหิฅมาจากกรมหลวงวงคา ■งให้ใช้เบนนามสกุลใ สำว่า สาย ใ พระนามของพระองศ์เจ้าสายสินิทวงศ์น1น นอกจากหมายความว่ สืบสกุลโดยเฉพาะพระองศ์แลํว่ ยำหมายความว่าเบนกระแสโลหิคหร เบึ๋นทางทีจะใVเสกลสนิทวงกีเ1เดคฉานออกไป และยดยาวดอมาอกดวย ท้นึ่ลองเทียบลํนดดงน และพระองคเจาสายสนทวงคเท5าบกบใร’3เร^นน จะเห็นได้ว่าทางหืนี่ง สนิทวงศ์ เบนคนเหทุ พระองศ์เจ้าสาย ๆ เบน ที่จะให้สนิทวงศ์แพร่ทลายวอความ อีกทางหนึ่ง บขขา เบนคน และ'โรงเรียนนึ่เบืนทางที่-จะ'ให้'บขข'าแพร่หลายงอกวาม เทีย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลำ ๆ เห็นจะได้ทรงด็คคลายยสำงน ไทที'3 พระราชทานนามโรงเรียนนึ่ว่า สาอบขขา เบึนอนว่าได้ทรงนำ แรกในพระนามผู้เบืนเจ1ว่ของว่ง มาควบกบกำอี่นใช้เบืนนามของโรง อย่างแยบคายได้ความคี และมีนามของผู้เบืนเจา'“ยงวงผงยยู่ใน โรงเรืยนนึ่ฅลอด’ไปควย เบนพระราชสำรอนที'3ามที'3 สายสนิทวงศ์ เบื่นบุคคล สายบญขา เบนโรงเรยน สายพา แลบ เบนเครื่องหมายของโรงเรียน ฟ้าเรื่องสอคคล,'องกนทีทลอยนมย ดํงนึ่
(๕อ) อนึ่ในง เรื่องตราของโรงเรียนปรากฎว่า ทางผืายโรงเรียนไ นำเอาพระขรรค์ซึ่งเบนฅราประจำตำของผู้อุปการะ คือกำขำพเจาเอง มาประกอบเจ้าก*บโล่ ๆลๆ ข้าพเจ้าเห็นว่าควรจะเล่าเรื่องตราพร เขาควยในที่นึ่ คือเมื่อพระองค์เจ้าสายสินิทวงค์ผู้เบนตาของขาพเจ มีพระชนม์อยู่ ข้าพเจ้าไค้ปรารภกบท่านว่าอยากมีตราประจำตำ ทราบว่าจะเลือกเอาอะไรคี เพราะนามข้าพเจ้าจะแปลออกเบ็นวํตถ เทียบก*บจ้ฅกุอย่างใดไม่ไค้เลยส*กอย่างเดียว ท่านวิงทรงแนะน ประจำพระองค์ของกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ผู้เบนทวดของข้าพเจ แจ้วท่านทรงหยิบตราประจำชาติ (ควงตราที่แกะคำยงา เบึนคว ประจำตำแหน่ง ใช้ชาดทาควงตราควงนั้ก่อนจะนำไปประท*บบนเอ ที่สำก'ญ ๆ) ที่กรมหลวงวงศา ๆ ได้เกยทรงใช้อยู่เสมอมาให้จ้าพเจ้าด นั้มีพระขรรค์อยู่กลาง แจ้วมีลายกนกอยู่รอบน1นเคีมควงตรา ท่านทร เห็นว่าจ้าพเจ้าเบี่นผู้สืบสกุลที่ควรใช้ตรานึ่ต่อไปไค้ ท1งตรา ไปเสียคำย แต่ให้จ้าพเจ้านำกวามกราบบงคมทูลพระบาทสมเด็ เจ้าหลวง (ร'ชกาลที่ ๕) และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาฅเสีย จ้าพเจ้าก็ได้ปฏิบตตามนไเ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลว ความกิดนั้มาก ทรงเห็นชอบด้วยและได้พระราชทานพระบรมราชา ให้ขาพเจ้าใช่ตราพระชรรกกนกเบนตราประจำตำต่อไป แต่ทรงเห ลายกนกในดวงตราของกรมหลวงวงศา ๆ น*นไม่งามให้แก้ไขเสียให้ดี เห็นว่าผู้ที่เขียนลายกนกเบ็๋นและดีจริง ๆ น*น มีแต่สมเด็จเจ้าพา นริศรานุวํฅวงศ์พระองคเดียว (ซึงเบื่นกวามจริง) จ้าพเจ้าจึง สมเด็จเจ้าพากรมพระนริศ ว ขอให้ท่าน ทรงพระกรุณาโปรดเขียนแบบ พระขรรค์กนกประทานกามแต่'จะทรงเห็นสมกวร ต่อมาไม่นานก็ไค้ร'บ
ประทานรุปฅราทท่านทรงคิดขืน และไค้ทรงเขียนเองเบ็!นพระขรรค กนกพนอย่างวิจิตรงดงาม ถกฅาถุกใจขำพเจ่าอย่างยื่ง และไค้ เบนตราประจำฅวฅลอดมา ที่ขำพเจ่าไค้เล่าเรื่องนํ้ ก็เพื่อจะแ ที่นำเอาพระขรรค์มาประกอบก*บโล่ดราสายพาแลบของโรงเรียนสายบญญา นVแบนความคิดดีแลว ถัวขำพเจ่าจะเบนผู้อุปการะอยู่ไค้เพียงเวลาที ชีวิฅอยู่เท่าน8น ถ้าพระขรรค์เบนแต่ตราประจำถัวขำพเจ่าเท่าน ขำพเจ่าไม่เบนผู้อุปการะแถัวก็คูจะเขิน แต่พระขรรค์นเกยอยู่ใน กรมหลวงวงศา ฯ เบ็๋นส็งสำค*,ญ กนกเบนเครื่องประกอบ น*,บไค้ว่า พระขรรค์ซึ่งเบนเครื่องหมายแห่งสอุลสนิทวงค์ จะปรากฏอยู่ โรงเรียนคลอดไปก็สมควรแล่ว นอกจากขำพเจ่า ย*งมีผู้อื่นในสกุลสนิทวงค์ ใช้พระขรรค์เบ็!นคราประจำถัว แต่มีเครื่องประกอบต่างๆ กน ขำพเจ่าเองโดยเฉพาะ มีกนกพนพระขรรค์อย่างที่สมเด็จเจ่าพากร นรีศ ๆ ไค้ทรงพระกรุณาโปรดเขียนประทาน การที่ข่าพเจ่าไค้เขียนเรื่องนามโรงเรียนและอื่น ๆ เพื่ม เรื่องคราสายพ้าแลบอย่างยืคยาวเช่นนึ่ มีความประสงคสำกญอย อยากให้ผู้อ่านที่สนใจในเรื่องของโรงเรียนไค้ทร'1บไว้ร่'1 ท1งนามและท ตราของ'โรงเรียน'ไค้เกิดขนโคยมีมูล1เห1คุถันเแย!บคายท1งสํ้น ด้งไดบรร มาแลว’ อนึ่ง เมื่อสมเด็จพระนางเจ่าสิริกิฅ พระบรมราชินีนาถ ไค พระกรณาโปรดเกลา 'ร ทรง รบโ างเรยน และ ส เยบเ!!เ!]า สมาคม เขา อยใน พระบรมราชินูปถัมภ์ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ่ ได้ทรงพระมหากรุณาธ็กุ,ณ.พระราชทานออกแอบแก เขตราสมาคม
(๕)ตุ)) ทรงเพื่ม พระบรมนามาภิไธย และพระมหามงกุฎ อนเบน เกรองหมาย บรมราชินูปถมภ แห่งสมเค็จพระนางเจ่า ๆ พระบรมราชินีนาถขนไ ฅราเครื่องหมายเค็มของโรงเรียนและสม'เกม ตอนออกจากราชการ ขำพเจ่าไค้ริบราชการสืบต่อมาจนถึงว*นที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔ จึงไค*ออกเพื่อริบพระราชทานบำนาญ ควยเหตุสงอายุ และไดเสนอ กระทรวงให้ค1งกรยุพิน สุกุมารทฅ เบนอาจารย์ใหญ่แทน เนื่อ ทำหน*าที่ผ้ช่วยเบนอย่างดีกลอกมา นำเรียนเก่าที่เกยเบื่นกรู ในสมยขำพเจ่าเบนอาจารย์ใหญ่มีมากมายหลายกน ที่กล่าวนามมาแ บางกนก็อยู่นาน บางกนอยู่ไม่กี่ว*นก็ย*ายไป เท่าที่จำไค้คือ นางชุ่ม สุกนธรส น ส. หงษ์ กี่ศิรั นางกาบ แรงขำ นางจร*สศรี กชเสนื จำลอง มสิกถาวร นางลำเพา สุขุมาลจ่าเทร์ หม่อมละไม ชยางกู อยธยา นางรสสุกนธ์ อุปผล นางเรณู สฅะบุฅร นางวนีคา เพี นางสมถวิล ส'งขทริพย์ นางสาวจึรี มีศุข นางจามรี ผลชีวิน บญเจือ องคประค็ษ^ น.ส. สุพาทินี ศุขวณิช และ น.ส. เกหล ปภาวสิทธ มีผู้สงสย'ว่า ขำพเจ่าไม่มีกวามรู้ ไม่มีประกาศนียบํกรวุฒ ปริญญา และไม่ไค้สอนวิชาสาม*ญเลย แต่'เหตุไรโรงเรียนจึงเจริญ นื่ก็ก้องอาศ*ยเหตุการณ์แวกลอมประออบกนหลายก้าน ประการหน ขำพเจ่าไค*คณะกรูกี ต่างกงอกก'ง'ใจทำงาน โคยมีได้เห็นแก่เหน็กเห ครูบางกนมาอยู่ใหม่ ๆ ถูกขำพเจ่าใช้ให้ทำการกรำและการช่างก พอใจ เพราะไม่ถน*ดและไม่เคยสนใจทางนื่มาก่อนเลย แม้ขำพเจ่าทร
((^๓) ก็ทีาเบนไม่รู้ไม่ช แต่ภายหลำกรูผู้นนกล*บรำงานคำนนึ จนกลาย ทสามารถกนหนึ่งทีเดียว ในส่วนตำขำพเจำเองน1น ดำไคำล่าวม ขาพเจำยกเรื่องการสอนวิชาสาม*ญ!,ห้อยู่ในดุลยพินิจของกรูผู้ เองขวนขวายศึกษาหากวามรู้เพิมเติม แต่ทางคำนวิชาการช่าง และกา อนเบนวิชาที่ขำพเจำถนค โคยส่งวารสารภาษาอำกฤษเกี่ยวก*บวิชาเห มาศึกษาและกิคคํกแปลงฅามที่เห็นสมควร ทางคำนการปกครอง ข้า ก็อาศ'ยล้ปปุรสธรรม ๗ ประกาวเบนหลำ คอยเอาใจใส่ดูแลนำเรียน เสมือนเบ็นบุตรหลานของข้าพเจำเอง การปกกรองนำเรียนหญิงน8นแ จะลำบาก ต'องคอยสอคส่องดูแลกวามประพฤติตลอดจนการติดต่อก*บ บุคคลทวิ ‘บุ ไป ขาพเจำส่งให้กรูไปร*บประทานอาหารกลางว*นที่โรง อาหารเพื่อจะไล้กอยสำเกฅดู เด็กนำเรียนไปคํวิย ข้าพเจ่าเอ ร*บประทานที่โรงอาหารคํวิย เมื่อกรูรายงานมา ข้าพเจำก็ไปกอยส จ*บตามองคเด็กกนนึนโดยไม่ให้รู้คํวิ บางทีก็แอบปนไปในก เล่นก*น,เฮ ๆ เบนกลุ่ม พอเหลือบมาเห็นขำพเจำอยู่ในกลุ่มก็ตกใจ ขำพเจำ กลำกล่าวไต้ว่า ขำพเจำไม่เกยไล่เด็กออกจากโรงเรียนเลยแม่แต่กนเด เพราะข้าพเจำเห็นว่าการที่เด็กกระทำผิ0ไปน1น เบนเพราะรู้เท การไล่ออกเบนการตำรอนอนาคตของเด็ก่โค-ยสนเชิง คำนนขำพเจำจึงม่ก ใช้วิธีเรียกตำไปพบและแนะนำให้ล่า00ก1■สีย ผู้ทื่ออกไปแล้ว ภ นึกถึงบุญคุณของขำพเจำ กล*บมาขอบอกขอบ่ใจก็มื กรที่เกยทำงานร่วมกำขำพเจำที่สูง0ายุ0วานกบียณ โรงเรียนไปแล้วก็มาก ที่ถึงแก่กรรม’ไปก็มี ที่แยกยำยไปรบราชการที่ หรือประกอบกิจส่วนตวก็มี
ในขณะนั้โรงเรียนสายบญญายงกงมีกรุที่ท่างานร่วมก*บช่า ๙ คน คือ ๑. น.ส. ยุพิน สุกุมารท*ค (อาจารย์ใหญ่) ๒. ม.ล. ควงแข เลขยานนทํ (ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ ๓. นางกองกาญจน์ สิทธิแพทย์ ๔. น ส. หงษ กี่ศิธิ ๕. นางจามรี ผลชีวิน ๖. นางยงประยูร ชวนเสถียร ๗. น.ส. นวลปอง ประกายสินธุ ๘. น.ส. ถวิลวดี พรหมากม ๙. น.ส. จ*นิฅรี ปาลเสถียร ภารโรงทื่อยู่มาทํงํ้แต่สม*ยิช่าพเจำและย'งกงอยู่ในขณะนั้ นายโนรี ธารีสํฅย์ และนายเที่ม การะเกต” เมื่อออกจากราขการแลว คุณไค้ยกที่ดินส่วนฅวส่วนหนึ่งที่ติค โรงเรียนให้เบนสมบ'ฅของโรงเรียน และย*งคงพำน*ก์อยู่ที่บ‘านช่างโรงเ (สายน*ดคาคลีนิกบจจุบ*นิ) ต่อมา เมื่อมีทางจะช่วยเหลือโรงเรียน ท่านก็ยินดีช่วยควยความยินดีและเต็มใจเสมอมา จนเมื่อสงกรามโลกกรง ที่สองอุบ*ฅขน ส่วนหนึ่งของโรงเรียนและบำนของท่านถูกลูกระเบิค ให้ท่านตองระหกระเหนไปอาศยอยู่กบญาติหลายแห่ง ค*งปรากฏในจคหมาย ที่ท่านเขยนถึงศิษย์ลงในสายบญญานุสสรณ์ ๒๔๙๐ อ*นิแสกงให้เห็นช กวามสมพ*นิธ์ทางใจระหว่างคุณท่านที่มีฅ่อศิษย์ จะยกมาคอนหน
(^ป็เ) การทีฉนเขียนจดหมายมาถึงศิษย์ก่ง็หลายส่งมาลงใน,สๅยบ นุสสรณนี กเพราะกวามร*กและคิดถึงศิษย์ทุก\"เกน จะเขียนจดหมาย เบนวายฅวกไม่ทราบที่อยู่บ้าง ลืมนามสกุลบ้าง ซาบางกนยงเปลี่ยนท ซอและสกุล จึงได้เขียนมาด‘งนั้ เมื่อผู้โดอยากทราบว่าฉินร'กแ และก่งใจคีฅ่อเธอเพียงไร ก่งผู้ใดที่บ้ง์ไม่ลึมฉํน กึกวรมีหน'งสึอ นุสสรณ์ไว้อ่านทุกกน ส่วนฉินไม่มีว'นลืมเธอก่งหลาย ท8งกรูอา และผู้ที่มีอุปการะคุณแก่โรงเรียนและแก่ฅ้วฉิน ฉินขอขอบ'ใจเธอก ที่อุตส่าห์คิดฅามส่งเสียช่วยเหลืออุปการะฉินทุกส์งทุกอย่างที ก่งแด่ฉิน'ได้ร'บภ'ยกราวสงกราม หลอดจนในบจจุบ้นนํ้อย่างสุดซง เธอก่งหลายย'งฅ็องการฉินให้มีส่วน เกี่ยวข้องในวงงานของสมาคม ไม่มีกำล*งจะช่วยประกอบกิจการงานก่ง์หลายไค้แล’ว เพราะฉะนน เ สนองกวามก่งใจกีของเธอก่งหลาย ฉินจะพยายามจนสุดกวามสามารถ ที่ฉินจะทำไค้กอยช่วยเหลือสึงที่เธอกองการให้ฉินช่วย สึงท ไม่ร'งเกียจเลย” แม้ล่วงเข้าวยชรา คุณก็ย*งกงเบี่นที่พื่งให้กำปรึกษาแนะนำแก อาจารย์และศิษยเสมอมา ยงกงกนคิดการปรุงอาหาร ไคทดลองวธปร และเขียนเบนคำรา เฅรยมจะแจก'ในวน'ก'1บุญอ'15เกรษ ๗ รอษ ซงจะกง ในว\"นที ๒๗ มีนากม ๒๕๑® แคเผอิญมากงอนจกรรมเสยกอน ทายา จึงไค้นำคำร้บอๆหารมาพิมพแจกใ1แง'านพระราช,ทานเพลงศพกรงน
(๕๖) นอกจากอาหาร คุณย*งทำการผี1มือไค้ดีแม้จะชรามากแลว ท่าน ถ'ณเท็ฅท่อคอกทำผ่าปูโต๊ะผืนใหญ่ ๆ ไค้งดงามมาก จำเรื่องราว อย่างแม่นยำ ในระยะหล*งนื่ คุณสนใจศึกษาปฏิบ?ธรรมเบนประ เบนสมาชิกคณะ “ทางร่มเย็น” และสนใจธรรมเทศนาของพระมหาบ*วญาณ สไ]บนโนมาก โรคประจำฅวของคุณศึอโรกกระเพาะอาหาร แท่ท่านก เบนผ้ที่รํกษาฅ่วเองอย่างดีเลิศ จึงไม่ไค้เจ็บบวยเลย ในเย็น ธนวากม ๒๕๑0 นื่น ศุณปฏิบ?ภาระกิจประจำวนเบึนปกติ และเนื่ จากอากาศหนาวมากในกาว*นนื่น คุณท่าน'จึงเข้านอนแท่หำท่า ท่านก็หล*บไปเลยเมื่อเวลาประมาณ ๒©.00 น. ควยโรกชรา รวมอายุไค้ ๘๓ บ ๘ เดอ น ๑๘ วน. ขุญเจอ องคประดิษชิ
อาหารมํง์สะ!วิรํต ๑. ถ'วแนม ๒. แกงเห็ดฟ่างก,บมะเข็อเทศ ๓. ไสกรอก ๔. แกงจดลูกชนก*!)จฉ่าย ๕. มะเขอยาวเครองเทศ ๖. ผิดคะนาก*บซ็เซ็กฉ่าย ๘). ยอดแคผิดกรอบ ๘. ทนํ้าตํ้งลู่ต ๘. พกทองทอด ๑๐. ขนมนาเตา
1® ถ็าแนม 4 มะพร้าวขูดกระต่ายจึน ๑/๒ ถํวย ถ'วขาวห้มแห้ว (แทนเนอปลา) ๑ ถํวย ข่าหน © (^ แว่น ขาวกว ๑/๒ ถ้วย วุ้นเห้นลวกให้พอง (แทนหน'งหมู) ๒ ห้วย กระเทียมดองซอย ๑ ข่อนโฅ๊ะพุน ผิวห้มซ่าห*นฝอย ๏ ห้อนโฅ๊ะ หำหอมซอย ๑ ห้อนโฅ๊ะ ห้วลิสงคำซอย ๑ ห้อนโต๊ะพูน เกลือบน มะนาว ห้ากาลทรายอย่างะลเอ4๗ยค พร~ิกะชพไ)า. เชียวแดงเหลือง ใบห้กกาดแห้ว ๓ ห้น วธทำ เอาถ่วแช่ห้า ๒—๓ ช.ม. ปอกเปลือก แล้วนำไปฅไ) ใส่ นอย แล้วดงให้แห้ง สุกแห้วจึงนำมากวง มะพร้าวก'วให้แห้ง ห้นข่าใส่ครกโขลกให้ละเอียด แห้ มะพร้าวพร้อมก่น'โขลก'ให้ละเอียดเข'ากไเคี แห้วกว*กขํ้นใส ใส่เกลือ มะนาว นากาลทรายเกห้าคลุกให้เขาก'น, โรยข่าว ทีละห้อย เกห้าไปใส่ไปจนกระจายสลวยห้ว ปรุงรสชิมให้ เค็ม หวาน เผื่อรสกะเทียมดอง และ-วุ้นเห้นควย เมื่อรสดีแห ก็ใส่ห้วหอม ผิวสมซ่า กะเทียมดอง ถ*วลืสงกลุกในห ไว้เล็กห้อย เมื่อจดใส่จานจึงแต่งหห้าห้วย ผิวสมซ่ พริก ๓ ลืห้นเฉียงบาง 'ๆ ห้ดใบห้กกาดแกวประด*บรอบ I๘ คามแคจะเหนงาม
๓ วิธทำขาวควิ ซาวข่าวสารแช่นำไว้ต่ก ๑ ช.ม. จึงสงขํ้น ยกกะท ะข ร่อนต่กข่าวใส่ลง ส กร่ง อย่าให้มากเกิน ๔ ช้อนโต๊ะพูน (ต่องใช ก\"วพอสีนวลอย่าให้เหลืองมาก แต่วโม่ให้ละเอียคและกรองต่ แกงเทดฟ่างเไบม๙เข้อเทส เครองปรุง เครองปรุงนํ้าแกง เห็กฟางที่ทำเสร็จแต่ว ๒ ต่วยพริกแต่ง ๕ เม็ค ม่นแกวต่นแต่'ไ ๑ ต่วขข่าห\"นบาง \"I ๗ แว่น แห’วจีนปอกหนแต่ว ® ถวย ฅะไกร้ต่นแต่ว ๒ ชอนโต มะอึกผลใหญ่ ๖ ผล หำหอมปอกแต่วห'น ส/๔ ถวย มะเขอเทศผลเของ ๒ ผล ผิวมะกรูด ส ชอนชา มะพร่าวขก ส ช้อนโต๊ ๒ ถวย รากผํกชี ใบมะกรด ใบโหระพา พริกสด พริกไทย ส® เมด ผงชูรส เกลือเม็ด ส ชอนหวาน กะเท้ยมทงเปลอด หนขวางหว ส/๔ ถวย วิธทำ ทำ!,หค!หฟิะนิา1นิ บ่นิกมใ-4111าไIIลกผ่ !VIIใ-!'VIIฟิยใ วิก!ห!,บน! หินบาง*^ พอกวร บ่นิกแบววินVIนเบนIIวน^ นิยา!V)บางนก หินมะเขือIทนิ ขนิมะอกลาง!บเคนลวหนIบนฟิ!-ฟิยก .'เก!ว กเใแกะ ทํ โขลกเกรองนาแกงให้ละเอี11ค เอากะทิศํ้งไว้ให้เกือ แฅกมน เสร็จแต่วผดนาพริกให้หอม ทำนาแกงดีแต่วปรุงรสให ไต๊ท ใส่เกร็องที่เฅริยมไว้ ใส่ใบมะกรุ*1 พริกสกหน ชอบเม็ดก็ไม่ศองหน
๔ ©/๓ ถวย ไส้กรอก ๑ ถวย ©/๓ ถืวย เครองปรุง ถวสีชมพู ๓ ช้อนโฅ๊ ข้าวสุก (หุงสวย ๆ) ๑ ถํวย ม'นแกว (หรือใช้พกเขียวแทน) ๏/๒ ก.ก. ถ'วลิสงก'ว ก่นหอมก่ก์ชีหนอย่างละ มะพรำว ฟองเก่าห้ นาปลา นำตาล เครองปรุงนาพริก พริกแห*,ง ๕-๗ เม็ค ๒๕ หำ หำหอม กระเท้ยม ๐ส' กลีบ คะไคร้ก่นใหญ่ ๑ ค,น ข่า ๕ แว่น พริกไทย ๙ เม็ก รากผํกชีหึ,นละเอียก ๑ ช้อนชา ของเหล่านึ่โขลกให้ละเอียค แล่,วใส่ถ'วลิสง โขลกคำขก*นให วิธทำ คมถ,วพอบาน ก่มมนแกวพอสุก แล่วหึน่เบนฝอยละเอียค กะท้อย่าให้นามากน'ก ละลายเครื่องนาพรก ใส่ถ'ว ข้าว และ ม'นแกว ผํกชี ก่นหอม ปรุงรสคำย นาปลา นาตาล แล่วเอา ฟ่องเก่าห้ห่อให้แน่น เอาแบงข้าวจ้าวละลายข้น ‘สุ ทาตรงส ก่อ นึ่งแล้วบงควยเตาอบไฟอ่อน‘สุ แล้วก่อย,สุ เพี่มไฟจน
๕ แกงจืดลูกช้นก้ใ]ซีฉ่าย เครองปรุง แบงสาลี ส/๒ กิโลกร!) จีฉ่าย 6 แผ่น ก่งฉ่าย 0 ช้อนโต๊ะ ก่นหอม ผกชี ฅามค,องการ นาชีอั๊ว ผงชุรส พริกไท!) เกลือ วิธทำ เอาเกลือบึนใส่ในแบงสาลี ล/๒ ช้อนชา แล้วใส่กระชอนร่อน ในชามอ่าง แล้ว,ใสนาน-วกบนเบีนล้อน'ใหญ่อย่า'ให้เหลวน*ก ไว้ในชามอ่าง ค*กนํ้าใส่พอท่วมก่อนแบง ค่อย \"I ล้างก ถ่านาช้นมากก็เปลี่ยนนํ้าแล้วเก็บนาที่ล้างแล้วไว้ ล้างอย หมกละอองแบ’ง เหลือแค่ส่วนเหนียวของแบง ช้อนขั้นจากนา บีบให้นาแล้ง ใส่กรกโขลกกไ)กระเทียม พริกไทย พอเหนียว กืแล้วบนใส่ในนํ้าเกือก พอสุกก็ก่กขั้นแช่นํ้าเยีนไว้ ที่จะแกงพอสมกวร ทำนาแกงให้อร่อย ล้างจีฉ่าขให้สะอาก หมกกรวกทราย แล้วก่กเบีนท่อน‘สุ ใส่ลงในหมอแกง ใส่ลุกชน ที่ท่าไว้ ผงชรส ก่งฉ่าย กนหอม ผกช โรยพริกไทย หมายเหต จีฉ่าข เบนสาหร่ายทะเลชนีกหนง คนจีนเรยกจฉ่าย ท่าเบีนแผ่นกลม ๆ ฅากแล้งกล้ายช้าวเกรียบ ส่วนนาแ ที่เก็บไว้ ทั้งไว้ให้นอนนารีนนาออก แล้วเอาแบงฅากให้ แล้'ง ใช้ทำอะไรก็ไค้ กนจีนใช้ท่าขนมจีน
๖ มะ;เข้อยาวเครื่องเทศ เครองปรุง มะเขือยาว ๒ ผล ถ'วแขก ๑0 ผก หอมหำเล็กปอกแล้ว ๑ ถำย ใช้ทํ้ง์หำ ถำหำใหญ่ผ พริกสคเขืยวแดงประมาณ @0 เม็ก ให้ไค้ขนากล้น ล้มมะขามเย้ยก นาคาลมะพร้าว เกลือ นาม'นรำ “ลูกพักชี ๑ ช่อนโต๊ะ หำหอมเผา ๑๐ หำ ขมนแขก ๑ ท่อน ขิงแก่หนแว่นหนาๆ ๕ แว่น กระเทียมเผา ๕ หำ เกลือ ๑ช วธทำ โขลกเครื่องปรุงในอ,ญประกาศให้ละเอึยกพักไว้ มะเขือยา เย้นท่อน ยาวประมาณ ๓ ซ.ม. ผ่าสี่แช่นาไว้ ลอกเอ็นพัวพ ขนาค ๒ ซ.ม. ลำงไว้ พริกปลิดกำน พักนาม*นใส่กะทะทอด มะเขือพอสุก พักขั้นไว้ทอดพัว หำหอม พริก แล้วพักขั้นพั นาม*นทีเหลือทอค พัๅมีน,อยพักเติมอีกพอควร แล้วเอา ทีโขลก!ว้ใส่กะทะผก'ให้หอม กนมะขามเย้ยกใส่ลงพร้อมพ นาฅาล แลวชิมคูปรุงไห้ไค้ ๓ รส ล้าช่นก็เติมนาให้พอดี ชิมรสไค้ที เอาพักทีทอดไว้ใส่พัดให้เช่ากน เย้นใช้ไค คลายยำทวาย) ฒค^น์ากํบข้เช์กฉ่าย เครองปรุง คะนำ ๒ พัน เฅำทู้เหลือง 8/๒ แผ่น ซีเซ็กฉ่าย (ไม่ใช้นา) 8/๒ ๆระ1]อง น*ามนรำ กระเทียม
วธทำ ปลิดใบกะนำปอกเปลือกก่นให้หมดผิวแข็งแก่วจึงหืน อย่าหืนให้ใหญ่หรือเล็กน*ก เบี่ดกระปอง-ซีเซ็กฉ่าย ก่ก แห่เนั้อ ©('๒ กระปอง ก่กน่ามํนรำใส่กะทะ ทุบกระเทีย สงผกกะนำ ที่ แช่น่าไว้ใส่กะทะ กะพอสุก ขำงล่าง จึงค่อย กล ใส่เก่าห้ซีเซ็กฉ่าย กน'ให้ทวแก่งชิมกู ก่าขาดหวาน'ใส ซีเซ็กฉ่าย ก่ไชาดเค็มใส่ซีอั๊ว 'หมายเหต ก่าเบนอาหารธรรมดา ก็ใส่เ'แอหมูก่มเค็มก่วย ยอคแคขํดกรอบ แครองปรง ยอดแก ๑ กา - ๓ ห-า กระเท-ย1มปร.ะ..ม..า.ณ. นามนรำ ซีอั๊ว ว้ธทำ รดใบแคออก ก่างที่งไว้จนสะเค็กน่1 ทอดให้กรอบ แ ขนจากกะทะ'ใหหมดนามน ทุบกระเทยมสบใหละเอยด เจยา ให้เหลือง ก่กนามนขั้นให้หมด เอาใบแกใส่ผดกบกร เอาชี!)วเทลงขำง ๆ กะทะแก่วเคลำ,ให้เข่ากน ใช้ร เบ่นของเกมกลายปกาผด (กาชอบหร !น จช/ใสนาตาลบาง กไค) หมายเหตุ ใบแคก่องลำงก่อน รดสบว้าน่าใ™ ผี่งไว้ให้น่าแห้ มิฉะนนเวลาทอคนามนจะกระเคน
๘ หน์าต1งลู่ตี่ เครองปรุง ถ'วสีชมพู ©/๒ ถ้วย มะพรำวขูค หอมหำใหญ่ ๏/๒ ลำสีสงคํ่ว พริกแห้ง I หำหอม กระIทียม ©/๒ ชอนชา ลูกผํกชึ ยี่หร่า เกลือ นาตาล วิธทำ ฅํมถ่วให้บานหน่อย ก*นกะทิข,,น ๆ ห'นหอมใหญ่ ให้ สี่เหลี่ยมเล็กๆ ลำลิสงห\"นละเอียด “กริกพริกเอาเม็ดออกแล ล้างนาปอกหำหอม กระเทียม คำลูกผํกชียี่หร่าให้หอม” ในอ'ญประกาศโขลกให้ละเอียด เอาเครื่องนาพริกในอญประกาศ ที่โขลกแลวผดกับกะทิให้หอม แลำเอาถำที่ฅไ]แล้วใส่ แ หอมใหญ่ คนจนเข่ากันที แลำเติมกะทิที่เหลือ แล้วใส่ถำส ปรงรสดำย เกลือ นาฅาล กามชอบ ระกังอย่าให้ใสนก เครองปรุงสูต มะพกัาว แบงกัาวกัาวอย่างที ไข่ไก่ ๒ ถำย นามนพืช ๑ ฟอง
วธทำ นวดแบงดวยหวกะทิ ให้เข่าก้นดี แค้วใส่ไข่นวดให้ เอากะทิละลายอย่าให้ใสน้ก เอานาม'นทากะทะ เอาแบ กรอกด แผ่นเล็กใหญ่คามชอบ พกทองทอด วิธทำ พกทองเน้อดี นึ่งอย่าให้แฉะ ห”นเบนก้อนสี่เห ขนาด ๒.๕๐ ซ.ม. ค้กค้าค้นพืชใส่หค้อไม่ค้องมาก (ควร ค้าม) เมื่อนึ่าค้นร*ธน'ใส่พกทองที่หน'ไว้ลง กอยเขย่าทค้ พกทองกล*บค้วไปรอบ ๆ ค้วค้น (คิดทค้อค้างก็ไม่เบนไร ใช้ไฟแรง โรยเกลือ พริกไทย ลงพอสมควร เมื่อเกรียมและ มีกลี่นหอมก็ใช้ได้ ขนมนาเต้า ๑ ถวย ซี)/๒ ถํวย เครองปรุง นาเค้าไสแล่ว ซี)/๒ ถํวย แบงค้าวค้าวอย่างดี ซี)/๒ ถ8ว11 มะพค้าวขดเกรองปอกผิว ค้าคายทรายขาว ค้วยฅะไล
๑ว ว้ธทำ ปอกนาIกำผ่าเฉือนเมลึดออกล่างนา'ให้หมดยาง ไสค*ว ขเ กรื มะละกอ แล้วฅวงไม่กองบีบนาออก มะพร้าว ด/๒ ถวย แบ่ง ออกเบึน ๓ ส่วน ๑ ส่วนเก็บไว้ใส่หนำขนม ๒ ส่วนนํนใส่ หมุน ๒ เที่ยวแล้วรวมนวดล้บแบ่ง และนำเล้าให้เข มํนจึงใส่นำตาล นวคล้นจนนำกาลละลายก็ใช้ไต้ ห ตะไล พอเต็มหยิบมะพร้าวกวยนํ้วช และหำแม่มือจุกลง กลางหนำขนม เรื่ยงลงล้งถึงกว้าน')ใส่กะทะ (กะเนอย่าให้ กนล*งถึงเมื่อนำเกือก) ต8งไฟใช้ฝาล้งถึงบี่คให้น ยกล*งถึงขั้นก8ง์ในกะทะบี่ดให้สนิท ระว*งไฟให้แรงเ อ่อนลง ราว ๒0 นาที
ชองคาว
6) เ5จ ไก'แปลงนาม เครองปรุง ไก่ ® ทิว หมู ๒ ถ้วย มะพรำวขูด ๔ ถ้วย พริกแห่ ๔ เม็ก หอมเผา ๑ ช่อนหวาน ข่าเผา ๑/๒ ช่อนโต๊ะ ราก ผ่ก์ชี ๑ ช่อนชา ทิวเขียวทิว 6 ©/๒ ช่อนชา ผกชี © คน มะนาว © ซีก มะกรูค © ซีก มะขาม ๒ ผก ระกำ © ผล นาปลา นํ้าฅาลบีก ทิวพู ๔ ผก ผํกบุ้ง ® กำ มไเฝ หำ กระเทียม ๕ กลีบ นาม‘นหมู ©ถำยชา วธทอดไก่ ถ้างผิวไก่ให้สะอากจนหมกกลีนสาป แลำใช้เช แขวน กวนหนำที่กอ'ให้รอบ แลำกริกไปกามหถ้ง ใช้ม็ ปลายแหลมเล็กค่อย ๆ เซาะเนั้อออกจากกระกกเบี่นคอน ๆ จนหมกทิว แลวค่อยบรรจงกวำเกรี่องในออกอย่าให้ แลำทิกกรงปากช่องเอาเกรี่องในออกทั้งให้หมก สะอาดจึงเอากระกุกในคมไก้ วธทำ เอากระกุกใส่หม่อ ทิมกบนำ ประมาณ ๖ ถำย คง ประมาณ ๓ ช.ม. นากระกุก'ไก่นํ้ใช้ก1นกะทิ ห ค*งํ้ไฟเคี่ยว'ให้แตกมน ส่วนหางกะทิใส่ภาชนะไว้ค่างหาก พริกแห่ง ๓ เม็ก ฉีกแกะเม็ดออกถ้างโขลกกบเกลือ หอม กระเทียม ข่าเผา และรากผกชี ทิมถ้ว้เขียวให้เรี่]อย โขลกไปกำยกนจนละเอียด จึงใส่ลงผกกบกะทิเกี่ยวจุนเบึน มนขั้นหนำ ถ้างหมูใส่เกรี่องหมุนให้ละ เอียก ไนหมูประมาณ ® ชอนเกะ เกลากบหมจนนม บรรจุในคำ ไก่เย็บและแต่งให้เรียบรอย ใช้ไม้ไผ่เหลาข
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352