1 มุนนี าถทปี นี ศาสตร์วา่ ดว้ ยการเปน็ พระพทุ ธเจ้า พรรณาถึงการสรา้ งพระบารมเี พอ่ื การตรสั รเู้ ปน็ พระพุทธเจ้า และความเปน็ ท่เี พ่งิ อยา่ งแทจ้ ริงของพทุ ธศาสนิกชน โดย พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กรงุ เทพมหานคร
2 \"ขา้ พเจ้า ผมู้ ีนำ้าใจศรทั ธาเล่ือมใส ใครจ่ ะให้พระสทั ธรรมคาำ ส่งั สอนแห่งองคส์ มเดจ็ พระชินวรโลกนาถ บรมศาสดาจารย์ ถาวรตั้งอยู่ตลอดกาลนาน จงึ ได้อตุ สาหะรจเรยี บเรียงเรื่อง มนุ ีนาถทปี นี นีข้ ้นึ แล้ว ไดป้ ระสบบญุ กุศลซึ่งอำานวยประโยชนใ์ หอ้ ันใดด้วยเดชะแห่งบุญกศุ ลนน้ั ขอสรรพสัตวท์ ง้ั หลายจง ประสบแต่ความสุขสาำ ราญจงทวั่ กัน อน่งึ บรรดาพทุ ธมามกชนผเู้ ล่อื มใสพระไตรรตั น์ คือพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์มเี จตจาำ นงใครจ่ ะพน้ จาก กองทกุ ข์ จงพ้นทกุ ข์ในอบายภมู ิ และจงบรรลถุ งึ นพิ พานในอนาคตกาลดว้ ยเถิด ขอมโนรถความปรารถนาอันประเสริฐซึง่ เกดิ จากนำา้ ใจอนั งามของขา้ พเจา้ จงสำาเร็จผลตามท่ตี ้ังใจไว้นี้ ทง้ั หมด เพ่อื ความหมดจดไหบูลยแ์ หง่ พระสัทธรรมคำาสอนขององคส์ มเด็จพระชนิ วรบรมศาสดาจารย์ ตลอดกาลนิรันดรเทอญ\" (เนื้อความตอนหนึง่ จากปจั ฉมิ พจน์) พระพรหมโมลี (วลิ าศ ญาณวโร ป.ธ.๙)
3 สารบญั ปฌามพจน์ ............................................................................................................................................ 7 อารมั ภบท................................................................................................................................................... 7 มหาวิบัติ .............................................................................................................................................. 8 อนสุ าสนีประจาำ วัน ...............................................................................................................................15 บทที่ ๑ พระพุทธาธกิ าร.............................................................................................................................18 นำ้าใจพระโพธสิ ตั ว์ ................................................................................................................................20 กระแตผู้โพธิสัตว์ ................................................................................................................................ 21 พระพุทธเจ้า ๓ ประเภท ......................................................................................................................23 เร่ืองอสงไขย ....................................................................................................................................... 27 เรอื่ งกปั ป์ ............................................................................................................................................28 ธรรมสโมธาน ..................................................................................................................................... 33 พระพทุ ธพากย์ .................................................................................................................................... 39 พระพุทธภูมิธรรม ............................................................................................................................... 41 อัธยาศยั โพธสิ ตั ว์ ................................................................................................................................ 42 พุทธกรณธรรม .................................................................................................................................... 44 พระบารมี ๓๐ ถ้วน .............................................................................................................................54 อานสิ งสแ์ หง่ พระบารม.ี ........................................................................................................................ 57 อธิมตุ ตกาลกิรยิ า ................................................................................................................................ 58 พทุ ธอุบตั ิ ............................................................................................................................................64 อสุญกปั ..............................................................................................................................................66
4 พระเจา้ ๕ พระองค์ ............................................................................................................................. 68 ทรงเปน็ เอก ........................................................................................................................................ 70 บทท่ี ๒ พระบารมเี ริ่มแรก......................................................................................................................... 75 พรหมรำาพงึ .........................................................................................................................................76 มานพหนุ่มผเู้ ข็ญใจ ............................................................................................................................ 78 สตั ตตุ าปะราชา................................................................................................................................... 83 พระพรหมดาบส ................................................................................................................................. 93 มานพหนมุ่ ช่างทอง ............................................................................................................................ 96 เจ้าหญงิ สมุ ิตตาเทวี ..........................................................................................................................102 อรติเทวราชบพติ ร ............................................................................................................................ 107 บทที่ ๓ พระบารมตี อนกลาง....................................................................................................................111 สาครจักรพรรดภิ์ ูมบิ ดี ...................................................................................................................... 112 บทที่ ๔ พระบารมตี อนปลาย................................................................................................................... 121 ๑.สมเด็จพระทปี งั กรอุบัติ ................................................................................................................ 123 ๒.สมเดจ็ พระโกณฑญั ญะอุบัติ ........................................................................................................... 133 ๓. สมเด็จพระสมุ ังคละอบุ ตั ิ .............................................................................................................. 135 ๔. สมเดจ็ พระสุมนะอบุ ตั ิ ...................................................................................................................140 ๕. สมเดจ็ พระเรวตะอบุ ัติ .................................................................................................................. 141 ๖. สมเด็จพระโสภติ ะอบุ ัติ ................................................................................................................. 142 ๗. สมเด็จพระอโนมทสั สีอุบัติ ...........................................................................................................143 ๘. สมเด็จพระปทุ มะอบุ ัติ .................................................................................................................. 145
5 ๙. สมเดจ็ พระนารทะอบุ ตั ิ .................................................................................................................147 ๑๐. พระปทุมมุตระอบุ ัติ ....................................................................................................................149 ๑๑. สมเด็จพระสเุ มธะอบุ ตั ิ ............................................................................................................... 150 ๑๒. สมเดจ็ พระสุชาตะอุบตั ิ .............................................................................................................. 152 ๑๓. สมเดจ็ พระปยิ ทสั สีอุบตั ิ ..............................................................................................................154 ๑๔. สมเด็จพระอตั ถทสั สีอุบตั ิ ...........................................................................................................155 ๑๕. สมเด็จพระธรรมทสั สีอุบตั ิ ......................................................................................................... 157 ๑๖. สมเดจ็ พระสิทธัตถะอบุ ตั ิ ............................................................................................................158 ๑๗. สมเด็จพระติสสะพุทธเจ้า .......................................................................................................... 159 ๑๘. สมเดจ็ พระมหาปสุ สะอุบตั ิ ......................................................................................................... 161 ๑๙. สมเดจ็ พระวปิ ัสสีอุบตั ิ ................................................................................................................162 ๒๐. สมเด็จพระสขิ ีอุบัติ .....................................................................................................................164 ๒๑. สมเด็จพระเวสสภอู ุบัติ .............................................................................................................. 166 ภัทรกัป .............................................................................................................................................167 ๒๒. สมเด็จพระกกุสนั ธะอุบตั ิ ........................................................................................................... 169 ๒๓. สมเดจ็ พระโกนาคมนะอบุ ตั ิ ....................................................................................................... 170 ๒๔.สมเดจ็ พระกัสสปะอบุ ัติ ...............................................................................................................172 พระอมรนิ ทรเทวราชโพธิสัตว์ ............................................................................................................ 175 บทท่ี ๕ พระบรมไตรโลกนาถ.................................................................................................................. 181 วฏั สงสาร ......................................................................................................................................... 183 พระสพั พญั ญเู จ้า ...............................................................................................................................189 สัญโญชน .......................................................................................................................................... 194
6 โลกตุ รภมู ิ .........................................................................................................................................196 โสตาปนั นโลกตุ รภูมิ .........................................................................................................................196 สกทิ าคามโี ลกุตรภูมิ ........................................................................................................................ 202 อนาคามโี ลกุตตรภมู ิ ........................................................................................................................ 204 อรหัตโลกุตรภูมิ ............................................................................................................................... 209 บทท่ี ๖ พระอนนั ตพุทธคุณ......................................................................................................................216 พระกาฬพุทธรักขิตเถระ ................................................................................................................... 217 โลกสมทุ ร ......................................................................................................................................... 227 ธรรมบรรพต .....................................................................................................................................230 ธรรมเมฆ ..........................................................................................................................................233 ธรรมนที ........................................................................................................................................... 235 พระพุทธสหี นาท ............................................................................................................................... 237 รอยพระบาท .....................................................................................................................................240 อวสานบท............................................................................................................................................... 245 นิพพานสมบตั ิ ................................................................................................................................... 248 นิพพานปฏปิ ทา ................................................................................................................................ 256 ปัจฉมิ พจน์...............................................................................................................................................260
7 มนุ นี าถทปี นี ศาสตรว์ ่าด้วยการเป็นพระพุทธเจา้ ปฌามพจน์ ข้าพเจ้า ขอน้อมนมัสการแด่องค์สมเดจ็ พระบรมศาสดาจารย์ พระองค์ผูท้ รงมีพระมหากรณุ าแผไ่ ปใน ไตรภพและพระนพโลกุตรธรรมอนั ล้าำ เลศิ กับทงั้ พระอรยิ สงฆผ์ ู้ทรงพระคุณอนั ประเสรฐิ ดว้ ยเศียรเกล้าแลว้ จักขออภวิ าทนบไหวซ้ ่งึ ทา่ นบรู พาจารย์ท้งั หลาย ผ้ทู รงไวซ้ ง่ึ ญาณและพระคุณอนั บรสิ ทุ ธ์ิ ด้วยคารวะเป็น อย่างยง่ิ แลว้ จักรจนาเรียบเรียงกถาซง่ึ ตั้งชอ่ื ว่า มนุ ีนาถทีปนี เพ่อื แสดงถงึ เรอื่ งของพระองค์ผทู้ รงเป็นนาถะ ที่พ่ึงอย่างประเสรฐิ สุดแห่ง ประชาสัตว์ในไตรโลก กลา่ วคอื งคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ จอมมุนีโดย ประสงค์จะสดุดี สรรเสริญ ซง่ึ พระพทุ ธคุณเป็นสาำ คญั ฉะนนั้ ขอมวลชนคนดีมีปัญญาทั้งหลายจงตง้ั ใจสดบั กถาของขา้ พเจ้า ซ่ึงจักกลา่ วในโอกาสตอ่ ไปนี้ ด้วยดเี ทอญ. อารัมภบท บัดนี้ จักขอถือโอกาสชีแ้ จง แก่ทา่ นพทุ ธศาสนิกชนท้ังปวงว่า บรรดาเราท่านท้งั หลายทเ่ี กดิ มาเปน็ มนษุ ย์ พบพระพุทธศาสนา พร้อมกบั มีศรทั ธาเล่ือมใสและมใี จประกอบดว้ ยสมั มาทิฐิน้อมนำาเอาพระบวรพทุ ธ ศาสนามาเป็นศาสนาประจำาชีวติ ของตนเช่นที่กาำ ลงั เป็นอยู่ในปัจจบุ นั น้ีน้นั ถ้าจะถือกันวา่ เปน็ โชค เวลาน้ี เราก็กำาลังไดป้ ระสบโชคอยา่ งมหาศาล ซงึ่ ไม่มีโชคอน่ื ใดจะเปรยี บปาน ถ้าจะถอื กันวา่ เป็นลาภ เวลานีเ้ ราก็ กำาลังได้รับลาภอยา่ งประเสริฐสดุ ขนาดเป็นบรมลาภทีเดียว ซง่ึ จกั หาลาภอน่ื ใดในโลกนมี้ าเปรยี บเทียบอีก ไม่ได้เลย
8 ที่กลา่ วมานี้ ไม่ใช่กล่าวไปด้วยอำานาจความคล่องปากหรือมใี จอยากจะยกยอ่ งพระพทุ ธศาสนาจนเกนิ ไป ไมใ่ ชอ่ ยา่ งน้นั อนั ทีจ่ รงิ การท่ีสัตวโ์ ลกทงั้ หลายซง่ึ ยงั ตอ้ งทอ่ งเที่ยวเวียนวา่ ยตายเกิดอยู่ใน วัฏสงสารจักได้ มโี อกาสเกิดมาพบพระบวรพุทธศาสนา แห่งองค์สมเด็จพระศาสดาบรมไตรโลกนาถ แตล่ ะชาตแิ ต่ละหนนัน้ อย่าได้สาำ คญั ผิดคิดอยา่ งผิวเผนิ เป็นอนั ขาดว่า เปน็ สภาพทีเ่ ป็นไปได้งา่ ยๆ ความจริงไม่ใช่ เพราะว่าเปน็ ส่งิ ทีเ่ ป็นไปได้โดยยากเย็นแสนเข็ญนกั หนา ขอใหท้ ่านผู้มปี ญั ญาทั้งหลาย จงมาพิจารณาใคร่ครวญถึงมหา วิบตั ิ คือความฉบิ หายของสตั วโ์ ลกอยา่ งใหญห่ ลวง ตามท่จี ะพรรณาตอ่ ไปน้เี ถิด แลว้ ก็จะแลเห็นเองวา่ การ ที่เราเกิดมาในชาตนิ ี้ได้เปน็ มนษุ ยพ์ บพระพทุ ธศาสนา จดั ว่าได้รับโชคลาภอย่างประเสริฐเพริศพรงิ้ เพียงไร มหาวิบตั ิ ข้ึนชอื่ วา่ ความวิบตั ทิ ้งั หลายที่มนษุ ย์เราตอ้ งประสบกนั อยู่เสมอในโลกนี้ ความวิบตั อิ นื่ ใดก็จงยกไวก้ ่อนเถดิ เพราะมิสจู้ ะสำาคญั แต่ความวบิ ัติหนึ่งนนั้ เป็นความวบิ ตั ิอยา่ งใหญห่ ลวงของสามัญสัตว์ ซ่ึงจดั ว่าเป็นยอด แห่งความวิบัติจริงๆ มอี ยู่ ๖ ประการ คือ ๑. วบิ ตั กิ าล วิบตั ิกาลนี้ ได้แก่วิบัตเิ พราะกาลวา่ งจากพระพทุ ธศาสนา! หมายความว่า ในโลกมนุษย์ทเี่ ราเกิดอยนู่ ่ี ใชว่ า่ จะปรากฏมพี ระบวรพุทธศาสนาอยเู่ ป็นประจาำ จนชัว่ ฟ้าดิน สลายนนั้ หามิได้ โดยทีแ่ ท้ บางกาลก็มพี ระพทุ ธศาสนา แตบ่ างเวลาก็ไม่มี เพราะมใิ ช่คราวทีส่ มเดจ็ พระจอม มนุ ี สมั มาสมั พุทธเจา้ เสดจ็ มาอบุ ัตติ รัสในโลก กใ็ นระหวา่ งกาลทีม่ ีพระพทุ ธศาสนากบั ไม่มนี ้ี ปรากฏว่ากาล ทีไ่ ม่มพี ระพทุ ธศาสนาน่นั แหละ มปี ริมาณมากกวา่ กาลทมี่ พี ระพทุ ธศาสนามากมายนัก ซ่ึงก็หมายความ
9 ในโลกน้ี นานๆ จงึ จะมพี ุทธกาลเกดิ ขึน้ สกั ครง้ั หน่ึง กน็ ้ี สมมติวา่ ตัวเราเกดิ มาในเวลาท่ีมใิ ชพ่ ุทธกาล เปน็ กาลว่างเปลา่ ว ไมม่ สี มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ เสด็จมาอุบตั ติ รสั ในโลก เรากห็ มดโอกาสท่ีจะไดร้ จู้ กั พระพทุ ธศาสนา มไิ ดร้ บั รสพระสทั ธรรมเทศนา การเกิดของเราในกาลทีว่ า่ งเปล่าจากพระพทุ ธศาสนาก็ เทา่ กับว่าเกดิ มาเปล่า ประโยชน์ หาสาระแกน่ สารแหง่ ชีวิตอันแท้จริงมไิ ด้ เกดิ มาเปล่าแล้ว กต็ ายไปเปลา่ ตามธรรมดาของการเวียนวา่ ยตายเกิดในวฏั สงสารเท่านนั้ เอง สภาพการณ์เชน่ วา่ มาน้ีเรียกช่ือว่าวิบัตกิ าล ประสบความฉบิ หายอย่างใหญ่หลวงแห่งชีวิต เพราะเิ กิดผดิ กาลเวลา นบั วา่ เปน็ มหาวบิ ัติประการหนึ่ง ๒. วิบตั ิคติ วบิ ตั คิ ตนิ ี้ ไดแ้ กว่ ิบัติเพราะไมไ่ ดค้ ติที่ด!ี หมายความว่า แมก้ าลเวลาจะถงึ พร้อมแลว้ คอื มีสมเดจ็ พระมิ่งมงกฏุ สัมมาสัมพทุ ธเจ้าเสด็จมาอุบตั ิตรัสใน โลก ทรงประกาศพระสทั ธรรมเทศนายังประชาสตั ว์ใหไ้ ดด้ ่มื อมตรส ทรงโปรดสตั วร์ ้ือสตั วข์ นสตั ว์ใหพ้ ้นจาก ทกุ ขใ์ นวฏั สงสาร ให้ลลุ ่วงถึงพระนพิ พาน ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาใหป้ รากฎอยู่ในโลก เชน่ ใน ปจั จุบันทกุ วันน้ี แต่ทนี ้สี มมติวา่ ตวั เราเป็นคนอาภัพอบั โชคมีบญุ น้อยด้อยวาสนา ไม่ได้เกดิ มาเป็นมนษุ ย์ อย่างเวลาน้ี เพราะค่าที่เป็นผมู้ คี ตวิ ิบตั ิ พลัดไปในเกิดในภมู อิ น่ื โลกอ่นื เสยี อย่างเพลดิ เพลนิ เชน่ กำาลงั ไป เกดิ อยใู่ นนิรยภูมถิ ือกำาเนดิ เป็นสัตวน์ รกเสยี ก็ตาม กาำ ลังไปเกิดอย่ใู นเปตวสิ ัยภมู ิ ถอื กำาเนิดเปน็ เปรต อดอยากอยูก่ ็ตาม กาำ ลงั ไปเกิดอยู่ในอสุรกายภูมิ ถอื กาำ เนดิ เป็นอสุรกายมีความหวิ กระหายอย่างแสน สาหสั อยู่กต็ าม หรือกาำ ลงั ไปเกดิ อยู่ในติรัจฉานภูมิ ถือกำาเนดิ เป็นสัตว์เดรจั ฉานอยูเ่ สีย ก็เมื่อเปน็ อย่างน้ี แล้วจะมีโอกาสไดม้ าพบพระบวรพุทธศาสนากระไรได้ เพราะสตั วใ์ นอบายภูมทิ ัง้ หลายเหล่าน้นั ทกุ วันเวลา มแี ต่จะมะงุมมะงาหราเสวยทุกขโ์ ทษจนหนา้ ดาำ หนา้ แดง มีชีวติ อยูอ่ ยา่ งหดหูเ่ หย่ี วแหง้ นา่ สมเพชเวทนา กม้ หน้ากม้ ตารับผลกรรมช่ัวของตน จนหน้ามดื ตามัว ไม่มเี วลาหยุดว่างเว้น สภาพการณเ์ ชน่ วา่ มาน้ี เรีกชอ่ื วา่ วบิ ตั คิ ติ ประสบความฉบิ หายอยา่ งใหญ่หลวงแห่งชวี ติ เพราะไปเกดิ ผิดภูมผิ ดิ โลก จึงโชครา้ ยนกั หนา นบั วา่ เปน็ มหาวบิ ัตปิ ระการทสี่ อง
10 ๓. วิบตั ิประเทศ วบิ ตั ปิ ระเทศน้ี ได้/////แกว่ ิบตั เิ พราะเปน็ ประเทศทีไ่ ม่มพี ระพทุ ธศาสนา! หมายความวา่ ถึงแมจ้ ะพ้นจากวบิ ตั ทิ ีก่ ลา่ วมาแลว้ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถศาสดาจารย์เจ้า ก็ทรง มาอบุ ตั ติ รัสในโลกแล้ว และตัวเรากพ็ ้นจากคติวิบัติ มาอบุ ตั ิเกิดเปน็ มนษุ ยใ์ นมนษุ ยโ์ ลกน้แี ล้ว กแ็ ตว่ ่าโลกนี้ เป็นพื้นแผน่ ปฐพอี นั กวา้ งขวางใหญโ่ ตนกั หนา เปน็ ทส่ี ถติ แห่งนานาประเทศ มีจำานวนมากมายหลาย ประเทศนัก พระพทุ ธศาสนาไมส่ ามารถจักแผ่ไปถงึ ท่วั ประเทศทั้งสิน้ ทัง้ ปวงได้ ประเทศใด พระพทุ ธศาสนา แผไ่ ปไมถ่ งึ ประเทศน้ัน กไ็ ม่รู้จักคุณค่าของพระบวรพทุ ธศาสนา ไม่ทราบเลยวา่ ศาสนาคาำ สอนแหง่ องค์ สมเด็จพระชินวรสัมมาสมั พุทธเจา้ เปน็ นิยานกิ ธรรม สามารถนำาสัตวโ์ ลกออกจากกองทกุ ขไ์ ด้อย่างแทจ้ ริง โดยไมต่ อ้ งสงสัย ทนี สี้ มมติว่า ตวั เราไปเกิดในประเทศนน้ั กไ็ ม่มวี ันทจ่ี ะไดร้ ้จู ักพระพทุ ธศาสนาเลย เมื่อไม่รู้ จักกย็ อ่ มไมเ่ ห็นคุณคา่ ของพระศาสนาอันมอี ย่โู ดยวเิ ศษเป็นธรรมดา เมอ่ื เปน็ อย่างนแี้ ล้ว ก็จกั มโี อกาสเป็น พุทธศาสนิกชนคนนบั ถือพระพทุ ธศาสนาไดอ้ ย่างไร ยอ่ มจะมีชีวติ อย่ใู นชาตหิ น่ึงอย่างไร้แก่นสาร นา่ เศร้า เขา้ ทาำ นองเกดิ มาเปล่าแลว้ กต็ ายไปเปลา่ เทา่ นัน้ เอง สภาพการณเ์ ช่นวา่ มาน้ี เรียกชอื่ ว่าวิบตั ิประเทศ ประสบความฉบิ หายอยา่ งใหญ่หลวงแหง่ ชาติ เพราะไปเกดิ ผดิ ประเทศ จึงต้องโชคร้ายนักหนา จดั วา่ เปน็ มหาวบิ ัติสำาคญั ประการท่ีสาม ๔. วิบตั ิตระกลู วบิ ตั ิตระกูลนี้ ได้แกว่ ิบตั ิเพราะตระกูลทไี่ มเ่ ปน็ สัมมาทิฏฐ!ิ หมายความวา่ ถงึ แม้จะได้มีสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาอุบัติตรัสในโลกน้แี ลว้ และเรากไ็ ดม้ ี โอกาสมาเป็นมนุษย์ เปน็ คน ในประเทศที่นบั ถอื พระบวรพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาำ ชาติแล้ว ก็แต่ว่าใน
11 ประเทศนยี้ ่อมมีวงศ์ตระกูลของหมูมนษุ ย์อยมู่ ากมายหลายตระกูลนัก ตระกูลที่เป็นสัมมาทิฐิ เคารพนบั ถือ พระพทุ ธศาสนากม็ ี ตระกลู ท่ีเปน็ มิจฉาทฐิ ิ ไม่มคี วามเลือ่ มใส ไม่เคารพนับถอื ในพระพทุ ธศาสนากม็ ี ทนี ี้ สมมติว่าตวั เราบงั เอิญไปเกิดในตระกูลทเี่ ป็นมจิ ฉาทิฐิเสีย บดิ ามารดา ปู่ ยา่ ตา ยาย ซ่งึ เป็นบรรพชนต้น โคตร ต้นวงศข์ องเรา ท่านไม่รู้จักพระบวรพทุ ธศาสนา ไมเ่ ห็นคุณคา่ ไม่มีศรทั ธาเคารพเลื่อมใสในพระธรรม คำาส่งั สอน แหง่ องคส์ มเดจ็ พระชนิ วรสัมมาสมั พุทธเจ้าเอาเสียเลย เราก็จะต้องมคี วามเห็นหรอื มีทฐิ ิไปตาม โคตร ตามวงศ์ คือจกั ไม่ปลงใจเชื่อ ไมเ่ ห็นคุณคา่ อาจมองพระบวรพุทธศาสนาไปในแงว่ ่าไมถ่ ูกต้องกไ็ ด้ เม่ือเป็นอยา่ งน้แี ล้ว ชีวติ ของเราถงึ แมจ้ ะได้รับความสมบูรณ์ พนู สุขอยา่ งไร กน็ บั เข้าในจาำ พวกท่ีอบั โชค เกดิ มาในโลกกบั เขาครัง้ หนง่ึ แตห่ าทีพ่ ง่ึ อันแท้จรงิ เปน็ แกน่ สารมิได้ เกดิ มาเปล่าแลว้ ก็ตายเปลา่ อีกเหมือน กนั สภาพการณเ์ ชน่ ว่ามาน้ี เรียกวา่ วิบัติตระกลู ประสบความฉิบหายอยา่ งใหญห่ ลวงแห่งชาติ เพราะไปเกดิ ผดิ ตระกลู จึงต้องโชคร้ายหนกั หนา จัดวา่ เป็นมหาวบิ ตั ิสาำ คัญประการทส่ี ่ี ๕. วบิ ัติอปุ ธิ วิบตั ิอปุ ธิ น้ี ได้แก่วบิ ัติอปุ ธิ คอื ร่างกาย! หมายความว่า ถงึ แม้จะได้มสี มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสดจ็ มาอุบัติ และทรงประกาศพระพทุ ธศาสนาให้ ตัง้ ม่ันในโลกอย่างปจั จุบันทกุ วนั น้ีแล้ว และเาก็ไดม้ ีโอกาสเกดิ มาในตระกลู ทีเ่ ปน็ สมั มาทฐิ ิเคารพเลือ่ มใสใน พระบวรพทุ ธ ศาสนาอยู่แล้วกต็ ามที แตท่ ่ีนี้ สมมตวิ า่ ตัวเราเปน็ คนอาภพั อับวาสนา องคาพยพไมส่ มบูรณ์ เป็นคนมอี ปุ ธิวบิ ัติ คือรา่ งกายไมส่ มประกอบ เหมอื นคนธรรมดาสามญั ทง้ั หลาย กลายเป็นบา้ เป็นใบ้ ตาบอด หูหนวก เสยี จริต จติ วปิ ลาสไปเสีย เช่นน้ีกไ็ มส่ ามารถมีปญั ญามองเหน็ คุณค่าพระบวรพุทธศาสนา ไม่มีโอกาสจะรู้ว่าศาสนธรรมคาำ สอนของพระพุทธองค์ วา่ ทรงไวซ้ ึ่งความประเสริฐลาำ้ เลิศเพียงไรอยา่ งน้แี ม้ จะไดเ้ กิดมากบั เขาชาติ หน่ีึง กถ็ ึงการนบั ได้ว่าเกดิ มาเปลา่ ๆ เป็นชวี ติ ทไ่ี ร้คา่ เทา่ กับวา่ ไม่ได้เกดิ มาน้ีเอง สภาพการณ์เชน่ ว่ามาน้เี รียกชอื่ วา่ อปุ ธวิ ิบัติ ประสบความฉบิ หายอยา่ งใหญห่ ลวงแหง่ ชีวติ เพราะความ วปิ รติ ของกายตน จึงต้องเป็นคนโชคร้ายนกั หนา จัดว่าเป็นมหาวบิ ตั สิ ำาคญั ประการทหี่ า้
12 ๖. วบิ ตั ิทฐิ ิ วิบตั ทิ ิฐนิ ี้ ไดแ้ ก่วิบัติ เพราะทิฐแิ หง่ ตน! หมายความวา่ ถึงแม้จะไดม้ สี มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าเสด็จมาอุบตั ิ และทรงประกาศพระบวรพุทธศาสนา ให้ตง้ั มน่ั ในโลกเชน่ ปัจจบุ นั ทกุ วันน้แี ล้ว และตวั เรากห็ ลบพน้ จากมหาวิบัติต่างๆ ไดม้ โี อกาสมาเกิดใน ตระกูลท่เี ป็นสัมมาทฐิ ิ มอี ุปธิรา่ งกายเป็นปกติ มใิ ชเ่ ป็นคนหหู นวก ตาบอด คนบา้ คนใบ้ แตป่ ระการใดเลย คราวนีส้ มมติวา่ ตวั เราเองนี่กลายเปน็ คนมที ฐิ วิ บตั ิ คอื มคี วามเหน็ ผิดมกั บูชาความคิดความเหน็ ของตนอนั ไมถ่ ูกต้อง จะเป็นเพราะวา่ ไปซ่องเสพสมาคมกับชนมิจฉาทฐิ ิเข้า หรอื วา่ จะเปน็ เพราะเหตุอื่นใดกต็ าม แลว้ ก็ ให้มอี นั เป็นเกดิ ความคดิ เห็นวปิ ริตไปโดยนยั เปน็ ต้นว่า \"สมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ไม่ม!ี พระธรรมท่ีพรำา่ สอนกัน ก็ไม่เปน็ นิยานิกธรรม นาำ สัตว์ให้พน้ ทกุ ขไ์ มไ่ ด้ แมพ้ ระอริยสงฆน์ ้ันไซร็ ก็หาได้มคี ุณวิเศษย่ิงไปกวา่ ตัวเรานไี่ ม่ มรรค ผล นพิ พาน บญุ บาป เป็นสภาพทเ่ี พ้อ ฝันกนั ไปอยา่ งนั้นเอง ความจริงหามีไม่ คำาสอนในศาสนาไม่มคี ุณา่ ควรแก่การปฏิบัตติ าม\" เกดิ ความเห็นไม่เข้าท่าไปทาำ นองน้ี กเ็ ลยไม่มีศรทั ธาจิตคดิ เล่ือมใส ไม่มีโอกาสไดป้ ฏิบตั ิตามกระแส พระพทุ ธฎีกาอนั หาไดย้ ากในโลก เมอ่ื ไม่ปฏบิ ัตติ าม กย็ ่อมไมไ่ ดพ้ บความวเิ ศษสดุ ของพระบวรพุทธศาสนา เมอ่ื เป็นอยา่ งนี้ เกดิ มากน็ บั ว่าเสยี ชาติเกดิ ไปเปล่าๆ ไดม้ าพบศาสนาของสมเด็จพระพุทธเจ้าอันแสน ประเสรฐิ แลว้ แตจ่ ักษกุ ลับไมม่ ีแวว เป็นคนตาบอด ตาใส มองเห็นเป็นของตาำ่ ทรามไม่มีค่า ไม่ช้ากถ็ ึง กาลกริ ิยาตายไปโดยไม่มีท่ีพ่งึ เพราะมที ฐิ ิดึงดนั ดอื้ รนั้ ย่ิงนัก ไม่รู้จกั เชอื่ ฟงั คาำ สอนของสมเด็จพระสมั มาสัม พทุ ธเจา้ เข้าทาำ นองท่ีว่า เกิดมาเปลา่ แลว้ กต็ ายไปเปลา่ อกี ตามเดมิ สภาพการณ์เชน่ ว่ามานีเ้ รยี กชื่อว่า วบิ ัติทฐิ ิ ประสบความฉบิ หายอย่างใหญ่หลวงแหง่ ชีวิต เพราะความเห็น ผดิ ของคน จงึ ต้องเปน็ คนโชคร้ายนักหนา จดั ว่าเปน็ มหาวิบัตปิ ระการสุดทา้ ย
13 บดั นี้ ลองหนั มาตรวจดูท่ีตัวเราท่านท้งั หลายนีด้ เู ถดิ เราเกดิ มาในชาตนิ ีจ้ ะไดร้ ู้เกดิ มาก่อนก็หาไม่ แต่กใ็ ห้ บังเอญิ เกดิ มาพบพระบวรพุทธศาสนา แมว้ า่ สมเดจ็ พระบรมศาสดาจารยจ์ ะเสด็จดบั ขนั ธ์ปรนิ ิพพานไปนาน แล้วก็ตาม แต่ศาสนธรรมคำาสงั่ สอนของพระองคย์ งั ปรากฎอยู่ กเ็ ทา่ กับวา่ เราเกดิ มาทันพทุ ธกาลเหมือนกนั นอกจากนน้ั ยังไดม้ ีจติ ใจเลือ่ มใสในพระบวรพทุ ธศาสนา ปฏิญาณตนเป็นพุทธศาสนกิ ชน น้อมรับเอา พระพทุ ธศาสนาอันทรงคณุ ค่าประเสริฐสดุ มาเปน็ สรณะทพ่ี ึ่งของตน ก็เป็นอนั ว่าพ้นแล้วจากมหาวบิ ัตคิ วาม ฉบิ หายอย่างใหญ่หลวงทัง้ ๖ ประการ ตามทีพ่ รรณามาแล้วนั้นใชไ่ หมเลา่ ? อยา่ งนี้แลว้ จะไมใ่ หก้ ล่าวว่า เรา เกิดมาในชาติน้ี กำาลงั ได้รับโชคลาภอยา่ งมหาศาลอยแู่ ลว้ ได้อย่างไร? ในบรรดามหาวบิ ัติทั้งหลายนน้ั หากจะพจิ ารณากนั ให้ดกี ็จะเหน็ ไดว้ ่า มหาวิบตั ขิ อ้ แรก คอื วบิ ตั กิ าล นับว่า สาำ คัญกวา่ ขอ้ อ่ืน เพราะเกยี่ วกับการอบุ ตั ิบังเกดิ ขึ้นแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ โดยตรง ถา้ ลงว่า สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไม่เสด็จมาอบุ ตั ิตรสั ขน้ึ ในโลกแลว้ ถึงแม้วา่ เราทา่ นทงั้ หลายจะเพียบพรอ้ ม อุดมสมบูรณไ์ ปด้วยสมบตั อิ ่ืนใดก็ตาม กถ็ ือว่าไม่พน้ จากความวบิ ตั เิ หล่านี้ไปได้ฉะนัน้ การเสด็จอุบัตขิ ึน้ แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า จึงเปน็ อุบัตกิ าลทีส่ ัตว์โลกพากันถอื วา่ สำาคญั ทีส่ ดุ อย่าวา่ แตม่ นุษย์ เราน่เี ลย แม้แต่ปวงเทพเจ้าเหล่าอมร อนิ ทร์ พรหม ยม ยักษ์ ผู้ทรงไวซ้ ง่ึ มเหศกั ด์ิมีปญั ญาต่างกป็ รารถนา กาลเปน็ ทเี่ สด็จอุบตั ิขึน้ แหง่ องค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจ้ากนั ทุกถว้ นหน้า ในกรณีนี้ พงึ ทราบว่า การเสดจ็ อุบัตขิ ึน้ แหง่ องคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ นน้ั จักมีปรากฎขนึ้ ได้ในโลก แตล่ ะคร้งั แตล่ ะหน ยอ่ มเปน็ สภาพท่เี ป็นไปโดยยากยิง่ นัก ต่อกาลนานนักหนา จงึ จะมีสมเด็จพระบรม ศาสดาจารย์เจา้ เสด็จมาตรัสสกั พระองค์หนึง่ ที่เป็นเช่นนีก้ เ็ พราะว่าทา่ นท่จี ะมาตรสั เปน็ พระพุทธเจ้านนั้ จะต้องเป็นบคุ คลสาำ คญั ทเี่ รียกว่าวิสฏิ ฐบคุ คล คอื เปน็ บคุ คลพิเศษจรงิ ๆ ได้สรา้ งสมอบรมพระบารมีมาเพ่อื ปรมาภิเษกสัมโพธญิ าณ กลา่ วคอื เพอ่ื จะตรัสรเู้ ป็นพระพุทธเจา้ โดยเฉพาะ และพระบารมที ี่วา่ นัน้ ได้ถูกบม่ มาเป็นเวลานานนับดว้ ยจำานวนมากมายหลายมหากัปทีเดียว จนถึงความแกร่ อบสมบูรณ์แลว้ ทกุ ประการ ทา่ นผมู้ โี พธิสมภารเป็นวสิ ิฏฐบคุ คลน้นั จงึ จะพลนั มาอบุ ัติ ไดต้ รสั เป็นองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ บรม โลกุตตมจารย์ แลว้ จงึ ทรงประทานประโยชนม์ หาศาลใหแ้ ก่ชาวโลก ดว้ ยการแนะนำาใหร้ ู้จกั ทางหลกี พน้ จาก
14 โอฆสงสาร อันมภี ัยใหญ่น่ากลัวนกั หนา แตว่ า่ ประชาสตั วถ์ ูกอวิชาเขา้ ครอบงาำ จงึ ทำาใหไ้ มร่ สู้ กึ วา่ ตนกาำ ลงั เวยี นวา่ ยอยใู่ นโอฆสงสารอันมภี ยั ใหญแ่ ลน่าเกรงกลัวเป็นที่สดุ น้นั ได้ ครัน้ พอมาถกู แนะนำาเขา้ แลว้ กร็ ู้สกึ ตนหว่นั เกรงภยั พยายามปฏบิ ตั ิไปตามกระแสพระพุทธฎกี า ก็พาตนพน้ ภยั ใหญ่ เข้าไปสูพ่ ระนิพพานอัน เป็นแดนเกษมสานต์มิ ากต่อมากเหลือคณนา ฉะนนั้ จึงกล่าวได้ว่า บรรดาผูท้ ีาำ่ ทำาประโยชนใ์ ห้แกช่ าวโลก ทั่วไปในไตรภพแล้ว ผทู้ ีจ่ ะสามารถทาำ ได้เท่าสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าเป็นไม่มี ก็ทา่ นผูท้ ีท่ าำ ประโยชน์ อยา่ งมหาศาลและแท้จริงอยา่ งน้ี จะหาได้งา่ ยๆ ท่ไี หนเล่า ก็เพราะความท่สี มเด็จพระชินสหี ส์ มั มาสมั พทุ ธเจา้ จะปรากฏอบุ ิัตขิ น้ึ ในโลกแต่ละพระองค์เปน็ การยาก นักหนา ตามท่ีพรรณนามาน้ี สมเดจ็ พระชนิ สหี ์บรมโลกเชษฐเจ้าแหง่ เราชาวพุทธทง้ั หลาย พระองคผ์ ูท้ รงมี พระกมลหฤทัยประกอบไปด้วยพระมหากรณุ าและแสนจะบรสิ ุทธ์ิ ซ่ือตรง จึงทรงมพี ระบรมพุทโธวาทตัก เตอื นอยู่เสมอว่า \" การอบุ ัตบิ ังเกิดข้ึน แห่งพระสมั มาสัมพุทธเจา้ เปน็ สิง่ ท่หี าไดย้ ากในโลก\" พระพทุ ธฎกี าน้ี ถ้ามีความสนใจน้อย ฟังดูแต่เพยี งครา่ วๆ พอผ่านไป ก็จะไม่เกิดความรสู้ กึ อะไรนกั มักให้ เห็นแต่เพยี งวา่ เป็นพระพทุ ธพจน์บทหน่งึ เทา่ น้ันเอง แต่ความจริงแล้ว ทรงไวซ้ ง่ึ ความสาำ คญั และความจรงิ เปน็ ท่ีสุด เพราะปรากฎว่าพระพทุ ธฎีกาบทนม้ี ใิ ช่จะตรัสแต่เพียงหนหนึ่งครั้งเดียวโดยที่ แท้ สมเดจ็ พระพทุ ธ องค์ตรสั อย่เู นอ่ื งๆ เพือ่ เปน็ เคร่ืองเตือนสตเิ หลา่ ชาวพทุ ธบรษิ ทั ดว้ ยความกรณุ าและหว่ งใยอันปรากฎเต็ม เปี่ยมอยใู่ นดวงหฤทัยแหง่ องคส์ มเด็จพระ ชนิ สหี ์ โดยมีหลักฐานท่ที ่านพรรณาไว้ ดังตอ่ ไปน้ี
15 อนสุ าสนปี ระจำาวัน กาลเมอ่ื องค์สมดจ็ พระมหากรุณาสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ยังทรงพระชนมช์ ีพอยนู่ น้ั ทกุ วนั พอไดเ้ วลาอรณุ สมยั ร่งุ เชา้ องค์สมเดจ็ พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ย่อมทรงพาพระภิกษสุ งฆ์หมู่ใหญ่เสดจ็ ออกไปเพอ่ื บณิ ฑบาตโปรด เวไนยสัตว์ เหลา่ ชนผู้ใดได้ทอดทศั นาการเห็น ย่อมบังเกิดศรทั ธาเลื่อมใสนัน้ ในดวงใจนักหนาเพราะสมเดจ็ พระมหากรุณาเจา้ ทรง มีพระวรกายอนั รุง่ เรืองไปดว้ ยถ่องแถวแหง่ พระฉพั พณั ณรังสี มพี ระสรรี ะครบ บริบูรณด์ ้วยพระทวตั ติงสะมหาปรุ สิ ลักษณะและพระอสีตยานุพยัญชนะ อันวิจิตร ต้ังแตพ่ ระอณุ หิสตลอดลง มาถงึ พ้นื ฝ่าพระบาทไพโรจน์ดว้ ยพระพุทธสิริวลิ าสหาท่ี จะเปรียบได้ ด้วยวา่ องค์สมเด็จพระพุทธเจา้ นน้ั ไซร้ ทรงมีเส้นพระเกษาอนั อ่อน และวงเวียนเปน็ ทกั ษณิ าวฏั มีสดี าำ สนิททกุ เส้นเป็นอนั ดี และทรงมพี ระนลาตงาม เลิศบริสุทธ์ิ ประดจุ สรุ ิยมณฑลอนั ปราศจากเมฆมลทิน และพระนาสิกของพระชินสหี น์ น้ั ก็มีสณั ฐานยาวงาม ยงิ่ นกั ร่งุ เรอื งไปดว้ ยพระรศั มพี รรโณภาส พระองค์ทรงเป็นนรสหี ร์ าชบรุ ุษมนุษยส์ ดุ ประเสรฐิ งามเลศิ ตลอด ท้ังพระวรกายแม้ภายใต้พืน้ พระยุคลบาท กม็ ีพรรณอนั แดงประดับไปดว้ ยพระลายลกั ษณวงกงจกั ร์ และรอย รูปมหามงคลร้อยแปดประการเป็นอัศจรรย์ สมเดจ็ พระบรมโลกนาถเสดจ็ ไปในกาลนัน้ เพอ่ื ทรงทาำ ประโยชน์แกช่ าวโลกทัง้ ผอง ดว้ ยพระพกั ตร์มีพรรณ ผอ่ งเพยี งศศิธรมณฑลอนั เต็มดวงในวนั ปณุ ณมดี ิถแี ละพระพุทธ กิรยิ าทีท่ รงดาำ เนินไป กง็ ามเหมือนประดุจ ดงั ลีลาแหง่ พญาไกรสรสหี ราช มฤคินทร์ สมควรทีอ่ ินทร์ พรหม ยม ยกั ษ์ เทพยดาหมูอ่ มรและมนษุ ยน์ ิกร จัก อ่อนนอ้ มอภิวาทพระบวรพุทธบาท เสด็จยุรยาตรไปในท่ามกลางพระอริยสงฆ์สาวกทงั้ ปวง แลดูประหนง่ึ ดวงจันทรอ์ นั แวดล้อมดว้ ยหมู่ดารากำาลงั ลีลาไปในอมั พรประเทศ สมเด็จพระโลกเชษฐผ์ ้ทู รงพระคณุ หาที่ เปรยี บมิได้ ย่อมเสด็จบทจรไปเพอ่ื บิณฑบาต ตามลาำ ดบั ตรอกลำาดับเรือนแหง่ มหาชนชาวประชา ไม่ทรง เลอื กหน้าวา่ ไพร่ผ้ดู ี พระพุทธจริยาน้ีแลเปน็ พระอริยวงศป์ ระเพณีแห่งองค์สมเดจ็ พระชินสีห์สมั มาสมั พทุ ธ เจ้าแต่ปางก่อนสืบมา
16 ครั้นว่าเสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงกระทาำ ภตั กจิ แลว้ เม่ือตอนสายแหง่ ทวิ ่า บรรดาพระภกิ ษสุ งฆอ์ งคส์ าวก ทั้งหลายต่างกม็ าประชมุ พรอ้ มกนั ณ ทใ่ี กลพ้ ระคนั ธกฎุ ที ป่ี ระทับ ดว้ ยมีใจมงุ่ หมายจักสดับพระบรมพทุ โธ วาทประจำาวนั และพระสงฆส์ าวกบางองคน์ น้ั ก็มคี วามประสงค์จะทูลขอบทพระกรรมฐานในกาลหลังจากที่ ทรงประทานพระบรมพทุ โธวาท จบลงแล้วดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ ปรากฎมีพระภกิ ษุสงฆส์ าวกพากนั มารอคอยการ เสด็จออกของพระบรมโลกุตมาจารย์ อยู่ในขณะน้ีมากมาย ครั้นไดเ้ วลา สมเด็จพระมหากรณุ าสมั มาสัมพุทธเจ้าของชาวเราทั้งหลาย ก็เสดจ็ ออกมาจากพระคันธกฎุ ี ด้วยพระพุทธลลี างดงามหาทเี่ ปรยี บมิไดแ้ ล้ว ประทับน่ังหอ้ ยพระบาทเหนอื พระแท่นที่ตัง้ ไว้ในทน่ี ้นั เพ่ือจัก ทรงลา้ งพระยคุ ลบาทให้บรสิ ุทธิ์ สะอาดปราศจากละอองธุลี เสร็จแล้วก็ทรงยนื ขน้ึ ทอดพระเนตรดูหมูพ่ ระ สงฆส์ าวกท่ีพากนั มาเฝ้า และกำาลังนอ้ มเกลา้ ประนมกรอยูท่ กุ ถว้ นหนา้ ด้วยพระพุทธนัยนาอนั เตม็ เปีย่ มไป ด้วยพระมหากรุณาเปน็ ย่งิ นกั และแลว้ ในขณะนน้ั และ ณ ทน่ี น่ั เอง พระองค์กท็ รงเปลง่ พระกระแสพทุ ธฎกี า เป็นโอวาทนุสาสนีแกพ่ ระองคส์ าวกท้งั ปวง วา่ ดกู ร เธอผเู้ หน็ ภัยในวฏั สงสารทง้ั หลาย! ขอเธอทั้งหลายจงตกแต่งรักษาซึง่ ตนใหบ้ รบิ ูรณ์ด้วยความไม่ ประมาทเถดิ ด้วยวา่ เวลาทีจ่ ะไดม้ ีพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้ามาบงั เกดิ ขึ้นในโลกเปน็ สิ่งทหี่ าได้โดย ยากนกั หนา การท่จี ะไดม้ โี อกาสเกดิ มาเป็นมนุษย์ กเ็ ป็นสงิ่ ทหี่ าได้โดยยาก การทีเ่ ป็นมนุษย์แล้วจะถงึ พร้อมดว้ ยศรทั ธา ก็เปน็ ส่งิ หาไดโ้ ดยยาก การทผ่ี ู้มศี รทั ธาจะไดม้ โี อกาสบรรพชาอปุ สมบทในพระพุทธศาสนาก็เปน็ สิ่งที่ ทำาได้ โดยยาก และการท่ีจะได้มีโอกาสสดบั ตรบั ฟงั พระสทั ธรรมเทศนาขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสัม พุทธเจา้ นน้ั เล่า กเ็ ป็นสิ่งท่หี าได้โดยยากในโลก คร้ันทรงประทานโอวาทานุสาสนีดงั น้แี ล้ว สมเด็จองคป์ ระทปี แกว้ พระมหากรณุ าเจ้าจึงประทบั นัง่ ลง ณ พระ บวรพุทธอาสน์ แลว้ จงึ ทรงเริ่มประทานพระบรมพุทโธวาทอย่างอ่ืนหรือทรงประทานบทพระกรรมฐาน เพ่มิ เติมใหแ้ ก่พระสงฆส์ าวกที่ต้องการจะนาำ ไปปฏบิ ัติตอ่ ไป เหตุการณเ์ ป็นเชน่ นอ้ี ยูเ่ ปน็ ปกติทุกวันโดยมาก ใน สมัยทส่ี มเดจ็ พระผมู้ พี ระภาคเจ้ายังทรงพระชนม์ชีพอยู่
17 เราทา่ นทั้งปวง ผเู้ ป็นสาวกของพระพุทองคท์ า่ นในกาลบดั นีเ้ ป็นปจั ฉมิ ชนคนมวี าสนานอ้ ย เกดิ มาในกาล สดุ ทา้ ยภายหลัง ดังนนั้ จึงไม่มีโอกาสไดพ้ บประสบการณเ์ ชน่ ที่วา่ มาน้ี แต่จะอยา่ งไรกด็ ี พระอนุสาสนนี ้ีก็ยัง ปรากฎกอ้ งอยู่ คล้ายกับจะเปน็ องค์สมเด็จพระบรมครเู จ้าคอยเฝา้ เตือนจิต ด้วยเหตนุ ข้ี อจงเรง่ คดิ เร่ง อนสุ รณถ์ ึงพระอนสุ าสนีประจำาวนั น้ใี ห้จงมากเถิด จะไดเ้ กิดความไมป่ ระทาทในวัยและชีวิ ตขิ องตน เพอ่ื ผล กลา่ วคอื ความได้สาระแกน่ สารอย่างแทจ้ รงิ อนั เน่ืองมาจากการเกดิ มาพบพระบวรพุทธศาสนาของตวั เรา ในชาติน้ี อยา่ ให้พลาดท่าเสียทีได้ ต่อจากน้ไี ป จกั ได้อญั เชญิ เอาพระอนสุ าสนปี ระจำาประการแรกคือข้อที่ว่า ทลุ ฺลโก พุทฺธูปฺปาโท โลกสมฺ ึ ซ่ึงแปลว่า เวลาท่ีจะไดม้ พี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ มาบงั เกิดข้ึนในโลก เปน็ สง่ิ ทที่ ำาได้โดยยาก อัญเชญิ เอาพระ อนสุ าสนขี ้อนม้ี าเปน็ ต้นเคา้ แลว้ จักเลา่ เรอ่ื งราวอนั เก่ยี วกบั องคส์ มเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ท้งั หลาย ต่อ จากนนั้ กต็ ้ังใจไวว้ ่าจกั พรรณาถึงการสรา้ งพระบารมเี พอ่ื พระปรมาภเิ ษกสมั โพธญิ าณของ องค์สมเด็จ พระบรมศาสดาจารย์ คือ พระม่งิ มงกุฏศรีศากยมุนีโคตมบรมครูเจ้าแห่งเราท่านทง้ั หลายในขณะนี้ กบั ทงั้ จกั พรรณนาถงึ ความพระองค์ทรงเป็นนาถะ คอื เปน็ ทีพ่ ง่ึ อยา่ งแท้จริงของพวกเราทงั้ หลาย โดยให้ชือ่ เร่อื งว่า มนุ นี าาถทีปนี หรอื ศาสตรว์ า่ ดว้ ยการเป็นพระพุทธเจ้า ซี่งึ หมายถงึ การช้แี จงแสดงเร่ืองพระองคผ์ ู้ทรงเป็น นาถะที่พึง่ คอื สมเด็จพระสมั มามาพทุ ธเจา้ ผเู้ ป็นจอมมนุ ี ทรงมพี ระปญั ญาลกึ ลำา้ สามารถนาำ สัตวอ์ อกจาก วัฏสงสารได้ ทง้ั น้ี กด็ ้วยมเี จตจาำ นงใคร่จะสดดุ ีพระคณุ แห่งพระองค์เป็นประการสาำ คัญ ฉะนั้น ขอมวลท่านพทุ ธศาสนกิ ชนผู้สนใจในความเปน็ ไปขององคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า ท่กี ลา่ วมานี้ จงมมี นัสม่ันอุตสาห์พยายามตดิ ตามศกึ ษาต่อไป ตามสมควรแหง่ อธั ยาศัยแหง่ ตนเถดิ .
18 บทที 1 พระพุทธาธกิ าร บดั น้ี จกั กลา่ วถึงพระพุทธาธิการ คอื การกระทาำ อนั ยง่ิ ใหญเ่ พ่อื ให้ไดพ้ ระปรมาภิเษกสมั มาสัมโพธญิ าณแห่ง สมเดจ็ พระบรมศาสดาจารยผ์ ู้ทรงเปน็ จอมมุนที ัง้ หลาย กอ็ งคพ์ ระจอมมนุ ชี นิ สีห์สัมมาสัมพุทธเจ้าน้ัน เรา ท่านท้งั หลายก็คงจะทราบกันไดด้ แี ลว้ ว่า มใิ ชจ่ ะมปี รากฏในโลกแต่เพียงพระองคเ์ ดยี วเทา่ นน้ั โดยท่แี ท้ ใน อดีตกาล ก็มสี มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาอบุ ัตติ รสั ในโลกหลายพระองคล์ ว่ งมาแล้ว และใน อนาคตกาล พอสนิ้ สญู ศาสนาองค์สมเด็จพระม่งิ มงกุาำ ฏศรีศากยมุนโี คดมบรมโลกนายก ทเ่ี ราเคารพบูชา อยู่ทุกวันนแี้ ล้ว ก็จกั มสี มเด็จพระสมั มาสั มั พุทธเจ้าพระองคใ์ หม่เสด็จมาอบุ ัติตรัสในโลกนอ้ี กี แต่วา่ มาตรสั เป็นคร้ังเปน็ คราว ไม่เปน็ ระยะเวลาตดิ ต่อรับช่วงกัน โดยที่บางทพี อส้นิ ศาสนาพระพทุ ธเจา้ พระองคห์ นึง่ แล้ว โลกกว็ า่ งจากพระพทุ ธศาสนาอยู่ไม่นานนกั เพยี งในกปั เดียวกันน่นั เอง กม็ ศี าสนาของสมเด็จพระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ หม่อุบตั ขิ ้ึน แตบ่ างทีนนั้ พอส้นิ ศาสนาสมเด็จพระพุทธเจา้ องคห์ นึ่งแลว้ โลกเรานีต้ อ้ งว่างจาก พระพุทธศาสนาอยูเ่ ป็นเวลานานแสนนานนบั เปน็ สบิ ๆ มหากัปทีเดียว จึงจะมีศาสนาของสมเด็จ พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ หมป่ รากฎขน้ึ มา และเมื่อสมเดจ็ พระพุทธเจา้ เสด็จมาอุบัติตรัสข้นึ ในโลกคราวใด คราวนน้ั พระองค์ทา่ นย่อมตรสั พระสทั ธรรมเทศนาแสดงปฏปิ ทาข้อปฏบิ ตั ใิ หถ้ ึงความ พน้ ทกุ ขใ์ นวัฏสงสารประทานอมตธรรม นำาสตั วโ์ ลก ใหไ้ ด้บรรลุถงึ พระนิพพานสมบตั ิ เหล่าสัตวผ์ ูม้ วี าสนาบารมี แตพ่ อไดส้ ดบั พระโอวาทานสุ สนีขององคพ์ ระ จอมมุนสี มั มาสมั พุทธเจา้ แลว้ ย่อมไดบ้ รรลมุ รรคผลนิพพานตามสมควรแกอ่ ปุ นสิ ยั วาสนาบารมี แห่งตนๆ เป็นอันพน้ จากทกุ ข์ภยั ในสงสารไดเ้ ป็นอนั มาก แล้วศาสนาของพระพทุ ธเจ้าพระองค์นั้น กจ็ ะพลันเสือ่ มถอย ลงๆ จนกระทง่ั หายสาปสญู ไปจากโลกน้ีในคราวหน่งึี ๆ ในระยะกาลเวลาที่โลกว่างจากพระพุทธศาสนาน้ี โลกกจ็ ะมสี ภาวะเป็นโลกมืดมนมดื บอดจากมรรคผลนิพพาน เพราะไม่มีแสงประทปี กล่าวคือ พระสัทธรรม อันแสดงหนทางให้ถึงธรรมวเิ ศษนี้ได้ สตั วท์ เ่ี กิดมาในระยะน้ี ก็ช่อื ว่าเกดิ มาเปล่าและก็ตายไปเปล่า
19 หาสาระแก่นสารอันใดมิได้ ต่อเมื่อใด ปรากฎมสี มเด็จพระพทุ ธเจ้าพระองค์ใหม่ เสด็จมาประกาศพระพทุ ธ ศาสนาข้นึ อีกนน่ั แหละ โลกจึงจะลุกโพลงข้นึ ดว้ ยแสงประทีปอนั ประเสรฐิ คอื พระสัทธรรมนาำ สัตวใ์ หบ้ รรลุถึง มรรคผลนิพพานเสียอีกคราวหนึีง่ จึงเป็นวา่ โลกเรานี้ บางทีก็ว่างจากพระบวรพุทธศาสนาอยู่ในนานเทา่ ใด แต่บางสมัยน้ันโลกต้องว่างจากพระพุทธศาสนาอยู่เป็นเวลานานนัก มปี ญั หาว่า เหตไุ ฉน สมเดจ็ พระพุทธเจ้าทง้ั หลายจึงไม่ผลัดกนั มาตรสั ในโลกเรานใี้ หเ้ สมอติดตอ่ กนั ไปโดย ไมข่ าดสาย จะปลอ่ ยใหโ้ ลกวา่ งจากพระพุทธศาสนาอยูเ่ ป็นเวลานานๆ ทำาไมกัน? จะมาตรัสให้ตดิ ตอ่ กันไป เช่น พอสิน้ ศาสนาของพระพทุ ธเจ้าองค์เกา่ แลว้ พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ หม่ ก็มาประกาศพระศาสนาแทนต่อ ไปอีก โดยมใิ หโ้ ลกตอ้ งว่างจากพระพุทธศาสนาเลยทเี ดยี วมไิ ดห้ รอื ? ในกรณีน้เี ห็นทจี ะขัดสน ทง้ั นี้ กเ็ พราะ ว่าการทโี่ ลกเรานี้ จักไดม้ โี อกาสตอ้ นรับการอบุ ตั ขิ ึ้นแห่งองคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ สัก พระองคห์ น่งึ น้นั เป็นการลาำ บากยากเยน็ เป็นอย่างย่ิง เพราะเหตุอะไร ก็เพราะวา่ จะหาผ้ทู ี่มาตรัสเป็นพระพุทธเจ้าแต่ละ่ ่ ทา่ นนนั้ หากนั มิคอ่ ยจะไดเ้ ลย กก็ ารท่จี ะได้ตรสั รพู้ ระปรมาภิเษกสมั โพธิญาณ ดาำ รงฐานะเป็นเอกองค์สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ นั้น ใช่วา่ จะเปน็ กันได้ง่ายๆ เมืไ่ หร่เลา่ โดยท่แี ท้ เป็นไดโ้ ดยยากนกั หนา ความยากอยา่ งยงิ่ จะขอยกไวใ้ น ตอนเบือ้ งตน้ น้ี จักกล่าวถึงนำ้าใจก่อนท่านท่ีจักตรัสเป็นพระพุทธเจ้าคอื ไดบ้ รรลุถงึ พระพทุ ธ ภมู ิน้นั ตอ้ งเปน็ ท่านทมี่ ีนำา้ ใจกล้าหาญเดด็ เดย่ี วขนาดเป็นมหาวีรบุรษุ ที เดียว ในขอ้ นพ้ี งึ ทราบอุปมากถาท่ที า่ นพรรณาไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
20 น้ำาใจพระโพธิสัตว์ กาลเมอ่ื โลกจกั รวาล อนั มเี นื้อที่กวา้ งใหญ่สุดประมาณนีม้ ีถา่ นเพลงิ ซงึ่ ร้อนรุ่มสุมคุ ระอุ จนเต็มไปหมด ผูใ้ ด มนี ำ้าใจองอาจเพอื่ จะเดินฝา่ บุกไปโดยเท้าเปลา่ ๆ ไปจนสุดหมนื่ โลกจกั วาลก็ดี ในเมอ่ื โลกจกั รวาล อันมเี นื้อท่ีกว้างใหญส่ ุดประมาณนมี้ ีเปลวไฟลกุ แดงเป็นพดื ยาวเตม็ ไปหมด ผ้ใู ดมนี ำา้ ใจ องอาจเพ่ือจะเดินฝ่าบุกไปโดยเทา้ เปล่าๆ ไปจนสดุ หม่ืนโลกจักรวาลก็ดี ทา่ นผ้มู นี ้ำาใจองอาจเดด็ เดย่ี วกล้าหาญเห็นปานฉะน้ั จงึ ควรทจี่ ะปรารถนาเปน็ พระโพธสิ ตั ว์ สร้างพระบารมี เพอ่ื จะได้ตรสั ร้พู ระปรมาภเิ ษกสมโพธิญาณได้ เห็นไหมเลา่ วา่ ทา่ นผ้มู ปี รารถนาซึ่งพระพทุ ธภมู ินั้น จะตอ้ ง เป็นผู้มีน้ำาใจกล้าหาญเด็ดเด่ียวเพยี งใด ถ้ามีนา้ำ ใจอ่อนแอมีความกลวั ตายมากกวา่ พระโพธิญาณแล้ว ก็ไมม่ ี ทางท่ีจะไดต้ รสั รู้เปน็ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เลย ก็ผู้ท่มี ีนา้ำ ใจเด็ดเดี่ยวกล้าหาญเชน่ วา่ มานั้น หากัน ไดง้ ่ายๆ ในโลกท่ีไหนเล่า อนึ่ง ผูป้ รารถนาซงึ่ พระพทุ ธภมู ินน้ั ย่อมบำาเพ็ญธรรมหนกั แนน่ ด้วยนาำ้ ใจเด็ดเดยี่ วมน่ั คง ไมว่ า่ จกั เสวย พระชาติคือถือกาำ เนดิ เป็นอะไรก็ตาม ย่อมจะมีน้ำาใจสมาทานม่ันคง จะได้ยอ่ หยอ่ นเบอื่ หน่ายสา่ ยพักตร์เป็น ไม่มีเลย สมณพราหมณ์ อนิ ทร์ พรหม ยม ยักษ์ ผใู้ ดผหู้ น่งึ ซง่ึ มจี ติ คิดจะทดลองดว้ ยอุบาย ม่งุ หมายจะให้ พระโพธิสตั ว์ละเสยี ซึ่งกุศลสมาทาน กม็ อิ าจจะทำาไดส้ าำ เรจ็ เลย กริ ิยาทพ่ี ระโพธิสตั ว์ประกอบด้วยกุศาล สมาทานมัน่ คงนี้ ในชาตทิ ีพ่ ระองค์ถอื กาำ เนดิ เกิดเปน็ มนษุ ย์จะขอยกไว้ ในท่นี ี้ ใคร่จะขอเลา่ แต่เพยี งชาติท่ี พระองค์ทรงเกิดเป็นสัตวเ์ ดยี รจั ฉาน กย็ ังมีพระบวรสันอานประกอบไปด้วยกุศลสมาทานมน่ั คง มนี ำ้าใจตรง แนว่ ไม่หวัน่ ไหว ตามเรือ่ งทีป่ รากฎมีในพระคมั ภีรท์ างพระพุทธศาสนา ดังต่อไปนี้
21 กระแตผู้โพธสิ ตั ว์ กาลเม่อื สมเดจ็ พระจอมมนุ ี ยงั สรา้ งสมบารมีเป็นพระโพธสิ ัตว์ ซง่ึ ต้องทรงท่องเที่ยวเวยี นวา่ ยตายเกิดใน วฏั สงสารน้นั ปรากฎวา่ ครั้งหนงึ่ พระองคอ์ ุบัติในดิรัจฉานภมู เิ สวยพระชาตเิ ปน็ กระแตสัตวเ์ ดียรฉานมี นวิ าสสถาน อยู่ ณ ทใี่ กลม้ หาสมทุ รทะเลใหญ่ อยู่มาวนั หน่ึง เกิดฝนตกหนัก นำา้ ท่วมมาเปน็ อนั มาก กระแสนาำ้ ซงึ่ มกี ำาลังเชี่ยวกรากดุดนั พดั ผันพาเอารงั พรอ้ มท้งั ลูกของพระโพธิสัตว์ลงไปสู่มหาสมุทรทะเลหลวงหายไป ฝ่ายพระโพธสิ ตั ว์ เมือ่ ไดั้รบั อปุ ัทวเหตุเชน่ นี้ กม็ ีใจเศรา้ เฝา้ คดิ สงสารลูกของตนเป็นหนักหนา เสวยทุกขเวทนาด่ังว่าจะขาดใจตายไปตามบตุ ร สุดที่จะ คิดถึงเหตุผลประการใด มใี จมงุ่ หมายครุ่นคดิ อยูแ่ ตว่ า่ \"เราจะกระทำาความเพียร วิดนำ้าในมหาสมุทรนีใ้ หแ้ ห้งแลว้ จะค้นหาลกู ของเราจนพบใหจ้ งได้\" ครั้นคดิ มุมานะฉะน้ันแล้ว กเ็ ร่มิ กระทาำ ความเพียรเอาหางของตนจมุ่ ลงไปปในนำ้าพอเปยี กชมุ่ แล้วก็วงิ่ ข้ึน ไป สลัดน้าำ ลงบนท่ดี อน แลว้ กย็ ่้อนกลบั มาเอาหางจมุ่ นาำ้ และวงิ่ ไปสลดั น้าำ ลงบนท่ีดอนอีก แต่พระโพธสิ ตั วเ์ จา้ เฝา้ วิดนา้ำ ในมหาสมุทรดว้ ยหางแหง่ ตนอยอู่ ยา่ งนี้ จนสรีระรา่ งกายได้รับความบอบชำา้ เหนด็ เหนื่อยนกั หนา เป็นเวลาถงึ ๕-๖ วัน น้าำ นั้นจะไดพ้ รอ่ มไปสกั นิดหนง่ึ ก็หามิได้ ก็มันจะพร่องไปไดอ้ ย่างไรเลา่ เพราะว่าไม่ใช้ นาำ้ ในตมุ่ ในไห แตเ่ ปน็ นำ้าในมหาสมุทรใหญ่ทะเลหลวง ซ่ึงมมี ากมายเหลอื คณนา แม้ว่าจะเป็นอย่างนี้ สตั วผ์ ู้ มีใจเด็ดคอื กระแตโพธสิ ตั ว์นัน้ ก็มีใจมัน่ คง จะได้ยอ่ ทอ้ หย่อนจากความเพียรเสียก็หามไิ ด้ กลบั ต้งั ใจมมี านะ พยายามวดิ น้ำาในมหาสมทุ รนน้ั ตอ่ ไปอีกอยา่ งไมล่ ดละ ดว้ ยเดชะวริ ิยบารมแี หง่ พระโพธสิ ัตว์ ซึ่งตง้ั ใจกระทำาอยา่ งผดิ ธรรมดาในครานน้ั ก็บนั ดาลให้บณั ฑุกัมพล ศิลาอาสน์ขององคส์ มเดจ็ พระอมรินทราธิราช ผทู้ รงเป็นจอมเทพยเจ้าเบื อ้ื งสวรรคช์ ้นั ไตรตรงึ ษถ์ ึงอาการ แข็งกระดา้ งเป็น อศั จรรย์! คร้ันองค์มัฆวานทรงส่องทิพยเนตรทราบประพฤติเหตนุ นั้ แล้ว จึงเสด็จลงมาจาก
22 เทวโลกในวนั ที่ ๗ แปลงเพศเข้าไปหากระแตโพธิสัตวเ์ จ้า ซึง่ กำาลังเอาหางวิดนำ้าในมหาสมุทรอย่อู ยา่ ง อุตลุดแลว้ ทรงมีเทววาทีเอย่ ถาม ขึ้นว่า \"ดูกร ท่านผู้เป็นกลนั ทกชาติ คอื กระแต! ทา่ นมาทำาอะไรพิกลอยู่ทน่ี ่ี?\" \"เรากำาลงั ทำาการวิดนำา้ ในมหาสมุทร\" พระโพธสิ ัตวต์ อบ \"ทา่ นมีความประสงค์ส่ิงใดๆ จึงถงึ กบั ตอ้ งวดิ นาำ้ ท้งั มหาสมุทรทีเดยี ว?\" \"เรากระทำาความเพียรในครงั้ นเี้ พ่อื หวังจะให้นาำ้ ในมหาสมุทรนีแ่ ห้ง แลว้ จะคน้ หาบุตรของเราท่ถี กู นำ้าพัดพา มาจมลงทม่ี หาสมทุ รนใ่ี หพ้ บ\" สมเดจ็ พระอมรนิ ทราธิราช จึงตรัสวา่ \"การที่ทา่ นจะวิดน้าำ ในมหาสมุทรนใ่ี หแ้ หง้ นั้น เห็นทจี ะขดั สนนกั คือ ข้าพเจ้าเห็นว่า ทา่ นจกั ตอ้ งตายเสีย เปล่าเป็นแนแ่ ท้! ท่านมแิ ลดูดอกหรอื ว่า นาำ้ ในมหาสมุทรนีม้ ากมายนัก สุดวสิ ยั ทผี่ ้ใู ดผ้หู น่งึ จกั วดิ ให้แห้งได้ ไฉนทา่ นจึงมากระทาำ การอันสำาแดงความโง่ออกมาให่ปรากฎเห็นปานฉะน้ี หยดุ เสยี เถดิ อย่าได้พยายาม ต่อไปเลย จะตายเสยี เปลา่ ๆ\" \"ทา่ นน่ันแหละ โง่! \" พระโพธิสัตว์ผเู้ ปน็ กลันทกชาติกล่าวตอบ แลว้ จึงพดู ตอ่ ไปตามประสาแหง่ ตนวา่ \"ตัว ท่านเป็นคนโง่ เพราะเปน็ ผ้มู ีใจเกียจครา้ นหาความเพียรมิได้ ขึน้ ชื่อว่าคนเกียจคร้านเหมอื นเชน่ ตวั ท่านนี้ หาควรท่ีเราจะเจรจาดว้ ยไม่ ตง้ั แตท่ า่ นมาชกั ชวนเจรจาอยนู่ ่ี กเ็ ปน็ การเสยี เวลาเราอยู่เป็นอนั มาก เรา เสียดายเวลานัก ท่านจงไปเสยี ใหพ้นเถดิ อย่ายนื อยู่ทน่ี ้ีเลย อ้าว...ว่าอยา่ งไรเลา่ บอกว่าไปให้พ้น...\"
23 พระโพธิสตั วต์ วาดไลพ่ ระอินทรด์ ังน้แี ลว้ กก็ ้มหน้าก้มตาวดิ นา้ำ ในมหาสมทุ รดว้ ยหางของตนตอ่ ไปอยา่ ง ขะมกั เขมน้ โดยไม่ยอมพกั ผ่อนหยุดยง้ั ข้างฝ่ายสมเดจ็ พระอมรินทราธริ าช เมอื่ ถูกตวาดเช่นนน้ั จึงทรงพระ ดาำ ริวา่ แทจ้ รงิ ธรรมดาวา่ สัตวผ์ ้เู ปน็ หนอ่ เน้ือพทุ ธางกูรน้ี ยอ่ มมีความเพียรใหญป่ ระจำาอยู่ในสันดานอย่าง เอกอุ ดูเอาเถดิ ในกาลบดั นี้ ถึงแม้จะกระทำาสิง่ ทีเ่ หลอื วิสัย เราลองนาำ้ ใจบอกใหเ้ ลิกละเสยี ด้วยเหตผุ ลอัน สมควรนกั หนาก็หาได้ละทงิ้ ความ ตั้งใจเดมิ เสยี ไม่ ช่างมีนำา้ ใจเดด็ เดยี่ วอาจหาญน่าสรรเสริญนกั เม่อื มีเทว ดาำ รเิ ช่นน้ีแลว้ จึงทรงไปนำาเอาลกู กระแตซ่ึงยังไม่ตายมากมอบให้แกพ่ ระโพธิสัตวด์ ว้ ยเทวานภุ าพ แล้วก็ สำาแดงองค์ใหท้ ราบว่า พระองคเ์ ปน็ จอมเทพเบ้อื งสรวงสวรรค์ เปลง่ รัศมีมีพรรณรุ่งเรอื งโอภาส เสดจ็ กลบั ไปส่ไู พชยนตปราสาท อนั เป็นเทวสถานพมิ านท่ีประทบั อยู่แห่งพระองค์ เรือ่ งที่เล่ามานี้ ย่อมจะชใ้ี หเ้ หน็ ว่าพระโพธิสัตว์คือท่านผปู้ รารถนาเพอื่ จะได้ตรัสรเู้ ป็นสม เดจ้ พระจอมมุนี สมั มาสมั พุทธเจา้ ในอนาคตกาลน้ัน ย่อมจะมมี นัสมนั่ คงนักหนา ถงึ แมว้ า่ จะพลาดพลง้ั ไปถือกำาเนดิ เปน็ สัตว์ เดยี รฉานก็ดี กย็ ่อมมนี ำ้าใจม่ันคงเดด็ เดีย่ วเตม็ ไปดว้ ยวริ ิยะอุตสาหะเป็นยอดเยีย่ ม ถ้าลงได้ตง้ั ใจกระทาำ สง่ิ ใดแลว้ แม้จักยากแสนยากเพียงใดก็ตาม การทีจ่ ะมคี วามเพียรอันยอ่ หยอ่ นหรอื เลิกลม้ ความตงั้ ใจเสยี กลางคนั นัน้ เป็น อนั ไมม่ อี ยา่ งเดด็ ขาด นีแ่ หละทา่ นท้ังหลาย คือความมั่นคงเด็ดเด่ยี วแห่งน้าำ ใจ ของพระ มหาบรมโพธิสตั ว์เจา้ ผู้เฝา้ ปรารถนาเพอ่ื จักได้ตรัสพระปรมาภเิ ษกสัมโพธิญาณ พระพุทธเจ้า ๓ ประเภท เมอ่ื ไดช้ แ้ี จงให้ทราบถงึ นำา้ ใจพระโพธสิ ัตว์ ผปู้ รารถนาพระพทุ ธภูมิเปน็ เบื้องแรกดงั กลา่ วมาแลว้ บดั น้ี เพอ่ื ความเข้าใจในเรื่องราวตามลำาดับ จกั ขอกลับมากล่าวถงึ ประเภทแหง่ สมเด็จพระจอมมนุ ีชนิ สหี ส์ มั มาสมั พุทธเจ้าเสีย กอ่ น ก็สมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจ้านัน้ เมอื่ จะแบ่งเปน็ ประเภท กไ็ ด้ ๓ ประเภท ตามพระบารมี ที่ได้ทรงสรา้ งสมอบรมมา คือ พระปญั ญาธิกะพุทธเจา้ ประเภทหนึง่ พระสัทธาธกิ ะพุทธเจา้ ประเภทหนึ่ง พระ วิริยาธิกะพุทธเจ้าประเภทหนึง่ ซ่งึ มอี รรถาธิบายตามท่ีทา่ นพรรณนาไว้ ดงั ต่อไปนี้
24 พระปญั ญาธิกะพุทธเจา้ สมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้าประเภทปัญญาธิกะน้ี พระองค์ทรงสรา้ งพระบารมีชนิดปญั ญาแก่กล้า คือทรงมี พระปญั ญามาก แตม่ ีพระศรัทธานอ้ ย จึงทรงสรา้ งพระบารมีนอ้ ยกว่าพระพุทธเจา้ ในประเภทอน่ื เมือ่ จะนับ เวลาท่ีทรงสรา้ งพระบารมีต้ังแต่ต้น จนกระทั่งได้ตรสพระปรมาภิเษกสมโพธญิ าณ เป็นเวลายาวนาน ดังน้ี ก. เร่มิ แรกต้งั แต่ทรงดำารใิ นพระทัยท่ีวา่ \"เราจกั เปน็ พระพุทธเจ้าสักองคห์ นง่ึ \" ไดท้ รงนึกอยา่ งนี้อยา่ งเดียว มิไดอ้ อกโอษฐออกพระวาจาแต่ประการใด ก็นับเป็นเวลานานถงึ ๗ อสงไขย ข. ตอ่ จากนนั้ จึงออกโอษฐปรารถนาว่า \"เราจักตรัสเปน็ พระพทุ ธเจ้าในอนาคตกาลเบือ้ งหนา้ ใหจ้ งได้\" แล้ว ก็ทรงสรา้ งพระบารมเี พอื่ พระโพธญิ าณเรือ่ ยไป พรอ้ มกับออกโอษฐปรารถนาอยู่อย่างนั้น นบั เป็นเวลานาน ได้ ๙ อสงไขย ค. ต่อจากนน้ั จงึ จะได้รับลทั ธาเทศ คือ คำาพยากรณจ์ ากสมเดจ็ พระพุทธเจา้ พระองค์ใดพระองคห์ นึ่งวา่ \"จัก ได้ตรัสรู้เปน็ องค์พระพทุ ธเจ้าอยา่ งแนน่ อน\" ครั้นได้รบั ลทั ธาเทศบาลดังนี้แลว้ ก็ตอ้ งสรา้ งพระบารมอี ยอู่ ีก นานหนักหนา นบั เป็นเวลาได้ ๔ อสงไขย กับอกี หนึ่งแสนมหากัป จึงเป็นอนั วา่ สมเด็จพระพทุ ธเจ้าประเภทปัญญาธิกะนี้ ต้องทรงสร้างพระบารมีมาตง้ั แตเ่ รม่ิ แรก จนกวา่ จะ ไดต้ รสั รนู้ ั้นนบั เป็นเวลานานถงึ ๒๐ อสงไขย กบั อีกหนึ่งแสนมหากปั พอดีและมีขอ้ ควรทราบไวใ้ นท่นี ีอ้ กี อย่างหน่ึง ก็คือ สมเด็จพระพทุ ธเจา้ ปัญญาธกิ ะนี้ หลังจากพระองคไ์ ด้ทรงสร้างพระบารมมี านานแลว้ และเมอื่ จะได้รับลทั ธ ยาเทศคาำ พยากรณจ์ ากสมเด็จพระพุทธเจ้าวา่ \"จักได้ตรัสรเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ อยา่ งแน่นอน\" เปน็ ครั้งแรกนน้ั ในขณะน้ี หากพระองค์ท่านจะละความปรารถนาดั้งเดมิ ทจี่ ะเปน็ พระพทุ ธเจ้าเสยี แลว้ กลบั มามีพระทัยนอ้ ม ไปในทางสาวกโพธญิ าณ คอื ปรารถนาที่จะได้สำาเร็จเปน็ พระอรหนั ต์และปรินิพพานในชาตนิ นั้ พูดอีกทีกว็ ่า พระองคท์ รงกลบั ใจไมอ่ ยากเป็นพระพุทธเจา้ เพราะทรงคิดเห็นวา่
25 \"การทีจ่ ะเปน็ พระพทุ ธเจ้าได้ ตอ้ งสรา้ งพระบารมี อีกนานนัก เราสมัครเป็นสาวกของพระพุทธเจา้ ทจ่ี ะทรง พยากรณ์ในขณะนี้ดกี ว่า\" เม่อื เปน็ แตเ่ พียงกลบั ใจดังนี้ แลว้ ตง้ั ใจสดบั พระธรรมเทศนาเฉพาะพระพักตร์มณฑลแหง่ สมเด็จพระทศพล พระองคน์ ้นั พอสดบั พระธรรมเทศนาบาทพระคาถาที่ ๓ ยงั มิทันจะจบลง พระองคท์ า่ นก็จักได้สาำ เรจ็ เป็นพระ อรหนั ตสาวก พรอ้ มกับปฏิสมั ภิทาญาณทั้งหลายทันที ท้งั นก้ี ็เพราะมพี ระบารมญี าณแกก่ ลา้ อยูใ่ นขันธ สันดานแล้ว แตก่ ารทีไ่ มท่ รงรีบคว้าเอามรรค ผลนิพพาน อนั อยูใ่ กล้แค่พระหัตถ์เออื้ มในครงั้ กระนั้น กเ็ พราะทรงมพี ระ มนัสม่นั มงุ่ หมายเอาพระพุทธโพธญาณ ท้ังน้นี ้าำ พระทัยอาจหาญเด็ดเดีย่ วปรารถนาเพื่อจกั ได้บรรลถุ ึงพระ สมั มาสมั พุทธเจา้ อยา่ งเดียว จงึ สทู้ นทรมาณสร้างพระพุทธบารมีดว้ ยพระวริ ิยะอตุ สาหะไปอีกนานนกั หนา นับเปน็ เวลาถงึ ๔ อสงไขย กับเศษอีกหนงึ่ แสนมหากปั พระสทั ธาธกิ ะพทุ ธเจ้า สมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าประเภทสทั ธาธิกะพทุ ธเจา้ นี้ พระองคท์ รงสรา้ งพระบารมีประเภทศรทั ธาแก่ กล้า คือทรงมีพระศรทั ธามากยง่ิ จงึ ทรงสร้างพระบารมปี ระเภทปานกลาง เมือ่ จะนับเวลาทที่ รงสรา้ งพระ บารมมี าตัง้ แต่ตน้ จนกระทงั่ ได้ตรัสพระ ปรมาภเิ ษกสัมโพธิญาณ ก็เป็นเวลายาวนาน ดงั นี้ ก. เร่ิมแรกแต่ทรงดำาริในพระทัยไปจนกวา่ จะถงึ เวลาออกพระโอษฐปรารถนาเป็นองคส์ มเดจ็ พระพุทธเจา้ น้ัน นบั เป็นเวลานานถงึ ๑๔ อสงไขย ข. นบั จาำ เดิมแตอ่ อกพระโอษฐ ปรารถนาเป็นสมเด็จพระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้ ไป กวา่ จะได้ลัทธยาเทศคำา พยากรณ์จากสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์ใดพระองค์ หนงึ่ น้ัน นับเปน็ เวลาถงึ ๑๘ อสงไขย
26 ค. นบั จาำ เดิมแต่ได้รับลัทธาเทศคำาพยากรณ์คร้งั แรกเปน็ ตน้ ไป กว่าจะไดต้ รัสแกพ่ ระปรมาภเิ ษกเปน็ เอก องคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าในชาติ สุดท้ายน้นั นบั เปน็ เวลานานถึง ๘ อสงไขย กับเศษอีกหนึง่ แสนมหา กัป จงึ เป็นอันว่า สมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ประเภทสทั ธาธิกะน้ี ต้องทรงสรา้ งพระบารมมี าตง้ั แต่แรกเร่มิ จนกว่าจะได้ตรสั รนู้ ัน้ นับเป็นเวลารวมทง้ั สน้ิ ไดน้ านถึง ๔๐ อสงไขย กับเศษอกี หนง่ึ แสนมหากปั และมีข้อท่ี ควรทราบไวใ้ นท่นี ี้อีกอยา่ งหนง่ึ ก็คอื วา่ สมเดจ็ พระพุทธเจ้าสัทธาธิกะน้ี ในขณะทีท่ รงไดร้ บั ลัทธยาเทศคาำ พยากรณจ์ ากสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ ว่า \"จัก ได้ตรัสเปน็ องคพ์ ระพทุ ธเจา้ อยา่ งแนน่ อน\" เป็นคร้งั แรกน้นั หากพระองค์ทา่ นจะกลบั ใจไม่ปรารถนาเปน็ พระพุทธเจ้า ไมเ่ อาพระสมั มาสมั โพธิญาณอนั ประเสริฐสุด รีบรุดประสงค์สาวกโพธญิ าณ กลา่ วคอื ปรารถนา เปน็ พระสาวกของพระพทุ ธเจา้ พระองคท์ ่พี ยากรณต์ นแลว้ ตงั้ ใจ สดับพระสัทธรรมเทศนาในขณะนนั้ แตพ่ อ สมเดจ็ พระพทุ ธองคเ์ จ้าทรงเทศนาบาทพระคาถาที่ ๔ ยังมทิ ันท่จี ะจบลง กจ็ ะได้สำาเร็จเป็นพระอรหันตสาวก พรอ้ มกับปฏิสัมภิทาญาณท้งั หลายทนั ที ท้ังนี้ ก็เพราะมพี ระบารมญี าณเต็มเปย่ี มอยู่ในขนั ธสันดานแลว้ พระวริ ิยาธกิ ะพุทธเจ้า สมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าประเภทวริ ิยาธิกะพุทธเจา้ น้ี พระองคท์ รงสรา้ งพระบารมปี ระเภทมีความเพียร แกก่ ล้า คอื ทรงมพี ระวิรยิ ะมากยิ่ง จึงตอ้ งการสร้างพระบารมีมากมาย นบั เปน็ เวลาช้านานกว่าสมเด็จ พระพทุ ธเจ้าประเภทอน่ื ท้ังหมด เม่อื จะนับเวลาทีจ่ ะสร้างพระบารมีมาตัง้ แต่ต้นจนกระทั่งไดต้ รสั พระ ปรมาภเิ ษก สมั โพธิญาณกน้ ับเปน็ เวลายาวนาน ดงั น้ี ก. เร่ิมแรกแต่ทรงดาำ รใิ นพระทยั ไปจนกวา่ จะถึงเวลาออกโอษฐปรารถนาเปน็ องคส์ มเด็จพระพุทธเจา้ นัน้ ก็ นับเปน็ เวลานานถงึ ๒๘ อสงไขย ข. นบั จาำ เดิมแต่ออกโอษฐ ปรารถนาเปน็ สมเดจ็ พระพุทธเจา้ เป็นต้นไป กว่าจะได้ลทั ธยาเทศคำาพยากรณ์ จากสมเด็จพระพุทธเจา้ พระองค์ใดพระองคห์ น่ึง ก็นับว่าเป็นเวลานานถงึ ๓๖ อสงไขย
27 ค. นบั จาำ เดิมแตไ่ ดร้ ับลทั ธยาเทศ คาำ พยากรณค์ รัง้ แรกเป็นต้นไปกว่าจะได้ตรัสแกพ่ ระปรมาภเิ ษกเป็นเอก องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าในชาตสิ ุดทา้ ยนัน้ ก็นบั เป็นเวลานานถงึ ๑๖ อสงไขยกับเศษอีกหนึงี่ แสน มหากัป จึงเป็นอันวา่ สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าประเภทวริ ิยาธิกะน้ี ตอ้ งทรงสร้างพระบารมตี ้ังแต่เรมิ่ แรกทสี่ ุดจน กระทั่งได้ตรัสรู้น้ัน นับเป็นเวลายาวนานรวมทง้ั สิ้น ๘๐ อสงไขยกับเศษหน่งึ แสนมหากัปพอดี และมขี อ้ ที่ควร ทราบไวใ้ นทนี่ ี้อีกอย่างหน่ีงกค็ อื ว่า สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ วริ ยิ าธิกะน้ี ในขณะท่ีจะทรงได้รบั ลัทธยาเทศคือ คาำ พยากรณจ์ ากสมเด็จพระพุทธเจ้า เป็นครั้งแรกนั้น หากพระองค์ท่านจะทรงกลับใจไม่ปรารถนาเปน็ พระพทุ ธเจ้า คือ ไมเ่ อาพระสัมมาสัมโพธิ ญาณอันประเสรฐิ สดุ รีบรุดเรง่ ประสงคเ์ พียงแคส่ าวกโพธญิ าณแล้วไซร้ ต้งั ใจสดบั พระสทั ธรรมเทศนาใน ขณะน้นั คร้ันสดบั อรรถาธิบายพระคาถา ๔ บาท ทอี่ งคส์ มเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ทรงจำาแนกแจกแจง อรรถออกโดยพศิ ดาร แต่เพยี งจบลงเท่านั้น ก็จะพลันไดส้ าำ เรจ็ เป็นพระอรหนั ตสาวก พร้อมกับปฏิสัมภิทา ญาณทงั้ หลายทันที ท้ังนี้ก็เพราะมพี ระบารมีญาณเตม็ เปี่ยมอยูใ่ นขันธสันดานแลว้ จึงอาจสาำ เรจ็ เปน็ พระ อรหนั ตแ์ ละบรรลุถงึ พระนิพพานในชาติน้นั ได้ เรื่องอสงไขย กาลเวลาทน่ี ับเปน็ จาำ นวนอสงไขยและเป็นจำานวนมหากัปท่ีวา่ เรือ่ ยมานั้น ถา้ ทาำ ไมร่ ไู้ ม่ช้ี ฟังเรือ่ ยๆ ไปแต่ เพียงผิวเผนิ ก็ยอ่ มเป็นสกั แต่ว่าอย่างน้นั เอง... คอื คล้ายๆ กะว่าพดู เพอื่ ใหเ้ กดิ ความระร่นื หู ผู้ทไ่ี ม่รอู้ าจจะ คิดด่วนสรปุ ความเอาเองง่ายๆ ตามประสาของผูม้ ีปญั ญามักจะแล่นไปขา้ งหน้าว่า คงเปน็ เวลาทไี่ ม่นานเทา่ ไหร่กระมัง? อยา่ ดว่ นคดิ เอาเองดังนนั้ เพราะความจริงไม่ใช่ ดว้ ยวา่ กาลเวลาท่ีนับเปน็ อสงไขยและเปน็ มหากปั นน้ั มันเปน็ เวลาที่ยาวนานนักหนา พงึ ทรงทราบอรรถาธบิ ายท่ที ่านพรรณนาไว้ ดังตอ่ ไปนี้
28 กาลเวลาที่เรียกว่า อสงไขย นน้ั ท่านกาำ หนดเอากาลเวลาท่ีมากมายยาวนานเหลอื ทจี่ ะนบั จะประมาณได้ เพราะคาำ ว่า อสงไขย แปลว่านบั ไมไ่ ด้ คืออยา่ นับดกี วา่ โดยมคี ำาอปุ มาเปรยี บเทียบไว้วา่ ฝนตกใหญม่ โหฬารท้ังกลางวนั กลางคืนเปน็ เวลานานถงึ ๓ ปีตดิ ตอ่ กนั มไิ ดห้ ยดุ มิไดข้ าดสายเม็ดฝน จนนาำ้ ฝนเจ่ิงนองทว่ มท้นเต็มขอบเขาจักรวาล อนั มรี ะดับความสูงได้ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ ทนี ี้ ถ้าสามารถนับเม็ดฝน และหยาดแหง่ เม็ดฝนท่กี ระจายเปน็ ฟองฝอยใหญน่ อ้ ย ในขณะทีฝ่ นตกใหญ่ ๓ ปีตดิ ต่อกนั นนั้ นับไดจ้ าำ นวน เทา่ ใด อสงไขยหนงึ่ เปน็ จำานวนปเี ท่ากับเมด็ ฝนและหยาดแห่งเม็ดฝนทนี่ บั ไดน้ ั้น อุปมานเ้ี ป็นอุปมากาลเวลาท่เี รียกว่า อสงไขย ทา่ นทง้ั หลายท่ีรสู้ ึกว่าเข้าใจยากในขอ้ ความท่ีวา่ มานี้ ต้อง อา่ นทบทวนดูอกี ทีแล้ว คงจะเขา้ ใจดีขึ้น และแล้วก็คงจะเห็นเองวา่ เวลาทอี่ สงไขยๆ น้ัน เปน็ เวลานานหนกั หนาเพียงไร สมเด็จพระจอมมุนี สมั มาสัมพทุ ธเจ้าทัง้ หลาย แตล่ ะพระองคแ์ ตล่ ะประเภทต้องทรงสร้างพระบารมีมาจาำ นวนหลายๆ อสงไขย จึงนับไดว้ า่ พระองคต์ ้องการมนี ้าำ พระทัยประกอบไปด้วยวิริยะอตุ สาหะน่าสรรเสรญิ เป็นนักหนา ย่ิงกว่าน้นั ยังยืดเวลาที่เป็นเศษนบั เป็นแสนมหากปั อกี ดว้ ย กเ็ วลาทนี่ ับเปน็ กปั หรือมหากัปน่ี ก็ หาใชเ่ วลาเลก็ น้อยไม่ พึงทราบอรรถาธิบายในเร่อื งมหากปั ดังตอ่ ไปนี้ เรื่องกปั ป์ ยังมีจอมบรรพตภูเขาใหญห่ นึง่ ซึง่ ตงั้ ตระหง่านเง้ือมทะมนึ อยู่ เมือ่ ทาำ การวัดภเู ขานั้นโดยรอบ ย่อมได้ ปริมาณความกว้างใหญแ่ ละสว่ นสูงได้ ๑ โยชน์พอดี ทีนี้ พอถงึ กำาหนด ๑๐๐ ปี มเี ทพยดาผู้วเิ ศษองคห์ น่ึงมี หตั ถ์ถอื เอาผ้าทิพย์ซึ่งมเี นอื้ ละเอยี ดออ่ น ประดจุ ควันไฟลงาจากเบอ้ื งสวรรคเ์ ทวโลก ครั้นพอมาถงึ กล็ งมือ เช็ดถูบนยอดภเู ขาใหญ่ดว้ ยผา้ ทพิ ย์น้ันหนหน่งึ แลว้ กลับไปเสวยทิพย สมบตั ิอยู่ ณ วิมานอนั แสนสุขแหง่ ตน บนเทวโลกตามเดมิ พอครบกาำ หนด ๑๐๐ ปอี ีกแล้วจงึ ถอื เอาผ้าทิพยม์ าเชด็ ถยู อดภูเขาน้นั อีกหนหน่งึ
29 เทพยดาผ้วู เิ ศษน้นั เฝ้าเช็ดถยู อดภผู าตามวาระอยู่อย่างนเี้ รอ่ื ยไป รอ้ ยปเี ชด็ ถูทีหน่งึ ๆ จนกระท่งั ภเู ขาใหญท่ ี่ สงู ได้ ๑ โยชนน์ ้น สกึ เกรยี นเหย้ี นลงมาราบเป็นหนา้ กลองเสมอพ้นื ดนิ แล้วเม่ือใด ตลอดเวลาเทา่ น้ันแหละ จึงกาำ หนดไดว้ า่ เป็นหนง่ึ มหากัป อีกอปุ มาหน่ึงวา่ ยงั มีกำาแพงแห่งหนึ่ง ซึ่งใหญม่ หึมาเป็นสเ่ี หลีย่ มจตรุ สั มคี วามกว้างและความลึกวดั ได้ ๑ โยชน์พอดี ทนี ้ี พอถึงกาำ หนด ๑๐๐ ปี ปรากฎมีเทพยดาองค์หนึง่ มหี ตั ถ์ถือเอาเมล็ดพันธุผ์ กั กาดมาหยอดใส่ กาำ แพง สี่เหลย่ี มท่วี า่ นเี้ มลด็ หนึ่งี แลว้ กลบั ไปเสวยทพิ ยสมบตั อิ ยู่ ณ วมิ านอันแสนสขุ แห่งตนบนเทวโลก ครัน้ ครบกำาหนด ๑๐๐ ปีอกี แล้ว จึงนำาเอาเมลด็ พนั ธผ์ุ ผักกาดมาใส่เพิม่ เติม ลงมาในกำาแพงส่ีเหล่ียมน้ันอีก เมลด็ หนึ่ง แตเ่ ทพยดาผวู้ เิ ศษนั้น เฝา้ เวยี นมาหยอดใส่เมล็ดพันธุ์ผักกาดด้วยอาการอยา่ งน้ี รอ้ ยปหี ยอดใส่ ลงไปเมลด็ หนึง่ ๆ จนกระทั่งเมลด็ พันธ์ผุ ักกาดนนั้ เต็มเสมอขอบปากกำาแพงอนั กวา้ งใหญไ่ ด้โยชน์หน่งึ น้ัน แลว้ เมอ่ื ใด ตลอดเวลาเท่าท่อี ปุ มาเปรยี บเทยี บมาน้ี จึงจะกาำ หนดนับไดว้ ่าเปน็ หนงึ่ มหากัป ตามท่กี ลา่ วมาน้ี เป็นการชี้ให้เห็นความยาวนานแหง่ เวลาทีเ่ รียกว่า มหากปั ด้วยการกล่าวอุปมา หากจะนบั เป็นเวลาให้ทราบกันเป็นระยะๆ ก็พอจะมที างนบั ได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ อนั ตรกัป สมยั เรมิ่ แรกแตด่ กึ ดาำ บรรพ์นัน้ บรรดามนุษยค์ อื ว่าคนเรานี้ ไม่ใช่ว่าจะมอี ายุน้อยนดิ เดยี ว เกิดมาในโลกแต่ เพยี ง ๗๐-๘๐ ปีมาแล้ว ก็ให้มีอนั เป็นถึงแก่กาลกิรยิ าไดแ้ ก่ต้องตายไปตามๆ กันเป็นสว่ นมาก ตามทรี่ เู้ ห็น กันในปจั จุบนั ทกุ วันนก้ี ห็ ามิไดเ้ ลย โดยทแี่ ท้มนุษย์ในสมัยเร่ิมแรกน้ัน มีอายยุ นื นานมากคือ มีอายุถงึ อสงไขยปี กจ็ าำ นวนทีเ่ รยี กอสงไขยนั้น กค็ อื จาำ นวนปีทมี่ ีเลขหนึ่งข้นึ หนา้ แลว้ มเี ลขศูนยต์ ามหลังอกี ๑๔๐ เลขศูนย์ หรือ จะว่าเป็นจาำ นวนที่นับดว้ ยตัวเลข ๑๔๐ หลกั ก็ได้ ถา้ อยากจะทราบว่ามนั เปน็ จาำ นวนเทา่ ใด? ได้ตัวเลขรูปร่าง เป็นอย่างไร? จะลองทำาดูก็ได้ คือ ตั้งเลข ๑ เขา้ แลว้ ต่อเตมิ เลขศนู ยเ์ ขา้ ข้างทา้ ยต่อเตมิ ไปใหไ้ ด้ ๑๔๐ เลข ศนู ย์ จำานวนเทา่ ทไ่ี ด้น้ันนบั เป็นอสงไขยปี
30 อสงไขยปีนี้เอง เปน็ อายุของมนษุ ย์เราโดยอนุมานในสมยั เร่ิมแรก แลว้ อายอุ ันมจี ำานวนมากมายมหาศาล นัน้ กค็ ่อยๆ ลดลงมา โดยรอ้ ยปลี ดลงปหี นึี่งๆ ลดลงมาๆ (อาการทอี่ ายลุ ดลงมาน้ี พึงเหน็ ตัวอยา่ งเชน่ ใน สมัยทีส่ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าของเราทัง้ หลาย ยังทรงพระชนมช์ พี อยู่นั้น อายุของมนุษยม์ ี ๑๐๐ ปเี ปน็ ประมาณ ตงั้ แต่สมัยพุทธกาลนั้น ตราบเทา่ มาถงึ ปัจจุบันนี้ล่วงแล้วได้ ๒๕๐๐ กวา่ พรรษา เอาเปน็ ว่า ๒๕๐๐ พรรษากแ็ ล้วกนั ในจำานวน ๒๕๐๐ น้ี หนึ่งร้อยปีหกั ออกเสียหนง่ึี ปี กค็ งเปน็ หกั ออก ๒๕ ปี เมื่อ ๑๐๐ ปี หกั ออก เสีย ๒๕ ปี กค็ งเหลือ ๗๕ ปี จงึ เปน็ อนั ยุตไิ ด้วา่ อายขุ องมนษุ ย์เรา ในสมยั ปจั จบุ ันนปี้ ระมาณ ๗๕ ปี เปน็ เกณฑ์โดยมาก) อายุของมนษุ ย์กค็ อ่ ยๆ ลดลงดว้ ยอาการอยา่ งนจ้ี นกระท่ังเหลอื เพยี ง ๑๐ ปี เม่ือเหลือเพียง ๑๐ ปีแลว้ ทนี ้ไี มล่ ดต่อไปอกี ละ แตจ่ ะเพม่ิ ขน้ึ คือคอ่ ยเพิ่มขน้ึ เรอื่ ยๆ ร้อยปเี พม่ิ ขึ้นปหี นง่ึ ๆ เชน่ เดยี วกับตอน ทลี่ ดลงมานั่นเอง เพ่มิ ขึน้ ๆ เร่ือยไมห่ ยุดยง้ั จนกระท่งั มนุษย์มอี ายุยนื นานถงึ อสงไขยปอี ีกตามเดิม เวลา หน่งึ รอบอสงไขยน้ี เรยี กว่าเป็นหน่งึ อนั ตรกัป อสงไขยกัป เมื่อนบั จำานวนอันตรกัปที่กล่าวมาแล้วนั้น จนครบ ๖๔ อันตรกัปแลว้ จึงเรยี กว่าเป็นหนงึ่ อสงไขยกปั กอ็ สงไขยกปั น้ี มีอยู่ ๔ อสงไขยกปั ดว้ ยกนั โดยแบ่งเป็นตอนๆ ดังน้ี ๑. สังวฏั ฏอสงไขยกปั ... เป็นอสงไขยกัปปรากฎในตอนทโี่ ลกถกู ทำาลาย ซงึ่ ไดแ้ ก่คำาว่า สงวฏฏตีติ สงวฏโฏ = กัปที่กำาลงั พนิ าศอยู่ เรยี กว่าสังวัฏฏอสงไขยกปั ๒. สงั วัฏฏฐายอี สงไขยกัป...เป็นอสงไขยกปั ปรากฎในตอนทโี่ ลกถกู ทำาลายเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ซ่ึงได้แก่ คำาว่า สงวฏโฏ หตุ วา ตฏิ ฐตีติ สงวฏฏฐยี = กปั ทมี่ ีแต่ความพนิ าศต้ังอยู่เรยี กชือ่ ว่า สงั วัฏฏฐายอิ สงไขยกปั ๓. วิวัฏกอสงไขยกปั ... เป็นอสงไขยกัป ปรากฎในตอนทโ่ี ลกกาำ ลงั จะเร่ิมพฒั นาเขา้ สู่สภาวะปกติ ซึง่ ไดแ้ ก่ คำาวา่ วิวฏฏตตี ิ ววิ ฏโฏ = กัปท่ีกาำ ลงั เริม่ เจรญิ ขึ้น เรยี กชอ่ื วา่ ววิ ฏั ฏอสงไขยกปั ๔. วิวฏั ฏฐายอี สงไขยกัป... เปน็ อสงไขยกัปปรากฎในตอนท่โี ลกเจริญขึ้น พฒั นาเรียบรอ้ ยเป็นปกติตาม เดมิ แล้ว ซ่ีึงไดแ้ กค่ าำ วา่ วิวฏโฏ หตุ วฺ า ติฏฐตีติ ววิ ฏฏฐายี = กัปทเี่ จรญิ ขึ้นพร้อมแลว้ ทุกอยา่ งตงั้ อยู่ตามปกติ
31 เรยี กชื่อวา่ ววิ ฏั ฏฐายอี สงไขยกัป มีข้อท่ีควรทราบไวใ้ นทีน่ ้ี ก็คอื ว่า สัตว์โลกท้งั หลายเชน่ มนษุ ย์แลเดียรฉานเป็นตน้ จะมีชีวิตอยใู่ นโลกนีไ้ ด้ก็ เฉพาะตอนอสงไขยกปั สุดทา้ ย คือ วิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปเทา่ นนั้ ส่วนในตอน ๓ อสงไขยกัปข้างตน้ ไมม่ สี ่ิงมี ชีวติ อาศยั อยู่ในโลกนีเ้ ลย เป็นตอนทโ่ี ลกกาำ ลงั ถกู ทำาลายพงั พนิ าศและผลแห่งการทาำ ลายกย็ งั คกุ รุ่นอยู่ มา เป็นปกตเิ อากเ็ มือ่ ตอนอสงไขยกปั สดุ ท้ายนีเ่ อง อสงไขยกปั หน่ีึงๆ น้นั นบั เป็นเวลานานมาก ดังกลา่ วแลว้ คอื ๑. สงั วฏั ฏอสงไขยกปั นานถงึ ๖๔ อนั ตรกปั ๒. สงั วัฏฏฐายีอสงไขยกปั นานถึง ๖๔ อันตรกปั ๓. วิวฏั ฏอสงไขยกปั นานถงึ ๖๔ อนั ตรกปั ๔. วิวัฏฐายอี สงไขยกปั นานถงึ ๖๔ อันตรกปั รวม ๕ อสงไขยกัป กเ็ ปน็ ๒๕๖ อนั ตรกัป มหากปั เมอ่ื นบั จาำ นวนทงั้ ๔ อสงไขยกปั หรือ ๒๕๖ อนั ตรกปั ตามทก่ี ลา่ วมาแล้วจนครบ จงึ เป็นหนง่ึ มหากัป ฉะน้ัน กาลเวลาทีเ่ รียกชอ่ื ว่า มหากัป นจี้ ึงเป็นระยะเวลาทีย่ าวนานนักหนา ตามทกี่ ลา่ วมาน้ี รสู้ ึกว่าจะฟงั ยากอยู่สักหนอ่ ย จงึ ขอสรุปความซา้ำ เพอ่ื ให้จาำ ไดง้ ่ายอีกทหี น่ึง ดงั น้ี ๑ รอบอสงไขยปี เป็น ๑ อนั ตรกปั ๖๔ อันตรกัป เป็น ๑ อสงไขยกปั ๔ อสงไขยกปั เปน็ ๑ มหากปั กาลเวลาทนี่ บั เปน็ มหากัป เปน็ อสงไขย หวงั ว่าคงจะเปน็ ทีเ่ ข้าใจกันบา้ งแลว้ ทีน้ี เราจะหวนกลบั พูดกันเรื่อง เดมิ คอื การสรา้ งพระบารมีเพื่อพระปรมาภเิ ษกแหง่ เอกองค์พระจอมมุนชี นิ สหี เ์ จ้าท้งั ปวงกนั ต่อไป ได้กลา่ ว ไว้แล้ววา่ สมยั พระจอมมุนสี ัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทั้งปวงนัน้ ตอ้ งทรงสร้างพระบารมตี ้งั แต่เร่มิ แรกจนกระทั่งได้
32 ตรัสรู้นับเป็นเวลานานตาม ประเภทของพระพุทธเจ้า คือ ๑. สมเด็จพระพทุ ธเจ้าประเภทปญั ญาธิกะ ต้องทรงสร้างพระบารมรี วมทั้งหมดเปน็ เวลา ๒๐ อสงไขย กับ เศษเวลาอกี หน่งึ แสนมหากัป ๒. สมเด็จพระพุทธเจ้าประเภทสัทธาธิกะ ตอ้ งทรงสรา้ งพระบารมีรวมทง้ั หมดเป็นเวลา ๔๐ อสงไขย กับเศษ เวลาอีกหนึง่ แสนมหากัป ๓. สมเด็จพระพทุ ธเจ้าประเภทวริ ิยาธิกะ ต้องทรงสรา้ งพระบารมีรวมทั้งหมดเป็นเวลา ๘๐ อสงไขย กับเศษ เวลาอกี หนง่ึ แสนมหากัป บัดน้ี ขอใหท้ ่านผู้มปี ญั ญาทั้งหลายจงใคร่ครวญพิจารณาดูเถิดวา่ สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ แตล่ ะพระองค์กวา่ จะ ได้ทรงมีโอกาสเสด็จมาอุบตั ิตรสั ในโลก น้ี ต้องทรงสร้างสมอบรมพระบารมีมานานนักหนาเพยี งใด ถา้ จะว่า สร้างพระบารมเี พ่ือปรมาภิเษกสัมโพธิญาณ เป็นการทำางานชนดิ หนง่ีึ แลว้ กต็ อ้ งนับวา่ เป็นการทำางานทตี่ ้อง ใช้ระยะยาวนานทส่ี ดุ ซ่ึงไมม่ งี านอ่นื ใดในโลกจะมาเทียบเทียมได้ และผู้ทีจ่ ะทาำ งานน้ีไดน้ ้ันก็ตอ้ งเปน็ ท่านผู้ มีใจเพชรเด็ดขาดขนาดมหา วีรบุรุษ จงึ จะสามารถมคี วามอดทนทาำ งานใหญ่ ซึง่ ต้องใชเ้ วลานับชาต่ีิทเ่ี กดิ ไมถ่ ว้ นน้ี ใหส้ ำาเร็จลลุ ่วงไปได้ และมีกฎตายตวั อยวู่ า่ สมเดจ็ พระบรมโพธิสัตวผ์ ู้ปรารถนาเปน็ เอกองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านนั หากวา่ พระองคท์ ่านยงั สร้างพระบารมีไมค่ รบกาำ หนด คือยงั ไม่ถงึ ๒๐ อสงไขยแสนมหากัปกด็ ี ยงั ไมถ่ ึง ๔๐ อสงไขยแสนมหากัปกด็ ี และยังไมถ่ ึง ๘๐ อสงไขยแสนมหากปั กด็ ี ตามประเภทการสร้างพระบารมแี หง่ พระพทุ ธเจา้ แลว้ ย่อมจะไม่มีโอกาสไดต้ รสั รู้ก่อนกาำ หนดเวลาเหล่าน้เี ลยเป็นอนั ขาด ถงึ แมจ้ ะสามารถสร้าง พระบารมี เช่น ให้ทานกันอย่างขนานใหญ่ดุจพระเวสสนั ดรทกุ วนั ก็ดี หรอื จะบาำ เพ็ญพระบารมอี นั ยงิ่ ใหญ่ อืน่ ๆ เปน็ นักหนากด็ ี การที่จะได้ตรัสรู้เป็นองค์สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ เร็ว ๆ กอ่ นกาลกาำ หนดทีก่ ลา่ วมาแล้วนั้น ยอ่ มเปน็ ไปไม่ได้อย่างเดด็ ขาด เพราะเหตวุ า่ วาสนาบารมแี ละปญั ญาของพระองค์ ยงั ไมถ่ งึ ซึ่งความ บรบิ รู ณ์และแกก่ ลา้
33 ถ้าจะเปรียบ ก็มีอุปมาดจุ ขา้ วกล้าท่ชี าวนาปลกู ดำาลงในนา ตามธรรมดากว่าจะออกเป็นเมลด็ สำาเรจ็ เปน็ รวงทองสกุ เหลืองพอทจี่ ะเก็บเกย่ี วได้ กต็ อ้ งใชเ้ วลา ๔-๕ เดือน ถา้ ยังไม่ถงึ กาำ หนดนี้ ตอ่ ใหช้ าวนาหม่ัน พรวนดินวันละแสนหน หมนั่ รดน้ำาวนั ละแสนครง้ั ด้วยตั้งใจว่าจะให้ข้าวกล้านัน้ มนั ออกเป็นเมลด็ เป็นรวงเรว็ กวา่ กาำ หนดเวลาตามธรรมชาตแิ ห่งข้าวกล้าน้นั ยอ่ มจะไม่มีวันสาำ เร็จได้ อุปมาข้อนฉี้ ันใด สมเดจ็ พระบรม โพธสิ ัตว์เจ้าทงั้ หลาย ซง่ึ ทรงสรา้ งพระบารมีมงุ่ หมายพระปรมาภเิ ษกสมั โพธิญาณน้ัน การที่จะไดส้ ำาเร็จเป็น พระพทุ ธเจา้ ก่อนกำาหนด คือยังไมถ่ งึ กาลแกก่ ลา้ แหง่ วาสนาบารมีย่อมจะเปน็ ไปไมไ่ ด้เช่นเดยี วกัน ฉะน้นั เราทา่ นทั้งหลายที่ได้มีโชคดี เกิดมาในระยะทโี่ ลกยงั มพี ระศาสนาองคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ซง่ึ เป็น ผยู้ งิ่ ด้วยพระบารมี ควรจะมจี ติ ยนิ ดแี ละเลอื่ มใสในพระคุณของพระองคผ์ ู้ทรงประกอบด้วยพระวริ ยิ ะ อตุ สาหะ ซ่งึ ไมม่ ีผใู้ ดในโลกจะเทยี มเหมือน ธรรมสโมธาน นอกจากจะทรงมพี ระวิรยิ ะอตุ สาหะเปน็ ยอดเยย่ี มในการสรา้ งสมอบรมพระบารมเี ปน็ เวลานานนักหนา นับ เวลาเป็นจาำ นวนอสงไขย เป็นจำานวนมหากัปดังกล่าวแล้ว สมเดจ็ พระบรมโพธิสตั วเ์ จา้ ทัง้ ปวงผปู้ รารถนาจะ ไดต้ รัสเปน็ เององคส์ มเด็จ พระพุทธเจา้ ในกาลอนาคตน้นั ย่อมต้องปรารถนาธรรมสาำ คัญหมวดหน่ึง ซงึี่ มีชือ่ ว่า ธรรมสโมธาน เสยี กอ่ น จึงจักไดส้ ำาเรจ็ ความปรารถนาเป็นพระพทุ ธเจ้าได้ ถา้ ไมม่ ีธรรมสโมธานนีแ้ ล้ว ก็ ไมแ่ นน่ กั ว่าจกั ได้สาำ เรจ็ เป็นพระพุทธเจ้า กลา่ วอย่างนอี้ าจจะทำาใหง้ งงันไปกไ็ ด้ จึงจะขอขยายความต่อไป ดังนี้ ท่านทจ่ี กั ไดต้ รัสเปน็ สมเด็จพระพุทธเจา้ นน้ั เพียงแต่ตั้งใจวา่ ต้องเป็นพระพทุ ธเจ้าให้ได้ กเ็ ปน็ เวลาหลาย อสงไขยแลว้ จึงจะมโี อกาสได้ออกโอษฐเปลง่ วาจาเปน็ คำาพดู วา่ จักเปน็ พระพุทธเจา้ ให้ได้ ตอนนีก้ ต็ ้องใช้ เวลาหลายอสงไขยอีกเหมอื นกัน ถงึ แม้จะมีนำา้ ใจเดด็ เดย่ี วปรารถนามาเปน็ เวลานานเช่นน้กี ็ยงั เปน็ อนิยต โพธสิ ตั ว์ คือเปน็ พระโพธิสัตว์ทีย่ ังไมแ่ น่นกั วา่ จกั ได้เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้า ต่อเมอ่ื ใด ได้บรรลถุ ึงโอกาส สำาคัญ คือได้เกิดมาเปน็ มนุษยพ์ บสมเดจ็ พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึีง่ แล้ว มีโอกาสไดร้ ับลทั ธยา
34 เทศคาำ พยากรณ์จากสำานักสมเด็จพระพทุ ธองค์เจา้ นั่นแหละ จงึ จะเป็นนิยตโพธิสัตว์ คอื เปน็ พระโพธสิ ตั ว์ท่ี เที่ยงแท้แน่นอนว่า จักได้เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้า คราวน้ี สมเดจ็ พระจอมมุนสี มั มาสัมพุทธเจา้ พระองคผ์ ้จู ะทรงพยากรณ์ใครผู้ใดผู้หนึง่ ว่า \"จกั ไดเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในอนาคตกาล\" นัน่ ก่อนท่ีจะทรงพยากรณม์ ิใช่วาจะไมท่ รงเลือกโดยทรงนึกจะพยากรณก์ ท็ รง พยากรณ์ไปอยา่ งนน้ั เอง ไมใ่ ช่อย่างนนั้ โดยทีแ่ ท้ พระองคผ์ ูท้ รงไว้ซ่งึี พระสัพพัญญูุตญาณย่อมตอ้ งทรง เลือกดูก่อน ถ้าทรงเหน็ วา่ ผู้นัน้ มวี าสนาบารมีไมเ่ พยี งพอและไม่ประกอบดว้ ยธรรมสโมธาน พระองคจ์ ะไม่ ทรงพยากรณอ์ ยา่ งเดด็ ขาด และผนู้ ั้นก็ยังได้ช่ือว่าเป็นอนยิ ตโพธสิ ัตว์ คือเป็นพระโพธิสตั วท์ ี่ยงั ไม่แน่นอน อยนู่ ่นั เอง หากทรงเห็นวา่ ผนู้ ั้นไดส้ รา้ งสมบม่ บารมมี าในอดตี ชาติ เพื่อพระปรมาภิเษกสัมโพธญิ าณอยา่ ง เพียงพอ และในขณะนั้น กเ็ ปน็ ผเู้ พียบพร้อมไปดว้ ยธรรมสโมธานแลว้ พระองค์จงึ จักทรงพยากรณ์ และเมอื่ ไดร้ ับพยากรณ์แลว้ ผูน้ น้ั ก็ได้ชอื่ ว่าเป็น นยิ ตโพธิสตั ว์ คือเป็นพระโพธสิ ตั วผ์ เู้ ท่ยี งแท้ท่ีจักได้ตรสั เปน็ พระพุทธเจา้ เท่าทกี่ ลา่ วมานี้ ท่านผู้มีปญั ญาท้ังหลายกค็ งจะเหน็ แล้วว่าธรรมสโมธานย่อมเปน็ ธรรมะสุดสาำาคัญ ทเ่ี ปน็ เหตใุ ห้ได้รับลทั ธยาเทศน์คำาพยากรณจ์ ากสำานักสมเดจ็ พระพทุ ธเจ้า เพ่ือให้ไดเ้ ปน็ นิยตโพธสิ ตั วน์ นั่ เอง ฉะนัน้ ธรรมสโมธานน้ี จึงเปน็ ธรรมะจาำ เป็นอย่างยง่ิ ทพี่ ระโพธิสัตว์เจ้าทง้ั หลายต้องตั้งใจปรารถนา ก่อน อะไรอนื่ ทัง้ หมด เมอ่ื ความปรารถนาในธรรมสโมธานน้สี าำ เร็จแลว้ พระพทุ ธภมู ิ กลา่ วคือ ความปรารถนา เปน็ พระพุทธเจา้ กจ็ กั สาำ เร็จได้ในภายหลงั อย่างไมต่ ้องสงส้ย กธ็ รรมสโมธานน้ี มีอยู่ ๘ ประการ ด้วยกนั คอื ๑. มนุสฺสตตฺ ำ ๒.ลงิ คฺ สมปฺ ตตฺ ิ ๓. เหตุ ๔. สตถฺ ุทสสฺ นำ ๕. ปพฺพชฺชา ๖. คุณสมปฺ ัตฺติ ๗. อธกิ ารโร ๘. ฉนฺทตา ซีึ่ งมีอรรถาธบิ ายตามลาำ ดบั ดังตอ่ ไปนี้ ๑. มนสุ สฺ ตตฺ .ำ .. ทา่ นทปี่ รารถนาซึ่งพระพทุ ธภูมิ หวังจักไดส้ ำาเร็จเป็นองคพ์ ระพุทธเจา้ ในอนาคตกาลน้ัน ใน เบ้อื งตน้ จำาต้องปรารถนาได้เกิดเป็น มนุษยเ์ สียก่อน เพราะการทีจ่ ะไดร้ ับลัทธยาเทศคำาพยากรณ์จากสาำ นัก สมเดจ็ พระพทุ ธเจ้าน้นั จะไดก้ ็แตเ่ ฉพาะในชาติท่ีเป็นมนุษย์เท่านน้ั หากว่าอบุ ตั ิเกิดเป็นองค์อนิ ทร์
35 องค์พรหม หรอื เปน็ เทพยดา เป็นนาค เปน็ ครุฑ เปน็ อสูร หรอื เปน็ ผ้มู ีฤทธิ์วเิ ศษอ่ืนใด ถงึ แม้จะทรงไวซ้ ีึ่ง ศกั ดามหานุภาพมากมายสกั เพียงใดก็ดี การทีว่ ่าพระพุทธองค์เจา้ จะทรงพยากรณน์ นั้ เป็นอันไมม่ ี เพราะ องค์สมเด็จพระชินสีห์จะทรงพยากรณก์ แ็ ตท่ ่านทเี่ ปน็ มนษุ ยชาติเทา่ นั้น น่ีเปน็ ธรรมสโมธานประการท่หี นึงี่ ๒. ลงิ ฺคสมฺปตตฺ .ิ .. ทา่ นทปี่ รารถนาซ่ึงพระพุทธภูมินน้ั ในขน้ั แรกจาำ ต้องปรารถนาความถึงพร้อมดว้ ย เพศ คอื ปรารถนาเป็นบุรุษเพศเสียก่อน เพราะการท่จี ะมีโอกาสได้รับลัทธยาเทศคาำ พยากรณน์ ้ัน จะได้ก็แต่ เฉพาะชาตทิ ่เี ปน็ บุรษุ เพศเท่านน้ั หากว่าเปน็ สตรเี พศก็ดี เป็นบัณเฑาะว์ กะเทยกด็ ี เปน็ อภุ โตพยัญชนะก็ดี ผู้ ที่มีลิงควิบตั ิเหลา่ นี้ การท่วี า่ จะไดร้ ับพยากรณ์จากสมเด็จพระพุทธองคเ์ จ้าเปน็ อันไม่มี เหตุฉะน้ี พระ โพธสิ ัตว์ทั้งหลาย ผูม้ จี ิตมุง่ หมายในพระโพธญิ าณ เมื่อบาำ เพญ็ กุศลมีการให้ทานรกั ษาศีลเป็นตน้ ทา่ นยอ่ ม ปรารถนาความเป็นบุรษุ ก่อนแลว้ จึงค่อยปรารถนาซึ่งี พระพทุ ธภมู ิต่อภาย หลัง นเี่ ป็นสโมธานประการทสี่ อง ๓. เหตุ... ท่านท่ีปรารถนาซ่งึี พระพทุ ธภมู ิ และจกั มโี อกาสไดร้ บั ลัทธยาเทศนน้ั ต้องเป็นผูส้ มบูรณด์ ว้ ยเหตุ คอื มีอุปนิสสยั ปัจจัยแหง่ พระอรหันตร์ ุง่ เรอื งอยู่ในขนั ธสันดาน หากจะกลับใจไมป่ รารถนาพระสมั โพธญิ าณ ตอ้ งการเพยี งแคส่ าวกโพธิญาณแล้วไซร้ แต่พอตั้งใจสดบั พระสทั ธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาจารยเ์ จา้ ทรงแสดงในขณะนั้นก็ จักพลันไดส้ าำ เรจ็ มรรคผลเป็น พระอรหันตสาวก พรอ้ มทง้ั ปฏสิ มั ภทิ าญาณท้งั ๔ ทันที ท้ังนก้ี ็เพราะวา่ เป็นผูม้ เี หตุ กลา่ วคืออุปนิสยั ปจั จัยแห่งอรหันต์แก่กลา้ รุ่งเรอื งอยใู่ นขนั ธสนั ดานแลว้ ต้องเป็น ผูถ้ งึ พร้อมดว้ ยเหตเุ ชน่ นแ้ี ล จึงจักได้รบั ลทั ธยาเทศ หากว่าเป็นคนธรรมดาสามญั ยังไม่ไพบลู ยด์ ว้ ยเหตุ กลา่ ว คอื อรหตั ตูปนสิ ัยนแ้่ี ล้ว สมเด็จพระพุทธองคเ์ จ้าท่านก็หาทรงพยากรณไ์ ม่ น่ีเป็นธรรมสโมธาน ประการที่สาม ๔. สตถฺ ทุ สสฺ น.ำ .. ท่านทป่ี รารถนาซีึง่ พระพุทธภูมิและจกั มีโอกาสได้รบั ลัทธยาเทศนัน้ ตอ้ งเปน็ มนษุ ย์ผู้มีโชค ดมี หาศาลไดพ้ านพบองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้า คือมีโอกาสได้บาำ เพ็ญกองการกุศลเป็นต้นวา่ ท่าน รักษาศีลในสาำ นกั ของพระพทุ ธองคท์ า่ นแลว้ และไดก้ ระทำาปณิธานตง้ั ความปรารถนาเฉพาะพระพกั ตร์ของ สมเดจ็ พระสรรเพชญสมั พทุ ธ เจา้ จงึ จะสาำ เร็จสมความมุ่งมาดปรารถนา เพราะว่าการได้รับลทั ธยาเทศคำา
36 พยากรณ์จักมีขึน้ ได้ กแ็ ตเ่ ฉพาะอาศัยพระพทุ ธฎกี าท่ีหลัง่ ออกมาจากพระโอษฐของพระพุทธเจา้ เท่านัน้ ผู้อืน่ ใดเล่าจักมปี ัญญาลกึ ลาำ้ ให้คาำ พยากรณไ์ ด้ ด้วยเหตนุ ้ี หากไดพ้ บแตพ่ ระปัจเจกพทุ ธเจ้าก็ดี ไดพ้ บแตพ่ ระ อรหันตขณี าสพเจา้ ก็ดี ไดพ้ บแตพ่ ระมหาเจดยี ์สถาน หรือโพธิพฤกษอ์ ่ืนใดก็ดี ถงึ แมจ้ ะมนี า้ำ ใจเลื่อมใส ประกอบกองการกุศลเปน็ หนกั หนา แล้วจึงทาำ ความปรารถนาซึ่งพระพุทธภูมิ ความปรารถนานนั้ จักได้อยา่ ง เทยี่ งแท้แน่นอนนั้นยงั ไม่สาำ เรจ็ ก่อน เพราะยงั ไม่ได้รบั ลัทธยาเทศคำาพยากรณ์จากสาำ นักสมเดจ็ พระพทุ ธเจ้า โดยตรง นี่เปน็ ธรรมสโมธานประการท่สี ่ี ๕. ปพฺพชฺชา... ท่านที่ปรารถนาซ่ึงพระพุทธภูมิและจักมโี อกาสไดร้ บั ลัทธยาเทศน้นั ต้องเป็นบรรพชิต คอื เป็นนกั บวช เปน็ สมณะพระภกิ ษใุ นพระบวรพุทธศาสนา หากวา่ มิได้บรรพชติ อปุ สมบทในพระบวรพุทธ ศาสนา กต็ ้องเปน็ โยคี ฤาษี ดาบส หรอื ปริพาชก ซึง่ เป็นนักบวชภายนอกพระพทุ ธศาสนา แตว่ ่ามลี ัทธเิ ปน็ กรรมวาที กริ ยิ าวาที คอื ถือวา่ บญุ มี บาปมี ทาำ บญุ ได้บญุ ทาำ บาปไดบ้ าป ดาำ รงเพศเป็นบรรพชติ เชน่ น้ีแลว้ จงึ จะได้ ้รบั ลัทธยาเทศจากสำานกั แหง่ พระพทุ ธองค์เจา้ หากวา่ ดำารงเพศอยูใ่ นฆราวาสวสิ ัย เป็นคฤหสั ถ์ผู้ ครองเรอื นกด็ ี แมจ้ ะมคี วามปรารถนาซึง่ี พระพทุ ธภูมิ สมเดจ็ พระพุทธองค์เจ้าก็หาทรงพยากรณ์ไม่ นีเ่ ป็น ธรรมสโมธาน ประการท่หี ้า ๖. คุณสมฺปตตฺ ิ ... ทา่ นท่ีปรารถนาซงึ่ พระพุทธภูมิ และจักมีโอกาสได้รบั ลัทธยาเทศนน้ั ต้องเป็นผูม้ ี คณุ สมบตั วิ เิ ศษบรบิ ูรณ์ไปด้วยคุณ คอื อภิญญา และฌานสมาบัติ อันเช่ยี วชาญต้องเปน็ ผบู้ รรลถุ ึงคณุ วิเศษ เกินคนธรรมดาสามัญอยา่ งนี้ จึงจักไดร้ บั ลัทธยาเทศพยากรณจ์ ากสำานกั แหง่ พระพทุ ธองค์เจ้า หากว่าไม่มี คณุ วิเศษ คือ อภิญญาและฌานสมาบตั ิอย่ใู นสนั ดานแมจ้ ะดาำ รงเพศเปน็ บรรพชิตนักบวชอยแู่ ลว้ กด็ ี สมเด็จ พระจอมมุนสี ัมมาสมั พุทธเจา้ กห็ าทรงพยากรณ์ไม่ น่เี ป็นธรรมสโมธานประการทห่ี ก ๗. อธิกาโร... ท่านทีปรารถนาซีึ่งพระพุทธภมู ิและจักมโี อกาสได้รับลทั ธยาเทศน้ัน ต้ัองเปน็ ผไู้ ดเ้ คยทาำ อธิการมาแลว้ หมายความวา่ ได้เคยบาำ เพ็ญมหาบรจิ าค กล่าวคอื การเสียสละ คร้งั ย่ิงใหญ่ ใหช้ ีวิตของ ตนเองเปน็ ทานในอดีตชาติ ซงึ่ เรยี กว่า อธิการ มาแลว้ หากทา่ นปราศจากอธกิ าร คือไม่เคยเอาชวี ิตเข้าออก
37 แลกกบั พระสมั โพธญิ าณ ไมเ่ คยบำาเพญ็ ทานปรมตั ถม์ หาบริจาคมาก่อน ถึงแม้จะทรงเพศประเสรฐิ ล้าำ เลิศ เพยี งใด ก็หาทรงพยากรณ์ไม่ ตอ่ เม่อื พระองค์ไดท้ รงทราบด้วยพระสัพพญั ญตุ ญาณว่า ผนู้ ้ันได้เคยกระทำา อธกิ ารแต่ปางกอ่ นจึงจกั ทรงพยากรณ์ เพราะพระปรมาภเิ ษกสมั โพธญิ าณนั้นจะสาำ เร็จได้ตอ้ งอาศัยอธกิ าร การกระทำาอันย่งิ ใหญ่ ขนาดตอ้ งพลชี วี ิตเลือดเนือ้ เข้าแลกเอา น่เี ปน็ ธรรมสโมธานประการทเ่ี จด็ ๘. ฉนฺทตา... ทา่ นท่ปี รารถนาซีึ่งพระพุทธภมู แิ ละจกั ไดม้ ีโอกาสไดร้ บั ลัทธยาเทศน้ัน ตอ้ งเปน็ ผมู้ ีน้ำาใจ ประกอบด้วย ฉนั ทะ คือมีความรักความพอใจในพระพทุ ธภูมเิ ปน็ กำาลงั มิได้ยอ่ ทอ้ ถอยในอุปสรรค ไมว่ า่ จะ ใหญ่เล็กชนิดใดทั้งสน้ิ ซ่งีึ ในกรณีนี้ หากจะมีผ้ถู ามพระโพธสิ ตั วผ์ ู้ปรารถนาพระพทุ ธภูมนิ น้ั วา่ \"ดกู รท่าน! การที่านปรารถนาซ่ึงพระพทุ ธภูมิอันประเสรฐิ สุดนี้ ทา่ นยังจะมนี ำา้ ใจกล้าแขง็ สามารถทนทกุ ข์ใน นรกได้ตลอด ๔ อสงไขย ๑ แสนมหากัปได้ หรือว่าหามไิ ด\"้ เมอ่ื มผี ู้มาสาำ ทับถามเอาดว้ ยภยั ในนรกเหน็ ปานฉะนี้ ทา่ นทีเ่ ปน็ พระโพธสิ ัตว์ปรารถนาพระพทุ ธภมู นิ ั้น ยอ่ิ ม จะไม่มีความย่อท้อ อาจรบั ปากเอาด้วยความเต็มใจเปน็ อย่างย่ิงว่า \"อาตมาน่แี หละ จะสู้อตุ ส่าห์ทนทุกข์ในนรกอันนา่ กลัวนกั หนา ไปใหไ้ ดต้ ลอดเวลาอันยาวนานตามท่ีวา่ มา น่ันเพ่ือแลกเอากบั พระปรมาภเิ ษก สมั โพธิญาณดว้ ยใจสมคั รใหจ้ งได\"้ ในกรณนี ี้ หากจะมผี ใู้ ดใครผู้หน่ึง ซึ่งใครจ่ ะสอบถามถงึ น้าำ ใจที่รกั ปรารถนาอย่างแรงกล้าในพระโพธิญาณ กบั พระโพธสิ ัตวเ์ จา้ อีกต่อไปดว้ ยอปุ มาปัญหาวา่ \"อันตัวทา่ น ซง่ึ ปรารถนาพระพุทธภมู ินนั้ ท่านยงั จะสามารถเดนิ บุกเข้าไปในปา่ ไม้ไผอ่ นั แ่นน่ หนาไปด้วย เรยี วหนามท่คี ม กล้า เปน็ ป่าไผ่ใหญ่เต็มไปหมดตลอดทง้ั จักรวาลโลกธาตุน้ี ซงึ่ มีความกวา้ งใหญ่ วดั ไดไ้ กล ถงึ สิบสองแสนสามพนั สร่ี อ้ ยหา้ สิบโยชน์ ตวั ทา่ นจะสามารถเหยยี บยาำ่ บุกฝ่าขวากหนามไปไกลใหถ้ งึ ทีส่ ดุ
38 ตามกาำ หนดน้ี เพ่อื จะความเอาพระโพธญิ าณมาไว้ในเง้อื มมือแหง่ ตนได้ฤา?\" และว่า \"อนั ตัวท่าน ซง่ึ ปรารถนาพระพุทธภมู ินน้ั ทา่ นยงั จะสามารถเดินตลุยด้วยเท้าเปล่า ไปในกองถ่านเพลงิ อันมี เปลวไฟรุ่งโรจน์โชตนาการ ซงี่ึ เตม็ ไปในห้วงจกั รวาลโลกธาตุนไ้ี ด้ฤา?\" พระโพธิสัตวเ์ จา้ ผมุ้ ีนา้ำ ใจประกอบไปดว้ ยฉันทะ ความใครพ่ อใจทง้ั มีความปรารถนาอย่างแรงกลา้ ในพระ ปรมาภิเษก สมั โพธิญาณ ยอ่ มจะมีใจองอาจกลา้ หาญ ยอมรบั เอาดว้ ยความยนิ ดี เต็มใจเปน็ นักหนาวา่ \"อาตมาคอื ว่าตวั เรานแ่ี หละ จะส้กู ้มหน้าฟนั ฝา่ อปุ สรรคอนั ตรายทงั้ หลาย มิได้อาลัยแก่เลือดเนอื้ รา่ งกาย และชีวติ ของตน จะสู้อดทนเดนิ บกุ เหยียบย่ำาไปใหถ้ งึ ทส่ี ดุ จะรุดหนา้ กา้ วไปควา้ เอาพระปรมาภิเษก สัมโพธิ ญาณดว้ ยใจรกั ให้จงได้\" ทา่ นผ้มู ีนำ้าใจกอรปดว้ ยฉันทะอยา่ งแรงกลา้ มคี วามรักความปรารถนาในพระโพธิญาณเป็นเบือ้ งหนา้ มิได้ หวาดผวากลัยภัยในนรก เป็นอาทิ เหน็ ปานฉะนแ้ี ลว้ จึงจะปรารถนาซ่งึี พระุพุทธภูมไิ ดส้ าำ เร็จสมความ ปรารถนา หากวา่ เปน็ ผ้มู ปี กตขิ ลาดหวาดหวัน่ ไหว มีน้ำาใจมิไดก้ ล้าหาญ กลัวทุกข์ กลัวภัยและรกั รูป รกั กาย รักชีวติ มีจิตสันดานยอ่ ทอ้ อยู่ การทจ่ี ะปรารถนาซง่ึ พระพุทธภูมินั้น ยอ่ มจะสาำ เร็จลงมิไดอ้ ยา่ งแน่ น่ อน และ สมเด็จพระชินวรสมั มาสัมพุทธเจ้าก็ทรงหาพยากรณ์ไม่ น่ีเป็นธรรมสโมธานประการทีแ่ ปด ธรรมสาำ คัญ ๘ ประการ ตามท่ีพรรณนามาน้ี มีชือ่ ว่า ธรรมสโมธานท่ีเป็นเหตใุ หไ้ ดร้ ับลัทธยาเทศคำา พยากรณ์ จากสำานักแห่งองค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ท่านผูม้ ปี ญั ญาท้งั หลาย ไดพ้ ิจารณาดธู รรมตาม ที่กล่าวมานแี้ ลว้ เป็นอย่างไรบา้ งเล่า เปน็ สิง่ ที่ได้โดยยาก หรือวา่ ไดง้ ่ายๆ แน่นอนเปน็ สิ่งที่ได้โดยไม่ง่าย เลย
39 คร้นั องค์สมเดจ็ พระจอมมนุ ีสัมมาสั มั พทุ ธเจา้ ทรงตรวจดดู ้วยพระสพั พัญญุตญาณ และทรงทราบว่า ผทู้ ่ี ปรารถนาพระปรมาภเิ ษกสัมโพธญิ าณนัน้ พรง่ั พรอ้ มไปด้วยธรรมสโมธานท้ัง ๘ ประการน้ี มไิ ดข้ าดแต่สัก ขอ้ หนงี่ึ แล้ว องคส์ มเดจ็ พระชินสหี จ์ งึ จะทรงชี้พยากรณโ์ ดยนยั ว่า ผนู้ นั้ จักไดต้ รสั รเู้ ป็นองคพ์ ระพุทธเจา้ ทรง วา่ อยา่ งนนั้ ในกัปอนั เป็นอนาคตท่เี ทา่ นั้น ... ดังน้เี ป็นต้น แล้วกท็ รงมีพระโอวาทอนุสาสนใ์ ห้พยายามสรา้ ง สมบ่มพระบารมเี พอ่ื พระปรมาภิเษก สัมโพธญิ าณต่อไปอีก เม่ือได้รบั ลัทธยาเทศคาำ พยากรณ์จากสาำ นกั แหง่ พระพทุ ธองค์เจา้ อย่างน้ีแลว้ พระโพธสิ ตั ว์เจา้ ผนู้ ั้นก็ไดน้ ามว่า พระนิยตโพธสิ ตั วจ์ กั อบุ ัติมาตรัสเป็นสมเด็จ พระสรรเพชญพุทธเจ้าในโลกเรานี้ พระองคห์ น่ึงี ในอนาคตกาลอย่างเที่ยงแทแ้ น่นอน พระพทุ ธพากย์ ในกรณนี ี้ หากจะมปี ัญหาวา่ พระบรมโพธสิ ตั วผ์ ไู้ ด้รับลทั ธยาเทศคำาพยากรณจ์ ากสมเด็จพระสรรเพชญ สมั มาสมั พุทธเจ้าว่าเป็นนิยตโพธิสตั วน์ นั้ จักได้ตรสั รเู้ ป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตอย่างเทยี่ งแทแ้ นน่ อน สมจรงิ ตามคาำ พยากรณ์หรอื ? ปัญหาเร่อื งนี้ เปน็ ขอ้ ทไ่ี มค่ วรคดิ สงสยั ใหเ้ สียเวลา เพราะธรรมดาวา่ พระพทุ ธพากยก์ ถา คือถอ้ ยคาำ ของ สมเดจ็ พระจอมมุนีชนิ สีห์สัมาสัมพทุ ธเจา้ เหล่านนั้ ย่อมทรงไวซ้ ่ึงความมหัศจรรยเ์ ป็นสภุ าษิต จะได้วปิ รติ ผิด แปลกพจนะกระแส แปรเปน็ สองหรอื สูญเปลา่ ไม่เปน็ จริงนนั้ ยอ่ มเป็นไปมิได้ พระองค์ดำารสอรรถคดสี ่ิงใด สิ่งน้นั ไซรย้ อ่ มปรากฎมเี ป็นจรงืิ แท้ ย่อมเปน็ ไปตามกระแสพระพุทธบรรหารไม่ผดิ เพยี้ น และเทีย่ งตรง นกั หนา มคี รวุ นาดุจสรรพส่ิงท้งั หลายมีไม้ฆอ้ นและก้อนดนิ เปน็ อาทิ อนั บุคคลขว้างขน้ึ ไปสุดแรงเกดิ บน อากาศ เม่ือมนั ข้นึ ไปสงู จนสดุ กาำ ลงั ทีข่ วา้ งแลว้ ย่อมเทีย่ งท่จี ะตกลงมายงั พืน้ ปฐพี อุปมาน้ีฉนั ใด พระพุทธ พากย์คำาพยากรณ์ของสมเดจ็ พระพทุ ธเจ้า ยอ่ มจะมีสภาวะเทย่ี งแทเ้ ปน็ เหมือนเชน่ น้นั
40 อีกประการหนึ่ง อนั วา่ ฝงู สัตว์โลกทง้ั ปวงเช่นมนุษย์เรานี้ เม่ือมีกำาเนิดเป็นรปู เป็นกายขึ้นมาแล้ว ก็เท่ียงแท้ที่ จะถงึ แก่มรณกรรม กลา่ วคือจำาต้องตายท่วั ทุกรูปทกุ นามเป็นแน่แท้อปุ มานฉี้ ันใด พระพทุ ธพากยค์ าำ พยากรณข์ องสมเดจ็ พระพทุ ธเจ้า ย่อมจะมสี ภาวะเที่ยงแท้แนน่ อนเปน็ เหมือนเชน่ นั้น อีกประการหน่งึ อันวา่ ดวงทิพากรเทพมณฑล คือพระอาทิตย์นยี้ อ่ มเที่ยงแท้ทจ่ี ะอทุ ัยขน้ึ เมือ่ ยามส้นิ ราตรี ณ เพลาอรณุ ร่งุ เชา้ เป็นแน่แท้ อปุ มาข้อนี้ฉนั ใด พระุพุทธพากย์คาำ พยากรณ์ของสมเด็จพระพทุ ธเจ้า กย็ อ่ มจะมี สภาวะเทีย่ งแท้แนน่ อนเปน็ เหมอื นเช่นนั้น อกี ประการหนง่ีึ อันว่าพญามฤคินทร์ำาไกรสรสีหราช เม่อื ออกจากถาำ้ ที่สีหาไสยาสน์แลว้ ย่อมเที่ยงแท้ท่ี จะบันลือสุรสิงหนาทเปน็ นจิ เสมอ ไปทกุ คร้ังเป็นแนแ่ ท้ อุปมาข้อน้ีฉนั ใด พระพุทธพากย์คำาพยากรณ์ของ สมเด็จพระพทุ ธเจ้า ก็ยอ่ มจะมสี ภาวะเท่ยี งแท้แน่นอนเปน็ เหมอื นเชน่ นั้น อกี ประการหนีึง่ อันวา่ ชนผู้เป็นพาณชิ พ่อคา้ เมื่อทราบจะขนสนิ ค้ามาวางรา้ นเรียงขายนนั้ ต้องหาบห้วิ ขน แบกซ่ึงภาระสนิ คา้ อันหนกั ของตนเพยี บแปรม้ าแตบ่ า้ น กวา่ จะถึงร้านในตลาดกแ็ สนจะเหน็ดเหน่ือยนกั หนา พอมาถึงร้านขายของรา้ นตนแลว้ กย็ อ่ มรบี ปลงภาระส่งิ ของอนั หนักน้นั ลงจากบา่ ของตนเสยี ทันทอี ยา่ งนี้ เป็นธรรม เพราะถา้ ไม่ปลงลงแล้ว จะยนื แบกยนื หาบให้หนักตนเองเหมือนกับเป็นบ้าอย่างนน้ั อย่ชู ว่ั กัปช่วั กัลห์อยา่ งไรไดเ้ ลา่ ก็อาการทีภ่ าระสงิ่ ของอันหนักซง่ึ ต้ังอยู่บนบา่ นั้น ย่อมเทีย่ งทจ่ี ะถกู พอ่ คา้ ปลงมาจากบ่า อยา่ งแน่นอน โดยไมต่ ้องสงสยั อุปมาขอ้ น้ีฉันใด พระพทุ ธพจน์พิสยั แห่งองคส์ มเด็จพระสพั พญั ญผู ู้ประเสรฐิ ทต่ี รสั พยากรณไ์ ว้ ยอ่ มเป็นสัจจะเป็นธรรมเทยี่ งแท้แนน่ อน เปน็ เหมอื นเชน่ กัน จงึ เป็นอันสรปุ ความได้ว่า เมื่อพระบรมโพธสิ ตั วเ์ จ้า ได้รับลทั ธยาเทศกล่าวคอื คาำ พยากรณ์ จากสำานักของ องคส์ มเด็จพระสรรเพชญสมั มาสมั พุทธเจ้าแลว้ ย่อมเป็นผู้เท่ียงแท้ที่จักไดต้ รสั เป็นพระพุทธเจา้ พระองค์ หนึี่งในอนาคตกาล สมจรงิ ตามพระพุทธพากย์พยากรณอ์ ย่างแน่นอน
41 พระพุทธภมู ิธรรม สมเดจ็ พระนิยตบรมโพธสิ ตั ว์ ซงึ่ มพี ระกฤดาภินิหารเท่ียงแท้ทจี่ ะตรสั แก่พระปรมาภเิ ษกสมั โพธิญาณเพราะ ได้ รับลทั ธาเทศแลว้ น้ี พระองค์ท่านย่อมมีนำา้ ใจสลดหดหูจ่ ากบาปธรรม กล่าวคือกศุ ลกรรมท้ังปวง อปุ มา ดจุ ปีกไก่อนั ตอ้ งเพลงิ คือ ถา้ พระองคท์ า่ นพจิ ารณาเห็นวา่ สง่ิ ใดเปน็ บาปเป็นกรรมแลว้ ย่อมหดหเู่ กรงกลัว ยง่ิ นกั จกั ไดม้ ีจิตยนิ ดพี อใจกระทำาการส่งิ นน้ั แม้แตส่ กั นดิ หนีึง่ เป็นไม่มเี ลย อนั น้ำาใจแหง่ พระนยิ ตโพธิสัตว์ เจา้ ทง้ั หลายนน้ั ยอ่ มเบิกบานมนั่ คง ตรงซอื่ แต่กจ็ ะทาำ กองการกศุ ลส่ิงเดียว และขณะเดยี วจะกระทำากุศลนน้ั ยอ่ มมใี จช่ืนบานกวา้ งขวาง มอี ุปมาดุจเพดานฝ้าทบ่ี ุคคลคล่ีออกยาวใหญ่จะได้มนี าำ้ ใจแคบเล็กนอ้ ยต่อการ บาำ เพญ็ กศุ ลแต่สักเพลาหนึี่งน้ันเปน็ อันไมม่ ี อนงึี นบั แต่กาลท่ีไดร้ บั ลัทธาเทศเปน็ ตน้ สมเด็จพระนิยตโพธิสัตว์เจา้ ทงั้ ปวงย่อมยงั เพิม่ พูนพระบารมีให้ มากย่ิงข้นึ และมนี ำ้าใจกอรปไปด้วยพระพุทธภูมธรรม อนั ยิง่ ใหญ่ ๔ ประการ คือ ๑. อุสฺสาโห... ไดแ้ ก่ทรงประกอบไปดว้ ยพระอุตสาหะ มคี วามเพียรอันสลักติดแน่นในดวงฤทยั อยา่ งมั่นคง ๒.อมุ ตโฺ ต...ได้แก่ทรงประกอบไปดว้ ยพระปัญญา ทรงมีพระปัญญาเชี่ยวชาญหาญกลา้ เฉยี บคมยิง่ นกั ๓.อวตถฺ านำ...ได้แกท่ รงประกอบไปด้วยพระอธิษฐาน ทรงมอี ธิษฐานอันมนั่ คงมไิ ด้หว่นั ไหวคลอนแคลน ๔.หิตจริยา...ได้แก่ทรงประกอบไปด้วยพระเมตตา ทรงมีพระเมตตาเปน็ นิตย์ เจรญิ จิตอย่ดู ว้ ยเมตตาพรหม วหิ ารเป็นปกติ สมเดจ็ พระนยิ ตโพธสิ ตั วเ์ จา้ ท้ังปวง ย่อมสมาทานม่ันในพระพุทธภมู ธิ รรม สิริรวมเป็น ๔ ประการ นอี้ ยูเ่ นือง นติ ย์ทุกพระชาติ ไมว่ ่าจะทรงเสวยพระชาติถือกำาเนดิ เกิดเปน็ อะไร และในชาติดี กย็ อ่ มมพี ระพุทธภมู ธิ รรม
42 ประจำาในดวงหฤทยั เสมอ อนึง่ี พระองคท์ ่านผมู้ ปี กตเิ ที่ยงแท้ทีจ่ ักไดต้ รสั เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้าใน อนาคตกาลนัน้ ยอ่ มมีพระ อัธยาศัยอันประเสรฐิ คอื ประกอบไปด้วยกุศลธรรมสงู ส่งดีงามอยู่เสมอ ท้ังน้ีกเ็ พอื่ เปน็ เคร่ืองช่วยหล่อเลีย้ ง ใหพ้ ระโพธิญาณแก่กล้าเพมิ่ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ หากไม่มีพระอธั ยาศัยทด่ี ีงามเป็นกศุ ลคอยสนับสนนุ หล่อเลีย้ งแลว้ \"พระโพธิญาณ\" อนั เปน็ เครื่องให้ได้ตรัสรู้เปน็ เอกอัครบุคคลกลา่ วคอื พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า จกั ถึงความแก่ กล้าและเต็มบริบูรณ์มิได้ ฉะนนั้ พระอัธยาศัยเพ่ือใหพ้ ระโพธญิ าณจรงิ ขึ้นน้ี จงึ เป็นสง่ิ จาำ เป็นอย่างยง่ิ ที่ พระบรมโพธสิ ัตว์เจา้ ทั้งปวงจะตอ้ งมีอยู่เป็น ประจาำ ในขนั ธสันดาน ก็เร่อื งอัธยาศัยแหง่ พระโพธสิ ตั ว์เจ้าน้ี ขอ ใหท้ า่ นผู้มีปญั ญาทั้งหลายพึงทราบจากเนอ้ื ความทอ่ี อกจากโอษฐสมเดจ็ พระศรี อรยิ เมตไตรยซึ่งเปน็ พระบรมโพธสิ ตั ว์องคห์ น่ึง... ดงั ตอ่ ไปนี้ อัธยาศัยโพธิสัตว์ กาลคร้งั หนึง่ ยงั มพี ระมหาเถรเจ้าผู้เป็นพระอรหันตส์ าวกวิเศษประกอบดว้ ยพระปฏิสมั ภิทาและ พระ อภญิ ญา ทรงไวซ้ ่ีึงพระอรยิ ฤทธิ์ประเสริฐสดุ ไดม้ โี อกาสขน้ึ ไปพบเทพบุตรสมเด็จพระศรอี ริยเมตไตรยบรม โพธิสตั ว์ ซึ่งขณะนสี้ ถติ เสวยสุขอยู่ ณ เบื้องสวรรคช์ น้ั ดสุ ิตภมู ิ หลงั จากสนทนากนั เร่อื งอืน่ แล้ว พระมหาเถร เจา้ กถ็ ามขึน้ ว่า \"ขอถวายพระพร พระองค์กระทาำ พระอธั ยาศยั เพอื่ ทจ่ี ะใหพ้ ระโพธญิ าณแก่กล้าน้ัน ทรงกระทาำ ประการใด คือ พระองค์ทรงมีพระอธั ยาศัยเป็นอย่างไรบ้าง?\" สมเด็จพระศรีอริยเมตไตรยบรมโพธิสตั ว์ ซึ่งมีพระพทุ ธบารมีเต็มเป่ยี มอยู่แล้ว และรอโอกาสท่จี ะมาอุบัติ
43 ตรัสเปน็ พระพทุ ธเจ้าในอนาคตกาล คร้นั ถูกพระมหาเถรเจ้าถามดงั น้ันจงึ ตรัสตอบว่า \"ข้าแตพ่ ระคณุ ผูเ้ จรญิ ! โยมนีเ้ ปน็ พระโพธิสตั ว์ต้งั อยูใ่ นอธั ยาศยั ๖ ประการ คือ ๑. เนกขมั มัชฌาสัย... พอใจบวช รกั เพศบรรพชติ นักบวชเป็นยง่ิ นัก ๒. วเิ วกัชฌาสัย... พอใจอยูใ่ นทเี่ งียบสงดั วิเวกผ้เู ดยี วเปน็ ยิ่งนกั ๓. อโลภชั ฌาสัย... พอใจบริจาคทาน และพอใจบุคคลผไู้ ม่โลภไม่ตระหนี่เป็นย่ิงนกั ๔. อโทสชั ฌาสัย... พอใจในความไม่โกรธเจริญเมตตาแกส่ ตั วท์ ัง้ ปวงยง่ิ นกั ๕. อโหสชั ฌาสยั ... พอใจในการทีจ่ ะพิจารณาสง่ิ ที่เป็นคุณแลโทษเสพสมาคมกับคนมสี ตปิ ัญญายิง่ นัก ๖. นิสสรณชั ฌาสยั ... พอใจท่ีจะยกตนออกจากภพ ไมย่ นิ ดีในการเวียนว่ายตายเกิดในวฏั สงสาร ตอ้ ง ประสงคพ์ ระนพิ พานเป็นย่ิงนกั นีแ่ หละพระคณุ ผูเ้ จรยิ โยมน้มี อี ัธยาศยั สริ ิรวมเปน็ ๖ ประการตดิ อยู่ในขนั ธสนั ดานเปน็ นิตย์ พระโพธิญาณ ของโยมจึงแกก่ ลา้ ยิง่ ขึ้นทกุ ทีเพมิ่ ทวขี ึ้นเรือ่ ยๆ จนถึงกาลบดั น้ี\" พระมหาเถรเจา้ ผู้ชาญฉลาด เม่ือได้โอกาสแลว้ จึงไตถ่ ามตอ่ ไปอกี วา่ \"ขอถวายพระพร พระองค์ทรงสรา้ งพระบารมีมามากมาย เพราะมพี ระทยั ประกอบไปดว้ ยพระอัธยาศยั ๖ ประการ ซง่ึ แสดงวา่ ไม่พอพระทยั ในโลภะ โทสะ โมหะ และมพี ระทัยรักใคร่ปรารถนาในบรรพชาเพศ บรรพชติ มีจติ ยินดพี อใจทีจ่ ะอยใู่ นทีอ่ ันเงยี บสงดั วิเวก อยา่ งนี้ก็เปน็ การดี แตอ่ าตมภาพให้สงสยั แคลงใจ อยู่เปน็ หนักหนาว่าสวรรค์ชนั้ ดสุ ติ ทพี่ ระองคเ์ สวย สขุ สำาราญอยเู่ วลานี้ เห็นทจี ะเงยี บสงัดดอี ยู่ดอกกระมัง?\" \"ข้าแตพ่ ระคุณ! สวรรคจ์ ะเงยี บใยเล่า?\" สมเดจ็ พระศรีอรยิ เมตไตรยเจา้ ทรงตอบตามจริง \"อันสวรรค์ชัน้ ดุสิตภูมิที่โยมอย่เู วลานี้ ย่อมอกึ ทึกครกึ โครมไปด้วยเคร่ืองประโลมจิต เสียงขบั ร้องฆอ้ งกลองพิณพาทย์เปน็ อเนกอนนั ต์ สน่นั เสนาะสาำ เรยี งเสียงไพเราะ ควรจะร่ืนรมยย์ นิ ดี หม่เู ทพนารีอปั สรสวรรค์มีมากหน้าหลาย หมน่ื หลายพันเปน็ นักหนา\" \"ขอถวายพระพร ก็เหตไุ รจึงทนประทับอยไู่ ด้ มเิ ป็นการขัดกบั พระอธั ยาศยั แห่งพระองค์ที่ทรงว่าๆ มาเมอ่ื
44 ตะกน้ี ีด้ อกหรอื นแ่ี หละอาตมาภาพสงสัย?\" \"ข้าแตพ่ ระคณุ ผู้เจริญ! พระคุณนีช่ ่างฉลาดถามนกั หนา\" สมเดจ็ พระศรอี รยิ เมตไตรยเจ้าทรงกลา่ วชม แลว้ ตรัสสืบไปว่า \"เอาเถดิ โยม จะวา่ ใหฟ้ ัง คอื ว่า ธรรมดาสรวงสวรรคช์ ้ันดสุ ติ น้ถี งึ แม้จะมเี สยี งอึกทกึ ครกึ โครม ประกอบไปดว้ ย เคร่อื งประโลมจิตอยู่มากมายกจ็ ริงแล แตท่ ว่าเปน็ ทพ่ี นกั เป็นทีส่ ถติ อยูแ่ หง่ สมเด็จพระบรม โพธิสตั ว์ผ้สู รา้ งพระบารมที กุ ๆ พระองคม์ าเพราะว่าพระโพธิสัตว์เจ้านน้ั คร้นั จุติจากมนุษยโลกแลว้ ย่อมมา อบุ ัติเกดิ ในสวรรคด์ ุสติ นี้ ครนั้ จตุ จิ ากดุสติ สวรรคน์ ้แี ลว้ ก็กลบั ไปเกดิ ในมนุษยโลกอีก ท้งั น้ี ก็เพ่ือทีจ่ ะสรา้ ง สมบ่มเพาะบารมีเพิม่ พระโพธิญาณใหภ้ ญิ โญภาพย่งิ ขึน้ ไป แตเ่ ฝ้าเวียนไปเวียนมาอยู่อยา่ งน้ี หลายคร้งั หลายหนเปน็ ธรรมดา ยกตัวอยา่ งเช่นวา่ โยมนี้ ใชว่ ่าจะพอใจยินดีหลงเพลินเพลินตดิ อย่แู ตใ่ นสวรรค์ช้นั ดสุ ติ นี้ตลอดไป หามิได้ รอคอยจนกวา่ จะสิ้นศาสนาขององค์สมเด็จพระสมณโคดมบรมครเู จา้ แห่งเราทั้ง สองนี้ แล้วมอี ยคู่ ราวหนึง่ี โยมจักกระทาำ อธิษฐานจตุ ิจากสวรรคช์ ั้นดสุ ิตท่ีกาำ ลังอยู่ขณะน้ี ไปบังเกดิ ใน มนุษยโลก แล้วบาำ เพ็ญกองการกุศลเป็นสบื สรา้ งบารมีใหย้ ิง่ ใหญ่ตอ่ ไปอีก ครงั้ สนิ้ ชนมายจุ ุติตายจาก มนุษยโลกในครัง้ น้นั แล้ว กจ็ ักกลับมาอบุ ัตี เิ กดิ เป็นเทพบตุ ร เสวยสขุ อยทู่ ส่ี รวงสวรรคช์ ั้นดสุ ติ น่ีอีกนานแสน นาน จนถงึ กาลทปี่ วงเทพเจา้ ทง้ั หลายในหมน่ื จักรวาลพากันมาอาราธนา ดยมจึงจกั จุติไปอบุ ตั ิเหตุใน มนุษยโลกอกี เป็นครั้งสุดทา้ ย แลว้ จักไดส้ ำาเรจ็ แกพ่ ระปรมาภิเษกสมั โพธิญาณ การณ์เป็นเชน่ นแ้ี ล พระคุณผู้ เจริญ\" สมเด็จพระศรอี ารยิ เมตไตรยทรงอธิบายใหพ้ ระมหาเถรเจา้ ฟังอย่างยืดยาว พทุ ธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธสิ ัตว์เจา้ ท้งั หลาย ซ่ึงมนี ้าำ พระทัยม่งุ หมายพระปรมาภิเษกสมั โพธญิ าณ ประสงคจ์ ักเปน็ เอกองค์สมเดจ็ พระพุทธเจ้าในอนาคตกาลน้นั นอกจากจะมีคณุ สมบัตพิ เิ ศษเกนิ กว่าคนธรรมดาสามัญ หลายอยา่ งหลายประการตามท่ี พรรณนามาแล้ว พระองค์ทา่ นยงั ตอ้ บำาเพ็ญธรรมอันสาำ คัญอย่างย่ิงอกี อยา่ งหน่งึ ธรรมที่ว่านม้ี ชี ือ่ เรียกอย่างรวมๆ ว่า \"พุทธกรณธรรม\" คอื ธรรมพิเศษทกี่ ระทำาให้ไดเ้ ป็นสมเด็จ
45 พระพทุ ธเจ้า หากว่าปราศจากธรรมะพิเศษ หมวดนีก้ ด็ ี หรอื ว่าธรรมะพเิ ศษหมวดนย้ี ังไม่ถึงภาวะบรบิ ูรณ์ เต็มท่ีในขนั ธสันดานกด็ ี พระโพธิสตั วเ์ จ้าทง้ั หลาย ย่อมจักไม่มีโอกาสได้ตรสั แก่พระปรมาภเิ ษกสัมโพธิ ญาณเปน็ อนั ขาด ก็พุทธกรณธรรมซ่งึ เป็นธรรมะพเิ ศษเปน็ เหตุใหไ้ ด้เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้านี้ มีอย่ทู ้งั หมด ๑๐ ประการคือ ๑. ทานพทุ ธกรณธรรม ๒. ศลี พุทธกรณธรรม ๓.เนกขัมมพทุ ธกรณธรรม ๔. ปญั ญาพุทธกรณธรรม ๕. วิริยพทุ ธกรณธรรม ๖.ขนั ตพิ ทุ ธกรณธรรม ๗.สัจจพุทธกรณธรรม ๘.อธฏิ ฐานพุทธกรณธรรม ๙.เมตตาพุทธกรณธรรม ๑๐. อุเบกขาพุทธกรณธรรม พุทธกรณธรรมหรือธรรมพเิ ศษ ท่ีให้ได้สาำ เรจ็ เป็นพระพทุ ธเจ้าทัง้ ๑๐ ประการนี้ มีอรรถาธิบายสาำ หรับดังตอ่ ไปน้ี ๑. ทานพทุ ธกรณธรรม สมเดจ็ พระบรมโพธสิ ัตวเ์ จา้ ทั้งปวง ยอ่ มยินดใี นการบำาเพ็ญทานเป็นเนอื งนิตย์ ไม่ว่าพระองคท์ ่านจะสถติ หรือเกิดในชาติไหน และเสวยพระชาติเป็นอะไร ทุกๆ พระชาติที่เกิดย่อมมีนา้ำ พระทยั ใคร่บรจิ าคท่าน เมือ่ ได้ ประสบพบพานยาจกซงีึ่ เปน็ คนหนิ ชาติ มฐี านะตา่ำ ทรามกด็ ี หรือยาจกผู้มฐี านะมชั ฌิมปานกลางก็ดี หรอื ยาจกผู้ขอซึ่งมฐี านะสูงสุดเปน็ อุกฤษฐ์กด็ ีเมือ่ ขอแลว้ พระโพธสิ ัตวเ์ จา้ จะได้คดิ หนา้ พะวงหลังกห็ ามิไดย้ ่อม รีบเร่งจำาแนกทรพั ย์ธนสารใหเ้ ปน็ ทาน ตามความตอ้ งการของผูข้ อด้วยความยินดีเตม็ ใจอยา่ งยงิ่ สิ่งไรทตี่ น มแี ล้วเป็นตอ้ งให้ทั้งสิน้ ถวลิ หวงั แต่การท่ีจะบริจาคทานเปน็ เบ้ืองหนา้
46 อยา่ ว่าแต่ทรพั ยส์ มบัติ อันเป็นสง่ิ ของภายนอกเลย แม้แตอ่ วัยวะเลือดเนือ้ และชีวิต หากใครคดิ ปรารถนา อยากจะได้และมาเอย่ ปากขอแก่พระโพธิสัตว์ พระองค์กอ็ าจจะบริจาคใหไ้ ดด้ ว้ ยว่า พระโพธิสัตวเ์ จ้าทงั้ หลาย ย่อมมนี ้าำ พระทยั ประดุจดงั ต่มุ ใหญ่ เต็มเป่ียมด้วยนำ้า ท่ถี กู บคุ คลมาจับเทคว่าำ ทาำ ให้ปากตมุ่ ควา่ำ ลง กับพน้ื ก้นตุม่ ปรากฎอยูใ่ นเบอ้ื งบน อยา่ งน้แี ล้วน้ำาภายในตมุ่ น้าำ ก็จกั เหลืออย่แู มแ้ ต่สกั หยดหนึ่งไปได้ อยา่ งไร กนั นำ้าพระทยั ของพระองค์ทา่ นกเ็ ป็นเช่นนนั้ คือ เหมอื นกบั ตุม่ น้าำ ใหญ่ที่ควำ่าลง ยนิ ดใี นการบรจิ าค ทานโดยต้องการใหห้ มดไมม่ เี หลอื ในเมื่อมียาจกผมู้ าขอ ไม่ว่าจะเป็นทรพั ยส์ มบัตภิ ายนอก หรอื วตั ถุภายใน คอื เลือดเน้ือรา่ งกายและชวี ติ ก็ตามที ๒. ศีลพทุ ธกรณธรรม สมเดจ็ พระบรมโพธิสัตวเ์ จ้าทงั้ ปวง ยอ่ มรกั ษาศีล สมาทานศลี ผูกใจมนั่ คงในศลี เปน็ อาจณิ วตั ร ส้อู ตุ สาหะ ปฏิบตั ิตนให้ตัง้ มัน่ อยู่ในศีล ยงั ศีลใหบ้ ริสทุ ธ์ิอยู่เสมอ ตลอดระยะเวลาทกุ ๆ ชาตทิ ่เี กิด ไมว่ ่าจะเกดิ ในชาติ ไหน และเสวยพระชาตเิ ปน็ อะไรก็ตาม พระองค์ทา่ นย่อมสมาทานมั่นคง ไม่ให้ศีลของตนยอ่ หยอ่ นบกพรอ่ ง ได้ ในบางคร้งั แม้จะต้องเสียสละชีวติ เพือ่ รักษาศีลแห่งตนไวก้ ็จำายอม เพียบพร้อมไปดว้ ยนำ้าใจรกั ศีลหาผู้ เสมอเหมอื นมไิ ด้ ในกรณที พ่ี ระบรมโพธสิ ัตว์เจ้า มีนำ้าใจรักในศลี นี้ พงึ เห็นอปุ มาว่า ธรรมดาหมมู่ ฤคจามรี ซี่งึ มีนา้ำ ใจรกั ขน จน ส้สู ละชนมเ์ พือ่ รกั ษาไวซ้ ึ่งโลมชาตแิ ห่งตนฉันใด พระบรมโพธสิ ตั ว์เจ้าทั้งหลายกเ็ ปน็ เชน่ นั้น พระองคท์ ่านสู้ อุตสาหะพยายามรักษาศีล สมาทานศีล มีใจรักในศีล โดยอาการเปรยี บปานดจุ จามรีรกั ในขนหางแหง่ ตน ฉะน้ัน
47 ๓.เนกขัมพทุ ธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธิสตั ว์เจ้าทั้งปวง ยอ่ มมีนา้ำ ใจยินดใี นการบรรพชา คอื หมนั่ ออกจากฆราวาสวิสยั การอยู่ ครองเรอื นไปบวชบาำ เพ็ญพรตพรหมจรรยอ์ ยู่เสมอ บางครัง้ เมอื่ โลกเรานว้ี ่างจากพระพุทธศาสนา เพราะ ไม่มีสมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าเสด็จมาอุบตั ิ พระโพธสิ ัตวเ์ จา้ ทง้ั หลายได้มาเกิดเปน็ มนษุ ยแ์ ล้วย่อมจะ ออกบวชเปน็ โยคี ฤาษดี าบสบาำ เพญ็ พรตเพ่ืออบรมบม่ พระบารมี แตเ่ มื่อถึงคราวท่พี ระบวรพุทธศาสนา ปรากฎในโลก พระโพธสิ ตั ว์เจ้าท้งั หลายย่อมมคี วามเลือ่ มใสในพระรัตนตรยั แลว้ ออกบรรพชา อุปสมบท เป็นสมณะพระภกิ ษุในพระธรรมวนิ ัยแหง่ องค์สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สมั มาสัมพทุ ธเจ้าพระองค์น้ันๆ หมั่นออกบวชเพอื่ สัง่ สมเนกขัมบารมใี ห้ภิญโญภาพยิง่ ขึน้ ไปทกุ ชาตทิ เ่ี กดิ ด้วยมีนาำ้ จติ ยนิ ดใี นภาวะทีจ่ ะ ออกจากทุกขใ์ นวัฏสงสาร พระองคท์ า่ นจึงตัง้ ใจสมาทานถอื มน่ั ในเนกขมั มะการออกบวชอย่เู นอื งๆ มา ในกริ ยิ าทพ่ี ระบรมโพธิสัตว์เจ้า มีจติ ปรารถนาที่จะออกจากทุกขภ์ ยั ในวัฏสงสารน้นั เปรียบปานดงั ความ ปรารถนาของนกั โทษท่อี ยูใ่ นเรือนจำา อนั ธรรมดาบรุ ษุ นกั โทษทปี่ ระพฤติทุจริตมีความผดิ ตอ้ งตดิ คุกตะราง ทนทุกข์ทรมาน ได้รับความราำ คาญขนุ่ ขอ้ งหมองใจหนักหนา ย่อมปรารถนาแต่จะออกไปใหพ้ ้นจากรา้ น เรือนจาำ ที่ตนต้องระกาำ ทุกขอ์ ยเู่ สมอทกุ วันฉนั ใด พระโพธิสัตวเ์ จ้าทง้ั หลายก็เปน็ เช่นน้ัน ย่อมมมี นัสมน่ั หมายที่จะออกไปจากคุกตะรางคอื การเวยี นวา่ ยตายเกิดอยูใ่ นไตรภพ วัฏสงสาร จึงหาทางออกด้วยการ บำาเพ็ญพรต กลา่ วคือเนกขัมมะอยูเ่ นืองนติ ย์ ไม่ยอมที่จะติดเปน็ นักโทษแหง่ วฏั สงสารอยู่ตลอดกาล เปรียบ ปานด้วยนักโทษ ไม่ปรารถนาจะตดิ อยู่ในคกุ ตลอดชวี ิตเรอ่ื ยไป ฉะน้ัน ๔. ปัญญาพุทธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธสิ ตั ว์เจ้าท้งั ปวง ย่อมเพ่ิมพนู ปญั ญา หมายความว่า ยอ่ มแสวงหาวชิ าความรู้ อนั เปน็ บ่อ เกิดแหง่ ปญั ญาอยู่เป็นเนอื งนิตย์ หมัน่ อบรมจติ ใหป้ ระกอบด้วยปญั ญาอยเู่ สมอ ทัง้ นก้ี เ็ พราะปัญญาเปน็
48 ธรรมสูงสดุ อันผูป้ รารถนาพระพุทธภมู ิพงึ ขวนขวาย ฉะนั้น พระโพธิสตั วเ์ จา้ ทงั้ หลาย จงึ ขวนขวายอุตส่าห์ พยายามอบรมส่งั สมปญัี ญาบารมที ุกชาตทิ เี่ กดิ ไมว่ า่ จะเกิดในชาตไิ หน และเสวยพระชาติเป็นอะไร ก็ตอ้ ง ต้งั ใจสมาทานปญั ญาบารมีเป็นสำาคญั หม่นั เสพสมาคมกบั ทา่ นผรู้ ู้ ผู้เปน็ นักปราชญ์ ย่อมไมเ่ ลือกเลยซึ่งชน ผู้มคี วามรู้ ไมว่ า่ ผู้นนั้ จะเป็นใครกต็ าม ขอแตใ่ หป้ ระกอบไปด้วยความร้กู ็แลว้ กัน พระองคท์ า่ นยอ่ มยนิ ดใี คร่ จะคบหาสมาคมไมเ่ ลือกหนา้ พรอ้ มท้งั เอาใจใสไ่ ต่ถามซึง่ อรรถธรรมและเหตุการณ์ท้งั ปวงเป็นเนอื งนิตย์ ดว้ ยมนี ้าำ จติ ไม่รู้จกั อม่ิ ในวิทยาการท้ังปวง ในกรณที พ่ี ระโพธิสัตว์เจ้า แสวงหาความรอู้ นั เป็นการสงั่ สมปญั ญานี้ พึงทราบอุปมาวา่ ธรรมดาพระภืิกษุ สงฆอ์ งคส์ าวกของสมเดจ็ พระจอมมนุ สี มั พุทธเจ้า ผู้ประพฤติตามอรยิ วงศป์ ระเวณีน้นั ครั้นเมื่อโคจรเทยี่ วไป บณิ ฑบาต จะได้เลือกลลี าศหลกี เล่ียงตระกลู ทสี่ ูงตำา่ ปานกลางใดๆ กห็ ามไิ ด้ ย่ิอมเที่ยวบิณฑบาตเรอ่ื ยไป สุดแท้แต่วา่ ใครจะเอาอาหารมาใสล่ งในบาตรก็ยนิ ดีรับเอาไมเ่ ลอื กหนา้ วา่ ไพร่ ผู้ดี ยาจก เศรษฐผี ูใ้ ด เพราะ มคี วามประสงค์เพียงจะไดอ้ าหารพอเป็นยาปรมัตเครอ่ื งเลยี้ งชพี ตนให้คง อยู่ เพื่อบาำ เพญ็ สมณกิจแหง่ ตน อย่างเดียวเป็นประการสำาคญั จะไดเ้ ลือกผู้ใหอ้ าหารอันเปน็ บิณฑบาตทานแก่ตนเป็นไมม่ ีเลย อุปมาขอ้ น้ี ฉนั ใด พระโพธิสตั ว์เจา้ ทง้ั หลายก็เป็นเชน่ นัน้ เมอื่ มีมนสั มนั่ มงุ่ หมายพระปรมาภเิ ษกสัมโพธญิ าณ กด็ ัน้ ด้น ค้นควา้ แสวงหาปัญญาความรู้ ไมเ่ ลือกท่านผู้เป็นครู ผู้ให้วิชาว่าจะเป็นอย่างไร ขอให้มีความรทู้ ีจ่ ะให้ วทิ ยาการแกต่ นก็แลว้ กนั พระองค์ท่านย่อมพอใจหมนั่ คบหาสมาคม ไต่ถามนาำ เอาความรูม้ าสัง่ สมไว้ในจิต สันดานของตนเปน็ เนอื งนิตย์ เพอ่ื ให้ผลผลิตเป็นปญั ญาบารมยี ง่ิ ๆ ขน้ึ ไป ๕. วิริยพทุ ธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธิสัตว์เจ้าทงั้ ปวง ยอ่ มเพิ่มพนู วริ ิยะความเพยี รเป็นย่ิงยวด คือมนี าำ้ ใจกล้าหาญ ในการทีจ่ ะ ประกอบกุศลกรรมทาำ ความดอี ย่างไม่ลดละ เพราะโพธิญาณอนั เป็นสิ่งประเสริฐสดุ ยอดนน้ มใิ ชเ่ ปน็ ธรรมที่ จะพงึ ไดโ้ ดยงา่ ย โดยทแี่ ท้ตอ้ งอาศัยความเพยี รอันย่งิ ใหญ่จงึ จะให้สาำ เร็จได้ ด้วยเหตนุ ้ีพระโพธสิ ตั วเ์ จ้าทง้ั หลาย จึงสูอ้ ตุ สาหะพยายามเพิม่ พูนวิริยะธรรมทุกๆ ชาตทิ เี่ กดิ ไม่ว่าจะเกดิ ในชาตไิ หนและเสวยพระชาติ
49 เป็นอะไร ก็ต้งั ใจสมาทานถือม่นั ในวริ ิยะธรรมเปน็ สำาคญั ประกอบความเพียรเป็นสามารถองอาจไมท่ อ้ ถอย ในการก่อสรา้ งกองการกศุ ล จนในบางครงั้ แมจ้ กั ตอ้ งถึงแกช่ ีพติ กั ษัย ก็ไม่คลายความเพียรไมย่ น่ ย่อครนั้ คร้ามขามขยาดตอ่ อุปสรรคอันตรายท้ังหลาย ท่ีบงั เกิดมี ในกรณีท่พี ระโพธสิ ัตว์เจา้ มนี าำ้ ใจประกอบไปดว้ ยความเพยี รอนั ยงิ่ ใหญ่ เพื่อได้ตรสั เป็นเอกองค์สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถนี้ พึงทราบอุปมาว่า ธรรมดาพญาไกรสรสีหราชมฤคินทรซ์ งีึ เรอื งฤทธิ์ คราวเมอื่ มจี ิต ปรารถนาจะขึน้ น่งั แท่น ยอ่ มจะแลน่ เลี้ยวไมล่ ดละ อุตสาหะพยายามอย่างย่งิ ยวด แมจ้ ะพลาดพลง้ั อยคู่ รงั้ แล้วคร้ังเล่ากไ็ ม่ถอย เพียรพยายามอยนู่ กั หนาจนกว่าจะขึน้ น่งั แท่นไดส้ ำาเร็จ อปุ มาข้อนีฉ้ ันใด พระบรมภูมิ อนั ประเสรฐิ สดุ ประมาณ ยอ่ มมีน้ำาใจอาหาญประกอบไปดว้ ยอุตสาหะพยายามอนั เป็นวิริยธรรม ไม่ท้อถอย ไมย่ งั้ หยดุ จนกวา่ จะถงึ จุดมุง่ หมาย กลา่ วคือพระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณ ๖. ขนั ตพิ ุทธกรณธรรม สมเดจ็ พระบรมโพธสิ ตั วเ์ จ้าท้ังปวง ย่อมพยายามเพม่ิ พูนขันติ คือความอดทนเป็นอยา่ งยิง่ ทง้ั น้ี ก็เพราะวา่ พระโพธิญาณจักสำาเรจ็ สมความมงุ่ หมายไดน้ นั้ ตอ้ งอาศัยความอดทนอนั ยง่ิ ใหญ่เปน็ ประการสำาคัญ ถา้ มี น้าำ ใจไมม่ ั่นคง ไม่มีขนั ติความอดทน ยอมตนเป็นประดุจดงั ทาสแหง่ บรรดาสรรพกิเลสอยู่เสมอไปแล้ว ก็ ย่อมจักแคล้วคลาดจากพระโพธิญาณ การใหญค่ อื พระพุทธภูมิปรารถนากไ็ ม่มีวันทีจ่ ะสำาเรจ็ ลงได้ ด้วยเหตุ นี้พระโพธิสัตวเ์ จ้าทงั้ หลาย จึงพยายามสั่งสมซีึ่งพระขนั ติธรรมอย่เู สมอทกุ ชาตทิ เ่ี กดิ ไม่วา่ จะเกิดในชาติ และเสวยพระชาตเิ ป็นอะไรก็ตาม พระองค์ทา่ นย่อมสมาทานมัน่ ในขันติธรรม อุตส่าห์ระงับใจไม่ใหเ้ กิด ความปฏิฆะ ความขนุ่ ขอ้ งหมองกมลได้ ในบางครั้งสู้อดทนจนถึงแกช่ ีพติ กั ษยั ก็มี ในกรณีพระโพธิสัตวเ์ จ้าทัง้ หลายมีนำ้าใจประกอบไปด้วยขันติธรรมความอดทนน้ี มีอุปมาท่ีทา่ นกล่าวไว้วา่ ธรรมดาพน้ื พสุธาคือแผ่นดิน ย่อมอดทนทรงไว้ซง่ึ สัมภาระน้อยใหญค่ นทั้งหลายในโลกนี้ พากันทิ้งถมระดม สาดวัตถสุ งิ่ ของทส่ี ะอาดกม็ ี และของทีโ่ สโครกไมส่ ะอาดก็มี เปน็ สัมภาระส่ิงของมากมายนกั หนา ลงบน
50 แผน่ พสุธาไมว่ า่ งเว้นตลอดทุกวนั เวลา แต่ว่าพ้นื พสุธากด็ ีใจหาย จะได้สำาแดงอาการรำาคาญเคืองหรือยนิ ดี ชอบใจในพัศดสุ ิง่ ใดสิ่งหนงึ่ ทีบ่ ุคคลทง้ิ ลงทับถมเอาตามขอบใจเป็นไมม่ ีเลย เฉยอย่อู ย่างนน้ั ชัว่ กัปชว่ั กัลป์ อปุ มาข้อน้ีฉนั ใด พระโพธสิ ตั วเ์ จา้ ทง้ั หลายก็เปน็ เช่นน้นั เมอื่ มมี นสั มน่ั ม่งุ หมายเอาพระโพธญิ าณอัน ประเสริฐเลศิ ล้าำ ท่านยอ่ มพยายามส่ังสมขันติธรรมบำาเพ็ญตนไม่ใหม้ อี าการโกรธพิโรธจิต คดิ มุ่งร้ายหมาย ประหารดว้ ยความเดอื ดดาลในนา้ำ ใจ ไม่ใชเ่ กิดมีอาการหวน่ั ไหว ในเหตุการณท์ ้ังปวงจนกวา่ จะลุล่วงถึงพระ ปรมาภิเษกสัมโพธญิ าณ ๗. สจั จพุทธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธิสตั วเ์ จ้าทง้ั หลาย ยอ่ มพยายามเพ่มิ พนู สัจธรรมเป็นย่ิงนกั คือมีน้ำาใจประกอบไปด้วย สจั จะไม่ละความสตั ย์ซื่อตรง หากพระองค์ท่านได้ตงั้ สัจจะลงไปในการใดแล้วก็เท่ียงตรงการน้ันไมแ่ ปรผนั ยักยา้ ย ดว้ ยว่า พระพทุ ธภมู อิ นั ย่ิงใหญจ่ ักสาำ เรจ็ ลงได้ ต้องอาศยั สจั จะ กล่าวคอื ความตรงความจรงิ เปน็ ประการสาำ คัญ ดังนัน้ พระโพธิสตั ว์เจ้าทง้ั หลายจึงพยายามสงั่ สมสัจธรรมอยูเ่ สมอทุกชาติทีเ่ กดิ ไม่วา่ จะเกดิ ในชาติใด และเสวยพระชาตเิ ปน็ อะไรก็ตามที ยอ่ มพยายามทีจ่ ะรักษาความสตั ย์ เชน จะรกั ษาวาจาคาำ พดู แหง่ ตนไมใ่ หล้ ว่ งละเมิดเกิดเปน็ เท็จขึ้นมาได้ อันเปน็ กริ ยิ าที่โกหกทัง้ ตนเองและผ้อู ่นื มคี วามเท่ยี งธรรม ประจาำ ใจนักหนา เสมอด้วยตราชคู ันชงั่ อนั เท่ียงตรง บางครัง้ ถงึ กับยอมให้ถึงแกช่ ีพติ ักษัย เพือ่ รักษาสจั จะ เอาไว้กม็ ี ในกรณที ่พี ระบรมโพธสิ ัตวเ์ จา้ ท้งั หลายมนี ำา้ ใจประกอบไปด้วยสัจจะความเที่ยง ตรงนี้ มอี ุปมาท่ที า่ นกลา่ ว ไวว้ ่า ธรรมดาโอสธิดาราคอื ดาวประกายพรึกนั้น เมื่อเคยขึ้นประจาำ อยู่ทิศไหน กย็ ่อมโคจรข้นึ ประจาำ อยทู่ ิศ น้นั วถิ ีนน้ั จะได้แปรเปลีย่ นเยอื้ งยักไปปรากฎขึน้ ในทศิ อ่ืนก็หามิได้ ย่อมทรงไว้ซงึ่ ความเทย่ี งตรงนกั ไมว่ ่า กาลไหนฤดไู หน อปุ มาข้อนฉ้ี นั ใด พระโพธิสตั ว์เจา้ ท้ังหลายกเ็ ปน็ เช่นั้น เมอ่ื มีมนสั มนั่ ม่งุ หมายเอาพระ โพธญิ าณอนั ประเสริฐเลิศลำา้ ยอ่ มพยายามสง่ั สมสจั ธรรมบาำ เพ็ญตนต้ังอยูใ่ นความสตั ย์ ไมต่ ระบัดบดิ เบอื น แปรผัน ต้ังม่ันอยใู่ นความเทยี่ งตรงเป็นล้นพน้ จนกว่าจะได้สาำ เร็จผลพระปรมาภิเษกสมั โพธญิ าณ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261