Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาสันสกฤตสำหรับบุคคลทั่วไป

ภาษาสันสกฤตสำหรับบุคคลทั่วไป

Description: ภาษาสันสกฤตสำหรับบุคคลทั่วไป

Search

Read the Text Version

s<Skt« ภาษาสนั สกฤต สาหรบั บคุ คลท่ัวไป ผศ.ดร.ระวี จนั ทร์สอ่ ง สาขาวชิ าภาษาบาล-ี สันสกฤต-ฮนิ ดี คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

คำนำ หนงั สือเลม่ นี้ จัดทำขนึ้ เพือ่ เป็นค่มู ือในกำรเรยี นภำษำสันสกฤตสำหรบั ผู้สนใจ ทว่ั ไป ประกอบไปด้วยประวัติควำมเป็นมำของภำษำสันสกฤต คนไทยกับกำร เรยี นภำษำสันสกฤต ตลอดจนไวยำกรณ์เบือ้ งตน้ ท่ีควรทรำบ อักษรที่ใช้ในเล่มประกอบไปด้วยอักษรไทย อักษรเทวนำครี และอักษรโรมัน ซึ่งเป็นอักษรท่ีผู้สนใจภำษำสันสกฤตควรทรำบ กำรใช้อักษรเทวนำครีน้ัน ก็เพื่อต้องกำรให้ผู้เรียนได้ทำควำมคุ้นเคยกับอักษร เพรำะตำรำสันสกฤตสว่ น ใหญ่บันทึกด้วยอักษรเทวนำครี ซ่งึ จะเป็นประโยชน์ในกำรศึกษำในระดับสูง ข้ึนไป ส่วนกำรใช้อักษรโรมันก็เพ่ือช่วยให้อ่ำนได้ง่ำยข้ึน และยังเป็นอักษร สำกลทค่ี นท่วั โลกใชใ้ นกำรปรวิ รรตอกั ษรต่ำงๆ อกี ดว้ ย สำหรับเนื้อหำไวยำกรณ์ พยำยำมจัดลำดับเนื้อหำให้ง่ำยต่อกำรทำควำม เข้ำใจ และได้ตัดกฎเกณฑ์บำงอย่ำงที่ซับซ้อนออกไป คงไว้แต่ส่วนท่ีจำเป็น เท่ำนั้น เน้ือหำแต่ละตอนประกอบด้วยวิธีกำรพร้อมด้วยตัวอย่ำง และยังมี แบบทดสอบทำ้ ยคำบเพื่อทดสอบควำมเขำ้ ใจของผ้เู รยี นดว้ ย ขอขอบคุณคณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ที่ให้ทุนสนับสนุนกำร จัดทำหนังสือในเบื้องต้น บุญกุศลใดท่ีเกิดขึ้นจำกกำรให้ควำมรู้เป็นทำน ขอบุญกุศลน้ันจงบังเกิดแก่ พ่อแม่ครูบำอำจำรย์ ผู้มีพระคุณทุกท่ำนที่ ประสิทธปิ์ ระสำทวิชำควำมรู้ใหแ้ ก่ข้ำพเจำ้ ดว้ ยเทอญ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้เร่ิมศึกษำภำษำ สนั สกฤตทกุ คน ผศ.ดร.ระวี จันทรส์ อ่ ง สำขำวชิ ำภำษำบำลี-สันสกฤต-ฮนิ ดี คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ก

สำรบญั ก จ คำนำ คำชี้แจงอักษรยอ่ 1 2 ตอนที่ 1 สงั เขปสนั สกฤต 4 5 - ควำมหมำยของสนั สกฤต 5 - ภำษำตระกลู อนิ โด-ยุโรเปยี น - สนั สกฤตพระเวทกบั สนั สกฤตแบบแผน 12 - อกั ษรทีใ่ ช้เขียนภำษำสนั สกฤต 14 - คนไทยกบั กำรเรียนภำษำสันสกฤต 16 18 ตอนที่ 2 อักขรวิธี 19 21 - เสียงสระ 23 - เสยี งพยัญชนะ 26 - ฐำนกรณ์ - กำรประสมพยญั ชนะและสระ 31 - เครอ่ื งหมำยกำกับเสยี ง 33 - พยญั ชนะสังยกุ ต์ 36 - พยัญชนะซ้อน 38 - ฝึกอำ่ นอกั ษรเทวนำครี ตอนท่ี 3 สนธิ - สระสนธิ - กฎกำรสนธิ - ตำรำงสำเร็จรปู สระสนธิ - ขอ้ ยกเว้นสนธิ ข

ตอนท่ี 4 กริยำ 43 48 - องค์ประกอบของกริยำ 66 - วภิ กั ติ lq! (laṭ) 76 - วภิ กั ติ l'! (laṅ) 84 - วภิ กั ติ laeq! (loṭ) - วภิ กั ติ ivixil'! (vidhiliṅ) 92 94 ตอนท่ี 5 นำมศพั ท์ 98 99 - นำมศัพท์ 102 - กำรแจกวภิ กั ตนิ ำมศพั ท์ 105 - คำแปลวิภกั ตนิ ำม 120 - พยัญชนะสนธิ 130 - ตำรำงสำเรจ็ รูปพยญั ชนะสนธิ 140 - นำมศพั ท์ อ กำรนั ต์ 143 - นำมศพั ท์ อิ กำรนั ต์ 146 - นำมศัพท์ อุ กำรนั ต์ 150 - นำมศัพท์ อำ กำรนั ต์ - นำมศพั ท์ อี กำรันต์ 165 - นำมศัพท์ อู กำรนั ต์ 166 - นำมศพั ท์ ฤ กำรันต์ 167 ตอนที่ 6 คุณศพั ท์ - ตวั อยำ่ งคุณศพั ทข์ ยำยปลุ ลงิ ค์ - ตัวอย่ำงคุณศัพทข์ ยำยนปุงสกลงิ ค์ - ตัวอย่ำงคุณศัพทข์ ยำยสตรลี ิงค์ ค

ตอนที่ 7 สรรพนำม 173 174 - สรรพนำม 182 - กำรแจกวิภกั ติบรุ ษุ สรรพนำม - กำรแจกวิภักติวเิ ศษณสรรพนำม 212 218 ตอนที่ 8 สังขยำ 218 229 - สังขยำ 1-100 231 - สงั ขยำจำนวนเต็ม 250 - กำรแจกวภิ กั ตสิ ังขยำ บรรณำนุกรม ศพั ทำนกุ รมสนั สกฤต-ไทย (กริยำ) ศัพทำนุกรมสันสกฤต-ไทย (นำมศพั ท์) ง

คำช้ีแจงอกั ษรย่อ อ. หมำยถงึ อันว่ำ ทส. หมำยถงึ ท้งั สอง ท. หมำยถงึ ทั้งหลำย เอก. หมำยถงึ เอกวจนะ ทว.ิ หมำยถึง ทวิวจนะ พหุ. หมำยถึง พหวุ จนะ ป. หมำยถึง ปรัสไมปทีธำตุ อำ. หมำยถึง อำตมเนปทธี ำตุ ปรสั . หมำยถึง ปรัสไมบท อำต. หมำยถึง อำตมเนบท อ.ุ หมำยถงึ อภุ ยปทีธำตุ ปลุ . หมำยถงึ ปุลลงิ ค์ (เพศชำย) นปุง. หมำยถึง นปงุ สกลิงค์ สตรี. หมำยถึง สตรีลิงค์ (เพศหญิง) คุณ. หมำยถงึ คณุ ศัพท์ สัง. หมำยถงึ สังขยำ อัพย. หมำยถึง อพั ยยศพั ท์ ก.ิ วิ. หมำยถึง กรยิ ำวิเศษณ์ 1 หมำยถึง ธำตหุ มวดท่ี 1 ตวั อยำ่ งเช่น 1 ป. หมำยถึง ธำตุ → หมำยถึง หมวดท่ี 1 ปรัสไมปทธี ำตุ (ถำ้ เปน็ ตัวเลขอื่นก็ใหท้ รำบโดยนยั น)้ี เปลีย่ นเป็น, กลำยเป็น จ

ตอนที่ 1 สงั เขปสนั สกฤต มีนักภาษาศาสตร์ชาวตะวนั ตกกลา่ วถงึ ไวยากรณ์สันสกฤตไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจว่า “one of the greatest monuments of human intelligence and …an indispensable model for the description of languages” (Bloomfield 1929: 268) คาพูดดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความน่าสนใจและความสาคัญของภาษา สันสกฤตต่อการศึกษาภาษาต่างๆ เป็นอย่างย่ิง แม้จะเป็นท่ีทราบกันดีว่า ภาษาสันสกฤตมคี วามเก่าแก่และมีวิวฒั นาการยาวนานหลายพันปี อกี ทงั้ ยังมี ความเกี่ยวข้องกับพราหมณ์และศาสนาฮินดู แต่สาหรับวงการภาษาศาสตร์ ภาษาสันสกฤตพึ่งได้รับความสนใจเมื่อสามร้อยกว่าปีมานี้เอง เม่ือมีการ ค้นพบความสมั พันธร์ ะหว่างภาษาสนั สกฤตและภาษาละตินในศตวรรษที่ 18 การค้นพบนี้ทาให้เกิดการศึกษาเปรียบเทียบภาษาสันสกฤตกับภาษาตระกูล ต่างๆ จนพัฒนามาเปน็ ภาษาศาสตรเ์ ปรยี บเทยี บและเชงิ ประวตั ิในเวลาต่อมา เบื้องต้นนี้จะขอกล่าวถึงความหมาย และความเป็นมาของตระกูลภาษาท่ี เก่ยี วข้องกับภาษาสันสกฤต และภาษาสันสกฤตในยคุ ตา่ งๆ รวมถงึ คนไทยกับ การเรียนภาษาสนั สกฤตตามลาดับ ความหมายของสนั สกฤต หากพจิ ารณาตามรปู ศพั ทท์ ่ีปรากฎคาว่า “สันสกฤต” มาจากคาว่า ส + กฤต (saṃ + kṛt) ส เป็นอุปสรรค แปลว่า ดี, พร้อม, สมบูรณ์ กฤต เป็นกริยา กฤต แปลว่า ทาแล้ว เมื่อรวมเข้าด้วยกันจึงแปลว่า “ตกแต่งดีแล้ว, ทาให้ดี แล้ว, ผสมกันดีแล้ว” หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ภาษาที่ได้รับการพัฒนาไว้อย่าง สมบูรณ์แล้วนัน่ เอง

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป ภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสันสกฤตจัดอยู่ในตระกู ลอินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) เช่นเดียวกับหลายภาษาในยุโรป เช่น อังกฤษ ละติน กรีก ในบรรดาภาษา เหล่าน้ี สันสกฤตได้ชื่อว่าเป็นภาษาเก่าแก่ที่สุดท่ีมีการบันทึกไว้ สาขาหน่ึง ของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน คือ อินโด-อิราเนียน (Indo-Iranian) ผู้ใช้ ภาษาในสาขานี้เรียกว่า อารยัน (āryan) ซึ่งมาจากศัพท์สันสกฤตว่า ārya และจากศัพท์เปอร์เซียโบราณว่า airya อันเป็นต้นกาเนิดของคาว่า Iran นั่นเอง ภาษาในสาขาน้คี ือภาษาอนิ เดยี (Indic) และอิหร่าน (Iranian) หรอื (Persian) แตใ่ นท่นี ีจ้ ะกล่าวเฉพาะภาษาอินเดยี เท่านนั้ เม่ือ 2,000-1,500 ปี ก่อนคริสตกาล ชาวอารยันพวกหน่ึงได้อพยพเข้าไปใน อินเดียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งขณะนั้นชาวพ้ืนเมืองด้ังเดิมใช้ภาษา ทราวิฑ ต่อมาชาวอารยันได้พัฒนาและเพิ่มความสาคัญมากข้ึนจนกลายเป็น ภาษาหลักของอินเดียเหนือ หรือท่ีเรียกว่าภาษา อินโด-อารยัน ภาษานี้ แบง่ เปน็ 3 ระยะดว้ ยกันคือ ● อนิ โด-อารยนั ยุคเกา่ ประมาณ 1,000 ปี ก่อนครสิ ตกาล ยุคเกา่ น้มี ี 2 ภาษาคือ ภาษา พระเวท กับภาษาสันสกฤต ภาษาพระเวท จะใช้ในบทสวดคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน เน่ืองจากพระเวทแต่งขึ้นในสถานที่และยุคสมัยต่างกัน ภาษาที่ใช้จึงต่างกัน บางคร้ังต้องอาศัยการอธิบายจึงจะเข้าใจได้ เมื่อเวลาผ่านไป ภาษาในคมั ภรี ์ ก็ผิดเพี้ยนไปจากของเดิม พวกนักปราชญ์ก็คิดกันว่าจะทาอย่างไรจึงจะ ถ่ายทอดคัมภีร์ได้อย่างถูกต้อง จึงพยายามวางหลักไวยากรณ์ เริ่มด้วยการ อธิบายเสียง และรูปอักษรเพื่อให้ออกเสียงได้ถูกต้อง จึงอาจกล่าวได้ว่า การศกึ ษาไวยากรณข์ องอินเดยี เร่มิ มาจากศาสนานั่นเอง 2

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทัว่ ไป ภาษาสันสกฤต หลังจากปาณินิ นักภาษาศาสตร์คนสาคัญได้ จัดระบบภาษาพระเวท และเขียนตาราช่ือ อัษฏาธยายี ขึ้นแล้ว จึงเกิดภาษา ที่เรียบเรียงและตกแต่งใหม่เรียกว่า ภาษาสันสกฤต สมัยต่อมา นักภาษาศาสตร์นิยมเรียกภาษาพระเวทว่า ภาษาสันสกฤตพระเวท (Vedic Sanskrit) และเรียกภาษาสันสกฤตว่าภาษาสันสกฤตแบบแผน (Classical Sanskrit) ● อนิ โด-อารยันยคุ กลาง ประมาณ 240 ปี ก่อนคริสตกาลถึงคริสต์ศตวรรษที่10 มพี ฒั นาการมาจากภาษาพระเวท แบ่งออกเปน็ 2 สาย สายแรก หมู่นักปราชญ์ได้ชาระสะสางให้มีกฎเกณฑ์รัดกุมเรียก กันวา่ ภาษาสันสกฤต คอื ภาษาทตี่ กแตง่ แล้ว สายท่ีสอง พัฒนาการอยู่ในหมู่ชาวบ้าน มีการเปล่ียนแปลงตาม ธรรมชาติและได้ปะปนกับภาษาพื้นเมืองเดิม เรียกว่า ภาษาปรากฤต คือ ภาษาธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงจากภาษาพระเวทมาเปน็ ภาษาปรากฤต เป็นการ เปล่ียนแปลงทางด้านการลดขั้นตอนความสลับซับซ้อนและกฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น ทาสระและพยญั ชนะให้น้อยลง มีตวั ควบกล้าน้อยลง มีขอ้ ยกเวน้ ในการ สนธิ และมกี ารกลมกลนื เสียงเพ่ือให้ออกเสียงได้ตามธรรมชาติ จึงทาให้เป็น ภาษาที่งา่ ยข้นึ กว่าเดิมมาก นักภาษาได้แบง่ ภาษาปรากฤตเป็นกลุ่มดงั นี้ - ปรากฤตยุคเก่า ได้แก่ภาษาของแคว้นมคธหรือภาษาบาลีที่พบใน จารึกของพระเจ้าอโศก ประมาณ 250 ปี ก่อนคริสตกาล ภาษาบาลีใน พระไตรปิฎก และในวรรณคดีพุทธศาสนา อย่างเช่น คัมภีร์มหาวงศ์และ ชาดก และภาษาบาลีในคัมภีร์ของเชน นอกจากน้ียังพบว่า บทละครสมัย 3

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป ต้นๆ เชน่ ของอัศวโฆษ มีการใช้ภาษาปรากฤตทีเ่ กา่ แก่พอท่ีจะจัดอยใู่ นกลุ่ม ปรากฤตยคุ เกา่ นี้ด้วย - ปรากฤตยุคกลาง ได้แก่ภาษาปรากฤตท่ีใช้ในบทละคร เช่น ภาษา มหาราษฏรี ภาษาเศารเสนี ภาษามาคธี และภาษาอรรธมาคธี กล่าวคือตัว ละครหญิงมักจะพูดภาษาเศารเสนี แต่เมื่อร้องเพลงจะใช้ภาษามหาราษฏรี วิทูษกะ (สหายของพระเอก)ใช้ภาษาเศารเสนี ส่วนตัวละครเล็กๆ เช่น ชาวประมงในเรื่องศกุนตลา ใช้ภาษาอรรธมาคธี เป็นต้น นอกจากน้ียังมี ภาษาศาจี ที่เชื่อกันว่าคุณาฒยะ ใช้เขียนนิทานเร่ืองพฤหัตกถา ซึ่งเป็นต้น กาเนดิ ของกถาสรติ สาคร - ปรากฤตยุคหลัง ได้แก่ภาษาอปภรศะ ซึ่งไม่ปรากฏมากนักใน วรรณคดี ● อนิ โด-อารยนั ยุคปจั จบุ ัน คือภาษาท่ีใช้พูดกันในปัจจุบันตามท้องถิ่นต่างๆ เช่น เบงกาลี ปัญจาบี ฮินดี เป็นต้น ในทน่ี ้ีจะไมก่ ลา่ วถงึ สนั สกฤตพระเวทกับสันสกฤตแบบแผน ภาษาสันสกฤตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สันสกฤตพระเวทและ สันสกฤตแบบแผน สันสกฤตพระเวทเป็นภาษาของกลุ่มคัมภีร์สหิตาและ พราหมณะ เก่าแกก่ ว่าภาษาสันสกฤตแบบแผน มีคัมภรี ท์ ีเ่ กา่ แก่ทีส่ ดุ ในกลมุ่ นี้ คือ ฤคเวท หรอื ฤคเวทสหติ า ส่วนสันสกฤตแบบแผนเป็นภาษาท่ีได้รับการพัฒนามาจากภาษาสันสกฤต พระเวทมาอกี ตอ่ หนึง่ มกี ารต้งั กฎเกณฑ์ทางไวยากรณท์ ช่ี ัดเจนและเปน็ ระบบ 4

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป ซึ่งนักไวยากรณ์ที่ได้รับการยกย่องว่าเก่งและฉลาดที่สุดคนหนึ่งของโลกคือ ทา่ นปาณนิ ิ ผเู้ ชียนตาราไวยากรณ์ “อัษฏาธยายี” หรอื คัมภีรแ์ ปดบท อนั โดง่ ดังและเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง สันสกฤตแบบแผนน้ีเป็นภาษาของ วรรณกรรมท่ีสาคัญของอินเดียหลายเรื่อง เช่น มหากาพย์รามายณะ มหา กาพย์มหาภารตะ และวรรณกรรมยคุ หลัง เช่น ศกนุ ตลา เมฆทูต เปน็ ตน้ อักษรท่ใี ช้เขยี นภาษาสนั สกฤต ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาเสียงหรือ สัททภาษา ไม่มีอักษรเป็นของตนเอง เช่นเดยี วกบั ภาษาบาลี ดงั น้ัน ภาษาสันสกฤตจงึ สามารถเขียนด้วยอกั ษรชนิด ใดก็ได้เพื่อมาแทนเสียง เช่น ประเทศอินเดียใช้อักษรเทวนาครี ศรีลังกาใช้ อกั ษรสงิ หล ประเทศไทยใช้อักษรไทย ประเทศแถบทวีปยุโรปและอเมริกาใช้ อักษรโรมัน เป็นตน้ คนไทยกับการเรยี นภาษาสันสกฤต ขอนาบทความจากหนังสือสันสกฤตวิจารณา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การสอนภาษาสันสกฤต ซ่ึงเขียนโดยศาสตราจารย์ ดร.กุสุมา รักษมณี ท่าน อาจารย์ได้เขียนไว้อย่างน่าสนใจ เป็นบทความที่มีประโยชน์สาหรับคนไทย และการเรียนภาษาสันสกฤตอย่างยิ่ง หากข้าพเจ้าเขียนเองก็คงไม่ได้สาระ ครบถ้วนและครอบคลุมอยา่ งน้ี จึงขอยกบทความมาทั้งหมดดังน้ี นักศึกษาภาษาและวรรณคดไี ทยต่างยอมรับว่าภาษาสันสกฤตมีประโยชนต์ ่อ การศึกษาวิชาการของตน แต่หลายคนยังคงมองภาษาสันสกฤตด้วยสายตา ของคนนอก บ้างก้เข้าไปทาความรู้จักบ้างแล้ว และตีตราภาษาสันสกฤตว่า “ยาก” 5

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป อันที่จริงภาษาสันสกฤตก็มิได้ยากไปกว่าภาษาอ่ืนๆ นักวิชาการภาษาเกือบ ทุกคนน่าจะเรยี นได้ถ้าใจรัก ส่ิงท่ีทาให้ภาษาสันสกฤตดูท่าว่าจะยากอาจเป็น ตัวอักษร ภาษาสันสกฤตนยิ มใช้อกั ษรเทวนาครีเปน็ ตวั เขียน อักษรเทวนาครี มีพัฒนาการมาจากอักษรพราหมี ตามสายตาคนไทย เมื่อเพ่งพินิจให้ดี จะ เห็นเค้าว่าอักษรเทวนาครีเป็นลูกหลานที่มาจากเชื้อสายเดียว กันกับ อักษรไทย ถ้าจับอักษร ก. ของเทวนาครีมาบีบปากใหเ้ ล็กลงก็จะคลา้ ย ก.ไก่ ของไทยเรานัน่ เอง หรือจบั อักษร ม. ของเทวนาครีมาตดั หางเสีย จะคลา้ ย ม. มา้ ของเราอกี ตาแหนง่ สระของเทวนาครีมีทั้งขา้ งหนา้ ขา้ งหลงั ขา้ งบน และ ข้างล่างพยัญชนะ เช่นเดียวกับอักษรไทย จะยากกว่าก็ตรงพยญั ชนะซอ้ นทม่ี ี ท้ังซ้อนสองตัว ซอ้ นสามตัว และซอ้ นแลว้ เปลยี่ นตัวไปเลย ในการศึกษาภาษาสันสกฤต หากประสงค์จะเข้าถึงข้อมูลปฐมภูมิซ่ึงมีอยู่ มากมายก็จาเป็นต้องเรียนอ่านอักษรเทวนาครีให้ได้ หลักสูตรวิชาภาษา สันสกฤตในสถาบันต่างๆ จึงกาหนดเงื่อนไขนี้ไว้ แต่หากจะเรียนภาษา สันสกฤตเพียงเพื่อให้เข้าใจอิทธิพลของภาษาสันสกฤตในภาษาไทยหรือเพื่อ เป็นความรพู้ ้นื ฐานในการศกึ ษาวรรณคดสี นั สกฤตแลว้ นามาพิจารณาอิทธิพล ของวรรณคดีสันสกฤตในวรรณคดีไทย การเรียนอักษรเทวนาครีก็อาจเป็น ข้อยกเว้นได้ ดังปรากฎในหลักสูตรวิชาภาษาไทยของหลายสถาบันท่ี กาหนดให้เรียนวิชาภาษาสนั สกฤตประยุกต์ หรือวิชาวรรณคดีสนั สกฤต เป็น ต้น รายวิชาเหลา่ นี้มักจะใชอ้ ักษรโรมันหรอื อกั ษรไทยแทนอักษรเทวนาครี ในรัชกาลที่ 6 มีความนิยมวรรณคดีสันสกฤตอยู่มาก ส่วนหนึ่งน่าจะเป็น เพราะความสนใจตามกระแสพระราชนยิ ม เนอ่ื งจากในเวลาที่พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จไปทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษนั้น เป็น ช่วงท่ีชาวตะวันตกกาลังนิยมศึกษาภารตวิทยา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยวิทยาการสาขาน้ีอยู่มาก และได้ทรงถ่ายทอด วรรณคดีสันสกฤตไว้เป็นภาษาไทยหลายเร่ือง โดยทรงแปลจากฉบับ 6

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป ภาษาอังกฤษอีกทีหนึ่ง และเม่ือจะเทียบกับฉบับภาษาสนั สกฤตก็ทรงใชฉ้ บับ ที่เขียนด้วยอักษรโรมันดังปรากฎดังตัวอย่างในพระราชนิพนธ์แปลบทละคร สันสกฤตเรื่องปริยทรรศิกา ซึ่งได้ทรงใช้ฉบับภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัย โคลัมเบียในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์ โดยทรงพิจารณาความเหมาะสมว่ามีท้ัง บทเดมิ เป็นภาษาสนั สกฤตและปรากฤตซงึ่ ถอดไว้เปน็ อกั ษรโรมัน และยังมีคา แปลภาษาอังกฤษกากับไว้ประโยคต่อประโยคอีกด้วย พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายไว้ในพระราชนิพนธ์นาเร่ืองปริยทรรศิกาว่า คุณสมบัติดังกล่าวนั้น “ข้าพเจ้าสารภาพว่าเป็นประโยชน์แก่ข้าพเจ้ามาก เพราะข้าพเจ้าอ่านอกั ษรเทวนาครไี มไ่ ด้คล่องหรือจะวา่ ไม่ได้เสียเลยทีเดียวก็ ไม่ผิด ประการที่สอง ข้าพเจ้าไม่รู้ภาษาสันสกฤตและปรากฤตพอที่จะแปล ข้อความตรงออกมาเป็นภาษาไทยได้ ต้องอาศัยคาแปลภาษาอังกฤษอีกต่อ หน่งึ ” ไม่ว่าจะเป็นอักษรเทวนาครี อักษรโรมัน หรืออักษรไทย ตัวบทท่ีเป็นภาษา สันสกฤตนั้นย่อมยังประโยชน์อย่างมากแก่ผู้ศึกษาและผู้แปลวรรณคดี สันสกฤตเป็นภาษาไทย ดังตัวอย่างที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั ทรงอธิบายการแปลบทละครเรื่องปรยิ ทรรศกิ าไว้ในอารัมภกถาว่า “เช่นเมื่อพบภาษาอังกฤษว่า : Hail to your Majesty!” ดังน้ี : ถ้าข้าพเจ้ามิได้เห็นภาษาสันสกฤตตรงน้ีก็คงแปลว่า : “ขอถวายบังคมใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท!” แต่เมื่อได้เห็นภาษา สันสกฤตว่า : “ชยตุ เทวะ” ด่ังน้แี ลว้ กท็ าใหข้ า้ พเจา้ รูส้ กึ ได้ทนั ที ว่าควรเขียนทับศัพทล์ งไปเทา่ นัน้ พอแลว้ ไม่ต้องแปลให้เยิ่นเย้อ ไปเปล่าๆ อีกแห่งหน่ึงภาษาอังกฤษมีไว้ว่า : Hail to your honor! May you prosper!” ด่ังน้ี ข้าพเจ้ายงั ช่ังใจไมถ่ ูกจนได้ เหน็ ภาษาปรากฤตวา่ : โสตถฺ ิ ภวโท! วฑฺฒทุ ภว!” จงึ ได้ทราบ ว่าควรแปลว่า : สวัสดีเถิดท่านเจ้าประคุณ! เจริญเถิดเจ้าข้า!” 7

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทัว่ ไป เม่ือท่านอ่านบทละคอนต่อไป ท่านคงจะสังเกตเห็นได้เองว่า การมีภาษาสันสกฤตและปรากฤตกากับอยู่นั้น ช่วยให้ข้าพเจ้า ถอดเปนภาษาไทยได้สะดวกขนึ้ ปานไร” ข้อได้เปรียบของคนไทยในการเรียนภาษาสันสกฤต เห็นจะเป็นคาศัพท์ ถ้า อ่านออกแล้วจะเห็นเค้าคาไทยได้ไม่ยากนัก เมื่อเทียบกับนักเรียนชาติอื่นๆ ในช้นั เดียวกนั หลงั จากอา่ นอักษรเทวนาครีออกมาไดพ้ รอ้ มกันแลว้ คนไทยจะ พอเข้าใจความหมายได้รางๆ แล้ว ขณะที่เพ่ือนยังเปิดพจนานุกรมมือเป็น ระวิงอยู่ ถ้าเป็นชื่อสัตว์ ชื่อต้นไม้ เราย่ิงได้เปรียบ เช่น ในบทกวีสันสกฤต กล่าวถึง “พกุล” ความคิดของคนไทยแล่นปราดเห็นภาพดอกพิกุลทันที ในขณะท่ีเพื่อนต่างชาติโดยเฉพาะชาวตะวันตกยังปะตดิ ปะตอ่ คาอธิบายของ อาจารย์ว่า เป็นดอกไม้ดอกเล็กๆ เป็นจักๆ มีกลิ่นหอม ฯลฯ แต่บางครั้งคน ไทยก็เดาอย่างเข้ารกเข้าพงได้เหมือนกัน เพราะคาสันสกฤตท่ีเรานามาใช้ หลายคามีความหมายท่ีกลายมาแล้ว เช่น เมื่อพบคาว่า “ตสฺกร” คนไทยชา่ ง เดาคนน้ันก็แปลว่า ข้าศึก ทันที เพราะเคยท่องมาวา่ “จะให้เอาจงได้ อย่าไว้ ช้าดสั กร เราจะให้ฟอนใหฟ้ ัน เราจะให้บ่นั ให้แล่ ทุกกระแบจ่ งหนาใจ” ทีจ่ รงิ เจ้าของภาษาเขาหมายถงึ ขโมยธรรมดาเท่านัน้ เอง ครัน้ มาถึงเรอ่ื งหลักไวยากรณ์ คนไทยกจ็ ะมอี าการเครอื่ งเบาลงจนแทบจะดับ สนิท ปล่อยเพื่อนฝรั่งแซงไปหลายช่วงตัว ไม่ใช่ว่าเขาจะได้เปรียบเพราะ ภาษาท่ีใช้อยู่มีลักษณะของภาษาวิภัตติปัจจัยเหมือนภาษาสันสกฤตเท่าน้ัน แต่หลายคนยังเรียนภาษาละตนิ มาแล้ว จงึ เทยี บคไู่ ปกบั ภาษาสันกฤตได้อย่าง ดี ตาราไวยากรณ์สันสกฤตท่ีอ่านเข้าใจง่ายยังแนบตัวอย่างคาละตินไว้เป็น ของแถมให้อีก คนไทยจึงได้แต่อิจฉาฝรั่งในเร่ืองนี้อยู่ แต่อะไรเล่าจะพ้น ความสามารถ ทางแก้ของเราก็คือต้องบากบั่นให้เข้าใจไวยากรณ์ได้มากขึ้น เช้าอ่าน เย็นทบทวน ค่าทาแบบฝึกหัด ไม่ท้อถอย ไม่ยอมแพ้ ถือหลักว่าคน 8

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป อื่นเรียนได้เราก็ต้องเรยี นได้ ภาษาสันสกฤตท่ีมียี่หอ้ ว่ายากกจ็ ะไม่ยากเกินไป สาหรับคนมานะอย่างแนน่ อน นักวิชาการสันสกฤตของไทยแต่โบราณหลายท่านเรียนภาษาสันสกฤตด้วย ความมุมานะ เรียนด้วยใจรัก และเรียนด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่นพระสาร ประเสริฐ (นาคะประทีป) ผ้ซู ่ึงเสฐียรโกเศศยกใหเ้ ปน็ “ผทู้ รงความรภู้ าษาไทย และภาษาบาลี” เม่ือท้ังสองท่านคิดจะแปลหนังสือหิโตปเทศจากหนังสือหิ โตปเทศฉบับบสันสกฤตทเ่ี ขียนด้วยอักษรเทวนาครีมาจากพระภกิ ษุชาวลังกา รูปหน่ึง ท่านอ่านอักษรเทวนาครีไดบ้ ้างแลว้ แต่ยังมีความรภู้ าษาสนั สกฤตไม่ มากนัก ท่านจึงเริ่มศึกษาภาษาสันสกฤตอย่างขะมักเขม้นจนกระท่ัง “เกิด ดูดดื่มในภาษาสันสกฤต” และ “กลายเป็นหมกมุ่นอยู่กับเรื่องต่อมานาคะ ประทีปก็ได้ช่ือว่าเป็นผู้ทรงความรู้ทางภาษาสันสกฤตจนได้เป็นอาจารย์ มหาวิทยาลัย “ผู้มีความรู้ในภาษาสันสกฤตอย่างดีเย่ียม” ดังที่ ม.ร.ว.สุมน ชาติ สวัสดิกุล เล่าไว้ในเรื่อง “คุณพระสารประเสริฐท่ีเคารพอย่างสูงของ ขา้ พเจา้ ” (รวมพมิ พอ์ ยใู่ น สมญาภิธานรามเกียรต)ิ์ หิโตปเทศฉบับแปลเป็นภาษาไทยของนาคะประทีปน้ันตกไปถึงมือของ พระภิกษุรูปหน่ึง ท่านผู้นั้นมีความรู้ภาษาบาลีเป็นเย่ียมอยู่แล้ว เม่ืออ่านหิ โตปเทศก็มิได้อ่านเฉพาะบทแปลหากแต่ติดใจบทประพันธ์ภาษาสันสกฤตท่ี ถอดเป็นอักษรไทยอยู่ในหนังสือน้ันด้วย ท่านท่องจาโศลกบทหนึ่งจนข้ึนใจ วันหนึ่งเดินจากวัดสุทัศน์ไปพาหุรัด พบชาวอินเดียคนหน่ึง ท่านก็ท่องโศลก บทน้นั ใหฟ้ งั ชาวอินเดยี ผู้น้ันรสู้ ึกทึ่งมาก นับเป็นการเรมิ่ ต้นความเป็นครศู ษิ ย์ วิชาภาษาสันสกฤตระหว่างสองท่านน้ันในเวลาต่อมา ชาวอินเดียผู้เป็น อาจารย์สอนวิชาภาษาสันสกฤตคือ บัณฑิตรฆนุ าถศรมา และพระภกิ ษผุ เู้ ปน็ ศิษย์ต่อมาคืออาจารย์แสง มนวิทูร ผู้มีความรู้ภาษาสันสกฤตอย่างลึกซึ้งจน สามารถแปลวรรณคดีเรื่องสาคัญๆ เช่น ภควัทคีตา นาฏยศาสตร์ เป็นต้น เร่ืองเล่าทั้งหมดน้ีบันทึกไว้โดยขรรค์ชัย บุนปาน ในโอกาสท่ีอาจารยแ์ สง มน 9

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป วิทูร ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปดษุ ฎีบัณฑิต โบราณคดีกิตติมศักดิ์ จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร คนแต่ก่อนท่านเรียนด้วยใจรักจริงๆ รักที่จะอ่านและรักท่ีจะขวนขวายหา ความรู้ให้มากกว่าท่ีได้ยินได้ฟังมา แม้จะอยู่นอกวงวิชาชีพของตนก็ตาม เรา จึงมีข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลขอย่างพระสาณะเศรษฐสุนทร (ฟัก สาณะเศรษฐ) ผู้สนใจภาษาสันสกฤตถึงขนาดสะสมตารายาภาษาสันสกฤต และหนังสือวรรณคดีสันสกฤตไว้มากมาย มีพระยาพณิชยศาสตร์วิธาน ผู้สนใจวรรณคดีสันสกฤตและแปลนิทานวิกรมาทิตย์ไว้เป็นภาษาไทย แม้จะ มิได้แปลโดยตรงจากฉบับภาษาสันสกฤตก็ตาม เช่นเดียวกับร้อยเอกหลวง บวรบรรณรักษ์ (นิยม รักไทย) ผู้ทเี่ สฐยี รโกเศศกลา่ วว่า “ใฝ่ใจภาษาสันสกฤต และหายใจเป็นภาษาสันสกฤต” ได้แปลมหาภารตยทุ ธฉบับภาษาองั กฤษเป็น ภ า ษา ไ ทย ด้ วย จุ ด มุ่ งห ม า ย ที่จ ะ เ ผื่ อแผ่ ให้ ผู้ อ่า นค นไ ทย ไ ด้ รู้ จั กวร ร ณ ค ดี สนั สกฤต นักวิชาการสันสกฤตผู้ทรงความรู้อีกท่านหนึ่งคืออาจารย์กรุณา กุศลาสัย ทา่ นได้พากเพยี รเดินทางไปจน “พบถ่นิ อินเดีย” และได้ศกึ ษาภาษาสันสกฤต และฮินดีกบั เจา้ ของภาษาจนมคี วามร้แู ตกฉาน และไดแ้ ปลวรรณคดีสนั สกฤต เร่ืองเอกไว้หลายเรื่อง เช่น มหากาพย์พุทธจริต ของอัศวโฆษะ เมฆทูต ของ กาลิทาส และมหากาพย์มหาภารตะ อาจารย์เล่าไว้ในหนังสืออัตชีวประวัติ เร่ือง ชีวิตที่เลือกไม่ได้ ว่า เมื่อไปถึงประเทศอินเดียได้เรียนภาษาบาลีโดยใช้ อักษรสิงหฬ พอได้ความรู้เป็นพื้นฐานก็หยุด เพราะเข้าใจว่าภาษาบาลีนั้นมี ผู้รู้มากและหาสานักเรียนได้ไม่ยากในเมืองไทย ท่านจึงเร่ิมเรียนภาษา สันสกฤตเพราะเห็นวา่ มีความสัมพันธ์กับภาษาไทยและวรรณคดีไทยมาก ท้ัง หาที่เรียนในประเทศไทยได้ไม่ง่ายในขณะนั้น (ประมาณ พ.ศ.2480) เช่นเดียวกับอาจารย์เรืองอุไร “ศิษย์” ของท่านคนหนึ่งซ่ึงเรียนภาษา สันสกฤตกับท่านที่เมืองไทยและต่อมาคือ “อรฺธางฺคินี” หรือ “ผู้เป็นคร่งึ หน่ึง 10

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป (ของชีวิต)” ของท่านก็เลือกเรียนภาษาสันสกฤตเพราะมีใจรักวรรณคดีไทย มาก จึงขยายความรักไปถึงวรรณคดีสันสกฤตดว้ ย ความรู้ความเช่ียวชาญใน ภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฮินดี และอังกฤษ ของท่านท้ังสองประสานกันได้ อย่างลงตวั และทาให้นามปากกา “กรุณา-เรอื งอุไร กุศลาสัย” เป็นท่ีรู้จกั กนั ดีในหมนู่ ักอา่ นหนังสอื และนกั ศึกษาวชิ าภารตวิทยาของไทย สาหรับบางคนภาษาสันสกฤตอาจเป็นวิชาดึกดาบรรพ์และยากมากๆ ยิ่งเมื่อ เพ่งประโยชน์ใกล้ตัวในยุควิทยาการก้าวไกลเช่นน้ี หลายคนก็มองข้ามวิชานี้ ไปทันที แต่เม่ือพิจารณาความต้ังใจใฝ่รู้ของปราชญ์ในอดีตของเราดังได้ ยกตัวอย่างมาแล้ว และคิดต่อมาถึงครูบาอาจารย์อีกหลายคนท่ีอุตสาหะขา้ ม น้าข้ามทะเลไปเรียนวิชาภาษาสันสกฤตถึงแดนไกล แล้วกลับมาสร้างองค์ ความรู้ท้ังภาษาสันสกฤตโดยตรง และภาษาสันสกฤตที่ช่วยให้เข้าใจ ภาษาไทยกระจ่างชัดขึ้น คนรุ่นหลังน่าจะพอเข้าใจประโยชน์ของการศึกษา ภาษาสันสกฤตได้บ้าง วิทยาการบางอย่างไม่อาจตีค่าออกมาเป็นวัตถุได้ แต่ คณุ ค่าทางปญั ญาน้นั มหาศาล 11

ตอนที่ 2 อักขรวธิ ี อกั ขรวธิ เี ปน็ เรื่องเก่ียวกับอักษรในภาษาสนั สกฤต ซง่ึ คาวา่ อักษรหมายถึงสระ และพยัญชนะรวมกัน ภาษาสันสกฤตแบ่งเสียงออกเป็น 2 ชนิดคือเสียงสระ และเสียงพยัญชนะ สระทนี่ ยิ มมีท้ังส้ิน 12 เสยี ง สว่ นพยญั ชนะมี 33 เสียง การเรียนภาษาสันสกฤตมีสิ่งที่สาคัญไม่แพก้ ฎเกณฑ์ทางไวยการณก์ ็คืออกั ษร ชนิดต่างๆ ที่ใช้ในการถ่ายทอดเสียง นอกจากอักษรไทยแล้วยังมีอักษร เทวนาครีและอกั ษรโรมนั ทม่ี คี วามสาคญั เช่นกนั หากสามารถอ่านเขยี นอกั ษร เทวนาครีได้ก็จะทาให้การเรียนภาษาสันสกฤตง่ายข้ึน เพราะตาราสันสกฤต ส่วนใหญ่จารึกด้วยอักษรเทวนาครี ส่วนอักษรโรมันก็ถือว่าสาคัญไม่แพ้กัน เพราะเป็นอักษรท่ีนักวิชาการส่วนใหญ่ใช้ในการถ่ายทอดเสยี งในงานค้นควา้ และงานวิจัยต่างๆ อักษรทั้งสองชนิดจึงเป็นอักษรที่ผู้สนใจเรียนภาษา สนั สกฤตควรจะรดู้ ว้ ยเชน่ กัน ด้วยเหตุดังกล่าว หนังสือเล่มนี้จึงนาอักษรท้ัง 3 ชนิดคือ อักษรเทวนาครี อักษรโรมัน และอักษรไทย มาไว้เป็นบทนา เพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาได้อ่าน และเปรียบเทียบด้วยตนเอง เมื่อสามารถจดจาอักษรชนิดต่างๆ ได้แล้ว จะชว่ ยใหก้ ารศกึ ษาไวยากรณซ์ งึ่ เปน็ ขนั้ ตอนต่อไปทาได้งา่ ยและรวดเรว็ ขึน้ เสียงสระ เสยี งสระทีน่ ยิ มใช้ในภาษาสนั สกฤตแบ่งออกเป็น 12 เสียง จดั เปน็ 2 ประเภท คือสระลอย และสระจม - สระลอย คอื สระทีเ่ ขียนตามลาพังหรอื อยู่ต้นคาจะเขยี นเตม็ ตวั - สระจม คือสระที่ไปประกอบกับพยัญชนะ จะมีการเปลี่ยนแปลงรูป บางตวั กค็ งเคา้ เดิมไวบ้ า้ ง บางตัวก็เปล่ียนไปไมค่ งเค้าเดิมไว้

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป สระในภาษาสนั สกฤต A Aa # $ % ^ \\ § @ @e Aae AaE a ā i ī u ū ṛ ṝ e ai o au อ อา อิ อี อุ อู ฤ เอ ไอ โอ เอา สระลอยและสระจม สระลอย A Aa # $ % ^ \\ § @ @e Aae AaE สระจม - -a i- -I -u -U -& -© -e -E -ae -aE สระแท้และสระประสม สระทง้ั 12 เสียงแบง่ ตามฐานที่เกิดได้ 2 ประเภทคอื สระแท้ และสระประสม - สระแท้ คือสระทเ่ี กิดจากฐานเดยี วกนั เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สทุ ธสระ” มีทั้งหมด 8 เสยี ง ได้แก่ อ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา - สระประสม คือสระที่เกิดจาก 2 ฐาน หรือสระ 2 ตัวประสมกัน เรียก อีกอยา่ งหนง่ึ วา่ “สงั ยุกตสระ” มีท้งั หมด 4 เสยี ง ไดแ้ ก่ เอ ไอ โอ เอา สระแท้และสระประสม สระแท้ A Aa # $ % ^ \\ § สระประสม อ อา อิ อี อุ อู ฤ @ @e Aae AaE เอ ไอ โอ เอา 13

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป สงั ยุกตะสระ @ เอ A + # อ + อิ @e ไอ A + @ อ + เอ Aae โอ เกิดจาก A + % อ + อุ AaE เอา A + Aae อ + โอ เสียงพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาสันสกฤตมีทั้งหมด 33 เสียง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ พยญั ชนะวรรค และพยัญชนะอวรรค หรือเศษวรรค - พยญั ชนะวรรค ไดแ้ กพ่ ยญั ชนะทเี่ กิดจากฐานเดยี วกนั มีท้งั หมด 5 วรรค แต่ละวรรคมี 5 เสียง รวมเปน็ 25 เสียง - พยัญชนะอวรรค หรอื เศษวรรค ได้แกพ่ ยญั ชนะท่ีไมส่ ามารถจดั เขา้ ในวรรคได้เน่ืองจากคณุ สมบตั ติ า่ งกัน มีท้งั หมด 8 เสียง 14

ฐานท่ีเกดิ ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป คอ เพดาน พยัญชนะวรรค ปมุ่ เหงอื ก ฟนั 1234 5 ริมฝีปาก ko g \" ' ka kha ga gha ṅa กขคฆ ง cD jH | ca cha ja jha ña จฉ ชฌญ qQ fF[ ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ฏฐ ฑฒณ tw d x n ta tha da dha na ตถทธ น p) b - m pa pha ba bha ma ปผพภ ม พยญั ชนะอวรรค y r l v z,è ; s h ya ra la va śa ṣa sa ha ย ร ล ว ศ ษสห 15

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ฐานกรณ์ ฐานกรณ์ คือคาที่ใช้เรียกอวัยวะต่างๆ ในช่องปากที่ใช้ในการออกเสียง ประกอบดว้ ยฐานและกรณ์  ฐาน หมายถึง ตาแหน่งท่ีเกิดของเสียงซึ่งจะเป็นตาแหน่งใน ช่องปากท่ีไม่เคล่ือนที่ในการออกเสียง ได้แก่ ริมฝีปากบน ฟันบน แนวปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก หน้าเพดานแข็ง เพดานแข็ง เพดาน อ่อน ลนิ้ ไก่ และผนงั คอ เป็นตน้  กรณ์ หมายถงึ อวัยวะทที่ าใหเ้ กดิ เสียงโดยให้กรณก์ ระทบกบั ฐาน การแบง่ พยัญชนะและสระจะแบง่ ตามลักษณะเสยี งทเ่ี ปลง่ ออกมา ได้แก่ 1) อโฆสะ คือเสียงไมก่ ้อง ไดแ้ ก่ พยัญชนะที่ 1, 2 ท้งั 5 วรรค และ ส 2) โฆสะ คือเสียงก้อง ได้แก่ สระท้ังหมด, พยัญชนะท่ี 3, 4, 5 ท้ัง 5 วรรค และพยญั ชนะอวรรค ได้แก่ ย ร ล ว ศ ษ ห 3) สถิ ลิ คือเสยี งเบา ไดแ้ ก่ พยัญชนะที่ 1, 3 ทง้ั 5 วรรค 4) ธนติ คือเสียงหนกั ไดแ้ ก่ พยัญชนะที่ 2, 4 ท้งั 5 วรรค และ ห 5) อนนุ าสกิ คือมเี สียงขน้ึ จมูก ไดแ้ ก่ พยญั ชนะตัวที่ 5 ท้ัง 5 วรรค 6) อัฒสระ คือพยัญชนะกง่ึ สระ ไดแ้ ก่ ย ร ล ว 7) อษู มนั คือมเี สยี งลมสอดแทรกออกมาตามฟัน ได้แก่ ส 16

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป ฐานกรณ์ท่ีเกิดเสียง และลักษณะของเสียงท่ีเปล่งออกมา สามารถสรุปได้ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ตารางฐานกรณ์ อโฆสะ โฆสะ ฐาน พยัญชนะวรรค อวรรค สระ คอ สิถิล ธนิต สถิ ลิ ธนิต อนุนาสกิ A Aa k og \" ' h aā ka kha ga gha ṅa ha เพดาน c D j H | y z# $ ca cha ja jha ña ya śa i ī ปุ่มเหงอื ก q Q f F [ r ;\\ § ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ra ṣa ṛ ṝ ฟนั t w d x n l s* ta tha da dha na la sa ริมฝปี าก p )b- m %^ pa pha ba bha ma uū ฟัน + v ริมฝีปาก va * s (sa) เป็นพยัญชนะอโฆสะ 17

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป การประสมพยญั ชนะและสระ สระมีการเขียน 2 แบบคือเม่ือเขียนตามลาพังหรอื เป็นตวั แรกของคาจะใชร้ ปู สระลอย เมื่อนาไปประสมกับพยัญชนะจะมีการเปล่ียนรูปเป็นสระจม เช่น คาว่า Aahar (āhāra) สระ อา เมื่ออยู่ต้นคาจะเขียนเป็นรูปสระลอย ได้แก่ รปู Aa (ā) แตเ่ มือ่ ประสมกบั พยัญชนะแล้วจะเปลี่ยนรูปเป็นสระจม ได้แก่รปู –a เช่น Aahar (āhāra) อย่างน้เี ปน็ ตน้ พยัญชนะโดยทั่วไปไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตนเอง ต้องอาศัยสระจึงจะ ออกเสียงได้ การเขียนพยัญชนะท่ียังไม่ได้ประสมกับสระจะเขียนโดยมี เครื่องหมายวิราม ( ! ) อยู่ใต้พยัญชนะเสมอ เม่ือประกอบกับสระแล้ว เคร่ืองหมายน้จี ะหายไป ดงั ตัวอยา่ ง k! + A = k k + a = ka (กะ) k! + Aa = ka k + ā = kā (กา) k! + # = ik k + i = ki (กิ) k! + $ = kI k + ī = kī (กี) k! + % = ku k + u = ku (กุ) k! + ^ = kU k + ū = kū (กู) k! + \\ = k« k + ṛ = kṛ (กฤ) k! + § = k© k + ṝ = kṝ (ก ) k! + @ = ke k + e = ke (เก) k! + @e = kE k + ai = kai (ไก) k! + Aae = kae k + o = ko (โก) k+! AaE = kaE k + au = kau (เกา) 18

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป ขอ้ สังเกต  พยัญชนะ r! (r) เม่ือประสมกับสระ % (u) และ ^ (ū) ตาแหน่งของ สระจะไม่เหมือนพยญั ชนะตัวอ่ืน จะมรี ูปพิเศษคอื r! + % = é r + u = ru r! + ^ = ê r + ū = rū  พยญั ชนะ r! (r) เม่อื ประสมกบั พยัญชนะ จะเปลีย่ นรปู โดยจะข้ึนไปอยู่ ดา้ นบนพยัญชนะทีต่ ามมา เช่น r + g = gR ในคาวา่ svgR (สวรรค์) r + g = rga ในคาวา่ savarga r + m = mR ในคาว่า kmR (กรรม) r + g = rma ในคาว่า karma  ภาษาสันสกฤตจะไม่มีการประสมระหว่างพยัญชนะ r! (r) และสระ \\, § (ṛ, ṝ) เครื่องหมายกากบั เสยี ง ภาษาสันสกฤตมีเคร่ืองหมายหลายชนิดซึ่งมีช่ือและหน้าท่ีแตกต่างกันไป ในเบื้องต้นนี้ ควรรู้จักเคร่ืองหมายท่ีมีโอกาสพบบ่อยในการเรียนสันสกฤต ไดแ้ ก่ 1) วิราม ( ! ) พยัญชนะเมื่อไม่ได้ประสมสระจะต้องมีเครื่องหมาย วิรามกากับอยู่ใต้พยัญชนะเสมอ เครื่องหมายวิรามทาหน้าที่ห้าม เสียง นอกจากนี้ พยัญชนะที่มีเคร่ืองหมายวิรามกากับอยู่ สามารถ 19

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป อ่านเป็นตัวสะกดได้หากตามหลังสระ เคร่ืองหมายวิรามนี้เม่อื ถ่าย ถอดมาสู่อกั ษรไทยจะเขยี นเป็นจดุ (พินท)ุ ใตพ้ ยญั ชนะ ดงั ตวั อยา่ ง เทวนาครี โรมัน ไทย กฺ ขฺ คฺ k! o! g! k kh g gjan! คชานฺ gajān 2) อนุสวาระ ( < ) ใช้แทนเสียงอนุนาสิก หรือเสียงข้ึนจมูก มีลักษณะ เป็นวงกลมเล็กๆ อยู่เหนือพยัญชนะเช่นเดียวกับภาษาไทย ตัวอยา่ งเช่น เทวนาครี โรมนั ไทย มคล mg— l maṃgala s—Sk«t สสฺกฤต saṃskṛta 3) วิสรคะ ( : ) ใช้แทนเสียงลมหายใจแรงท่ีพ่นออกมา มักจะเป็น ส่วนท้ายของคา เม่ือถ่ายทอดเป็นภาษาไทยจะใช้วิสรรชนีย์ (ะ) ตวั อยา่ งเชน่ เทวนาครี โรมนั ไทย รามะ (ตามหลงั อะ) ram> rāmaḥ jna> janāḥ ชนาะ (ตามหลงั อา) AiGn> agniḥ อคนฺ ะิ (ตามหลัง อ)ิ 20

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป 4) อวครหะ ( = ) หรือ อวเคราะห์ ใช้แทนสระ “อะ” ท่ีถูกลบ ไปในการสนธิ เมื่อถ่ายถอดใช้กับอักษรไทยจะเขียนเป็น สัญลักษณ์ท่ีมีลักษณะคล้ายเครื่องหมายอัญประกาศเด่ียว ท่ีเขยี นสกดั ข้างหลงั ( ’ ) เพอ่ื ใหร้ วู้ ่ามกี ารสนธิ ดงั ตัวอยา่ ง เทวนาครี โรมัน ไทย โก’ ปิ kae = ip ko’ pi พยัญชนะสังยกุ ต์ เมือ่ พยญั ชนะ 2 ตวั ชิดกันโดยไม่มีสระคัน่ กลางเรียกวา่ พยัญชนะสังยกุ ต์ หรือ พยัญชนะซ้อน วิธีเขียนพยัญชนะสังยุกต์ทาได้ 2 แบบ คือเติมเครื่องหมาย วิราม ( ! ) ใต้พยัญชนะตัวหน้า เพื่อให้รู้ว่าพยัญชนะน้ันไม่มีสระกากับ เช่น dy! (dya) ในคาวา่ ivdy! a (vidyā) เป็นต้น อกี วิธีหน่ึงคอื ลดรปู พยญั ชนะ ตัวหน้าโดยเขียนเป็นพยัญชนะคร่ึงตัว เช่น Vy (vya) ในคาว่า kaVy (kāvya) เปน็ ตน้ การเขียนภาษาสันสกฤตด้วยอักษรเทวนาครี เมื่อคาศัพท์ประกอบด้วย พยัญชนะสังยุกต์ นิยมเขียนพยัญชนะสังยุกต์น้ันดว้ ยการเขียนพยัญชนะครง่ึ ตัวประกอบเข้ากับพยัญชนะเต็มตัว สาหรับเครื่องหมายวิรามจะใช้เขียน ด้านล่างของพยัญชนะที่อยู่ท้ายคาในกรณีท่ีพยัญชนะนั้นไม่มีสระประสมอยู่ เช่น balkan! (bālakān) เป็นต้น 21

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่ัวไป อย่างไรก็ตาม พยัญชนะทุกตัวไม่สามารถเขียนแบบครึ่งตัวได้ ดังน้ัน พยญั ชนะบางตวั ทไ่ี ม่มรี ูปครึ่งตัว ก็อาจมีการเขียนเคร่ืองหมายวริ ามกากับอยู่ เช่น พยัญชนะ q! (ṭ) Q! (ṭh) f! (ḍ) และ F! (ḍh) เป็นต้น เม่ือเขียนเป็น พยัญชนะสังยุกต์ อาจจะเขียนเป็น qq! (ṭṭa) หรือ ” (ṭṭa) ท้ังน้ี ขึ้นอยู่กับ ความนิยม พยญั ชนะท่ีมรี ปู เขยี นครงึ่ ตวั มดี ังน้ี พยญั ชนะครึง่ ตวั พยัญชนะ เต็มตัว คร่ึงตวั พยญั ชนะ เตม็ ตัว ครงึ่ ตัว ก kK น nN ข oO ป pP ค gG พ bB ฆ \"¸ ภ -_ จ cC ม mM ช jJ ย yY ญ |Á ว vV ณ [{ ศ zZ ต tT ศ èç ถ wW ษ ;: ธ xX ส sS 22

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป พยัญชนะซอ้ น พยัญชนะเมอื่ ประสมหรือซอ้ นกันแลว้ จะมีการเปลยี่ นแปลงรปู พยญั ชนะบาง ตัวยังคงเค้าเดิมไว้บ้าง กล่าวคือ พยัญชนะตัวหน้าจะลดรูปเป็นพยัญชนะ ครึง่ ตัว สว่ นตวั หลงั เขยี นเตม็ ตัว พยัญชนะบางตวั เมือ่ ประสมกันแล้วไม่คงเค้า เดิมไว้เลยก็มี ลักษณะพิเศษเหล่านี้เป็นสิ่งท่ีผู้ศึกษาภาษาสันสกฤตต้องใส่ใจ เปน็ พิเศษ ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้คอื พยญั ชนะซ้อนบางตัวทพี่ บบอ่ ยเท่านนั้ พยญั ชนะซ้อน พยัญชนะ รปู สาเรจ็ พยัญชนะ รปู สาเร็จ กกฺ k + k ฆนฺ \" + n กตฺ k + t Š ¹ กนฺ k + n ¸y กฺม k + m µ ฆยฺ \" + y º กยฺ k + y ¸v กรฺ k + r Kn ฆรฺ \" + r » กลฺ k + l ¼ กฺษ k + ; Km ฆวฺ \" + v Cc ขยฺ o + y CD คธฺ g + x Ky งฺก ' + k Cm คฺน g + n Cy คฺร g + r ³ งฺค ' + g Jj คฺล g + l } คฺว g + v ¬ จจฺ c + c ¿ Â ] จฉฺ c + D Oy จฺม c + m Gx จฺย c + y ¶ ชชฺ j + j ¢ ชฺญ j + | Gl ชรฺ j + r Gv ญจฺ | + c 23

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป พยญั ชนะซอ้ น (ต่อ) พยญั ชนะ รปู สาเรจ็ พยญั ชนะ รูปสาเรจ็ ญฺช | + j ทฺว d + v ฏฺฏ q + q Ã Ö ณณฺ [ + [ × ณมฺ [ + m ” ธนฺ x + n Xm ตตฺ t + t Xy ตฺน t + n {[ ธมฺ x + m Ø ตปฺ t + p Xv ตฺม t + m {m ธยฺ x + y Ú ตยฺ t + y Nm ตรฺ t + r Ä ธรฺ x + r Ny ตวฺ t + v Ü ทคฺ d + g Æ ธวฺ x + v Ý ทฺท d + d ß ทธฺ d + x Tp นนฺ n + n Pm ทพฺ d + b Py ทภฺ d + - Tm นฺม n + m à ทมฺ d + m Pl ทฺย d + y Ty นฺย n + y Ps ทรฺ d + r Bj Ç นรฺ n + r Bd Tv ปตฺ p + t Ì ปนฺ p + n Î ปมฺ p + m Ï ปยฺ p + y Ó ปรฺ p + r Ñ ปลฺ p + l Ò ปสฺ p + s * พชฺ b + j Ô พฺท b + d 24

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป พยัญชนะซอ้ น (ตอ่ ) พยญั ชนะ รูปสาเร็จ พยญั ชนะ รูปสาเร็จ พธฺ b + x ศรฺ z + r พนฺ b + n Bx ï พฺร b + r ð ภนฺ - + n ã ศลฺ z + l ñ ภรฺ - + r ò มฺน m + n ä ศฺว z + v ó มฺม m + m :[ มรฺ m + r å ษฺฏ ; + q :p มฺล m + l :m ยวฺ y + v è ษฺฐ ; + Q õ ลปฺ l + p Sm ลฺม l + m ç ษฺณ ; + [ Sy ลฺย l + y ö ลฺล l + l Mm ษฺป ; + p Ÿ วฺย v + y û วฺร v + r è ษฺม ; + m ü ศจฺ z + c ý ศฺน z + n Ml สนฺ s + t ÿ ศฺม z + m ÷ Yv สฺม s + m þ Lp สฺย s + y Lm สฺร s + r Ly หฺณ h + [ š หฺน h + n Vy หมฺ h + m ì หฺย h + y í หรฺ h + r î หฺล h + l Zm หวฺ h + v 25

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป ฝึกอา่ นอักษรเทวนาครี หลังจากที่เรียนรู้เร่ืองอักษรเทวนาครีทั้งสระ และพยัญชนะชนิดต่างๆ แล้ว ขอให้อ่านบทฝึกอ่านอักษรเทวนาครีน้ีให้คล่อง เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้ โดยบทฝึกอ่านนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ทบทวนและจดจาอักษรเทวนาครีให้ แม่นยาขึ้น มีทั้งหมด 11 ชุด ในขั้นแรกให้ฝึกสะกดคาและอ่านโดยยังไม่ตอ้ ง ทราบความหมายของคา เมื่อจดจาอักษรไดแ้ ม่นยาแลว้ จะทาใหก้ ารเรียนใน ลาดบั ตอ่ ไปงา่ ยขึน้ ชดุ ที่ 1 A_yNÇ Aihs< a An¼ AŠa AXyay A¢savk Aix:Qan Anacar AÚit Azake mharaja A¢e AiZvn! Anamy Avtar Aa}a AÁjil Akal Anvu <z AwvR ed Aagar AiGn Amt& ANxkar AxR AaidTy ชดุ ที่ 2 Aakar AayR $ñr %padan %pvsw AakI[R AazIvaRd %vzR I AaOyan #iNÔy $zan %pask @kadzrw Aar{yk #NÔraj @kc]u Aavas #úvaku %dar %pay @rav[ %dyxanI %pe]a %madve I %pmye 26

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ชุดท่ี 3 Aae;x A<kur \\gved kaie kl kakI AaE;ix Az< k[R kaeml karvek Aake< ar \\i; k{Q kaildas kayR AaErs \\iÏ k:« [a kairka kd< lI Ak< \\tu kaé{y kaitRk ké[a kElas ชดุ ท่ี 4 keyrU kIitR kMpnad kr[Iy kmu uidnI ]Ir k<k[I kmR kri— fka kzu lape ay ]ma kLya[ kNya kbu re kv— l ³Ifa kQ< kuM-I ]eÇ o{f gu[akr kr[e u kmU avR tar ]em gh& dve ta \"atkr c³I ชุดท่ี 5 caEirka care ccaR ijþa jyvmnR ! iÇrtn cIvr jatk }an idvakr cracr jIvt]y tara dve laek Divv[R jlazy tkiR v*a dI\"R Dayaté jlcr itipqk du>o 27

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป ชดุ ที่ 6 dju Rn xmzR aSÇ inÔa p&iwvI pirìajk dzRnIy xnagar inzacr pai[in pitìta ÔVy indez np& it pÂmraja pÒpa[I xt& raj indaeR; nÇe paQkwa prlake xmR inimtR nps<u k piÒnI przuram pšv ชุดท่ี 7 äaü[ pu:pa äülaek pu{y pUjnIy à}a àkaz baie x puÇ prU [ àak«t àma[ baeixsÄv pjU a prU a[ àawRna ip{f bhul pvU R àte lake )ai[t bhuvcn pvRt àiqidn )la)l mn:u y bkul mUitR ibNdu ชดุ ท่ี 8 y} æmr yack -ayaR i-]acar m&Tyru aj mÁjrI yjurvde i-]u m{f[a mat&¢am imÇ mas< moe la imWya maÇa mha-art m&gdayvn magR mi[pru 28

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป ชดุ ท่ี 9 yGu m êpavcr rajrw rivvar iv;y yzaxe r êpk rajt[& my riZm iv}an éicr r- raJy llna iv³m éiKm[I r][ ramay[ ìIih ivcar éixr rajÖar roe a iv*a ivjy ชดุ ท่ี 10 v&] vat-y ivkal ivzal vaca vair vayu ivpirt ivz;e vaidt vaKy vcIiv-ag ivpul ivZvkmRn! vack var vkE Qu< ivvke v;aR vaé[I vas ivvxRn v¿ vai[Jy vasna ïavk ish< ชดุ ท่ี 11 s—¢am s]< pe vpE Lu y vnraj zaŒ z-u var s³< aiNt zItlsmy Zyaml sUic vEzaomas vStu zmaRïm iz:y ziu Ï izLp vzE y Vyaº zÔU ïm[ sd— ze smagm vIr Vyapad vIyR zaiNt sp< U[R s—àdan 29

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1. จงปรวิ รรตเปน็ อักษรไทย Aihs< a An¼ AŠa AXyay ..................... ..................... ..................... ..................... Aix:Qan Anacar AÚit Azaekmharaja ..................... ..................... ..................... ..................... AiZvn! Anamy Avtar Aa}a ..................... ..................... ..................... ..................... Akal Anuv<z AwRvde Anagar ..................... ..................... ..................... ..................... Am&t ANxkal AxR AaidTy ..................... ..................... ..................... ..................... 2. จงปริวรรตเป็นอักษรเทวนาครี เสวก สรปฺ สสาร สาหส ..................... ..................... ..................... ..................... สหายก สโตษ สสกฺ ฤต สารกิ า ..................... ..................... ..................... ..................... ศกุนตฺ ลา สุภาษติ สโยค สามเวท ..................... ..................... ..................... ..................... สกฺ นธฺ สุคนฺธ สเกต สารขณฺฑ ..................... ..................... ..................... ..................... สวุ รณฺ หสฺตินาปรุ สหุ ฤทย หายน ..................... ..................... ..................... ..................... 30

ตอนที่ 3 สนธิ สนธิคือการเช่ือมอักษร 2 ตัวท่ีอยู่ตดกัน ซึ่งจะทาให้เกดการเปล่ียนแปลง ด้านเสียงเพื่อให้เกดความกลมกลืนกันของเสียง ทาให้คาสละสลวยและง่าย ตอ่ การออกเสยี ง การสนธเกดขึ้นไดท้ ั้งในคาและระหว่างคา ภาษาสันสกฤตให้ ความสาคัญกับการสนธมาก แทบจะกล่าวได้ว่าจุดไหนสามารถทาสนธได้ก็ ต้องทา นอกจากการออกเสียงแล้วสนธยังเป็นส่วนสาคัญในการประกอบ กรยาด้วย เพราะธาตุแต่ละหมวด จะมีหลักเกณฑ์ในการประกอบกรยา แตกต่างกัน เม่ือเราเข้าใจเรื่องการสนธแลว้ จะทาให้เข้าใจการประกอบกรยา ได้ดีย่งขึ้น สนธที่ควรทราบเบื้องต้นคือสระสนธ พยัญชนะสนธ และิวสรคะ สนธิจะกล่าวเฉพาะสระสนธก่อน สระสนธิ สระสนธิิคอื การเชื่อมกันระหว่างสระกบั สระิเพื่อใหค้ ากระชับและสละสลวยิ เม่ือเกดสระสนธขนึ้ ิจะตอ้ งคานงึ ถึงิ3ิเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ •ิสระแท้ทีเ่ กดจากแหล่งเดียวกนั ิเม่ือสระแทพ้ บกนั จะได้เสยี งยาว • สระหนา้ ลงทา้ ยดว้ ยสระิA, Aa (a, ā) • สระหน้าลงทา้ ยดว้ ยสระอ่ืน การสนธโดยทั่วไปจะประกอบด้วยิ2ิส่วนหลักคือสระหน้าและสระหลังิิิิ สระหน้าิหมายถึงสระที่ลงท้ายของคาหน้าิส่วนสระหลังิหมายถึงสระท่ี ขนึ้ ตน้ ของคาหลังิเชน่ ิ nr + #NÔ (nara + indra) สระหน้าคอื ิอะิ(สระ ท่ีลงท้ายของคาว่าิnara)ิิิสระหลังคือิอิิ(สระท่ีขึ้นต้นของคาว่าิindra)ิิ เม่ือรู้จกั สระหนา้ และสระหลังแล้วิจากน้ันทาการสนธตามขน้ั ตอนต่อไป 31

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป ตารางการเปล่ยี นรปู ของสระ A Aa # $ % ^ \\ ขั้นธรรมดา a ā i ī u ū ṛ อ อา อ อี อุ อู ฤ ขั้นคณุ A Aa @ Aae Ar! aā e o ar อ อา เอ โอ อรฺ ขั้นวฤทธิ Aa @e AaE Aar! ā ai au ār อา ไอ เอา อารฺ พยัญชนะกึง่ สระ ขั้นท่ี 1 y! v! r! yvr ยฺ วฺ รฺ ขั้นที่ 2 Ay! Av! ay av ิิิิอยฺ อวฺ ขน้ั ที่ 3 Aay! Aav! āy āv ิิิิอายฺ ิิิิอาวฺ ข้อสังเกต: Aิ(อ)ิเมอ่ื เป็นข้นั คณุ ไม่มีการเปลย่ี นรปู ิสว่ นิAa (อา)ิไม่มกี าร เปลี่ยนรปู ทั้งในขน้ั คุณิและวฤทธ 32

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป กฎการสนธิ 1) สระธรรมดา พบกันในคขู่ องตวั เอง ได้สระเสียงยาวหนึง่ เสียง เชน่ mala + AiSt = malaiSt mālā + asti = mālāsti xanI + #h = xanIh dhānī + iha = dhānīha dve e;u + %-m! = deve;U-m! deveṣu + uktam = deveṣūktam 2) สระหน้าลงท้ายด้วย A Aa ิสระหลังขึ้นต้นด้วยสระธรรมดาอ่ืน ได้ สระขัน้ คุณ (เปลีย่ นตามตัวหลัง) เช่น dve + #it = deveit deva + iti = deveti suone + #h = suoeneh sukhena + iha = sukheneha jlne + %dkm! = jlne aedkm! jalena + udakam = jalenodakam 3) สระหน้าลงท้ายด้วย A Aa สระหลังขึ้นต้นด้วยสระข้ันคุณ หรือ ข้นั วฤทธิ ได้สระขน้ั วฤทธิ (เปลยี่ นตามตัวหลงั ) เชน่ 33

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป sda + @v = sdEv sadā + eva = sadaiva sa + Aade nm! = sadE nm! sā + odanam = saudanam mha + AaEj> = mhaEj> mahā + aujaḥ = mahaujaḥ 4) สระหน้าลงท้ายด้วยสระอื่น (ไม่ใช่ A Aa ) สระหลังขึ้นต้นด้วยสระ จะได้ขั้นพยัญชนะก่งึ สระ (เปลย่ี นเฉพาะสระหนา้ ) ตามขน้ั ตอนดงั นี้ • สระหนา้ เปน็ สระข้นั ธรรมดาิจะได้พยัญชนะก่งึ สระขน้ั ที่ 1 เชน่ #it + Aw>R = #TywR> iti + arthaḥ = ityarthaḥ sTye;u + Aip ิ =ิ sTy:e vip satyeṣu + api = satyeṣvapi • สระหน้าเป็นสระขน้ั คณุ จะไดพ้ ยญั ชนะกึง่ สระข้นั ท่ี 2 เช่น ke + AaSte ิ = kyaSte ke + āste = kayāste iv:[ae + #h ิ= iv:[ivh viṣṇo + iha = viṣṇaviha 34

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป • สระหน้าเปน็ สระขั้นวฤทธ จะไดพ้ ยญั ชนะกงึ่ สระขั้นที่ 3 เช่น naE + Aae> ิิ = nava>e nau + oḥ = nāvoḥ devaE + AagCDt> ิ =ิ dve avagCDt> devau + āgacchataḥ = devāvāgacchataḥ ในกรณีที่มีการสนธระหว่างคา หรือสนธภายนอก เมื่อสระ @ (e)ิหรือ Aae (o) เปน็ สระหนา้ ตามด้วยสระ Aิ(a)ิสระหนา้ จะไมเ่ ปล่ียนและจะกลืน เสียง A (a)ิ โดยจะทาเคร่ืองหมาย \"อวครหะ\" ไว้แทนเสียงที่ถูกลบไป เมื่อ เขยี นเปน็ อกั ษรไทยจะใช้เครื่องหมาย ( ’ ) แทน เชน่ sae + Aip = sae = ip โสิ+ิอปิ = โส’ิปิ te +ิAip = te = ip เติ+ิอปิ = เต’ิปิ การประกอบสระสนธนั้นให้ยึดกฎเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อน้ีเป็นหลัก เมื่อเข้าใจเรื่อง การประกอบสนธแล้วจะทาให้เข้าใจเร่ืองอื่นๆ ได้ง่ายข้ึน อย่างไรก็ตาม สนธ อาจเปลี่ยนแปลงได้หลายลักษณะ ตารางสาเร็จรูปต่อไปน้ีจะแสดงให้เห็นถึง การเปล่ียนแปลงของสระเมื่อมีการสนธ และท่ีสาคัญคือช่วยให้การประกอบ สนธไดร้ วดเรว็ ข้ึน 35

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ตารางสาเรจ็ รปู สระสนธิ (เทวนาครี) 1 สระหนา้ สระหลงั A BCDE F GH A Aa # $ % ^ \\ @ @e Aae AaE Av Aav A 1 Aa y v r Ay Aay Ava Aava Aa 2 Aiv Aaiv # 3 Aa ya va ra Aya Aaya AvI AavI $ 4 Avu Aavu % 5 @ $ iv ir Aiy Aaiy AvU AavU ^ 6 Av& Aav& \\ 7 @ $ vI rI AyI AayI Ave Aave @ 8 AvE AavE @e 9 Aae yu ^ é Ayu Aayu Avae Aavae Aae 10 AvaE AavaE AaE 11 Aae yU ^ ê AyU AayU Ar! y& v& § Ay& Aay& @e ye ve re Aye Aaye @e yE vE rE AyE AayE AaE yae vae rae Ayae Aayae AaE yaE vaE raE AyaE AayaE หมายเหตุ :ิ A-H ิคือสระท้ายของคาหนา้ (สระหน้า) 1-11 ิคอื สระหน้าของคาหลงั (สระหลงั ) 1 ดดั แปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, 2006), หน้าิ75. 36

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ตารางสาเร็จรปู สระสนธิ (โรมัน) 2 สระหนา้ สระหลัง ABCDE FGH a ā i ī u ū ṛ e ai o au ā ya v ra aya āya ava āva a 1 2 ā yā vā rā ayā āyā avā āvā ā 3 4 e ī vi ri ayi āyi avi āvi i 5 6 e ī vī rī ayī āyī avī āvī ī 7 8 o yu ū ru ayu āyu avu āvu u 9 10 o yū ū rū ayū āyū avū āvū ū 11 ar yṛ vṛ ṝ ayṛ āyṛ avṛ āvṛ ṛ ai ye ve re aye āye ave āve e ai yai vai rai ayai āyai avai āvai ai au yo vo ro ayo āyo avo āvo o au yau vau rau ayau āyau avau āvau au หมายเหตุ :ิ A-H ิคือสระทา้ ยของคาหนา้ (สระหน้า) 1-11 ิคอื สระหน้าของคาหลัง (สระหลัง) 2 ดัดแปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, 2006), หน้าิ75. 37

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทัว่ ไป ตัวอยา่ งการใชต้ ารางสนธิ ตารางจะแบ่งออกเป็นิ2ิส่วนคือิสระหน้าและสระหลงั ิสระหน้าแทนด้วย อกั ษรภาษาองั กฤษในคอลมั นิ์ A-H สระหลงั แทนดว้ ยตวั เลขในแถวทีิ่ 1-11ิ เม่ือต้องการทราบผลลัพธ์ของการสนธิให้ดูช่องสระหน้าก่อนว่าอยู่ใน คอลัมน์ไหนิ(A-H) จากน้ันมองหาสระหลังว่าอยู่แถวท่ีเท่าไหร่ิ(1-11)ิิิ จุ ด ที่ ตั ด กั น ร ะ ห ว่ า ง ส ร ะ ห น้ า แ ล ะ ส ร ะ ห ลั ง คื อ ิ “ ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ส น ธิ ”ิ ตัวอยา่ งเช่น  เราอยากทราบวา่ สระ Aิ(a)ิสนธกับิAaE (au)ิจะเป็นสระอะไร? เมื่อทาตามข้ันตอนจะพบว่าิAิ(a)ิอยู่ในคอลัมน์ิA และิAaE (au)ิ อยู่ในแถวที่ิ11ิจุดท่ีตัดกันก็คือิAaE (au)ิดังน้ันิิAิ+ิAaEิ= AaEิิิ (a + au = au) สระอืน่ ๆ พงึ เปรยี บเทียบกับตวั อยา่ งนี้ ขอ้ ยกเวน้ สนธิ แม้ว่าภาษาสันสกฤตจะเน้นเร่ืองการสนธเป็นอย่างมาก แต่ก็มีข้อยกเว้น สาหรับประโยค วลี หรือศัพท์ต่างๆ ท่ีผันแล้ว มีข้อยกเว้นไม่ต้องทาสนธใน กรณีดงั ตอ่ ไปนี้  คาหน้าลงท้ายด้วยสระ คาหลังขึ้นต้นด้วยพยัญชนะิไม่ต้องทาสนธ เชน่ dve ;e u mn:u y> = dve ;e u mnu:y> ิิิ deveṣu manuṣyaḥ = deveṣu manuṣyaḥ  สระ 3 ตัว คือ $, ^, @ (ī, ū, e) ทีอ่ ยทู่ า้ ยคานามทผี่ นั แล้วในรปู ทววิ จนะิไมต่ อ้ งทาสนธ  ศัพท์ทเี่ ปน็ คาอทุ าน เชน่ Aha,e he (aho, he) เปน็ ต้น ไมต่ ้องทาสนธ 38

ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป ตัวอย่างการประกอบสนธิ iÇpur + Air> สาเรจ็ รปู เป็น iÇpurair> ihmaly ihm + Aaly สาเรจ็ รูปเปน็ rvINÔ guêpdze > riv + #NÔ สาเรจ็ รปู เป็น nrNe Ô mhEñymR ! gêu + %pdze > สาเรจ็ รูปเปน็ jlaE\"> dXyÇ nr + #NÔ สาเรจ็ รูปเป็น vStivdm! suxyUihtm! mha + @eñyRm! สาเรจ็ รปู เป็น matrwRm! %-avagCDt> jl + Aae\"> สาเรจ็ รปู เป็น dix + AÇ สาเรจ็ รูปเป็น vStu + #dm! สาเรจ็ รูปเปน็ suxI + ^ihtm! สาเรจ็ รูปเปน็ mat& + AwmR ! สาเรจ็ รูปเปน็ %-aE + AagCDt> สาเรจ็ รปู เป็น 39

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป แบบฝึกหดั ท้ายบท จงประกอบสนธิต่อไปน้ี mha + Akly> สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. dya + AanNd สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. miu n + $z> สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. %-a + $z> สาเรจ็ รูปเปน็ ……………………………………. jn + @kta สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. vxU + Aannm! สาเรจ็ รูปเปน็ ……………………………………. àit + %pkar> สาเรจ็ รูปเปน็ ……………………………………. gaErI + @vm! สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. mat& + #CDa สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. ke + AaSte สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. ASmE + %Ïr สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. iv:[ae + #h สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. iïyE + %*t> สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. ÖaE + AÇ สาเรจ็ รูปเป็น ……………………………………. StaE + Ak> สาเรจ็ รูปเป็น ……………………………………. 40

ตอนที่ 4 กรยิ า (Verbs) กริยาในภาษาสันสกฤตคือสิ่งที่บ่งบอกอาการ หรือการกระทาต่างๆ ของประธานในประโยค เช่น ยืน เดิน น่ัง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด เป็นต้น เบื้องต้นนี้จะกล่าวถึงภาพรวมของกริยา องค์ประกอบ การสร้างประโยค กรรตุวาจกดว้ ยวภิ ักติต่างๆ โดยกลา่ วเฉพาะธาตุในกลุ่มสารวธาตุกะ และเน้น กริยาท่ีประกอบรูปตามปกติ ส่วนกริยาท่ีมีข้อยกเว้นต่างๆ จะละไว้ก่อน โดยเรียงลาดับการประกอบกริยาดังน้ีคือ วิภักติ lq! (laṭ) l'! (laṅ) laeq! (loṭ) และ ivixil'! (vidhiliṅ) เมอื่ ประกอบวภิ ักติแตล่ ะหมวด จะนา ธาตหุ มวดตา่ งๆ ทใ่ี ชก้ ับวิภกั ตินนั้ มาประกอบให้เปน็ ตัวอย่างเพ่อื เป็นแนวทาง ในการศกึ ษาเพม่ิ เติมตอ่ ไป ศัพทค์ วรรู้ ธาตุ หรือรากศัพท์ในตาราไวยากรณ์สันสกฤตมีท้ังส้ินประมาณ 2,000 ธาตุ ซึ่งจานวนธาตุนี้ตาราแต่ละเล่มกล่าวไว้ต่างกัน ในหนังสือ Dhāturūpa Mañjarī กล่าวว่ามี 2,200 ธาตุ ธาตุทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น 10 หมวด นอกจากนี้ ธาตุแต่ละตัวยังมีคุณสมบัติแตกต่างกันด้วย ก่อนจะนาไปสู่การ ประกอบกรยิ าในภาษาสนั สกฤต ควรทาความเข้าใจคาศพั ทเ์ หลา่ นกี้ อ่ น  สกรรมธาตุ คือธาตทุ ีต่ ้องมีกรรมมารองรบั จึงจะมคี วามหมายสมบรู ณ์  อกรรมธาตุ คือธาตุท่ีมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรม มารองรับ  ปรสั ไมปทธี าตุ คอื ธาตุท่ีประกอบวภิ กั ติเฉพาะปรัสไมบทอย่างเดยี ว 41

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป  อาตมเนปทธี าตุ คอื ธาตทุ ปี่ ระกอบวภิ กั ตเิ ฉพาะอาตมเนบทอยา่ งเดยี ว  อุภยปทีธาตุ คือธาตุท่ีประกอบวิภักติได้ทั้งฝ่ายปรัสไมบทและ อาตมเนบท  สารวธาตุกะ คือกลุ่มธาตุที่ประกอบกริยาด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ธาตุ + ปัจจยั ประจาหมวด + วภิ ักติ  อารธธาตุกะ คือกลุ่มธาตุที่ประกอบกริยาด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ธาตุ + วภิ กั ติ (ไม่มีปจั จัยประจาหมวด)  ปัจจัยประจาหมวด หรือวิกรณ์ คือปัจจัยที่ใช้ประกอบกับธาตุหมวด นนั้ ๆ ธาตุทั้ง 10 หมวดมปี ัจจยั ประจาหมวดของตนเอง (ยกเวน้ หมวดที่ ไมม่ ปี จั จัย)  วภิ ักติ คอื สว่ นประกอบสดุ ทา้ ยในการสรา้ งกริยา มีทั้งหมด 10 ชนดิ วิ ภักติสามารถบอกได้วา่ กริยาน้นั เปน็ กาล บท วจนะ บรุ ุษ อะไร  กาล คือสิ่งที่บ่งบอกช่วงเวลาของการกระทา แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ ปจั จบุ ัน อดีต และอนาคต  บท วิภัตติอาขยาตแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 2 บท คือปรัสไมบท และอาตมเนบท  วจนะ อาขยาตแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 3 วจนะ คือเอกวจนะ บ่งบอกจานวนเดียว หรือส่ิงเดียว ทวิวจนะ บ่งบอกจานวน 2 และ พหวุ จนะ บง่ บอกจานวนตั้งแต่ 3 ขนึ้ ไป  บุรุษ วิภัตติอาขยาตแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 3 บุรุษ คือประถมบุรุษ บ่งบอกวา่ เปน็ กริยาของบุรษุ ท่ี 3 ได้แก่ เขา มธั ยมบรุ ษุ บ่งบอกว่าเป็น กรยิ าของบุรุษท่ี 2 ได้แก่ ทา่ น อตุ ตมบรุ ษุ บ่งบอกว่าเปน็ กรยิ าของบุรุษ ที่ 1 ไดแ้ ก่ ข้าพเจ้า เปน็ ต้น 42

ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป องคป์ ระกอบของกริยา การประกอบกริยาในภาษาสันสกฤตมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ 3 ส่วนคือ ธาตุ ปจั จัย และวิภักติ 1) ธาตุ (Roots) คือรากศัพท์ท่ีมีความหมาย ต้องนาไปประกอบตามขั้นตอนเสียก่อนจึงจะ นาไปใช้ในประโยคได้ ตัวอย่างรากศัพท์ เช่น nm! (nam) แปลว่า ไหว้ เมอื่ ตอ้ งการบอกวา่ เขาไหว้ ไม่สามารถใช้ nm! (nam) ไดโ้ ดยตรง ต้องนาไป ประกอบกับปัจจัยประจาหมวดธาตุและวิภกั ตกิ อ่ น จะได้รูปกริยาอาขยาตคือ nmit (namati) แปลว่า เขาไหว้ อย่างน้ีเป็นต้น ธาตุในภาษาสันสกฤตมี ท้ังหมด 10 หมวด จัดออกเปน็ 3 กลุ่ม มีการประกอบวภิ ักตติ ่างกันคือ  ปรัสไมปที ประกอบวิภกั ตเิ ฉพาะฝา่ ยปรัสไมบทอยา่ งเดียว  อาตมเนปที ประกอบวิภักตเิ ฉพาะฝ่ายอาตมเนบทอย่างเดียว  อุภยปที ประกอบไดท้ ้ังฝา่ ยปรสั ไมบทและอาตมเนบท ธาตุท้ัง 10 หมวดในภาษาสันสกฤต แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ สารวธาตุกลการ และ อารธธาตุกลการ ซึ่งท้ังสองกลุ่มมีวิภักติที่นามาประกอบต่างกัน กลา่ วคอื  สารวธาตุกลการ มีการสร้างกริยาด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ ธาตุ + ปัจจัยประจาหมวด + วิภักติ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มท่ี 1 ใช้ประกอบกับธาตุหมวดท่ี 1, 6, 4, 10 กลุ่มที่ 2 ใช้ประกอบกับธาตุ หมวด 2, 3, 5, 7, 8, 9  อารธธาตุกลการ มีการสร้างกริยาด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ ธาตุ + วภิ ักติ (ไม่มีปจั จัยประจาหมวด) 43