เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นดำ�รงสิริราชสมบัติ ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร ในปี พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงมบี ทบาทในการสรา้ งและท�ำ นบุ �ำ รงุ พทุ ธศาสนวตั ถไุ มน่ อ้ ย ไปกว่าพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยู่หวั เลย ทรงบรู ณะสรา้ งเสริมวดั ท่ีสรา้ ง ค้างมาแต่รัชกาลก่อนให้ลุล่วงบริบูรณ์ ท้ังได้ปฏิสังขรณ์พระอารามที่ทรุดโทรม และทรงสถาปนาพระอารามข้ึนใหม่เป็นพระอารามฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ท้ังใน กรุงเทพมหานครและในหัวเมือง ในกรุงเทพมหานครได้ทรงสร้างเพียง ๔ พระ อาราม คอื วดั พระนามบญั ญตั ิ อนั ไดน้ ามใหมใ่ นภายหลงั วา่ วดั มกฏุ กษตั รยิ าราม วัดโสมนัสวิหาร วัดปทุมวนาราม และวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ไม่ได้ ทรงสร้างพระอารามเหล่านี้อย่างใหญ่โต ด้วยทรงพระราชดำ�ริว่าจะยากแก่การ บำ�รุงรักษา พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตที่ทรงอาราธนามาครองวัดก็ทรงจำ�กัดจำ�นวน ไม่ให้เกิน ๒๐ รูป โดยมีพระราชประสงคจ์ ะควบคุมพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตไม่ใหม้ ี จ�ำ นวนมากเกินไป เปน็ การเนน้ การรกั ษาคณุ ภาพของคณะสงฆม์ ากกวา่ การเนน้ ทจี่ �ำ นวนพระสงฆ์ ภาพหนา้ ซา้ ย : ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสถาปนาพระพทุ ธ พระปฐมเจดีย์ เจดีย์สำ�คัญองค์หน่ึงในแขวงเมืองนครปฐม ซึ่งได้ทรงพบซากปรักหักพังของ จงั หวัดนครปฐม เป็น พระเจดีย์องค์นี้ต้ังแต่ครั้งยังเป็นพระวชิรญาณเถระและเสด็จธุดงค์ไปในเขต พระสถปู ทรงระฆังควํ่า เมืองนครปฐมโบราณ ทรงสำ�รวจบริเวณพระเจดีย์แล้วมีพระสมมติฐานว่าน่า แบบลงั กา สร้างสวมทับ จะเป็นสถูปเจดีย์ท่ีสร้างมาแต่แรกประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนที่เป็น พระเจดีย์โบราณ สยามประเทศ การสถาปนาพระพุทธเจดีย์องค์ใหม่สวมทับพระเจดีย์โบราณน้ัน ทรงพระราชดำ�ริให้ออกแบบเป็นพระสถูปทรงระฆังควํ่าแบบลังกาขนาดใหญ่ ตามท่มี ีพระราชนิยม เม่ือสร้างส�ำ เร็จในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวได้กลายเป็นมหาเจดียสถานที่มีความสำ�คัญย่ิงต่อพุทธศาสนิกชนไทย อนั ไดน้ ามวา่ “พระปฐมเจดีย์” พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมบี ทบาทในการสรา้ งสรรค์ ศาสนวัตถุในพระพุทธศาสนาไว้ไม่น้อยกว่าพระมหากษัตริย์ท้ัง ๔ รัชกาลแรก ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ได้ทรงสร้างศาสนวัตถุสำ�คัญตั้งแต่ในปีแรกท่ีทรงรับ ราชสมบตั จิ นถงึ ชว่ งทา้ ยของรชั สมยั ทสี่ �ำ คญั คอื ในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ ไดเ้ สดจ็ ประพาส อินเดียอย่างเป็นทางการ ในคร้ังนี้ทรงมีโอกาสเสด็จไปสักการะธัมเมกขสถูป ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองสารนาถ อันถือเป็นสังเวชนียสถานท่ีพระพุทธเจ้า ทรงแสดงปฐมเทศนา โดยหลังจากท่ีเสด็จกลับจากอินเดียแล้วได้โปรดให้สร้าง ธมั เมกขสถปู จ�ำ ลอง ไวท้ ว่ี ดั โสมนสั วรวหิ ารและวดั กนั มาตยุ าราม ในโอกาสเดยี วกนั นี้ 197
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เปน็ วดั ที่มีลกั ษณะผสมระหวา่ ง สถาปัตยกรรมไทยและยุโรป โดยภายนอกเป็นสถาปตั ยกรรมไทย สว่ นภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก ในภาพคือพระระเบียงคดประดับกระเบื้องเคลือบลายเทพนม
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 200
ได้ทรงนำ�พันธพุ์ ระศรีมหาโพธ์จิ ากพุทธคยามาทรงปลกู ไวท้ ีว่ ดั เบญจมบพิตรและ ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร วัดอษั ฎางคนิมิต เกาะสีชงั ด้วย ธรรมเนียมการสร้างวัดเป็นถาวรวัตถุสำ�คัญในพระพุทธศาสนายังเป็น ธรรมเนียมที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติสืบต่อมา ในรัชกาลนี้ไม่โปรดการสร้างวัดเป็นจำ�นวนมาก ทรงเน้นสร้างวัดจำ�นวนน้อย แตส่ รา้ งดว้ ยความเปน็ เลศิ ทางสถาปตั ยกรรมอนั สะทอ้ นใหเ้ หน็ พระราชศรทั ธาจะ ทรงบชู าพระรตั นตรัยโดยแทจ้ รงิ พระอารามทที่ รงสถาปนาตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๒ อันเป็นปีแรกทท่ี รงรบั ราชสมบัตคิ ือ วดั ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ซ่งึ ทรงสร้าง สำ�หรับเป็นพระอารามประจำ�แผ่นดินของพระองค์ เป็นการสืบราชประเพณี การสร้างวัดของพระมหากษัตริย์ท่ีปฏิบัติสืบมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาใน ปี พ.ศ. ๒๔๑๙ ทรงสร้างวัดเทพศิรินทราวาส ในสมัยท่ีทรงดำ�รงพระชันษา เข้าเขตเบญจเพส เพ่ือถวายพระราชกุศลฉลองพระเดชพระคุณในสมเด็จ พระบรมราชชนนี คือสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชนิ ี ในรัชกาลที่ ๔ พวรทดัพะโเีอ่พนนรสจปำะิเสร�คมา้รรแวเระอรูปภดรเปศาดรา้ยศแอเรธชางก็จ่หูรบบพรวชเพลีอพัวรบางักรา้ภยรโมบงื่อะสศุปฯะปธุาแปราเถลจรปพยะางใบราดลุหปชอ็นาเะหบปมเจ้สฐิะนวทกนตพัตื่อออาัตรีบ่ล้ะายจรน้าเมินิ ำวซา้สะตกังง�ไเเันฯบหด้ตากปแง้ัรพตยอา็จราวลลยใ็ญหทมมกัดยฯะ้างั :ู้่ ครน้ั ถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๒๑ มพี ระราชประสงค์จะทรงสร้างวดั สำ�หรับประจ�ำ พระราชวังบางปะอิน อันเป็นพระราชฐานที่ได้ทรงปฏิสังขรณ์แบบสร้างขึ้นใหม่ บนรากฐานพระราชวงั เก่าที่สรา้ งมาแตค่ รั้งกรงุ ศรอี ยธุ ยา ในคร้งั นม้ี ีพระราชด�ำ ริ ใหส้ รา้ งพระอารามซง่ึ มพี ระอโุ บสถเปน็ สถาปตั ยกรรมอยา่ งโบสถฝ์ รง่ั ทง้ั กฏุ วิ หิ าร และศาลาการเปรยี ญกส็ รา้ งตามอยา่ งสถาปตั ยกรรมแบบกอธคิ ของยโุ รปสมยั กลาง ทง้ั สน้ิ พระราชทานนามพระอารามวา่ วดั นเิ วศธรรมประวตั ิ และโปรดเกลา้ ฯ ให้ ท�ำ จารกึ แสดงพระราชปรารภในการสรา้ งวดั นเิ วศธรรมประวตั ิ มคี วามตอนหนง่ึ วา่ “...ซึ่งทรงพระราชดำ�ริให้สร้างโดยแบบอย่างเป็นของชาวต่างประเทศ ดงั นี้ ใช่จะมีพระราชหฤทยั เล่ือมใสนับถอื ศาสนาอ่ืนนอกจากพระพุทธศาสนานน้ั หามิได้ พระราชดำ�ริให้ในพระประสงค์ จะทรงบูชาพระพุทธศาสนาด้วยของ แปลกประหลาด และเพอื่ ใหอ้ าณาประชาราษฎรท์ ง้ั ปวงชมเลน่ เปน็ ของประหลาด ไม่เคยมใี นพระอารามอ่ืนแลเป็นของม่นั คงถาวร...” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงพระราชอนุสรณ์ถึง วดั ราชาธวิ าสหรอื วดั สมอราย อนั เคยเปน็ ทปี่ ระทบั จ�ำ พรรษาของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครงั้ ทรงด�ำ รงอยใู่ นสมณเพศ จงึ มพี ระราชประสงคจ์ ะ สถาปนาขน้ึ ใหมท่ ง้ั พระอารามเปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตยิ ศสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ 201
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 202
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ร้ือสร้างใหม่หมดท้ังวัด ท้ัง ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร พระอโุ บสถ พระเจดยี ์ ศาลาการเปรยี ญ หมกู่ ฏุ ิสงฆ์ไมท้ าสีแดงและหอสวดมนต์ ในการสร้างพระอุโบสถใหม่น้ัน โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ ทรงออกแบบเปน็ อทิ ธพิ ล สถาปตั ยกรรมเขมร ทรงพระราชด�ำ รใิ หส้ มเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ออกแบบพระเจดีย์ตามอิทธิพลพุทธเจดีย์แบบชวาโบราณ สร้างไว้ด้านหลัง พระอโุ บสถ ทง้ั ทรงหลอ่ พระประธานในพระอโุ บสถจำ�ลองจากพระสมั พทุ ธพรรณี อนั เปน็ พระพทุ ธปฏมิ าประจ�ำ พระองคข์ องสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ พระราชทาน นามพระอารามวา่ วัดราชาธวิ าส ภาพหน้าซ้าย : ในบรรดาวัดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างและ วัดราชาธิวาส เดิมชื่อ บรู ณปฏิสงั ขรณ์นั้น วัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม เปน็ พระอารามทเ่ี ปน็ ที่รู้จกั วดั สมอราย เปน็ วดั โบราณ มากทส่ี ุด มลู เหตใุ นการสถาปนาวดั เบญจมบพติ รน้ันย้อนไปไดถ้ ึงปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ไม่ปรากฏหลกั ฐานวา่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหซ้ อื้ ทดี่ นิ สร้างในสมัยใด ไดร้ ับการ ระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนเพื่อสร้างพระราชฐานที่ประทับ บรู ณปฏิสังขรณ์คร้ังใหญ่ พักผ่อนพระอิริยาบถส่วนพระองค์ โดยพระราชทานนามว่า “สวนดุสิต” ซ่ึง ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ บริเวณท่ีดินท่ีทรงซื้อนั้นมีวัดโบราณสองวัดคือ วัดดุสิตซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรม พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และจะถูกใช้เป็นที่สร้างพลับพลาท่ีประทับ กับวัดร้างอีกแห่งหนึ่งซ่ึงจำ�เป็นต้อง โดยเปน็ การรื้อสร้างใหม่ ใช้ที่ดินของวัดสำ�หรับตัดถนน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งวดั ดงั พระราชหตั ถเลขาว่า จึงทรงกระทำ�ผาติกรรม สร้างวัดแห่งใหม่เพื่อเป็นการทดแทนตามประเพณี “การปฏสิ งั ขรณว์ ดั ราชาธวิ าส โดยมีพระราชดำ�ริว่าการสร้างวัดใหม่หลายวัดจะยากต่อการบำ�รุงรักษา ถ้ารวม คร้ังนีส้ รา้ งใหม่ทั้งวดั เงินสร้างวดั เดียวให้เปน็ วดั ใหญ่ และท�ำ โดยฝมี อื ประณีตจะดีกว่า จงึ โปรดเกลา้ ฯ ไมม่ ีสิง่ ใดที่จะคงอย่ตู ามเดิม ใหส้ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ ทรงออกแบบ ก่อสร้างพระอุโบสถและถาวรวัตถุอื่นๆ ให้พระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) แต่สกั สิง่ เดียว” เปน็ นายช่างกอ่ สรา้ ง เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๔๒ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จพระราชดำ�เนินมายังพื้นที่ที่จะทรงสร้างวัดขึ้นใหม่ ในการนี้ทรงมีพระบรม ราชโองการประกาศพระบรมราชูทิศถวายท่ีดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัด พรอ้ มทง้ั พระราชทานนามวดั ใหมว่ า่ วดั เบญจมบพติ ร อนั หมายถงึ วดั ของพระเจา้ แผน่ ดนิ รัชกาลที่ ๕ เพอ่ื แสดงล�ำ ดับรชั กาลในพระบรมราชจกั รวี งศ์ ตอ่ มาไดท้ รง ถวายทด่ี นิ ซงึ่ พระองคข์ นานนามวา่ “ดสุ ติ วนาราม” ใหเ้ ปน็ เขตวสิ งุ คามสมี าเพมิ่ เตมิ 203
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 204
แก่วัดเบญจมบพิตร และโปรดให้ขนานนามรวมกันว่า “วัดเบญจมบพิตรดุสิต ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร วนาราม” ภาพหน้าซ้าย : พระอโุ บสถวดั เบญจมบพติ รเปน็ งานสถาปตั ยกรรมทม่ี คี วามงดงามยง่ิ นกั วดั เบญจมบพิตรดสุ ิต ลกั ษณะเปน็ พระอโุ บสถแบบไทยประเพณที รงจตรุ มขุ กอ่ สรา้ งดว้ ยหนิ ออ่ นเนอื้ ดี วนาราม เดิมชื่อวัดแหลม สขี าวบรสิ ทุ ธจ์ิ ากประเทศอติ าลี หลงั คาพระอโุ บสถมงุ กระเบอื้ งเคลอื บสเี หลอื งทอง สรา้ งมาแต่ครัง้ อยุธยา กระเบ้ืองขอบชายคาทำ�เป็นรูปเทพนม เคร่ืองบนพระอุโบสถประดับด้วยช่อฟ้า รชั กาลที่ ๕ โปรดให้ ใบระกา หางหงส์ ลงรกั ปดิ ทอง หนา้ บนั แกะสลกั ลวดลายทง้ั ๔ ทศิ ดา้ นตะวนั ออก สร้างวัดนีใ้ หมท่ ง้ั หมด เป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ด้านตะวันตกเป็นรูปบุษบก มีตราอุณาโลมอยู่ ในรปู แบบสถาปตั ยกรรม ภายใน ด้านเหนือเป็นรูปช้างเอราวัณ และด้านใต้เป็นรูปธรรมจักร ภายใน สมยั รัตนโกสินทร์ โดย พระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธชินราชจำ�ลอง ซึ่งรัชกาลที่ ๕ โปรดให้จำ�ลอง มอบหมายให้สมเด็จ มาจากองค์จริงซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ พระวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เมือง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า พษิ ณโุ ลก เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๕ พระพทุ ธชนิ ราชจ�ำ ลององคน์ ห้ี ลอ่ ดว้ ยโลหะทองผสม กรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ หนัก ๓๙๔๐ ชั่ง ทรงเป็นผอู้ อกแบบควบคมุ การก่อสร้างโดยใช้วสั ดคุ ือ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ รฐั บาลอาณานิคมอินเดียของอังกฤษได้ถวายพระบรม หินออ่ นจากอิตาลีทั้งหมด สารีริกธาตุท่ีขุดพบจากพระสถูปโบราณ อันเป็นท่ีต้ังกรุงกบิลพัสดุ์สมัยพุทธกาล ด้วยพิจารณาเห็นว่าในเวลาน้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น และโปรดใหจ้ ำ�ลอง พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลกที่ทรงนับถือพระพุทธศาสนา ในการน้ีได้ พระพทุ ธชินราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุขุมนัยวินิต เป็นผู้แทนพระองค์เดินทาง ไปรับมอบพระบรมสารีริกธาตุจากอินเดีย และโปรดให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ณ พระบรมบรรพต หรือพระเจดียภ์ ูเขาทอง วดั สระเกศฯ กรุงเทพฯ ท้งั ยังทรง จังหวดั พิษณโุ ลก แบ่งพระบรมสารีริกธาตุบางส่วน พระราชทานให้แก่ประเทศท่ีขอมา เช่น ศรีลงั กา พม่า ญ่ปี ุ่น เปน็ ต้น พระบรมสารีริกธาตทุ ร่ี ฐั บาลอาณานิคมอินเดียของ มาประดิษฐานเป็น อังกฤษถวายน้ีถือเป็นพระบรมสารีริกธาตุที่มีหลักฐานความเป็นมาชัดเจนที่สุด พระประธานในพระอุโบสถ ในประเทศไทย เมือ่ สร้างเสรจ็ ไดพ้ ระราชทานนามวัดนีว้ ่า วดั เบญจมบพิตร ดุสิตวนาราม ซึ่งมี ความหมายว่า วดั ที่ พระเจา้ แผ่นดินองคท์ ี่ ๕ ทรงสร้าง เมื่อสิน้ รัชกาล หลังพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั พ.ศ. ๒๔๕๔ ไดม้ ีการอญั เชิญ พระบรมราชสรีรังคาร ของพระองค์มาบรรจุไวใ้ ต้ รตั นบัลลงั กอ์ งคพ์ ระประธาน 205
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 206
ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร มิตทิ ่ี ๔ ทำ�นุศาสนพธิ ี ศาสนพธิ คี อื ระเบยี บแบบแผนหรอื แบบอยา่ งทพี่ งึ ปฏบิ ตั ใิ นศาสนา เมอื่ น�ำ มาใชใ้ นพระพทุ ธศาสนา จึงหมายถึงระเบยี บแบบแผนหรอื แบบอย่างทีพ่ งึ ปฏบิ ตั ิ ในพระพุทธศาสนา ความจรงิ ศาสนพธิ เี ปน็ สงิ่ ทม่ี อี ยใู่ นทกุ ศาสนาซงึ่ แตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะ ความเชอ่ื ของศาสนาหรอื ลทั ธนิ นั้ ๆ เปน็ สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ภายหลงั การเกดิ ขน้ึ ของศาสนา โดยศาสนาต่างๆ เกิดขึ้นมาก่อนแล้วพิธีกรรมต่างๆ จึงเกิดขึ้นตามมา แม้ว่า ศาสนพิธีจะไม่ใช่ส่ิงที่เป็นแก่นสารของศาสนา แต่ท่านผู้รู้ก็เปรียบพิธีกรรม หรือศาสนพิธีว่าเป็นดังเปลือกต้นไม้ซ่ึงคอยห่อหุ้มแก่นของต้นไม้คือเน้ือแท้ของ ศาสนาไว้โดยทั้งสองส่วนนี้จะต้องอาศัยกันและกัน กล่าวคือ หากไม่มีแก่นแท้ ของศาสนา ศาสนพิธีก็อยู่ได้ไม่นาน หรือหากมีเฉพาะแก่นของศาสนาแต่ไม่มี ศาสนพิธี แก่นแท้ของศาสนาก็อยู่ได้ไม่นานเช่นเดียวกับต้นไม้ท่ีมีแต่เปลือกไม่มี แก่น หรือมีแต่แกน่ ไม่มีเปลือกฉะน้นั ศาสนพิธีเป็นสิ่งที่ช่วยหล่อเลี้ยงแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาไว้เหมือน เปลือกของต้นไม้คอยปกป้องแก่นไม้ไว้ แต่อย่างไรก็ดี การทำ�พิธีต่างๆ ของ พระพุทธศาสนาในปัจจุบันได้มีจุดหักเหที่จะกลายเป็นแก่นแท้ของพระพุทธ ศาสนาโดยไปยึดเอาว่าศาสนพิธีน้ันคือแก่นของพระพุทธศาสนา และยึดถือ อยู่อย่างนั้นอย่างแนบแน่น พุทธศาสนิกชนจึงควรศึกษาทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ ศาสนพิธีให้ถ่องแท้ตามหลักการของพระพุทธศาสนา เพ่ือจะได้ปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้องตรงตามจุดม่งุ หมายต่อไป 207
สพโหปปยลกรระาักรดมบณฯตราใ์รฐัทในวห”สกจม้มรสีกเุงอดลาบ็จรอทชพนำารด�รนะอะมกนแงับลกพะอุฎรพุทเะกิมิศไลตพพ้าร์พรเปะจรริฎ้าะาอกไชตยใกรนูห่ ปุศลวั ิฎลังเกถกราวียโแาดกยลยวะส่าใพมช“มเ้ฉดพา่บจ็รับกพะพับไรตขิมะรบอพปงรข์ ิฎสมอกมเงชฉาษรคบ.ฐม๕บั าบธเาปิรลน็าี ช ทรงสละราชสมบตั ิ พ.ศ. ๒๔๗๗ พ.ศ. ๒๔๖๘ พ.ศ. ๒๔๗๓ พ.ศ. ๒๔๗๘ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ทรงเข้าพระราชหฤทัยความ สำ�คัญของศาสนพิธีในฐานะองค์ประกอบของพระพุทธศาสนา จึงจะเห็นได้ว่า พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ล้วนมีบทบาทในการ สร้างสรรค์และปรับปรุงศาสนพิธีและประเพณีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาใน สยามประเทศอยู่เสมอ เพื่อให้ศาสนพิธีเหล่าน้ันเป็นเครื่องยึดโยงศรัทธาของ มหาชนตอ่ พระพทุ ธศาสนาไปตราบนานเท่านาน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงทราบจากคณะพระสมณ ทูตไทยท่ีทรงส่งไปเยี่ยมเยียนคณะสงฆ์ลังกาว่า ในลังกามีการประกอบพิธีการ บชู าสำ�คัญในวันวิสาขปุรณมี คอื วนั ข้นึ ๑๕ คํา่ เดือน ๖ อันเป็นวันสำ�คัญทาง พระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ของสมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ซง่ึ เคยเปน็ ศาสนพธิ สี �ำ คญั อยใู่ นกรงุ สโุ ขทยั แตไ่ มม่ หี ลกั ฐาน การประกอบพิธีบูชานี้ในสมัยอยุธยา จึงมีพระราชดำ�ริให้จัดพิธีบูชาใหญ่ขึ้นใน สยามประเทศบ้าง เรียกว่าการพระราชกุศลวิสาขบูชา โดยโปรดเกล้าฯ ให้ต้ัง การพระราชพิธีอย่างใหญ่ เร่ิมต้ังแต่วันข้ึน ๑๔ คํ่า ถึงวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๖ รวมสามวัน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยและพระราชวงศท์ รงรักษา อุโบสถศีล พระราชทานพระราชทรัพย์ซ้ือนกและปลาในท้องตลาดปล่อยเป็น อิสระ ออกพระราชกำ�หนดห้ามราษฎรฆ่าสัตว์และเสพสุราในระยะสามวันน้ี ทง้ั ให้พระบรมวงศานุวงศ์ ขา้ ราชการ คณะสงฆ์ และอาณาประชาราษฎรต์ กแต่ง ประทีปและโคมแขวนถวายเป็นพุทธบูชา ให้ประกอบพิธีเวียนเทียนประทักษิณ พระเจดีย์วิหาร และให้มีการแสดงพระธรรมเทศนาทั้งในพระอารามหลวงและ วัดราษฎร์ และให้มกี ารถวายไทยทานพระสงฆต์ ลอดทง้ั สามวนั นั้น พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 208
กเสพทมขมอะรหีจ่รื่อพงุงะะาปเพบสราทีานรราพพชา้ะทพ.มงบศสรผอหาม.ะู้ทนทาพ๒เรนสุดสทุ๔งรค็จมสธ๗ณพรเถยดค๒รส์าอ็จระปถดเบพปนนาฟรกนือ่๑าา้ะเกรง๕กพใำสร�๐ลนุทลรงุ ้าโเธึกา้ปอทเงยใจี กพขนดอ้าาึน้พมว้อดสยใหยรฟนสพะาู่หา้รถกนรจัวัชาระคฬุสปณุรรามนาาโชัยาลธดกิคำ�ณุ ริ ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร การสงั คายนาบทสวดมนตเ์ ปน็ การท�ำ นศุ าสนพธิ คี รงั้ ส�ำ คญั อกี ประการหนงึ่ ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั เนอ่ื งจากในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ ไดเ้ กิด อหิวาตกโรคระบาดในกรุงเทพมหานคร มีพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ไพร่ ทาส เสียชีวิตลงจำ�นวนมาก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมี พระราชดำ�ริให้จัดการบำ�เพ็ญพระราชกุศลเป็นพระราชพิธีใหญ่ เรียกว่า “พระราชพิธีอาพาธพนิ าศ” ในโอกาสเดียวกันน้ีโปรดเกล้าฯ ให้สังคายนาบทสวดมนต์ โดยแปล พระปริตรออกเป็นภาษาไทย และโปรดให้ข้าทูลละอองธุลีพระบาททั้งฝ่ายหน้า และฝ่ายในฝึกสวดพระปริตรแปลด้วยทำ�นองเสนาะต่างๆ ถวายทุกวัน เป็นการ บำ�รุงขวัญและกำ�ลังใจ พระราชดำ�ริในการสังคายนาบทสวดมนต์น้ีนับได้ว่าเป็น ความคิดริเร่ิมท่ีก้าวหน้าและแสดงนํ้าพระราชหฤทัยท่ีกล้าหาญของพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในอันท่ีจะทรงพัฒนาธรรมเนียมการสวดมนต์ ของพุทธศาสนิกชนชาวไทย กล่าวคือการที่มีพระราชดำ�ริให้แปลบทสวดมนต์ ภาษาบาลีท่ีนับถือกันว่ามีความขลังและศักด์ิสิทธิ์ และการสวดมนต์ภาษา บาลีที่เต็มไปด้วยพิธีรีตอง แต่พุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ก็ไม่เข้าใจความหมาย ของบทสวดมนต์ที่สวดไป นับว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มนี า้ํ พระราชหฤทยั กลา้ หาญทม่ี พี ระราชด�ำ รใิ หแ้ ปลบทสวดพระปรติ รเปน็ ภาษาไทย และให้ข้าทูลละอองธุลีพระบาทและราษฎรสวดมนต์ในบทท่ีแปลเป็นภาษาไทย แล้วนั้น แทนการสวดเป็นภาษาบาลีตามคตินิยมเดิมที่มีมาช้านาน ผู้สวดมนต์ ก็จะเกิดความรู้และเข้าใจความหมายของบทสวดมนต์ซึ่งมาจากพระพุทธวจนะ ของพระพุทธเจ้าท้ังน้ัน และพระธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้าน้ันเป็นเร่ืองที่ว่า ดว้ ยเหตุและผลทีจ่ ะพิสูจน์ได้ในชีวติ ประจำ�วนั ของมนุษยเ์ รา หาใช่เรือ่ งศักดส์ิ ิทธ์ิ อิทธิปาฏิหาริยผ์ ดิ หลกั ธรรมชาติแต่ประการใด 209
วอฉขตินออรบาิจงกบั พสฉสแมรัยังระเฆอกดรอธ็จา(ิการชพณ.รบ๕รณัตญัะ)ส์ิ แญพคงั บณิพฆตั ง่ ราิปะอากสกำช�ษังนคมาารมคนจอีกดตหงคีารนโรีทณดา้ จำทย�ะดัหี่อทสแนอ้ังงป้าสฆกลทาเ์ พพปมีบ่ ็นฝร.รศะิห่า.๓ไยาต๒รอฝร๔ยแป่า๘ภู่ยลิฎ๑าะกคยคเขือใปณตึน้ ็นส้พะใภงัชวรฆแ้าินะษสทยัรภาานธไชารททอทยำำำ���ใหนหหานน้คจ้า้ารททบี่ี่ ตลอดเรื่อง โดยแบง่ งานแปลเป็น ๒ ประเภท คือ “พระไตรปิฎกภาษาไทย” แปลโดยอรรถ ตามความในบาลีพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ พิมพเ์ ปน็ เล่มสมดุ และ “พระไตรปิฎกเทศนาฉบับหลวง” แปลโดยสำ�นวนเทศนา พิมพล์ งบน ใบลาน โดยงานทัง้ หมดนีอ้ ย่ใู นพระบรมราชปู ถัมภ์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวอานนั ทมหิดล พ.ศ. ๒๔๗๘ พ.ศ. ๒๔๘๓ พ.ศ. ๒๔๘๘ ทรงเยีย่ มชาวไทยเชือ้ สายจีนเป็นคร้ังแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ณ สำ�เพ็ง พระนคร พร้อมด้วย สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ เจ้าฟา้ ภมู ิพลอดุลยเดช เมื่อวนั ที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ กำ�หนดการบำ�เพ็ญพระราชกุศลเน่ืองในนักขัตฤกษ์ทางพระพุทธศาสนาขึ้นอีก วาระหน่ึงคอื “การพระราชกุศลมาฆบชู า” ในวนั พระจนั ทรเ์ สวยฤกษ์มาฆะเต็ม บริบรู ณ์ของเดือนสาม ซึง่ เปน็ การระลกึ ถงึ วนั ท่พี ระอรหันตส์ าวก ๑,๒๕๐ รูปได้ มาประชมุ พรอ้ มกนั ดว้ ยจาตรุ งคสนั นบิ าต นบั เปน็ การประชมุ ใหญซ่ งึ่ พระพทุ ธเจา้ ทรงใช้โอกาสน้นั ตรัสเทศนาโอวาทปาฏิโมกข์ในทป่ี ระชุมสงฆ ์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอธบิ ายรายละเอยี ดของการ พระราชกศุ ลมาฆบชู าไวใ้ นหนงั สอื พระราชพธิ สี บิ สองเดอื นวา่ ในรชั กาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั นั้น ทรงบำ�เพญ็ พระราชกศุ ลเลี้ยงพระในเวลาเช้า ณ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เวลาคา่ํ เสดจ็ ลงพระอโุ บสถอกี วาระหนง่ึ ทรงจุดธูปเทียน เคร่ืองนมัสการ พระสงฆ์ทำ�วัตรเย็นและเจริญพระพุทธมนต์ โอวาทปาตโิ มกข์ ทรงการจดุ เทียนตามราวรอบพระอโุ บสถ จำ�นวน ๑,๒๕๐ เลม่ บชู าพระอรหันต์ แลว้ ทรงสดับพระธรรมเทศนาโอวาทปาฏิโมกขก์ ัณฑห์ นง่ึ เปน็ ภาษาบาลีและภาษาไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังเป็นพระมหากษัตริย์ไทย พระองค์แรกที่ทรงนำ�ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาหรือที่เรียกว่า “พิธีสงฆ์” อนั ไดแ้ กก่ ารเจรญิ พระพทุ ธมนตเ์ ขา้ มาประกอบเปน็ ขน้ั ตอนส�ำ คญั ในการพระราช พธิ ตี า่ ง ๆ หลายพธิ ซี ง่ึ แตเ่ ดมิ มแี ตข่ นั้ ตอนพธิ กี รรมทางพราหมณ์ เชน่ พระราชพธิ ี บรมราชภิเษกและพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ โดยเฉพาะในการ จรดพระนังคัลแรกนาขวัญนั้น โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพิธีสงฆ์ในวันก่อนการ แรกนาและก�ำ หนดเรยี กวา่ “พระราชพธิ พี ชื มงคล” การเจรญิ พระพทุ ธมนตข์ อง พระสงฆน์ นั้ มจี ดุ ก�ำ เนดิ มาจากการศกึ ษาเลา่ เรยี นและความพยายามในการทรงจ�ำ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกบั พระพทุ ธศาสนา 210
ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร พระพุทธพจน์ อันเป็นการสืบต่อคำ�สอนของพระพุทธเจ้า โดยพระสงฆ์สาวก ต้ังแต่สมัยพุทธกาลได้นำ�พระสูตรต่างๆ มาสวดสาธยายในรูปแบบการบริกรรม ภาวนาให้จิตเกิดเป็นสมาธิในขณะท่ีสาธยายพระพุทธพจน์น้ัน จึงเรียกว่า “พระพุทธมนต์” การบริกรรมภาวนาพระพุทธพจน์ในขณะท่ีจิตเป็นสมาธิน้ัน ย่อมเกิดพลานุภาพและสรรพมงคลต่างๆ เช่น ทำ�ให้เกิดสิ่งท่ีดีงามข้ึนในชีวิต ของบุคคล ทำ�ให้เกิดความสงบในจิตใจของผู้ที่ได้ฟังการเจริญพระพุทธมนต์นั้น อนั จะสง่ ผลดที ง้ั ตอ่ สขุ ภาพกายและใจของผนู้ น้ั และหากทง้ั กายและจติ ของบคุ คล สงบเป็นปกติดีแล้ว บุคคลนั้นย่อมกระทำ�แต่ส่ิงดีงามเป็นมงคลแก่ตนและสังคม แนวคิดเร่ืองพลานุภาพและสรรพมงคลจากการเจริญพระพุทธมนต์น้ีเป็นเหตุผล สำ�คัญท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำ�ริให้เพ่ิมขั้นตอนพิธี สงฆค์ อื การเจรญิ พระพุทธมนตเ์ ขา้ ในการประกอบพระราชพธิ ตี ่างๆ ตามโบราณ ราชประเพณี ซงึ่ ได้ปฏิบตั ิสืบมาจนปจั จุบนั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำ�ริให้มีธรรมเนียม การสง่ บตั รอวยพรสง่ ความสขุ ในวนั วสิ าขบชู าเพอ่ื แสดงถงึ เอกลกั ษณข์ องชาวสยาม และในฐานะที่เป็นเมืองท่ีนับถือพระพุทธศาสนา ทั้งเพื่อจำ�เริญศรัทธาของ พุทธศาสนิกชนให้ยึดม่ันในพระพุทธคุณ มีพระราชประสงค์ที่จะให้การส่งบัตร อวยพรวันวิสาขบูชาเป็นประเพณีนิยมในหมู่พุทธศาสนิกชน ในส่วนพระองค์ได้ ทรงเร่ิมส่งบัตรอวยพรวันวิสาขบูชาพระราชทานพรพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง และขา้ ราชการฝา่ ยตา่ งๆ บตั รอวยพรวนั วสิ าขบชู าในรชั กาลที่ ๖ นนั้ มลี กั ษณะที่ เปน็ ภาพวาดดว้ ยสนี าํ้ หรอื ภาพพมิ พเ์ ปน็ ภาพจนิ ตนาการเหตกุ ารณใ์ นพทุ ธประวตั ิ หรือภาพพระพุทธรูปปางต่างๆ และนิยมเขียนคำ�อวยพรเป็นคาถาในภาษาบาลี อย่างไรก็ดีเป็นท่ีน่าเสียดายว่าธรรมเนียมที่ทรงพระราชดำ�ริข้ึนน้ีเม่ือสิ้นรัชกาล ก็ไดร้ ับความนิยมลดนอ้ ยลง 211
พระพทิ กั ษย์ ตุ ธิ รรม : ปญั ญา วิจนิ ธนสาร
๗บทท่ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร กบั ความเปน็ พุทธศาสนูปถัมภก
“เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพ่อื ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” (พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช)
ใรขพนชั ึน้ รพกะคารมรละอหบทงารรี่ก๙มาษชรพัตยาร.ชเ์ ศิยปจ.์ ็นัก๒ร๔ีว๘งศ๙์ อเรจระงัทุ ิม่ หหยกววาอ่่าดั นงสนทอรคา�ำ้ารงเงภปพพอฐุทุทมสธธาศมมาพณสนรฑาาลนมเแีอปลา็นะณปอาูชำ�เนเขภียตอสตนถิดคาตรนอ่ ชศกัยนู ันศยรก์ ี ลาง ทรงพระผนวชและประทบั จ�ำ พรรษา ณ วดั ขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคครงั้ แรกในรัชกาล บวรนเิ วศวหิ าร เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๙ พ.ศ. ๒๕๐๒ ลาพระผนวชเมอ่ื วนั ท่ี ๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๙ พ.ศ. ๒๔๘๙ พ.ศ. ๒๔๙๔ พ.ศ. ๒๔๙๙ พ.ศ. ๒๕๐๔ พ.ศ. ๒๕๐๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จนิวตั พระนคร มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๔ - ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ทรงฟืน้ ฟูพระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนงั คลั แรกนาขวญั พ.ศ. ๒๕๐๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพติ ร เปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ เ่ี สดจ็ ด�ำ รงสริ ริ าชสมบตั มิ ายาวนานทสี่ ดุ ใน ประวัติศาสตร์ชาติไทย แม้เวลาท่ีได้ทรงรับพระบรมราชาภิเษกจะล่วงเลยมาถึง ๖๒ ปีแล้ว แต่พระปฐมบรมราชโองการท่ีมีพระราชดำ�รัสในการพระราชพิธีนั้น ยังสถิตแนบแน่นอยู่ในสำ�นึกของประชาชนชาวไทย สะท้อนความเป็นพระมหา กษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ผู้มีความเคารพในพระศรีรัตนตรัย และมีธรรม ของสมเดจ็ พระบรมศาสดาเปน็ เครอ่ื งก�ำ กบั พระชนมช์ พี โดยเฉพาะในการปฏบิ ตั ิ พระราชภารกิจในฐานะพระประมขุ ของชาติ จำ�เรญิ ธรรมตามพระวยั วุฒิ แม้ว่าพระมหากษัตริยาธิราชพระองค์น้ีจะเสด็จพระราชสมภพและ เจริญพระชันษาในประเทศอันมิได้มีพระพุทธศาสนาเป็นหลักความเชื่อและ ปฏิบัติของมหาชน แต่การมีสมเด็จพระบรมราชชนนีผู้ประเสริฐและมีพระทัย ยึดมั่นผูกพันกับพระพุทธศาสนาเช่นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีนั้น เปน็ ผลใหพ้ ระองคท์ รงไดร้ บั การอบรมปลกู ฝงั ใหร้ จู้ กั สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ รจู้ กั พระพทุ ธศาสนาและพระธรรมค�ำ สอนของสมเดจ็ พระบรมศาสดาตามควรแก่ ความเป็นเด็กและเยาวชนจะพึงปฏิบัติได้ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระนิพนธ์ถึงการอบรม ปลูกฝังของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีให้พระราชโอรสพระราชธิดา รู้จักพระพุทธศาสนาตามควรแก่สภาวะของเด็ก ต้ังแต่เม่ือคร้ังที่สมเด็จพระเจ้า 216 พระมหากษตั ริย์ไทยกบั พระพทุ ธศาสนา
ทรงเททองหลอ่ พระพทุ ธนวราช ทรงสดบั พระธรรมเทศนาของสมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร บพิตร เพื่อประดิษฐาน ณ วัดราชผาติการาม เรือ่ ง พระมหาชนก เป็นแรงบันดาล จังหวดั ต่างๆ ทว่ั พระราชอาณาจกั ร พระราชหฤทยั ใหท้ รงพระราชนิพนธ์วรรณกรรม พ.ศ. ๒๕๐๙ พุทธศาสนาเรือ่ ง พระมหาชนก ในเวลาตอ่ มา พระราชพิธีรัชดาภิเษก พพร.ศะ.ร๒าช๕พ๒ิธ๕ีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๒๕ ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ พ.ศ. ๒๕๐๙ พ.ศ. ๒๕๑๔ พ.ศ. ๒๕๑๙ พ.ศ. ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๓๔ พี่นางเธอพระองค์น้ัน และพระอนุชาอีกสองพระองค์ คือพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชยงั ทรงพระเยาว์วา่ [ในช่วงเวลาที่ประทับอยู่ในประเทศไทย ก่อนที่จะเสด็จไปประทับอยู่ใน ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด]์ “...วนั อาทติ ย์ แม่จะพาไปดูวัดต่างๆ เปน็ เพยี งการไป ชมภายนอก เพอ่ื ใหร้ ูจ้ ักลักษณะของวดั เช่น วดั พระแกว้ โดยเฉพาะระเบยี งท่ีมี ภาพรามเกยี รติ์ วดั สุทศั นฯ์ วดั โพธิ์ วัดอรณุ ฯ ท่ีวดั สระเกศนน้ั ได้ไปเวลามีงาน ภูเขาทอง เพ่ือดูละครลิงและซ้ือดอกไม้ไฟ แม่ไม่ได้พาไปฟังเทศน์ เพราะเด็ก (ตามที่เราเรยี กตัวเองกัน) คงนัง่ น่ิงๆ อยู่ไม่ไหว และคงไม่เข้าใจอะไรเลย แม่จะ อธิบายพุทธประวัติในถ้อยคำ�ง่ายๆ ที่เราสามารถเข้าใจได้ และก่อนนอนจะให้ สวดมนตส์ น้ั ๆ ในภาษาธรรมดาวา่ ...ขอใหพ้ ระพทุ ธเจา้ บนั ดาลให้ (ชอ่ื ของเราเอง) เป็นเด็กดี มีใจเมตตากรุณา...ภายหลงั อาจมตี อ่ เติมอะไรอื่นอีกแลว้ แตแ่ ตล่ ะคน” เม่ือทรงจำ�เริญพระวัยวุฒิมากข้ึน ความสนพระราชหฤทัยและความต้ัง พระราชหฤทัยท่ีจะศึกษาพระพุทธศาสนาและประพฤติธรรมอย่างจริงจังของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็เพ่ิมพูนมากข้ึน การทรงรับ บรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ และการที่ได้เสด็จนิวัต มาประทับอยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวรเป็นเหตุปัจจัยสำ�คัญประการหน่ึงท่ี ทำ�ให้พระองค์ทรงมีโอกาสได้ใกล้ชิดพระพุทธศาสนาจนถึงข้ันที่ทรงเรียนรู้และ ประพฤติพระองค์ตามพระธรรมคำ�สอนของสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า การทรงดำ�รงพระราชสถานะพระมหากษัตริย์ ซ่ึงตามกฎมนเทียรบาล และราชประเพณีแล้วน้ัน ทรงเป็นบุคคลเดียวในราชอาณาจักรท่ีต้องเป็น พุทธมามกะตามกฎหมาย ด้วยมีกฎว่าด้วยพระราชภาระสำ�คัญในการเป็นองค์ 217
๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. พระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้จดั พิมพ์ ๒๕๓๖ กรมทรพั ยส์ ิน พระราชนิพนธ์ เรือ่ ง พระมหาชนก เผยแพร่ ทางปญั ญาทูลเกลา้ เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี ทูลกระหมอ่ มถวาย สิทธิบัตร ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐ พระราชทาน การประดิษฐ์ พระราชดำ�รสั เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง กังหันนํ้าชยั พัฒนา พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบญั ชร พระที่นัง่ อนันตสมาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ศ. ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๔ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช “พุทธศาสนูปถัมภก” บังคับพระองค์อยู่ แต่ทั้งนี้ก็มิได้หมายความว่าความเป็น พทุ ธมามกะของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระองคน์ จ้ี ะเกดิ ขนึ้ จากการทที่ รง ถูกบังคับโดยกฎหมายและราชประเพณีแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่ หากยังรวมถึง การท่ีทรงยอมรับพระรัตนตรัยเป็นสรณะด้วยพระราชหฤทัยท่ีจริงจังม่ันคงด้วย ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ ทรงพระราชอตุ สาหะศกึ ษาคน้ ควา้ ความรตู้ า่ งๆ เกย่ี วกบั พระพทุ ธ ศาสนาด้วยพระองค์เองตั้งแต่แรกเสด็จดำ�รงสิริราชสมบัติ ซึ่งยังทรงปฏิบัติอยู่ จนถึงทกุ วันนี้ ภมู ิพโลภิกขุผจู้ �ำ เริญในธรรม ประจักษ์พยานข้อหน่ึงที่แสดงความต้ังพระราชหฤทัยม่ันของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีจะทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาอย่างม่ันคง เกดิ ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หลงั จากเสด็จข้ึนครองราชสมบตั ิมาแลว้ ๑๐ ปี ในวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ทรงแถลงพระราชดำ�ริท่ีจะเสด็จออกทรงพระผนวช ต่อมหาสมาคม อันประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และคณะทูตานุทูต ความตอนหน่งึ วา่ “โดยทพ่ี ระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาทดี่ ศี าสนาหนงึ่ เนอ่ื งในบรรดาสจั ธรรม คำ�ส่ังสอนอันชอบด้วยเหตุผล จึงเคยคิดอยู่ว่าถ้าโอกาสอำ�นวย ข้าพเจ้าควร จักได้บวชสักเวลาหน่ึงตามราชประเพณี ซึ่งจักเป็นทางสนองพระเดชพระคุณ พระราชบพุ การตี ามคตนิ ยิ มดว้ ย และนบั ตง้ั แตข่ า้ พเจา้ ไดค้ รองราชยส์ บื สนั ตตวิ งศ์ ต่อจากพระเชษฐาธิราช ก็ล่วงมากว่าสิบปีแล้ว เห็นว่าน่าจะถึงเวลาท่ีควรจะทำ� ตามความตง้ั ใจไว้นน้ั แล้วประการหน่งึ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา 218
ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร อนง่ึ การทอี่ งคส์ มเดจ็ พระสงั ฆราชหายประชวรมาไดใ้ นคราวประชวรครงั้ หลังนี้ก่อให้เกิดความปีติยินดีแก่ข้าพเจ้ายิ่งนัก ได้มาคำ�นึงว่าถ้าในการอุปสมบท ของข้าพเจ้า ได้มีองค์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วก็จักเป็นการ แสดงออกซ่ึงความศรัทธาเคารพในพระองค์ท่านของข้าพเจ้าได้อย่างเหมาะสม อกี ประการหน่ึง จึงได้ตกลงใจทีจ่ ะบรรพชาอปุ สมบทในวันที่ ๒๒ เดือนน้”ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงพระผนวช ณ พระอุโบสถวัด พระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยสมเด็จพระวชิร ญาณวงศ์ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ (ม.ร.ว.ชืน่ นพวงศ์ ฉายา สจุ ิตโฺ ต) วดั บวรนิเวศ วหิ ารเปน็ พระราชอปุ ชั ฌายาจารย์ ในตอนเยน็ ของวันพระราชพิธที รงพระผนวช นั้น เมื่อพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซ่ึงได้รับถวายพระฉายาใน บวรพุทธศาสนาว่า “ภูมิพโล” เสด็จเข้ายังวัดบวรนิเวศวิหารทรงทำ�สักการะ พระราชอุปัชฌายาจารย์แล้ว สมเด็จพระสังฆราชเจ้าได้ถวายพระโอวาท อันมี ความตอนหนงึ่ ว่า “การทรงผนวชวนั น้ี เปน็ ประโยชนม์ ากส�ำ หรบั คนผนู้ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา เพราะเขายินดีกันมาก แต่ว่าท่ีจะได้เป็นประโยชน์สำ�หรับพระองค์เองนั้น ต้อง ประพฤติปฏิบัติธรรมวินัย คือบวชด้วยกายอย่างหนึ่ง บวชด้วยใจอย่างหน่ึง ถ้าทัง้ ๒ อย่างผสมกันเข้าแล้ว จะเปน็ กศุ ล การบวชด้วยกายน้ัน ต้องทำ�พิธีในที่ประชุมสงฆ์ แต่การบวชด้วยใจ ต้องต้ังพระราชหฤทัยเรียนพระพุทธศาสนาในพระวินัย ทรงอ่านดูในข้อบังคับที่ จะไม่ประพฤติล่วง และในธรรมะ ทรงศึกษาเพื่อประพฤติตาม ฝึกหัดพระราช หฤทัยให้สงบระงับ... 219
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 220
...ส่วนธรรมะ อธิบายไว้ในโอวาทแล้ว เพราะฉะนั้น ถ้ามีเวลาควรทรง ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร อ่านเพื่อฝึกหัดพระราชหฤทัยให้สงบระงับ ให้เป็นการบวชด้วยพระราชหฤทัย ด้วย บวชพระกายดว้ ย” เราท่านท้ังหลายจะเห็นได้ว่าพระโอวาทที่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระอุปัชฌาย์ถวายพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น พระองค์ทรงต้ัง พระราชหฤทัยน้อมนำ�มาปฏิบัติอย่างจริงจัง ไม่แต่เฉพาะในเวลา ๑๕ วันท่ี ทรงดำ�รงอยู่ในสมณเพศเท่าน้ัน แต่ทรงยึดพระโอวาทนี้ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะในข้อ “ต้องต้ังพระราชหฤทัยเรียนพระพุทธศาสนา” และ “ฝึกหัด พระราชหฤทัยให้สงบระงับ ให้เป็นการบวชด้วยพระราชหฤทัยด้วย” จนเป็นที่ ประจกั ษช์ ดั วา่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั นน้ั ไม่เคยทรงหยดุ ที่จะศกึ ษาธรรม ในพระพุทธศาสนาและทรงน้อมนำ�ธรรมน้ันมาทรงประพฤติธรรมและฝึกหัด พระราชหฤทยั ให้สงบระงับจากอกุศลจิต ในระหว่างท่ีทรงพระผนวชและประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหารน้ัน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ไดท้ รงบำ�เพ็ญพระราชจรยิ วัตรดจุ พระนวกะทวั่ ไป ทรงศึกษาพระธรรม และปฏิบัติตามพระธรรมวินัยโดยเคร่งครัด ตลอดจน เสด็จพระราชดำ�เนินไปนมัสการพระมหาเจดียสถานและพระพุทธปฏิมาสำ�คัญ ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เป็นการเพิ่มพูนพระราชศรัทธาใน พระศรีรัตนตรัย นอกจากน้ันยังได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ราษฎร ได้เฝ้าฯ ถวายธูปเทียน ดอกไม้ทุกวัน แล้วได้ทรงนำ�ธูปเทียน ดอกไม้น้ันไป ถวายสักการบูชาพระรัตนตรัยในโอกาสเสด็จทำ�วัตรเป็นประจำ�ทุกเช้าทุกเย็น ทง้ั ยังเสดจ็ พระราชดำ�เนนิ ออกทรงรบั บาตรจากประชาชนท่วั ไปอีกดว้ ย พระราชจริยวัตรของพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในช่วงที่ ทรงพระผนวชอยู่น้ันสะท้อนให้เห็นว่าทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ในการศึกษา ธรรมะอย่างเต็มท่ี ส่ิงที่ยังทรงติดสงสัยก็มีพระราชปุจฉาถามพระพรหมมุนี (ผนิ สวุ โจ) รองเจา้ อาวาสวดั บวรนเิ วศวหิ าร เชน่ ในวนั ทแ่ี ปดของการทรงพระผนวช นั้น มีพระราชปุจฉา ๓ ข้อ ที่สะท้อนให้เห็นความสนพระราชหฤทัยในธรรมะ ขนั้ ทสี่ งู และละเอยี ดมากขนึ้ จากการทรงสงั เกตปรากฏการณต์ า่ งๆ ทไ่ี ดท้ รงพบเหน็ พระราชปุจฉาท้ัง ๓ ข้อนั้น ในข้อแรกมีพระราชปุจฉาเกี่ยวกับพระสถานภาพ ของพระองค์เองในขณะนั้นว่า 221
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 222
“ขณะทท่ี รงผนวชอยนู่ ้ีเรยี กกนั วา่ “พระภกิ ษพุ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ” ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร โดยทฐี่ านะพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ก็ยงั มอี ยู่ เปน็ แต่เพยี งทรงจีวรเชน่ ภกิ ษุ เทา่ น้นั ” พระพรหมมุนถี วายวิสชั นาว่า “เรอ่ื งนที้ างธรรมะเรยี กวา่ “สมมตซิ อ้ นสมมติ สจั จะซอ้ นสจั จะ” ความเปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ กเ็ ปน็ สมมตอิ ยา่ งหนงึ่ เรยี กวา่ “สมมตเิ ทพ” ความเปน็ พระภกิ ษกุ ็ เปน็ สมมตอิ กี อย่างหนงึ่ ซ้อนข้ึนในสมมตเิ ทพนัน้ ในการเช่นนีผ้ ู้ปฏิบัติต้องปฏิบตั ิ ให้เหมาะสมกับสมมตินั้นๆ เช่นเมื่อได้รับสมมติเป็นพระภิกษุแล้วก็ต้องปฏิบัติ ตามสกิ ขาบทของพระภกิ ษโุ ดยเครง่ ครดั จกั ปฏบิ ตั แิ ตห่ นา้ ทสี่ มมตเิ ทพอยา่ งเดยี ว ไม่ได้ แต่ถ้าหน้าท่ีของสมมติเทพไม่ขัดกับสิกขาบทวินัยก็อาศัยได้ เช่นคำ�ที่เรียก วา่ “เสวย สรง บรรทม” เปน็ ต้น ยงั ใช้ได”้ พระราชปุจฉาในข้อทสี่ องนน้ั ทรงถามในเร่อื งเก่ียวกบั ผลของกรรมวา่ “คนท่ีมีใจเหี้ยม ฆ่าคนแล้วไม่รู้สึกอะไรน้ัน จัดเป็นบุคคลประเภทไหน ท�ำ ไมบางคนสร้างกรรมในชาตนิ ี้ไว้มาก จงึ ยงั ไมไ่ ดร้ บั ผลของกรรมน้นั กลบั เจรญิ มีความสขุ อยู่ได้” พระพรหมมนุ ถี วายวิสชั นาว่า “ทเ่ี ขายงั มคี วามเจรญิ และความสขุ อยู่ กเ็ พราะกรรมชว่ั ทท่ี �ำ นนั้ ยงั ไมใ่ หผ้ ล ถึงกระนน้ั บุคคลผูท้ ำ�กรรมชั่วย่อมจะไดร้ ับความเดอื ดร้อนใจในภายหลงั ทเ่ี รียก “วิปปฏิสาร” บางกรณกี อ็ าศัยผลของกรรมท่สี รา้ งมาแตป่ างกอ่ น ประกอบการ กระทำ�ซึ่งประกอบด้วยสติ ปัญญา วิริยะ เม่ือดีก็ดีเลิศ เลวก็เลวท่ีสุด ก็เพราะ ปัญญาของเขาเหลา่ นั้น” พระราชปจุ ฉาขอ้ ทสี่ าม ทรงถามถงึ เหตปุ จั จยั ทจ่ี ะท�ำ ใหร้ ะลกึ ไดซ้ งึ่ ชาตกิ อ่ น และชาตหิ นา้ ซง่ึ พระพรหมมนุ ถี วายวสิ ชั นาว่า “จะต้องบำ�เพ็ญตนเองให้สูงข้ึนในการปฏิบัติธรรม และอบรมจิตของ ตนเองให้สูงข้ึนเรื่อยๆ เป็นลำ�ดับไป เช่น เด็กๆ ระลึกหรือจำ�วันก่อนไปไม่ได้ 223
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 224
ครนั้ เจรญิ วยั กจ็ �ำ เหตกุ ารณไ์ ดบ้ า้ ง และเหน็ กาลในอนาคตบา้ ง เมอ่ื เจรญิ เตม็ ทแ่ี ลว้ ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร กเ็ หน็ ท้ังเหตุในอดตี และอนาคตอันไกล” จะเหน็ ไดว้ า่ การทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มโี อกาสไดท้ รงพระผนวช ทำ�ให้ได้ทรงใกล้ชิดพระพุทธศาสนามากยิ่งข้ึน การได้ทรงวิสาสะและเรียน พระธรรมวินัยกับพระเถรานุเถระต่างๆ มีผลให้พระราชศรัทธาและความ สนพระราชหฤทัยในพุทธธรรมและการปฏิบัติศาสนธรรมของพระองค์เพ่ิมพูน มากขึ้น ท่ีสำ�คัญคือ ได้ทรงน้อมรับพระโอวาทของพระราชอุปัชฌายาจารย์มา ทรงปฏิบัติอย่างจริงจัง ยังผลในเชิงประจักษ์อย่างมหาศาลให้ทรงประสบความ ส�ำ เรจ็ ในการทรง “ครองแผน่ ดนิ โดยธรรม” ทงั้ ยงั บงั เกดิ “ประโยชนส์ ขุ แกม่ หาชน ชาวสยาม” อยา่ งแท้จริง รกั ษาศาสนธรรม พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทรงประพฤติพระองค์ ตามแนวพระราชจรรยานุวัตรท่ีพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตสมัยได้ทรงประพฤติ มา คือการเอาพระราชหฤทัยใส่ในการศึกษาพระธรรมคำ�สอนของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือท่ีเรียกว่าเป็นการทรงสร้างสมความเป็น “ปราชญ์ รู้ธรรม” ดังท่ีได้อภิปรายมาในบทก่อนๆ เม่ือทรงรู้ธรรมและเข้าพระราชหฤทัย ในธรรมต่างๆ แล้วก็น้อมนำ�มาเป็นหลักประพฤติพระองค์ และทรงสอนผู้อื่นให้ ประพฤติตามต่อไปได้ พระราชจรรยานวุ ตั รขอ้ นี้เป็นสว่ นหนึ่งของพระราชภาระ ในการ “รกั ษาศาสนธรรม” ทพี่ ระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทรงปฏบิ ตั มิ าทกุ ยคุ สมยั ตงั้ แต่ อดตี จวบจนปัจจบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา อย่างลึกซ้ึงท้ังในเชิงปรัชญา ญาณวิทยา และจริยศาสตร์ ที่สำ�คัญอย่างยิ่งทรง ประยกุ ตแ์ นวค�ำ สอนเชงิ ปรชั ญามาสภู่ าคปฏบิ ตั ิ ดงั พระราชด�ำ รสั พระราชทานใน การเสด็จฯ พทุ ธสมาคมแหง่ ประเทศไทย เมอ่ื วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๓ ความตอนหนงึ่ ว่า “พระพุทธศาสนาแสดงความจรงิ ของชีวติ แสดงทางปฏิบตั ิท่จี ะให้บรรลุ ความสุขสูงสุดของชีวิต มีวิธีการส่ังสอนท่ียึดหลักเหตุและผล ว่าทุกส่ิงเกิด 225
จากเหตุ ผู้ใดประกอบเหตุอย่างไรเพียงใดก็ได้ผลนั้นเพียงนั้น หากจะถามว่า พระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร ก็ต้องตอบว่า โดยเน้ือหาที่เป็นเร่ืองความจริงของ ชีวิต พระพุทธศาสนาเป็นปรัชญา โดยวิธีการที่ยึดหลักเหตุผลพระพุทธศาสนา เป็นศาสตร์ หรือพูดให้ชัดลงไปอีก ก็เป็นวิทยาศาสตร์ เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้า จึงมีความเห็นว่า การสอนพระพุทธศาสนาท่ีถูกต้อง คือ การสอนให้คนมีความ สามารถพิจารณาขุดค้นหาหลักธรรมะจากชีวิตและนำ�หลักธรรมะน้ันมาปฏิบัติ ใหเ้ ปน็ ประโยชน”์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชกรณียกิจมากมายท่ีแสดง นํ้าพระราชหฤทัยที่จะทรงรักษาศาสนธรรมในพระพุทธศาสนาให้บริบูรณ์ ทั้งที่ เป็นพระราชกรณียกิจอันเป็นทางราชการและพระราชกรณียกิจในส่วนพระองค์ ในการอันเปน็ ส่วนพระองคน์ ้ัน เปน็ ท่ที ราบกันดวี า่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์น้ีโปรดการฟังธรรมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการสดับพระธรรมเทศนา อย่างเป็นพิธีการ หรือการฟังธรรมจากการทรงสนทนาธรรมกับพระภิกษุ ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ นอกจากทรงน้อมนำ�เอาหลักธรรมท่ีทรงฟังน้ันมาปฏิบัติ ด้วยพระองค์เองแล้ว ยังทรงพระกรุณาประมวลคำ�สอนของพระภิกษุผู้ทรง คณุ ธรรมสงู พระราชทานใหแ้ กข่ า้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทและประชาชนทวั่ ไปดว้ ย ด้วยมีพระราชประสงค์ให้ข้าทูลละอองธุลีพระบาทเป็นผู้ใฝ่ในทางธรรม เพ่ือ ความเจริญของตนเองและหมู่คณะ ท้ังในหนา้ ที่การงานและชวี ติ ส่วนตัว ในฐานะองค์พระประมุขของชาติ หรือท่ีเรียกกันอย่างสามัญว่าทรงเป็น “ผู้ใหญ่ในบ้านเมือง” นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหม่ันประพฤติ พระองค์ให้ทรงเจริญอยู่ใน “พรหมวิหารธรรม” ดังที่พระราชพรหมยานเถระ (วรี ะ ถาวโร) อดตี เจา้ อาวาสวดั ทา่ ซงุ ซง่ึ เปน็ พระวปิ สั สนาจารยร์ ปู หนงึ่ ทพ่ี ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชศรัทธาได้เคยกล่าวสดุดีพรหมวิหารธรรมของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยอ้างเหตุการณ์เม่ือครั้งที่มีผู้ก่อการร้ายเข้ามา วางระเบดิ ในบรเิ วณพนื้ ทที่ พี่ ระองคก์ �ำ ลงั พระราชทานธงประจ�ำ รนุ่ ลกู เสอื ชาวบา้ น ทจ่ี ังหวดั ยะลา วา่ “พระองค์จึงได้ปรารภว่า วันนั้นพอได้ยินเสียงระเบิดคร้ังแรกเห็นคนเขา ว่ิงวุ่นขวักไขว่ไปมา ก็มีความรู้สึกว่าเสียงระเบิด มันระเบิดไปแล้วก็เป็นอดีต ตามภาษาบาลเี ขาเรยี กวา่ อดตี ใกลป้ ัจจุบัน ถา้ เราจะเอาจติ ไปคดิ หว่ งใยเรื่องราว ในอดีต งานในปจั จบุ ันของเราก็ไม่เปน็ ผล ฉะนัน้ พระองคจ์ งึ ได้ทรงวางอารมณ์ 226 พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา
227 รั ต น โ ก สิ น ท ร์
เฉยเป็นอเุ บกขา ว่าสงิ่ ทัง้ หลายเหลา่ นนั้ มันเกิดแล้วกแ็ ลว้ กนั ไป เวลานม้ี ีหนา้ ทที่ ่ี จะท�ำ งานในปจั จุบันกท็ �ำ ท�ำ ไปจนกวา่ จะเสร็จ และหลงั จากนั้นพระองคก์ ็ทรงให้ โอวาทแก่ลูกเสือชาวบ้าน ทรงปรารภว่าวันน้ันพูดยาวหน่อย เพราะเป็นการดับ ก�ำ ลังใจในความตนื่ เตน้ ของประชาชนและลูกเสือทง้ั หลาย” การปฏิบัติสมาธิวิปัสสนาเป็นหน่ึงในพุทธธรรมท่ีสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงสอนให้พุทธบริษัททั้งหลายหมั่นประพฤติปฏิบัติเพื่อความสงบ ของจิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยการปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนามาแต่ครั้งทรงพระผนวช และทรงทรงศึกษาปฏิบัติมาโดยต่อเนื่อง พลต�ำ รวจเอก วสษิ ฐ เดชกญุ ชร อดตี นายต�ำ รวจราชส�ำ นกั ประจ�ำ ผเู้ คยรบั ราชการ ใกล้ชิดเบ้อื งพระยคุ ลบาทมาเป็นเวลานาน ได้กล่าวถงึ ความเอาพระราชหฤทยั ใส่ ในการบ�ำ เพ็ญสมาธภิ าวนาของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ว่า “คำ�สอนคำ�ถวายกรรมฐานของครูบาอาจารย์ท้ังหลาย พระองค์จะทรง บันทึกเทปไว้ ถ้าคำ�เทศน์คำ�สอนใดที่ทรงเห็นว่ามีประโยชน์สำ�หรับผู้ที่หัดใหม่ ท้ังหลาย พระองค์ท่านมักจะพระราชทานมาให้ ซ่ึงข้าราชการบริพารที่ใกล้ชิด มกั จะไดร้ บั พระราชทานเทปจากในหลวงเสมอ จำ�ไดว้ ่า ท่ไี ด้รับพระราชทานมา ก็มีของ สมเด็จพระสังฆราช ของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ� ของหลวงพ่อพุธ ฐานิโย เปน็ ตน้ และในท�ำ นองเดยี วกนั เวลาพวกผมไปไหนกม็ กั จะหวิ้ เทปไปด้วย ได้พบ พระอาจารย์องค์ไหนก็ตาม ต้องขอธรรมะจากท่าน เม่ือท่านสอนก็บันทึกเอาไว้ แล้วก็มาคัดกันดูว่า ม้วนไหน องค์ใดควรถวายก็จัดถวาย ยังจำ�ได้ว่าในสมัยนั้น ทา่ นอาจารยช์ า สุภัทโท วัดหนองป่าพง ยังไมอ่ าพาธ ครงั้ หนึง่ เดนิ ทางกลับจาก ภพู านลงมาทางอบุ ลฯ ไดแ้ วะไปกราบทา่ น แลว้ กไ็ ดเ้ ทปทา่ นมา ยาวถงึ ๔๐ - ๔๕ นาที เป็นคำ�เทศน์โดยตรงที่ท่านให้โดยตรงมา เม่ือได้เทปของพระอาจารย์ชา มาแล้วไดน้ �ำ ข้ึนทูลเกล้าฯ ถวายพระเจา้ อย่หู วั ทรงฟงั แลว้ รับส่งั ว่าเปน็ เทปม้วน ท่ีดีที่สุดม้วนหน่งึ ” พระองค์มักจะทรงพระกรุณารับส่ังเร่ืองสมาธิกับข้าราชบริพารเสมอ ได้พระราชทานค�ำ แนะน�ำ เกยี่ วกบั เรอื่ งน้ที ุกคร้งั เชน่ พระราชทานค�ำ แนะนำ�ว่า ถ้าไม่สามารถทำ�สมาธิวิธีอ่ืนให้ได้ผล ก็ให้ลองใช้วิธีนับว่า “หนึ่ง-เข้า หนึ่ง-ออก สอง-เข้า สอง-ออก” พระมหากษัตรยิ ์ไทยกบั พระพุทธศาสนา 228
229 รั ต น โ ก สิ น ท ร์
นอกจากเรื่องท่ีทรงศึกษาและฝึกปฏิบัติสมาธิวิปัสสนาแล้ว พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงนำ�สมาธิเข้ามามีส่วนในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ดงั ทพ่ี ลตำ�รวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ตั้งขอ้ สังเกตวา่ “ในเรื่องนี้จะสังเกตเห็นว่า ไม่ว่าจะเป็นงานอะไรก็ตาม ที่โดยปกติแล้ว อยา่ งพวกเราๆ ท่านๆ ไมน่ ่าจะทำ�ได้ แต่พระองค์ทรงท�ำ ได้ อยา่ งทต่ี อ้ งประทบั ในท่นี ัง่ เปน็ เวลานานๆ ตดิ ตอ่ กันถึง ๒ - ๓ ชั่วโมง จะทรงปฏบิ ัติได้อย่างไมน่ ่าเชือ่ คือไม่ทรงมีอาการเหน่ือยหรือง่วงเลยแม้แต่น้อย ไม่เคยเห็นเลยว่า เวลาเสด็จ พระราชดำ�เนินที่ใดแล้วจะทรงแสดงอาการเหน่ือยจนถึงขนาดน่ังหลับ ไม่มีแม้ จะเปน็ การทรงงานท้งั วนั ก็ตาม ดังเรือ่ งท่ีจ�ำ ไดแ้ ละจะเลา่ ให้ฟัง พระเจ้าอยู่หัวโปรดทรงขับรถยนต์ด้วยพระองค์เอง ผมเคยได้ตามเสด็จ ท้ังในและนอกรถพระที่น่ังมาหลายคร้ัง เป็นระยะทางทั้งไกลและใกล้ ถนน เรียบบ้าง ขรุขระบ้าง ลุ่มดอนบ้าง ตามสภาพภูมิประเทศ บางครั้งแม้เสด็จถึง ที่หมายแล้วทรงจอดรถพระที่น่งั และเสดจ็ ฯ ลงไปปฏิบัตพิ ระราชกรณียกจิ ดว้ ย ความตรากตรำ�พระวรกาย เชน่ ทรงพระดำ�เนนิ เป็นระยะทางไกล และเปน็ เวลา หลายชั่วโมง ขากลบั นึกวา่ จะทรงพักผอ่ นพระวรกาย และใหน้ ายสารถที ำ�หน้าท่ี ขับรถพระท่ีนั่งถวาย ก็เปล่า กลับทรงขับด้วยพระองค์เองอีกโดยไม่แสดง พระอาการเหนือ่ ยหรอื งว่ ง เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้ตามเสด็จนัน้ พอกลับขนึ้ ไปบนรถ ก็ต้อง ผลัดกนั หลับไปในรถเพราะความเหน็ดเหนอื่ ยเม่ือยล้าจากการเดินทางไกล หลายปีมาแล้ว ตามเสดจ็ ไปบา้ นแม่สา ในอำ�เภอแมร่ ิม จังหวดั เชยี งใหม่ บ้านแม่สานั้น เดี๋ยวน้ีใครๆ ก็รู้จักเพราะได้กลายเป็น “แม่สาแวลเล่ย์” มีถนน ชั้นหนึ่ง เชื่อมกับโลกภายนอก และมีอาคารบ้านเรือน ตลอดจนรีสอร์ท หรือ ทีพ่ กั ตากอากาศอนั ทันสมัยโผลข่ ้นึ มามากมาย แต่แม่สาในสมัยทีผ่ มตามเสด็จไป เม่ือ ๒๐ ปี ก่อนโน้น เป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่าม้งที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา เวลา เสดจ็ ๆ โดยเฮลคิ อปเตอร์ ไปลงตรงทเ่ี ขาเตรียมไว้ แลว้ ทรงพระดำ�เนินเดนิ เท้าไป ยงั หมู่บา้ น ซ่งึ อยู่ไหล่เขาลูกถัดไปอีก เมอ่ื กอ่ นนี้พระเจา้ อยูห่ วั โปรดการบริหารพระวรกายดว้ ยการวิง่ ถา้ เป็นท่ี พระต�ำ หนกั จติ รลดารโหฐาน กท็ รงวงิ่ ใน ศาลาดสุ ดิ าลยั ครง้ั หนงึ่ ๆ เปน็ ระยะทาง ประมาณ ๓ กิโลเมตร เม่ือยังปฏิบัติหน้าที่อยู่น้ันผมเคยตามเสด็จเป็นประจำ� เวลาวง่ิ สงั เกตเหน็ ทกุ ครงั้ ทตี่ ามเสดจ็ วา่ พระองคท์ รงกา้ วยาวและพระองคป์ ลอ่ ย 230 พระมหากษตั ริยไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา
231 รั ต น โ ก สิ น ท ร์
พระอัสสาสะและพระปัสสาสะ (หายใจเข้า-ออก) สม่ําเสมอ ในขณะที่ผมต้อง ซอยเทา้ ถย่ี ิบ เพอื่ ใหท้ นั และหอบกันอย่างไม่อบั อาย พระสมาธิของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น ผมเช่ือว่าเป็นเหตุให้ ประกอบพระราชกรณียกิจทุกครั้งสำ�เร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อยสมพระราช ประสงค์ และสมความต้องการของทุกฝ่าย แต่ที่ผมเห็นว่าสำ�คัญย่ิงกว่านั้น ก็คือ เวลามีอุปสรรคขัดข้องในพระราชกรณียกิจไม่ว่าคร้ังใดๆ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ไม่ทรงหว่ันไหวหรือสะดุ้งสะเทือน ทรงดำ�รงพระสติมั่น และ พระราชทานคำ�แนะนำ�ให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องมีกำ�ลังใจและสามารถปัดเป่า อุปสรรคข้อขัดข้องเหล่าน้ันได้ดีที่สุด หรือถ้าหากเหลือวิสัยท่ีจะแก้ไขได้ ก็ไม่ ทรงกรว้ิ หรอื ทรงแสดงความไม่พอพระราชหฤทยั แต่กลับทรงแสดงใหผ้ ู้อ่ืนเห็น และเข้าใจว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่อาจเกิดข้ึนได้ ทำ�ให้ทุกคนโล่งใจ และมีกำ�ลังใจ ท่จี ะอุทศิ กำ�ลงั กายและก�ำ ลังใจถวายต่อไปอีก การฝึกสมาธิของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น มิได้ทรงปฏิบัติแต่ พระองคเ์ ดยี ว หากยงั ทรงพระกรณุ าพระราชทานค�ำ แนะน�ำ ใหผ้ อู้ น่ื อยา่ งถว้ นหนา้ ขา้ ราชส�ำ นกั รวมทงั้ ตวั ผมดว้ ย ไดร้ บั พระราชทานทงั้ หนงั สอื และเทปค�ำ สอนของ ครูอาจารย์ที่ทรงเองแล้ว และทรงเห็นว่าแยบคายหรืออาจมีประโยชน์อยู่เสมอ เมอ่ื ทรงมโี อกาสกท็ รงพระกรณุ าพระราชทานด�ำ รเิ กย่ี วกบั สมาธใิ หข้ า้ ราชบรพิ าร ฟังเป็นครง้ั คราว ทำ�ให้ข้าราชบริพาร นายทหาร และนายต�ำ รวจทีป่ ฏบิ ัตหิ น้าท่ี ได้เริ่มฝึกสมาธิต้ังแต่เข้าไปรับหน้าที่นายตำ�รวจประจำ�ราชสำ�นัก และยังฝึก ตดิ ตอ่ กนั เร่อื ยมาจนถงึ ทกุ วันนี้ ผลของพระมหากรุณาธคิ ุณเกย่ี วกับเรอื่ งนี้ ท�ำ ให้ พระราชฐานที่ประทับกลายเป็นสำ�นักวิปัสสนากลายๆ การแลกเปล่ียนความรู้ เก่ียวกับสมาธิหรือกรรมฐาน เป็นปรากฏการณ์ธรรมดาของข้าราชบริพาร ผใู้ ฝ่ธรรม เวลาเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั ตา่ งจงั หวดั งานอดเิ รก อยา่ งหนง่ึ ทเี่ จา้ หนา้ ทผ่ี ตู้ ามเสดจ็ ทงั้ ฝา่ ยพลเรอื นและทหารชอบท�ำ กค็ อื เรร่ อ่ นไป ตามวดั หรือสำ�นักสงฆต์ า่ งๆ เพ่ือแสวงหาความรเู้ กีย่ วกับสมาธิจากพระภกิ ษุสงฆ์ ในฝ่ายวปิ สั สนาธุระ เมื่อการฝกึ สมาธไิ ดก้ ระท�ำ โดยสม่ําเสมอเช่นน้ัน ผลกระทบ โดยตรงทีเ่ กิดขึ้นแก่ผปู้ ฏิบตั ิกค็ ือ “มีสตมิ น่ั คง” สามารถน�ำ เอาสมาธิไปประยกุ ต์ ใช้กับชีวิตประจำ�วันและการงาน สามารถเผชิญกับอุปสรรคปัญหาข้อขัดข้อง ไดอ้ ย่างสุขุมเยือกเยน็ ไม่ตโี พยตพี ายหรอื เสยี สติ 232 พระมหากษตั รยิ ์ไทยกบั พระพุทธศาสนา
พระสมาธใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จงึ ไมเ่ พยี งแตจ่ ะท�ำ ใหพ้ ระราช ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร กรณียกิจที่ทรงปฏิบัติลุล่วงไปอย่างเรียบร้อยเท่าน้ัน แต่อานิสงส์ ทำ�ให้มีผู้ตาม เสด็จฯ และทำ�ให้การปฏิบัติหน้าท่ีของคนเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการหรือ ธุรกจิ อนื่ ใดส�ำ เร็จลลุ ว่ งไปอยา่ งเรียบรอ้ ยเช่นเดยี วกันดว้ ย ขนาดพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ วั ซ่ึงเป็นผูเ้ หนือหัวสงู สดุ ของพวกเราชาวไทย พระองค์ยงั ทรงสนใจ ในการปฏิบัติธรรม การฝึกอบรมพัฒนาจิตใจด้วยการปฏิบัติธรรม จึงนับเป็น ส่งิ ทีป่ ระเสรฐิ ” จะเหน็ ไดว้ า่ ผลแหง่ การปฏบิ ตั สิ มาธขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั นน้ั ท�ำ ใหพ้ ระองคท์ รงงานตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเปน็ อศั จรรย์ ซง่ึ เหลอื วสิ ยั ทคี่ นไทยสว่ นใหญ่ จะปฏิบัติเช่นพระองค์ได้ ดังประจักษ์พยานว่าเม่ือครั้งท่ียังเสด็จพระราชดำ�เนิน ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ ด้วยพระองค์เอง อยู่นั้น พระองค์ประทับนั่งเป็นเวลานานๆ ติดต่อกันได้เป็นเวลาหลายช่ัวโมง ในขณะทผี่ คู้ นสว่ นใหญเ่ พียงแค่ช่วั เวลาไมน่ านก็พากนั ขัดเม่ือยแล้ว ในยามเสด็จ พระราชดำ�เนินออกไปยังถิ่นทุรกันดารเพ่ือทอดพระเนตรปัญหาแหล่งนํ้าและ ทที่ �ำ กนิ ของราษฎรนนั้ ทรงพระด�ำ เนนิ เปน็ ระยะทางอนั ไกลมาก แมท้ หารต�ำ รวจ ทย่ี งั อยใู่ นวยั ฉกรรจห์ ลายนายกต็ ามเสดจ็ แทบไมท่ นั ในการทรงงานเพอ่ื ประโยชน์ สุขของพสกนิกรนั้น พระองค์ไม่ได้ทรงแสดงให้เห็นถึงความลำ�บากพระวรกาย แมแ้ ตน่ อ้ ย ทเ่ี ปน็ เชน่ นเ้ี ปน็ เพราะนา้ํ พระราชหฤทยั ของพระองคท์ ม่ี พี ระมหากรณุ าธคิ ณุ แก่พสกนิกรและผลแห่งการปฏบิ ัติธรรมของพระองค์โดยแท้ ประจักษ์พยานประการสำ�คัญที่แสดงถึงการประพฤติธรรมของพระบาท สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชคอื การพระราชทานพระบรมราโชวาท เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและพุทธธรรมอยู่เสมอ พระบรมราโชวาทหลายองค์ แสดงความตั้งพระราชหฤทัยท่ีจะทรงสอนให้พสกนิกรตระหนักในความสำ�คัญ ของพระพุทธศาสนา ทรงสอนให้พสกนิกรรู้พ้ืนฐานของ “ปริยัติ” และนำ�ไป ปฏบิ ตั ิเพื่อให้เกดิ ผลคอื “ปฏิเวธ” คอื ความสงบสขุ พระบรมราโชวาทองคส์ �ำ คัญ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและพุทธธรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ สมควรยกมาอ้างไว้ ได้แก่ พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการ จดั ตง้ั โรงเรยี นสงเคราะหเ์ ดก็ ยากจน ณ พระต�ำ หนกั จติ รลดารโหฐาน เมอ่ื วนั เสาร์ ท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๑๗ ความตอนหน่งึ ว่า 233
“...ธรรมะในพระพุทธศาสนาน้ันบริบูรณ์ด้วยสัจธรรม ท่ีเป็นสาระและ เปน็ ประโยชนใ์ นทกุ ระดบั ซง่ึ บคุ คลสามารถจะศกึ ษาและปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ประโยชน์ คือความเจริญผาสุกแก่ตนได้อย่างแท้จริง กล่าวคือผู้ปฏิบัติธรรมย่อมจะมีชีวิต และกิจการงาน ทีป่ ระกอบด้วยความสวา่ ง สะอาด และสงบ ท่ีวา่ สว่างนัน้ คือมี ปญั ญารู้เหตุรูผ้ ล ร้ผู ดิ ชอบช่ัวดโี ดยกระจ่างชดั ท่ีว่าสะอาดนนั้ คือไม่มคี วามทุจริต ท้ังกายวาจาใจมาเกลือกกลว้ั เพราะเหน็ จริงชดั ในกุศลและในอกศุ ล ท่ีวา่ สงบนัน้ คือเม่ือไม่ประพฤติทุจริตทุกๆ ทางแล้วความเดือดร้อนจากบาปทุจริต ก็ไม่มา แผ้วพาน คนท่ีประพฤติตนปฏิบัติงานโดยตั้งอยู่ในธรรมอย่างเคร่งครัด จึงเป็น ผู้มีปรกติสุขอยู่ร่มเย็น ไม่ทำ�ความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง แก่ผู้อื่น และสังคม ส่วนรวม ท่านทั้งหลายผู้ต้ังใจอุทิศแรงกายแรงใจของตน เพ่ือพระพุทธศาสนา และความผาสุกของประชาชน จึงควรจะได้เพียรพยายามปฏิบัติส่งเสริมให้ มหาชนได้ศึกษาและปฏิบัติธรรมะอย่างถูกต้องท่ัวถึง ก็จะช่วยให้แต่ละบุคคล ดำ�รงตนอยู่ได้อย่างม่ันคงและเป็นสุขในทุกสถานการณ์ และช่วยค้ําจุนส่วนรวม มใิ ห้เสือ่ มทรดุ ลงได้ ดังท่ที ่านมงุ่ หวัง…” เม่ือวันเสาร์ที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๒๔ ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชวาท ให้เชิญไปอ่านในพิธีเปิดการประชุมยุวพุทธิกสมาคมทั่วประเทศ ครั้งท่ี ๑๖ ณ วัดคิรวี งศ์ อำ�เภอเมือง จงั หวัดนครสวรรค์ มีความตอนหนึง่ วา่ “...ในสมัยปัจจุบัน นอกจากความรู้ในวิชาการซ่ึงสอนกันอยู่ยังต้องมี ความรู้ในทางธรรมะ คือความเป็นอยู่ในจิตใจของแต่ละคน การที่เป็นคนดี เป็นคนที่มีความรู้ในทางเหตุผลนี้สามารถท่ีจะทำ�ให้คนอยู่ด้วยกันอย่างดี ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกัน ช่วยเหลือสามัคคี นอกจากนี้จะช่วยให้คนสามารถที่จะ เรียนวิทยาการได้ ผใู้ ดท่เี รยี นวทิ ยาการแตฝ่ า่ ยเดยี ว จะไมส่ ามารถปฏบิ ัตติ นเปน็ มนษุ ย์ ถ้ามศี ีลธรรมอยใู่ นจติ ใจกส็ ามารถปฏบิ ัตติ นเป็นมนษุ ยท์ ีด่ ี เปน็ ประโยชน์ ต่อตนเองและตอ่ ผู้อ่ืน ฉะนั้นจึงเป็นเหตุให้เห็นความสำ�คัญของศีลธรรม มิใช่ว่าจะให้คนทั่วไป ทกุ คนสนใจศาสนา ศกึ ษาศาสนาใหม้ ากจนเปน็ ผทู้ ไี่ ดช้ อ่ื วา่ ‘ธมั มะธมั โม’ แตต่ ง้ั ใจ ทจ่ี ะใหผ้ ทู้ มี่ คี วามรทู้ างวทิ ยาการสามารถทจี่ ะใชว้ ชิ านน้ั ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ โดยอาศยั ธรรมะ ซง่ึ เปน็ สงิ่ ทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ กท่ กุ คน ถา้ คนมคี วามขอ้ งใจ มคี วามไมส่ บายใจ ธรรมะก็ปลอบใจ คนไหนท่ีมีความรู้ คนไหนมีความตั้งใจที่จะปฏิบัติงาน ก็จะ ชว่ ยใหป้ ฏบิ ตั งิ านส�ำ เรจ็ คนไหนทม่ี ธี รรมะแลว้ จงึ มคี วามเจรญิ และธรรมะจงึ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั สำ�หรับชวี ิต” 234 พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา
235 รั ต น โ ก สิ น ท ร์
ปรากฏการณ์สำ�คัญย่ิงที่แสดงความต้ังพระราชหฤทัยจะปลูกฝังธรรมะ ภาพหนา่้ ขวา : แก่ประชาชนชาวไทย คือการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราช พระราชนิพนธ์เรื่อง นพิ นธเ์ รอ่ื ง “พระมหาชนก” อันเปน็ ชาดกเรอ่ื งหน่งึ ในทศชาตชิ าดก มีพระราช “พระมหาชนก” เริม่ ดำ�เนินการ ประสงคจ์ ะพระราชทานธรรมะในเรอ่ื งวิริยะ คอื “ความเพียร” แก่ราษฎรใหม้ ี จดั พิมพ์ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ ความเพยี ร ดว้ ยความอดทนโดยไมท่ ้อแท้จนกว่าจะประสบความสำ�เร็จ และโดย พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ไมห่ วงั ผลตอบแทน ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พเ์ รอ่ื งพระมหาชนกนใี้ น ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ โอกาสพระราชพธิ ีกาญจนาภิเษก ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ขอพระราชทาน ใหน้ ายขวญั แก้ว วัชโรทยั พระบรมราชานุญาตพมิ พเ์ ปน็ หนังสอื อ่านส�ำ หรับเยาวชน รองราชเลขาธิการ ฝา่ ยกิจกรรมพิเศษ เป็น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ยงั ทรงเผยแผธ่ รรมะแกร่ าษฎรเพอ่ื ใหย้ ดึ ถอื ผู้รับสนองพระราชด�ำ ริ เป็นหลักของจิตใจและการดำ�เนินชีวิต ในการเสด็จออกมหาสมาคมเน่ืองใน นายขวญั แกว้ ได้มอบหมายให้ พระราชพธิ ีฉลองสิรริ าชสมบตั ิ ๖๐ ปี ณ สหี บญั ชรพระที่นงั่ อนนั ตสมาคม เมอ่ื บริษัทอมรินทร์พริ้นติง้ ฯ วนั ท่ี ๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๙ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ�รัสแกผ่ ู้เข้าเฝ้าทูลละอองธลุ ี โดยนายชูเกียรติ อทุ กะพนั ธุ์ พระบาทในเรอื่ งคณุ ธรรมอนั เปน็ ทต่ี ง้ั ของความรกั ความสามคั คที จ่ี ะท�ำ ใหค้ นไทย ประธานกรรมการ ร่วมมือร่วมใจกันรักษาและพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันไปได้ และกรรมการผู้จัดการ ตลอดรอดฝั่ง ๔ ประการ อนั ประกอบด้วย เป็นผดู้ ำ�เนินการจดั พิมพ์ ด้วยพระอัจฉริยภาพทาง “ประการท่ี ๑ การทีท่ ุกคนคิด พดู ท�ำ ด้วยความเมตตา มุ่งดี มุง่ เจริญ ด้านศิลปกรรม ที่จะให้ ตอ่ กัน พระราชนิพนธเ์ รื่องดังกล่าว แสดงรูปแบบของศิลปกรรม ประการท่ี ๒ การที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ประสานงาน ไทยในรชั สมัยของพระองค์ ประสานประโยชนก์ นั ใหง้ านท่ที ำ�สำ�เรจ็ ผล ท้งั แก่ตน แกผ่ ู้อน่ื และประเทศชาติ นายพิษณุ ศุภนิมิตร อาจารย์คณะจิตรกรรม ประการท่ี ๓ การท่ที กุ คนปฏิบตั ติ นอยู่ในความสจุ รติ ในกฎกตกิ า และ ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทยี มเสมอกัน มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ประสานงานและคดั เลือก ประการที่ ๔ การท่ีต่างคนต่างพยายามนำ�ความคิดความเห็นของตน ศิลปิน ๘ คนทีม่ ีระดับอาวโุ ส ให้ถูกต้องเท่ียงตรงและมั่นคงอยู่ในเหตุในผล หากความคิดจิตใจและประพฤติ ตา่ งกนั เพือ่ มาวาดภาพ ปฏิบัติที่ลงรอยเดียวกันในทางท่ีดีที่เจริญนี้ยังมีพร้อมมูลอยู่ภายในกายในใจ ประกอบทีง่ ดงามและ ของคนไทย ก็ม่นั ใจได้วา่ ประเทศไทยจะด�ำ รงมั่นคงอย่ตู ลอดไปได้” มีความหลากหลายด้าน รปู แบบและจินตนาการ คุณธรรมท้งั ๔ ประการทไี่ ด้พระราชทานนน้ั แทจ้ ริงแล้วกค็ อื หลกั ธรรม ศิลปินทัง้ ๘ คนมี ร่นุ อาวโุ สคือ ของพระพทุ ธศาสนา ทมี่ พี ระราชด�ำ รวิ า่ จะเปน็ ประโยชนอ์ นั สงู สดุ หากประชาชน นายประหยดั พงษด์ �ำ , ชาวไทยสามารถน้อมน�ำ ไปปฏิบัตไิ ด้ นายพิชยั นิรนั ต์, นายปรีชา เถาทอง นอกจากการพระราชทานพระบรมราโชวาทที่เน้นความสำ�คัญของ ร่นุ กลาง ไดแ้ ก่ พระพุทธศาสนาและพุทธธรรมแก่พสกนิกรชาวไทยแล้ว พระบาทสมเด็จ นายเฉลิมชยั โฆษิตพิพัฒน,์ นายปัญญา วิจินธนสาร และศิลปินรนุ่ หนุ่มสาว ไดแ้ ก่ นางสาวจินตนา เปี่ยมศิริ, นายธีระวัฒน์ คะนะมะ และนายเนติกร ชินโย จึงกลา่ วไดว้ ่า พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” เปน็ วรรณกรรมเกี่ยวเนือ่ งกับ พระพุทธศาสนาอีกชิ้นหนึง่ ของกรงุ รัตนโกสินทรท์ ี่ รวมฝีมือของตัวแทนศิลปิน แห่งยคุ สมยั สะทอ้ น อจั ฉริยภาพของพระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ภาพหนา้ ขวาและหน้าถัดไป : พระประกอบในพระราชนิพนธ์ เรื่อง “พระมหาชนก” พระมหากษัตรยิ ์ไทยกับพระพุทธศาสนา 236
ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. 237
รายนามศิลปินตามหมายเลขภาพ (หน้า ๒๓๗ - ๒๓๘ - ๒๓๙) ๑. เนติกร ชินโย ๒. จินตนา เปีย่ มศิริ ๓. ปัญญา วิจินธนสาร ๔. พิชัย นิรันต์ ๕. ปรีชา เถาทอง ๖. ธีระวัฒน์ คะนะมะ ๗. และ ๘. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ๙. ประหยดั พงษด์ ำ� พระมหากษัตรยิ ์ไทยกับพระพุทธศาสนา 238
๗. ๙. ๘. 239 รั ต น โ ก สิ น ท ร์
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 240
พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชปู ถมั ภก์ ารช�ำ ระและจารกึ พระไตรปฎิ ก ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร อนั เปน็ คมั ภรี ท์ รี่ วมแหง่ พทุ ธธรรมทง้ั ปวง การตรวจช�ำ ระและสรา้ งคมั ภรี พ์ ระไตร ปิฎกเพ่ิมเติมนั้นเป็นพระราชกรณียกิจในการธำ�รงและเผยแผ่ศาสนธรรมท่ี สำ�คัญของสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าของไทยมาต้ังแต่โบราณกาล ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรม ราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารสงั คายนาตรวจช�ำ ระพระไตรปฎิ ก ซงึ่ ไดด้ �ำ เนนิ การ สำ�เร็จทันวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นมหามงคลโอกาสท่ีทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๕ รอบ ได้จัดพิมพ์แล้วเสร็จทั้งฉบับบาลีและฉบับแปลเป็น ภาษาไทย ประเทศไทยมีการศึกษาพระไตรปิฎกมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ทั้งได้มีการ แปลสว่ นตา่ งๆ ของพระไตรปฎิ กเปน็ ภาษาไทยสบื มาโดยตลอด กระบวนการแปล พระไตรปิฎกเป็นภาษาไทยมาแล้วเสร็จครบชุดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพระองค์น้ีนี่เอง ท้ังต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ มหาวิทยาลัยมหิดล ยังได้น�ำ ขอ้ ความในพระไตรปฎิ กรวมหลายสบิ ลา้ นตวั อกั ษรเป็นจำ�นวน ๔๕ เล่ม บันทึกเข้าจานแม่เหล็กชนิดแข็ง (HARD DISK) เพื่อนำ�เข้าบันทึกในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ให้สามารถเรียกคำ�ศัพท์คำ�ใด จากพระไตรปิฎกเล่มใด หน้าใดก็ได้ มาปรากฏในจอภาพได้ทันที นับเป็นคร้ังแรกของโลกที่มีพระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับคอมพิวเตอร์อันเป็นเกียรติประวัติสูงสุดของประเทศไทย ซ่ึงก็ได้สำ�เร็จลง ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชด้วยเช่นกัน ต่อมา ยังได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้มหาวิทยาลัยมหิดลดำ�เนินการ เพิ่มข้อความภาษาบาลีในหนังสืออธิบายพระไตรปิฎกที่เรียกว่า “อรรถกถา” และคำ�อธิบายอรรถกถาที่เรียกว่า “ฎีกา” รวมเป็นหนังสือทั้งสิ้น ๙๘ เล่ม ให้ สามารถเรียกข้อความท่ีต้องการมาปรากฏในจอภาพ และพิมพ์ข้อความนั้นเป็น เอกสารได้ภายในเวลาไม่กี่วินาที ซ่ึงโครงการตามพระราชดำ�รินี้สำ�เร็จก่อน วันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ นับเปน็ พระราชกรณียกจิ ท่ี สง่ เสรมิ และท�ำ นบุ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาอยา่ งส�ำ คญั ยงิ่ เปน็ ความส�ำ เรจ็ ทม่ี คี ณุ คา่ สงู ต่อการศึกษาค้นคว้าของวงวิชาการเก่ียวกับพระพุทธศาสนาทั่วโลกทีเดียว มิใช่ เฉพาะแตเ่ พยี งในประเทศไทยเท่าน้นั 241
วดั พระศรีรัตนศาสดาราม พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 242
ทรงประยุกต์หลักพุทธศาสนธรรมเพื่อสร้างแนว ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร ความคดิ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นท่ีทราบและตระหนักดีในหมู่พสกนิกรชาวไทยท้ังปวงว่าพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชน้ัน นอกจากจะทรงเสียสละทุ่มเท พระวรกายทรงงานหนกั เพอ่ื ความเจรญิ ผาสกุ ของมหาชนชาวสยามแลว้ พระองค์ ยงั ทรงชแ้ี นะน�ำ ทางให้เกดิ “สมั มาทิฐ”ิ และ “สัมมาปฏบิ ัติ” ในทา่ มกลางภาวะ วิกฤติ ไม่ว่าจะเป็นทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จนเป็นท่ีประจักษ์ชัดว่า ในยามที่ประเทศชาติและประชาชนเผชิญความยากลำ�บากไม่ว่ากรณีใด ก็จะ ทรงปัดเป่าและคล่ีคลายสถานการณ์ไปได้ด้วยดีตลอด ในท่ามกลางภาวะความ ยากลำ�บากทางเศรษฐกิจท่ีเกิดขึ้นกับประเทศไทยในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” สำ�หรับ ประชาชนได้นำ�ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจ�ำ วนั ตามควรแกฐ่ านานุรูป อนั ทจี่ รงิ แลว้ แนวคดิ เรอื่ ง “พออย”ู่ “พอกนิ ” “พอเพยี ง” และ“พอด”ี นน้ั ไม่ใช่แนวคิดใหม่ ความจริงเป็นเร่ืองที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะนำ� ให้ประชาชนชาวไทยน้อมน�ำ ไปปฏบิ ัติ และยงิ่ ไปกว่านน้ั ยงั ทรงปฏิบตั ิใหเ้ ห็นเปน็ ตัวอย่างด้วยพระองค์เองมาโดยตลอด ในช่วงระยะเวลาไม่ต่ํากว่า ๕ ทศวรรษ มาแล้ว นับแต่ได้ทรงริเร่ิมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริเป็นต้นมา หาก วเิ คราะหอ์ ยา่ งละเอยี ดแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ ปรชั ญาหลกั และแนวความคดิ “เศรษฐกจิ พอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวน้ัน สอดคล้องประสานกลมกลืน กบั หลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งแนบแนน่ กลา่ วคอื การละเลกิ ความโลภ มาสคู่ วามรจู้ กั พอเพยี งในการบรโิ ภคและการใชช้ วี ติ การยตุ วิ ฒั นธรรมการบรโิ ภค ที่ไร้สาระตามกระแสของวัตถุนิยมและเศรษฐกิจกระแสหลัก การมัธยัสถ์และ อดออม การสรา้ งความมน่ั คงในชมุ ชน พรอ้ มๆ กบั การสร้างความมน่ั คงในจิตใจ การตั้งม่ันอยู่ในความเมตตา กรุณา และไม่เอารัดเอาเปรียบกัน การให้และ การเกื้อกูลสงเคราะห์กัน การประสานประโยชน์ซึ่งกันและกันอย่างเท่าเทียม ยุติธรรม ล้วนแล้วแต่ปรากฏอยู่ในหลักพุทธศาสนธรรมท้ังส้ิน กล่าวโดยสรุป ได้ว่า พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมพิ ลอดุลยเดช ผู้ทรงพระคณุ อนั ประเสรฐิ ของประชาชนชาวไทยนั้นเป็น “นักคิด” และ “นักพัฒนา” ท่ีมีพระวิสัยทัศน์ กวา้ งไกล และทรงเปน็ “นกั แกป้ ญั หา” ทมี่ แี นวทางและปรชั ญาสอดคลอ้ งตอ้ งกนั 243
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 244
กบั หลกั การส�ำ คญั ในพระพทุ ธศาสนาโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในแนวทางมชั ฌมิ าปฏปิ ทา ัร ต น โ ก ิส น ท ์ร แนวทางของสนั โดษและหลักมตั ตญั ญุตา เรื่อพใงรนพะรรจัชภะลุ สารจมพาอสชยัทจมถพพิีตว่ภเิตัดิธรรกามีสกระพลาบิหบร้าหชราาสเนปมจทสอ้าา้รฝีมสงซอะาเมาดดย้าผรเือยิษดู่หานนมจ็ฐวััง: แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เพ่ือแก้ไขปัญหา กลพารเลงปะคอพมน็ ืนยเหรภดลพะาาแือดรกรพลนาชะษกะชสกดุปัตทาพิบาลรรรอริธะสอิพยดนทีจอย์เรพักสอีปงโะครขเดงใรระนเมตัจ็าียปเเฤชอนกวโรกพอดตลียวษกยิธรา่างี์ วิกฤติทางเศรษฐกิจซึ่งกระทบต่อการดำ�รงชีวิตของพสกนิกรของพระองค์เป็น พระขรชอาา่ ชงงพบพรเอขิมรริธยียิเะแีล่ทูวนบมอณาไร่นยงดมททา้ํพจ้ มา่เิศรำ�จรหตะล้าาาปะพอชรวรงวราันะฉระชทตดายวีปกกิฐาัง สว่ นรวมนนั้ ประสานสอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาทวี่ า่ ดว้ ยการด�ำ รง ชีวิตที่ประเสริฐตามสมมติสัจจะในโลกธรรมด้วย “วิถีแห่งพุทธะ” คือ การรู้จัก ประสานกลมกลนื กบั สงิ่ แวดลอ้ มและธรรมชาติ โดยใชป้ ระโยชนแ์ ละน�ำ กฎเกณฑ์ ของธรรมชาตแิ ละทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ โดยไมเ่ ปน็ การท�ำ ลาย และเบยี ดเบยี นกนั ขณะเดยี วกนั กใ็ หม้ ชี วี ติ อยโู่ ดยมี “ปญั ญาและสมั มาทฐิ ”ิ ก�ำ กบั โดยไม่โลภหลงใหลในวตั ถุจนเกินความสมควร แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระราชดำ�ริไว้น้ัน ยังต้ังอยู่บนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เก่ียวกับความ สามารถพ่งึ ตนเองได้ (อตั ตนาถะ) การพอใจในส่ิงทมี่ อี ยู่ (สันโดษ) การรปู้ ระมาณ (มัตตัญญุตา) และการดำ�เนินชีวิตตามทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ซ่ึงเป็น หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงแนวพุทธ พระบรมราโชวาทในเร่ืองเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ส่งเสริมให้พสกนิกรชาวไทยเห็น คุณค่าของพระพุทธศาสนา และรู้ชัดว่าการที่ประเทศชาติจะสามารถฟ้ืนตัวทาง ด้านเศรษฐกิจได้น้ัน ก็โดยอาศัยการที่ประชาชนศึกษาและนำ�เอาหลักคำ�สอน ของพระพุทธเจ้าเกีย่ วกับเศรษฐกิจมาปฏบิ ตั ิโดยพรอ้ มเพรียงกัน อุปถมั ภ์คณะสงฆ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสืบสาน พระราชจรรยานุวัตรในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระสงฆ์และคณะสงฆ์สืบต่อจาก สมเด็จพระมหากษัตรยิ าธริ าชเจ้าในอดตี ทุกสมยั การอปุ ถมั ภบ์ ำ�รงุ พระสงฆแ์ ละ คณะสงฆ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชน้ัน พระองค์ทรง ปฏบิ ัตโิ ดยทว่ั ถึงท้งั พระสงฆฝ์ า่ ยมหานิกายและธรรมยตุ ิกนิกาย หรอื ท้ังพระสงฆ์ ฝ่ายคนั ถธรุ ะและวปิ ัสสนาธุระ 245
พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 246
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308