Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา

✍️ พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา

Description: ✍️ พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

เพื่อความสวยงามและเพ่ิมคุณค่าให้กับหนังสือ “พระมหากษัตริย์ไทย กบั พระพทุ ธศาสนา” ผมขอขอบคณุ ศลิ ปนิ ทกุ ทา่ นทไ่ี ดว้ าดภาพหรอื มอบภาพวาด เกยี่ วกับพระพุทธศาสนา ใหล้ งพิมพเ์ ป็นภาพประกอบส�ำหรับหนังสอื ผมขอขอบคุณยิ่งส�ำหรับองค์กรต่างๆ ท่ีให้การสนับสนุนและท�ำให้ หนังสือเล่มนี้ออกสู่สาธารณชนได้อย่างกว้างขวางได้ส�ำเร็จ และขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน ตามนามปรากฏท้ายหนังสือนี้ ในการระดมความคิด และให้ค�ำแนะน�ำท่ีเป็นประโยชน์ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพและคุณค่าของหนังสือ ตลอดจนขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนต่อความส�ำเร็จของหนังสือ ท่ีมิได้เอ่ยนามไว้ ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย สดุ ทา้ ยน้ี คุณประโยชนอ์ นั ใดที่บังเกดิ ต่อสาธารณชน ท้ังด้านองค์ความรู้ หรือความตระหนักถึงคุณค่าอันเปรียบปานมิได้ของพระราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ ในการธ�ำรงไว้ซึ่งสันติและประโยชน์สุขของ ประชาชนไทยตามพระพุทธวจนะ จะส่งผลให้บุคคลทั้งหลายเหล่าน้ันร่วมมือ ร่วมใจปรองดองกัน ในการจรรโลงรักษา ทะนุบ�ำรุงสถาบันท้ังสองให้เจริญอยู่ คูป่ ระเทศไทยอยา่ งยง่ั ยืนและมั่นคงตลอดไป (อ�ำนวย วรี วรรณ) เมษายน ๒๕๕๕ 297

ขอขอบคณุ พลตรี หม่อมราชวงศศ์ ภุ วฒั ย์ เกษมศรี คณุ เมตตา อุทกะพนั ธุ์ ดร. ดนิ าร์ บญุ ธรรม คุณโชตวิชช์ สวุ งศ์ คุณพรพมิ ล กาญจนลกั ษณ ์ จิตรกรผูว้ าดภาพและมอบภาพวาดส�ำหรบั ประกอบในหนงั สอื คณุ ถวัลย์ ดชั น ี คุณปรชี า เถาทอง คุณกมล ทัศนาญชลี คณุ พิษณุ ศภุ นิมติ ร คณุ ปญั ญา วิจนิ ธนสาร คณุ เฉลมิ ชยั โฆษิตพพิ ฒั น์ ผูใ้ หค้ �ำแนะน�ำ คุณอานันท์ ปนั ยารชนุ ดร. จิรายุ อศิ รางกรู ณ อยุธยา คุณอาสา สารสิน คณุ กฤษณ์ กาญจนกญุ ชร ดร. วิชิต สุรพงษช์ ยั คุณจิตรพฒั น์ ไกรฤกษ์ คุณด�ำหริ ดารกานนท ์ ดร. พนัส สมิ ะเสถียร คุณโพธพิ งษ์ ลา่ํ ซ�ำ คณุ วิทย์ รายนานนท์ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ทองต่อ กลว้ ยไม้ ณ อยุธยา ดร. ณรงค์ชยั อคั รเศรณี ดร. บรรณจบ บรรณรจุ ิ ศาสตราจารยอ์ ภินันท์ โปษยานนท์ คณุ อคั รวฒั น์ โอสถานเุ คราะห ์ คณุ ปยิ าวันทน์ ประยกุ ต์ศลิ ป์ พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา 298

ผสู้ นบั สนนุ หลกั ในการพมิ พเ์ ผยแพรเ่ ป็นวิทยาทาน ส�ำนกั งานทรัพย์สนิ สว่ นพระมหากษัตรยิ ์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรงุ เทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรงุ ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บรษิ ัท สหยูเน่ยี น จ�ำกดั (มหาชน) บริษัท เมอื งไทยประกันชีวิต จ�ำกดั บรษิ ทั เอเซยี เสรมิ กจิ ลสี ซิง่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ทอสกานาวัลเล่ จ�ำกัด บริษัท โนเบลิ ดเี วลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) ตลาดหลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทย บรษิ ัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จ�ำกดั ดร. สขุ ุม นวพนั ธ์ คณุ วชิ ยั ศรปี ระเสริฐ 299

พระมหากษตั รยิ ์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา ผู้ริเริ่ม ดร. อำ�นวย วีรวรรณ เลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสือ 978-974-365-188-5 พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ จำ�นวน ๙๒,๐๐๐ เล่ม บรรณาธิการ ดร. อำ�นวย วีรวรรณ ผู้ให้คำ�และเรียบเรียง ดร. ดินาร์ บุญธรรม คณะบรรณาธิการ โชตวิชช์ สุวงศ์ ภัทราวรรณ พูลทวีเกียรติ์ พรเพ็ญ บำ�รุงสิน สมรรถ เรืองณรงค์ สาวิตรี ตรีเพชร ณัชชา พัฒนะนุกิจ อนุสรา สังข์ทอง นิธิมา มุกดามณี มานพันธ์ บุญประเสริฐ เยาวลักษณ์ ทองพูนแก้ว ภาพประกอบ สำ�นักโบราณคดี กรมศิลปากร สำ�นักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ โชตวิชช์ สุวงศ์ สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ ชัยชนะ จารุวรรณากร สุภัทรา ศรีทองคำ� จเร รัตนนันทเดช สุรพล พวงศรี ถนอมพงศ์ ชัยชนะ ศักยะ บุญเสมอ นรินทร์ มหัตธน ออกแบบและจัดทำ�รูปเล่ม ฝ่าย Amarin Publishing Services บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ๖๕/๑๖ ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐ ต่อ ๑๒๐๐, ๑๒๑๓ โทรสาร ๐-๒๔๒๒-๙๐๙๑ แยกสีและพิมพ์ที่ สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ๖๕/๑๖ ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐, ๐-๒๘๘๒-๑๐๑๐ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๒๗๔๒, ๐-๒๔๓๔-๑๓๘๕







โดยสว่ นตัวผมเช่อื ว่า ความเจรญิ ของพระพทุ ธศาสนา เกิดจากแรงบนั ดาลใจและศรทั ธาอนั แรงกลา้ ของคนไทย ซ่ึงส่วนส�ำ คัญกอ่ ก�ำ เนดิ จากผ้นู ำ�สงู สุดของประเทศคอื พระมหากษัตรยิ ์ ซงึ่ ปฏิบตั ิพระองคด์ ้านการท�ำ นบุ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาอยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เน่อื ง มาเป็นระยะเวลากว่า ๗๐๐ ปี นับแต่พ่อขุนรามค�ำ แหงมหาราช จนถึงรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู ิพลอดลุ ยเดชในปัจจุบัน ความเคารพรกั และศรทั ธาของประชาชนตอ่ สองสถาบนั หลกั ของประเทศนี้ หลอ่ หลอมเปน็ เอกภาพและกอ่ ให้เกิดแรงบันดาลใจท่ีย่ิงใหญ่ ซึง่ ทำ�ใหเ้ กิดความเจริญของพระพทุ ธศาสนา มใิ ชแ่ ต่ในด้านวัตถุ คือการสรา้ งวดั วาอารามและพุทธวัตถตุ า่ งๆ เท่าน้นั แต่ที่ส�ำ คัญคือ ลักษณะจติ ใจ ทัศนคติ และวถิ ีชวี ติ ของคนไทยดว้ ย อ�ำ นวย วีรวรรณ รว่ มเผยแพรแ่ ละแบ่งปันเป็ นธรรมทาน