ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล พระมหาเจดียร์ ุวนั เวสิสยะ แห่งเมืองอนรุ าธปรุ ะ 47
ในขณะที่พระพุทธศาสนารุ่งเรืองข้ึนท่ีลังกา แต่ในชมพูทวีปหลังส้ิน ราชวงศ์โมริยะในราว พ.ศ. ๒๙๘ พราหมณ์ปุษยมิตรได้ต้ังตัวเป็นกษัตริย์ เริ่มราชวงศ์ใหม่ กษัตริย์องค์น้ีเป็นผู้ล้มเลิกอิสรภาพทางการนับถือศาสนาของ ประชาชน โดยมุ่งหมายท่ีจะรื้อฟื้นศาสนาพราหมณ์ข้ึนมาอีกครั้ง และกำ�จัด พระพทุ ธศาสนาด้วยความรุนแรง เพียง ๓๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน ศาสนาพุทธในอินเดียก็เร่ิม คลอนแคลน ถํา้ อชนั ตา วดั ถ้ําในพระพทุ ธศาสนา เม่ือแคว้นมคธไม่ได้ยิ่งใหญ่เหมือนเดิม ไม่ได้สนับสนุนพระพุทธศาสนา ภาพหน้าขวา : อีกต่อไป บรรดาพระภิกษุสงฆ์จำ�นวนไม่น้อยจึงพากันอพยพจากแคว้นมคธ ๑. แนวเชิงเขารูป ลงไปอยู่ทางใต้ฝ่ังตะวันตก บริเวณที่เรียกว่า ที่ราบสูงเดคคานในรัฐมหาราษฎร์ พระจันทร์เสี้ยว เรียงราย ซ่ึงมภี มู ปิ ระเทศเปน็ เทือกเขาหนิ สลบั ซับซ้อน ด้วยถํ้ามากกว่า ๓๐ ถํ้า เรียงหมายเลขจากขวา เหล่าสงฆ์พากันเข้ามาสร้างสถานที่เพ่ือการปลีกวิเวก หลบซ่อนอยู่ใน ไปซ้าย สร้างโดยเหล่าสงฆ์ ซอกภูผาเหล่าน้ี คณะสงฆ์นิกายเถรวาทพากันสร้างวัดถ้ําด้วยการสลักหินเข้าไป ทั้งนิกายเถรวาทและ ในหนา้ ผาเป็นระยะ สรา้ งแล้วหยดุ ไป ต่อมาสงฆใ์ นนกิ ายมหายานกพ็ ากันเข้ามา มหายาน สรา้ งเพมิ่ เติมจนมีมากกวา่ ๓๐ ถํา้ ทงั้ ใหญแ่ ละเล็กตอ่ เนอื่ งกันไปตามความยาว ๒. รูปเขียนสีบนผนังถํ้า ของเชงิ เขารปู พระจนั ทรเ์ ส้ียว หมายเลข ๑ รูปพระโพธิสัตว์ ปัทมปาณีและพระโพธิสัตว์ ถํ้าอชันตากลายเป็นสัญลักษณ์การมีอยู่ที่สำ�คัญของศาสนาพุทธ วัชรปาณี ในอินเดีย เป็นสิ่งที่แสดงว่า ศรัทธาแห่งเนื้อแท้ของศาสนาไม่อาจถูกทำ�ลาย ๓. พระนอนในถํ้า ลงได้ เป็นการตอบคำ�ถามได้ว่า ถึงแม้ร่วงโรยในที่แห่งหน่ึงแต่ก็สามารถไป หมายเลข ๒๖ รงุ่ เรอื งยงั ทหี่ นงึ่ ทใ่ี ดไดเ้ สมอ ในขณะนนั้ สานศุ ษิ ยข์ องพระพทุ ธองคผ์ รู้ ว่ มมอื กนั ๔. ทางเข้าถํ้าหมายเลข ๑๙ สรา้ งอาณาจกั รแหง่ วดั ถา้ํ ใหร้ งุ่ เรอื งเปน็ เวลาตอ่ เนอื่ งกนั นบั พนั ปี ทา่ นเหลา่ นนั้ อาจมีญาณทราบได้ว่า ในอนาคตอีกไม่ไกล พระพุทธศาสนาก็จะเกิดรุ่งเรือง ขึ้นอีกในดินแดนที่ไกลออกไปกว่าน้ันที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ ชมพูทวีป พระมหากษัตรยิ ์ไทยกับพระพุทธศาสนา 48
๑. ๒. ๓. ๔. 49 ช ม พู ท วี ป : ห ลั ง พุ ท ธ ก า ล
แรกมพี ระพทุ ธรูป ถึงแม้จะมีเร่ืองเล่าถึงตำ�นานการสร้างรูปเคารพแทนองค์พระสัมมา สมั พทุ ธเจา้ หรอื พระพทุ ธรปู วา่ มมี าตงั้ แตใ่ นชว่ งพทุ ธกาล แตท่ สี่ ดุ แลว้ จากหลกั ฐาน ท่ีมีคือ พระพุทธรูปแรกสุดมีขึ้นในยุคคันธาระราว ๕๐๐ ปีหลังพุทธกาล เป็นพระพุทธรูปคล้ายคนจริงที่สลักขึ้นโดยช่างชาวกรีกในอินเดียท่ีหันมานับถือ ศาสนาพุทธ มีรูปลักษณ์กลายไปทางฝร่ัง ดวงพระพักตร์กลม พระนาสิกโด่ง บางรปู มพี ระมสั สุ (หนวด) พระเกศาเกลา้ เป็นเมาลี พระพุทธรูปเหล่านีข้ ดุ พบได้ ท่ัวไปในอนิ เดยี ตอนเหนือและดนิ แดนที่เป็นอัฟกานสิ ถานในปัจจบุ ัน ต่อมาไม่นานจึงเกิดพุทธศิลป์แบบอินเดียแท้ขึ้น มีศูนย์กลางของงานช่าง อยู่ที่เมืองมถุราและเมืองอมราวดี ซึ่งเป็นเมืองสำ�คัญของรัฐอันธระในอินเดียใต้ ปกครองโดยราชวงศ์กษัตริย์สาตวาหนะ ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๗ - ๘ มกี ารสรา้ งพระสถปู ใหญๆ่ และพระพทุ ธรปู แบบ ภาพหน้าขวา : อนิ เดยี บรสิ ทุ ธ์ิ พระเกศาขมวดเปน็ กน้ หอย มลี กั ษณะเหมอื นมนษุ ย์ แตพ่ ระพกั ตร์ ๑. หินสลักแรกมีรูปเคารพ ไมเ่ หมอื นเทวรปู กรกี อยา่ งคนั ธาระ หลงั จากนนั้ จงึ มกี ารสรา้ งพระพทุ ธรปู ขนึ้ อยา่ ง แทนองค์พระพุทธเจ้า แพร่หลายและมรี ปู แบบตา่ งออกไปตามคตินิยมของแตล่ ะยุคสมยั ที่เป็นรูปช้าง ๒. หินสลักรอยพระพุทธบาท พุทธศตวรรษที่ ๗ พระพุทธศาสนารุ่งเรืองอีกครง้ั โดยกษตั ริย์ ศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑสถาน กนิษกะ แห่งชาติอินเดีย กรุงนิวเดลี ๓. พุทธศิลป์แบบอินเดีย พ.ศ. ๖๒๑ - พ.ศ. ๖๔๔ พระเจ้ากนิษกะได้ครอบครองแคว้นคันธาระ หรือพระพุทธรูปรุ่นแรกๆ ลมุ่ แมน่ ำ�้ สนิ ธแุ ละลมุ่ แมน่ ำ้� คงคาไดท้ งั้ หมด กษตั รยิ พ์ ระองคน์ เี้ ดมิ นบั ถอื ศาสนาอน่ื แตไ่ ดห้ นั มาเลอื่ มใสศาสนาพทุ ธอยา่ งจรงิ จงั และเปน็ องคอ์ ปุ ถมั ภกศาสนาองคส์ �ำคญั ทรงอุปถัมภ์การสังคายนาของคณะสงฆ์นิกายสรวาสติวาท ที่นครชลันทร แคว้นกัศมีร์ โปรดให้จารึกพระไตรปิฎกไว้ในแผ่นทองแดงแล้วบรรจุลงสถูป เป็นต้นฉบับหลวง เผยแผ่ไปท่ัวอนุทวีปและไปถึงเมืองจีนผ่านเส้นทางสายไหม นอกจากนยี้ งั ได้ทรงสรา้ งพทุ ธวหิ ารเอาไว้หลายแห่ง พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา 50
๑. ๓. ๒. 51 ช ม พู ท วี ป : ห ลั ง พุ ท ธ ก า ล
พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 52
ในเวลาต่อมาอนุทวีปอินเดียต้องเผชิญกับการรุกรานของพวกฮ่ัน ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล ที่บุกเข้ามาทำ�ลายบ้านเมือง ก่อนท่ีศาสนาฮินดูจะกลืนศาสนาอ่ืนในอนุทวีป จนหมดสนิ้ และกอ่ นจะพนิ าศในยคุ ทท่ี พั มสุ ลมิ บกุ เขา้ มา อนิ เดยี มศี าสนาหลกั คือ ศาสนาฮินดู ส่วนศาสนาพุทธได้สูญหายไป แต่กลับไปเจริญรุ่งเรืองอยู่ ในดนิ แดนอื่นๆ อย่างมากมาย การหล่งั ไหลของพระพุทธศาสนาสู่ดินแดนอนื่ จนี รับพระพทุ ธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศราว พ.ศ. ๖๐๘ โดยพระจกั รพรรดิ มิ่งต่ี แหง่ ราชวงศฮ์ ่ัน ทรงส่งคณะทูต ๑๘ คนมาสบื พระศาสนาท่ีประเทศอนิ เดีย ณ เมอื งโขตาน หลงั จากน้ัน ๒ ปี คณะทูตกลับไปพรอ้ มด้วยพระภิกษุ ๒ รปู คอื พระกาศยปะมาตงั คะและพระธรรมรกั ษะ พรอ้ มดว้ ยพระธรรมคมั ภรี จ์ �ำ นวนหนงึ่ พระภิกษุ ๒ รูปนนั้ เปน็ ผูแ้ ปลพระคัมภรี ์สภู่ าษาจีน ภาพหน้าซ้าย : จิตรกรรม เวลาต่อมา พ.ศ. ๙๔๕ หลวงจีนฟาเหียน (Fa-hsien) เดินทางบกจาก ในอุดมคติของจีน เมืองจีน ผ่านทางเอเชียกลางมาถึงชมพูทวีป เข้าทางแคว้นคันธารราษฎร์ (ประเทศอัฟกานิสถานในปัจจุบัน) หลวงจีนฟาเหียนต้องการจะมาสืบหาคัมภีร์ พระพุทธเจ้าแวดล้อมด้วย พระไตรปิฎกเพ่ือนำ�เอาไปประเทศจนี เมอ่ื ถึงกรุงปาฏลบี ตุ รแลว้ พกั อาศยั ศึกษา พระโพธิสัตว์ พระธรรมวินัยอยู่หลายปี รวบรวมและคัดลอกคัมภีร์แล้วก็โดยสารเรือไปอยู่ท่ี ลังกา ๒ ปี หลังจากน้ันไปแวะที่เกาะชวา แล้วจึงเดินทางกลับประเทศจีน รวมเวลาต้ังแต่ออกจากประเทศจีนจนกลับไปถึงราว ๑๔ ปี ต่อมาหลวงจีน ฟาเหียนได้แปลพระคัมภีร์ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน รวมท้ังเขียนบันทึก การเดินทางที่กลายเป็นหลักฐานในประวตั ศิ าสตรส์ ำ�คญั อกี ช้ินหนึ่ง ให้ความรู้ เร่ืองสภาพพระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ยคุ ที่ร่งุ เรือง เช่น วดั วาอาราม ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ และศาสนบุคคล ก่อนทีท่ ุกสงิ่ จะคอ่ ยๆ หายไปจากอินเดยี 53
พ.ศ. ๑๓๔๕ - พ.ศ. ๑๓๙๓ อาณาจกั รขอมสมยั เมอื งพระนครไดอ้ บุ ตั ขิ นึ้ โดยพระเจ้าชยั วรมันที่ ๒ ระหว่างพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๒๐ ถือเปน็ การเรมิ่ ตน้ ยุคทองของอาณาจักรขอม เมืองพระนครกลายเป็นแหล่งท่ีต้ังของอารยธรรม ยงิ่ ใหญแ่ หง่ หนง่ึ ในโลก ซง่ึ บรู ณาการเอาอารยธรรมอนิ เดยี มาสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ไดอ้ ย่างยง่ิ ใหญ่ มหาปราสาทนครวัด ปราสาทหินใหญ่ท่ีสุดในโลกสร้างในสมัยพระเจ้า สรุ ยิ วรมนั ที่ ๒ (พ.ศ. ๑๖๕๖ - พ.ศ. ๑๖๙๕) เป็นสญั ลกั ษณแ์ ห่งลัทธิ “เทวราชา” (ยกย่องกษัตริย์เสมอดั่งเทพเจ้า) ตามคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ฮินดูที่ ได้รบั อิทธิพลมาจากอินเดยี เมอื่ เมอื งพระนครสญู สลายไปใน พ.ศ. ๑๗๒๐ จากการรกุ รานของกองทพั จามปาซึง่ เป็นรฐั เพ่ือนบา้ น เมอื งพระนครหลวง (นครธม หรอื Angkor Thom) คือเมืองหลวงแห่งใหม่ที่ถูกตั้งข้ึนทางตอนเหนือของเมืองพระนครเดิมโดย พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔ - ราว พ.ศ. ๑๗๖๓) และมปี ราสาทบายน เป็นศูนย์กลางอาณาจักร ปราสาทบายนเป็นพุทธสถานที่สร้างจากการผสาน แนวคดิ เร่ืองเทวราชาเขา้ กับหลกั คำ�สอนทางพระพทุ ธศาสนาเป็นครั้งแรก ในระหว่างระยะเวลาท่ีใกล้เคียงกันกับการสถาปนาอาณาจักรขอมก็เกิด ภาพบนขวา : ปราสาท อาณาจักรพุกาม ราชธานีแห่งแรกของพม่า และนับเป็นราชธานีที่ย่ิงใหญ่ บายน ศาสนสถานพุทธลัทธิ อีกแห่งในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นศูนย์กลางแห่งความรุ่งเรืองทาง มหายาน เชื่อกันว่าสลักเสลา พระพทุ ธศาสนายาวนานกวา่ ๒๔๓ ปี (พ.ศ. ๑๕๘๗ - พ.ศ. ๑๘๓๐) พระพกั ตรม์ าจากเคา้ พระพกั ตร์ ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ พระเจ้าอโนรธาหรืออนิรุทธ์ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พุกาม (พ.ศ. ภาพล่างขวา : พุกาม ๑๕๘๗ - พ.ศ. ๑๖๒๐) ทรงเป็นนักรบผู้ยิ่งใหญ่ ทรงขยายดินแดนออกไปทั้ง ดินแดนแห่งเจดีย์สี่พันองค์ ทางเหนือและใต้ หน่ึงในดินแดนที่มีการยกทัพไปตีคือ อาณาจักรสะเทิมของ หม่องทินอ่อง ชาวมอญ และทรงรับพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากมอญเข้ามาสู่แผ่นดิน นักประวัติศาสตร์ พุกาม และสถาปนาให้เปน็ ศาสนาประจ�ำ ราชอาณาจักรนับแตน่ ั้น ชาวพม่ากล่าวไว้ว่า ศาสนสถานจำ�นวนมาก ที่ปรากฏในพุกามนั้นไม่ได้ เกณฑ์แรงงานคนมาสร้าง แต่สร้างขึ้นจากศรัทธา อันบริสุทธิ์ที่ผู้คนมีต่อ ศาสนาพุทธ ตลอดช่วงเวลาที่พุกามเป็นราชธานีมีการสร้างเจดีย์เพ่ือเป็นพุทธบูชา มากถึง ๔,๔๔๖ องค์ กระจัดกระจายอยู่บนพื้นท่ีกว่า ๑๐๐ ตารางกิโลเมตร ดนิ แดนแห่งนจี้ ึงไดร้ ับการขนานนามว่า ดนิ แดนเจดยี ส์ ่พี ันองค์ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 54
55 ช ม พู ท วี ป : ห ลั ง พุ ท ธ ก า ล
๑. ๒. ๓. พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกับพระพุทธศาสนา 56
สำ�หรับดินแดนท่ีปัจจุบันคือประเทศไทยน้ัน เคยเป็นท่ีตั้งบ้านเมือง ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล และรัฐของผู้คนในกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ มาก่อน อาจกล่าวถึงชื่อ ทวารวดี (ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๖) และละโว้ (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๘) ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้อง เพราะมีหลักฐานของการเป็นชุมชนอย่างค่อนข้างแน่นหนา เช่น ศิลาจารึก เหรียญจารึก รัฐโบราณเหล่าน้ีมีการสร้างสรรค์อารยธรรมภายใน และมกี ารรบั และแลกเปลย่ี นอารยธรรมจากภายนอก เชน่ การรบั พระพทุ ธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การติดตอ่ คา้ ขายกับพอ่ ค้าตา่ งแดน เป็นต้น ภาพหน้าซ้าย : ช่อื ทวารวดี เป็นคำ�ภาษาสันสกฤต แผลงมาจากคำ�ว่า ทวารกา (Dvarka) ๑. พระพุทธรูปปาง อนั เปน็ นครแหง่ พระกฤษณะ วรี กษตั รยิ ใ์ นคมั ภรี ม์ หาภารตยทุ ธ มอี า้ งอยใู่ นบนั ทกึ แสดงธรรมที่พระปฐมเจดีย์ ของภกิ ษจุ นี เหยี้ นจงั (พระถงั ซมั จงั๋ ) ซงึ่ เคยเดนิ ทางมายงั ชมพทู วปี ในสมยั หลงั จาก ๒. ธรรมจักร ศิลปะทวารวดี หลวงจนี ฟาเหยี นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ในบันทกึ เรยี กดนิ แดนน้วี า่ “โถโลโปติ” พบที่จังหวัดนครปฐม เป็นช่ือของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร (ก่อนเป็นพม่า) และอาณาจักรอิศานปุระ (กัมพูชา) จึงอาจระบุตามยุคสมัยได้ว่า ศาสนาของ ๓. รูปนักดนตรี ชาวทวารวดีควรมีผสมกันระหว่างพระพุทธศาสนาในลัทธิเถรวาท ควบคู่ไปกับ ศิลปะทวารวดีตอนกลาง การนับถือศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ทั้งลัทธิไศวนิกายและลัทธิไวษณพนิกาย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ โดยศาสนาพราหมณ์หรือศาสนาฮินดูจะแพร่หลายในหมู่ชนช้ันปกครอง พบที่แหล่งโบราณคดีคูบัว ในระยะตอ่ มา เมื่ออาณาจกั รขอมเรอื งอำ�นาจ เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ตำ�บลคูบัว จังหวัดราชบุรี ทวารวดีก็ถูกครอบง�ำ โดยขอม พระพุทธศาสนาต้องเดินทางผ่านกาลเวลาจากหลังพุทธกาลมาได้ถึง ๑,๗๘๐ ปี จึงเริ่มต้นมีชุมชนของคนไทยขึ้นในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน และเร่ืองราวต่อจากนี้ไป คือเรื่องราวของการประดิษฐานพระพุทธศาสนาลง ในดินแดนแห่งน้ี อันจะกลายเป็นความรุ่งเรืองและย่ังยืนอย่างที่สุดแห่งหนึ่ง ในโลก 57
อรณุ รุ่ง : ประเทือง เอมเจริญ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จิตรกรรม)
๓บทที่ พระมหากษัตริยส์ โุ ขทัยและล้านนา กบั ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ “ในทานบารมี กเ็ หมอื นพระเวสสนั ดร ในปญั ญาบารมีก็เหมอื นพระมโหสถ ในศีลบารมีกเ็ หมอื นพระสลี วราชอนั ทา่ นผรู้ คู้ วรสรรเสริญ... ทรงรูส้ ภาวะแหง่ พระไตรปิฎก พระราชามพี ระนามวา่ ลไิ ททรงประพฤตปิ ระโยชน์ เกือ้ กูลแกพ่ ระศาสนาและเก้อื กูลแก่โลกทั้งปวง” จารึกวดั ปา่ มะมว่ ง พ.ศ. ๑๙๐๔
กำ�เนิดแควน้ สุโขทยั ๓. โดย พ่อขนุ ศรีอินทราทิตย์ พ.ศ. ๑๘๗๒ พญารามราช หรือ พ่อขนุ รามคำ�แหงมหาราช ทรงได้รับการสดดุ ีในฐานะ “ปราชญ์รู้ธรรม” แห่งแคว้น สโุ ขทยั ศรีสัชนาลัย ๑. ๒. พ.ศ. ๑๗๙๒ พ.ศ. ๑๘๑๒ พ.ศ. ๑๘๓๒ พ.ศ. ๑๘๕๒ แควน้ สุโขทยั ล้านนา ประชาคมรัฐยุคตน้ ของชาวไทย แคว้นสุโขทัยและล้านนาคือสังคมรัฐยุคแรกของคนไทย ภาพบน : ๑. พระพุทธรูปแหง่ ครหิ ที่ก่อตัวขึ้นในท่ามกลางความผันผวนทางการเมืองและสังคมบนภาคพื้นทวีป พบทีอ่ ำ�เภอไชยา ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นชว่ งต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ ซ่ึงสง่ ผลให้ประชาคม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ของกลุ่มชนซึ่งเคยมีอิทธิพลครอบคลุมพ้ืนท่ีดังกล่าวมาก่อนเส่ือมลง อันได้แก่ หนึ่งในต้นแบบจาก อาณาจกั รกมั พชู าโบราณของชาวเขมรในลุ่มแม่นาํ้ โขงตอนล่าง อาณาจักรพกุ าม ดินแดนตอนใตม้ าสู่ ของชาวพม่าในตอนกลางของลุ่มแม่น้ําอิระวดี อาณาจักรของชาวมอญทาง พทุ ธศิลปแ์ บบสโุ ขทัย ตอนใต้ของพม่าปัจจุบัน และอาณาจักรหริภุญไชยของชาวมอญในลุ่มแม่นํ้าปิง ๒. พระอจนะแห่งวัดศรีชมุ การเสอ่ื มลงของรฐั เหลา่ นเ้ี ปดิ โอกาสใหค้ นไทยกลมุ่ ตา่ งๆ ซง่ึ ทยอยกนั เคลอ่ื นยา้ ย ๓. อนุสาวรีย์พ่อขนุ ราม เข้ามาต้ังถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่ส่วนต่างๆ ของดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบัน คำ�แหงมหาราช สามารถรวมตัวกันก่อต้ังประชาคมรัฐขึ้นได้ท้ังในบริเวณภาคเหนือตอนบน ๔. พุทธศิลปแ์ บบสโุ ขทยั อันได้แก่ แคว้นโยนกเชียงแสน ล้านนา พะเยา แพร่ และน่าน ในภาคเหนือ ๕. เมืองโบราณเวียงกมุ กาม ตอนล่างคือ แคว้นสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และในท่ีราบลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยาทาง ตอนใตล้ งมาคือ แคว้นละโว้ อโยธยา และสพุ รรณภูมิ แตล่ ะนครรัฐของคนไทย ท่ีต้ังข้ึนในช่วงเวลาน้ีมีราชวงศ์กษัตริย์ของตนปกครอง เป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ทง้ั มคี วามสัมพันธ์กันในฐานะรัฐพันธมติ รหรอื การผกู สัมพันธ์ทางเครือญาติ พระมหากษัตริยไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา 62
พศพก(แคลารรรรสงุะะะอสไนภพงดโุ าิกุทรข้มปษาธทารชศไุ ยัเะทยผารจย์สยับพำ�ไนแพชด.ผาศารม้ ่ท.ตะลีก๑ีก่พิใัทานร๘ทุรธสุงเ๙ิลธสดมศงั๐ุโินัยกขาทพ-าสทาวรนยัพงงะาไ.ศมศลป์ ห.ัทณศา๑ธึกธ๙ิหเษถรัว๑ารรเ๙มวมาร)ือทางชเมปาอน็ลญิไทย ๕. ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า ก�ำ เนิด “ไตรภูมิพระรว่ ง” พ.ศ. ๑๙๗๒ วรรณคดีทางพทุ ธศาสนา พ.ศ. ๑๘๗๒ พ.ศ. ๑๘๙๒ พ.ศ. ๑๙๑๒ พ.ศ. ๑๙๓๒ พ.ศ. ๑๙๕๒ ๔. พระเจา้ กือนาแห่งอาณาจักรล้านนา มีพระราชสาสน์ ถวายแดพ่ ระมหาธรรมราชา ลิไทย ขอพระเถระขึน้ ไปสืบพระศาสนา ที่เมืองเชียงใหม่ พระพทุ ธศาสนาลทั ธิลังกาวงศ์ จึงแพร่หลายในอาณาจักรล้านนา นับแต่ พ.ศ. ๑๙๑๓ เป็นตน้ มา พระพทุ ธศาสนาเถรวาท:ศรัทธารว่ มของรัฐไทย ปรากฏการณ์ทางสงั คมปรากฏการณห์ น่งึ ทีเ่ กิดขนึ้ ในรฐั ไทยทกุ รฐั เหลา่ น้ี คือการที่พระมหากษัตริย์และไพร่บ้านพลเมืองของทุกรัฐมีศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาเถรวาทและยกพระพุทธศาสนานิกายนี้ให้เป็นความเช่ือหลักในบ้านเมือง ของตน ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นในดินแดนที่คนไทยสร้างบ้านแปงเมืองได้ เพราะพระพทุ ธศาสนานนั้ ไดร้ บั การยอมรบั ในฐานะศรทั ธาและความเชอื่ หลกั ของ กลุ่มชนท่ีเจริญรุ่งเรืองมาก่อนหน้าน้ีอยู่แล้ว มีทั้งรัฐท่ีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ฝ่ายมหายานอย่างอาณาจักรกัมพูชาโบราณ และรัฐที่นับถือพระพุทธศาสนา ฝา่ ยเถรวาท เชน่ อาณาจกั รพกุ าม อาณาจกั รมอญทวารวดี และหรภิ ญุ ไชย ในเวลาที่ ประชาคมรัฐของคนไทยก่อตัวขึ้นนั้นเป็นเวลาที่พระพุทธศาสนาท้ังฝ่ายมหายาน และเถรวาทไดป้ ระดษิ ฐานอยอู่ ยา่ งมน่ั คงแลว้ บนภาคพนื้ ทวปี ของเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ คนไทยสบื ทอดพระพทุ ธศาสนาเถรวาทมาเปน็ ความเชอื่ หลกั รวมทง้ั สรา้ ง ความเจรญิ ร่งุ เรอื งของศาสนาน้ีให้วฒั นาสถาพรยงิ่ ขึ้น ในการศกึ ษากระบวนการ สืบทอดศรัทธาและการสร้างความรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาเถรวาทในยุคแรก กอ่ ตวั ของรฐั ไทยนน้ั จะปฏเิ สธมไิ ดเ้ ลยถงึ บทบาทของพระมหากษตั รยิ ข์ องรฐั ไทย ยุคต้นเหล่าน้ี โดยเฉพาะพระมหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงของแคว้นสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์มังรายของล้านนาประเทศ ในการ เป็นผู้นำ�การสร้างศรัทธาอันมั่นคงในพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ ในประชาคมของคนไทย รวมท้ังการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนา ท้ังในดา้ นศาสนบุคคล ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ และศาสนประเพณี 63
พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 64
สโุ ขทัยและล้านนา:ค่ขู นานการอุปถมั ภ์พระพทุ ธ- ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า ศาสนาเถรวาท ภาพหน้าซ้าย : วัดศรีชุม กระบวนการประดิษฐานพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์รวมท้ัง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป กระบวนการสร้างความรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนานิกายนี้ในแคว้นสุโขทัยและ แคว้นล้านนาน้ัน เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนคู่ขนานกัน พระมหากษัตริย์ไทย ปางมารวิชัยองค์ใหญ่ ของท้ังสองแคว้นล้วนมีบทบาทสำ�คญั ในการนำ�เอาพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบ ซึ่งมีนามว่า “พระอจนะ” ลังกาวงศ์มาประดิษฐานในรัฐทั้งสอง โดยพระมหาธรรมราชาลิไทแห่งสุโขทัย ประดิษฐานอยู่ในมณฑป มีบทบาทเป็นหลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายน้ันไปสู่แผ่นดินล้านนา รวมทงั้ แว่นแควน้ อสิ ระอนื่ ๆ ท่อี ยใู่ กลเ้ คียงคือ พะเยา แพร่ และนา่ นดว้ ย และ เม่ือพญากือนาพระมหากษัตริย์แห่งล้านนาทรงรับพระพุทธศาสนาเถรวาท แบบลังกาวงศ์ไปแล้ว พระองค์และพระมหากษัตริย์ล้านนาในสมัยต่อๆ มา ก็ได้ทรงสถาปนาความมั่นคงและรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาอย่างชัดเจน ในการประดิษฐานพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์รวมทั้งการสร้าง ความม่ันคงและรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในแคว้นสุโขทัยและล้านนานั้น พระมหากษัตริย์ไทยท้ังสองรัฐทรงมีบทบาทสำ�คัญย่ิงในฐานะผู้ปกครองและ ผู้นำ�รฐั การตดั สินพระราชหฤทัยดำ�เนนิ นโยบายต่างๆ เกี่ยวกบั พระพทุ ธศาสนา เถรวาทแบบลังกาวงศ์ล้วนมีผลโดยตรงให้อาณาประชาราษฎร์มีศรัทธายอมรับ นบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายนี้ อนั เปน็ การสรา้ งเอกภาพภายในราชอาณาจกั รดว้ ย บทบาทของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนาในการเผยแผ่ศรัทธาใน พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์สู่อาณาประชาราษฎร์นั้นจำ�แนกได้เป็น ๔ ลักษณะไดแ้ ก่ ความเปน็ ปราชญร์ ู้ธรรม ความเปน็ ผนู้ ำ�ทางจติ วญิ ญาณของ สังคม ความเป็นผู้นำ�ในการสร้างงานพุทธศิลป์ และความเป็นผู้นำ�ในการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาไปสู่ดินแดนข้างเคียง อย่างไรก็ตาม พระมหากษัตริย์ ทั้งของสุโขทัยและล้านนามิได้ทรงมีบทบาททั้ง ๔ ลักษณะน้ีเสมอกันทุกรัชกาล บางพระองคอ์ าจทรงมบี ทบาทลกั ษณะหนงึ่ ลกั ษณะใดเดน่ ชดั ในขณะทไี่ มป่ รากฏ หลกั ฐานว่าทรงมบี ทบาทในลักษณะอน่ื ๆ 65
“ปราชญ์รู้ธรรม” : พระมหากษัตริย์ผู้แตกฉาน ในพระไตรปิฎกธรรม จารกึ สโุ ขทยั จำ�นวนหนง่ึ มเี นอ้ื หากลา่ วถงึ การประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนา ภาพบน : อนสุ าวรีย์ เถรวาทแบบลงั กาวงศ์ในแควน้ สโุ ขทยั และล้านนานัน้ ใชค้ ำ�ว่า “ปราชญร์ ธู้ รรม” พอ่ ขุนรามคำ�แหงมหาราช สำ�หรบั ยกยอ่ งบคุ คลทง้ั ทเี่ ปน็ พระสงฆแ์ ละฆราวาส ผมู้ คี วามรทู้ างพระพทุ ธศาสนา ประดิษฐานที่หน้าอุทยาน ที่สำ�คัญคือความรู้พระไตรปิฎกธรรม อันเป็นคัมภีร์ที่รวบรวมพระพุทธวจนะ ประวัติศาสตร์สโุ ขทยั และจำ�แนกคำ�สอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าออกเป็นหมวดหมู่ พระไตรปฎิ กคอื หลกั ฐานอนั เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรทสี่ ำ�คญั สำ�หรบั พทุ ธศาสนกิ ชน ท้ังพระสงฆ์และฆราวาสจะศึกษาพระพุทธวจนะหมวดต่างๆ ในพระไตรปิฎก เพื่อการประพฤติปฏิบัติตนตามคำ�สอนของพระพุทธเจ้า และสามารถสืบทอด จรรโลงพระพุทธศาสนาตอ่ ไปได้ พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา 66
พระมหากษัตริย์ของแคว้นสุโขทัยและล้านนาต่างมีพระราชสถานะเป็น ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า ผู้ปกครองสูงสุดในรัฐ ทั้งมีพระราชภาระและความรับผิดชอบต่อความม่ันคง และม่ังค่ังของราชอาณาจักร รวมท้ังความอยู่ดีมีสุขของอาณาประชาราษฎร์ การที่ “พุทธกษัตริย์” ของรัฐท้ังสองจะทรงสามารถเป็นผู้นำ�ในการจรรโลง ศีลธรรมและความสันติสุขของสังคมได้น้ัน พระมหากษัตริย์ต้องทรงศึกษา พระธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้าเพ่ือให้ทรงมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถ จะทรงนำ�หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นแนวทางปฏิบัติพระองค์ และปกครองบ้านเมือง อันจะทำ�ให้พระองค์สามารถจรรโลง “ศาสนธรรม” ในพระพุทธศาสนาและเผยแผ่พระธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้าไปยังอาณา ประชาราษฎรไ์ ด้ ความรูแ้ ละความเข้าพระราชหฤทัยศาสนธรรมในพระไตรปฎิ ก ของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนายังเป็นปัจจัยสำ�คัญท่ีสามารถทำ�ให้ พระองค์ทรงเข้าถึง “ศาสนบุคคล” คือพระสงฆ์ ซึ่งเป็นบุคลากรสำ�คัญใน พระพทุ ธศาสนาด้วย พญารามราชหรือพ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช (ครองราชย์ประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๒ - ประมาณ พ.ศ. ๑๘๔๑) แห่งแคว้นสุโขทัยศรีสัชนาลัยทรงไดร้ บั การสดุดีในฐานะ “ปราชญ์รู้ธรรม” ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกวัดศรีชุม (จารึกหลักท่ี ๒) ว่า “ลูกพ่อขนุ ศรอี ินทราทติ ย์ผู้หนง่ึ ชอ่ื พอ่ ขุนรามราชปราชญ์ รู้ธรรม” ซ่ึงหลักฐานที่สะท้อนความเป็นปราชญ์รู้ธรรมของพญารามราชนั้น ปรากฏอยใู่ นขอ้ ความหลายตอนในจารกึ หลกั ท่ี ๑ (จารกึ พอ่ ขนุ รามคำ�แหงมหาราช) ซง่ึ แสดงถงึ บทบาทของพระองค์ในฐานะปราชญ์ผู้รู้หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา และทรงนำ�หลกั ธรรมนน้ั มาเปน็ แนวทางในการปกครองบา้ นเมอื งและสรา้ งสนั ตสิ ขุ ในสงั คม เรมิ่ ตง้ั แตก่ ารประพฤตพิ ระองคเ์ ปน็ แบบฉบบั ของพทุ ธศาสนกิ ชนในสงั คม เมอื งสโุ ขทยั ไมว่ า่ เปน็ พระราชวงศ์ สตรบี รรดาศกั ดิ์ ขนุ นาง และราษฎรชายหญงิ “พ่อขนุ รามค�ำ แหงเจ้าเมอื งสุโขทยั น้ี ท้ังชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปวั่ ทว่ ยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นท้ังหลาย ทั้งผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเม่อื พรรษากาลทุกคน” (จารกึ หลักท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) ความเปน็ ปราชญร์ ธู้ รรมของพญารามราชนน้ั ยงั เหน็ ไดจ้ ากพระราชจรยิ วตั ร ของพระองคใ์ นการทรงศกึ ษาและเผยแผ่ “ศาสนธรรม” ไปสไู่ พรบ่ า้ นพลเมอื งของ 67
พระองคโ์ ดยทรงใหค้ วามสำ�คญั กบั การฟงั ธรรมในวนั ธรรมสวนะ พระองคโ์ ปรดให้ ใช้ดงตาลในเมืองสุโขทัยเป็นสถานท่ีฟังธรรมในวันธรรมสวนะ ที่ดงตาลแห่งน้ี ทรงสร้างพระแท่นมนังศิลาบาตรไว้สำ�หรับพระองค์ประทับปรึกษาราชการ บ้านเมืองกับบรรดาเจ้านายและขุนนาง ส่วนในวันธรรมสวนะจะโปรดให้ อาราธนาพระสงฆ์ผู้ใหญ่ข้ึนแสดงธรรมถวายบนพระแท่นมนังศิลาบาตรน้ี เพื่อ ให้พระองค์เอง เจ้านาย และขุนนาง ตลอดจนทวยราษฎรได้มีโอกาสรักษาศีล และฟังธรรมดว้ ย “วันเดือนดับเดือนโอกแปดวัน วันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขนึ้ นัง่ เหนอื ขดานหินสูดธรรมแกอ่ ุบาสก ฝูงท่วยจ�ำ ศลี ” (จารึกหลักท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) พระมหาธรรมราชาลิไท (ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๙๗ - พ.ศ. ๑๙๑๙) เปน็ พระมหากษตั รยิ ส์ โุ ขทยั อกี พระองคห์ นงึ่ ทม่ี พี ระเกยี รตคิ ณุ ปรากฏในฐานะปราชญ์ รธู้ รรม ทง้ั ทรงมคี ณุ ปู การในการสรา้ งความเปน็ ปกึ แผน่ และรงุ่ เรอื งใหก้ บั พระพทุ ธ- ศาสนาเถรวาทแบบลงั กาวงศใ์ นอาณาจกั รสโุ ขทยั พระองคท์ รงเปน็ ปราชญผ์ ทู้ รง ศกึ ษาพระไตรปฎิ กธรรมและพระคมั ภรี ท์ างพระพทุ ธศาสนาตา่ งๆ อยา่ งแตกฉาน จนถึงข้ันท่ีสามารถจะทรงประมวลและสังเคราะห์ข้อมูลจากคัมภีร์ต่างๆ เหล่า นน้ั มาทรงพระราชนพิ นธว์ รรณคดที างพทุ ธศาสนาเรอื่ งสำ�คญั คอื เตภมู กิ ถา หรอื ท่ีตอ่ มาในสมัยรัตนโกสนิ ทร์เรยี กวา่ “ไตรภมู พิ ระรว่ ง” เป็นวรรณคดที พ่ี รรณนา ถงึ ภพภูมิทัง้ สามหรือไตรภมู ิ ได้แก่ กามภมู ิ รปู ภมู ิ และอรปู ภูมิ เนื้อหาของเตภมู ิ กถามาจากคำ�สอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท ทง้ั ยังทรงอทิ ธิพลตอ่ คตคิ วามเชอ่ื และการประพฤติตนของผู้คนในสังคมไทยสืบมาจนปัจจุบันนี้ เช่น คติความเช่ือ เกี่ยวกับนรก สวรรค์ ทสี่ ัมพันธ์กับการประกอบกรรมดีกรรมชัว่ ของมนุษย์ หลัก ของสังสารวัฏหรือการเวียนว่ายตายเกิด ความเชื่อเก่ียวกับภพภูมิต่างๆ และ ทวีปท้ังสี่อันเป็นท่ีอาศัยของมนุษย์ ความเชื่อเก่ียวกับระยะเวลากัปกัลป์และ ยุคต่างๆ โดยเฉพาะกลียุคและการล้างโลก คติความเช่ือเก่ียวกับพระอนาคต พุทธเจ้าคือ พระศรีอาริยเมตไตรย์ อุดมคติเกี่ยวกับพระมหาจักรพรรดิราช คือ กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวง และรัตนะเจ็ดประการอันเป็นสมบัติของ พระมหาจักรพรรดิ คติความเช่ือเหล่าน้ีล้วนแล้วแต่เป็นอุดมคติทางพุทธศาสนา ทแ่ี ฝงอยู่ในพระสูตรต่างๆ ของพระไตรปฎิ ก พระมหากษตั ริย์ไทยกบั พระพุทธศาสนา 68
ในบานแพนกของเรอ่ื งเตภมู กิ ถานน้ั กลา่ วสดดุ พี ระมหาธรรมราชาลไิ ทถงึ ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า ความเปน็ ปราชญร์ ธู้ รรมทย่ี งิ่ ใหญข่ องพระองค์ โดยพรรณนาถงึ ความรใู้ นพระสตู ร และพระคัมภีร์ต่างๆ ของพระองค์ รวมท้ังการที่พระองค์เอาพระราชหฤทัยใส่ ในการศกึ ษาพระธรรมในสำ�นกั ของพระมหาเถระรปู สำ�คญั และราชบณั ฑติ ประจำ� ราชสำ�นัก และเหนือสิ่งอ่ืนใดคือความอุตสาหะของพระองค์ในการทรงค้นคว้า คมั ภรี ์ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาเพอ่ื ทรงพระราชนพิ นธ์เตภูมกิ ถา และความต้งั พระราชหฤทัยที่จะเทศนาเรือ่ งราวในเตภูมกิ ถานนั้ แดพ่ ระราชชนนีของพระองค์ “เจ้าพระยาเลไทยได้เสวยราชสมบัติในเมืองสัชชนาไลยยอยู่ได้ ๖ เข้า จึงได้ไตรภูมิถามุนใส่เพื่อใด ใส่เพื่อมีอัตถพระอภิธรรมและจะใคร่เทศนาแก่ พระมารดาท่าน อน่ึงจะใคร่จ�ำ เริญพระอภธิ รรมโสด พระธรรมไตรภมู กิ ถาน้ีธเอา ออกมาแตพ่ ระคมั ภรี ใ์ ดบา้ ง เอามาแตใ่ นพระอตั ถกถาพระจตรุ าคนนั้ กม็ บี า้ ง ฯ ใน อตั ถกถาฎกี าพระอภธิ รรมวดารกม็ บี า้ งฯ พระอภธิ รรมสงั คกม็ บี า้ ง ในพระสคมงั คล วิลาสินกี ม็ บี ้าง ฯ ในพระปปัญจสทู นกี ม็ ีบ้าง ฯ ในพระสารตั ถปกาสนิ ีกม็ บี ้าง ฯ ในพระมโนรถปรุ ณกี ม็ บี า้ ง ในพระสโิ นโรถปกาสนิ กี ม็ บี า้ ง ฯ ในพระอตั ถกถาฎกี า พระวิไนยก็มบี ้าง ฯ ในพระธรรมบทก็มบี ้าง ในพระธรรมมหากถากม็ ีบ้าง ฯ ใน พระมธรุ ตั ถปรุณวี ิลาสนิ กี ม็ บี า้ ง ในพระธรรมชาดกกม็ ีบา้ ง ฯ ในพระชนิ าลังการ กม็ ีบา้ ง ฯ ในพระสารัตถทีปนกี ็มบี ้าง ในพระพทุ ธวงษก์ ม็ บี า้ ง ฯ ในพระสารสงั คห กม็ บี า้ ง ในพระมลิ นิ ทปญั หากม็ บี า้ ง ในพระปาเลยยกะกม็ บี า้ ง ฯ ในพระมหานทิ าน กม็ บี า้ ง ฯ ในพระอนาคตวงษก์ ม็ บี า้ ง ในพระจรยิ าปฎิ กกม็ บี า้ ง ในพระโลกบญั ญตั ิ กม็ บี ้าง ฯ ในพระมหากัลปกม็ ีบา้ ง ฯ ในพระอรุณวตั ตกิ ม็ บี า้ ง ฯ ในพระสมนั ตปา สาทิกาก็มีบ้าง ฯ ในพระจักษณาภิธรรมก็มีบ้าง ฯ ในพระอนุฎีกาหิงสกรรมก็มี บ้าง ในพระสาริริกวินจิ ฉยั ก็มีบ้าง ฯ ในพระโลกุปปตั ติก็มบี า้ ง ฯ และพระธรรม ทงั้ หลายนี้ เอาออกมาแลแหง่ แลนอ้ ยแลเอามาผสมกนั จงึ สมมตุ ชิ อื่ วา่ ไตรภมู กิ ถา แลฯ พระธรรมทั้งหลายน้ีเจ้าพระญาเลไทยอันเป็นกระษัตรพงษ ดังหรือละมา อาจผูกพระคัมภีร์ไตรภูมิกถาน้ีได้ไส้ เพราะเหตุท่านน้ันทรงพระปิฎกไตรธรรม ธไดฟ้ งั ไดเ้ รยี นแตส่ �ำ นกั พระสงฆเ์ จา้ ทง้ั หลาย คอื วา่ มหาเถรมนุ ฟี งั เปน็ อาทคิ รู เรยี น แต่พระอโนมทัสสิ และพระมหาเถรธรรมปาลเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรสทิ ธฏั ฐเจ้า บา้ ง ฯ พระมหาเถรพงษะเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรปญั ญาญาณทันธส ฯ เรียนแต่ ราชบัณฑติ ย์ ผู้ ๑ ชื่ออปุ เสนราชบณั ฑิตย์ ผู้ ๑ ชือ่ อทรายราชบัณฑิตย์ เรยี นแต่ ใกล้ด้วยสารพิไลยแตพ่ ระมหาเถรพทุ ธโฆสาจารยในเมอื งหิภญุ ไชยฯ” (เตภมู ิกถา) 69
บทบาทในความเป็นปราชญ์รู้ธรรมของพระมหากษัตริย์สุโขทัยเช่น สแภภลุโาาขพยะทวใหนยััดนอชใา้ ทุนกขยะลวสาก้านงับ:คปศวรราดัาะลมสวตรัตาะิศผศาารสแี ตดรง์ พญารามราชและพระมหาธรรมราชาลิไทนั้นเป็นบทบาทที่สะท้อนให้เห็นว่า พระมหากษัตริย์ไทยในฐานะผู้นำ�สูงสุดของสังคมซึ่งมีพระราชภาระสำ�คัญ อย่างหนึ่งในการอุปถัมภ์และทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนานั้น จะไม่สามารถรับ พระราชภาระข้อน้ีได้หากพระองค์เองไม่เอาพระราชหฤทัยใส่ในการศึกษา พระพุทธศาสนา จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จะพบวา่ การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาของ พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยนั้น มิได้ทรงศึกษาเพียงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีหรือการประกอบพิธีกรรมเท่านั้น แตพ่ ระมหากษตั รยิ ท์ รงศกึ ษาพระธรรมในพระไตรปฎิ กอยา่ งแตกฉานดว้ ยความรู้ และเขา้ พระราชหฤทยั พทุ ธธรรมในพระไตรปฎิ กของพระมหากษตั รยิ ส์ โุ ขทยั นเ้ี อง ท่ที ำ�ให้พระมหากษตั ริยท์ รงมีบทบาทเป็นปราชญ์รธู้ รรม ทส่ี ามารถจะมพี ระราช วิจารณญาณวินิจฉัยได้ว่าพระสงฆ์รูปใดในดินแดนใดมีความรู้แตกฉานในพระ พทุ ธศาสนา สมควรทจ่ี ะทรงอาราธนาเขา้ มาวางรากฐานพระพทุ ธศาสนาเถรวาท แบบลังกาวงศ์ในแคว้นสุโขทัย ดังเช่นการที่พญารามราชทรงอาราธนาคณะสงฆ์ จากแควน้ นครศรธี รรมราชขน้ึ มาตง้ั สงั ฆมณฑลในกรงุ สโุ ขทยั และใหก้ ารอปุ สมบท แปลงคณะสงฆ์เดิมให้เป็นแบบแผนของคณะสงฆ์ไทย หรือการท่ีพระมหาธรรม ราชาลิไททรงอาราธนาพระเถระจากลังกาทวีปเข้ามาจัดระเบียบคณะสงฆ์ใน แคว้นสุโขทัยเกิดระบบบริหารคณะสงฆ์โดยมีตำ�แหน่งพระมหาสามีสังฆราช เป็นประธาน และก่อใหเ้ กิดการแบง่ คณะสงฆ์ออกเปน็ ๒ คณะ คอื คณะคามวาสี อันหมายถึงคณะสงฆ์ที่เน้นการศึกษาเล่าเรียนพระพุทธวจนะในพระไตรปิฎก จำ�พรรษาอยู่ในเขตเมือง และคณะอรัญวาสี ซึ่งศึกษาฝ่ายสมถะและวิปัสสนา กรรมฐานจำ�พรรษาอยู่ในเขตป่านอกตัวเมือง นอกจากนั้นความเป็นปราชญ์ รู้ธรรมของพระมหากษัตริย์สุโขทัยยังส่งผลให้พระมหากษัตริย์สามารถแสดง พระปรชี าสามารถในการทรงพระราชนพิ นธว์ รรณคดพี ทุ ธศาสนาเพอ่ื สงั่ สอนธรรม ข้ันสูงและอุดมคติทางสังคมแก่ไพร่บ้านพลเมือง ดังเช่นการทรงพระราชนิพนธ์ “เตภมู ิกภา” ของพระมหาธรรมราชาลิไท พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 70
71 สุ โ ข ทั ย - ล้ า น น า
เครื่องถ้วยชามสงั คโลก ศิลปะสุโขทัยอีกชนิดหนึ่ง ธรรมราชา : พระมหากษัตริย์ผู้นำ�ทางการเมือง และจติ วญิ ญาณของสงั คม ความเป็นปราชญ์รู้ธรรมของพระมหากษัตริย์สุโขทัยน้ันนอกจากจะเป็น บทบาทท่ีส่งเสริมให้พระมหากษัตริย์เป็นผู้ทรงภูมิความรู้ในพระพุทธศาสนา ท่ีจะสามารถรับพระราชภาระในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบ ลังกาวงศ์ในราชอาณาจักรได้แล้ว ยังเป็นบทบาทที่มีความสำ�คัญเป็นเบ้ืองต้น ทจี่ ะนำ�ไปสบู่ ทบาทสำ�คญั อกี บทบาทในการสรา้ งเสถยี รภาพของพระพทุ ธศาสนา ลงั กาวงศ์ และทำ�ใหพ้ ระพทุ ธศาสนาลทั ธนิ ส้ี ามารถแพรก่ ระจายไปสผู่ คู้ นพลเมอื ง และกอ่ เกดิ ความเขา้ ใจในหลกั ธรรมและขนบประเพณที างพระพทุ ธศาสนาในหมู่ อาณาประชาราษฎรไ์ ด้ บทบาทสำ�คัญขอ้ น้ีคือความเป็นผู้นำ�ทางจิตวญิ ญาณของ สังคม หลักฐานสำ�คัญที่สะท้อนให้เห็นว่าพระมหากษัตริย์สุโขทัยนั้นทรงให้ ความสำ�คญั ตอ่ บทบาทขอ้ นข้ี องพระองคค์ อื การแสดงพระองคใ์ นฐานะ “พระธรรม ราชา” ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ พระมหากษตั รยิ ส์ โุ ขทยั ตง้ั แตร่ ชั กาลพระมหาธรรมราชาลไิ ท เป็นตน้ มา มีธรรมเนียมใชค้ ำ�วา่ “พระมหาธรรมราชา” เปน็ พระบรมนามาภิไธย การแสดงพระองค์เป็นพระธรรมราชาของพระมหากษัตริย์สุโขทัยนั้น ในทางหน่ึงคือการแสดงนัยทางการเมืองให้ปรากฏชัดว่าพระองค์ทรงเป็นผู้นำ� ทรงบารมี มีสิทธิธรรมความชอบในการปกครองบ้านเมืองจากความเป็น พระมหากษัตริย์ผู้นับถือและปฏิบัติตามพระธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แสดงว่าพระองค์ปกครองบ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์ โดยธรรม ท้ังยังยึดพระธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นหลักในการปกครองนั้น การ แสดงพระองคเ์ ปน็ พระธรรมราชาเปน็ การแสดงสทิ ธอิ นั ชอบธรรมในการปกครอง ราชอาณาจักรของพระมหากษัตริย์ไทย ซ่ึงพระมหากษตั รยิ ์ไทยในยุคสมัยตอ่ มา ทรงยดึ ถอื เป็นแบบธรรมเนียมสบื มาจนปัจจบุ ัน 72 พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา
สถานะ “พระธรรมราชา” น้นั ยังมีความสมั พันธ์เชื่อมโยงกับคติความเช่อื ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า อื่นๆ ในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ คติการบำ�เพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์เพื่อ การได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล คติเรื่องพระเจ้ามหาสมมติราช ผู้ได้รับมติจากมหาชนในการขึ้นมาปกครองบ้านเมืองโดยธรรม และคติพระเจ้า จกั รพรรดริ าชอันหมายถงึ กษตั รยิ ์ในอุดมคตทิ างพระพทุ ธศาสนา ผู้มเี ดชานุภาพ และความยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวงในชมพูทวีป และเป็นกษัตริย์ผู้นับถือ พระธรรมคำ�สอนของพระพทุ ธเจา้ เมื่อกษตั รยิ ์สุโขทยั ทรงแสดงพระองคใ์ นฐานะ พระธรรมราชา ย่อมหมายความว่าทรงได้รับการยกย่องในฐานะพระโพธิสัตว์ พระเจ้ามหาสมมติราช และพระเจ้าจักรพรรดิราช ตามคติทางพระพุทธศาสนา ดว้ ย พระราชสถานะอันยิ่งใหญ่ในความเป็นพระราชาผู้ทรงธรรมนี้มิใช่การนำ� มากล่าวอา้ งเพื่อความชอบธรรมในทางการเมอื งเทา่ นนั้ ในทางปฏิบัติยอ่ มทำ�ให้ พระมหากษัตริย์ต้ังแต่สมัยสุโขทัยต้องทรงมีภาระรับผิดชอบอันใหญ่หลวงต่อ พระพุทธศาสนาด้วย คือการเป็นผู้นำ�ทางจิตวิญญาณของสังคมในอันที่จะนำ�พา พระราชวงศ์ ขา้ ราชบรพิ าร และราษฎรทงั้ หลายใหม้ คี วามเคารพในพระรตั นตรยั และมีศรัทธาท่ีจะดำ�เนินชีวิตและปฏิบัติตนตามครรลองของธรรมในพระพุทธ- ศาสนาเพือ่ ความเจรญิ และสันตสิ ขุ ของแคว้นสโุ ขทัย ศิลาจารึกสมัยสโุ ขทยั หลาย หลกั กลา่ วสรรเสรญิ พระเกยี รตคิ ณุ พระมหากษตั รยิ ใ์ นฐานะพระธรรมราชาผทู้ รง นำ�อาณาประชาราษฎร์ให้บังเกิดศรัทธาในพระรัตนตรัยและพระธรรมคำ�สอน ของพระพทุ ธเจา้ “พ่อขุนรามคำ�แหงนั้นหาเป็นท้าวเป็นพระยาแก่ไทยทั้งหลาย หาเป็นครู อาจารยส์ ง่ั สอนไทยท้ังหลายให้รู้บุญรธู้ รรมแท”้ (จารกึ หลกั ที่ ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) “อภิเษกให้เปนท้าวเปนพระยา ทั้งหลายจึงสมมติขึ้นชื่อศรีสุริยพงศ์ราม มหาธรรมราชาธริ าช เสวยราชยช์ อบดว้ ยทศพธิ ราชธรรม รปู้ ราณแี กไ่ พรฟ่ า้ ขา้ ไทย ท้งั หลาย.... เพือ่ จกั จงุ่ เป็นพระพทุ ธ จงุ่ จกั เอาฝูงสตั วท์ ้งั หลายขา้ มสงสารนี้” (จารกึ วัดปา่ มะมว่ ง พ.ศ. ๑๙๐๔) 73
บทบาทของพระมหากษัตริย์สุโขทัยในฐานะพระธรรมราชาซ่ึงเป็นผู้นำ� ทางจิตวิญญาณของไพร่บ้านพลเมืองไปสู่ศรัทธาในพระพุทธศาสนาน้ันจะพบได้ จากหลักฐานในจารึกท่ีสะท้อนพระราชภาระและความรับผิดชอบของ พระมหากษัตริย์ต่อพระพุทธศาสนาซึ่งปรากฏขึ้นต้ังแต่รัชกาลของพญารามราช หรือพ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช พระองค์ทรงเป็นผู้นำ�ในการประดิษฐาน พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในกรุงสุโขทัย ทรงกำ�หนดธรรมเนียมและประเพณี ปฏิบัติสำ�หรับพุทธศาสนิกชนชาวสุโขทัย อันได้แก่ ธรรมเนียมการรักษาศีล ฟังธรรม และการโอยทานหรือการทำ�บุญให้ทานอันเป็น “บุญกิริยา” สำ�คัญ ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ยังผลให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมใน แคว้นสุโขทัยคือศรัทธาความเชื่อในพระพุทธศาสนาอย่างแน่นแฟ้นของราษฎร ชาวสุโขทัย จนกลายเป็นลักษณะเด่นของสังคมสุโขทัย สะท้อนให้เห็นว่า หลักธรรมในพระพุทธศาสนาได้รับการซึมซับเข้าไปเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรม ทางจติ ใจของ “ฝงู ทว่ ย” ชาวสโุ ขทยั จนกอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ ทางวฒั นธรรมดา้ นอนื่ ตามมาโดยมีพระพทุ ธศาสนาเป็นพืน้ ฐาน การนับถือพระพุทธศาสนาของผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมสุโขทัยอันเป็นผล จากบทบาทความเป็นผู้นำ�ทางจิตวิญญาณของพระมหากษัตริย์มีส่วนทำ�ให้ บา้ นเมอื งเกดิ ความสงบ เปน็ พลงั กอ่ ใหเ้ กดิ เอกภาพในสงั คมและกอ่ เกดิ ประโยชน์ ต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมใหญ่ ความเป็นเอกภาพของสังคมพุทธศาสนาสมัย สโุ ขทยั ยงั มเี หตผุ ลสำ�คญั มาจากการทพ่ี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ผนู้ ำ�ในการกำ�หนด “ศาสนพธิ ”ี ทางพระพทุ ธศาสนาขนึ้ ในราชอาณาจกั ร เปน็ แบบแผนสำ�หรบั ราษฎร หลักฐานจากจารึกสะท้อนให้เห็นว่าในสังคมสุโขทัยน้ันมีการประกอบพิธีกรรม ทางพระพทุ ธศาสนาเปน็ ประจำ� ศาสนพธิ ที างพระพทุ ธศาสนาทพ่ี ระมหากษตั รยิ ์ โดยเฉพาะพญารามราชและพระมหาธรรมราชาลิไททรงจัดขึ้นเป็นประเพณี ประจำ�รัฐนั้นมี ๗ พิธีกรรม คอื ๑. พิธีสัมพัจฉรฉินท์หรือพิธีตรุษสุดปี จัดขึ้นในวันเพ็ญเดือน ๔ โดย พระมหากษัตริย์จะทรงอาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธปริตรเป็นเวลา ๓ วนั ๓ คืน ๒. พิธีวิสาขบูชา ในวันเพ็ญเดือน ๖ เพ่ือรำ�ลึกถึงการประสูติ ตรัสรู้ และปรินพิ พานของพระพุทธเจ้า ในพธิ ีนี้ พระมหากษัตริยจ์ ะเสดจ็ ไป “นบพระ” คือนมัสการพระพุทธปฏิมาองค์สำ�คัญของแผ่นดิน คือพระศรีศากยมุนีในวัด พระมหากษตั ริย์ไทยกบั พระพทุ ธศาสนา 74
พระมหาธาตุกลางเมืองสุโขทัย พระอัฏฐารศในวิหารบนยอดเขาในเขตอรัญญิก ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า หรือพระพุทธชินราช พระชินสีห์ และพระศาสดาที่นครสองแคว มีการตาม ประทปี โคมไฟเป็นพุทธบูชา ฝูงชนทกุ หมู่เหลา่ รกั ษาศลี และฟงั ธรรม ๓. พธิ กี รรมตา่ งๆ ในเทศกาลเขา้ พรรษา ในเดอื น ๘ ไปจนถงึ ออกพรรษา ในเดอื น ๑๑ มกี ารหล่อเทียนพรรษาสำ�หรบั ไปจดุ ถวายบูชาพระรตั นตรยั ตามวัด ต่างๆ รวมทั้งการถวายเคร่ืองสักการะคือพุ่มเทียน นอกจากนั้นราษฎรยังรักษา ศีลและฟังธรรมในระหวา่ งพรรษาดว้ ย ๔. พธิ กี วนขา้ วทพิ ย์ ในเดอื น ๑๐ เพอ่ื นำ�ไปถวายเปน็ อาหารพเิ ศษสำ�หรบั พระสงฆ์ ๕. ประเพณีการนมัสการรอยพระพุทธบาท ตามธรรมเนียมอย่าง ชาวลงั กา ๕. พธิ ีกฐิน หลังการออกพรรษาในเดือน ๑๑ ๖. พิธีจองเปรียง ในเดือน ๑๒ หลังเทศกาลกฐิน คือการจุดโคมและ ตามประทปี เพือ่ บูชาพระจฬุ ามณีในดาวดึงสพ์ ิภพ การกำ�หนดศาสนพิธีและศาสนประเพณีเหล่าน้ีสะท้อนให้เห็นว่า พระมหากษัตริย์สุโขทัยทรงบูรณาการคติธรรมเนียมทางพระพุทธศาสนาเข้ากับ วิถีของรัฐ การทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนาและวางธรรมเนียมปฏิบัติต่างๆ ทาง พระพทุ ธศาสนาแกม่ หาชนเปน็ สว่ นหนงึ่ ในนโยบายรฐั ของพระมหากษตั รยิ ส์ โุ ขทยั อย่างแยกจากกันไม่ได้ แสดงให้เห็นว่ารัฐภายใต้การนำ�ของพระมหากษัตริย์ ไพรบ่ า้ นพลเมอื งและพระพทุ ธศาสนาเปน็ องคป์ ระกอบสำ�คญั ของเอกภาพของรฐั ในลา้ นนาประเทศนน้ั แมจ้ ะไมป่ รากฏการใชค้ ำ� “ปราชญร์ ธู้ รรม” ในจารกึ ใดๆ อยา่ งพระมหากษตั รยิ ส์ โุ ขทยั แตพ่ ระมหากษตั รยิ ไ์ ทยของลา้ นนาทรงรับเอา ธรรมเนยี มการแสดงพระองคเ์ ปน็ “ธรรมกิ ราช” คอื พระธรรมราชาตามแบบของ พระมหากษัตริย์สุโขทัยไปใช้ พระมหากษัตริย์ล้านนาพระองค์สำ�คัญผู้มีบทบาท ในการประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนาเถรวาทแบบลงั กาวงศใ์ นลา้ นนาคอื พญากอื นา พระมหากษัตริย์ลำ�ดับท่ีหกในราชวงศ์มังรายซึ่งทรงครองราชย์อยู่ระหว่างปี พ.ศ.๑๘๙๘-พ.ศ.๑๙๒๘ความเปน็ พระธรรมราชาผมู้ ศี รทั ธามนั่ ในพระพทุ ธศาสนา ของพญากือนาได้รับการกล่าวถึงในจารึกวัดพระยืน ซ่ึงมีเน้ือหากล่าวถึงการ อาราธนาพระสุมนเถรจากกรุงสุโขทัยข้ึนไปประดิษฐานพระพุทธศาสนาเถรวาท แบบลังกาวงศ์ในล้านนาประเทศ ความตอนหน่งึ ว่า 75
พระศรีศากยมนุ ี พระพทุ ธรปู ศิลปะสโุ ขทัย ทีพ่ ระวิหารหลวง วัดสทุ ศั นเทพวราราม
ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า พระบรมธาตุ วดั สวนดอก จงั หวดั เชียงใหม่
พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 78
“อันวา่ พระเศลาจารกึ เจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช ผเู้ ปน็ ลูกรักแก่ ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า พญาผายู เปน็ หลานแกพ่ ญาคำ�ฟู เป็นเหลนแก่พญามงั ราย หลวงเจา้ ทา้ วน้ี เมอื่ สดุ ชนมาพิธี ปีเดือนพอ่ ตนดงั อ้ัน จงึ ได้เสวยราชชยั ศรมี ศี ักด์มิ บี ญุ ฤทธิ์เดชะตบะ หนักหนา เป็นพญามหาธรรมิกราช อาจบงั เกิดศรัทธาในศาสนพระศรีรัตนตรัย” (จารึกวดั พระยนื พ.ศ. ๑๙๑๓) พญายอดเชียงรายซ่ึงเป็นพระมหากษัตริย์ครองล้านนาระหว่าง พ.ศ. ๒๐๓๐ - พ.ศ. ๒๐๓๘ ทรงไดร้ บั การเรยี กขานในจารกึ วดั ตโปทาราม พ.ศ. ๒๐๓๕ ว่า “พระศรีสัทธรรมมหาบรมจักรวรรติธรรมราชบพิตร” อันหมายถึงว่าทรง ได้รับยกย่องเป็นท้ังพระธรรมราชาและพระเจ้าจักรพรรดิราช ตามอุดมการณ์ ในพระพทุ ธศาสนา ในรัชกาลของพญาแก้วซึ่งทรงครองล้านนาอยู่ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๓๘ - พ.ศ. ๒๐๖๘ และเปน็ พระมหากษตั รยิ ล์ า้ นนาทท่ี รงอปุ ถมั ภบ์ ำ�รงุ พระพทุ ธศาสนา เป็นอย่างยิ่ง ในปี พ.ศ. ๒๐๔๓ ไดเ้ สด็จพรอ้ มดว้ ยพระราชชนนขี องพระองค์ไป นมสั การพระบรมธาตทุ นี่ ครหรภิ ญุ ไชย อนั เปน็ ประเพณกี ารนมสั การพระบรมธาตุ เปน็ ประจำ�ปี ทง้ั สองพระองคไ์ ดท้ รงสรา้ งหอธรรมมณเฑยี รสำ�หรบั เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน คัมภีร์พระไตรปิฎกธรรมข้ึนในบริเวณวัดพระบรมธาตุท่ีนครหริภุญไชยน้ี และ โปรดให้สร้างจารึกประกาศพระราชศรัทธาในการสร้างหอธรรมมณเฑียรขึ้นใหม่ ในตอนท้ายของจารึกมีข้อความแสดงการต้ังสัตยาธิษฐานของพญาแก้ว มีความ ตอนหนง่ึ แสดงถงึ คตกิ ารแสดงพระองคเ์ ปน็ พระธรรมราชาอนั เปน็ ผนู้ ำ�ทางจติ วญิ ญาณ ของมหาชน ภาพหนา้ ซา้ ย : “กุศลอนันตเจตนาฝูงนี้ จุ่งให้สมเด็จมหาราชเจ้าทั้งสองพระองค์ทรง พระธาตดุ อยสุเทพ ธนสารสองประการ คืออัชชัฌตกิ พาหริ ธนอันบรบิ วรณ์ดี แลมียศเดโชชัย บ่มีใคร จะเปรยี บไดท้ กุ กำ�เนดิ เกดิ เปน็ ดจุ กลั ปพฤกษแ์ กส่ กลชนเทพคณา แลทรงปรชั ญา จังหวดั เชียงใหม่ อนั เฉลยี วฉลาด อาจตรองตรสั อรรถธรรมบม่ เี ศษ แลไดเ้ ทศนาสงั่ สอน อมรนรนกิ ร ทง้ั ผอง จงุ่ ได้ลุถองศรสี มบตั สิ วสั ด”ี (จารกึ วัดพระธาตุหริภุญไชย มุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พ.ศ. ๒๐๔๓) 79
รอยพระพทุ ธบาททีว่ ดั ตระพงั ทอง พระมหากษตั รยิ ผ์ ู้ “โอยทาน” แกห่ มู่สงฆ์ บทบาทที่สำ�คัญอีกประการหนึ่งของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนา คือการอุปถัมภ์คณะสงฆ์ในพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ การอุปถัมภ์คณะสงฆ์ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้าง “ศาสนบุคคล” เพื่อเป็นรากฐานสำ�คัญ ในการประดิษฐานและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในรัฐไทยทั้งสอง เพราะหาก ปราศจากพระสงฆ์ซ่ึงเป็นบุคลากรทางศาสนาท่ีสำ�คัญย่ิงแล้ว พระพุทธศาสนา ลังกาวงศ์ก็มิอาจประดิษฐานลงได้อย่างมัน่ คง กระบวนการสร้างศาสนบุคคลเพ่ือการประดิษฐานพระพุทธศาสนา ลังกาวงศ์ในอาณาจักรสุโขทัยนั้น เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยพญารามราชหรือ พ่อขุนรามคำ�แหง ทรงอาราธนาพระสงฆ์ลังกาวงศ์จากแคว้นนครศรีธรรมราช ข้นึ มายงั กรุงสโุ ขทัย “เมืองสุโขทัยน้ีมีอรัญญิก พ่อขุนรามคำ�แหงกระทำ�โอยทานแก่มหาเถร สังฆราชปราชญ์เรียนจบปิฎกไตร หลวกกว่าปู่ครูในเมืองน้ี ทุกคนลุกแต่เมือง ศรีธรรมราชมา” (จารกึ หลกั ที่ ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) การอาราธนาพระสงฆ์ลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราชครั้งน้ีนำ�ไปสู่ กระบวนการจัดต้ังสังฆมณฑลใหม่และอุปสมบทพระสงฆ์กลุ่มเดิมเป็นพระ ในแบบลงั กาวงศ์ สงั ฆมณฑลใหมไ่ ดร้ บั ความเลอื่ มใสมาก ทง้ั จากพระมหากษตั รยิ ์ และราษฎรสามัญ ทำ�ให้พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานและเถรวาทแบบด้ังเดิม เสอ่ื มสญู ไป เหลือเพยี งคณะสงฆ์ลังกาวงศ์เป็นหลัก พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกบั พระพทุ ธศาสนา 80
ธรรมเนียมของคณะสงฆ์ลังกานั้นแบง่ พระสงฆ์เปน็ ๒ กลมุ่ กลุ่มแรกคือ ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า พระสงฆ์ที่พอใจในการเล่าเรียนพระไตรปิฎกและพระปริยัติธรรม มักอาศัย ในเขตเมอื ง เรยี กวา่ “คามวาส”ี หรอื “คนั ถธรุ ะ” มกี จิ สว่ นใหญใ่ นการศกึ ษาคมั ภรี ์ (คันถะ) กลุ่มท่ีสองคือสงฆ์พอใจในการเจริญสมถะภาวนาและวิปัสสนาภาวนา มักอาศัยอยู่ในเสนาสนะป่าอันสงบสงัด เรียก “อรัญวาสี” กิจส่วนใหญ่คือ การปฏิบัติวิปัสสนา แบบธรรมเนียมของคณะสงฆ์ลังกาวงศ์ท่ีต้ังข้ึนในสมัย สุโขทัยนั้นได้เกิดผลสะท้อนเป็นการวางรากฐานการศึกษาของสงฆ์ไทยในยุค ต่อๆ มาอยา่ งมาก ในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาลิไททรงส่งคณะทูตไปอาราธนาคณะสงฆ์ จากลังกาทวีป เพ่ือเข้ามาจัดระเบียบสังฆมณฑลในแคว้นสุโขทัย พระองค์ทรง สถาปนาสมณศักดิ์ให้พระเถระหัวหน้าคณะสงฆ์ลังกานั้นเป็นพระมหาสามี สงั ฆราช พระราชทานวัดป่ามะมว่ ง ในเขตอรญั ญกิ นอกกรงุ สโุ ขทัยใหเ้ ปน็ ที่สถติ จำ�พรรษา เรียกขานกนั ทวั่ ไปวา่ สังฆราชลังกา “อยเู่ สวยราชยใ์ นเมอื งศรสี ชั ชนาลยั สโุ ขทยั ไดย้ สี่ บิ สองขา้ ว ศกั ราช ๑๒๘๓ ปีฉลู จึงให้ไปอัญเชิญมหาสามีสังฆราช มีศีลาจารและรู้พระปิฎกไตร ………… นักฝูงมหาสามี อันอยู่ใน..ลังกาทวีป อันมีศีลาจารดังอันฝูงกษิณาศรพช่ัวก่อน แตน่ ครพัน” (จารึกวัดป่ามะมว่ ง พ.ศ. ๑๙๐๔) ในสว่ นพระองคเ์ อง พระมหาธรรมราชาลไิ ททรงเลอ่ื มใสในภมู คิ วามรแู้ ละ วัตรปฏิบัติของคณะสงฆ์ลังกา จึงทรงพระผนวชโดยทรงอาราธนาพระมหาสามี สงั ฆราชนน้ั เป็นพระราชอปุ ัชฌาย์ พิจารณาตามหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์แลว้ ถอื วา่ พระมหาธรรมราชาลไิ ทเปน็ กษตั รยิ ไ์ ทยพระองคแ์ รกทท่ี รงพระผนวชในขณะ ดำ�รงอยใู่ นราชสมบตั ิ การอุปถัมภ์บำ�รุงคณะสงฆ์ในล้านนาประเทศน้ัน เกิดข้ึนสืบเนื่องมาจาก การอุปถัมภ์คณะสงฆ์ลังกาวงศ์ของพระมหากษัตริย์สุโขทัย ในรัชสมัยพญา กือนาธรรมาธิราชซึ่งทรงครองราชย์ร่วมสมัยกับพระมหาธรรมราชาลิไทแห่ง สุโขทัย พระองค์ทรงอาราธนาคณะสงฆ์ลังกาวงศ์แบบรามัญจากแคว้นสุโขทัย เข้ามาประดิษฐานในลา้ นนา “จึงให้ไปอาราธนานิมนต์พระมหาเถรเป็นเจ้าผู้หนึ่งชื่อ มหาสุมนเถร อันอยู่ในนครสุโขทัย คาบน้ันบ่มิได้มาพอย จึงให้ไปบำ�บวงสรวงอาราธนา 81
อัญเชิญพระมหาเถรเป็นเจ้าด้วยเคารพหนักหนาคาบหน่ึงโสด คาบนั้นท่าเป็น เจ้าจึงลีลามาด้วยศิษยค์ นตนล้วนผดู้ ยี อ่ มอรยิ สงฆท์ รงศลี าจาร อุกฤษฏ์หนักหนา พระมหาเถรเป็นเจ้านั้นโสด ประกอบด้วยอิริยาบถอันดีมีอินทรีย์อันสานต์ ทานอด ญาณกรัตตัญญุตา กอปรด้วยปัญญาและศีลาจารบุญสมภาร รู้ฉลาด ในโวหารอรรถธรรมทั้งหลาย รู้สัง่ สอนคนเข้าในไตรสรณคมน” (จารกึ วัดพระยืน พ.ศ. ๑๙๑๓) การอาราธนาคณะสงฆ์เถรวาทแบบรามัญเข้ามาส่งผลให้เกิดความ เปลยี่ นแปลงในคณะสงฆล์ า้ นนาเดมิ ทส่ี บื เนอื่ งมาแตส่ มยั นครหรภิ ญุ ไชย กลา่ วคอื เกิดการอุปสมบทแปลงพระสงฆ์นิกายเดิมน้ันให้เป็นพระสงฆ์เถรวาทดังเช่นท่ี เกิดขึ้นก่อนหน้าในกรุงสุโขทัย รวมทั้งความสนใจศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น ตามลำ�ดบั นำ�ไปสกู่ ารศกึ ษาทล่ี กึ ซงึ้ แตกฉานจนเกดิ การแตง่ วรรณคดพี ทุ ธศาสนา เปน็ จำ�นวนมาก ในรชั สมยั พญาสามฝงั่ แกน (พ.ศ. ๑๙๔๕ - พ.ศ. ๑๙๘๔) ทรงสง่ พระสงฆ์ ล้านนากลุ่มหน่ึงไปศึกษาพระพุทธศาสนาในลังกา แล้วกลับมาต้ังนิกายสีหล ภิกขุหรือลังกาวงศ์ใหม่ มีศูนย์กลางอยู่ที่วัดป่าแดงในเมืองเชียงใหม่ พระสงฆ์ วัดป่าแดงน้ีมีบทบาทในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทออกไปยังเมือง ตา่ งๆ ภายในอาณาจักรล้านนาไปจนถึงแควน้ เชยี งตุง เชียงรงุ่ และสิบสองพนั นา การประดิษฐานนิกายสีหลภิกขุในล้านนามีผลให้เกิดมีคณะสงฆ์เถรวาทอยู่ใน ล้านนา ๒ คณะ คือคณะรามัญที่วัดสวนดอกซึ่งตั้งมาแต่รัชกาลพญากือนา ธรรมิกราช และคณะปา่ แดงหลวงซ่ึงพญาสามฝัง่ แกนทรงอปุ ถัมภ์ หลังรัชสมัยพญาสามฝั่งแกนเกิดความขัดแย้งระหว่างพระสงฆ์ในนิกาย รามัญและนิกายสีหลภิกขุในการตีความพระธรรมวินัยหลายข้อ ความขัดแย้งน้ี กลายเป็นแรงผลักดันนำ�ไปสู่ความเอาใจใส่ของพระสงฆ์ในการศึกษาค้นคว้า พระธรรมวินัย โดยเฉพาะพระสงฆ์นิกายสีหลซ่ึงเน้นการศึกษาภาษาบาลี ทำ�ให้ ศกึ ษาพระธรรมได้ลึกซง้ึ กวา่ การสถาปนานิกายสีหลภิกขุในล้านนายังมีผลให้พระพุทธศาสนาใน ล้านนาเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก โดยเฉพาะในรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔- พ.ศ. ๒๐๓๐) ถงึ พญาแก้ว (พ.ศ. ๒๐๓๘ - พ.ศ. ๒๐๖๘) พระภิกษุ ชาวล้านนาได้รับการยกย่องว่ามีภูมิความรู้และความสามารถสูง เป็นปัจจัย ผลักดันให้เกิดการทำ�สังคายนาพระไตรปิฎกท่ีวัดเจ็ดยอดในเมืองเชียงใหม่ เม่ือ พ.ศ. ๒๐๒๐ ภายใต้พระบรมราชปู ถัมภ์ของพระเจา้ ตโิ ลกราช 82 พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา
นอกจากนน้ั ยงั ปรากฏวา่ พระมหากษตั รยิ ล์ า้ นนาทรงอปุ ถมั ภใ์ หพ้ ระเถระ ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า ผู้ทรงภูมิความรู้ได้รจนาคัมภีร์ต่างๆ เป็นการสร้างองค์ความรู้ทางพุทธศาสนา คัมภีร์พุทธศาสนาจากล้านนาได้แพร่หลายไปสู่ดินแดนใกล้เคียง เช่น ล้านช้าง พมา่ อยธุ ยา พระเถระชาวลา้ นนาผมู้ ผี ลงานการแตง่ คมั ภรี พ์ ระพทุ ธศาสนาทส่ี ำ�คญั ได้แก่ พระโพธิรังสี แต่งจามเทวีวงศ์และสิหิงคนิทาน พระรัตนปัญญาเถระ แต่งชินกาลมาลีปกรณ์ พระสิริมังคลาจารย์ แต่งวรรณกรรมหลายเร่ือง เช่น เวสสนั ดรทปี นี จกั รวาลทปี นี สงั ขยาปกาสกฎกี าร และมงั คลตั ถทปี นี พระพทุ ธเจา้ และพระพทุ ธพุกาม แตง่ ตำ�นานมลู ศาสนา วรรณคดีพุทธศาสนาเร่ืองสำ�คัญท่ีแต่งโดยพระเถระชาวล้านนาคือ ปัญญาสชาดก (ชาดก ๕๐ เร่ือง) ซ่ึงไม่ปรากฏนามผู้แต่ง เข้าใจว่าแต่งในสมัย พญาแก้ว ปัญญาสชาดกเป็นงานวรรณกรรมพระพุทธศาสนาที่แต่งทำ�นอง เลยี นแบบชาดกในพระไตรปฎิ ก แตม่ เี นอื้ เรอื่ งไมเ่ หมอื นกนั เพราะเปน็ ชาดกนอก พระไตรปิฎก ปัญญาสชาดกยังเป็นต้นกำ�เนิดของวรรณคดีไทยหลายเร่ือง เช่น สมุททโฆสชาดก (นำ�มาแตง่ เป็นสมทุ รโฆษคำ�ฉนั ท)์ สธุ นชาดก (นำ�มาแต่งเป็น บทละครเรื่องมโนราห์) ปัญญาสชาดกได้รับความนิยมแพร่หลายไปถึงพม่า ลา้ นช้าง และอยุธยา พระเจ้าติโลกราชทรงสนับสนุนคณะสงฆ์สีหลภิกขุวัดป่าแดงหลวง ทรง นมิ นตพ์ ระมหาเมธงั กรญาณหวั หนา้ กลมุ่ ลงั กาวงศใ์ หมจ่ ากลำ�พนู และทรงสถาปนา ให้พระมหาเมธังกรญาณข้ึนเป็นพระมหาสามีสังฆราช พระเจ้าติโลกราชเอง มีพระราชศรทั ธาทรงพระผนวชเปน็ เวลา ๗ วัน ณ วัดปา่ แดงมหาวหิ าร เพื่อเปน็ พระราชกุศลแก่พระราชชนนีของพระองค์ การที่พระมหากษัตริย์สนับสนุนสงฆ์ ฝ่ายสีหลภิกขุ ทำ�ให้คณะสงฆ์กลมุ่ นร้ี งุ่ เรอื งมาก มีกุลบตุ รศรัทธาเข้ามาบวชเปน็ จำ�นวนมาก นิกายสีหลภิกขุมีจำ�นวนพระสงฆ์เพิ่มมากข้ึน การศึกษาเล่าเรียน พระปรยิ ัติธรรมของคณะน้จี ึงเจรญิ ก้าวหน้าอยา่ งสูง ความขัดแย้งระหว่างพระสงฆ์สีหลภิกขุวัดป่าแดงหลวง และพระสงฆ์ สายรามัญวัดสวนดอกที่มีอยู่ในยุคนั้น เป็นแรงกระตุ้นให้พระสงฆ์สายรามัญ ต่ืนตัวและขวนขวายศึกษาพระปริยัติอย่างกว้างขวางเช่นกัน พระเจ้าติโลกราช ทรงส่งเสริมการศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมในคณะสงฆ์วัดสวนดอก ท้ังทรง ยกยอ่ งพระภกิ ษทุ มี่ คี วามรแู้ ตกฉานในพระไตรปฎิ ก พระในสมยั นนั้ จงึ มคี วามรสู้ งู ทปี่ รากฏมชี อ่ื เสยี งมาก เชน่ พระโพธริ งั สี พระธรรมทนิ นเถระ และพระญาณกติ ติ เถระ เปน็ ต้น 83
พระพทุ ธชินราชองคจ์ ำ�ลอง ณ วดั เบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พระมหากษตั ริย์ผู้รงั สรรคง์ านพทุ ธศิลป์ ในการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ให้มั่นคงและ รุ่งเรืองของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนาน้ัน องค์ประกอบสำ�คัญของ พระพุทธศาสนาท่ีพระมหากษัตริย์ไทยของทั้งสองรัฐให้ความสำ�คัญมากคือ “ศาสนวัตถุ” อันหมายถึงวัตถุทั้งหลายท่ีเป็นส่วนประกอบของพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา และเป็นปัจจัยสี่ในการดำ�รงชีวิตของพระสงฆ์ นับต้ังแต่ โบสถ์วิหาร หอไตร ศาลา สถปู เจดีย์ พระพุทธปฏิมา คมั ภีรพ์ ระธรรม กฏุ ิสงฆ์ เครื่องอัฐบริขารและขา้ วของเคร่ืองใช้ของสงฆ์ รวมไปถงึ คมั ภีรแ์ ละหนังสือตา่ งๆ ทางพระพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์แห่งสุโขทัยและล้านนาทรงอุปถัมภ์การสร้างศาสนวัตถุ ภาพหน้าขวา : พระพทุ ธรปู เหล่านี้ด้วยผลงานทางศิลปะอันประณีตวิจิตร ที่มีคำ�เรียกเฉพาะว่า “งาน ปางลีลา สมัยสุโขทัย พทุ ธศิลป”์ การรงั สรรคง์ านพทุ ธศิลป์ในราชอาณาจกั รเป็นพระราชภาระสำ�คัญ มีอายุราวๆ กลาง ในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาเถรวาทอีกข้อหนึ่งของพระมหากษัตริย์ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ สุโขทัยและล้านนา เพราะงานพุทธศิลป์ประเภทต่างๆ น้ันต้องอาศัยท้ังกำ�ลัง ของชา่ ง ทกั ษะทางชา่ งศลิ ปะแขนงตา่ งๆ กำ�ลงั ทรพั ยแ์ ละบญุ บารมจี ากผอู้ ปุ ถมั ภ์ งานพุทธศิลปท์ ง่ี ดงามประเภทตา่ งๆ จึงจะสำ�เร็จลงได้ พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็น ประมุขสูงสุดในบ้านเมืองซึ่งทรงไว้ด้วย “กำ�ลัง” ท้ังหลายดังกล่าวแล้ว จึงมี พระราชสถานะท่ีสมบูรณ์พร้อมท่ีสุดในแผ่นดินที่จะเป็นผู้อุปถัมภ์หรือแม้แต่ มพี ระราชดำ�ริรเิ ริม่ การสรา้ งงานพุทธศลิ ป์ประเภทต่างๆ ในแผน่ ดิน งานพุทธศิลป์ทั้งของสุโขทัยและล้านนาล้วนได้รับอิทธิพลมาจาก พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ซึ่งมีพลังอันมหาศาลในการแปร ความศรทั ธาของพระมหากษัตริย์และมหาชนของรฐั ท้ังสองออกมาเป็นสุนทรียะ ทางศิลปะทมี่ ีเอกลักษณเ์ ฉพาะเปน็ ของตนเอง 84 พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา
85 สุ โ ข ทั ย - ล้ า น น า
คตินิยมในการบูชาพระบรมธาตุและรอยพระพุทธบาทของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันเป็นคติท่ีเข้ามาพร้อมกับพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ รวมท้ังการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุเข้ามาสู่แผ่นดินสุโขทัยและล้านนาน้ัน เป็นพลังอันมหาศาลประการแรกท่ีเป็นบ่อเกิดของพระราชศรัทธาให้ พระมหากษัตริย์ไทยทั้งสองรัฐทรงอุปถัมภ์การสร้างพระธาตุเจดีย์อันเป็น งานพุทธสถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ สำ�หรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และสร้าง รอยพระพุทธบาทจำ�ลองไว้บนยอดเขาสำ�คัญในราชอาณาจักรเป็นสัญลักษณ์ แทนรอยพระพทุ ธบาทท่ปี รากฏอย่ใู นลังกาทวปี การสถาปนารอยพระพุทธบาท เพ่ือเป็นมหาเจดียสถานสำ�คัญในราชอาณาจักรครั้งสำ�คัญเกิดขึ้นในรัชสมัย พระมหาธรรมราชาลิไทแห่งสุโขทัย พระองค์โปรดให้จำ�ลองรอยพระพุทธบาท จากลังกาทวีปอันมีคติในพระพุทธศาสนาเถรวาทเช่ือว่าเป็นรอยพระบาท ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประดิษฐานไว้โดยโปรดให้ประดิษฐานรอย พระพุทธบาทจำ�ลองนี้ไว้บนยอดเขาพระบาทใหญ่ในเขตอรัญญิกของกรุงสุโขทัย และทรงกำ�หนดให้เรยี กชอ่ื ภเู ขานั้นเสยี ใหม่ว่าเขาสุมนกูฏ ตามช่อื ภูเขาศกั ดิ์สิทธิ์ อนั เป็นท่ปี ระดษิ ฐานรอยพระพุทธบาทในลังกาทวีปน้ัน “เขาอันน้ีชื่อสุมนกูฏบรรพต เรียกชื่อดังอ้ัน เพื่อไปพิมพ์เอารอยตีน พระพุทธเจ้าเราอันเหยียบเหนือจอมเขาสุมนกูฏบรรพตในลังกาทวีปพู้น มา ประดิษฐานไว้เหนือจอมเขาอันนี้ แล้วให้คนทั้งหลายได้เห็นรอยฝ่าตีนพระพุทธ เป็นเจ้าเราน้ี มีลายอันได้ร้อยแปดสีส่อง ให้ฝูงเทพดาและ.....ทั้งหลายได้ไหว้นบ ท�ำ บชู า” (จารกึ เขาสมุ นกูฏ พ.ศ. ๑๙๑๒) ขอ้ ความในจารกึ หลายหลกั ทงั้ ในฝา่ ยสโุ ขทยั และลา้ นนาสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ พระราชศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนาในการทุ่มเท ทรัพยากรมหาศาลเพ่ือการก่อสร้างพระสถูปเจดีย์ไว้เพ่ือเป็น “พระมหาธาตุ” ท่ีจะมีสถานะสำ�คัญในฐานะเป็นจุดศูนย์กลางของเมือง อันเป็นภาพสะท้อนคติ ความเชื่อเร่ืองภูมิจักรวาลที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนาด้วย ดังเช่นเหตุการณ์ การสถาปนาพระมหาธาตเุ จดยี ท์ กี่ ลางนครศรสี ชั นาลยั ในรชั กาลของพญารามราช “๑๒๐๗ ศกปกี นุ ให้ขุดเอาพระธาตุออกทั้งหลายเหน็ กระทำ�บูชาบำ�เรอ แก่พระธาตุได้เดือนหกวัน จ่ึงเอาลงฝังในกลางเมืองศรีสัชชนาลัยก่อพระเจดีย์ เหนือหกเขา้ จง่ึ แลว้ ตั้งเวยี งผาล้อมพระมหาธาตุ สามเขา้ จงึ่ แลว้ ” (จารึกหลักท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) 86 พระมหากษตั รยิ ์ไทยกับพระพุทธศาสนา
การสร้างพระมหาธาตุเจดีย์เป็นหลักของบ้านเมืองในล้านนาประเทศนั้น ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า เป็นพระราชภารกิจสำ�คัญที่พระมหากษัตริย์ล้านนาแต่ละรัชกาลทรงปฏิบัติเป็น ราชประเพณีท่ีชัดเจนยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์สุโขทัย นับต้ังแต่รัชกาลของ พญามังราย (พ.ศ. ๑๘๐๔ - พ.ศ. ๑๘๕๔) ซึง่ เปน็ ตน้ ราชวงศพ์ ระมหากษตั ริย์ ล้านนา ได้ทรงสถาปนาพระมหาธาตุท่ีกลางนครหริภุญไชยข้ึนใหม่หลังจากท่ี พระองคท์ รงยดึ นครน้นั ได้ใน พ.ศ. ๑๘๓๕ และไดท้ รงสร้างพระมหาธาตุท่สี ำ�คญั อกี องคห์ นง่ึ คอื พระเจดยี ก์ คู่ ำ� ตามรปู แบบสถาปตั ยกรรมเจดยี ข์ องนครหรภิ ญุ ไชย เพอื่ เป็นศนู ย์กลางนครเวยี งกมุ กามท่พี ระองคส์ ถาปนาข้นึ ใหม่ การรับพระพุทธศาสนาเถรวาทและการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุจาก สโุ ขทยั มายังลา้ นนาประเทศในรัชสมัยพญากอื นา (พ.ศ. ๑๘๙๘ - พ.ศ. ๑๙๒๘) นำ�ไปสู่การสถาปนาพระมหาธาตุเจดีย์ท่ีสำ�คัญในล้านนาประเทศอีกถึงสององค์ อันได้แก่ พระธาตุเจดีย์วัดสวนดอก (สร้าง พ.ศ. ๑๙๑๔) และพระบรมธาตุ ดอยสุเทพ (สร้าง พ.ศ. ๑๙๒๘) การสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ของกษัตริย์ล้านนาในราชวงศ์มังรายน้ัน รงุ่ เรืองสงู สุดในรชั สมัยพญาติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔ - พ.ศ. ๒๐๓๐) ซ่ึงพระองค์มี พระราชดำ�ริให้นายช่างคิดรูปทรงของพระธาตุเจดีย์ในล้านนาออกมาได้อย่าง หลากหลาย และโปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ำ�รปู แบบพระเจดยี ท์ คี่ ดิ ขน้ึ ใหมน่ นั้ ไปสรา้ งเสรมิ พระมหาธาตุเจดีย์หลายองค์ท่ีมีอยู่แต่เดิมในล้านนา เช่น พระมหาธาตุที่นคร หริภุญไชย พระบรมธาตุลำ�ปางหลวง พระบรมธาตุแช่แห้ง แต่ท่ีสำ�คัญท่ีสุดคือ การสร้างเสริมพระธาตุเจดีย์หลวงที่กลางนครเชียงใหม่ซ่ึงสร้างข้ึนตั้งแต่รัชกาล พญาแสนเมืองมา (พ.ศ. ๑๙๒๘ - พ.ศ. ๑๙๔๔) พญาตโิ ลกราชโปรดเกลา้ ฯ ให้ หม่ืนด้ามพร้าคต นายช่างใหญ่ทำ�การปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์หลวง โดยมี พระมหาสามีสัทธัมกิติเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการควบคุมดูแลและประสานงาน การก่อสร้างครั้งน้ีได้สร้างขยายเจดีย์ให้ใหญ่กว่าเดิมใช้เวลาในการก่อสร้าง ๓ ปี จึงแลว้ เสรจ็ การสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ของพระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนานั้น เป็นการทุ่มเททรัพยากรอย่างมหาศาล ทั้งกำ�ลังพระราชทรัพย์ กำ�ลังแรงงาน และภูมปิ ญั ญาชา่ ง โดยเฉพาะด้านภมู ปิ ญั ญาช่างนนั้ มคี วามย่ิงใหญ่มาก นายช่าง ของทั้งสุโขทัยและล้านนาต่างแสดงอัจฉริยภาพในการคิดแบบพระสถูปเจดีย์ ที่หลากหลาย ท้ังโดยการวิวัฒนาการแบบพระสถูปเจดีย์ในยุคก่อนๆ และการ นำ�พลังศรัทธาในหลกั ปรชั ญาข้ันสูงของพระพุทธศาสนาเถรวาท เช่นคตเิ กย่ี วกับ 87
วดั มหาธาตุ เชลียง ศรีสัชนาลัย 88 พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา
ภพภมู ติ า่ งๆ และหลกั การเกย่ี วกบั พฒั นาการของสภาวะจติ ในระดบั ตา่ งๆ รวมถงึ ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า คตเิ รอ่ื งสถานะความเปน็ ศนู ยก์ ลางการปกครองรฐั ของพระมหากษตั รยิ ม์ าเปน็ กรอบ ความคดิ ในการสรา้ งรูปแบบของพระสถูปเจดีย์ในสโุ ขทัยและลา้ นนา ท่ีสำ�คัญคือ พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือทรงดอกบัวตูมของสุโขทัยท่ีเกิดขึ้นต้ังแต่รัชกาล พระมหาธรรมราชาลิไท เป็นรูปแบบของสถูปเจดีย์ท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ รัฐสุโขทัย และได้รับความนิยมนำ�ไปสร้างในล้านนาประเทศและในรัฐไทยอื่นๆ ในลมุ่ แม่นาํ้ เจา้ พระยาตอนบนดว้ ย งานพุทธประติมากรรมคือการสร้างพระพุทธปฏิมาในดินแดนสุโขทัย และล้านนา สะท้อนถึงความต้ังใจมั่นในการรังสรรค์งานพุทธศิลป์ประเภทต่างๆ น้ันเพื่อบูชาคุณของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยพยายามท่ีจะสะท้อน พระคณุ ลกั ษณะของ “พระมหาบรุ ษุ ” อนั เปน็ อดุ มคตใิ นพระพทุ ธศาสนาเถรวาท ที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ผู้จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าน้ัน ย่อมมีคุณลักษณะพิเศษ กว่ามนุษย์ธรรมดาสามัญทั่วไป คุณลักษณะของความเป็นพระมหาบุรุษนี้มีการ กล่าวถึงไว้ในคัมภีร์มหาปุริษลักษณะ เป็นคุณลักษณะที่ผู้ได้พบเห็นจะประจักษ์ ได้ถึงความสงบแห่งจิตภาวะและความหลุดพ้นจากกิเลสสภาวะท้ังมวล นำ�ไปสู่ การเกดิ ปตี ศิ รทั ธาในพระพทุ ธคณุ ขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ แมพ้ ระองค์ จะเสด็จดับขันธปรินิพพานไปนับพันปีแล้ว ซ่ึงช่างป้ันพระพุทธรูปทั้งในสุโขทัย และลา้ นนาประสบความสำ�เรจ็ อยา่ งงดงามในการรงั สรรคป์ ระตมิ ากรรมรปู เคารพ แทนองคพ์ ระบรมศาสดาทแี่ ฝงไว้ด้วยอุดมคติในพระพุทธศาสนาเถรวาทไดอ้ ย่าง สมบูรณ์ สะท้อนให้เห็นได้จากพระพุทธปฏิมาที่ได้รับการรังสรรค์ขึ้นไว้จำ�นวน มากมาย ซงึ่ นายชา่ งไมไ่ ดต้ ง้ั ใจทจ่ี ะปน้ั พระพทุ ธรปู ตามรปู แบบรา่ งกายของมนษุ ย์ ธรรมดา แตอ่ าศยั การตคี วามคำ�อปุ มาจากบทสวดสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ และจาก พระคัมภรี ์มหาปรุ ิษลกั ษณะ ด้วยเหตุนีพ้ ระพุทธปฏมิ าสมยั สุโขทัยและล้านนาจึง เป็นงานพุทธประติมากรรมที่มีเจตนาสะท้อนถึงพระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ และพระมหากรุณาคุณ รวมทั้งพระคุณลักษณะเหนือมนุษย์ธรรมดาของสมเด็จ พระสัมมาสมั พุทธเจ้า พระมหากษัตริย์สุโขทัยและล้านนาทรงสร้าง “พระพุทธรูปอันใหญ่ พระพุทธรูปอันราม” เป็นจำ�นวนมหาศาล ดังเช่นในรัชสมัยพญารามราชมีการ สร้างพระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ท่ีเรียกว่า “พระอัฏฐารศ” ประดิษฐานเป็น พระประธานของวิหารในกลางพ้ืนท่ีอรัญญิกของกรุงสุโขทัย ท้ังพญารามราช ยังได้ทรงกำ�หนดเป็นราชประเพณีให้พระมหากษัตริย์สุโขทัยเสด็จโดยกระบวน พยหุ ยาตราไปทรง “นบพระ” คอื สกั การะพระอฏั ฐารศองคน์ ใ้ี นวนั ธรรมสวนะด8ว้ 9ย
พระประธานในวิหารหลวงวดั มหาธาตุ พระมหากษตั รยิ ์ไทยกับพระพุทธศาสนา 90
ุส โ ข ัท ย - ้ล า น น า “ในกลางอรัญญิก มีพิหารอันณ่ืงมนใหญ่ สูงงามแก่กม มีพระอัฏฐารศ อันณื่ง ลกุ ยนื ” “วนั เดือนดับเดือนเต็ม ท่านแตง่ ชา้ งเผอื กกระพัดลยาง เทยี รยอ่ มทองงา ซ้ายขวาชื่อรูจาศรีพอ่ ขนุ รามคำ�แหงขน้ึ ขี่ไปบนพระเถิงอรญั ญิกแลว้ เข้ามา” (จารกึ หลกั ท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕) ต้ังแต่รัชกาลพระมหาธรรมราชาลิไทเป็นต้นมา มีการสร้างพระพุทธรูป ขนาดใหญ่สำ�หรับเป็นพระประธานในอุโบสถวิหารต่างๆ หลายองค์ ที่สำ�คัญ คือ พระพุทธรูปหลอ่ สำ�รดิ องคใ์ หญ่ ประดิษฐานเปน็ พระประธานในวิหารหลวง วัดมหาธาตุกลางกรุงสุโขทัย อันได้พระนามในสมัยรัตนโกสินทร์ว่า “พระศรี ศากยมุนี” และพระพุทธปฏิมาขนาดใหญ่อีกสามองค์ ประดิษฐาน ณ วัด พระศรีรัตนมหาธาตุ เมืองพิษณุโลก ได้แก่ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา พระมหาธาตุเจดีย์ รอยพระพุทธบาทจำ�ลอง และพระพุทธปฏิมา เป็นงานพุทธศิลป์ประเภทสำ�คัญที่พระมหากษัตริย์แห่งสุโขทัยและล้านนา ทรงสรา้ งขน้ึ ด้วยพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลงานพุทธศิลป์ของสุโขทัยและล้านนาจำ�นวนไม่น้อยยังปรากฏอยู่ ในปัจจุบัน เป็นรากฐานและแม่แบบท่ีสำ�คัญให้กับการสร้างงานพุทธศิลป์ ในยุคสมัยต่อมา คือสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ ซึ่งก็เป็นส่วนสำ�คัญของ กระบวนการในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์ไทย ทง้ั สองยคุ ซงึ่ จะไดก้ ล่าวถึงตอ่ ไป 91
โลกุตรธรรม : กมล ทศั นาญชลี ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (จติ รกรรมและสื่อผสม)
๔บทที่ พระมหากษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา กับความร่งุ โรจนข์ องอารยธรรมพระพทุ ธศาสนา
อยธุ ยายศย่ิงฟ้า ลงดนิ แลฤา อำ� นาจบญุ เพรงพระ ก่อเกอื้ เจดียล์ อออนิ ทร์ ปราสาท ในทาบทองแลว้ เนื้อ นอกโสรม ฯ พรายพรายพระธาตเุ จา้ เจยี นจนั ทร์ แจม่ แฮ ไตรโลกเลง็ คอื โคม ค่ำ� เช้า พิหารระเบียงบัน รุจเิ รข เรืองแฮ ทกุ แห่งห้องพระเจ้า นง่ั เนอื ง ฯ ศาลาอเนกสร้าง แสนเสา โสดแฮ ธรรมาสนจ์ งู ใจเมอื ง สู่ฟ้า พหิ ารยอ่ มฉลักเฉลา ฉลุแผ่น ไสน้ า พระมาศเลอ่ื มเลือ่ มหลา้ หลอ่ แสง ฯ ตระการหน้าวัดแหว้น วังพระ บ�ำบวงหญงิ ชายแชรง ชนื่ ไหว้ บูรพาทา่ นสรรค์สระ สรงโสรจ ดวงดอกไมไ้ ม้แก้ว แบ่งบาล ฯ กฎุ ีดโู ชตชิ ้อย อาศรม เตม็ ร�ำ่ สวรรค์ฤๅปาง แผ่นเผ้า เรือนรัตน์ภริ มย์ปราง สรู ยปราสาท แสนยอดแยม้ แกว้ เก้า เฉกโฉม ฯ (โคลงก�ำสรวลสมทุ ร)
กรงุ ศรีอยุธยาสถาปนาขึ้นโดย สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระรามาธิบดีอู่ทอง (ครองราชยร์ าว พ.ศ. ๑๙๙๑ - จากการรวมตวั ของสามนครรฐั พ.ศ. ๒๐๓๑) มีพระราชศรัทธา อันได้แก่ ละโว้ อโยธยา และ ในพระพุทธศาสนาอย่างแน่นแฟ้น สุพรรณภูมิ ไดท้ รงสนบั สนนุ ให้พระภิกษุ ๑. ขสพสึน้รมรา้ะเเดงสดว็จงิมัดพฆเเปค์รจะณน็า้ รพศะาญูนปมยา่าาก์ธแไทิบกลา้วด(งวีอขดั ูท่ อปองา่ งแทกรว้ง) จ�ำ นวนมากออกไปศึกษาและ ๒. บวชเรียนทีล่ ังกา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงพระราช นิพนธ์มหาชาติคำ�หลวง (เวสสันดรชาดก) ร่วมกบั นกั ปราชญร์ าชบณั ฑิตเมืองพิษณุโลก พ.ศ. ๑๘๙๓ พ.ศ. ๑๙๔๓ พ.ศ. ๑๙๙๓ พ.ศ. ๒๐๔๓ พ.ศ. ๒๐๙๓ ราชธานีศรีอยธุ ยา โคลงทั้งห้าบท อันเป็นส่วนหน่ึงของโคลงกำ�สรวลสมุทรที่แต่งข้ึน ภาพบน : ๑. และ ๒. เครือ่ งทอง ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นกล่าวพรรณนาภาพความย่ิงใหญ่อลังการของราชธานี และพระพุทธรูป ศรีอยุธยา สะท้อนว่าความอลังการของราชธานีไทยแห่งน้ีมาจากความงดงาม จากวัดราชบรู ณะ ตระการตาของพระราชวงั ทปี่ ระทบั ของพระมหากษตั รยิ ์ สง่ิ กอ่ สรา้ ง และศลิ ปวตั ถุ ๓. วดั ใหญ่ชยั มงคล ท่ีเนื่องในพระพุทธศาสนา อันได้แก่ โบสถ์วิหาร พระมหาธาตุเจดีย์ กุฎี และ ๔. วัดไชยวัฒนาราม เสนาสนะสงฆ์ รวมทงั้ ศรทั ธาของผคู้ นพลเมอื งตอ่ พระพทุ ธศาสนา ภายใต้บารมี ของพระมหากษัตริย์ทั้ง ๕ ราชวงศ์ ผู้ทรงมีบทบาทในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระ พุทธศาสนาจนปรากฏความรุ่งโรจน์เป็นที่กล่าวขวัญถึง ไม่แต่เฉพาะในหมู่ชน ชาวอยธุ ยาเอง แต่ยงั รวมไปถึงชนต่างชาตทิ ม่ี ีโอกาสมาเยอื นมหานครแห่งนด้ี ้วย พระพุทธศาสนาเถรวาทในสมัยอยุธยายังมีความสำ�คัญในฐานะบ่อเกิด และพนื้ ฐานของอารยธรรมอนั ยง่ิ ใหญ่ เชน่ เดยี วกบั ทพ่ี ระพทุ ธศาสนามคี วามส�ำ คญั ต่ออารยธรรมของแคว้นสุโขทัยและล้านนา เพราะหลักธรรมและคติความเชื่อ ในพระพุทธศาสนาได้หยง่ั รากลึกลงในศรัทธาของผคู้ นชนชนั้ ตา่ งๆ ในโครงสร้าง สังคมสมัยอยุธยาตั้งแต่ชนช้ันสูงสุดคือกษัตริย์ไปจนกระทั่งถึงชนช้ันล่างสุด ของสงั คมคือทาส ชนทุกชั้นในราชอาณาจักรอยุธยามีธรรมและคตคิ วามเชื่อทาง พระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะเรอื่ งของกรรมและบญุ บารมเี ปน็ กรอบการประพฤตติ น และเป็นกรอบที่กำ�หนดโลกทัศน์ โลกทัศน์ของชนช้ันต่างๆ อันอยู่บนพื้นฐาน ของพระพทุ ธศาสนายงั มพี ลงั ในการยดึ โยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผคู้ นชนชน้ั ตา่ งๆ ให้มีการยอมรับสถานะของกันและกัน อันทำ�ให้เกิดความมีเอกภาพในสังคม อย่างไรก็ดีระยะเวลาอันยาวนานถึง ๔๑๗ ปีท่ีกรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองอยู่นั้น อารยธรรมพระพุทธศาสนาของอาณาจักรแห่งน้ีมีพัฒนาการไปจนเกิดลักษณะ ท่ีโดดเด่นไปกว่าอารยธรรมพระพุทธศาสนาของสุโขทัยและล้านนา กล่าวคือ พระมหากษตั ริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา 96
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308