Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ สันสกฤตขั้นต้น 1

✍️ สันสกฤตขั้นต้น 1

Description: ✍️ สันสกฤตขั้นต้น 1

Search

Read the Text Version

016101 สนั สกฤตขนั้ ตน้ 1 BIGINNING SANSKRIT 1 ผศ.ดร.ระวี จันทร์ส่อง สาขาวชิ าภาษาบาล-ี สันสกฤต-ฮนิ ดี คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ได้รบั ทุนสนับสนนุ จากคณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ งบประมาณรายได้ปี 2559

คำนำ เอกสารประกอบการสอนนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นคู่มือในการเรียนการสอนวิชา สนั สกฤตขน้ั ตน้ 1 (Beginning Sanskrit 1) เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษาได้ทราบประวัติ ความเป็นมาและกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์เบ้ืองต้น เนื้อหาประกอบด้วย ประวัติของภาษาสันสกฤต สระ พยัญชนะ นามศัพท์การันต์ต่าง ๆ คุณศัพท์ สรรพนาม สังขยา การประกอบกริยาจากธาตุหมวดต่าง ๆ เป็นต้น โดยแบ่ง เนือ้ หาออกเป็น 10 บท ผู้จัดทาพยายามจัดทาเนื้อหาให้กระชับ ตัดกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์บางอย่าง ท่ีซับซ้อนออกไป ยกตัวอย่างการใช้ภาษาสันสกฤตท้ังการแปลสันสกฤตเป็น ไทยและแปลไทยเป็นสันสกฤตให้หลากหลาย รวมถึงการเพ่ิมคาอ่านเป็น อักษรโรมัน ในภาคผนวกได้เพ่ิมวิภักติกริยาและตัวอย่างการแจกวิภักติ คานามการันต์ต่าง ๆ รวมท้ังศพั ทานุกรมกรยิ าและคานามให้มากข้ึน เพ่ือให้ นกั ศกึ ษาไดท้ บทวนทาความเข้าใจได้ดว้ ยตนเอง ขอขอบคณุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เปน็ อย่างสงู ท่ีมอบทุน สนบั สนุนในการจัดทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้ เรม่ิ ศกึ ษาภาษาสันสกฤตทุกคน ผศ.ดร.ระวี จนั ทรส์ ่อง สาขาวชิ าภาษาบาล-ี สนั สกฤต-ฮนิ ดี คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ก

สำรบัญ ก คำนำ ข สำรบัญ คำชี้แจงอกั ษรย่อ จ บทนำ บทที่ 1 อักขรวธิ ี 1 - เสียงสระ 5 - เสยี งพยญั ชนะ 7 - ฐานกรณ์ 8 - การประสมพยญั ชนะและสระ 11 - เคร่อื งหมายกากับเสยี ง 12 - พยัญชนะสงั ยุกต์ 14 - พยญั ชนะซ้อน 16 บทท่ี 2 สนธิ - ฝกึ อ่านอกั ษรเทวนาครี 20 - การสนธิ 24 - สระสนธิ 24 - กฎการสนธิ 26 - ตารางสาเรจ็ รูปสระสนธิ 29 บทที่ 3 วิภักติ ลฏฺ - ศพั ท์ควรรู้ 34 - องคป์ ระกอบของกริยาในกลุม่ สารวธาตกุ ะ 36 - การสร้างประโยคกรรตวุ าจก 40 - กริยาธาตุหมวดที่ 1 42 - ประธานในประโยค 44 - กรยิ าธาตหุ มวดท่ี 6 48 ข

- กรยิ าธาตุหมวดที่ 4 50 - กริยาธาตุหมวดท่ี 10 52 - อพั ยยศัพทบ์ างตวั 55 บทที่ 4 นำมศพั ท์ อ กำรันต์ - นามศัพท์ 59 - การแจกวภิ กั ตนิ ามศพั ท์ 61 - วิภกั ตนิ าม 64 - คาแปลวิภักตินาม 66 - ตวั อย่างการแจก อ การนั ต์ ปลุ ลิงค์ 74 - อัพยยศพั ท์บางตวั 75 - ตัวอย่างการแจก อ การนั ต์ นปงุ สกลิงค์ 77 - การใชอ้ ัพยยศพั ท์ 79 บทท่ี 5 วภิ ักติ ลงฺ - วภิ กั ติ ลงฺ 83 - หลกั เกณฑ์ท่วั ไปในการประกอบกรยิ า 84 - อพั ยยศพั ท์บางตัว 88 - ตวั อยา่ งการแจกวิภักติธาตุหมวดที่ 1, 4, 6, 10 86 บทที่ 6 นำมศัพท์ อำ กำรันต์ - การแจก อา การันต์ 90 - ตวั อยา่ งการแจก อา การนั ต์ สตรลี ิงค์ 92 - พยัญชนะสนธิ 95 - ตารางสาเรจ็ รูปพยญั ชนะสนธิ 98 บทท่ี 7 นำมศพั ท์ อิ กำรันต์ - นามศพั ท์ อิ การนั ต์ 102 - ตวั อย่างการแจก อิ การันต์ ปงุ ลิงค์ 104 - ตวั อย่างการแจก อิ การนั ต์ นปุงสกลิงค์ 107 - ตัวอย่างการแจก อิ การันต์ สตรลี งิ ค์ 110 ค

บทท่ี 9 คณุ ศัพท์ 113 บทท่ี 8 - คณุ ศพั ท์ 115 บทท่ี 10 - ตัวอย่างการแจกวิภกั ติคุณศพั ทท์ ลี่ งทา้ ยด้วย อ 118 - คุณศัพท์ทีข่ ยายคานามปลุ ลงิ ค์ 119 - คณุ ศัพท์ทข่ี ยายคานามนปุงสกลิงค์ 120 - คณุ ศัพท์ทีข่ ยายคานามสตรลี ิงค์ 126 สรรพนำม 127 - สรรพนาม 127 - การแจกวภิ ักติบรุ ุษสรรพนาม 128 - ตวั อย่างการแจกสรรพนาม อตุ ตมบุรษุ 129 - ตัวอยา่ งการแจกสรรพนาม มัธยมบรุ ุษ - ตวั อยา่ งการแจกสรรพนาม ประถมบุรุษ 150 151 สงั ขยำ 158 - สงั ขยา 158 - ปกติสังขยา 1-100 159 - สังขยาจานวนเตม็ 160 - การแจกวิภักตสิ ังขยา 161 - เอก (1) 162 - ทวฺ ิ (2) 163 - ตฺริ (3) 169 - จตุรฺ (4) 171 - ปญจฺ นฺ (5) 172 173 บรรณำนุกรม 179 ภำคผนวก 198 - วภิ ักติกรยิ ารวม - ตวั อย่างการแจกวภิ กั ตินามศัพท์ - ศพั ทานกุ รมสนั สกฤต-ไทย (กรยิ า) - ศัพทานุกรมสันสกฤต-ไทย (คานาม) ง

คำช้ีแจงอกั ษรยอ่ อ. หมายถงึ อันวา่ ทส. หมายถงึ ท้งั สอง ท. หมายถงึ ทัง้ หลาย เอก. หมายถงึ เอกวจนะ ทวิ. หมายถึง ทวิวจนะ พหุ. หมายถึง พหวุ จนะ ป. หมายถึง ปรัสไมปทีธาตุ อา. หมายถึง อาตมเนปทธี าตุ ปรัส. หมายถึง ปรสั ไมบท อาต. หมายถึง อาตมเนบท อุ. หมายถงึ อภุ ยปทีธาตุ ปลุ . หมายถงึ ปุลลงิ ค์ (เพศชาย) นปงุ . หมายถึง นปงุ สกลิงค์ สตรี. หมายถึง สตรลี ิงค์ (เพศหญงิ ) คุณ. หมายถงึ คณุ ศัพท์ สงั . หมายถงึ สังขยา อัพย. หมายถึง อพั ยยศพั ท์ ก.ิ วิ. หมายถึง กรยิ าวิเศษณ์ 1 หมายถึง ธาตุหมวดท่ี 1 ตวั อย่างเช่น 1 ป. หมายถงึ ธาตุ หมวดท่ี 1 ปรัสไมปทีธาตุ (ถา้ เปน็ ตัวเลขอืน่ ก็ให้ทราบโดยนยั น)้ี → หมายถึง เปลีย่ นเป็น, กลายเป็น จ

บทนำ ควำมรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกับภำษำสนั สกฤต ควำมหมำยของสนั สกฤต หากพจิ ารณาตามรูปศพั ทท์ ี่ปรากฏคาว่า “สันสกฤต” มาจากคาว่า ส + กฤต (saṃ + kṛt) ส เป็นอุปสรรค แปลว่า ดี, พร้อม, สมบูรณ์ กฤต เป็นกริยา แปลว่า ทำแล้ว เมื่อรวมเข้าด้วยกันจึงแปลว่า “ตกแต่งดีแล้ว, ทาให้ดีแล้ว, ผสมกันดีแล้ว” หรืออีกนัยหนึ่งก็คือภาษาท่ีได้รับการพัฒนาไว้อย่างสมบูรณ์ แลว้ นั่นเอง ภำษำอนิ โด-ยโุ รเปียน ภาษาสันสกฤตจัดอยู่ในตระกู ลอินโด-ยุโรเปียน (Indo-European) เช่นเดียวกับหลายภาษาในยุโรป เช่น อังกฤษ ละติน กรีก เป็นต้น ในบรรดา ภาษาเหล่าน้ี สันสกฤตได้ช่ือว่าเป็นภาษาเก่าแก่ท่ีสุดที่มีการบันทึกไว้ สาขา หน่ึงของภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน คือ อินโด-อิราเนียน (Indo-Iranian) ผ้ใู ชภ้ าษาในสาขานีเ้ รียกวา่ อารยัน (āryan) ซ่ึงมาจากศัพท์สันสกฤตว่า ārya และจากศัพท์เปอร์เซียโบราณว่า airya อันเป็นต้นกาเนิดของคาว่า Iran นั่นเอง ภาษาในสาขานีค้ อื ภาษาอนิ เดยี (Indic) และอหิ ร่าน (Iranian) หรือ (Persian) ในทนี่ ้จี ะกลา่ วเฉพาะภาษาอินเดียเท่าน้นั เม่ือ 2,000-1,500 ปี ก่อนคริสตกาล ชาวอารยันกลุ่มหนึ่งได้อพยพเข้าไปใน อินเดียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งขณะน้ันชาวพ้ืนเมืองดั้งเดิมใช้ภาษา ทราวิฑ ต่อมาชาวอารยันได้พัฒนาภาษาข้ึนและให้ความสาคัญจนกลายเป็น ภาษาหลักของอินเดียเหนือ หรือที่เรียกว่าภาษาอินโด-อารยัน ภาษาน้ี แบง่ เปน็ 3 ระยะด้วยกนั คอื

สันสกฤตขั้นต้น 1 ● อินโด-อำรยนั ยคุ เก่ำ ประมาณ 1,000 ปี กอ่ นครสิ ตกาล ยุคเก่าน้ีมี 2 ภาษาคือภาษา พระเวทกับภาษาสนั สกฤต ภาษาพระเวท จะใช้ในบทสวดคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน เนื่องจากพระเวทแต่งขึ้นในสถานท่ีและยุคสมัยต่างกัน ภาษาที่ใช้จึงต่างกัน บางคร้ังต้องอาศัยการอธิบายจึงจะเข้าใจได้ เมื่อเวลาผา่ นไป ภาษาในคัมภรี ์ ก็ผิดเพ้ียนไปจากของเดิม พวกนักปราชญ์ก็คิดกันว่าจะทาอย่างไรจึงจะ ถ่ายทอดคัมภีร์ได้อย่างถูกต้อง จึงพยายามวางหลักไวยากรณ์ เริ่มด้วยการ อธิบายเสียงและรูปอักษรเพื่อให้ออกเสียงได้ถูกต้อง จึงอาจกล่าวได้ว่า การศึกษาไวยากรณ์ของอนิ เดียเริ่มมาจากศาสนานัน่ เอง ภาษาสันสกฤต หลังจากปำณินิ นักภาษาศาสตร์คนสาคัญได้ จัดระบบภาษาพระเวท และเขยี นตาราช่ืออัษฏำธยำยีขน้ึ แล้ว จึงเกิดภาษาที่ เรยี บเรียงและตกแต่งใหม่เรยี กวา่ ภำษำสนั สกฤต สมัยต่อมานักภาษาศาสตร์ นิยมเรียกภาษาพระเวทว่าภาษาสันสกฤตพระเวท (Vedic Sanskrit) และ เรียกภาษาสนั สกฤตว่าภาษาสนั สกฤตแบบแผน (Classical Sanskrit) ● อินโด-อำรยนั ยุคกลำง ประมาณ 240 ปี ก่อนคริสตกาลถึงคริสต์ศตวรรษท่ี10 ภาษาทม่ี พี ฒั นาการมาจากภาษาพระเวท แบ่งออกเป็น 2 สายคือ สายแรก หมู่นักปราชญ์ได้ชาระสะสางให้มีกฎเกณฑ์รัดกุมเรียก กันวา่ ภาษาสันสกฤต คือภาษาที่ตกแตง่ ขดั เกลา ทาใหด้ ีแล้ว สายที่สอง พัฒนาการอยู่ในหมู่ชาวบ้าน มีการเปล่ียนแปลงตาม ธรรมชาติและได้ปะปนกับภาษาพ้ืนเมืองเดิม เรียกว่าภาษาปรากฤต คือ ภาษาธรรมชาติ 2

สันสกฤตขน้ั ต้น 1 การเปล่ียนแปลงจากภาษาพระเวทมาเป็นภาษาปรากฤต เป็นการ เปล่ียนแปลงทางด้านการลดข้ันตอนความสลับซับซ้อนและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น ทาสระและพยัญชนะให้นอ้ ยลง มตี วั ควบกลา้ น้อยลง มีขอ้ ยกเว้นในการ สนธิ และมกี ารกลมกลนื เสียงเพื่อให้ออกเสยี งได้ตามธรรมชาติ จึงทาให้เปน็ ภาษาทง่ี ่ายขน้ึ กว่าเดิมมาก นกั ภาษาไดแ้ บ่งภาษาปรากฤตเปน็ กลมุ่ ดังน้ี - ปรากฤตยุคเก่า ได้แก่ ภาษาของแคว้นมคธหรือภาษาบาลีที่พบใน จารึกของพระเจ้าอโศกประมาณ 250 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาบาลีใน พระไตรปิฎกและในวรรณคดพี ทุ ธศาสนา เชน่ คัมภีรม์ หาวงศแ์ ละชาดก และ ภาษาบาลใี นคัมภีรข์ องศาสนาไชนะ หรอื เชน (Jain) นอกจากนี้ยงั พบวา่ บท ละครสมัยต้น ๆ เช่น บทละครของอัศวโฆษ มีการใช้ภาษาปรากฤตทีเ่ ก่าแก่ พอทจ่ี ะจดั อยใู่ นกล่มุ ปรากฤตยุคเกา่ น้ดี ้วย - ปรากฤตยคุ กลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตท่ีใช้ในบทละคร เช่น ภาษา มหาราษฏรี ภาษาเศารเสนี ภาษามาคธี และภาษาอรรธมาคธี กล่าวคือ ตวั ละครหญิงมักจะพูดภาษาเศารเสนี แต่เมื่อรอ้ งเพลงจะใชภ้ าษามหาราษฏรี วิทูษกะ (สหายของพระเอก) ใช้ภาษาเศารเสนี ส่วนตัวละครเล็ก ๆ เช่น ชาวประมงในเรือ่ งศกุนตลา ใช้ภาษาอรรธมาคธี เปน็ ตน้ - ปรากฤตยุคหลัง ได้แก่ ภาษาอปภรศะ ซ่ึงไม่ปรากฏมากนักใน วรรณคดี ● อินโด-อำรยันยุคปัจจบุ ัน คือภาษาที่ใช้พูดกันในปัจจุบันตามท้องถิ่นต่างๆ เช่น เบงกาลี ปัญจาบี ฮินดี เป็นต้น ในท่นี ีจ้ ะไม่กลา่ วถึง 3

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 ภำษำสันสกฤตพระเวทกับภำษำสันสกฤตแบบแผน ภาษาสันสกฤตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือภาษาสันสกฤตพระเวท และภาษาสันสกฤตแบบแผน ภาษาสันสกฤตพระเวทเป็นภาษาของกลุ่ม คัมภีร์สหิตาและพราหมณะ เก่าแก่กว่าภาษาสันสกฤตแบบแผน มีคัมภีร์ท่ี เก่าแก่ที่สุดในกล่มุ น้คี อื ฤคเวท (Ṛgaveda) หรือฤคเวทสหิตา ส่วนภาษาสันสกฤตแบบแผนเป็นภาษาที่ได้รับการพัฒนามาจากภาษา สันสกฤตพระเวทอีกต่อหน่ึง มีการกาหนดกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ที่ชัดเจน และเป็นระบบ นักไวยากรณ์ที่ได้รับการยกย่องว่าเก่งและฉลาดที่สุดคนหนึ่ง ของโลกคือท่านปาณินิ ผู้เขียนตาราไวยากรณ์ “อัษฏาธยายี” หรือคัมภีร์ แปดบทอันโด่งดังและเป็นท่ีนิยมอย่างกว้างขวาง ภาษาสันสกฤตแบบแผนน้ี เป็นภาษาของวรรณกรรมที่สาคัญของอินเดียหลายเรื่อง เช่น มหากาพย์ รามายณะ มหากาพย์มหาภารตะ และวรรณกรรมยุคหลัง เช่น ศกุนตลา เมฆทูต เป็นต้น อกั ษรท่ใี ช้เขยี นภำษำสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาเสียงหรือสัททภาษา ไม่มีอักษรเป็นของตนเอง เช่นเดียวกับภาษาบาลี ดังน้ันภาษาสันสกฤตจึงสามารถเขียนด้วยอักษร ชนิดใดก็ได้เพื่อมาแทนเสียง เช่น ประเทศอินเดียใช้อักษรเทวนาครี ศรีลังกา ใชอ้ กั ษรสิงหล ประเทศไทยใชอ้ ักษรไทย ประเทศแถบทวปี ยุโรปและอเมริกา ใชอ้ ักษรโรมนั เป็นต้น 4

บทที่ 1 อกั ขรวธิ ี อักขรวธิ ีเปน็ เร่ืองเก่ียวกับอักษรในภาษาสันสกฤต ซ่ึงคาว่าอักษรหมายถึงสระ และพยัญชนะรวมกัน ภาษาสันสกฤตแบ่งเสียงออกเป็น 2 ชนิดคือเสียงสระ ซ่งึ มที ้ังสนิ้ 14 เสียง แตน่ ิยมเพยี ง 12 เสยี ง และเสยี งพยัญชนะ 33 เสียง สระ ทม่ี กี ารใชน้ ้อยและไมค่ อ่ ยนยิ ม 2 ตวั คือ ¤ (ฦ) ¥ ( ) การเรียนภาษาสันสกฤตมสี ่งิ ท่ีสาคัญไม่แพก้ ฎเกณฑท์ างไวยการณ์ก็คืออักษร ชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในการถ่ายทอดเสียง นอกจากอักษรไทยแล้วยังมีอักษร เทวนาครีและอักษรโรมนั ท่มี คี วามสาคัญเชน่ กัน หากสามารถอา่ นเขียนอกั ษร เทวนาครีได้ก็จะทาให้การเรียนภาษาสันสกฤตง่ายข้ึน เพราะตาราสันสกฤต ส่วนใหญ่จารึกด้วยอักษรเทวนาครี ส่วนอักษรโรมันก็ถือว่าสาคัญไม่แพ้กัน เพราะเป็นอักษรท่ีนักวิชาการส่วนใหญ่ใช้ในการถ่ายทอดเสียงในงานค้นควา้ และงานวิจัยต่าง ๆ อักษรท้ังสองชนิดจึงเป็นอักษรท่ีผู้สนใจเรียนภาษา สันสกฤตควรจะรดู้ ้วยเช่นกัน ด้วยเหตุดังกล่าว หนังสือเล่มนี้จึงนาอักษรทั้ง 3 ชนิดคืออักษรเทวนาครี อักษรโรมัน และอักษรไทย มาไว้เป็นบทนา เพ่ือให้ผู้สนใจได้ศึกษาได้อ่าน และเปรียบเทียบด้วยตนเอง เมื่อสามารถจดจาอักษรชนิดต่าง ๆ ได้แล้ว จะช่วยใหก้ ารศึกษาไวยากรณ์ซึ่งเปน็ ขน้ั ตอนต่อไปทาไดง้ า่ ยและรวดเร็วข้นึ เสยี งสระ เสียงสระทนี่ ิยมใช้ในภาษาสันสกฤตแบง่ ออกเปน็ 12 เสยี ง จัดเปน็ 2 ประเภท คือสระลอย และสระจม - สระลอย คือสระทเี่ ขียนตามลาพงั หรืออยตู่ น้ คาจะเขียนเตม็ ตวั - สระจม คือสระที่ไปประกอบกับพยัญชนะ มีการเปล่ียนแปลงรูป บางตัวก็คงเคา้ เดิมไวบ้ ้าง บางตัวก็เปลย่ี นไปไม่คงเค้าเดิมไว้

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 สระในภาษาสนั สกฤต A Aa # $ % ^ \\ § @ @e Aae AaE a ā i ī u ū ṛ ṝ e ai o au อ อา อิ อี อุ อู ฤ เอ ไอ โอ เอา สระลอยและสระจม สระลอย A Aa # $ % ^ \\ § @ @e Aae AaE สระจม - -a i- -I -u -U -& -© -e -E -ae -aE สระแทแ้ ละสระประสม สระทั้ง 12 เสียงแบ่งตามฐานทเ่ี กิดได้ 2 ประเภทคอื สระแท้ และสระประสม - สระแท้ คือสระท่ีเกดิ จากฐานเดียวกันเรยี กอีกอย่างหนึง่ วา่ “สุทธสระ” มที ้ังหมด 8 เสียง ได้แก่ อ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา - สระประสม คือสระที่เกิดจาก 2 ฐาน หรือสระ 2 ตัวประสมกัน เรียก อกี อยา่ งหนึง่ ว่า “สันธยักษระ” มีท้ังหมด 4 เสยี ง ได้แก่ เอ ไอ โอ เอา สระแทแ้ ละสระประสม สระแท้ A Aa # $ % ^ \\ § สระประสม อ อา อิ อี อุ อู ฤ @ @e Aae AaE เอ ไอ โอ เอา 6

สนั สกฤตข้ันตน้ 1 สนั ธยกั ษระ @ เอ A , Aa + # , $ อ, อา + อ,ิ อี @e ไอ A , Aa + @ อ, อา + เอ Aae โอ เกิดจาก A , Aa + % , ^ อ, อา + อ,ุ อู AaE เอา A , Aa + Aae อ, อา + โอ เสยี งพยญั ชนะ พยัญชนะในภาษาสันสกฤตมีท้ังหมด 33 เสียง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ พยญั ชนะวรรค และพยญั ชนะอวรรค หรือเศษวรรค - พยัญชนะวรรค ได้แก่พยัญชนะท่ีเกิดจากฐานกรณ์เดียวกัน มที ง้ั หมด 5 วรรค แต่ละวรรคมี 5 เสยี ง รวมเปน็ 25 เสียง - พยัญชนะอวรรค หรือเศษวรรค ไดแ้ กพ่ ยัญชนะทีไ่ มส่ ามารถจดั เขา้ ในวรรคได้เนอื่ งจากคณุ สมบัตติ ่างกนั มที งั้ หมด 8 เสียง 7

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 พยญั ชนะวรรค ฐานท่ีเกิด 1234 5 คอ เพดาน ko g \" ' ปมุ่ เหงือก ฟัน ka kha ga gha ṅa ริมฝีปาก กขคฆ ง cD jH | ca cha ja jha ña จฉ ชฌญ qQ fF[ ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ฏฐ ฑฒณ tw d x n ta tha da dha na ตถทธ น p) b - m pa pha ba bha ma ปผพภ ม พยัญชนะอวรรค y r l v z,è ; s h ya ra la va śa ṣa sa ha ย ร ล ว ศ ษสห 8

สันสกฤตข้ันต้น 1 ฐานกรณ์ (articulator) ฐานกรณ์ คือคาที่ใช้เรียกอวัยวะต่าง ๆ ในช่องปากท่ีใช้ในการออกเสียง ประกอบดว้ ยฐานและกรณ์  ฐาน (passive articulator) หมายถึง ตาแหน่งท่ีเกิดของเสียงซึ่ง เป็นอวัยวะในช่องทางเดนิ เสยี งท่ีไม่เคลื่อนที่ขณะเปล่งเสียง ไดแ้ ก่ ริมฝีปากบน ฟันบน แนวปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก หน้าเพดานแข็ง เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ และผนงั คอ เปน็ ตน้  กรณ์ (active articulator) หมายถงึ อวัยวะท่ีใช้ในการเปล่งเสียง ซ่ึงเคล่ือนท่ีไปประชิดหรือใกล้ชิดกับฐาน ได้แก่ ริมฝีปากล่าง สดุ ปลายล้ิน ปลายลน้ิ เปน็ ตน้ การแบ่งพยญั ชนะและสระจะแบ่งตามลกั ษณะเสียงท่ีเปล่งออกมา ไดแ้ ก่ 1) อโฆษะ คือเสียงไม่ก้อง ได้แก่ พยัญชนะลาดับท่ี 1, 2 ท้ัง 5 วรรค และ ศ ษ ส 2) โฆษะ คือเสียงก้อง ได้แก่ สระทั้งหมด, พยัญชนะลาดับที่ 3, 4, 5 ทงั้ 5 วรรค และพยัญชนะอวรรค ไดแ้ ก่ ย ร ล ว ห 3) สถิ ิล คือเสยี งเบา ได้แก่ พยัญชนะลาดบั ท่ี 1, 3 ทั้ง 5 วรรค 4) ธนติ คือเสยี งหนกั ได้แก่ พยัญชนะลาดับที่ 2, 4 ท้งั 5 วรรค และ ห 5) อนนุ าสกิ คือมีเสียงขึ้นจมกู ได้แก่ พยัญชนะลาดบั ท่ี 5 ทง้ั 5 วรรค 6) อรรธสระ คือพยญั ชนะกึ่งสระ ได้แก่ ย ร ล ว 7) อษู มนั คือมเี สยี งลมสอดแทรกออกมาตามฟัน ไดแ้ ก่ ศ ษ ส 9

สันสกฤตข้ันตน้ 1 ฐานกรณ์ที่เกิดเสียง และลักษณะของเสียงที่เปล่งออกมา สามารถสรุปได้ ดงั ตารางต่อไปนี้ ตารางแสดงเสียงพยญั ชนะและสระ อโฆษะ โฆษะ ฐาน พยัญชนะวรรค อวรรค สระ คอ สถิ ิล ธนติ สถิ ลิ ธนติ อนุนาสกิ A Aa k og \" ' h aā ka kha ga gha ṅa ha เพดาน c D j H | y z# $ ca cha ja jha ña ya śa i ī ปมุ่ เหงือก q Q f F [ r ;\\ § ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ra ṣa ṛ ṝ ฟัน t w d x n l s* ta tha da dha na la sa รมิ ฝีปาก p )b- m %^ pa pha ba bha ma uū ฟนั + v รมิ ฝปี าก va * z (śa), ; (ṣa), s (sa) เปน็ พยัญชนะอโฆษะ 10

สันสกฤตขั้นตน้ 1 การประสมพยัญชนะและสระ สระมีการเขยี น 2 แบบ คือเม่ือเขียนตามลาพงั หรือเปน็ ตวั แรกของคาจะใชร้ ปู สระลอย เม่ือนาไปประสมกับพยัญชนะจะมีการเปล่ียนรูปเป็นสระจม เช่น คาว่า Aahar (āhāra) สระ อา เม่ืออยู่ต้นคาจะเขียนเป็นรูปสระลอย ได้แก่ รปู Aa (ā) แตเ่ ม่อื ประสมกบั พยัญชนะแล้วจะเปล่ียนรูปเปน็ สระจม ได้แก่รปู –a เชน่ Aahar (āhāra) อย่างนี้เป็นต้น พยัญชนะโดยท่ัวไปไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตนเอง ต้องอาศัยสระจึงจะ ออกเสียงได้ การเขียนพยัญชนะท่ียังไม่ได้ประสมกับสระจะเขียนโดยมี เคร่ืองหมายวิราม ( ! ) อยู่ใต้พยัญชนะเสมอ เม่ือประกอบกับสระแล้ว เคร่ืองหมายน้ีจะหายไป ดังตวั อย่าง k! + A = k k + a = ka (ก) k! + Aa = ka k + ā = kā (กา) k! + # = ik k + i = ki (ก)ิ k! + $ = kI k + ī = kī (ก)ี k! + % = ku k + u = ku (กุ) k! + ^ = kU k + ū = kū (กู) k! + \\ = k« k + ṛ = kṛ (กฤ) k! + § = k© k + ṝ = kṝ (ก ) k! + @ = ke k + e = ke (เก) k! + @e = kE k + ai = kai (ไก) k! + Aae = kae k + o = ko (โก) k+! AaE = kaE k + au = kau (เกา) 11

สนั สกฤตข้ันตน้ 1 ขอ้ สังเกต  พยัญชนะ r! (r) เม่ือประสมกับสระ % (u) และ ^ (ū) ตาแหน่งของ สระจะไม่เหมือนพยญั ชนะตวั อ่ืน จะมรี ูปพิเศษคือ r! + % = é r + u = ru r! + ^ = ê r + ū = rū  พยัญชนะ r! (r) เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะอื่น ประสมกับพยัญชนะที่ ตามมา จะเปลย่ี นรูปโดยจะขึ้นไปอยดู่ า้ นบนพยัญชนะทีต่ ามมา เช่น r! + g = gR ในคาว่า svgR (สวรรค)์ r + ga = rga ในคาว่า savarga r! + m = mR ในคาวา่ kmR (กรรม) r + ma = rma ในคาว่า karma  พยัญชนะ r! (r) ควบกล้า มีพยัญชนะอื่นอยู่หน้า ตามหลังด้วยสระ จะเปล่ยี นรูปโดยจะไปอยู่ด้านลา่ งพยัญชนะน้นั ๆ เชน่ p + r = à ในคาวา่ à}a (ปรัชญา) p + ra = pra ในคาว่า prajñā  ภาษาสันสกฤตจะไม่มีการประสมระหว่างพยัญชนะ r! (r) กับสระ \\, § (ṛ, ṝ) เครอ่ื งหมายกากับเสียง ภาษาสันสกฤตมีเคร่ืองหมายหลายชนิดซึ่งมีชื่อและหน้าท่ีแตกต่างกันไป ในเบ้ืองต้นน้ีควรรู้จักเคร่ืองหมายที่มีโอกาสพบบ่อยในการเรียนสันสกฤต ไดแ้ ก่ 12

สนั สกฤตข้ันตน้ 1 1) วิราม ( ! ) พยัญชนะเมื่อไม่ได้ประสมกับสระจะต้องมีเคร่ืองหมาย วิรามกากับอยู่ใต้พยัญชนะเสมอ เครื่องหมายวิรามทาหน้าท่ีห้าม เสียง นอกจากนี้พยัญชนะท่ีมีเครื่องหมายวิรามกากับอยู่สามารถ อ่านเป็นตัวสะกดได้หากตามหลังสระ เคร่ืองหมายวิรามนี้เมอ่ื ถ่าย ถอดมาสู่อกั ษรไทยจะเขียนเปน็ จดุ (พนิ ท)ุ ใตพ้ ยญั ชนะ ดังตัวอย่าง เทวนาครี โรมัน ไทย กฺ ขฺ คฺ k! o! g! k kh g gjan! คชานฺ gajān 2) อนุสวาระ ( < ) ใช้แทนเสียงอนุนาสิก หรือเสียงขึ้นจมูก มีลักษณะ เป็นวงกลมเล็กๆ อยู่เหนือพยัญชนะเช่นเดียวกับภาษาไทย ตวั อยา่ งเชน่ เทวนาครี โรมัน ไทย มคล m—gl maṃgala sS— k«t สสฺกฤต saṃskṛta 3) วิสรคะ ( : ) ใช้แทนเสียงลมหายใจแรงท่ีพ่นออกมา มักจะเป็น ส่วนท้ายของคา เมื่อถอดเป็นอักษรไทยจะใช้วิสรรชนีย์ (ะ) ตัวอยา่ งเชน่ เทวนาครี โรมัน ไทย รามะ (ตามหลัง อะ) ram> rāmaḥ jna> janāḥ ชนาะ (ตามหลัง อา) AiGn> agniḥ อคฺนิะ (ตามหลัง อิ) 13

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 4) อวครหะ ( = ) หรือ อวเคราะห์ ใช้แทนสระ “อะ” ที่ถูกลบไปใน การสนธิ เม่ือถอดเป็นอกั ษรไทยจะเขียนเป็นสัญลักษณท์ ่ีมลี ักษณะ คล้ายเคร่ืองหมายอัญประกาศเดี่ยวที่เขียนสกัดข้างหลัง ( ’ ) เพ่อื ใหร้ ูว้ ่ามกี ารสนธิ ดงั ตวั อยา่ ง เทวนาครี โรมัน ไทย โก’ ปิ kae= ip ko’ pi พยญั ชนะสังยุกต์ เมื่อพยัญชนะ 2 ตัวชดิ กนั โดยไม่มีสระคน่ั กลางเรียกวา่ พยญั ชนะสังยุกต์ หรอื พยัญชนะซ้อน วิธีเขียนพยัญชนะสังยุกต์ทาได้ 2 แบบ คือเติมเคร่ืองหมาย วิราม ( ! ) ใต้พยัญชนะตัวหน้า เพ่ือให้รู้ว่าพยัญชนะน้ันไม่มีสระกากับ เช่น d!y (dya) ในคาวา่ ivdy! a (vidyā) เปน็ ต้น อกี วิธีหน่งึ คอื ลดรปู พยญั ชนะ ตัวหน้าโดยเขียนเป็นพยัญชนะครึ่งตัว เช่น Vy (vya) ในคาว่า kaVy (kāvya) เปน็ ตน้ การเขียนภาษาสันสกฤตด้วยอักษรเทวนาครี เมื่อคาศัพท์ประกอบด้วย พยัญชนะสังยุกต์ นิยมเขียนพยัญชนะสังยุกต์น้ันด้วยการเขียนพยัญชนะคร่งึ ตัวประกอบเข้ากับพยัญชนะเต็มตัว สาหรับเคร่ืองหมายวิรามจะใช้เขียน ด้านล่างของพยัญชนะที่อยู่ท้ายคาในกรณีที่พยัญชนะนั้นไม่มีสระประสมอยู่ เช่น balkan! (bālakān) เป็นต้น 14

สันสกฤตขั้นตน้ 1 อย่างไรก็ตาม พยัญชนะทุกตัวไม่สามารถเขียนแบบคร่ึงตัวได้ ดังน้ัน พยญั ชนะบางตวั ทไี่ ม่มรี ูปคร่ึงตัว ก็อาจมีการเขยี นเคร่ืองหมายวิรามกากับอยู่ เช่น พยัญชนะ q! (ṭ) Q! (ṭh) f! (ḍ) และ F! (ḍh) เป็นต้น เมื่อเขียนเป็น พยัญชนะสังยุกต์ อาจจะเขียนเป็น q!q (ṭṭa) หรือ ” (ṭṭa) ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ความนิยม พยัญชนะท่ีนิยมเขยี นครงึ่ ตัวมดี ังนี้ พยัญชนะครงึ่ ตัว พยญั ชนะ เตม็ ตัว ครงึ่ ตัว พยัญชนะ เตม็ ตัว ครงึ่ ตัว ก kK ป pP ข oO พ bB ค gG ภ -_ ฆ \"¸ ม mM จ cC ย yY ช jJ ล lL ญ |Á ว vV ณ [{ ศ zZ ต tT ศ èç ถ wW ษ ;: ธ xX ส sS น nN 15

สนั สกฤตข้ันต้น 1 พยัญชนะซ้อน พยัญชนะเม่ือประสมหรอื ซอ้ นกนั แลว้ จะมีการเปลีย่ นแปลงรปู พยญั ชนะบาง ตัวยังคงเค้าเดิมไว้บ้าง กล่าวคือ พยัญชนะตัวหน้าจะลดรูปเป็นพยัญชนะ ครึ่งตัว ส่วนตัวหลงั เขียนเต็มตัว พยัญชนะบางตวั เมอ่ื ประสมกันแลว้ ไมค่ งเค้า เดิมไว้เลยก็มี ลักษณะพิเศษเหล่านี้เป็นสิ่งท่ีผู้ศึกษาภาษาสันสกฤตต้องใส่ใจ เป็นพิเศษ ตัวอยา่ งตอ่ ไปนค้ี ือพยญั ชนะซอ้ นบางตัวที่พบบ่อยเทา่ น้นั พยัญชนะซ้อน พยญั ชนะ รปู สาเรจ็ พยญั ชนะ รูปสาเรจ็ กฺก k! + k ฆนฺ \"! + n กตฺ k! + t Š ¹ กนฺ k! + n ¸y กมฺ k! + m µ ฆยฺ \"! + y º กยฺ k! + y ¸v กฺร k! + r Kn ฆรฺ \"! + r » กลฺ k! + l ¼ กฺษ k! + ; Km ฆวฺ \"! + v Cc ขฺย o! + y CD คธฺ g! + x Ky งฺก '! + k Cm คฺน g! + n Cy ครฺ g! + r ³ งฺค '! + g Jj คฺล g! + l } คฺว g! + v ¬ จจฺ c! + c ¿ Â ] จฺฉ c! + D Oy จฺม c! + m Gx จฺย c! + y ¶ ชฺช j! + j ¢ ชญฺ j! + | Gl ชรฺ j! + r Gv ญจฺ |! + c 16

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 พยัญชนะซอ้ น (ต่อ) พยญั ชนะ รปู สาเรจ็ พยัญชนะ รปู สาเร็จ ญฺช |! + j ทวฺ d! + v ฏฺฏ q! + q Ã Ö ณณฺ [! + [ × ณมฺ [! + m ” ธนฺ x! + n Xm ตฺต t! + t Xy ตฺน t! + n {[ ธมฺ x! + m Ø ตปฺ t! + p Xv ตฺม t! + m {m ธยฺ x! + y Ú ตฺย t! + y Nm ตฺร t! + r Ä ธฺร x! + r Ny ตวฺ t! + v Ü ทฺค d! + g Æ ธวฺ x! + v Ý ททฺ d! + d ß ทธฺ d! + x Tp นนฺ n! + n Pm ทพฺ d! + b Py ทภฺ d! + - Tm นมฺ n! + m à ทมฺ d! + m Pl ทยฺ d! + y Ty นยฺ n! + y Ps ทฺร d! + r Bj Ç นรฺ n! + r Bd Tv ปตฺ p! + t Ì ปนฺ p! + n Î ปมฺ p! + m Ï ปยฺ p! + y Ó ปรฺ p! + r Ñ ปลฺ p! + l Ò ปสฺ p! + s * พฺช b! + j Ô พทฺ b! + d 17

สันสกฤตข้ันต้น 1 พยญั ชนะซ้อน (ตอ่ ) พยัญชนะ รูปสาเรจ็ พยัญชนะ รูปสาเร็จ พธฺ b! + x ศฺร z! + r พนฺ b! + n Bx ï พฺร b! + r ð ภนฺ -! + n ã ศลฺ z! + l ñ ภรฺ -! + r ò มฺน m! + n ä ศฺว z! + v ó มฺม m! + m :[ มรฺ m! + r å ษฺฏ ;! + q :p มฺล m! + l :m ยวฺ y! + v æ ษฺฐ ;! + Q õ ลปฺ l! + p Sm ลมฺ l! + m ç ษฺณ ;! + [ Sy ลยฺ l! + y ö ลลฺ l! + l Mm ษฺป ;! + p Ÿ วฺย v! + y û วฺร v! + r è ษฺม ;! + m ü ศจฺ z! + c ý ศนฺ z! + n Ml สฺน s! + t ÿ ศฺม z! + m ÷ Yv สฺม s! + m þ Lp สฺย s! + y Lm สรฺ s! + r Ly หณฺ h! + [ š หนฺ h! + n Vy หมฺ h! + m ì หฺย h! + y í หรฺ h! + r î หฺล h! + l Zm หวฺ h! + v 18

แบบฝึกหัดทา้ ยบท สันสกฤตขั้นตน้ 1 1. จงปรวิ รรตเป็นอกั ษรไทย AXyay ..................... Aih<sa An¼ AŠa Azake mharaja ..................... ..................... ..................... ..................... Aa}a Aix:Qan Anacar AÚit ..................... ..................... ..................... ..................... Anagar ..................... AiZvn! Anamy Avtar AaidTy ..................... ..................... ..................... ..................... Akal Anuvz< AwvRvde สรฺป ..................... ..................... ..................... ..................... Amt& ANxkal AxmR ..................... ..................... ..................... สโตษ 2. จงปริวรรตเป็นอกั ษรเทวนาครี ..................... สสาร สาหส เสวก สภุ าษติ ..................... ..................... ..................... ..................... สสกฺ ฤต สาริกา สหายก สุคนฺธ ..................... ..................... ..................... ..................... สโยค สามเวท ศกนุ ตฺ ลา หสตฺ นิ าปรุ ..................... ..................... ..................... ..................... สเกต สารขณฺฑ สฺกนฺธ ..................... ..................... ..................... สุหฤทย หายน สุวรณฺ ..................... ..................... ..................... 19

บทที่ 2 สนธิ วัตถุประสงค์ นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อา่ นภาษาสันสกฤต 2. ประกอบสนธิ เนอ้ื หาวิชา 1. ฝกึ อ่านอักษรเทวนาครี 2. การสนธิ 3. สระสนธิ ●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●● ฝกึ อ่านอกั ษรเทวนาครี หลังจากท่ีเรียนรู้เร่ืองอักษรเทวนาครีทั้งสระและพยัญชนะชนิดต่าง ๆ แล้ว ขอให้อ่านบทฝึกอ่านอักษรเทวนาครีนี้ให้คล่อง เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ โดยบทฝึกอ่านน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ทบทวนและจดจาอักษรเทวนาครีให้ แม่นยาข้ึน มีทั้งหมด 10 ชุด ในข้ันแรกให้ฝึกสะกดคาและอ่านโดยยังไม่ตอ้ ง ทราบความหมายของคา เมื่อจดจาอักษรไดแ้ ม่นยาแล้วจะทาใหก้ ารเรียนใน ลาดบั ต่อไปง่ายขึ้น ชดุ ท่ี 1 A_yNÇ Aihs< a An¼ AŠa AXyay A¢savk Aix:Qan Anacar AÚit Azaekmharaja A¢e AiZvn! Anamy Avtar Aa}a AÁjil Akal Anuv<z AwvvR de Aagar AiGn Am&t ANxkar AxR AaidTy 20

สนั สกฤตข้ันต้น 1 ชดุ ท่ี 2 Aakar AayR $ñr %padan %pvsw AakI[R AazIvaRd %vRzI AaOyan #iNÔy $zan %pask @kadzrw Aar{yk #NÔraj @kc]u Aavas #úvaku %dar %pay @rav[ %dyxanI %pe]a %madve I %pmey ชดุ ท่ี 3 Aae;x Ak< ru \\Gved kaeikl kakI AaE;ix Az< k[R kaeml karvek Aae<kar \\i; k{Q kaildas kayR AarE s \\iÏ k:« [a kairka kd< lI A<k \\tu kaé{y kaitkR ké[a ชุดท่ี 4 klE as kMpnad kr[Iy kmu uidnI ]Ir kye Ur kmR kr—ifka kzu lape ay ]ma kIitR kNya kbu er kv— l ³Ifa k<k[I kQ< kMu -Ir ]Çe o{f kLya[ kre[u kmU avR tar ]me g&hdevta 21

สนั สกฤตข้ันต้น 1 ชุดที่ 5 g[u akr ccaR ijþa jyvmRn! iÇrTn \"atkr cIvr jatk }an idvakr c³I cracr jIivt]y tara dve laek caiE rka Divv[R jlazy tkiR v*a dI\"R caer Dayaté jlcr itipqk d>u o ชุดท่ี 6 dju nR xmRzaSÇ inÔa p&iwvI pirìajk dznR Iy xnagar inzacr pai[in pitìta ÔVy indze np& it pÂmraja pÒpa[I x&traj indaRe; nÇe paQkwa prlaek xmR inimtR np<su k piÒnI przru am ชุดที่ 7 pšv pUjnIy à}a àkaz äaü[ pu:pa prU [ àak«t àma[ äülaek p{u y prU a[ àawnR a ip{f baeix puÇ pUvR àetlaek )ai[t baie xsTv pjU a pvRt àiqidn )la)l bhlu 22

สนั สกฤตข้ันต้น 1 ชุดท่ี 8 bhuvcn i-]acar mT& yru aj mÁjrI mn:u y bklu i-]u m{f[a mat¢& am miU tR ibNdu imÇ mas< meola y} æmr imWya maÇa mha-art yack -ayaR m&gdayvn magR mi[pur yjuvdeR ชดุ ที่ 9 yGu m êpavcr rajrw rivvar iv;y yzaexr êpk rajt&[my riZm iv}an éicr r- raJy llna iv³m éiKm[I r][ ramay[ ìIih ivcar éixr rajÖar reoa iv*a ivjy ivkal ivzal ชดุ ท่ี 10 v]& ivprIt ivz;e vat-y ivpul ivZvkmRn! vaca vair vayu ivvek v;aR vaidt vaKy vcIiv-ag ivvxnR v¿ vack var vkE Q<u vaé[I vas vai[Jy vasna 23

สันสกฤตข้ันตน้ 1 การสนธิ สนธิ คือการเชื่อมอักษร 2 ตัวท่ีอยู่ติดกัน ซ่ึงจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ด้านเสียงเพื่อให้เกิดความกลมกลืนกันของเสียง ทาให้คาสละสลวยและง่าย ตอ่ การออกเสยี ง ภาษาสนั สกฤตให้ความสาคัญกบั การสนธิมาก แทบจะกลา่ ว ได้ว่าจุดไหนสามารถทาสนธิได้ก็ต้องทา นอกจากการออกเสียงแล้วสนธิยัง เป็นส่วนสาคัญในการประกอบกริยาด้วย เพราะธาตุแต่ละหมวดจะมี หลักเกณฑ์ในการประกอบกริยาแตกต่างกัน เมื่อเราเข้าใจเรื่องการสนธิแล้ว จะทาให้เข้าใจการประกอบกริยาได้ดีย่ิงขึ้น สนธิที่ควรทราบเบื้องต้นคือสระ สนธิ พยญั ชนะสนธิ และ วสิ รคะสนธิ จะกลา่ วเฉพาะสระสนธกิ อ่ น สระสนธิ สระสนธิ คือการเช่ือมกนั ระหวา่ งสระกบั สระ เพ่ือใหค้ ากระชับและสละสลวย เมื่อเกิดสระสนธิข้ึน จะต้องคานงึ ถึง 3 เรื่องต่อไปนี้ • สระแท้ท่ีเกิดจากแหล่งเดียวกัน เมือ่ สระแท้พบกนั จะได้เสยี งยาว • คาหนา้ ลงท้ายด้วยสระ A, Aa (a, ā) • คาหน้าลงท้ายด้วยสระอ่ืน การสนธิโดยทั่วไปจะประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือสระหน้าและสระหลัง สระหน้า หมายถึงสระท่ีลงท้ายของคาหน้า ส่วนสระหลัง หมายถึงสระที่ ขึน้ ตน้ ของคาหลงั เช่น nr + #NÔ (nara + indra) สระหน้าคอื อะ (สระ ท่ีลงท้ายของคาว่า nara) สระหลังคือ อิ (สระที่ข้ึนต้นของคาว่า indra) เมือ่ รูจ้ กั สระหนา้ และสระหลังแล้ว จากน้นั ทาการสนธิตามข้ันตอนต่อไป 24

สันสกฤตข้ันตน้ 1 ตารางการเปล่ียนรปู ของสระ A Aa # $ % ^ \\ ขั้นธรรมดา a ā i ī u ū ṛ อ อา อิ อี อุ อู ฤ ข้นั คุณ A Aa @ Aae Ar! aā e o ar อ อา เอ โอ อรฺ ขั้นวฤทธิ Aa @e AaE Aar! ā ai au ār อา ไอ เอา อารฺ พยัญชนะก่งึ สระ ขั้นที่ 1 y! v! r! yvr ยฺ วฺ รฺ ขั้นท่ี 2 Ay! Av! ay av อยฺ อวฺ ขน้ั ที่ 3 Aay! Aav! āy āv อายฺ อาวฺ ข้อสังเกต: A (อ) เมื่อเปน็ ขน้ั คณุ ไมม่ กี ารเปลี่ยนรูป ส่วน Aa (อา) ไม่มกี าร เปลี่ยนรูปทั้งในข้ันคุณ และวฤทธิ 25

สันสกฤตขั้นตน้ 1 กฎการสนธิ 1) สระข้ันธรรมดา พบกนั ในคู่ของตวั เอง ไดส้ ระเสียงยาวหนงึ่ เสียง เช่น mala + AiSt = malaiSt mālā + asti = mālāsti xanI + #h = xanIh dhānī + iha = dhānīha dve e;u + %µm! = deve;µU m! deveṣu + uktam = deveṣūktam 2) คาหนา้ ลงทา้ ยด้วย A Aa คาหลังขน้ึ ตน้ ดว้ ยสระขน้ั ธรรมดาอ่นื ได้ สระข้นั คณุ (เปลย่ี นตามตัวหลงั ) เช่น dev + #it = dve eit deva + iti = deveti suone + #h = suoeneh sukhena + iha = sukheneha jlne + %dkm! = jlne aedkm! jalena + udakam = jalenodakam )lne + \\i;> = )leni;>R phalena + ṛṣiḥ = phalenarṣiḥ 26

สันสกฤตข้ันต้น 1 3) คาหน้าลงท้ายด้วย A Aa คาหลังขึ้นต้นด้วยสระข้ันคุณ หรือข้ัน วฤทธิ ไดส้ ระขน้ั วฤทธิ (เปลย่ี นตามตัวหลัง) เชน่ sda + @v = sdEv sadā + eva = sadaiva sa + Aade nm! = sadE nm! sā + odanam = saudanam mha + AajE > = mhajE > mahā + aujaḥ = mahaujaḥ 4) คาหนา้ ลงทา้ ยด้วยสระอ่ืน (ไม่ใช่ A Aa ) คาหลังขนึ้ ตน้ ด้วยสระจะได้ ข้ันพยัญชนะกึ่งสระ (เปลย่ี นเฉพาะสระหน้า) ตามขน้ั ตอนดังนี้ • สระหนา้ เป็นสระขัน้ ธรรมดา จะไดพ้ ยัญชนะกึง่ สระขัน้ ท่ี 1 เชน่ #it + Aw>R = #Tyw>R iti + arthaḥ = ityarthaḥ sTye;u + Aip = sTye:vip satyeṣu + api = satyeṣvapi • สระหน้าเปน็ สระข้นั คณุ จะไดพ้ ยญั ชนะกึง่ สระข้ันที่ 2 เชน่ ke + AaSte = kyaSte ke + āste = kayāste 27

สนั สกฤตข้ันต้น 1 • สระหนา้ เป็นสระขัน้ วฤทธิ จะได้พยัญชนะกึ่งสระข้นั ที่ 3 เช่น naE + Aa>e = nava>e nau + oḥ = nāvoḥ devaE + AagCDt> = devavagCDt> devau + āgacchataḥ = devāvāgacchataḥ ในกรณีที่มีการสนธิระหว่างคา หรือสนธิภายนอก เม่ือสระ @ (e) หรือ Aae (o) เป็นสระหนา้ ตามดว้ ยสระ A (a) สระหน้าจะไมเ่ ปลยี่ นและจะกลืน เสียง A (a) โดยจะทาเครื่องหมาย “อวครหะ” ไว้แทนเสียงที่ถูกลบไป เมอ่ื เขียนเป็นอกั ษรไทยจะใช้เคร่อื งหมาย ( ’ ) แทน เช่น sae + Aip = sae= ip โส + อปิ = โส’ ปิ te + Aip = te= ip เต + อปิ = เต’ ปิ การสนธิ ทาให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาที่สละสลวย มีคาให้เลือกใช้หลาย แบบและซ่อนความน่ามหัศจรรย์ไว้มากมาย การประกอบสระสนธิให้ยึด กฎเกณฑ์ท้ัง 4 ข้อนี้เป็นหลัก เมื่อเข้าใจเรื่องการประกอบสนธิแล้วจะทาให้ เข้าใจเรื่องอื่น ๆ ได้ง่ายข้ึน อย่างไรก็ตามสนธิอาจเปล่ียนแปลงได้หลาย ลักษณะ ตารางสาเร็จรูปต่อไปน้ีจะแสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงของสระ เมื่อมกี ารสนธิ และท่ีสาคญั คือชว่ ยใหก้ ารประกอบสนธไิ ด้รวดเร็วข้ึน 28

สันสกฤตขั้นตน้ 1 ตารางสาเรจ็ รูปสระสนธิ (เทวนาคร)ี 1 สระหนา้ สระหลงั A BCDE F GH A Aa # $ % ^ \\ @ @e Aae AaE Av Aav A 1 Aa y v r Ay Aay Ava Aava Aa 2 Aiv Aaiv # 3 Aa ya va ra Aya Aaya AvI AavI $ 4 Avu Aavu % 5 @ $ iv ir Aiy Aaiy AvU AavU ^ 6 Av& Aav& \\ 7 @ $ vI rI AyI AayI Ave Aave @ 8 AvE AavE @e 9 Aae yu ^ é Ayu Aayu Avae Aavae Aae 10 AvaE AavaE AaE 11 Aae yU ^ ê AyU AayU Ar! y& v& § Ay& Aay& @e ye ve re Aye Aaye @e yE vE rE AyE AayE AaE yae vae rae Ayae Aayae AaE yaE vaE raE AyaE AayaE หมายเหตุ : A-H คอื สระทา้ ยของคาหนา้ (สระหน้า) 1-11 คอื สระหน้าของคาหลัง (สระหลงั ) 1 ดัดแปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, 2006), หนา้ 75. 29

สนั สกฤตข้ันต้น 1 ตารางสาเร็จรปู สระสนธิ (โรมัน) 2 สระหน้า สระหลัง ABCDE FGH a ā i ī u ū ṛ e ai o au ā ya v ra aya āya ava āva a 1 2 ā yā vā rā ayā āyā avā āvā ā 3 4 e ī vi ri ayi āyi avi āvi i 5 6 e ī vī rī ayī āyī avī āvī ī 7 8 o yu ū ru ayu āyu avu āvu u 9 10 o yū ū rū ayū āyū avū āvū ū 11 ar yṛ vṛ ṝ ayṛ āyṛ avṛ āvṛ ṛ ai ye ve re aye āye ave āve e ai yai vai rai ayai āyai avai āvai ai au yo vo ro ayo āyo avo āvo o au yau vau rau ayau āyau avau āvau au หมายเหตุ : A-H คอื สระท้ายของคาหน้า (สระหน้า) 1-11 คอื สระหน้าของคาหลัง (สระหลงั ) 2 ดดั แปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, 2006), หน้า 75. 30

สันสกฤตข้ันตน้ 1 ตวั อย่างการใชต้ ารางสนธิ ตารางจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ สระหน้าและสระหลงั สระหน้าแทนดว้ ย อกั ษรภาษาอังกฤษในคอลมั น์ A-H สระหลงั แทนด้วยตัวเลขในแถวที่ 1-11 เมื่อต้องการทราบผลลัพธ์ของการสนธิ ให้ดูช่องสระหน้าก่อนว่าอยู่ใน คอลัมน์ไหน (A-H) จากน้ันมองหาสระหลังว่าอยู่แถวท่ีเท่าไหร่ (1-11) จุดท่ีตัดกันระหว่างสระหน้าและสระหลังคือ “ผลลัพธ์ของสนธิ” ตวั อย่างเชน่  เราอยากทราบว่าสระ A (a) สนธกิ บั AaE (au) จะเปน็ สระอะไร? เมื่อทาตามข้ันตอนจะพบว่า A (a) อยู่ในคอลัมน์ A และ AaE (au) อยู่ในแถวที่ 11 จุดท่ีตัดกันก็คือ AaE (au) ดังนั้น A + AaE = AaE (a + au = au) สระอนื่ ๆ พึงเปรยี บเทยี บกับตวั อยา่ งนี้ ข้อยกเวน้ สนธิ แม้ว่าภาษาสันสกฤตจะเน้นเร่ืองการสนธิเป็นอย่างมาก แต่ก็มีข้อยกเว้น สาหรับประโยค วลี หรือศัพท์ต่างๆ ท่ีผันแล้ว มีข้อยกเว้นไม่ต้องทาสนธิใน กรณีดงั ตอ่ ไปนี้  คาหน้าลงท้ายด้วยสระ คาหลังขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ไม่ต้องทาสนธิ เชน่ deve;u mn:u y> = deve;u mnu:y> deveṣu manuṣyaḥ = deveṣu manuṣyaḥ  สระ 3 ตัว คือ $, ^, @ (ī, ū, e) ท่ีอย่ทู ้ายคานามทผี่ นั แลว้ ในรปู ทวิวจนะ ไมต่ อ้ งทาสนธิ  ศพั ทท์ เ่ี ป็นคาอุทาน เช่น Ahae, he (aho, he) เปน็ ตน้ ไมต่ อ้ งทาสนธิ 31

สันสกฤตข้ันตน้ 1  คาทกั ทาย, ร้องเรยี ก, วภิ ักติท่ี 8 ไมต่ ้องทาสนธิ  ในกรณีท่ีการสนธิไม่อยู่ในคาเดียวกัน คาหน้าลงท้ายด้วยสระ ประสม เช่น @ @e Aae AaE ( e ai o au) และคาหลังขึ้นต้นด้วย สระ ให้เปล่ียนสระหน้าเป็น Ay! Aay! Av! Aav! ( ay āy av āv) ตามลาดับ ซึ่งการสนธิอาจนาไปประสมกับสระหลัง หรือไม่ นาไปประสมกับสระหลงั แต่ลบพยัญชนะ y! v! ( y v) ออกไปก็ได้ เช่น iv:[ae + #h = iv:[ivh หรอื iv:[ #h viṣṇo + iha = viṣṇaviha, หรือ viṣṇa iha ตัวอยา่ งการประกอบสนธิ iÇpur + Air> สาเรจ็ รปู เปน็ iÇpurair> ihm + Aaly สาเรจ็ รูปเป็น ihmaly riv + #NÔ สาเรจ็ รูปเปน็ rvINÔ guê + %pdze > สาเรจ็ รูปเปน็ guêpdze > nr + #NÔ สาเรจ็ รูปเป็น nreNÔ mha + @ñe yRm! สาเรจ็ รปู เป็น mhñE ymR ! jl + Aa\"e > สาเรจ็ รปู เป็น jlaE\"> dix + AÇ สาเรจ็ รปู เปน็ dXyÇ vStu + #dm! สาเรจ็ รูปเปน็ viSTvdm! suxI + ^ihtm! สาเรจ็ รูปเปน็ sXu yUihtm! mat& + AwmR ! สาเรจ็ รูปเป็น maÇwmR ! 32

สนั สกฤตข้ันต้น 1 แบบฝึกหดั ท้ายบท จงประกอบสนธิต่อไปน้ี mha + Akly> สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. dya + AanNd สาเรจ็ รูปเป็น ……………………………………. miu n + $z> สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. %-a + $z> สาเรจ็ รูปเป็น ……………………………………. jn + @kta สาเรจ็ รูปเปน็ ……………………………………. vxU + Aannm! สาเรจ็ รูปเป็น ……………………………………. àit + %pkar> สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. gaErI + @vm! สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. mat& + #CDa สาเรจ็ รูปเปน็ ……………………………………. ASmE + %Ïr สาเรจ็ รปู เป็น ……………………………………. iïyE + %*t> สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. ÖaE + AÇ สาเรจ็ รปู เปน็ ……………………………………. 33

บทที่ 3 วิภกั ติ lq! (laṭ) วัตถุประสงค์ นักศกึ ษาสามารถ 1. ประกอบกรยิ าอาขยาต 2. สร้างประโยคกรรตุวาจก เน้ือหาวิชา 1. องคป์ ระกอบของกรยิ าอาขยาต 2. การสรา้ งประโยคกรรตุวาจก 3. วิภักติ lq! (laṭ) ●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●● กริยาในภาษาสันสกฤตคือสิ่งที่บ่งบอกอาการ หรือการกระทาต่าง ๆ ของประธานในประโยค เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด เป็นต้น เบื้องต้นนี้จะกล่าวถึงภาพรวมของกริยา องค์ประกอบ การสร้างประโยค กรรตุวาจก (ประธานของประโยคเป็นผู้ทากริยา) ด้วยวิภักติต่าง ๆ โดยจะ กล่าวเฉพาะการสร้างกริยาในกลุ่มสารวธาตุกะ จากธาตุในหมวดที่ 1, 4 , 6 และ 10 เทา่ น้ัน และเนน้ กริยาที่ประกอบจากธาตุต่าง ๆ ตามปกติ สว่ นกรยิ า ทม่ี ีขอ้ ยกเวน้ ต่าง ๆ จะละไวก้ อ่ น ศัพทค์ วรรู้ ธาตุ หรือรากศัพท์ในตาราไวยากรณ์สันสกฤตมีทั้งสิ้นกว่า 2,000 ธาตุ ซึ่งจานวนธาตุน้ีแต่ละตาราก็กล่าวไว้ต่างกัน ในหนังสือ Dhāturūpa Mañjarī กล่าวว่ามี 2,200 ธาตุ ธาตุทั้งหมดแบ่งออกเป็น 10 หมวด 34

สันสกฤตขน้ั ตน้ 1 นอกจากนี้ธาตุแต่ละตัวยังมีคุณสมบัติแตกต่างกันด้วย ก่อนจะนาไปสู่การ ประกอบกรยิ าในภาษาสนั สกฤต ควรทาความเขา้ ใจคาศพั ท์เหล่านก้ี ่อน  สกรรมธาตุ คอื ธาตทุ ีต่ อ้ งมีกรรมมารองรบั จึงจะมีความหมายสมบรู ณ์  อกรรมธาตุ คือธาตุท่ีมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรม มารองรับ  ปรสั ไมปทธี าตุ คอื ธาตุท่ีประกอบวภิ กั ติเฉพาะปรสั ไมบทอยา่ งเดยี ว  อาตมเนปทีธาตุ คอื ธาตทุ ป่ี ระกอบวภิ ักติเฉพาะอาตมเนบทอย่างเดยี ว  อุภยปทีธาตุ คือธาตุท่ีประกอบวิภักติได้ท้ังฝ่ายปรัสไมบทและ อาตมเนบท  สารวธาตุกะ คือชื่อของการสร้างรูปกริยาในกลุ่มวิภักติท่ีกาหนดโดย กลุ่มธาตุท่ีประกอบเป็นกริยา มีองค์ประกอบ 3 ส่วนได้แก่ ธาตุ + ปัจจัยประจาหมวด + วภิ กั ติ (ตามทีก่ าหนด)  อารธธาตุกะ คือชื่อของการสร้างรูปกริยาในกลุ่มวิภักติท่ีกาหนดโดย กลุ่มธาตุที่ประกอบเป็นกริยา มีองค์ประกอบ 2 ส่วนได้แก่ ธาตุ + วิภักติ (ไมม่ ปี ัจจัยประจาหมวด)  ปัจจัยประจาหมวด หรือวิกรณ์ คือปัจจัยที่ใช้ประกอบกับธาตุหมวด น้ัน ๆ ธาตุทั้ง 10 หมวดมีปัจจยั ประจาหมวดของตนเอง (ยกเว้นหมวด ที่ไม่มีปัจจัย) นอกจากน้ีปัจจัยยังบ่งบอกวาจกของคากริยาได้ เช่น กรรตุวาจก (ประธานเป็นผู้ทากริยา) กรรมวาจก (ประธานเป็น ผู้ถูกกระทา) เป็นต้น  วภิ ักติกรยิ า หรือบรุ ุษปัจจยั (ปุรุษปฺรตฺยย) คือส่วนประกอบสุดท้ายใน การสร้างกริยา มีทั้งหมด 10 ชนิด วภิ ักติกริยาสามารถบอกได้ว่ากริยา นน้ั เป็น กาล บท วจนะ บรุ ษุ อะไร  กาล คือส่ิงท่ีบ่งบอกช่วงเวลาของการกระทา แบ่งกว้าง ๆ ออกเป็น 3 ชว่ งเวลาคอื ปจั จุบนั อดตี และอนาคต  บท วิภักติกริยาแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 2 บท คือปรัสไมบท และ อาตมเนบท 35

สนั สกฤตข้นั ตน้ 1  วจนะ วิภักติกริยาแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 3 วจนะ คือเอกวจนะ บ่งบอกจานวนเดียว หรือส่ิงเดียว ทวิวจนะ บ่งบอกจานวน 2 และ พหวุ จนะ บง่ บอกจานวนตง้ั แต่ 3 ขึน้ ไป  บุรุษ วิภักติกริยาแต่ละหมวดแบ่งออกเป็น 3 บุรุษ คือประถมบุรุษ บ่งบอกว่าเป็นกริยาของบรุ ุษที่ 3 ได้แก่ เขา มัธยมบรุ ุษ บ่งบอกว่าเป็น กริยาของบุรุษท่ี 2 ได้แก่ ท่าน อุตตมบุรุษ บ่งบอกว่าเป็นกริยาของ บรุ ษุ ที่ 1 ไดแ้ ก่ ขา้ พเจ้า เปน็ ตน้ องค์ประกอบของกริยาในกลมุ่ สารวธาตุกะ การประกอบกริยาในกลุ่มสารวธาตกุ ะมีองคป์ ระกอบท่ีสาคญั 3 สว่ นคือ ธาตุ ปจั จยั และวภิ ักติ 1) ธาตุ (Roots) คือรากศัพท์ท่ีมีความหมาย ต้องนาไปประกอบตามข้ันตอนเสียก่อนจึงจะ นาไปใช้ในประโยคได้ ตัวอย่างรากศัพท์ เช่น nm! (nam) แปลว่า ไหว้ เม่ือต้องการบอกว่า เขาไหว้ ไม่สามารถใช้ nm! (nam) ได้โดยตรง ต้อง นาไปประกอบกับปจั จัยประจาหมวดธาตแุ ละวภิ กั ติกรยิ าหรือบุรษุ ปจั จยั กอ่ น จะได้รูปกริยาอาขยาตคือ nmit (namati) แปลว่า เขาไหว้ อย่างน้ีเป็นต้น ธาตุในภาษาสันสกฤตมที ง้ั หมด 10 หมวด จัดออกเป็น 3 กลุ่ม มกี ารประกอบ วิภกั ตติ า่ งกนั คอื  ปรัสไมปที ประกอบวภิ กั ตเิ ฉพาะฝา่ ยปรัสไมบทอย่างเดยี ว  อาตมเนปที ประกอบวิภักติเฉพาะฝ่ายอาตมเนบทอย่างเดยี ว  อุภยปที ประกอบได้ทั้งฝ่ายปรัสไมบทและอาตมเนบท 36

สนั สกฤตขัน้ ต้น 1 ลการ (กาลและมาลา) ทใี่ ช้ธาตุทัง้ 10 หมวดในภาษาสนั สกฤตสรา้ งเปน็ กรยิ า แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ สารวธาตุกะลการ และ อารธธาตุกะลการ ซ่ึงทั้งสอง กลุ่มมวี ิภกั ตทิ ่นี ามาประกอบต่างกัน กลา่ วคือ  สารวธาตุกะลการ มีการสร้างกริยาด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ ธาตุ + ปัจจัยประจาหมวด + วิภักติ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มท่ี 1 ใช้ประกอบกับธาตุหมวดที่ 1, 6, 4, 10 กลุ่มท่ี 2 ใช้ประกอบกับธาตุ หมวด 2, 3, 5, 7, 8, 9  อารธธาตุกะลการ มีการสร้างกริยาด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ ธาตุ + วภิ กั ติ (ไมม่ ีปจั จัยประจาหมวด) 2) ปจั จัยประจาหมวด (Suffixes) คือส่วนท่ปี ระกอบหลงั ธาตุ ก่อนนาไปประกอบกับวิภักตกิ ริยาตอ่ ไป ปัจจยั จะ เป็นตัวบ่งบอกว่ากริยาศัพท์นั้นเป็นวาจก (Voice) อะไร เช่น ถ้าประธานใน ประโยคเป็นผู้กระทาเอง ประโยคน้ันก็เป็นกรรตุวาจก (Active Voice) เป็นตน้ ธาตแุ ตล่ ะหมวดจะมีปจั จยั ประจาหมวดของตนเอง ธาตุทั้ง 10 หมวด มีปัจจัยประจาหมวดของตนเอง ปัจจัยของธาตุกลุ่ม สารวธาตุกะลการ กลุ่มที่ 1 มีดังนี้ หมวด ชอ่ื หมวด ปจั จัยประจาหมวด 1 ภวาทิ A a 6 ตุทาทิ A a 4 ทิวาทิ y ya 10 จรุ าทิ Ay aya 37

สันสกฤตขน้ั ต้น 1 3) วภิ กั ตกิ รยิ า (Verbal Terminations) คอื คาที่นามาแจก หรือประกอบขา้ งหลังธาตแุ ละปัจจัยเพ่อื สรา้ งกริยาใหม้ ีรูป ทแ่ี ตกต่างกัน วภิ ักติกริยาจะเป็นตัวบง่ บอกว่ากริยาศัพท์นั้น ๆ เป็น กาล บท วจนะ บุรุษ อะไร วิภักติกริยากลุ่มสารวธาตุกะลการ กลุ่มที่ 1 มีทั้งหมด 4 หมวด ได้แก่ 1. วิภักติ lq! (laṭ) ปัจจุบันกาล แปลว่า...อยู่, ย่อม..., จะ... ใช้กับ เหตุการณ์ทเี่ กดิ ข้นึ ในปัจจุบนั 2. วภิ ักติ l'! (laṅ) อดีตกาล แปลวา่ ...แล้ว, ได.้ ..แล้ว ใช้กับเหตกุ ารณ์ ทีเ่ สร็จส้ินใหม่ ๆ 3. วภิ ักติ laeq! (loṭ) แปลว่า จง..., ขอจง... ใชก้ ับเหตุการณ์ท่เี ป็นคาสั่ง, ขอร้อง, อ้อนวอน 4. วิภักติ ivixil'! (vidhiliṅ) แปลว่า พึง..., ควร..., ขอให.้ .. ใชก้ ับเหตุการณ์ทีบ่ ่งความกาหนด, ราพงึ , แนะนา, ขอพร ทน่ี จี้ ะกล่าวเพยี ง 2 หมวดก่อนคือ lq! (laṭ) และ l'! (laṅ) มีรปู วภิ ักติดังนี้ 38

สันสกฤตข้นั ตน้ 1 lq! (laṭ) (Present Tense) แปลว่า ...อย่,ู ยอ่ ม..., จะ... บรุ ษุ ปรัสไมบท อาตมเนบท ประถม. มธั ยม. เอก. ทว.ิ พหุ. เอก. ทว.ิ พห.ุ อุตตม. it t> AiNt te #te ANte ti taḥ anti te ite ante is w> w se #we Xve si thaḥ tha se ithe dhve im mi v> m> # vhe mhe vahe mahe vaḥ maḥ i l'! (laṅ) (Imperfect Past Tense) แปลว่า .....แล้ว บุรษุ ปรสั ไมบท อาตมเนบท ประถม. เอก. ทว.ิ พห.ุ เอก. ทว.ิ พหุ. มธั ยม. t! tam! An! t #tam! ANt อตุ ตม. t tām an ta itām anta s! tm! t wa> #wam! Xvm! s tam ta thaḥ ithām dhvam Am! am vm # vih mih vahi mahi va ma i 39

สันสกฤตขนั้ ต้น 1 การสรา้ งประโยคกรรตวุ าจก (Active Voice) กรรตุวาจก ได้แก่ ประโยคที่ประธานในประโยคแสดงหรือกระทากริยาเอง เช่น ประโยค s> crit (saḥ carati) “เขา ย่อมเที่ยวไป” ประธานใน ประโยคคือ s> (saḥ) “เขา” กริยาคือ crit (carati) “ย่อมเท่ียวไป” ประโยคน้ีประธานแสดงกริยาเองคือเที่ยวไป เรียกประโยคลักษณะนี้ว่า “กรรตวุ าจก” การสร้างประโยคกรรตุวาจกนั้น ส่ิงท่ีจะต้องคานึงถึงลาดับแรกคือธาตุ ต้องแยกก่อนว่าเป็นธาตุหมวดไหน (หมวดท่ี 1-10) เป็นธาตุชนิดใด (ปรัสไมปที อาตมเนปที หรืออุภยปที) เพราะธาตุแต่ละหมวดมีวิธีการ ประกอบวิภักตทิ แี่ ตกต่างกนั การประกอบกริยาในกลุ่มสารวธาตุกะลการ กลุ่มท่ี 1 มีโครงสร้างการ ประกอบกรยิ ากรรตวุ าจกเหมือนกันทุกวภิ ักติ ดังน้ี ธาตุ + ปัจจัยประจาหมวด + วภิ ักติ = กรยิ ากรรตุวาจก 40

สนั สกฤตขนั้ ต้น 1 วภิ กั ติ lq! (laṭ) วิภักติหมวดน้ีจัดเป็นปัจจุบันกาล แปลว่า ...อยู่, ย่อม..., จะ... เมื่อประกอบ เป็นกริยาแล้วอาจจะมีคาแปลเหล่านี้ปรากฎอยู่ เช่น ย่อมไป ย่อมมา กินอยู่ นอนอยู่ เปน็ ตน้ หมวดธาตทุ ี่ใชป้ ระกอบกบั วิภักตนิ ีม้ ี 4 หมวดคอื ธาตุหมวดที่ 1, 6, 4 และ 10 lq! (lat) (Present Tense) แปลว่า ...อยู่, ย่อม..., จะ... บุรุษ ปรสั ไมบท อาตมเนบท เอก. ทว.ิ พห.ุ เอก. ทว.ิ พหุ. ประถม. it t> AiNt te #te ANte ti taḥ anti te ite ante มธั ยม. is w> w se #we Xve si thaḥ tha se ithe dhve อตุ ตม. im v> m> # vhe mhe vahe mahe mi vaḥ maḥ i หลกั เกณฑ์ทัว่ ไปในการประกอบกรยิ า การประกอบกริยาในกลุม่ สารวธาตกุ ะมีหลกั เกณฑท์ วั่ ไปดังน้ี - ก่อนเติมวิภักติท่ีข้ึนต้นด้วยสระ A (a) เช่น AiNt (anti) ANte (ante) เป็นตน้ ให้ลบสระ A (a) ที่อยู่ท้ายสดุ ของเค้ากริยาก่อนเติม วภิ ักตเิ สมอ (เคา้ กรยิ าคอื ธาตุและปจั จัยรวมกัน) 41

สนั สกฤตขั้นตน้ 1 - ก่อนเติมวิภักติท่ีข้ึนต้นด้วย v (va) m (ma) จะยืดเสียงสระ A (a) ที่อยู่ท้ายสดุ ของเคา้ กริยาให้เป็นเสยี งยาวคือ Aa (ā) ก่อนเติม วภิ กั ตเิ สมอ 1) กริยาธาตุหมวดท่ี 1 (ภวาทิ) ธาตุหมวดท่ี 1 มี A (a) เป็นปัจจัยประจาหมวด ก่อนจะประกอบกริยาต้อง ดูวา่ ธาตุนน้ั เป็นธาตุชนิดใด ถา้ เป็นปรสั ไมปที วภิ ักตทิ น่ี ามาประกอบต้องเป็น ฝ่ายปรัสไมบทเท่านั้น (ฝั่งซ้าย) ถ้าเป็นอาตมเนปที วิภักติที่นามาประกอบ ต้องเป็นฝ่ายอาตมเนบทเท่าน้ัน (ฝั่งขวา) ส่วนอุภยปที สามารถนาวภิ ักตทิ ั้ง 2 ฝ่ายมาประกอบได้ เมื่อประกอบกริยา ธาตุที่มีสระเสียงสั้นในตัวธาตุ ไม่มีพยัญชนะสังยุกต์ (พยัญชนะ 2 ตัวขึ้นไป) ตามหลัง หรือธาตุที่ลงท้ายด้วยสระ จะต้องเปล่ียน สระเปน็ ขั้นคุณกอ่ น (การเปลี่ยนแปลงสระดไู ด้จากเร่ืองสนธ)ิ จากน้นั ทาตาม โครงสร้างการประกอบกริยาขน้ั ตอนตอ่ ไป การสรา้ งกรยิ ากรรตวุ าจกด้วยธาตุ หมวดที่ 1 มีโครงสรา้ งดังนี้ ธาตุ (1) + A + วิภกั ติ lq! = กรยิ ากรรตวุ าจก ตัวอย่างการประกอบกรยิ า (เขา) ยอ่ มกิน oad! + A + it = oadit khād + a + ti = khādati 42

nm! + A + it = nmit สันสกฤตข้นั ตน้ 1 nam + a + ti = namati (เขา) ย่อมไหว้ (เขา) ยอ่ มเป็น, ยอ่ มมี -U → -ae + A + it = -vit (เขา) ย่อมชนะ (เขา) ยอ่ มนาไป bhū → bho + a + ti = bhavati ij → je + A + it = jyit ji → je + a + ti = jayati nI → ne + A + it = nyit nī → ne + a + ti = nayati ตัวอย่างการประกอบธาตุหมวดท่ี 1 cr! 1 (ป.) (เทีย่ วไป) บรุ ุษ เอก. ปรสั ไมบท ทวิ. พหุ. ประถม. crit crt> criNt carataḥ caranti carati crw crw> caratha มัธยม. cris carathaḥ cram> carāmaḥ carasi crav> carāvaḥ อุตตม. craim carāmi 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook