Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.โท-พุทธประวัติ

แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.โท-พุทธประวัติ

Published by suttasilo, 2021-06-27 09:17:41

Description: แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.โทวิชาพุทธประวัติ

Keywords: แนวทางจัดการเรียนรู้,พุทธประวัติ,ธรรมศึกษาโท

Search

Read the Text Version

แนวทางการจัดการเรียนรู ธรรมศกึ ษา ชั้นโท วิชาอนุพุทธประวตั ิ สํานักสงเสรมิ กจิ การการศึกษา สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ธรรมศกึ ษา ชั้นโท วชิ าอนุพทุ ธประวัติ สำ�นกั ส่งเสรมิ กิจการการศึกษา สำ�นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั โท วิชาอนพุ ทุ ธประวตั ิ ปที ี่พมิ พ ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ จ�ำ นวนพิมพ์ ๑๐๐ เลม่ ลิขสทิ ธ ิ์ ส�ำ นักส่งเสรมิ กจิ การการศกึ ษา ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร พมิ พ์ที ่ โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กดั ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผ้พู มิ พ์ผู้โฆษณา

ค�ำ นำ� ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษาระหว่าง สำ�นักงานแม่กองธรรมสนามหลวง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวัฒนธรรม สำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจหลักพุทธธรรมท่ีถูกต้อง มีความรู้ คคู่ ุณธรรม เสริมสร้างศลี ธรรม เปน็ พลเมืองดีมีคุณภาพ สรา้ งภมู ิคุ้มกนั ใหผ้ ูเ้ รียนหา่ งไกลอบายมขุ ส่งิ เสพตดิ สงิ่ ผดิ กฎหมาย และนำ�ไปสู่ความสงบเรียบร้อยของสังคม เพอื่ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ งานตามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ในการจดั การเรยี นการสอน ธรรมศึกษาในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและบังเกิดเป็นรูปธรรม อันจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันและ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของนักเรยี น นิสิต นกั ศกึ ษา ในสถานศึกษาอย่างยง่ั ยืน กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงไดจ้ ัดท�ำ แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก เพ่ือให้นักเรียน นิสิต นักศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกบั วชิ าธรรม วชิ าพทุ ธและวชิ าวนิ ัย กระทรวงศึกษาธิการหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษาช้ันตรี โท เอก จะเป็นแนวทางการเรียนการสอนให้กับคณะครู อาจารย์นำ�ไปสอนได้ตามหลักสูตร เพื่อให้นักเรียนนิสิต นกั ศกึ ษา สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจำ�วนั และขอขอบคุณคณะผจู้ ดั ซึง่ ประกอบดว้ ย ส�ำ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐมเขต ๒ สำ�นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษานครราชสมี า เขต ๓ และโรงเรยี นวดั ราชบพติ ร ทม่ี คี วามมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจพฒั นาเอกสารชดุ นอ้ี ยา่ งเตม็ ความสามารถจนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ (รองศาสตราจารย์กำ�จร ตตยิ กว)ี ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั หนา้ เรอ่ื ง ๑ ๓ คำ�นำ� ๑๑ บทที่ ๑ ประวัตนิ กั ธรรม ธรรมศกึ ษา ๑๖ บทที่ ๒ เทคนคิ วิธีสอนของพระพทุ ธเจ้า ๑๗ บทที่ ๓ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และสาระการเรยี นรู้ ๕๔ บทที่ ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ ๗๙ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ ๑๐๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ ๑๓๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ๑๕๕ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ ๑๗๔ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๕ ๑๙๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๖ ๒๑๒ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๗ ๒๓๐ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๘ ๒๓๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๙ ๒๓๗ บทที่ ๕ แบบทดสอบ ๒๓๘ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒๔๔ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ๒๔๕ แบบทดสอบหลังเรยี น ๒๔๗ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๒๔๘ ภาคผนวก บรรณานุกรม คณะผจู้ ดั ทำ�



1 บทท่ี ๑ ประวัตินกั ธรรม ธรรมศกึ ษา การศึกษาพระปริยัติธรรมแผกธรรม หรือที่เรียกกันว่า นักธรรม เกิดขึ้นตามพระดำ�ริของสมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เปน็ การศกึ ษาพระธรรมวินยั ในภาษาไทย เพ่ือใหภ้ ิกษสุ ามเณร ผู้เป็นกำ�ลังสำ�คัญของพระพุทธศาสนา สามารถศึกษาพระธรรมวินัยได้สะดวกและท่ัวถึง อันจะเป็นพื้นฐาน น�ำ ไปส่สู ัมมาปฏิบัติ ตลอดจนเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาให้กวา้ งไกลออกไป การศึกษาพระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยแต่โบราณมา นิยมศึกษาเป็นภาษาบาลีท่ีเรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม ซ่ึงเป็นส่ิงที่เรียนรู้ได้ยากสำ�หรับภิกษุสามเณรท่ัวไป จึงปรากฏว่าภิกษุสามเณร ที่มีความรู้ในพระธรรมวินัยอย่างทั่วถึงมีจำ�นวนน้อย เป็นเหตุให้สังฆมณฑลขาดแคลนพระภิกษุผู้มีความรู้ ความสามารถ ทจี่ ะชว่ ยกจิ การพระศาสนาทง้ั ในดา้ นการศกึ ษา การปกครอง และการแนะน�ำ สง่ั สอนประชาชน ดงั น้นั สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จงึ ได้ทรงพระดำ�รวิ ธิ กี ารเลา่ เรียนพระธรรมวินัย ในภาษาไทยข้ึน สำ�หรับสอนภิกษุสามเณรวัดบวรนิเวศวิหารเป็นครั้งแรก นับแต่ทรงรับหน้าท่ีปกครอง วัดบวรนเิ วศวหิ าร เมอื่ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นตน้ มา โดยทรงก�ำ หนดหลกั สตู รการสอนให้ภิกษสุ ามเณรได้เรียนรู้ พระพุทธศาสนา ทง้ั ดา้ นหลักธรรม พทุ ธประวตั ิ และพระวนิ ยั ตลอดถึงหัดแตง่ แกก้ ระทูธ้ รรม เม่ือทรงเห็นว่า การเรียนการสอนพระธรรมวินัยเป็นภาษาไทยดังน้ีได้ผล ทำ�ให้ภิกษุสามเณร มีความรู้กว้างขวางข้ึน เพราะเรียนรู้ได้ไม่ยาก จึงทรงดำ�ริท่ีจะขยายแนวทางนี้ไปยังภิกษุสามเณรท่ัวไปด้วย ประกอบกบั ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ประเทศไทยเรมิ่ มพี ระราชบญั ญตั เิ กณฑท์ หาร ซงึ่ ภกิ ษทุ ง้ั หมดจะไดร้ บั การยกเวน้ สว่ นสามเณร จะยกเวน้ ใหเ้ ฉพาะสามเณรผรู้ ธู้ รรมทางราชการไดข้ อใหค้ ณะสงฆช์ ว่ ยก�ำ หนดเกณฑข์ องสามเณร ผู้รู้ธรรมสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส จึงทรงกำ�หนดหลักสูตรองค์ สามเณรรู้ธรรมข้ึน ต่อมาไดท้ รงปรบั ปรุงหลักสตู รองคส์ ามเณรรธู้ รรมน้นั เปน็ “องคน์ กั ธรรม” ส�ำ หรบั ภิกษุ สามเณรช้ันนวกะ (คอื ผบู้ วชใหม)่ ทวั่ ไป ไดร้ ับพระบรมราชานุมัติ เม่อื วนั ท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ และ โปรดใหจ้ ดั การสอบในสว่ นกลางขน้ึ เปน็ ครง้ั แรกในเดอื นตลุ าคมปเี ดยี วกนั โดยใชว้ ดั บวรนเิ วศวหิ าร วดั มหาธาตุ และวดั เบญจมบพติ ร เปน็ สถานท่ีสอบ การสอบคร้ังแรกนี้ ๓ วิชา คือ ธรรมวิภาคในนวโกวาท แตง่ ความแก้ กระทู้ธรรม และแปลภาษามคธเฉพาะทอ้ งนทิ านในอรรถกถาธรรมบท พ.ศ. ๒๔๕๕ทรงปรับปรุงหลกั สตู รองค์นักธรรมใหเ้ หมาะสมสำ�หรบั ภิกษุสามเณร ท่วั ไปจะเรยี นรู้ ไดก้ วา้ งขวางยิง่ ขึน้ โดยแบ่งหลักสตู รเป็น ๒ อย่างคือ อยา่ งสามัญ เรยี นวชิ าธรรมวภิ าค พทุ ธประวัติ และ เรยี งความแกก้ ระทธู้ รรม และอยา่ งวสิ ามญั เพม่ิ แปลอรรถกถา ธรรมบทมแี กอ้ รรถบาลไี วยากรณแ์ ละสมั พนั ธ์ และวินัยบัญญตั ทิ ี่ตอ้ งสอบทง้ั ผทู้ เี่ รยี นอยา่ งสามัญและวสิ ามญั แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศึกษา ช้นั โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

2 พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงปรับปรุงหลักสูตรองค์นักธรรมอีกครั้งหนึ่ง โดยเพ่ิมหลักธรรมหมวดคิหิปฏิบัติ เข้าในส่วนของธรรมวิภาคด้วย เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการครองชีวิตฆราวาส หากภิกษุสามเณรรูปน้ันๆ มีความจำ�เป็นต้องลาสิกขาออกไปด้วยเหตุใดเหตุหน่ึง เรียกว่า นักธรรมช้ันตรี การศึกษาพระธรรมวินัย แบบใหม่นี้ ได้รับความนิยมจากหมู่ภิกษุสามเณรอย่างกว้างขวาง และแพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว เพียง ๒ ปีแรกก็มีภิกษุสามเณรสมัครเข้าสอบสนามหลวงเกือบพันรูป เมื่อทรงเห็นว่าการศึกษานักธรรมอำ�นวย คุณประโยชน์แก่พระศาสนาและภิกษุสามเณรทั่วไป ในเวลาต่อมาจึงทรงพระดำ�ริขยายการศึกษา นักธรรม ให้ท่ัวถึงแก่ภิกษุทุกระดับ คือ ทรงต้ังหลักสูตรนักธรรมชั้นโท สำ�หรับภิกษุช้ันมัชฌิมะ คือ มีพรรษาเกิน ๕ แตไ่ มถ่ งึ ๑๐ และนกั ธรรมชน้ั เอก ส�ำ หรบั ภกิ ษชุ นั้ เถระ คอื มพี รรษา ๑๐ ขึ้นไป ดังทเ่ี ป็นหลกั สตู รการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐานของคณะสงฆ์สืบมาตราบถงึ ทุกวนั นี้ ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธ- สถิตมหาสีมาราม ทรงพิจารณาเห็นว่า การศึกษานักธรรมมิได้เป็นประโยชน์ต่อภิกษุสามเณรเท่าน้ัน แม้ ผทู้ ย่ี งั ครองฆราวาสวสิ ยั กจ็ ะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการศกึ ษานกั ธรรมดว้ ย โดยเฉพาะส�ำ หรบั เหลา่ ขา้ ราชการครู จงึ ทรงตง้ั หลกั สตู รนกั ธรรมส�ำ หรบั ฆราวาสขนึ้ เรยี กวา่ “ธรรมศกึ ษา” มคี รบทงั้ ๓ ชน้ั คอื ชน้ั ตรี ชนั้ โท ชน้ั เอก ซึ่งมีเนื้อหาเช่นเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร เว้นแต่วินัยบัญญัติท่ีทรงกำ�หนดใช้เบญจศีล เบญจธรรมและอโุ บสถศลี แทน ไดเ้ ปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เม่อื พ.ศ. ๒๔๗๒ และเปดิ สอบครบทกุ ช้นั ในเวลาตอ่ มา มฆี ราวาสทงั้ หญงิ และชายเขา้ สอบเปน็ จ�ำ นวนมาก นบั เปน็ การสง่ เสรมิ การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา ให้กวา้ งขวางยง่ิ ข้นึ ปัจจุบันการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรมน้ี มี สมเด็จพระวันรัต (พฺรหฺมคุตฺตเถร) วัดบวร นเิ วศวหิ าร เปน็ แมก่ องธรรมสนามหลวง เนน้ การพฒั นาศาสนทายาทใหม้ คี ณุ ภาพสามารถด�ำ รงพระศาสนา ไวไ้ ดด้ ว้ ยดี ทง้ั ถอื วา่ เปน็ กจิ การของคณะสงฆส์ ว่ นหนง่ึ ทสี่ �ำ คญั ยงิ่ ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย มาตั้งแต่ครงั้ อดตี ถงึ ปจั จุบนั แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ โท วิชาอนุพทุ ธประวัติ

3 บทท่ี ๒ เทคนิควธิ ีสอนของพระพุทธเจ้า ๑. การท�ำ นามธรรมให้เป็นรูปธรรม ท�ำ ของยากให้งา่ ย ธรรมะเป็นเร่อื งนามธรรมทมี่ เี น้ือหาลกึ ซ้ึง ยากทจ่ี ะเข้าใจ ยิง่ เป็นธรรมะระดบั สูงสุดก็ย่ิงลึกลำ้�คัมภีรภาพย่ิงข้ึน.......ความสำ�เร็จแห่งภารกิจการส่ังสอนประชาชนส่วนหนึ่ง เพราะพระองค์ ทรงใช้เทคนิควิธีการท�ำ ของยากให้งา่ ย เช่น ๑.๑ การใช้อุปมาอุปไมย วิธีนี้เป็นวิธีทรงใช้บ่อยท่ีสุดวิธีหน่ึง เพราะทำ�ให้ผู้ฟังมองเห็นภาพ และเขา้ ใจง่ายโดยไมต่ ้องเสียเวลาอธบิ ายความให้ยืดยาว ๑.๒ ยกนิทานประกอบ เป็นเทคนิคหรอื กลวิธีหนง่ึ ที่พระพุทธองค์ทรงใช้บอ่ ย ๑.๓ ใช้อุปกรณห์ รอื สื่อการสอน เทคนคิ วธิ ีสอนดว้ ยการกระทำ�ของยากใหง้ ่าย หรอื ท�ำ นามธรรม ให้เปน็ รูปธรรมนอกจากใช้อปุ มาอปุ ไมยและเล่านิทานประกอบแล้ว ยงั มอี ีกวิธหี น่ึงอันเป็นวิธีที่พระพทุ ธองค์ ทรงใช้มากพอๆกบั สองวธิ ขี ้างตน้ คอื การใช้ส่ืออปุ กรณห์ รอื ใช้ส่อื การสอน ๒. ท�ำ ตนเปน็ ตัวอย่าง ในแง่ของการสอนอาจแบง่ ออกเปน็ ๒ อย่าง คือ ๒.๑ ท�ำ ใหด้ ู หรือสาธติ ใหด้ ู ๒.๒ ปฏิบัติให้ดูเปน็ ตัวอย่าง ๓. ใช้ถอ้ ยค�ำ เหมาะสม การสอนที่จะประสบผลสำ�เร็จ ผู้สอนจะต้องรู้จักใช้คำ� ต้องให้ผู้ฟังรู้สึกว่าผู้พูดพูดด้วยเมตตาจิต มิใชพ่ ดู ดว้ ยความมุง่ รา้ ย ๔. เลอื กสอนเป็นรายบุคคล ผู้สอนต้องรู้ว่าคนฟังน้ันต่างภูมิหลังต่างความสนใจ ต่างระดับสติปัญญาการเรียนรู้ เพราะฉะน้ัน การเลือกสอนเป็นรายบุคคลจะช่วยให้การสอนประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ถ้าทำ�ได้ก็ควรใช้วิธีน้ี แม้จะสอนเป็นกลมุ่ กต็ อ้ งเอาใจใสน่ กั เรียนทีม่ ปี ัญหาเป็นรายบุคคลให้ได้ ๕. รู้จกั จังหวะและโอกาส ดคู วามพรอ้ มของผ้เู รียน รู้จักคอยจังหวะอันเหมาะสม ถา้ ผเู้ รียนไมพ่ ร้อมก็เหนื่อยเปลา่ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชัน้ โท วชิ าอนุพุทธประวตั ิ

4 ๖. ยดื หยุน่ ในการใช้เทคนิควธิ ี เทคนิควธิ ีบางอย่างใช้ได้ผลในวนั นี้ ตอ่ ไปวนั ข้างหน้าอาจใช้ไมไ่ ดก้ ็ได้ จงึ ควรยดื หย่นุ วิธกี าร ๗. การเสรมิ แรง มีคำ�พูดสรรเสริญพระพุทธเจ้าว่า “ทรงชมคนท่ีควรชม ตำ�หนิคนที่ควรตำ�หนิ” การชมเป็น การยอมรับความสามารถหรือให้กำ�ลังใจให้ทำ�อย่างน้ันย่ิงๆขึ้นไป การตำ�หนิเป็นการตักเตือนมิให้ประพฤติ เช่นนนั้ อีกต่อไป หลกั ส�ำ คัญที่ครผู สู้ อนควรทราบ หลกั สำ�คัญคือหลกั การใหญ่ๆของการสอนไมว่ า่ จะสอนเร่ืองอะไรก็มอี ยู่ ๓ หลกั คอื ๑. หลกั เก่ยี วกบั เนื้อหาทส่ี อน ๒. หลักเกี่ยวกบั ตัวผูเ้ รียน ๓. หลักเกี่ยวกับตวั การสอน ก. เกี่ยวกับเน้อื หา คนจะสอนคนอ่ืนต้องรู้ว่าจะเอาเร่ืองอะไรมาสอนเขาเสียก่อน ไม่ใช่คิดแต่วิธีการสอนว่าจะสอน อย่างไร ตอ้ งคิดก่อนว่าจะเอาอะไรไปสอนเขา พระพทุ ธเจา้ แนะนำ�วา่ ผู้สอนตอ้ งคำ�นงึ เสมอว่า ตอ้ งสอนสิง่ ท่ี ร้เู หน็ หรือเข้าใจงา่ ยไปหาสง่ิ ทีเ่ ขา้ ใจยาก ๑. สอนเน้ือหาที่ลุ่มลกึ ลงไปตามล�ำ ดบั ๒. สอนดว้ ยของจริง ๓. สอนตรงตามเนอื้ หา ๔. สอนมีเหตุผล ๕. สอนเทา่ ทีจ่ ำ�เป็นต้องรู้ ๖. สอนสง่ิ ทมี่ ีความหมายและเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้เรียน ข. เกีย่ วกบั ตัวผู้เรยี น ๑. พุทธองค์จะทรงสอนใคร ทรงดูบุคคลผู้รับการสอนหรือผู้เรียนก่อนว่าบุคคลนั้นๆ เป็นคน ประเภทใดมพี ้ืนความรู้ ความเข้าใจหรือความพร้อมแค่ไหนและควรจะสอนอะไร แค่ไหน ๒. นอกจากดคู วามแตกต่างของผู้เรยี นแลว้ ยังตอ้ งดคู วามพร้อมของผูเ้ รยี นดว้ ย ๓. สอนใหผ้ เู้ รยี นทำ�ดว้ ยตนเอง ๔. ผเู้ รยี นจะต้องมีบทบาทรว่ มดว้ ย ๕. ครูตอ้ งเอาใจใสผ่ ู้เรียนท่ีมีปญั หาเป็นพิเศษ แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

5 ค. เกย่ี วกบั ตัวการสอน ๑. สรา้ งความสนใจในการสอนคนนั้น(การนำ�เข้าสบู่ ทเรียน) ๒. สรา้ งบรรยากาศในการเรยี นการสอนให้ปลอดโปรง่ ๓. มุ่งสอนเนื้อหา มุ่งใหผ้ ้ฟู ังเกิดความรู้ความเข้าใจและเปล่ยี นพฤติกรรมในทางทดี่ ี ๔. ต้ังใจสอน สอนโดยเคารพ ถือวา่ งานสอนเป็นงานส�ำ คัญ ๕. ใช้ภาษาเหมาะสม ผู้สอนคนอ่ืนควรมีความสามารถในการสื่อสาร ใช้คำ�พูดที่ถูกต้องและ เหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ หลกั การสอนแนวพทุ ธวธิ ี พระพทุ ธเจา้ นนั้ ทรงเปน็ พระบรมครู ยอดครขู องผสู้ อน พระองคท์ รงมหี ลกั การในการสอนมากมาย หลายหลักการ เรียกว่า “หลัก ๔ ส” คือ ๑. สนั ทสั สนา อธบิ ายในเหน็ ชดั แจง้ เหมอื นจูงมือใหม้ าดูด้วยตา ๒. สมาทปนา ชักจูงใหเ้ หน็ จริงเห็นจังตาม ชวนให้คลอ้ ยตาม จนยอมรบั เอาไปปฏิบตั ิ ๓. สมตุ เตชนา เร้าใจเกดิ ความกล้าหาญ มีก�ำ ลงั ใจ มน่ั ใจว่าท�ำ ได้ไม่หว่นั ไหวต่ออุปสรรคท่มี มี า ๔. สัมปหงั สนา มวี ิธีสอนที่ช่วยให้ผูฟ้ งั ร่าเริง เบกิ บาน ฟงั ไม่เบื่อ เปย่ี มลน้ ไปด้วยความหวัง สรุปหลกั การทั่วไปของการสอน คือ แจม่ แจง้ -จูงใจ-หาญกลา้ -รา่ เริง หลกั การสอนพุทธวิธีแบบสนทนา (สากจั ฉา หรือธรรมสากัจฉา) เป็นวิธีท่ีทรงใช้บ่อยท่ีสุด พระองค์ชอบใช้วิธีนี้อาจเป็นด้วยว่าผู้ฟังได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ทำ�ให้การเรยี นการสอนสนกุ ไม่รู้สกึ วา่ ตนกำ�ลัง “เรียน” หรือก�ำ ลงั “ถูกสอน” แต่จะรู้สึกว่าตนก�ำ ลงั สนทนา ปราศรัยกบั พระพุทธองคอ์ ย่างสนกุ สนาน หลกั การสอนพทุ ธวิธีแบบตอบปญั หา (ปจุ ฉา-วสิ ชั ชนา) ผถู้ ามปัญหาอาจถามดว้ ยจดุ ประสงคห์ ลายอย่าง เชน่ ๑. บางคนถามเพ่อื ต้องการค�ำ ตอบในเร่อื งทสี่ งสยั มานาน ๒. บางคนถามเพอื่ ลองภูมิวา่ คนตอบรหู้ รอื ไม่ ๓. บางคนถามเพือ่ ขม่ หรือปราบให้ผตู้ อบอบั อาย ๔. บางคนถามเพอื่ เทยี บเคียงกบั ความเช่ือหรือคำ�สอนในลทั ธิศาสนาของตน พระพุทธองค์ตรัสรู้ว่าการตอบปัญหาใดๆ ต้องดูลักษณะของปัญหาและเลือกวิธีตอบให้ถูกต้อง เหมาะสมพระองค์จ�ำ แนกประเภทของปญั หาไว้ ๔ ประการ คือ ๑. ปัญหาบางอย่างต้องตอบตรงไปตรงมา ๒. ปญั หาบางอย่างต้องยอ้ นถามก่อนจึงตอบ ๓. ปัญหาบางอย่างต้องแยกความตอบ ๔. ปัญหาบางอยา่ งต้องตดั บทไปเลยไมต่ อบ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ โท วิชาอนพุ ทุ ธประวัติ

6 วธิ ีคดิ แบบอริยสจั จ์/คดิ แบบแกป้ ัญหา เป็นการคิดแบบแก้ปัญหาเรียกว่า “วิธีแห่งความดับทุกข์” จัดเป็นวิธีคิดแบบหลักอย่างหนึ่ง เปน็ วธิ คี ิดตามเหตแุ ละผลหรือเป็นไปตามเหตุและผล สืบสาวจากผลไปหาเหตุแล้วแกไ้ ขและท�ำ การที่ตน้ เหตุ จัดเปน็ ๒ คู่ คือ ค่ทู ี่ ๑ ทุกข์เปน็ ผล เป็นตัวปญั หาเปน็ สถานการณท์ ่ีประสบซง่ึ ไม่ต้องการ สมทุ ยั เปน็ เหตุ เปน็ ทมี่ าของปญั หา เปน็ จดุ ทจี่ ะตอ้ งก�ำ จดั หรอื แกไ้ ขจงึ จะพน้ จากปญั หาได้ ค่ทู ่ี ๒ นิโรธเป็นผล เปน็ ภาวะส้ินปญั หา เป็นจดุ หมายซึง่ ตอ้ งการจะเขา้ ถงึ มรรคเปน็ เหต ุ เป็นวิธีการ เป็นข้อปฏิบัติท่ีต้องกระทำ�ในการแก้ไขสาเหตุ เพ่ือบรรลุ จุดหมายคือ ภาวะส้ินปญั หาอันไดแ้ กค่ วามดับทุกข์ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ แบบพุทธวิธี ๙ อยา่ ง ๑. การจัดกิจกรรมการเรยี นรพู้ ทุ ธวธิ ีแบบอปุ มา – อุปไมย (การเปรียบเทยี บ) ขน้ั สบื ค้น - ข้นั เช่อื มโยง - เปรียบเทียบนามธรรมกบั รปู ธรรมใหผ้ เู้ รยี นเห็นชัดเจน ครูผ้สู อนและผเู้ รียนมีสว่ นร่วม - ความแตกต่างระหว่างส่งิ ทีเ่ ป็นนามธรรมกับรปู ธรรม ขั้นฝึก - ยกตวั อยา่ งส่ิงที่เป็นนามธรรมกับรูปธรรม - ผู้เรยี นแต่ละรูปหรือแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายหรอื น�ำ เสนอสง่ิ ที่เป็นนามธรรมกบั รปู ธรรม - หาขอ้ สรุปเกยี่ วกับเนอื้ หาทเ่ี ปน็ นามธรรม - รูปธรรม ขั้นประยกุ ต์ - คน้ คว้าสงิ่ ทเ่ี ปน็ นามธรรมกับรูปธรรมในเนื้อหาอื่นๆ นอกเหนอื จากเน้อื หาที่ก�ำ หนดให้ ๒. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรพู้ ทุ ธวธิ ีแบบปจุ ฉา - วสิ ัชนา (การถาม - ตอบ) ข้ันสืบค้น - ข้ันเช่อื มโยง - การท�ำ หนา้ ทเ่ี ป็นผ้ถู าม - ตอบที่ถกู ต้องเหมาะสมแกก่ าลเทศะ - วิธีถาม - ตอบ (ตอบทันทีเม่ือมีผู้ถาม, ตอบแบบมีเง่ือนไข, ย้อนถามผู้ถามก่อนแล้วจึงตอบ <น่ิงเสียไมต่ อบ เปน็ ตน้ ) แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชั้นโท วชิ าอนพุ ุทธประวัติ

7 ขนั้ ฝึก - ตัวอยา่ งการถาม - ตอบ - ถาม - ตอบแบบคนต่อคน, ถาม - ตอบแบบกลุ่มตอ่ กลุม่ , ถาม - ตอบแบบกลุ่มต่อคน เปน็ ตน้ - หาขอ้ สรปุ เนอื้ หาทเี่ กย่ี วกบั การถาม - ตอบ ขน้ั ประยกุ ต์ - คน้ คว้าเพิ่มเติมนอกเหนอื จากเน้อื หาทกี่ �ำ หนดไว้ในแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๓. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้พทุ ธวิธแี บบธรรมสากจั ฉา (การสนทนา) ขั้นสืบคน้ - ขั้นเชื่อมโยง - ครูผู้สอนเสนอสถานการณท์ ่เี ปน็ ปญั หาหรือจำ�ลองสถานการณ์ ข้ันฝกึ - ผเู้ รยี น/ครผู เู้ รยี น - อภปิ รายในประเดน็ ทเี่ ปน็ ปญั หา หวั ขอ้ หรอื สถานการณ์ ตามเนอ้ื หาทก่ี �ำ หนด - หาขอ้ สรุปในประเดน็ ท่ีเปน็ ปัญหา หัวข้อ หรอื สถานการณจ์ ากการสนทนาอภิปราย ขนั้ ประยกุ ต์ - ศกึ ษาเพิม่ เตมิ การสนทนา - อภปิ รายของบคุ คล กลุ่มคน ละคร องค์กร เปน็ ตน้ ๔. การจดั กิจกรรมการเรียนรูพ้ ทุ ธวธิ แี บบอริยสัจ ๔ (กำ�หนดปญั หา, ตัง้ สมมุติฐาน, ทดลอง วิเคราะห์สรุป) ขัน้ สบื คน้ (ทุกข)์ - กำ�หนดปัญหา, ท่มี าของปัญหา, การเกดิ ปญั หา (ตามเนอื้ หาท่ีกำ�หนด) ขน้ั เช่อื มโยง (สมุทัย) - ตั้งสมมตุ ฐิ าน, การอนมุ าน, การคาดคะเน, ความน่าจะเปน็ , ปัจจัยเส่ยี ง ขนั้ ฝึก (นิโรธ) - ทดลอง, เก็บขอ้ มลู - วิเคราะห์, สรปุ ผล ขั้นประยุกต์ (มรรค) - การนำ�ไปประยุกต์ใช้กับส่งิ อ่นื ๆ นอกเหนอื จากเนื้อหาทเ่ี รยี นรู้ ๕. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรพู้ ทุ ธวธิ แี บบไตรสกิ ขา (ระเบยี บวนิ ยั , จติ ใจแนว่ แน,่ แกป้ ญั หาถกู ตอ้ ง) ขน้ั สืบคน้ (ศลี ) - สรา้ งความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความมศี รทั ธา ความตระหนกั ความเรา้ ใหเ้ กดิ กบั ผเู้ รยี นพรอ้ มทจี่ ะเรยี น แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชนั้ โท วิชาอนุพทุ ธประวัติ

8 ขั้นเชือ่ มโยง (สมาธ)ิ - ใหผ้ เู้ รยี นรวมพลงั จติ ความคดิ อนั แนว่ แนใ่ นการตงั้ ใจฟงั ตง้ั ใจดู ตงั้ ใจจดจ�ำ และเหน็ ความส�ำ คญั ตอ่ เน้ือหาท่จี ะนำ�เสนอ ข้ันฝกึ (ปัญญา) - ใชส้ มาธิ จติ ใจอันแน่วแนท่ ำ�ความเขา้ ใจกับปญั หา - คน้ หาสาเหตุท่มี าทไ่ี ปของปัญหา - แก้ไขปญั หาอยา่ งถูกต้องและถูกวิธี ขน้ั ประยกุ ต์ (ปัญญา) - ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู,้ เกดิ ปญั ญาและมมี โนทัศนใ์ นเรอื่ งนน้ั ๆ ถูกต้อง ๖. การจดั กจิ กรรมการเรียนรพู้ ทุ ธวธิ แี บบพหสู ตู (ฟงั มากๆ เขยี นมากๆ ถามมากๆ คดิ วิเคราะหม์ ากๆ) ขน้ั สืบคน้ - ขน้ั เช่อื มโยง (การสรา้ งศรทั ธา) - การจดั บรรยายในการนำ�เขา้ สู่บทเรียน - การสร้างแรงจูงใจนำ�การเขา้ สู่บทเรียน - บคุ ลกิ ภาพตลอดถงึ การวางตัวทีเ่ หมาะสมของผู้สอน - การสร้างความสัมพันธร์ ะหว่างผ้เู รียนกบั ผสู้ อน ขนั้ ฝึก (การฝกึ ทกั ษะ) - กิจกรรมกลุ่ม/รายบุคคล - การปฏบิ ตั /ิ การน�ำ เสนอ/การแสดงออก - ฝึกการเขียน, การฟัง, การถาม, และการคดิ วเิ คราะห์ ขั้นประยุกต์ - การประเมนิ ตนเอง - การประเมินของกัลยาณมติ ร - การศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมและการนำ�ไปประยกุ ต์ใช้ ๗. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรพู้ ุทธวิธแี บบโยนิโสมนสกิ าร(การท�ำ ไว้ในใจโดยแยบคาย, การใชค้ วามคิดอยา่ งถูกวธิ )ี แบบที่ ๑ ขั้นสืบคน้ - ข้นั เชื่อมโยง - ผเู้ รยี นรจู้ กั คิด คดิ เปน็ คิดอย่างมีระบบ - ผ้เู รยี นรู้จกั มอง ร้จู ักพิจารณา ไตร่ตรอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

9 ขั้นฝกึ - ฝกึ การคดิ หาเหตผุ ล - ฝกึ การสบื คน้ ถึงตน้ เค้า - ฝกึ การสบื สาวใหต้ ลอดสาย - ฝกึ การแยกแยะส่ิงน้ันๆ ปัญหานั้นๆ ตามสภาวะแห่งเหตแุ ละปจั จยั ขน้ั ประยกุ ต์ - ผูเ้ รียนน�ำ การใชค้ วามคดิ อย่างถูกวิธีไปประยุกต์ใช้กบั เหตุการณป์ จั จุบนั ๘. การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้พู ทุ ธวธิ ีแบบโยนิโสมนสิการ (สร้างศรทั ธาและวธิ คี ิดใหก้ ับผู้เรยี น) แบบที่ ๒ ขน้ั สืบค้น - ขั้นเชือ่ มโยง - ครผู ู้สอนสร้างเจตคติทีด่ ตี อ่ ผู้เรยี น - ครูผู้สอนเสนอปัญหาทีเ่ ปน็ สาระส�ำ คญั , หัวเรือ่ ง - ครูผูส้ อนแนะแหลง่ วิทยาการ, แหลง่ ขอ้ มูล ข้ันฝกึ - ผ้เู รยี นฝกึ การรวบรวมขอ้ มูล - ครูผู้สอนจัดกิจกรรมให้เกิดกระบวนการคิดแก่ผู้เรียน เช่น คิดสืบค้นต้นเค้า, คิดสืบสาว ตลอดสาย, คดิ สืบคน้ ต้นปลาย, และคิดโยงสายสมั พันธ์ - ฝกึ การสรุปประเดน็ เปรยี บเทียบ ประเมนิ ค่า โดยวธิ อี ภิปราย ทดลอง ทดสอบ - ดำ�เนินการเลอื กและตดั สนิ ใจ - กิจกรรมฝกึ ปฏิบัติเพอ่ื พสิ ูจนผ์ ลการเลอื กและตดั สินใจ ขั้นประยกุ ต์ - สังเกตวธิ กี ารปฏบิ ัติ ตรวจสอบ ปรบั ปรุง - อภิปรายและสอบถาม - สรปุ บทเรยี นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ - วัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง ๙. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้พุทธวิธแี บบอิทธบิ าท ๔ (พอใจในสงิ่ ท่ีเรยี นรู้, พากเพยี รต่อส่ิง ท่ีเรียนรูเ้ สมอ, มุ่งม่ันและเอาใจใสต่ ่อส่งิ ท่เี รียนร้,ู คดิ วิเคราะห์ ไตร่ตรอง ก่อนน�ำ ไปใช้) ข้ันสบื ค้น (ฉนั ทะ) - สรา้ งความพอใจและความสำ�คัญตอ่ สิ่งที่เรยี นรู้ และส่งิ ทีไ่ ดร้ ับ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้นั โท วชิ าอนุพุทธประวัติ

10 ขัน้ เชือ่ มโยง (วิริยะ) - ฟงั ใหห้ มด จดใหม้ าก ปากต้องไว ใจต้องคิด (หวั ใจบัณฑติ สุ จิ ปุ ลิ) ขั้นฝึก (จิตตะ) - มงุ่ มัน่ โดยฝึกฟงั มากๆ ฝกึ คดิ มากๆ ฝึกถามมากๆ และฝกึ เขยี นมากๆ ขนั้ ประยกุ ต์ (วมิ ังสา) - พจิ ารณา ไตร่ตรอง แยกแยะ อธิบาย นำ�เสนอ และประยกุ ต์ใช้ การนิยามศัพท์ข้ันตอน/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พุทธวธิ ี สืบค้น หมายถึง สืบสาวเร่อื งราว, คน้ ควา้ ให้ได้เรอ่ื ง เช่อื มโยง หมายถงึ ทำ�ใหต้ ดิ เป็นเนือ้ เดียวกัน, ท�ำ ใหป้ ระสานกนั ฝกึ หมายถงึ ท�ำ เช่นบอก, แสดง, หรือปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจจนเปน็ หรือ มีความชำ�นาญ ประยกุ ต์ หมายถึง นำ�ความรู้ในวิทยาการต่างๆ มาปรบั ใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ช้ันโท วิชาอนุพทุ ธประวตั ิ

11 บทที่ ๓ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ และสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ๑ รู้ เข้าใจ และปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา มีศรัทธาที่ถูกต้อง ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พุทธศาสนกิ ชนที่ดี เพือ่ อยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ มาตรฐาน ธศ๒ รู้และเข้าใจพุทธประวัติ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา ปฏิบัติตนเป็น พทุ ธศาสนิกชนทด่ี ี และธำ�รงรักษาพระพุทธศาสนา มาตรฐาน ธศ๓ รู้ เขา้ ใจ และปฏิบัตติ นตามหลกั พระวนิ ัยบัญญตั ิของพระพุทธศาสนา แนวทางการจัดการเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชนั้ โท วิชาอนพุ ทุ ธประวัติ

12 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูแ้ ละสาระการเรียนรู้ มาตรฐานธศ ๒ รแู้ ละเข้าใจพทุ ธประวัติ ความสำ�คัญของพระพทุ ธศาสนา ปฏิบตั ติ นเป็นพุทธศาสนิกชนทีด่ ี และธ�ำ รงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา ชน้ั ผลการเรยี นร ู้ สาระการเรยี นรู้ ธศโท ๑. รแู้ ละเขา้ ใจ เห็นความสำ�คญั พระอัญญาโกณฑญั ญะ ประวัตพิ ุทธสาวก พระอุรุเวลกัสสปะ พระสารบี ุตร พระโมคคลั ลานะ พระมหากัสสปะ พระมหากจั จายนะ พระอานนท์ พระอุบาลี พระสวี ลี พระราหลุ ๒. รแู้ ละเขา้ ใจ เหน็ ความสำ�คัญ พระมหาปชาบดโี คตมีเถรี ประวัตพิ ุทธสาวิกา พระเขมาเถรี พระอบุ ลวรรณาเถรี พระปฏาจาราเถรี พระกสี าโคตมเี ถรี ๓. รแู้ ละเขา้ ใจ เห็นความสำ�คญั บณั ฑติ สามเณร ประวตั ิสามเณร สงั กิจจสามเณร สขุ สามเณร วนวาสีตสิ สสามเณร สุมนสามเณร ๔. รู้และเข้าใจ เห็นความสำ�คัญ อนาถบิณฑิกเศรษฐี ประวตั อิ บุ าสก อุบาสกิ า จิตตคฤหบดี ธมั มกิ อบุ าสก วสิ าขามหาอุบาสกิ า พระนางมลั ลกิ าเทวี แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ุทธประวัติ

13 ชนั้ ผลการเรียนร ู้ สาระการเรียนรู้ ๕. รแู้ ละเข้าใจ ความหมายของศาสนพิธ ี องค์ประกอบของศาสนา องคป์ ระกอบของศาสนา ประโยชนข์ อง - ความหมายของศาสนพธิ ี ศาสนพธิ ี และ ความสำ�คญั พธิ ีบำ�เพญ็ - - ประโยชนข์ องศาสนพธิ ี กศุ ลในวันสำ�คญั ทาง พระพทุ ธศาสนา พิธีบำ�เพญ็ กศุ ลในวันส�ำ คญั ทาง พระพทุ ธศาสนา - วนั เข้าพรรษา - ความเปน็ มาของวันเขา้ พรรษา - การอย่จู ำ�พรรษา ๒ อย่าง - สตั ตาหกรณยี ะ - ประโยชน์ของวันเขา้ พรรษา - พธิ ถี วายดอกไมธ้ ปู เทยี นวันเข้าพรรษา - วนั ออกพรรษา - ความเปน็ มาของการปวารณา - ประโยชนข์ องวนั ออกพรรษา - วนั เทโวโรหณะ - ความเป็นมาของวันเทโวโรหณะ - การจัดพธิ ตี กั บาตรเทโวโรหณะ - ระเบยี บพธิ ตี กั บาตรเทโวโรหณะ - วนั ธรรมสวนะ - ความเปน็ มาของวนั ธรรมสวนะ - วันโกน - ประโยชนข์ องวันธรรมสวนะ พธิ ีเจรญิ พระพทุ ธมนต์ ๖. รู้และเข้าใจ เหน็ ความส�ำ คัญของ พธิ ีเจริญพระพุทธมนต์ - ความเป็นมาของพธิ เี จริญพระพทุ ธมนต์ - ความศกั ดิ์สทิ ธิข์ องพระพุทธมนต์ - พิธีเจริญพระพทุ ธมนต์ - เจ็ดตำ�นานและสบิ สองต�ำ นาน - พธิ มี งคลสมรส - พิธที ำ�บุญอายุ - พิธีทำ�บุญอายคุ รบรอบใหญ่ - พิธที �ำ บญุ อายตุ ามปกติ - พธิ ที �ำ บญุ อายจุ ดั พธิ ีนพเคราะห์ - ดาวนพเคราะหท์ ง้ั ๙ - วัตถุประสงคข์ องพธิ ีนพเคราะห์ - การจัดพธิ นี พเคราะห์ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นโท วิชาอนพุ ุทธประวัติ

14 ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ช้นั - ล�ำ ดับขัน้ ตอนพิธีนพเคราะห์ - พิธเี จริญพระพทุ ธมนตน์ วคั คหายสุ มธมั ม์ - พิธที ำ�บญุ ต่อนาม - พิธีวางศิลาฤกษ์ - อปุ กรณ์ประกอบพิธวี างศลิ าฤกษ์ ๗. ร้แู ละเข้าใจ เห็นความสำ�คญั พิธีสวดพระพทุ ธมนต์ พธิ สี วดพระพุทธมนต์ - การจดั งานศพ - สถานท่ตี งั้ ศพบำ�เพ็ญกุศล - การจัดสถานที่ในพิธีสวดพระอภิธรรม - อุปกรณ์เครอ่ื งใช้ทต่ี ้องจดั เตรยี มในพธิ ีศพ - พธิ บี ังสกุ ลุ ปากหบี - พธิ สี วดพระอภิธรรมศพ - พธิ ีทำ�บุญปากหบี - พธิ ีบ�ำ เพญ็ กศุ ล ๗ วนั ๕๐ วัน ๑๐๐ วนั - พิธีทำ�บญุ งานฌาปนกจิ ศพ - พิธสี วดมาตกิ าบงั สุกุล - พธิ สี วดแจง - การจดั พิธฌี าปนกจิ ศพและพระราชทาน เพลงิ ศพ - พิธเี ก็บอฐั แิ ละพธิ ีสามหาบ - พธิ ที ำ�บุญ ฉลองอัฐิ - พธิ บี รรจุศพ ๘. รแู้ ละเขา้ ใจ เห็นความสำ�คัญของเทศกาล เทศกาลสำ�คัญทางพระพทุ ธศาสนา ส�ำ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา - พธิ ีลอยกระทงตามประทปี - คตคิ วามเชอื่ ทางพระพทุ ธศาสนา - ความเป็นมาของพธิ ีลอยกระทงตามประทีป - พิธถี วายผ้าปา่ - ประเภทของผา้ ปา่ - ค�ำ ถวายผา้ ปา่ - พิธีถวายผา้ กฐนิ - ความหมายและเหตขุ องการทอดกฐนิ - ประเภทของกฐิน - คณุ สมบัตขิ องวัดรบั กฐนิ ได้ - ความเป็นมาของประเพณกี ารทอดกฐิน - กฐนิ ราษฎร์ - มหากฐนิ - จลุ กฐนิ - การเตรยี มงานกฐนิ ราษฎร์ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ช้ันโท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

ชนั้ ผลการเรยี นรู้ 15 สาระการเรียนรู้ - ลำ�ดบั พิธที อดกฐนิ ราษฎร์ - คำ�ถวายผา้ กฐิน (แบบท่ี ๑) - คำ�ถวายผ้ากฐิน ( แบบที่ ๒ ) - พระกฐินหลวง - การเสดจ็ พระราชดำ�เนนิ ถวายผ้าพระกฐนิ - การเตรียมงานกฐนิ หลวง - ระเบยี บพิธีถวายพระกฐนิ หลวง ๙. ร้แู ละเข้าใจ เหน็ ความส�ำ คัญของ - พระกฐนิ ตน้ - พระกฐนิ พระราชทาน ประเพณสี ำ�คญั ทางพระพทุ ธศาสนา - กฐนิ พระราชทานพิเศษ ประเพณีส�ำ คัญทางพระพุทธศาสนา - พิธบี รรพชาสามเณร - ประโยชนข์ องการบรรพชา - การเตรยี มบรรพชาสามเณร - ส่ิงทีต่ อ้ งจัดเตรียมในพธิ บี รรพชาสามเณร - ระเบียบพิธบี รรพชาสามเณร - พธิ อี ุปสมบทเป็นพระภิกษุ - ส่ิงทต่ี อ้ งจัดเตรียมในพิธอี ุปสมบท - พิธีปลงผมและท�ำ ขวญั นาค - ความหมายของคำ�ว่า นาค - การจัดขบวนแห่นาค - พิธีวันทาเสมาและน�ำ นาคเขา้ โบสถ์ - ระเบยี บพิธีอุปสมบทพระภกิ ษุ - ค�ำ ส�ำ หรับเรียกผไู้ ดร้ บั การอุปสมบทแลว้ - วตั ถปุ ระสงคข์ องการบวช - พิธฉี ลองพระบวชใหม่ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชัน้ โท วชิ าอนุพุทธประวัติ

16 บทท่ี ๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ ธรรมศกึ ษาชน้ั โท ประกอบดว้ ย แผนการจดั การเรยี นรู้ จ�ำ นวน ๙ แผน ดงั นี้ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ ความสำ�คญั ประวตั ิพทุ ธสาวก แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ ประวัติและความส�ำ คญั ของพุทธสาวิกา แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ประวัติและความส�ำ คัญของสามเณร แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๔ ประวัตแิ ละความสำ�คญั ของอุบาสก อบุ าสิกา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ ศาสนพิธี องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ของศาสนพิธี และ ความส�ำ คัญพธิ ีบ�ำ เพ็ญกุศลในวันส�ำ คัญทางพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ ความสำ�คญั ของพธิ ีเจริญพระพทุ ธมนต์ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๗ พธิ สี วดพระพทุ ธมนต์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๘ ความส�ำ คัญของเทศกาลส�ำ คญั ทางพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๙ ประเพณีสำ�คญั ทางพระพุทธศาสนา แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชน้ั โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ 17 ธรรมศกึ ษาชน้ั โทสาระการเรียนรูพ้ ทุ ธประวัติ เวลา .............. ชั่วโมง เรือ่ ง ความสำ�คัญประวตั ิพทุ ธสาวก ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ๒ รู้และเข้าใจพุทธประวัติ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา ปฏิบัติตนเป็น พทุ ธศาสนกิ ชนทดี่ ี และธ�ำ รงรกั ษาพระพุทธศาสนา ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเข้าใจ เหน็ ความส�ำ คัญประวตั ิพทุ ธสาวก ๓. สาระส�ำ คัญ พุทธสาวก คือ ผู้สืบทอดพระพุทธศาสนาท่ีเป็นเพศชาย สมัยพระพุทธเจ้ามีบุรุษเล่ือมใสใน พระพุทธศาสนา จึงเป็นพุทธสาวก ได้แก่ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระอุรุเวลกัสสปะ พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระมหากสั สปะ พระมหากัจจายนะ พระอานนท์พระอบุ าสี พระสีวลี และพระราหลุ ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถอธิบายประวัตแิ ละความสำ�คญั ของพุทธสาวกได้ ๒. นกั เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมกลุม่ ได้ ๕. สาระการเรยี นร/ู้ เน้อื หา - พระอญั ญาโกณฑัญญะ - พระอรุ เุ วลกัสสปะ - พระสารบี ตุ ร - พระโมคคัลลานะ - พระมหากัสสปะ - พระมหากจั จายนะ - พระอานนท์ - พระอุบาสี - พระสวี ลี - พระราหลุ แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั โท วิชาอนุพุทธประวัติ

18 ๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขั้นสบื คน้ และเช่ือมโยง ๑. นักเรียนดูภาพเกี่ยวกับพุทธประวัติ ให้สังเกตภาพพระพุทธเจ้าเทศนาส่ังสอนปัญจวัคคีย์ แล้วสนทนากบั นกั เรียน โดยใชค้ ำ�ถามเพือ่ เช่ือมโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ - นกั เรียนเคยได้ยนิ ค�ำ วา่ “ พทุ ธสาวก” บ้างหรือไม่ - ปญั จวัคคยี ์ หมายถงึ อะไร มใี ครบา้ ง - ราหุลเกยี่ วข้องกบั พระพทุ ธเจ้าอยา่ งไร ฯลฯ ข้นั ฝกึ ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อศึกษาข้อมูล เกีย่ วกับประวัตแิ ละความส�ำ คญั ของพุทธสาวก ตามใบความร้ทู ่ี ๑ - ๕ ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี ๑ ศกึ ษาประวตั พิ ระอญั ญาโกณฑัญญะ และพระอรุ ุเวลกัสสปะ กลมุ่ ที่ ๒ ศกึ ษาประวัติพระสารบี ุตร และพระโมคคลั ลานะ กลมุ่ ที่ ๓ ศึกษาประวตั ิพระมหากัสสปะ และพระมหากจั จายนะ กล่มุ ท่ี ๔ ศึกษาประวัตพิ ระอานนท์ และพระอุบาลี กลมุ่ ที่ ๕ ศกึ ษาประวัติพระสีวลี และพระราหุล ๓. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันสรุปความร้เู กย่ี วกับประวตั ิและความส�ำ คัญของพทุ ธสาวก โดยเลา่ เร่ืองสรุปยอ่ ต่อกนั ไปจนครบทุกกลุ่ม(ปฏิบัตติ ามใบกิจกรรมท่ี ๑) ข้นั ประยกุ ต์ ๔. นกั เรียนและครูรว่ มกันประเมนิ ผล และชน่ื ชมนักเรยี นกลุ่มท่นี �ำ เสนอไดด้ ีที่สดุ ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปบทเรียนอีกครั้ง และมอบหมายให้นักเรียนทุกคนทำ�ใบกิจกรรม ที่ ๒ พรอ้ มท้ังส่งให้ครตู รวจ ๖. นกั เรียนทำ�แบบทดสอบหลงั เรียน และครูตรวจใหค้ ะแนน ๗. ภาระงาน/ชน้ิ งาน ท่ี ภาระงาน ชิ้นงาน ๑ ตอบคำ�ถามประวตั ิและความสำ�คญั ของพทุ ธสาวก ใบกิจกรรมท่ี ๒ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

19 ๘. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ภาพพระพทุ ธเจ้าเทศนาสง่ั สอนปัญจวคั คยี ์ ๒. ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่ือง พระอญั ญาโกณฑัญญะ และพระอรุ ุเวลกสั สปะ ใบความรูท้ ี่ ๒ เรื่อง พระสารีบตุ ร และพระโมคคัลลานะ ใบความรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง พระมหากัสสปะ และพระมหากจั จายนะ ใบความรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง พระอานนท์ และพระอบุ าลี ใบความรู้ที่ ๕ เรื่อง พระสีวลี และพระราหุล ๓. ใบกจิ กรรมท่ี ๑ ๔. ใบกจิ กรรมที่ ๒ ๕. แบบทดสอบหลังเรยี น ๙. การวัดผลและประเมินผล ส่ิงทต่ี ้องการวัด วิธวี ดั เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. อธบิ ายประวตั แิ ละ - ตรวจผลงาน - แบบสงั เกต ผา่ น = ไดค้ ะแนนตงั้ แต่รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป ความส�ำ คญั ของพุทธสาวกได้ - ทดสอบ พฤติกรรม ไมผ่ ่าน = ไดค้ ะแนนตา่ํ กวา่ ร้อยละ ๖๐ การปฏิบตั ิ กจิ กรรมกล่มุ ๒. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติ - ตรวจผลงาน - แบบสงั เกต ผ่าน = ได้คะแนนตัง้ แต่ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป กจิ กรรมกลุม่ ได ้ - ทดสอบ - แบบทดสอบ ไมผ่ า่ น = ไดค้ ะแนนตา่ํ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐ - สังเกต - ตรวจผลงาน แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศึกษา ช้นั โท วิชาอนุพุทธประวตั ิ

20 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม ข้อ ท ี่ รายก าร ระดับคะแนน ๑ คะแนน ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ ความรว่ มมือในการ ให้ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมอื ในการ ให้ความร่วมมือในการ ท�ำ กิจกรรม ท�ำ กจิ กรรมทกุ กจิ กรรม ทำ�กจิ กรรมบางกจิ กรรม ท�ำ กิจกรรมบ้าง ๒ การแสดง/การรบั ฟัง แสดงความคดิ เหน็ และ แสดงความคิดเหน็ และ แสดงความคดิ เหน็ และ ความคดิ เห็น รบั ฟงั ความคิดเห็นของ รบั ฟงั ความคิดเห็นของ รบั ฟังความคิดเหน็ ของ คนสว่ นมากเปน็ สำ�คญั คนอ่ืนบ้าง คนอนื่ นอ้ ย ๓ การตงั้ ใจ/การแกไ้ ข มคี วามตัง้ ใจและ มคี วามตั้งใจและ มีความตง้ั ใจและ ปญั หาในการท�ำ งาน รว่ มแกไ้ ขปัญหาในการ ร่วมแก้ไขปญั หาในการ รว่ มแก้ไขปัญหาในการ ทำ�งานกลุม่ ดมี าก ทำ�งานกล่มุ ดี ท�ำ งานกลุ่มบา้ ง ๔ ความถูกต้องของ สรุปเนื้อหาได้ถกู ต้อง สรปุ เนื้อหาได้ถกู ตอ้ ง สรุปเน้ือหาไดถ้ กู ต้อง เนื้อหา ตรงประเดน็ และ ตรงประเดน็ ตรงประเดน็ บ้าง ครบถว้ น ๕ วิธีการนำ�เสนอ น�ำ เสนอผลงานไดอ้ ย่าง นำ�เสนอผลงานได้อยา่ ง นำ�เสนอผลงาน ผลงาน ถูกตอ้ งตามขั้นตอน ถูกต้องตามขั้นตอน ตามข้ันตอนได้บ้าง น่าสนใจและเนื้อหา น่าสนใจ แต่ขาดเนื้อหา ครบถว้ น บางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ เกณฑ์ ร้อยละ คะแนน ผ่าน ๖๐ ขึ้นไป ๙ - ๑๕ ไม่ผา่ น ตํา่ กว่า ๖๐ ๐-๘ หมายเหตุ เกณฑก์ ารตดั สนิ สามารถปรับใชต้ ามความเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชั้นโท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

ขอ้ ท่ี แบบประเมินผลงาน 21 ๓ คะแนน ใบกจิ กรรม ๑ คะแนน ๑-๑๒ ตอบคำ�ถามถูกต้อง ตอบคำ�ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเด็น ระดบั คะแนน ตรงประเด็นนอ้ ย ๒ คะแนน ตอบคำ�ถามถกู ตอ้ ง ตรงประเด็นส่วนใหญ่ เกณฑ์การตัดสิน เกณฑ์ รอ้ ยละ คะแนน ผ่าน ๖๐ ขึน้ ไป ๒๒ - ๓๖ ไมผ่ า่ น ต่าํ กวา่ ๖๐ ๐ - ๒๑ หมายเหตุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรับใช้ตามความเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย แบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบทดสอบหลงั เรียน เกณฑ์การประเมิน ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ตอบผิดได้ ๐ คะแนน เกณฑ์ เกณฑก์ ารตดั สนิ คะแนน ผ่าน รอ้ ยละ ๒๔ - ๔๐ ไม่ผา่ น ๖๐ข้นึ ไป ๐ - ๒๓ ต่ํากว่า ๖๐ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้นั โท วชิ าอนุพทุ ธประวัติ

22 ใบกจิ กรรมท่ี ๑ เรอื่ ง ประวัตแิ ละความส�ำ คัญของพุทธสาวก กลุ่มที.่ ................... ชอ่ื ...........................................................................................ชนั้ .....................เลขท.ี่ .......................... ชอ่ื ...........................................................................................ชน้ั .....................เลขท.่ี .......................... ชอื่ ...........................................................................................ชน้ั .....................เลขท.่ี .......................... ชอ่ื ...........................................................................................ชนั้ .....................เลขท.่ี .......................... ชอื่ ...........................................................................................ชน้ั .....................เลขท.ี่ .......................... ค�ำช้ีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเล่าเรื่องสรุปย่อประวัติและความส�ำคัญของพุทธสาวกตามหัวข้อที่ก�ำหนด และส่งตัวแทนน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน ดังนี้ กล่มุ ที่ ๑ ศกึ ษาประวตั ิพระอญั ญาโกณฑัญญะ และพระอรุ ุเวลกสั สปะ กลุม่ ที่ ๒ ศกึ ษาประวัติพระสารบี ตุ ร และพระโมคคัลลานะ กลุม่ ท่ี ๓ ศกึ ษาประวัตพิ ระมหากสั สปะ และพระมหากจั จายนะ กลมุ่ ท่ี ๔ ศึกษาประวตั พิ ระอานนท์ และพระอบุ าลี กล่มุ ท่ี ๕ ศกึ ษาประวัติพระสีวลี และพระราหุล ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ุทธประวตั ิ

23 ใบกิจกรรมที่ ๒ ประวัตแิ ละความสำ�คญั ของพุทธสาวก ชอ่ื ...........................................................................................ชน้ั .....................เลขท.่ี .......................... คำ�ช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ จำ�นวน ๑๒ ข้อ (๓๖ คะแนน) ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะเหตใุ ดจึงนับว่าเปน็ ปฐมอรยิ สาวก .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๒. เพราะเหตุใด พระอรุ ุเวลกสั สปะจึงทูลขอบวช .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๓. ธรรมท่ีพระอัสสชิแสดงแก่อุปติสสปรพิ าชก มเี นอ้ื ความวา่ อยา่ งไร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๔. เพราะเหตใุ ด อปุ ติสสปริพาชก จงึ ไม่ไปเฝา้ ศาสดาในทันที .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๕. พระพุทธเจ้าทรงแสดงอนุปุพพกิ ถา ครง้ั ท่ี๔ แกใ่ ครสถานทใ่ี ด มผี ลเป็นอยา่ งไร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๖. ทำ�ไมพระมหากสั สปะจงึ ออกบวช และทา่ นบวชดว้ ยวิธีใด .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

24 ๗. โอวาท ๓ ขอ้ ทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงประทานแกพ่ ระมหากัสสปะ คอื อะไร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๘. พระสาลีบุตร ไดส้ ำ�เรจ็ พระอรหันต์ เพราะฟังธรรมเทศนาทพ่ี ระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรสั กบั ใคร ท่ีไหน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๙. พระอานนท์ไดบ้ รรลุโสดาปตั ติผล เพราะฟงั ธรรมของพระสาวกรูปใด .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๑๐. พระเถระรูปใดอยู่ในท้องมารดานานทส่ี ดุ เพราะเหตุใดจงึ เปน็ เชน่ นั้น .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๑๑. พระราหุลเป็นพระโอรส พระนัดดา พระปนัดดาของใคร เม่ือได้บรรลุพระอรหัตผลแล้วได้รับยกย่อง จากพระศาสดาว่าเป็นยอดแหง่ พระสาวกทางไหน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๑๒. จงแสดงประวัติของพระอุบาลี ตั้งแต่ยังไม่ได้อุปสมบทจนถึงได้อุปสมบท เม่ือท่านอุปสมบทแล้ว ได้ท�ำ การอะไรทเ่ี ป็นประโยชนส์ �ำ คัญในพระพุทธศาสนา .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ช้ันโท วิชาอนุพุทธประวตั ิ

25 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๒ ความส�ำ คัญประวัติพุทธสาวก ๑. พระอญั ญาโกณฑัญญะเหตใุ ดจงึ นับวา่ เปน็ ปฐมอริยสาวก ตอบ ท่านมีความเห็นว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นสิ่งหน่ึงมีความดับไป เปน็ ธรรมดา” ๒. เพราะเหตใุ ด พระอุรเุ วลกัสสปะจงึ ทลู ขอบวช ตอบ เพราะท่านมีปรชี าหยั่งเหน็ วา่ ลัทธขิ องตนหาสาระแกน่ สารมไิ ด้ หลงถือวา่ ตนเป็นผู้วเิ ศษฉนั ใด แตห่ าเป็นเชน่ น้นั ไม่ ได้ความสลดใจ จึงลอยบรขิ ารชฎิลของตนเสียแล้วทลู ขออปุ สมบท ๓. ธรรมทพี่ ระอัสสชแิ สดงแก่อุปติสสปรพิ าชก มเี น้ือความวา่ อย่างไร ตอบ ธรรมน้ันมีเน้ือความว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมน้ันและ ความดับแห่งธรรมนนั้ พระมหาสมณะมปี กติตรัสอย่างน้ี ” ๔. เพราะเหตุใด อปุ ตสิ สปรพิ าชก จึงไม่ไปเฝา้ ศาสดาในทนั ที ตอบ เพราะให้คำ�ปฏิญญากับโกลิตปริพาชกว่า ใครได้บรรลุโมกขธรรมก่อน ต้องบอกให้แก่อีก คนหนึง่ ทราบ ๕. พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงอนปุ พุ พิกถา ครัง้ ที๔่ แก่ใครสถานทใี่ ด มผี ลเป็นอยา่ งไร ตอบ ทรงแสดงแก่ สหายของพระยศ ๔ คน คือ วิมละ สุพาหุ ปุณณชิ ควัมปติ ฯ ทรงแสดงที่ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมอื งพาราณสี ผลการแสดงครั้งนก้ี ุลบุตรทง้ั ๔ คน ส�ำ เรจ็ โสดาปตั ตผิ ล และทลู ขอบรรพชาอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนา ๖. ท�ำ ไมพระมหากสั สปะจงึ ออกบวช และท่านบวชดว้ ยวธิ ใี ด ตอบ พระมหากัสสปะออกบวช เพราะเบ่ือการครองเรือน ต้องคอยรับบาปท่ีผู้อ่ืนทำ�ไว้ไม่ดี มีใจ เบ่ือหน่าย ท่านเห็นชีวิตของฆราวาสคับแคบ เป็นท่ีมาแห่งกิเลสธุลี จึงถือเพศบรรพชิต ออกบวชอุทิศพระอรหันต์ในโลก แต่ท่านบวชในพระธรรมวินัยน้ีแปลกกว่าพระเถระรูปอ่ืน คือบวชดว้ ยการรับโอวาท ๓ ข้อจากพระบรมศาสดา แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

26 ๗. โอวาท ๓ ขอ้ ท่ีพระพุทธองคท์ รงประทานแก่พระมหากสั สปะ คอื อะไร ตอบ โอวาท ๓ ขอ้ ท่ีพระมหากสั สปะไดร้ ับจากพระบรมศาสดาคือ ๑. ท่านพึงศึกษาว่า เราจักเข้าไปตั้งความละอายและความยำ�เกรงในภิกษุ ทั้งท่ีเป็นผู้เฒ่า ทัง้ ทีเ่ ป็นผู้ใหญ่ ทัง้ ทเี่ ป็นกลางอย่างแรงกล้า ๒. เราจักฟังธรรมอันใดอันหน่ึงซ่ึงประกอบด้วยกุศล เราจักเง่ียหูลง ฟังธรรมนั้น พิจารณา เนื้อความ ๓. เราจักไมล่ ะสติทเี่ ปน็ ไปในกาย คือ พจิ ารณาร่างกายเปน็ อารมณ์ ๘. พระสาลบี ุตร ได้ส�ำ เร็จพระอรหนั ต์ เพราะฟังธรรมเทศนาท่พี ระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ตรัสกบั ใครทไี่ หน ตอบ เพราะฟังธรรมเทศนา ท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสแก่ปริพาชก ช่ือทีฆนขอัคคิเวสนโคตร ทีถ่ ้าํ สกุ รขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงกรงุ ราชคฤห์ ๙. พระอานนทไ์ ดบ้ รรลุโสดาปัตติผล เพราะฟงั ธรรมของพระสาวกรปู ใด ตอบ พระอานนท์ไดบ้ รรลุโสดาปตั ติผลเพราะฟังธรรมอันพระปณุ ณมนั ตานีบุตรแสดง ๑๐. พระเถระรปู ใดอย่ใู นท้องมารดานานทสี่ ดุ เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นน้ั ตอบ พระสวี ลเี ถระอย่ใู นท้องมารดา ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน สาเหตเุ พราะในอดตี เคยยกทพั ไปรบกบั เมืองอ่ืน แล้วล้อมปิดประตูเมืองไม่ให้ชาวเมืองออกมา ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน จนชาวเมือง ทนไม่ไหวตอ้ งจบั พระราชาของตวั เองลงโทษถงึ แก่ชวี ติ และยอมแพ้ ๑๑. พระราหุลเปน็ พระโอรส พระนัดดา พระปนดั ดาของใคร เมือ่ ไดบ้ รรลุพระอรหัตผลแลว้ ไดร้ ับยกยอ่ ง จากพระศาสดาวา่ เป็นยอดแห่งพระสาวกทางไหน ตอบ พระราหลุ เปน็ พระโอรสขอพระสทิ ธตั ถะ เปน็ พระนดั ดาของพระเจา้ สทุ โธทนะ เปน็ พระปนดั ดา ของพระเจ้าสีหหนุ เมื่อได้บรรลุอรหันต์แล้ว ได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นยอดแห่ง พระสาวกผู้ใคร่ศกึ ษาพระธรรมวนิ ัย ๑๒. จงแสดงประวัติของพระอุบาลี ต้ังแต่ยังไม่ได้อุปสมบทจนถึงได้อุปสมบท เมื่อท่านอุปสมบทแล้ว ได้ทำ�การอะไรทเ่ี ป็นประโยชน์ส�ำ คญั ในพระพุทธศาสนา ตอบ พระอุบาลี เมื่อยังไม่ได้อุปสมบทเป็นช่างกัลบก (ภูษา-มาลา)ของศากยสกุล เม่ือศากยะ และโกลิยะมีพระเจ้าภัททิยะและอนุรุทธศากยะเป็นต้นออกทรงผนวช ได้ออกบวชด้วย และ ได้บวชก่อนตามความประสงค์ของศากยะ ซึ่งทรงหวังจะทรงทำ�สามีจิกรรม แก่พระอุบาลี เม่ือบวชแล้ว เมื่อท่านอุปสมบทแล้ว ได้เป็นผู้วิสัชนาพระวินัย ในเวลาทำ�ปฐมสังคายนาซึ่ง เปน็ ประโยชนส์ �ำ คญั ในพระพทุ ธศาสนา แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้ันโท วชิ าอนุพทุ ธประวัติ

27 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่ ๑ รูแ้ ละเขา้ ใจ เหน็ ความส�ำ คญั ประวัติพทุ ธสาวก จำ�นวน ๔๐ ข้อ คะแนน ๔๐ คะแนน ค�ำ ชี้แจง ให้นักเรียนเลอื กคำ�ตอบทถ่ี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดยี ว ๑. ผู้ตรัสร้ตู ามพระพทุ ธเจ้าตรงกับขอ้ ใด ข. พระโสดาบนั ก. พระปจั เจกพทุ ธเจา้ ง. พระอนาคามี ค. พระอนุพทุ ธะ ๒. ผูแ้ รกเขา้ ถึงกระแสพระนพิ พานเป็นความหมายของข้อใด ก. พระโสดาบนั ข. พระสกทาคามี ค. พระอนาคามี ง. พระอรหนั ต์ ๓. ผไู้ ด้รับยกย่องว่าเลิศในทางน้ันๆเรยี กวา่ อะไร ข. สาวก ก. อรยิ บุคคล ง. พหูสตู ค. เอตทัคคะ ๔. อญฺญาสใิ นค�ำ วา่ อญญฺ าสวิ ตโภโกณฑญฺโญหมายความวา่ อยา่ งไร ก. ได้บรรลแุ ลว้ ข. ไดร้ ู้แลว้ ค. ได้เหน็ แลว้ ง. ไดป้ ลงแล้ว ๕. พระอญั ญาโกณฑัญญะได้รบั ยกย่องเป็นรัตตญั ญูเพราะเหตใุ ด ก. รู้ธรรมก่อนใคร ข. บวชก่อนใคร ค. มีประสบการณ์มาก ง. มีความรู้มาก ๖. วาจาเช่นนี้ เราได้เคยพูดแลว้ ในปางก่อนหรือ ใครกล่าว ก. พระพุทธเจ้า ข. พระโกณฑญัญะ ค. พระอัสสช ิ ง. พระสารบี ตุ ร ๗. พระสาวกทไ่ี ด้รบั ยกยอ่ งว่ามีบรวิ ารมากชอ่ื ว่าอะไร ก. อรุ เุ วลกัสสปะ ข. นทีกัสสปะ ค. คยากัสสปะ ง. มหากัสสปะ ๘. พระพุทธเจา้ ทรงแสดงอาทิตตปรยิ ายสูตร ณ ทีใ่ ด ก. อรุ เุ วลาเสนานคิ ม ข. คยาสสี ะ ค. เชตวัน ง. เวฬุวนั แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศึกษา ช้ันโท วชิ าอนพุ ุทธประวัติ

28 ๙. ใครเป็นกำ�ลังสำ�คญั ในการประกาศพระศาสนาทแี่ คว้นมคธ ก. พระอสั สช ิ ข. พระมหากัสสปะ ค. พระสารีบตุ ร ง. พระอุรุเวลกัสสปะ ๑๐. ผ้มู ีอายุท่านมอี ินทรีย์ผ่องใสบวชจ�ำ เพาะใครเปน็ ค�ำ พูดของใคร ก. อชติ มาณพ ข. ปณุ ณกมาณพ ค. อุปติสสมาณพ ง. โกลิตมาณพ ๑๑. อปุ ติสสมาณพได้ดวงตาเหน็ ธรรมเพราะฟังธรรมจากใคร ก. พระพทุ ธเจา้ ข. พระมหานามะ ค. พระอสั สช ิ ง. พระยส ๑๒. ปผิ ลิมาณพเห็นโทษในการครองเรอื นอย่างไร จงึ ออกบวช ก. ต้องรับผดิ ชอบมาก ข. ตอ้ งคอยรับบาปคนอ่นื ค. ต้องท�ำ แต่บาปกรรม ง. ต้องพัวพันเร่อื งกาม ๑๓. ขอ้ ใดไม่ใช่ธุดงควตั รของพระมหากสั สปะ ข. เที่ยวบณิ ฑบาต ก. ถอื ผ้าบงั สุกลุ ง. อยปู่ ่าชา้ ค. อย่ปู ่า ๑๔. วรรณะทัง้ ๔ ย่อมเสมอกันดว้ ยกรรมคอื การกระท�ำ ใครกล่าว ก. พระมหากัสสปะ ข. พระมหากจั จายนะ ค. พระอานนท ์ ง. พระอนุรุทธะ ๑๕. พระสาวกรูปใดบรรลุพระอรหันตก์ อ่ นบวช ข. พระมหากสั สปะ ก. พระอนุรทุ ธะ ง. พระอานนท์ ค. พระมหากัจจายนะ ๑๖. พิจารณาเหน็ โลกอยา่ งไรมจั จุราชจึงจะไมแ่ ลเห็นใครทลู ถาม ก. อชิตมาณพ ข. โมฆราชมาณพ ค. ปงิ คยิ มาณพ ง. โธตกมาณพ ๑๗. พระสาวกรูปใดท�ำ ให้พระสารบี ุตรได้ชอ่ื ว่าเป็นผมู้ คี วามกตัญญู ก. พระราธะ ข. พระราหุล ค. พระรฐั บาล ง. พระจนุ ทะ ๑๘. เพราะเหตุใดคนทงั้ หลายจงึ เรียกพระอุทายีว่ากาฬทุ ายี ก. เป็นโรค ข. มผี ิวด�ำ ค. เรยี กตามบิดา ง. เรยี กตามโคตร แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ช้ันโท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

29 ๑๙. พระสาวกรปู ใดบวชเพราะเคารพและเกรงใจพระพุทธเจ้า ก. พระอนรุ ทุ ธะ ข. พระอานนท์ ค. พระนันทะ ง. พระวกั กลิ ๒๐. พระพุทธเจ้าแสดงโทษการพดู มสุ าแกใ่ คร ข. พระราหุล ก. พระนนั ทะ ง. พระอบุ าลี ค. พระอานนท ์ ๒๑. ราหุลเป็นพระนามที่ตั้งตามหลักใด ข. พิธีขนานนาม ก. มงคลนาม ง. คำ�อุทานของบิดา ค. ฤษีตง้ั ให้ ๒๒. พระภทั ทยิ ะมักจะเปลง่ อทุ านอย่เู สมอว่าอะไร ข. ดีหนอๆ ก. ทุกขห์ นอๆ ง. ว่นุ วายหนอๆ ค. สุขหนอๆ ๒๓. พระสาวกรูปใดรับปากพ่ชี ายว่าจะบวชเปน็ ตัวแทนตระกูล ก. พระอานนท์ ข. พระภทั ทิยะ ค. พระอนุรุทธะ ง. พระมหานามะ ๒๔. ขอ้ ใดมิใชเ่ อตทคั คะของพระอานนท์ ข. มสี ติ ก. แสดงธรรมไพเราะ ง. มคี วามเพียร ค. พหสู ตู ๒๕. พระสาวกรปู ใดบรรลุพระอรหตั ช้าเพราะมีกิจมาก ก. พระสารีบตุ ร ข. พระอานนท์ ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระอนุรทุ ธะ ๒๖. พระสาวกรปู ใดบำ�เพญ็ เพยี รอยา่ งหนักเดินจงกรมจนเทา้ แตก ก. พระรฐั บาล ข. พระโสณโกฬวิ สิ ะ ค. พระวกั กล ิ ง. พระมหาปนั ถก ๒๗. พระรัฐบาลท�ำ อย่างไรมารดาบิดาจงึ อนญุ าตใหบ้ วช ก. อดอาหาร ข. ใหเ้ พ่ือนมาขอ ค. ไม่ลกุ จากท่ีนอน ง. เท่ยี วเตร่ทุกวนั แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชนั้ โท วิชาอนุพทุ ธประวตั ิ

30 ๒๘. พระปิณโฑลภารทวาชะได้รบั ยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะด้านใด ก. เป็นธรรมกถึก ข. บนั ลือสีหนาท ค. มีเสียงไพเราะ ง. สอนภกิ ษณุ ี ๒๙. พระบรมศาสดาทรงแต่งตั้งใครให้ทำ�หน้าทจี่ ดั พระไปกิจนิมนต์ ก. พระมหาปันถก ข. พระอนุรุทธะ ค. พระจุนทะ ง. พระอานนท์ ๓๐. อะไรเป็นเหตใุ ห้พระโสณกฏุ ิกัณณะเปน็ สามเณรถงึ ๓ปี ก. อายยุ ังไมค่ รบ ข. มีภิกษุไม่ครบ ค. ไม่มีผอู้ นุญาต ง. ไมม่ ีอุปัชฌาย์ ๓๑. พระสาวกรปู ใดมีรปู สตรตี ามหลงั เพราะบาปกรรมในชาตกิ อ่ น ก. พระโกณฑธาน ข. พระปิลนิ ทวัจฉะ ค. พระพากลุ ะ ง. พระสุภตู ิ ๓๒. พระสาวกรูปใดมอี ายุยืนเพราะอานสิ งสถ์ วายยาและเวจกฎุ ี ก. พระสารบี ตุ ร ข. พระมหากสั สปะ ค. พระพากุละ ง. พระวักกลิ ๓๓. พระวักกลอิ อกบวชเพราะมอี ธั ยาศัยอยา่ งไรในพระพทุ ธเจา้ ก. หลงรปู ข. หลงเสยี ง ค. หลงธรรม ง. หลงคารม ๓๔. พระสาวกรปู ใดพูดจาไม่ไพเราะแตม่ วี าจาศักดิ์สิทธ์ิ ก. พระปิลินทวัจฉะ ข. พระมหากสั สปะ ค. พระมหาปนั ถก ง. พระราธะ ๓๕. ขอ้ ใดไมเ่ ก่ียวข้องกบั พระกมุ ารกสั สปะ ข. พระราชาชบุ เลี้ยง ก. บวชแต่เด็ก ง. เปน็ ธรรมกถึก ค. แม่เป็นภิกษณุ ี ๓๖. ใครตดั สนิ อธกิ รณ์เรอื่ งภิกษณุ มี ารดาของพระกุมารกัสสปะ ก. พระมหากสั สปะ ข. พระสารบี ุตร ค. พระอบุ าลี ง. พระอานนท์ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ช้นั โท วชิ าอนุพุทธประวัติ

31 ๓๗. พระสาวกรูปใดชำ�นาญในการระลึกรอู้ ดตี ชาติ ข. พระโสภิตะ ก. พระพากุละ ง. พระโมคคลั ลานะ ค. พระรัฐบาล ๓๘. พระมหากัปปินะก่อนบวชมีฐานะเปน็ อะไร ข. อำ�มาตย์ ก. ปโุ รหิต ง. กษตั ริย์ ค. พ่อคา้ ๓๙. พระสาวกรปู ใดอยู่ในครรภ์มารดาถึง ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน ก. พระราหลุ ข. พระสวี ลี ค. พระพากลุ ะ ง. พระกงั ขาเรวตะ ๔๐. ใครบรรลพุ ระอรหันต์แต่ยังไมท่ ันบวชกน็ พิ พาน ข. พระกังขาเรวตะ ก. พระมหากัจจายนะ ง. พระสวี ลี ค. พระพาหิยะ แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ชัน้ โท วิชาอนพุ ุทธประวตั ิ

32 เฉลยแบบทดสอบวดั ผลการเรียนรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่ี ๑ รู้และเข้าใจเหน็ ความสำ�คญั ประวตั พิ ทุ ธสาวก ขอ้ ก ง ๓๑ ค ขอ้ ข้อ ขอ้ ค ๓๒ ก ๑ ค ๑๑ ค ๒๑ ค ๓๓ ก ๒ ก ๑๒ ค ๒๒ ก ๓๔ ง ๓ ค ๑๓ ง ๒๓ ข ๓๕ ค ๔ ข ๑๔ ข ๒๔ ข ๓๖ ข ๕ ก ๑๕ ค ๒๕ ก ๓๗ ง ๖ ก ๑๖ ข ๒๖ ข ๓๘ ข ๗ ก ๑๗ ก ๒๗ ก ๓๙ ค ๘ ข ๑๘ ข ๒๘ ข ๔๐ ๙ ง ๑๙ ค ๒๙ ๑๐ ค ๒๐ ข ๓๐ แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ช้นั โท วิชาอนุพทุ ธประวตั ิ

33 ใบความรูท้ ี่ ๑ พระอัญญาโกณฑญั ญะ และพระอุรเุ วลกสั สปะ ๑. พระอัญญาโกณฑญั ญะ พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาล คือพราหมณ์ผู้มีลูกศิษย์มาก ในบ้านช่ือ โทณวัตถุ ไม่ห่างไกลจาก กรุงกบิลพัสด์ุ เดิมท่านชื่อว่า โกณฑัญญะ เมื่อเจริญวัยได้ศึกษาจนจบไตรเพท และรู้ตำ�ราทำ�นายลกั ษณะ เปน็ ๑ ในจำ�นวนพราหมณ์ ๘ คน มีอายุน้อยกวา่ เพอ่ื น ได้ทำ�นายเจ้าชายสทิ ธตั ถะ วา่ จะเสด็จออกทรงผนวชตรัสรู้เปน็ พระพุทธเจ้าเปน็ ศาสดาเอกในโลก เมอื่ เจา้ ชายสิทธัตถะประสตู ไิ ด้ ๕ วนั พระเจ้าสุทโธทนะไดเ้ ชญิ พราหมณ์ ๑๐๘ คน มารับประทาน อาหาร เพ่ือเป็นมงคลและทำ�นายลักษณะพระราชโอรสตามราชประเพณีแล้วได้คัดเลือกพราหมณ์ ๘ คน จากจำ�นวน ๑๐๘ คนนั้น ให้เป็นผู้ทำ�นายลักษณะพระราชกุมาร โกณฑัญญะซึ่งเป็นพราหมณ์หนุ่มที่สุด ไดร้ ับคดั เลอื กอยูใ่ นจ�ำ นวน ๘ คนนน้ั ด้วย พราหมณ์ ๗ คน ไดท้ ำ�นายพระราชกุมารวา่ มคี ติ ๒ อยา่ ง คือ ๑. ถ้าอยคู่ รองเรอื น จะได้เปน็ พระเจ้าจกั รพรรดิ ๒. ถ้าเสดจ็ ออกผนวช จะไดต้ รัสรู้เปน็ พระเจ้าพุทธเจา้ เปน็ ศาสดาเอกในโลก ฝ่ายโกณฑญั ญะพราหมณ์ มีความมัน่ ใจในต�ำ ราท�ำ นายลักษณะของตน ไดท้ �ำ นายไว้อย่างเดยี ววา่ พระราชกมุ ารจะเสดจ็ ออกทรงผนวชและจะไดต้ รสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ เปน็ ศาสดาเอกในโลกแนน่ อน ตงั้ แตน่ นั้ มา โกณฑญั ญะพรามหณ์ไดต้ ง้ั ใจไวว้ า่ ถ้าตนยงั มีชวี ิตอยู่ เจา้ ชายสทิ ธัตถะเสดจ็ ออกบวชเมอื่ ไร จะออกบวชตาม ต่อมาเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกทรงผนวชและบำ�เพ็ญทุกรกิริยาอยู่ ท่านทราบข่าว จึงได้ชักชวน พราหมณอ์ ีก ๔ คน คือ ๑. วปั ปะ ๒. ภทั ทยิ ะ ๓. มหานามะ ๔. อสั สชิ ซงึ่ ลว้ นแต่เปน็ บตุ รของพรามหณ์ ในจำ�นวน ๑๐๘ คน ที่ได้รับเชิญไปรับประทานอาหารในพระราชพิธีนำ�นายพระลักษณะของพระกุมาร ทง้ั สิ้น รวมเปน็ ๕ คนด้วยกัน เรยี กวา่ ปญั จวคั คยี ์ แปลวา่ กลุ่มคน ๕ คน ได้ตดิ ตามรับใช้ใกล้ชิดดว้ ยคิดว่า ถา้ พระองคไ์ ดบ้ รรลธุ รรมวเิ ศษแลว้ จะไดเ้ ทศนาสง่ั สอนพวกตนใหไ้ ดบ้ รรลธุ รรมนน้ั บา้ ง แตพ่ อเหน็ พระสทิ ธตั ถะ เลิกบำ�เพ็ญทุกรกิริยาเสีย ก็หมดความเล่ือมใส พาเพ่ือนทั้งหมดไปอยู่ท่ีป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมือง พาราณสี ครั้นพระสิทธัตถะโพธิสัตว์ได้ตรัสรู้แล้วเสด็จไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวันทรงแสดงธัมมจัก- กปั ปวตั นสตู รอนั เปน็ ปฐมเทศนา แกป่ ญั จวคั คยี ์ โกณฑญั ญะไดธ้ รรมจกั ษุ คอื ดวงตาเหน็ ธรรมตามทเ่ี ปน็ จรงิ วา่ สงิ่ ใดสิง่ หน่งึ มีความเกดิ ขนึ้ เปน็ ธรรมดา ส่งิ นนั้ ทัง้ หมด มีความดบั เป็นธรรมดา แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชั้นโท วิชาอนุพุทธประวัติ

34 ท่านได้บรรลุโสดาปัตติผล เพราะเกิดธรรมจักษุนี้ พระพุทธองค์ทรงทราบ จึงทรงเปล่งอุทานว่า อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญโฺ ญ แปลวา่ โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ๆ เพราะอาศัยคำ�วา่ อญฺญาสิ ท่านจึงได้ค�ำ น�ำ หนา้ นาม วา่ อญั ญาโกณฑญั ญะ เม่ือโกณฑญั ญะไดเ้ หน็ ธรรม บรรลุธรรม รูธ้ รรม หมดความสงสยั ในคำ�สอนของพระพทุ ธเจ้าแลว้ จึงได้ทูลขออุปสมบทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์พึงได้อุปสมบทในสำ�นักของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระพุทธองค์ได้ตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวไว้ดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพ่ือ ทำ�ท่ีสุดทุกข์โดยชอบเถิด การอุปสมบทอย่างนี้เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ท่านได้เป็นภิกษุรูปแรกใน พระพทุ ธศาสนา ครน้ั พระพทุ ธองค์ทรงสง่ั สอนปญั จวคั คยี ์อีก ๔ ทา่ นใหไ้ ด้ดวงตาเหน็ ธรรม คือบรรลุโสดาบันแลว้ ทรงประทานอุปสมบทด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทาเช่นเดียวกัน วันหนึ่งตรัสเรียกท้ัง ๕ รูปมาตรัสสอนว่า ดูกร ภกิ ษทุ ง้ั หลาย รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณเปน็ อนตั ตาไมใ่ ชเ่ ปน็ อตั ตา เพราะถา้ เปน็ อตั ตาแลว้ ไซร้ ก็จะไมเ่ ปน็ ไปเพือ่ อาพาธ (เจ็บป่วย) และตอ้ งไดต้ ามปรารถนาว่า ขอจงเป็นอย่างน้ี จงอยา่ เปน็ อย่างนนั้ แตเ่ พราะทงั้ ๕ นนั้ เปน็ อนตั ตา ใคร ๆ จงึ ไมไ่ ดต้ ามปรารถนาของตนวา่ ขอจงเปน็ อยา่ งนี้ จงอยา่ เปน็ อยา่ งนนั้ ท้ัง ๕ รปู ไดเ้ หน็ ดว้ ยปญั ญาตามความเปน็ จริงว่า รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ ทกุ ชนดิ ไมใ่ ช่ ของเราเราไมใ่ ชส่ ง่ิ นน้ั และสงิ่ นน้ั กไ็ มใ่ ชต่ วั ของเรา จงึ เบอ่ื หนา่ ยในรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ เมื่อหน่ายยอ่ มหมดกำ�หนดั ครงั้ หมดกำ�หนดั ย่อมหลุดพ้น ท้ัง ๕ รูปจงึ ไดบ้ รรลอุ รหตั ผล พระธรรมเทศนาน้ี ช่อื ว่า อนัตตลกั ขณสตู ร พระอญั ญาโกณฑญั ญะ เปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั รปู หนงึ่ ในการชว่ ยประกาศพระศาสนา เพราะอยใู่ นจ�ำ นวน พระอรหนั ต์ ๖๐ รูป ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงสง่ ไปประกาศพระศาสนาครั้งแรกดว้ ยพระพุทธดำ�รสั วา่ ดกู อ่ นภกิ ษุ ทั้งหลาย เธอท้ังหลายจงเท่ียวจาริกไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล เพ่ือความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ ชาวโลก เพือ่ ประโยชน์เกื้อกูล เพือ่ ความสุข แกเ่ ทวดาและมนุษย์ทง้ั หลาย ผลงานที่สำ�คัญของท่านคือ ทำ�ให้นายปุณณะ บุตรของนางมันตานี ผู้เป็นหลานชายได้บวชใน พระพทุ ธศาสนา ซง่ึ ต่อมาได้เป็นกำ�ลังส�ำ คัญในการชว่ ยประกาศพระศาสนา มกี ุลบตุ รบวชในสำ�นักของทา่ น จำ�นวนมาก พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้รับการยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะ ผู้ยอดเยี่ยมกว่าพระทั้งหลาย ผรู้ ตั ตัญญู แปลว่า ผ้รู รู้ าตรีนาน หมายความว่า รู้เรื่องเกา่ แก่ทีล่ ่วงเลยมานานน่ันเอง ท่านมีอายุมากจนชราแล้ว ดับขันธปรินิพพานก่อนพระพุทธเจ้าที่ริมฝ่ังสระบัวมนทากินี ซ่ึงเป็น ทอ่ี ยู่ของหมูช่ า้ งฉันทันต์ ในปา่ หิมพานต์ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ช้นั โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

35 ๒. พระอรุ เุ วลกัสสปะ พระอรุ เุ วลกสั สปะ เกดิ ในสกลุ พราหมณก์ สั สปโคตร มนี อ้ งชาย ๒ คน ชอื่ นทกี สั สปะและคยากสั สปะ เม่ือเจริญวัยท่านได้เรียนจบไตรเพท ตามลทั ธิและประเพณพี ราหมณ์ อรุ ุเวลกัสสปะมบี ริวาร ๕๐๐ คน พาน้องชาย ๒ คน และบริวาร รวมทั้งหมด ๑,๐๐๐ คน ออกบวช เป็นชฎลิ บำ�เพญ็ พรตด้วยการบูชาไฟ ต้ังอาศรมอยู่ท่ตี ำ�บลอุรเุ วลา แควน้ มคธ จงึ ได้ชื่อว่า อุรุเวลกัสสปะ พระพุทธเจ้าทรงดำ�ริว่า ควรจะนำ�อุรุเวลกัสสปะผู้มีอายุมาก เป็นที่นับถือของมหาชน ไปเป็น กำ�ลงั ในการประกาศพระศาสนาในแควน้ มคธ เพราะท่านเปน็ ทีน่ ับถือของชนในแควน้ นน้ั มาช้านาน จงึ เสด็จ พระองค์เดียวไปยังอุรุเวลานิคม ตรัสขอพำ�นักอาศัยในอาศรมของอุรุเวลกัสสปชฎิล ตอนแรก ๆ ไม่ยอมให้ ทรงพำ�นัก แต่ถูกพระพุทธเจ้าทรงทรมานด้วยอภินิหารต่าง ๆ จนเห็นว่าลัทธิของตนไม่มีสาระก็เกิดความ สลดใจ ละลทั ธนิ ัน้ เสยี พากนั ลอยบริขารแห่งชฎิลในแมน่ าํ้ ทลู ขอบวชพระพรอ้ มท้งั บริวาร ๕๐๐ คน เมื่ออรุ ุเวลกัสสปะพร้อมทง้ั บริวาร ลอยบริขารและเครื่องบูชาไฟไปในแมน่ ้าํ น้องชายทง้ั สองทราบ จงึ มาขอบวชในส�ำ นกั ของพระพทุ ธเจา้ พรอ้ มกบั บรวิ ารทง้ั หมด พระพทุ ธเจา้ ทรงประทานเอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา ให้ แล้วทรงพาภิกษุ ๑,๐๐๓ รูปนั้น เสด็จไปยังคยาสีสะตำ�บล ประทับนั่งบนแผ่นหิน ทรงให้ภิกษุท้ังหมด นัน้ ด�ำ รงอยใู่ นอรหตั ผลดว้ ย อาทติ ตปริยายเทศนา ใจความยอ่ แหง่ อาทิตตปริยายเทศนาว่า ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจเปน็ ของร้อน รอ้ นเพราะอะไร รอ้ นเพราะไฟคือราคะ ไฟคอื โทสะ ไฟคือโมหะ รอ้ นเพราะความเกดิ เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความเศร้าโศก เพราะความครํ่าครวญ เพราะความทุกข์ เพราะความโทมนสั เพราะความคับแค้นใจ พระอุรุเวลกัสสปะเป็นกำ�ลังสำ�คัญย่ิงในการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในแคว้นมคธ ตาม ตำ�นานเล่าว่า พระพุทธเจ้าทรงพาภิกษุ ๑,๐๐๓ รูปนั้น เสด็จไปถึงเมืองราชคฤห์ ประทับท่ีสวนตาลหนุ่ม ชื่อลัฏฐิวัน พระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าแผ่นดินแคว้นมคธทรงทราบข่าว จึงพร้อมด้วยข้าราชบริพาร เสด็จพระราชดำ�เนินไปเฝ้า พระพุทธองค์ทอดพระเนตรเห็นข้าราชบริพารของพระเจ้าพิมพิสาร มีกิริยา อาการไม่อ่อนน้อม จึงตรัสส่ังให้พระอุรุเวลากัสสปะ ประกาศให้คนเหล่าน้ันทราบว่า ลัทธิของท่านไม่มี แก่นสาร ท่านได้ทำ�ตามพระพุทธดำ�รัส คนเหล่านั้นทราบว่า ลัทธิของท่านไม่มีแก่นสาร ท่านได้ทำ�ตาม พระพุทธดำ�รัส คนเหล่าน้ันสิ้นความสงสัย ต้ังใจฟังพระเทศนาอนุปุพพิกถา และอริยสัจ ๔ เวลาจบเทศนา พระเจา้ พิมพิมสารพร้อมด้วยบริวาร ๑๑ สว่ น ไดด้ วงตาเหน็ ธรรม คือบรรลโุ สดาปตั ตผิ ล อกี ๑ สว่ น ดำ�รง อย่ใู นสรณคมน์ พระอุรุเวลกัสสปะ ได้เป็นกำ�ลังใหญ่ในการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในแคว้นมคธ รู้จัก เอาใจบริษัทจึงมีบริวารถึง ๕๐๐ คน ฉะน้ันจึงได้รับยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะ ผู้เลิศกว่าภิกษุท้ังหลายผู้มี บริวารมาก ท่านด�ำ รงชีพอย่พู อสมควรแก่กาลแล้ว ก็ดับขนั ธปรนิ ิพพาน แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชนั้ โท วชิ าอนพุ ทุ ธประวัติ

36 ใบความรู้ท่ี ๒ พระสารบี ตุ ร และพระโมคคลั ลานะ ๓. พระสารีบุตร พระสารีบตุ ร เกดิ ในบา้ นชือ่ วา่ นาลกะ หรอื นาลันทา ไม่ห่างไกลจากกรุงราชคฤห์ บิดาชื่อว่า วังคันตพราหมณ์ มารดาชื่อว่า นางสารีพราหมณี เดิมท่านช่ือว่า อุปติสสะ เมื่อมาบวชในพุทธศาสนา เพอื่ นพรหมจารเี รยี กท่านวา่ พระสารีบตุ ร เพราะเปน็ บตุ รนางสารี พระคันถรจนาจารย์พรรณนาว่า อุปติสสมาณพนั้น เป็นบุตรแห่งสกุลผู้บริบูรณ์โดยโภคสมบัติ และบริวาร ได้เป็นผู้เรียนรู้ศิลปศาสตร์ ได้เป็นมิตรชอบพอกันกับโกลิตมาณพ โมคคัลลาโคตร ผู้มีอายุ ร่นุ ราวคราวเดยี วกัน เปน็ บุตรแห่งสกุลผู้มั่งคัง่ เหมอื นกันมาแต่ยงั เยาว์ สองสหายน้ัน ไดเ้ คยไปเทย่ี วดกู ารเลน่ ในกรงุ ราชคฤหด์ ว้ ยกนั เนอื ง ๆ เมอ่ื ดอู ยนู่ น้ั ยอ่ มรา่ เรงิ ในควรรา่ เรงิ สลดใจในทคี่ วรสลดใจ ใหร้ างวลั ในทค่ี วรให้ วันหน่งึ สองสหายน้ัน ชวนกันไปดกู ารเล่นเหมือนอยา่ งแตก่ อ่ น แตไ่ ม่รา่ เริงเหมอื นในวนั กอ่ น ๆ โกลิตะถาม อปุ ตสิ สะว่า ดูทา่ นไม่สนุกเหมอื นในวันอืน่ วันนีด้ ูใจเศรา้ ท่านเปน็ อยา่ งไรหรือ โกลติ ะตอบวา่ อะไรท่ีควรดู ในการเล่นนี้มีหรือ คนเหล่าน้ีทั้งหมดยังไม่ทันถึง ๑๐๐ ปี ก็จะไม่มีเหลือ จะล่วงไปหมด ดูการเล่นไม่มี ประโยชน์อะไร ควรขวนขวายหาธรรมเคร่อื งพน้ ดีกวา่ ข้านง่ั คดิ อยู่อยา่ งนี้ สว่ นเจา้ เล่า เปน็ อยา่ งไร อุปติสสะ กล่าวว่า ข้าก็คิดเหมือนอย่างนั้น สองสหายนั้นมีความเห็นร่วมกันอย่างน้ันแล้ว พาบริวารไปขอบวชอยู่ใน สำ�นักสัญชัยปริพาชกเรียนลัทธิของสัญชัยได้ทั้งหมดแล้ว อาจารย์ให้เป็นผู้ช่วยสั่งสอนหมู่ศิษย์ต่อไป สองสหายนั้น ยังไม่พอใจในลัทธิของครนู นั้ จงึ นัดหมายกันวา่ ใครไดโ้ มกขธรรม จงบอกแกก่ นั ครนั้ พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั รแู้ ลว้ ทรงแสดงธรรมสง่ั สอนประชมุ ชน ประกาศพระพทุ ธศาสนา เสดจ็ มาถงึ กรุงราชคฤห์ ประทับอยู่ ณ วัดเวฬุวัน วันหน่ึง พระอัสสชิ ผู้นับเข้าในพระปัญจวัคคีย์ อันพระพุทธเจ้า ทรงสง่ ใหจ้ ารกิ ไปประกาศพทุ ธศาสนากลบั มาเฝา้ เขา้ ไปบณิ ฑบาตในกรงุ ราชคฤหอ์ ปุ ตสิ สปรพิ าชก เดนิ มาจาก สำ�นักของปริพาชกได้เห็นท่านมีอาการน่าเล่ือมใส จะก้าวไปถอยกลับแลเหลียว คู้แขนเหยียดแขนเรียบ ทุกอิริยาบถ ทอดจักษุแต่พอประมาณ มีอาการแปลกจากบรรพชิตในคร้ังนั้น อยากจะทราบความว่า ใครเปน็ ศาสดาของทา่ นแตย่ งั ไม่อาจถาม ด้วยเห็นวา่ เปน็ กาลไม่ควร ท่านยงั เที่ยวไปบณิ ฑาตอยู่ จึงตดิ ตามไป ขา้ งหลงั ครั้นเหน็ ท่านกลบั จากบณิ ฑบาตแล้ว จึงเข้าไปใกล้ พดู ปราศรยั แล้ว ถามวา่ ผ้มู อี ายุ อนิ ทรีย์ของท่าน หมดจดผ่องใส ท่านบวชจำ�เพาะใคร ใครเป็นศาสดาผู้สอนของท่าน ท่านชอบใจธรรมของใคร พระเถระ ตอบว่า ผู้มีอายุ เราบวชจำ�เพาะพระมหาสมณะผู้เป็นโอรสศากยราชออกจากศากยสกุลท่านน้ันเป็นศาสดา ของเรา เราชอบใจธรรมของท่านนั้น ปริพาชกถามต่อไปว่า พระศาสดาของท่านส่ังสอนอย่างไร พระเถระ ตอบว่า ผู้มีอายุ เราเป็นผู้ใหม่ บวชยังไม่นาน เพ่ิงมายังพระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านโดย กว้างขวาง เราจะกล่าวความแก่ท่านแต่โดยย่อพอรู้ความ ปริพาชกจึงขอให้ท่านแสดงตามความสามารถ จะน้อยหรือมากกต็ าม พระอสั สชิ จึงกล่าวคาถาวา่ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้นั โท วชิ าอนุพทุ ธประวตั ิ

37 ธรรมเหล่าใด มีเหตเุ ปน็ แดนเกดิ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหลา่ นน้ั และเหตุแห่งความดับของธรรมเหลา่ น้นั พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้ อุปติสสปริพาชกได้ฟังเพียง ๒ บทเท่านั้นก็ดำ�รงอยู่ในโสดาปัตติผล แล้วถามพระเถระว่า พระศาสดาของเราประทับอยู่ท่ีไหน พระเถระตอบว่า ผู้มีอายุ พระศาสดาประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน ปริพาชก กล่าวว่า ถ้าอย่างนั้นพระผู้เป็นเจ้าไปก่อนเถิด กระผมจะกลับไปบอกสหาย จะพากันไปเฝ้าพระศาสดา คร้ันพระเถระไปแล้ว ก็กลับมาสำ�นักของปริพาชก บอกข่าวท่ีได้ไปพบพระอัสสชิให้โกลิตปริพาชกทราบ แลว้ แสดงธรรมนัน้ ให้ฟงั โกลติ ปริพาชกกไ็ ด้ดวงตาเหน็ ธรรมเหมือนอุปตสิ สะ แลว้ ชวนกันไปเฝ้าพระพทุ ธเจ้า จึงไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์เดิม สัญชัยห้ามไว้ อ้อนวอนให้อยู่หลายครั้งก็ไม่ฟัง พาบริวารไปวัดเวฬุวัน เฝ้าพระพุทธเจ้า ทลู ขออปุ สมบท พระองคท์ รงอนญุ าตใหเ้ ป็นภกิ ษุด้วยกันทง้ั สิ้น ในภกิ ษุเหลา่ น้นั ภกิ ษผุ ู้เปน็ บริวารได้ส�ำ เร็จอรหัตผลกอ่ นในไมช่ า้ ฝา่ ยพระโมคคลั ลานะ อุปสมบท ได้ ๗ วนั จึงไดส้ �ำ เรจ็ อรหตั ผล ฝา่ ยพระสารบี ตุ รหลงั จากบวชแลว้ ได้ ๑๕ วนั เขา้ ไปอาศยั อยใู่ นถา้ํ สกุ รขาตาแหง่ เดยี วกบั พระพทุ ธเจา้ ขณะกำ�ลังถวายงานพัดเพ่ือปรนนิบัติอยู่เป็นเวลาเดียวกับพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมช่ือว่า เวทนา ปริคคหสูตร แกฑ่ ฆี นขปริพาชกผ้เู ปน็ หลานชายของท่าน ได้ส่งญาณไปตามกระแสแห่งพระธรรม ก็ไดบ้ รรลุ อรหัตผลเหมือนผู้บริโภคอาหารที่เขาตักให้คนอื่น ส่วนฑีฆนขปริพาชก เป็นแต่ได้ดวงตาเห็นธรรม สิ้นความ เคลอื บแคลงสงั สัยในพระพทุ ธศาสนา ทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนาและแสดงตนเป็นอุบาสก พระสารีบุตรน้ันเป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด ได้เป็นกำ�ลังสำ�คัญของพระพุทธเจ้าในการสอน พระศาสนา พระองค์ทรงยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะ ผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายทางปัญญา เป็นผู้สามารถ แสดงธรรมจักรและอริยสัจ ๔ ให้กว้างขวางพิสดารเหมือนกับพระองค์ ถ้ามีภิกษุมาทูลลาจะเที่ยวจาริก ไปทางไกลมักตรัสให้ไปลาพระสารีบุตรก่อน เพ่ือท่านจะได้สั่งสอนเธอทั้งหลาย เช่นคร้ังหน่ึง พระพุทธเจ้า ประทบั อย่เู มืองเทวทหะ ภิกษุเป็นอนั มากเข้าไปเฝา้ พระองค์ ทูลลาจะไปปัจฉาภมู ิชนบท พระองคต์ รัสถามว่า ทา่ นทงั้ หลายบอกสารบี ตุ รแลว้ หรอื ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ทลู วา่ ยงั ไมไ่ ดบ้ อก จงึ ตรสั สงั่ ใหไ้ ปลาพระสารบี ตุ ร แลว้ ทรง ยกยอ่ งวา่ พระสารบี ุตรเป็นผมู้ ปี ัญญา อนุเคราะห์เพอ่ื นบรรพชติ ภกิ ษุเหล่านนั้ กไ็ ปลาตามรบั สง่ั พระพุทธเจ้าตรัสยกย่องพระสารีบุตรเป็นคู่กับพระโมคคัลลานะ ดังตรัสกับภิกษุท้ังหลายว่า ภิกษุท้ังหลาย ท่านทั้งหลายคบกับสารีบุตรและโมคัลลานะเถิด เธอเป็นผู้มีปัญญา อนุเคราะห์สพรหมจารี เพอ่ื นบรรพชติ ทง้ั หลาย สารบี ตุ รเปรยี บเหมอื นมารดาผใู้ หเ้ กดิ โมคคลั ลานะเปรยี บเหมอื นนางนมผเู้ ลย้ี งทารก ทีเ่ กดิ แล้วน้ัน สารบี ุตรย่อมแนะน�ำ ให้ตง้ั อยู่ในโสดาปตั ตผิ ล โมคคลั ลานะย่อมแนะน�ำ ใหต้ ั้งอยใู่ นคุณเบ้อื งบน ทีส่ งู กว่านน้ั มีคำ�เรียกยกย่องพระสารีบุตรอีกอย่างหนึ่งว่า พระธรรมเสนาบดี น้ีเป็นคำ�เลียนมาจากคำ�เรียก แม่ทัพ ดังจะกลับความให้ตรงกันข้าม กองทัพอันทำ�ยุทธ์ยกไปถึงไหน ย่อมแผ่อนัตถะถึงน่ัน กองพระสงฆ์ ผ้ปู ระกาศพระศาสนา ไดช้ ่ือวา่ ธรรมเสนา กองทัพฝ่ายธรรมหรอื ประกาศธรรมจาริกไปถงึ ไหน ยอ่ มแผ่หติ สุข ถึงน่ัน พระพุทธเจา้ เป็นจอมธรรมเสนา เรียกว่าพระธรรมราชา พระสารบี ุตรเปน็ ก�ำ ลงั สำ�คัญของพระพุทธเจ้า ในภารธุระน้ี ไดส้ มญาวา่ พระธรรมเสนาบดี นายทัพฝ่ายธรรม แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชนั้ โท วิชาอนุพทุ ธประวตั ิ

38 พระสารบี ุตรนน้ั ปรากฏโดยความเป็นผ้กู ตญั ญู ทา่ นได้ฟงั ธรรมอนั พระอัสสชแิ สดง ได้ธรรมจกั ษุ แลว้ มาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ดังกล่าวแล้วในหนหลงั ต้ังแตน่ นั้ มา ทา่ นนับถือพระอัสสชิเปน็ อาจารย์ มีเร่ืองเลา่ ว่า พระอัสสชิอยู่ในทิศใด เมื่อท่านจะนอน นมัสการไปทางทิศนั้นก่อน และนอนหันศีรษะไปทาง ทิศนั้น ภิกษุผู้ไม่รู้เรื่อง ย่อมสำ�คัญว่า ท่านนอบน้อมทิศตามลัทธิของพวกมิจฉาทิฏฐิ ความทราบถึง พระพุทธเจ้า ตรัสแก้ว่า ท่านมิได้นอบน้อมทิศ ท่านนมัสการพระอัสสชิผู้เป็นอาจารย์ แล้วประทาน พระพุทธานุศาสนีวา่ พุทธมามกะ รู้แจ้งธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจา้ แสดงแล้วจากทา่ นผู้ใด ควรนมัสการ ทา่ นผนู้ น้ั โดยเคารพ เหมอื นพราหมณ์บชู ายัญอันเนอ่ื งดว้ ยเพลิง อกี เรอ่ื งหน่ึงว่า มพี ราหมณผ์ หู้ นง่ึ ช่ือราธะ ปรารถนาจะอุปสมบท แต่เพราะเป็นผู้ชราเกินไป ภิกษุท้ังหลายไม่รับอุปสมบทให้ ราธะเสียใจ เพราะไม่ได้ สมปรารถนา มีร่างกายซูบซีดผิวพรรณไม่สดใส พระพุทธเจ้าทอดพระเนตรเห็นผิดปกติไป ตรัสถาม ทราบความแล้ว ตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า มีใครระลึกถึงอุปการะของราธะได้บ้าง พระสารีบุตรกราบทูลว่า ทา่ นระลกึ ไดอ้ ยู่ ครงั้ หนง่ึ ทา่ นเขา้ ไปบณิ ฑบาตในกรงุ ราชคฤหร์ าธะไดถ้ วายภกิ ษาแกท่ า่ นทพั พหี นง่ึ พระพทุ ธเจา้ ตรัสสรรเสริญว่า ท่านเป็นผู้กตัญญูดีนัก อุปการะเพียงเท่าน้ีก็ยังจำ�ได้ จึงตรัสให้ท่านรับบรรพชาอุปสมบท ราธพราหมณ์ ทา่ นบวชได้ ๔๕ พรรษา ทลู ลาพระพทุ ธเจา้ ไปโปรดมารดาทบี่ า้ นเกดิ ใหม้ ารดาไดบ้ รรลโุ สดาปตั ตผิ ล แล้ว ใกล้รุ่งวันเพ็ญเดือน ๑๒ ก็ดับขันธปรินิพพาน รุ่งขึ้น พระจุนทะน้องชายได้ทำ�ฌาปนกิจ เก็บอัฐิธาตุ ไปถวายพระพทุ ธเจ้า ณ วดั พระเชตวนั กรงุ สาวตั ถี ทรงโปรดให้กอ่ พระเจดีย์บรรลุอฐั ธิ าตไุ ว้ ณ ทนี่ น้ั ๔. พระโมคคลั ลานะ พระโมคคัลลานะ เป็นบุตรพราหมณ์ผู้เป็นนายบ้านผู้หนึ่ง ผู้โมคคัลลานโคตร และนางโมคคัลลี ชื่อน้ีน่าจะเรียกตามสกุล เกิดในบ้านโกลิตคาม ไม่ห่างไกลจากกรุงราชคฤห์ มีระยะทางพอไปมาถึงกัน กับบ้านสกุลแห่งพระสารีบุตร ท่านช่ือ โกลิตะ มาก่อน อีกอย่างหน่ึง เขาเรียกตามโคตรว่า โมคคัลลานะ เมื่อท่านมาอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้แล้ว เขาเรียกท่านว่า โมคคัลลานะ ช่ือเดียว จำ�เดิมแต่ยังเยาว์ จนเจริญวัยได้เป็นมิตรผู้ชอบกันกับพระสารีบุตร มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน มีสกุลเสมอกัน ได้ศึกษา ศิลปะศาสตรด์ ว้ ยกันมา ไดอ้ อกบวชเปน็ ปริพาชกด้วยกนั ได้เข้าอุปสมบทในพระธรรมวินยั นี้ด้วยกนั จ�ำ เดมิ แตท่ ่านไดอ้ ปุ สมบทในพระธรรมวนิ ยั นไี้ ด้ ๗ วนั ไปท�ำ ความเพยี รอยทู่ บ่ี ้านกลั ลวาลมตุ ตคาม แควน้ มคธ อ่อนใจนง่ั โงกงว่ งอยู่ พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปทน่ี ัน้ ทรงแสดงอุบายสำ�หรบั ระงับความโงกง่วง ๘ อย่าง คือ ๑. มีสัญญาอย่างไร ความงว่ งนน้ั ย่อมครอบง�ำ ได้ ควรท�ำ ในใจถึงสญั ญานน้ั ใหม้ าก ๒. ควรตรกึ ตรองพิจารณาถงึ ธรรม อันตนไดฟ้ ังแล้วและไดเ้ รียนแลว้ อย่างไร ด้วยนา้ํ ใจของตน ๓. ควรสาธยายธรรมอนั ตนได้ฟงั และไดเ้ รยี นแล้วอยา่ งไร โดยพิสดาร ๔. ควรยอนชอ่ งหูทง้ั ๒ ขา้ ง และลบู ตวั ด้วยฝา่ มอื ๕. ควรลุกขน้ึ ยืน แล้วลบู นัยน์ตาดว้ ยนา้ํ เหลยี วดูทิศท้งั หลาย แหงนดูดาวนักษัตรฤกษ์ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้ันโท วิชาอนพุ ุทธประวตั ิ

39 ๖. ควรทำ�ในใจถึงอาโลกสัญญา คือความสำ�คัญในแสงสว่าง ตั้งความสำ�คัญว่ากลางวันไว้ในจิต ให้เหมือนกันท้ังกลางวันกลางคนื มใี จเปดิ เผยฉะนี้ ไมม่ อี ะไรหมุ้ ห่อ ท�ำ จิตอนั มีแสงสวา่ งให้เกิด ๗. ควรอธิษฐานจงกรม ก�ำ หนดหมายเดนิ กลับไปกลับมา ส�ำ รวมอนิ ทรีย์ มีจิตไม่คดิ ไปภายนอก ๘. ควรสำ�เร็จสีหไสยาสน์ คือนอนตะแคงข้างเบื้องขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะ ท�ำ ความหมายในอันจะลุกข้ึนไว้ในใจ พอตนื่ แล้วรีบลุกขนึ้ ด้วยความตงั้ ใจวา่ เราจะไม่ประกอบสขุ ในการนอน เราจะไมป่ ระกอบสุขในการเอนหลัง เราจะไม่ประกอบสขุ ในการเคลิม้ หลบั และทรงสอนให้สำ�เหนียกใจอย่างนี้ว่า เราจะไม่ชูงวง คือถือตัวเข้าไปสู่สกุล เพราะว่า ถ้าภิกษุ ชูงวงเข้าไปสู่สกุล ถ้ากิจการในสกุลนั้นมีอยู่ อันเป็นเหตุท่ีมนุษย์เขาไม่นึกถึงภิกษุผู้มาแล้ว ภิกษุก็อาจคิดว่า เด๋ียวน้ใี ครหนอยยุ งใหเ้ ราแตกรา้ วกบั สกลุ น้ี เดี๋ยวนดี้ มู นษุ ยพ์ วกนม้ี อี าการอดิ หนาระอาใจในเรา เพราะไม่ได้ อะไร เธอก็จะมีความเก้อ ครั้นเก้อก็จะเกิดความคิดฟุ้งซ่านแล้วก็จะเกิดความไม่สำ�รวม ครั้นไม่สำ�รวมแล้ว จิตก็จะห่างจากสมาธิ หลังจากนั้นทรงสอนให้ไม่พูดคำ�อันเป็นเหตุเถียงกัน ถือผิดต่อกัน เพราะว่าเมื่อคำ� อันเป็นเหตุเถียงกัน ถือผิดต่อกันมีข้ึนก็จำ�ต้องหวังความพูดมาก เมื่อความพูดมากมีขึ้นก็จะเกิดความคิด ฟุ้งซา่ น คร้นั คิดฟุ้งซ่านแล้วก็จะเกิดความไม่ส�ำ รวม ครั้นไม่ส�ำ รวมแล้วจิตกจ็ ะหา่ งจากสมาธิ และทรงสอนต่อไปวา่ เราสรรเสริญความคลุกคลีด้วยประการทั้งปวงหามิได้ แต่มิใช่ไม่สรรเสริญ ความคลกุ คลีดว้ ยประการทง้ั ปวงเลย คือไม่สรรเสรญิ ความคลกุ คลดี ว้ ยหมชู่ น ทง้ั คฤหัสถ์ท้ังบรรพชิต ก็แต่วา่ เสนาสนะทนี่ อนทนี่ งั่ อนั ใดเงยี บเสยี งออ้ื องึ ปราศจากลมแตค่ นเดนิ เขา้ ออก ควรเปน็ ทป่ี ระกอบกจิ ของผตู้ อ้ งการ ท่สี งัด ควรเปน็ ท่ีหลกี เรน้ อยตู่ ามสมณวิสยั ทรงสรรเสริญความคลกุ คลีเสนาสนะเห็นปานนนั้ เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างนี้แล้ว พระโมคคัลลานะกราบทูลถามว่า โดยย่อด้วยข้อปฏิบัติ เพียงเท่าไร ภิกษุช่ือว่าน้อมไปแล้วในธรรมท่ีสิ้นตัณหา มีความสำ�เร็จล่วงส่วน เกษมจากโยคธรรมล่วงส่วน เป็นพรหมจารีบุคคลล่วงส่วน มีที่สุดล่วงส่วน ประเสริฐสุดกว่าเทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย พระพุทธเจ้า ตรสั ตอบวา่ โมคคลั ลานะ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นไ้ี ดส้ ดบั วา่ บรรดาธรรมทง้ั ปวงไมค่ วรยดึ มน่ั ครนั้ ไดส้ ดบั ดงั นแ้ี ลว้ เธอทราบธรรมทั้งปวงชัดด้วยปัญญาอันยิ่ง คร้ันทราบธรรมทั้งปวงชัดด้วยปัญญาอันย่ิงน้ันแล้ว ย่อมกำ�หนด รู้ธรรมทั้งปวง คร้ันกำ�หนดรู้ธรรมท้ังปวงดังนั้นแล้ว เธอได้เสวยเวทนาอย่างใดอย่างหน่ึง เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ ดี มิใช่ทุกข์มิใช่สุขก็ดี เธอพิจารณาเห็นว่าไม่เท่ียง พิจารณาเห็นด้วยปัญญาเป็นเคร่ืองหน่าย เป็นเครื่องดับ เป็นเคร่ืองสละคืนในเวทนาท้ังหลายน้ัน เม่ือพิจารณาเห็นดังนั้น ย่อมไม่ยึดม่ันสิ่งอะไร ๆ ในโลก เม่ือไม่ยึด มัน่ ยอ่ มไมส่ ะด้งุ หวาดหวนั่ เมื่อไม่สะดุง้ หวาดหวน่ั ย่อมดบั กเิ ลสใหส้ งบจำ�เพาะตน และทราบชัดวา่ ชาตสิ ิ้น แลว้ พรหมจรรยไ์ ดอ้ ย่จู บแลว้ กิจท่ีจ�ำ ตอ้ งท�ำ ได้ทำ�เสรจ็ แลว้ กจิ อื่นท่ตี ้องทำ�อยา่ งนอ้ี กี มิไดม้ ี โดยยอ่ ดว้ ยข้อ ปฏิบตั เิ พยี งเท่าน้ี ภิกษชุ ่ือว่า นอ้ มไปแล้วในธรรมทส่ี ้นิ ตัณหา มีความส�ำ เรจ็ ลว่ งสว่ น เกษมจากโยคธรรมล่วง สว่ น เปน็ พรหมจารบี คุ คลลว่ งสว่ น มที ส่ี ดุ ลว่ งสว่ น ประเสรฐิ สดุ กวา่ เทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย พระโมคคลั ลานะ ปฏบิ ัตติ ามพระพุทธโอวาทที่พระพทุ ธองค์ทรงสั่งสอน ก็ไดส้ ำ�เร็จอรหตั ผลในวนั น้ัน แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ โท วิชาอนุพทุ ธประวตั ิ

40 พระพุทธเจ้า ทรงยกย่องพระโมคคัลลานะเป็นคู่กับพระสารีบุตรในอันอุปการะภิกษุผู้เข้ามา อุปสมบทใหม่ในพระธรรมวินัย อีกประการหนึ่ง ทรงยกย่องพระโมคคัลลานะว่า เป็นเอตทัคคะ ผู้เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลายทางมีฤทธิ์ ฤทธ์ินี้หมายเอาคุณสมบัติเป็นเคร่ืองสำ�เร็จแห่งความปรารถนา สำ�เร็จด้วยความ อธิษฐาน คือตั้งมั่นแห่งจิต ผลที่สำ�เร็จด้วยอำ�นาจฤทธิ์น้ัน ท่านแสดงล้วนแต่พ้นวิสัยของมนุษย์ สามารถ จาริกเที่ยวไปในสวรรค์ ถามเทวบุตรบ้าง เทวธิดาบ้าง ถึงความได้สมบัติในท่ีน้ันด้วยกรรมอะไร ได้รับบอก แล้วกลับลงมาเลา่ ในมนุษยโลก อีกทางหนึ่ง เท่ียวจาริกไปในเปตโลกหรือในนิรยาบาย พบสัตว์ได้เสวยทุกข์ มปี ระการตา่ ง ๆ ถามถงึ กรรมทไ่ี ดท้ �ำ ในหนหลงั ไดค้ วามแลว้ น�ำ มาเลา่ ในมนษุ ยโลก อกี ประการหนง่ึ พระพทุ ธเจา้ โปรดเวไนยนกิ รแตถ่ า้ เปน็ ผดู้ รุ า้ ย จะตอ้ งทรมานใหส้ ิ้นพยศก่อน ตรสั ใช้พระโมคคัลลานะให้เปน็ ผูท้ รมาน พระโมคคัลลานะ สามารถชี้แจงส่ังสอนบรษิ ัทให้เหน็ บาปบญุ คณุ โทษโดยประจกั ษช์ ดั แก่ใจ ดุจว่า ได้ไปเห็นมาต่อตาแล้วนำ�มาบอกเล่า การทรมานเวไนยผู้มีทิฏฐิมานะให้ละพยศ จัดว่าเป็นอสาธารณคุณ ไมม่ แี กพ่ ระสาวกทวั่ ไป การทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงยกยอ่ งพระโมคคลั ลานะวา่ เปน็ เอตทคั คะในฝา่ ยสาวกผมู้ ฤี ทธนิ์ นั้ ประมวลเข้ากับการท่ีทรงยกย่องพระสารีบุตรว่า เป็นเอตทัคคะในฝ่ายภิกษุผู้มีปัญญา พระโมคคัลลานะ เป็นกำ�ลังสำ�คัญของพระพุทธเจ้าในอันยังการที่ทรงพระพุทธดำ�ริไว้ให้สำ�เร็จ พระพุทธเจ้าได้สาวกผู้มีปัญญา เปน็ ผ้ชู ่วยด�ำ ริการ และได้สาวกผสู้ ามารถยงั ภารธุระท่ดี ำ�รแิ ล้วน้นั ใหส้ �ำ เร็จ พระโมคคัลลานะนนั้ เขา้ ใจในการนวกรรมดว้ ย พระพุทธเจา้ จึงไดโ้ ปรดให้เปน็ นวกมั มาธิฏฐายี คือ ดแู ลการก่อสรา้ งวดั บพุ พาราม ณ กรงุ สาวตั ถี ที่นางวสิ าขาสรา้ ง พระโมคคัลลานะ ปรนิ พิ พานกอ่ นพระพทุ ธเจา้ มเี ร่อื งเล่าว่าถกู ผรู้ ้ายฆ่า ในคราวทพี่ ระเถรอยู่ ณ ตำ�บลกาฬสิลา แคว้นมคธ พวกเดียรถีย์ปรึกษากันว่า พระโมคคัลลานะเป็นกำ�ลังใหญ่ของพระสมณโคดม สามารถนำ�ข่าวในสวรรค์และนรกมาแจ้งแก่มนุษย์ชักนำ�ให้เล่ือมใส ถ้ากำ�จัดพระโมคคัลลานะเสียได้แล้ว ลัทธิฝ่ายตนจะรุ่งเรืองขึ้น จึงจ้างผู้ร้ายให้ลอบฆ่าพระโมคคัลลานะเสีย ใน ๒ คราวแรก พระโมคคัลลานะ หนไี ปเสีย ผรู้ ้ายทำ�อันตรายไม่ได้ ในคราวที่ ๓ ทา่ นพจิ ารณาเหน็ กรรมตามทนั จงึ ไม่หนี ผรู้ า้ ยทุบตจี นแหลก สำ�คัญว่าถึงมรณะแล้ว นำ�สรีระไปซ่อนไว้ในสุมทุมแห่งหน่ึงแล้วหนีไป ท่านยังไม่ถึงมรณะ เยียวยาอัตภาพ ด้วยกำ�ลังฌานไปเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลลาแล้วจึงกลับมาปรินิพพาน ณ ที่เดิม ในวันแรม ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๒ หลังพระสารีบตุ รคร่ึงเดือน พระพุทธเจ้าได้เสด็จไปทำ�ฌาปนกิจแล้ว รับส่ังให้เก็บอัฐิธาตุไปก่อเจดีย์ บรรจุไว้ใกล้ซุ้มประตู วัดเวฬวุ ัน กรงุ ราชคฤห์ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ชัน้ โท วชิ าอนุพุทธประวตั ิ

41 ใบความร้ทู ่ี ๓ พระมหากสั สปะและพระมหากจั จายนะ ๕. พระมหากสั สปะ พระมหากัสสปะ เปน็ บุตรกปิลพราหมณ์กสั สปโคตร เกดิ ในบา้ นมหาตฏิ ฐะ แคว้นมคธ เดมิ ชอ่ื วา่ ปปิ ผลิ เรยี กช่อื ตามโคตรว่า กสั สปะ พระมหากสั สปะ เปน็ บตุ รพราหมณม์ หาศาล บิดาและมารดาจงึ ตอ้ งการ ผสู้ บื เชอ้ื สายวงศ์ตระกลู ไดจ้ ดั การใหแ้ ต่งงานกบั หญงิ สาวธดิ าพราหมณช์ ่อื ภทั ทกาปลิ านี ในขณะทที่ ่านมอี ายุ ได้ ๒๐ ปี นางภัททกาปิลานมี ีอายไุ ด้ ๑๖ ปี แต่เพราะท้ังคู่จุติมาจากพรหมโลก และบ�ำ เพ็ญเนกขัมมบารมมี า จงึ ไมย่ นิ ดเี รอื่ งกามารมณเ์ หน็ โทษของการครองเรอื นวา่ ตอ้ งคอยเปน็ ผรู้ บั บาปจากการกระท�ำ ของผอู้ น่ื ในทส่ี ดุ ทง้ั สองไดต้ ดั สนิ ใจออกบวชโดยการยกทรพั ยส์ มบตั ทิ ง้ั หมดใหแ้ กญ่ าตแิ ละบรวิ าร พวกเขาไดไ้ ปซอ้ื ผา้ กาสาวพสั ตร์ สะพายบาตรเดินจากตลาด ต่างฝ่ายต่างปลงผมไม่เห็นแก่กันเสร็จแล้วครองผ้ากาสาวพัสตร์สะพายบาตร ลงจากปราสาทไปอย่างไม่มีความอาลัย เมื่อปิปผลิและภัททกาปิลานีเดินทางไปด้วยกันได้ระยะหนึ่งแล้ว ปรกึ ษากนั วา่ การปฏบิ ตั เิ ชน่ นี้ ท�ำ ใหผ้ พู้ บเหน็ ตเิ ตยี นได้ เปน็ การไมส่ มควร จงึ ไดแ้ ยกทางกนั นางภทั ทกาปลิ านี ไปถงึ ส�ำ นกั นางภกิ ษณุ ีแหง่ หนงึ่ แล้วบวรเปน็ ภิกษณุ ภี ายหลงั ไดบ้ รรลุเปน็ พระอรหตั ผล วันหน่ึง ท่านปิปผลิได้พบพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใต้ร่มไทรเรียกว่าพหุปุตตกนิโคตธ ในระหว่าง กรุงราชคฤห์และเมืองนาลันทาต่อกัน มีความเล่ือมใส รับเอาพระพุทธเจ้าเป็นศาสดาของตน พระองค์ ทรงรบั เปน็ ภกิ ษใุ นพระวนิ ัยน้ี แล้วประทานโอวาท ๓ ข้อวา่ กสั สปะทา่ นพงึ ศกึ ษาวา่ เราจะไปตงั้ ความละอายและความเกรงไวใ้ นภกิ ษุทง้ั ทเ่ี ปน็ ผเู้ ฒา่ ทงั้ ทเี่ ปน็ ผู้ใหม่ ท้งั ท่เี ปน็ กลางเป็นอยา่ งแรงกลา้ ดังนข้ี อ้ หนึง่ เราจะฟงั ธรรมอนั ใดอนั หนง่ึ ซง่ึ ประกอบดว้ ยกศุ ล เราจะเงย่ี หลู งฟงั ธรรมนนั้ พจิ ารณาเนอ้ื ความ ดังน้ขี ้อหนงึ่ เราจะไมล่ ะสติท่ไี ปในกาย คือพจิ ารณาร่างกายเป็นอารมณ์ ดังนขี้ อ้ หนึง่ ครั้นพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนพระมหากัสสปะอย่างน้ีแล้ว เสด็จหลีกไป พระมหากัสสปะได้ฟัง พุทธโอวาททรงสง่ั สอนแล้ว บ�ำ เพ็ญเพยี รไมช่ ้านัก ในวันท่ี ๘ แต่อุปสมบท ได้สำ�เร็จพระอรหนั ต์ พระมหากสั สปะนน้ั โดยปกตถิ อื ธดุ งค์ ๓ อยา่ ง คอื ถอื ทรงผา้ บงั สกุ ลุ จวี รเปน็ วตั ร ถอื เทย่ี วบณิ ฑบาต เป็นวัตร ถืออยู่ปา่ เป็นวัตร พระพุทธเจา้ ทรงยกย่องวา่ เป็นเอตทัคคะ ผู้เลิศกว่าภิกษุท้ังหลายผู้ทรงธุดงค์ คร้ังหนึ่งท่านเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าที่เวฬุวัน พระองค์ตรัสแก่ท่านว่า กัสสปะเดี๋ยวน้ีท่านแก่แล้ว ผ้าป่าน บังสุกุลจีวรท่ีนุ่งห่มของท่านน้ีหนักนัก ท่านจงทรงจีวรที่ท่านคฤหบดีถวายเถิด จงฉันโภชนะในท่ีนิมนต์เถิด และจงอยู่ในท่ีใกล้เราเถดิ ท่านทูลวา่ ทา่ นเคยอยู่ในปา่ เท่ียวบณิ ฑบาต ทรงผา้ บังสุกุลจีวร ใช้แต่ผา้ ๓ ผนื มีความปรารถนาน้อยสันโดษ ชอบเงียบสงัด ไม่ชอบระคนด้วยหมู่ ปรารภความเพียรและพูดสรรเสริญคุณ เช่นน้ันมานานแล้ว พระพุทธเจ้าตรัสถามว่า กัสสปะท่านเห็นประโยชน์อะไร จึงประพฤติตนเช่นน้ัน และ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชน้ั โท วชิ าอนุพุทธประวตั ิ

42 สรรเสรญิ ความเปน็ เช่นนัน้ ท่านทลู วา่ เห็นอ�ำ นาจประโยชน์ ๒ อยา่ ง คอื การอยเู่ ปน็ สขุ ในบดั นขี้ องตนด้วย อนเุ คราะหป์ ระชมุ ชนในภายหลงั ดว้ ย ประชมุ ชนในภายหลงั ทราบวา่ สาวกของพระพทุ ธเจา้ ทา่ นประพฤตติ น อย่างน้ัน จะถึงทิฏฐานุคติ ปฏิบัติตามที่ตนได้เห็นได้ยิน ความปฏิบัตินั้น จะเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่เขา ส้ินกาลนาน พระพุทธเจ้าประทานสาธุการว่า ดีละ ดีละ กัสสปะ ท่านปฏิบัติเพื่อประโยชน์และสุขแก่ชน เปน็ อันมาก ท่านจงทรงผา้ บังสุกลุ จีวรของท่านเถดิ จงเทีย่ วบิณฑบาตเถิด จงอยใู่ นปา่ เถดิ นอกจากนี้ พระมหากัสสปะ ยงั มคี ุณธรรมที่พระพทุ ธเจ้าทรงยกย่องอีกหลายอยา่ งคอื ทรงเปลย่ี น สงั ฆาฏกิ นั ใช้ โดยตรสั วา่ มธี รรมเปน็ เครอ่ื งเสมอกนั และสรรเสรญิ วา่ เปน็ ผมู้ กั นอ้ ย สนั โดษ ภกิ ษอุ นื่ ๆ ควรถอื เปน็ ตวั อย่างกสั สปะประพฤติตนเป็นคนใหม่ ไม่คะนองวาจาใจในบังสกลุ เป็นนติ ย์จิตไม่ขอ้ งในสกุลนัน้ ๆ เพิกเฉย ตงั้ จิตเปน็ กลางกสั ปะมจี ติ ประกอบไปดว้ ยเมตตา กรุณา แสดงธรรมแกผ่ ู้อืน่ ทรงสงั่ สอนภกิ ษอุ ืน่ ให้ประพฤตดิ ี ทรงยกเอาพระมหากัสสปะเป็นตัวอย่างในคราวท่ีพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ท่านพำ�นักอยู่ที่นครปาวา หาได้ ตามเสดจ็ จารกิ ด้วยไม่ ทา่ นระลกึ ถงึ พระพุทธเจา้ เดินทางมาจากนครปาวากบั บรวิ าร พักอยู่ตามทาง พบชีวก ผู้หน่ึงเดินสวนทางมา ถามข่าวแห่งพระพุทธเจ้า ได้รับบอกว่าปรินิพพานเสียแล้วได้ ๗ วัน ในพวกภิกษุ ผบู้ รวิ าร จ�ำ พวกทย่ี งั ตดั อาลยั มไิ ด้ กร็ อ้ งไหร้ �ำ พนั ถงึ จ�ำ พวกทต่ี ดั อาลยั ไดแ้ ลว้ กป็ ลงธรรมสงั เวช มวี ฒุ บรรพชติ คือภิกษุบวชตอนแก่รูปหน่ึง ช่ือสุภัททะ กล่าวห้ามภิกษุทั้งหลายว่า อย่าเศร้าโศกร้องไห้เลย พระศาสดา ปรินิพพานเสียได้เป็นดี พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ ย่อมรับส่ังห้ามไม่ให้ทำ�การบางอย่าง และให้ทำ�การ บางอยา่ งทไ่ี มพ่ อใจเรา ตงั้ แตน่ ต้ี อ่ ไป เราพน้ แลว้ จากผบู้ งั คบั ปรารถนาจะท�ำ การใด ไมท่ �ำ กไ็ ด้ พระมหากสั สปะ ร�ำ พึงว่า เพยี งพระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานแล้วได้ ๗ วนั เทา่ นั้นเอง ยังมภี กิ ษุผไู้ มห่ นักในพระสัทธรรม กลา้ กล่าว จ้วงจาบได้ถึงเพียงน้ี กาลนานล่วงไปไกล จะมีสักเพียงไร ท่านใส่ใจคำ�ของพระสุภัททวุฒบรรพชิตไว้แล้ว ให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์สมควรแก่เร่ืองแล้ว พาบริวารเดินทางต่อ ถึงกุสินารานครตอนบ่ายวันถวายพระเพลิง ท่านไดถ้ วายบงั คมพระพทุ ธสรรี ะ พระมหากสั สปะ เป็นพระสงั ฆเถระอย่ใู นเวลาน้นั พอถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแลว้ ได้ ๗ วัน ท่านประชุมสงฆ์เล่าถึงกาลท่ีท่านเดินทางมาจากปาวานครเพื่อจะเฝ้าพระพุทธเจ้า ได้ทราบข่าวปรินิพพาน ในกลางทาง มพี ระภกิ ษุบางพวกร้องไหอ้ าลัยถงึ สภุ ัททวฒุ บรรพชิตกล่าวหา้ มด้วยค�ำ อยา่ งไร และท่านร�ำ พึง เห็นอย่างไร ยกเรื่องน้ีข้ึนเป็นเหตุชักชวนภิกษุสงฆ์เพ่ือทำ�สังคายนา รวบรวมพระธรรมวินัย ต้ังไว้เป็น แบบฉบับ เพ่ือสมกับพระพุทธพจน์ที่ได้ประทานไว้เมื่อคร้ังปรินิพพานว่า ธรรมก็ดี วินัยก็ดี อย่างใด อันเรา แสดงไวแ้ ล้ว ไดบ้ ญั ญตั ไิ ว้แลว้ ธรรมวินัยน้นั จักเปน็ ศาสดาของท่านทัง้ หลาย ในเมือ่ เราลว่ งไปแล้ว พระสงฆ์ เห็นชอบตามค�ำ แนะน�ำ ของทา่ น มอบธุระใหท้ ่านเปน็ ผเู้ ลือกภกิ ษทุ ้งั หลาย ผ้สู ามารถจะท�ำ การสงั คายนานัน้ พระเถระจึงได้คัดเลือกรวมพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ร้อยกรองพระธรรมวินัย ที่ถํ้าสตตบรรคูหา แห่งเวภารบรรพต กรุงราชคฤห์ ได้พระอุบาลีเป็นผู้วิสัชนาพระวินัย ได้พระอานนท์เป็นผู้วิสัชนาพระสูตร อภิธรรม โดยมีพระเจ้าอาชาตศัตรูเป็นศาสนูปถัมภ์ ทำ�อยู่ ๗ เดือนจำ�เสร็จ แล้วอยู่ประจำ�ที่วัดเวฬุวัน ปฏบิ ตั ธิ รรมอยู่เป็นนติ ย์ ดบั ขันธป์ รนิ ิพพาน ณ ระหวา่ งกลางกุกกฏุ สมั ปาตบรรพตท้งั ๓ ลกู ในกรงุ ราชคฤห์ นบั อายทุ า่ นไดป้ ระมาณ ๑๒๐ ปี แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นโท วชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ

43 ๖. พระมหากจั จายนะ พระมหากัจจายนะ เป็นบุตรของพราหมณ์ปุโรหิต กัจจายนโคตร ของพระเจ้าจัณฑปัชโชติ ในกรุงอุชเชนี เดิมช่ือว่า กัญจนะ เพราะมีผิวกายเหมือนทองคำ� แต่คนทั่วไปเรียกตามโคตรว่า กัจจานะ หรือกัจจายนะ เมื่อเจริญวัยได้ศึกษาจบไตรเพท ได้รับตำ�แหน่งปุโรหิตแทนบิดาในคราวพุทธุปบาทกาล พระเจา้ จณั ฑปชั โชตไิ ดท้ รงสดบั วา่ พระพทุ ธเจา้ ตรสั รแู้ ลว้ ทรงสงั่ สอนประชมุ ชน ธรรมทท่ี รงแสดงนนั้ เปน็ ธรรม อันแท้จริง ให้สำ�เร็จประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติตาม มีพระราชประสงค์ใคร่ที่จะเชิญเสด็จพระพุทธเจ้ามาประกาศ พระศาสนาที่กรุงอุชเชนี จึงตรัสกัจจายนปุโรหิตไปเชิญเสด็จ กัจจายนปุโรหิตทูลลาจะบวชด้วย คร้ันทรง อนุญาติแล้ว ออกจากกรุงอุชเชนีพร้อมด้วยบริวาร ๗ คน มาถึงที่ประทับของพระพุทธเจ้าแล้ว เข้าไปเฝ้า ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนา บรรลุอรหัตผลพรอ้ มท้ัง ๘ คนแล้ว ทูลขออุปสมบท พระพทุ ธเจา้ ทรงอนญุ าตให้เป็น ภิกษุ ท่านทูลเชิญเสด็จไปกรุงอุชเชนี ตามพระราชประสงค์ของพระเจ้าจัณฑปัชโชติ พระพุทธเจ้ารับสั่งว่า ท่านไปเองเถิด เม่ือท่านไปแล้ว พระเจ้าแผ่นดินจักทรงเลื่อมใส ท่านถวายบังคมลา พาภิกษุบริวาร ๗ รูป กลับไปกรุงอุชเชนี ประกาศพระพุทธศาสนาให้พระเจ้าจัณฑปัชโชติและชาวพระนครเล่ือมใสแล้ว กลับมา สำ�นกั พระพทุ ธเจ้า พระมหากัจจายนะนั้น เป็นผู้ฉลาดในการอธิบายความแห่งคำ�ท่ีย่อให้พิสดาร พระพุทธเจ้า ทรงยกยอ่ งว่า เปน็ เอตทัคคะ เป็นผ้เู ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลายผอู้ ธบิ ายความย่อใหพ้ สิ ดาร วนั หน่ึง พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงธรรมว่า ผู้มีปัญญา ไม่ควรตามคิดถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรจะมุ่งหมายส่ิงท่ียังมาไม่ถึง เพราะว่า ส่ิงที่ล่วงไปแล้ว ส่ิงนั้นก็ละเสียแล้ว สิ่งใดยังมาไม่ถึงแล้ว สิ่งนั้นก็ยังไม่ได้มาถึง ผู้ใดเห็นแจ้งในพระธรรม ทเ่ี กดิ ขึน้ จำ�เพราะหน้าในท่นี ั้น ๆ ในกาลน้ัน ๆ ไม่ง่อนแงน่ ไม่คลอนแคลน ครัน้ รธู้ รรมน้ันแลว้ พึงให้ธรรมนั้น เจรญิ เนอื ง ๆ ความเพยี รควรท�ำ เสยี ในวนั นแี้ ล ใครเลา่ จะพงึ รวู้ า่ ความตายจะมตี อ่ พรงุ่ นี้ เพราะวา่ ความผดั เพยี้ น ต่อมฤตยรู าชท่มี ีเสนาใหญ่ ไม่มเี ลย ผูร้ ทู้ เี่ ปน็ คนสงบระงบั ย่อมกล่าวสรรเสริญผมู้ คี วามเพียร ไมเ่ กียจครา้ น ท้ังกลางวันกลางคืน อยูด่ ้วยความไม่ประมาท อย่างนว้ี ่า ผ้มู ีราตรเี ดียวเจริญ ครั้นตรัสอย่างนีแ้ ล้ว เสด็จลกุ เข้า วิหารท่ีประทับ ภิกษุทั้งหลายไม่ได้ช่องเพ่ือจะกราบทูลถามความแห่งคำ�ท่ีตรัสโดยย่อให้เข้าใจกว้างขวาง เห็นความสามารถของพระกัจจายนะ จึงไปหา อาราธนาให้ท่านอธิบาย ท่านอธิบายให้ภิกษุเล่านั้นฟัง โดยพิสดาร แล้วกลา่ วว่าถ้าทา่ นทงั้ หลายไม่เข้าใจ กจ็ งเข้าไปเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ทลู ถามความน้ันเถดิ พระองค์ ทรงแกอ้ ยา่ งไร จงจ�ำ ไวอ้ ยา่ งนน้ั เถดิ ภกิ ษเุ ลา่ นนั้ ลาพระกจั จายนะกลบั มา เขา้ ไปเฝา้ พระพทุ ธเจ้า ทลู ความนน้ั ใหท้ รงทราบ พระองคต์ รสั สรรเสรญิ พระกัจจายนะวา่ ภกิ ษทุ ้งั หลาย แมเ้ ราก็คงแก้เหมือนกจั จายนะแกแ้ ล้ว อย่างนั้น ความของธรรมที่เราแสดงแลว้ โดยย่อน้ัน อย่างนัน้ ท่านทัง้ ปวงจำ�ไว้เถดิ พระกัจจายนะเปน็ ผู้ฉลาด ในการอธบิ ายคำ�ท่ียอ่ ใหก้ ว้างขวาง พระพทุ ธเจา้ ทรงสรรเสรญิ ในทางน้ัน มดี งั น้เี ป็นตัวอยา่ ง ครง้ั หนงึ่ พระกจั จายนะ อย่นู ะเขาโกรก คอื มีทางข้ึนด้านหนึ่ง อีกด้านหน่ึงเปน็ โกรก อีกนัยหน่ึง วา่ อยู่ ณ ภูเขาชื่อปวตั ตะ แขวงเมอื งกุรรฆระ ในอวนั ตชี นบท อุบาสกคนหนึ่งชื่อ โสณกุฏกิ ัณณะผู้อุปฏั ฐาก ของทา่ นปรารถนาจะบวช ไดอ้ ้อนวอนขอใหท้ ่านสงเคราะหเ์ นือง ๆ มา ในท่สี ดุ ทา่ นรับบรรพชาให้ ในคร้งั นัน้ พระพทุ ธเจ้าประทานพุทธานญุ าต ให้พระสงฆ์เป็นเจา้ หนา้ ท่รี ับอุปสมบทคนผู้ขอเขา้ คณะแล้ว สงฆ์มีจ�ำ นวน ภกิ ษุ ๑๐ รูป ท่เี รียกว่า ทสวรรค จึงให้อปุ สมบทได้ในอวนั ตที ักขณิ าชนบทมภี ิกษุนอ้ ยกวา่ พระมหากจั จายนะ จะชุมนุมภิกษุเข้าเป็นสงฆ์ทสวรรคอุปสมบทโสภณสามเณรได้ ต้องใช้เวลาถึงสามปี ด้วยเหตุน้ี เมื่อ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชั้นโท วิชาอนุพทุ ธประวัติ