Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพศศึกษาแบบองค์รวม

เพศศึกษาแบบองค์รวม

Description: เพศศึกษาแบบองค์รวม

Search

Read the Text Version

เพศศกึ ษาแบบองค์รวม สนุ ิสา วงศอ์ ารยี ์ ปร.ด. (การวิจยั พฤตกิ รรมศาสตรป์ ระยุกต์) คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 2561

(1) คำนำ เอก สารคาสอ น ฉบั บ นี้ จัด ท าขึ้น เพื่ อป ระก อบ ก ารจัด การเรียน รู้ใน รายวิชา เพศศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Sex Education) รหัสวิชา ED 15401 สาหรับนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ผู้เขียนได้รวบรวมเน้ือหาเกี่ยวกับ เพศศึกษาแบบองค์รวม ที่ครอบคลุม คาอธิบายรายวิชาและความจาเป็นสาหรับนักศึกษาครู ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาสาระท้ังหมด 7 บท ได้แก่ แนวคิดเก่ียวกับเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของมนุษย์ สุขภาพทางเพศ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ ทักษะส่วนบุคคลที่เก่ียวข้องกับเพศศึกษา และสังคมและวัฒนธรรมท่ีมีผลกระทบ ต่อเพศวิถี ซ่ึงการจัดทาเอกสารคาสอนฉบับน้ี ผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตารา ผลงานวิจัย และจากประสบการณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแล้วนามาเรียบเรียง เพอ่ื ให้นักศึกษา ได้นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอน และคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพครู ในภายภาคหนา้ หลงั จากสาเร็จการศึกษาแลว้ ขอขอบพระคุณเจ้าของผลงานทุกท่าน ท่ีผู้เขียนได้นามาอ้างอิงไว้ในเอกสารคาสอนเล่มนี้ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ให้คาแนะนาในการพัฒนา เอกสารคาสอน ให้มีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องที่ช่วยให้เอกสารคาสอนเล่มนี้สาเร็จ ออกมาได้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารคาสอนเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจเก่ียวกับ เพศศึกษาแบบองค์รวม และช่วยให้เกิดความเข้าใจในวิชาการแขนงน้ีเพิ่มมากขึ้น หากมีสิ่งใดที่เป็น ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาและปรบั ปรงุ ผู้เขียนขอน้อมรับดว้ ยความยินดแี ละเปน็ พระคณุ อยา่ งยิ่ง สนุ สิ า วงศอ์ ารีย์ พฤษภาคม 2561

(3) สารบญั หน้า คำนำ......................................................................................................................................... (1) สำรบญั ...................................................................................................................................... (3) สำรบญั ภำพ.............................................................................................................................. (9) สำรบัญตำรำง........................................................................................................................... (11) แผนบรหิ ำรกำรสอนประจำวิชำ................................................................................................ (13) แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1 ........................................................................................ 1 บทที่ 1 แนวคิดเก่ียวกบั เพศศกึ ษา.......................................................................................... 5 5 ควำมหมำยของเพศ..............……………………………………………………………………………. 7 บทบำทของเพศ………………..............................................……………………………………. 9 ประวัตคิ วำมเปน็ มำของกำรศกึ ษำเรือ่ งเพศ......…………………………………………………… 11 ควำมหมำยของเพศศึกษำ…………………...…………………………………………………………… 13 ควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งเพศศกึ ษำกบั เพศศำสตร์……………...…………………………………… 14 ขอบขำ่ ยของเพศศกึ ษำ................................................................................................ 15 ควำมหมำยของกำรสอนเพศศึกษำ.............................................................................. 16 ควำมสำคัญของกำรสอนเพศศึกษำ............................................................................ 18 ควำมจำเปน็ ของกำรสอนเพศศึกษำ............................................................................ 19 20 สิทธิในควำมมอี ิสระในเร่อื งเพศ.....................……………………………………………….. 21 ควำมรับผิดชอบในเรอ่ื งเพศ...........................……………………………………………….. 22 จดุ มงุ่ หมำยของกำรสอนเพศศึกษำ.............................................................................. 23 ประโยชนข์ องกำรสอนเพศศกึ ษำ................................................................................ 47 สถำบนั ที่มบี ทบำทในกำรสอนเพศศึกษำ.................................................................... 49 บทสรปุ ........................................................................................................................ 50 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “ตุ๊กตำล้มลกุ ”............................................................................ 52 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “เสน้ ชีวิต”.................................................................................. 53 คำถำมท้ำยบท............................................................................................................. เอกสำรอ้ำงอิง.............................................................................................................

(4) สารบญั (ตอ่ ) หน้า แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 ........................................................................................ 55 บทท่ี 2 พัฒนาการทางเพศของมนุษย์.................................................................................... 59 59 ควำมหมำยของพฒั นำกำรทำงเพศ………......................................................…………… 59 เปำ้ หมำยของพัฒนำกำรทำงเพศ.........................................................…………………… 60 ทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกับเพศ………….....................................................................………… 62 พัฒนำกำรทำงเพศในวัยต่ำง ๆ .......................................................……..……………… 71 ระบบสบื พนั ธุข์ องเพศชำยและเพศหญิง...................................................................... 78 กำรเปลี่ยนแปลงและกำรพฒั นำลักษณะทำงเพศ........................................................ 80 กำรเปลย่ี นแปลงทำงเพศในวยั รนุ่ ชำย..................................................………………….. 80 กำรเปล่ียนแปลงทำงเพศในวัยรุ่นหญงิ ........................................................................ 82 แนวปฏิบัติอยำ่ งเหมำะสมกบั กำรเปลย่ี นแปลงของวัยรุน่ …………...……………………….. 83 กำรปฏสิ นธกิ ำเนดิ ชวี ติ ................................................................................................ 90 ภำพลกั ษณข์ องวัยรุ่น.................................................………………………………………….. 99 บทสรุป........................................................................................................................ 100 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “ร่ำงกำยของฉนั ” (กำรเปลย่ี นแปลงในช่วงวัยรนุ่ )....................... 102 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ กรณีศึกษำ “แนนกับบอย”......................................................... 104 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “เส้นสมมติ”................................................................................. 106 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ หนงั สนั้ “แบบทดสอบ (A Test Kit)”.......................................... 107 คำถำมทำ้ ยบท............................................................................................................. 108 เอกสำรอ้ำงอิง............................................................................................................. แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 ........................................................................................ 109 บทที่ 3 สุขภาพทางเพศ.......................................................................................................... 113 113 ควำมหมำยของสุขภำพทำงเพศ.................................................................................. 114 ควำมสำคัญของสุขภำพทำงเพศ.................................................................................. 114 กำรปฏิบตั ติ นเพ่อื สุขภำพทำงเพศของวยั รุน่ ................................................................ 116 สขุ ปฏบิ ัติเก่ยี วกบั อวัยวะเพศ…………………………………………………………………………….

(5) สารบญั (ตอ่ ) หน้า กำรดแู ลรกั ษำควำมสะอำดอวยั วะเพศ........................................................................ 121 กำรคมุ กำเนิด.............................................................................................................. 127 โรคตดิ ต่อทำงเพศสมั พนั ธ์……………................................................……………………….. 136 ควำมรู้เกี่ยวกบั เชอ้ื เอชไอวีและโรคเอดส์..................................................................... 143 บทสรุป........................................................................................................................ 147 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “สะอำด สดใส ปลอดภัย”.......................................................... 149 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “ท้องไหม แบบนี้”...................................................................... 151 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “แลกนำ้ ”................................................................................... 154 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “ระดับควำมเส่ยี ง QQR”........................................................... 158 คำถำมท้ำยบท............................................................................................................. 162 เอกสำรอำ้ งองิ ............................................................................................................. 163 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 4 ........................................................................................ 165 บทที่ 4 สัมพนั ธภาพทางเพศ.................................................................................................. 169 169 ควำมหมำยของสัมพันธภำพทำงเพศ……………………..........................…………………….. 170 ควำมสำคญั ของสัมพนั ธภำพทำงเพศ………………...............................…………………….. 171 ลกั ษณะของสัมพันธภำพทำงเพศ………………...............................………………………….. 172 ปจั จัยท่สี นับสนนุ ใหเ้ กดิ สัมพันธภำพทำงเพศ……………….............………………………….. 174 หลักพน้ื ฐำนในกำรสรำ้ งสมั พันธภำพทำงเพศ……………............…………………………….. 174 อำรมณ์และควำมรู้สกึ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับสมั พนั ธภำพทำงเพศ…………………………..……….. 177 ขน้ั ตอนกำรพฒั นำสัมพันธภำพทำงเพศ……………….....................………………………….. 181 สัมพันธภำพในกำรวำงตวั ……………………...................………………………………………….. 183 ควำมขดั แยง้ ในสมั พันธภำพทำงเพศ..........................………………………………………….. 185 กำรสมรสหรือกำรแต่งงำน.........................................………………………………………….. 193 บทสรุป........................................................................................................................ 195 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “รกั ออกแบบได้”......................................................................... 196 กจิ กรรมกำรเรียนรู้ สถำนกำรณ์จำลอง“สลับบทบำท”.............................................

(6) สารบญั (ตอ่ ) หนา้ กิจกรรมกำรเรียนรู้ “นิยำมและควำมคำดหวัง”.......................................................... 198 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ กำรจดั กำรควำมสมั พนั ธ์ “อุบตั ิเหตรุ ัก”..................................... 200 คำถำมท้ำยบท............................................................................................................. 202 เอกสำรอ้ำงอิง............................................................................................................. 203 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 5 ........................................................................................ 205 บทที่ 5 พฤติกรรมทางเพศ...................................................................................................... 209 209 จติ วิทยำกบั กำรกำหนดลักษณะทำงเพศของวยั รนุ่ ………………..........…………………….. 210 กำรเกิดอำรมณท์ ำงเพศของวัยรุ่น………………....................................…………………….. 217 กำรแสดงออกทำงเพศ................................................................................................. 219 อทิ ธิพลท่ีมีผลตอ่ พฤติกรรมทำงเพศ............................................................................ 220 กำรตอบสนองทำงเพศและกำรมเี พศสัมพนั ธ์.............………………………………………….. 229 วยั รุ่นกบั เพศสมั พันธ์………………..................................................………………………….. 235 ควำมรบั ผิดชอบทำงเพศ...............……....……...............................………………………….. 238 ลักษณะพฤตกิ รรมกำรแสดงออกทำงเพศที่เหมำะสม…...............………………………….. 240 บทสรุป........................................................................................................................ 241 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “เลีย้ งเด็ก”................................................................................. 242 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “คดิ อยำ่ งไร”.............................................................................. 244 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “จุดยนื ”..................................................................................... 247 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “คำพิพำกษำ”............................................................................ 249 คำถำมทำ้ ยบท............................................................................................................. 250 เอกสำรอำ้ งอิง............................................................................................................. แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 6 ........................................................................................ 251 บทที่ 6 ทักษะส่วนบคุ คลท่เี ก่ียวข้องกบั เพศศึกษา................................................................. 255 255 กำรตระหนกั ในคณุ คำ่ ของตนเอง................................................................................ 263 ทกั ษะกำรสอ่ื สำร..............................………………...............................……………………..

(7) สารบญั (ตอ่ ) หน้า ทกั ษะกำรตดั สินใจ……………….....................................................………………………….. 270 ทกั ษะกำรต่อรอง......................................................................................................... 278 ทักษะกำรปฏเิ สธ......................................................................................................... 280 กลไกในกำรปอ้ งกันตวั ทำงเพศ.................................................................................... 284 กำรแสวงหำควำมชว่ ยเหลือจำกผู้อน่ื เมื่อเกิดปัญหำ…………………………………………….. 286 แนวทำงในกำรป้องกนั ตนเองจำกกำรมเี พศสัมพนั ธ์ทีไ่ ม่พึงประสงค.์ .......................... 287 แหลง่ บริกำรชว่ ยเหลอื เกี่ยวกบั ปญั หำทำงเพศ………………...........………………………….. 290 บทสรุป........................................................................................................................ 295 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “กำรสอ่ื สำรเพือ่ ควำมเข้ำใจในครอบครัว”................................. 296 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “ควำมหมำยและระดับของควำมรนุ แรง”.................................. 298 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “No Condom, No Sex”......................................................... 300 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “คุยกันไดไ้ หม”........................................................................... 303 คำถำมท้ำยบท............................................................................................................. 305 เอกสำรอำ้ งองิ ............................................................................................................. 306 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7 ........................................................................................ 307 บทท่ี 7 สังคมและวัฒนธรรมที่มีผลกระทบตอ่ เพศวถิ ี............................................................ 311 311 คำ่ นยิ มทำงเพศตำมสงั คมและวฒั นธรรม……………………...................…………………….. 316 วัฒนธรรมไทยในกำรสร้ำงสมั พันธภำพทำงเพศ……………..................…………………….. 317 ควำมคำดหวังของสังคมทม่ี ีต่อกำรเปล่ียนแปลงของวัยรนุ่ ………..………………………….. 319 บทบำทหนำ้ ทข่ี องวยั รนุ่ ตอ่ สงั คม.......................................................…………………….. 321 ควำมรับผดิ ชอบของวัยรนุ่ ...........………………...............................………………………….. 322 วฒั นธรรมทำงเพศ......................………………...............................………………………….. 324 บทบำทของเพศชำยและเพศหญงิ ..............................………………………………………….. 328 สอื่ กับเพศ.........................................………………...............................…………………….. 338 สิทธิในกำรแสดงออกตำมวถิ ีทำงเพศ……………............................………………………….. 346 กฎหมำยว่ำด้วยเพศและควำมเสมอภำคทำงเพศ…………………….......……………………..

(8) สารบญั (ต่อ) หนา้ บทสรปุ ........................................................................................................................ 359 กจิ กรรมกำรเรียนรู้ “ครอบครวั ”............................................................................... 361 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “Sexy Body”............................................................................ 362 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ “โฆษณำขำยอะไร”.................................................................... 364 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ “อนุมำน”................................................................................... 366 คำถำมท้ำยบท............................................................................................................. 368 เอกสำรอ้ำงองิ ............................................................................................................. 369 บรรณำนกุ รม............................................................................................................................ 371

(9) สารบญั ภาพ ภาพท่ี หน้า 2.1 แสดงอทิ ธพิ ลของฮอร์โมนทีม่ ีต่อกำรเปลยี่ นแปลงผู้ชำย.............................................. 66 2.2 แสดงอิทธพิ ลของฮอร์โมนท่มี ีตอ่ กำรเปลี่ยนแปลงผู้หญิง............................................. 67 2.3 อวยั วะในระบบสบื พันธ์ุของเพศชำย………………………………….………………………………. 72 2.4 ลูกอณั ฑะ……………………………………………..……………………………………………………….. 73 2.5 อวัยวะสบื พนั ธภ์ุ ำยนอกของเพศหญงิ ……………………..…………………………………………. 74 2.6 อวัยวะสืบพนั ธุ์ภำยในของเพศหญงิ …………………………………………………………………… 77 2.7 แสดงระยะกำรมีประจำเดอื น…………………………..………………………………………………. 78 2.8 อสจุ ขิ องเพศชำยและไข่ของเพศหญิง………………………………………………………………… 84 2.9 กำรปฏิสนธิซง่ึ เกิดจำกกำรร่วมเพศ และอสจุ ิตัวหนงึ่ กำลังเขำ้ ผสมพันธก์ุ บั ไข่…………. 84 2.10 กำรเจริญเตบิ โตของทำรกในครรภ์……………………………………………………………………. 88 2.11 กำรเปลย่ี นผำ่ นประเภทของเพศในสงั คมไทย.............................................................. 93 3.1 กำรตรวจเต้ำนมด้วยตนเองขณะอำบน้ำ……………………………………….……………………. 119 3.2 กำรตรวจเตำ้ นมดว้ ยตนเองหน้ำกระจก……………………………………………………………… 120 3.3 กำรตรวจเต้ำนมด้วยตนเองในท่ำนอน…………………..…………………………………………… 121 3.4 ข้ันตอนกำรทำควำมสะอำดอวยั วะเพศชำย……………………………………………………….. 124 3.5 วิธีกำรใส่ถุงยำงอนำมัย………………………………………………………………………………..….. 129 3.6 ยำเม็ดคุมกำเนดิ แบบตำ่ ง ๆ ....................................................................................... 130 3.7 ยำเม็ดคมุ กำเนดิ ฉุกเฉนิ ……………………………………………………………………………………. 131 3.8 แผน่ แปะคมุ กำเนดิ ...................................................................................................... 132 3.9 ยำฝังคมุ กำเนิด……………………..………………………………………………………………………… 133 3.10 ห่วงคุมกำเนิดชนิดทองแดง………………………………………………………………………………. 133 3.11 วงแหวนคุมกำเนิด....................................................................................................... 134 3.12 กำรทำหมนั หญงิ ………………………………………..…………………………………………………… 135 3.13 กำรทำหมันชำย........................................................................................................... 135 3.14 โรคหนองในเทยี ม........................................................................................................ 140 3.15 โรคซิฟลิ สิ .................................................................................................................... 142 3.16 โรคแผลรมิ อ่อน........................................................................................................... 143

(10) สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพที่ หนา้ 4.1 สัมพนั ธภำพฉนั ทเ์ พอ่ื น……………………………………………………………………………………. 171 4.2 สมั พนั ธภำพฉนั ทค์ นรกั ………………………………………..………………………………………….. 172 5.1 แสดงกลไกกำรเกดิ อำรมณ์เพศ.................................................................................... 213 5.2 กำรเปลย่ี นแปลงของอวัยวะสืบพันธ์ุเพศชำยเมอ่ื มีเพศสัมพันธ์................................... 224 5.3 กำรเปลยี่ นแปลงของอวัยวะสบื พนั ธุ์เพศหญงิ เมื่อมเี พศสัมพันธ์.................................. 225 6.1 กำรเปรียบเทียบตวั ตนที่แท้จริง กบั ตัวตนในอุดมคติ……………………………………………. 258 6.2 กำรเป็นคนโดยสมบูรณ์นัน้ ตอ้ งประกอบดว้ ย I.Q. , E.Q. และ S.Q. ……………………… 262

(11) สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ 1.1 กำรเปรียบเทียบหลักสตู รเพศศกึ ษำรอบดำ้ น กับเพศศึกษำแบบห้ำมมีเพศสมั พันธ์ จนกวำ่ จะแตง่ งำน....................................................................................................... 44 5.1 ลกั ษณะของอำรมณเ์ พศและกำรตอบสนองทำงเพศของผ้ชู ำย.................................... 226 5.2 ลกั ษณะของอำรมณ์เพศและกำรตอบสนองทำงเพศของผหู้ ญิง................................... 226

(13) แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา รหัสวิชา ED 15401 ชอื่ วิชา เพศศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Sex Education) หน่วยกติ 2 (1-2-3) ผสู้ อน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนุ สิ า วงศ์อารยี ์ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาความหมาย และขอบข่ายของเพศศึกษา ความสาคัญและความจาเป็นในการเรียน เพศศึกษา ความรู้เรอื่ งเพศวถิ ี และองค์ประกอบเรอื่ งเพศ ได้แก่ พัฒนาการของมนุษย์ สัมพันธภาพ ทางเพศ ทกั ษะส่วนบคุ คล พฤติกรรมทางเพศและการแสดงออก สขุ ภาพทางเพศ ค่านิยม สังคมและ วัฒนธรรมท่ีมีบทบาทในการหล่อหลอมวิถีทางเพศ กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้เร่ืองเพศ กระบวนการจัดการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาในสถานศึกษา การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การฝกึ ปฎบิ ตั กิ ารจัดการเรียนรเู้ พศศกึ ษา วตั ถปุ ระสงคท์ ่ัวไป ในการเรยี นการสอน วิชาเพศศึกษาแบบองค์รวม มุ่งใหน้ ักศกึ ษามพี ้ืนฐานความรู้เกยี่ วกับ เพศและเพศวิถีในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ ภายใต้วิถชี ีวติ สังคม วัฒนธรรมประเพณี เห็นความสาคญั และจาเป็น ต่อการจดั การเรียนรเู้ พศศกึ ษา มีทักษะการจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ี่นาไปสกู่ ารปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม โดยกาหนดเป็นวตั ถปุ ระสงคข์ องรายวิชาไว้ดังต่อไปน้ี 1. เกิดกระบวนทัศน์หรือวิธีคิดต่อการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาเป็นเชิงบวก และเข้าใจ แนวคดิ เร่อื งเพศศกึ ษาแบบองค์รวม 2. มีความร้พู ้ืนฐานเรอื่ งพฒั นาการวัยรนุ่ เพศ และเพศวถิ ี 3. มที กั ษะการจดั การเรียนรู้ ออกแบบการเรยี นรูท้ ้ังในและนอกหอ้ งเรยี นอยา่ งมัน่ ใจ 4. แลกเปลยี่ นประสบการณห์ รือสรา้ งกระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกับผ้เู รียน ผเู้ กีย่ วขอ้ ง 5. สร้างเครือข่ายการเรียนรทู้ ีส่ นบั สนนุ การพฒั นาตนเองและสังคม 6. วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประยกุ ต์ใช้ความรเู้ พื่อเกิดสขุ ภาวะในชีวติ

(14) เนื้อหา แนวคิดเกีย่ วกบั เพศศกึ ษา 3 ชัว่ โมง ความหมายของเพศ 6 ชวั่ โมง บทท่ี 1 บทบาทของเพศ ประวัตคิ วามเป็นมาของการศึกษาเร่ืองเพศ ความหมายของเพศศึกษา ความแตกต่างระหวา่ งเพศศกึ ษากับเพศศาสตร์ ขอบข่ายของเพศศกึ ษา ความหมายของการสอนเพศศึกษา ความสาคญั ของการสอนเพศศึกษา ความจาเป็นของการสอนเพศศึกษา จุดมุ่งหมายของการสอนเพศศกึ ษา ประโยชนข์ องการสอนเพศศึกษา สถาบนั ที่มบี ทบาทในการสอนเพศศึกษา บทสรุป กจิ กรรมการเรียนรู้ คาถามทา้ ยบทท่ี 1 เอกสารอ้างอิง บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของมนุษย์ ความหมายของพฒั นาการทางเพศ เปา้ หมายของพัฒนาการทางเพศ ทฤษฎที ี่เกี่ยวขอ้ งกับเพศ พฒั นาการทางเพศในวยั ตา่ ง ๆ ระบบสืบพนั ธุ์ของเพศชายและเพศหญิง การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาลกั ษณะทางเพศ การเปล่ียนแปลงทางเพศในวัยรุ่นชาย การเปลยี่ นแปลงทางเพศในวยั รุ่นหญงิ แนวปฏบิ ตั ิอยา่ งเหมาะสมกบั การเปล่ียนแปลงของวยั ร่นุ การปฏสิ นธิกาเนิดชีวิต ภาพลักษณ์ของวยั รนุ่

บทสรปุ (15) กิจกรรมการเรยี นรู้ 6 ชว่ั โมง คาถามทา้ ยบทที่ 2 เอกสารอา้ งองิ 6 ช่วั โมง บทท่ี 3 สขุ ภาพทางเพศ ความหมายของสขุ ภาพทางเพศ ความสาคญั ของสุขภาพทางเพศ การปฏิบตั ิตนเพือ่ สขุ ภาพทางเพศของวัยรุ่น สุขปฏิบัติเกีย่ วกบั อวัยวะเพศ การดแู ลรกั ษาความสะอาดอวัยวะเพศ การคมุ กาเนดิ โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ ความรู้เก่ียวกับเชือ้ เอชไอวแี ละโรคเอดส์ บทสรุป กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาถามท้ายบทท่ี 3 เอกสารอา้ งอิง บทท่ี 4 สมั พนั ธภาพทางเพศ ความหมายของสมั พันธภาพทางเพศ ความสาคญั ของสมั พนั ธภาพทางเพศ ลกั ษณะของสมั พันธภาพทางเพศ ปัจจัยทส่ี นบั สนุนใหเ้ กิดสมั พนั ธภาพทางเพศ หลกั พ้นื ฐานในการสร้างสัมพนั ธภาพทางเพศ อารมณแ์ ละความรสู้ ึกทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั สัมพนั ธภาพทางเพศ ขน้ั ตอนการพฒั นาสมั พนั ธภาพทางเพศ สมั พันธภาพในการวางตัว ความขดั แยง้ ในสมั พันธภาพทางเพศ การสมรสหรือการแตง่ งาน บทสรปุ

(16) กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6 ชัว่ โมง คาถามท้ายบทท่ี 4 6 ช่ัวโมง เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 5 พฤติกรรมทางเพศ จิตวทิ ยากับการกาหนดลักษณะทางเพศของวยั รุ่น การเกดิ อารมณท์ างเพศของวัยร่นุ การแสดงออกทางเพศ อทิ ธิพลท่ีมีผลต่อพฤตกิ รรมทางเพศ การตอบสนองทางเพศและการมเี พศสมั พนั ธ์ วัยรุ่นกบั เพศสมั พนั ธ์ ความรบั ผดิ ชอบทางเพศ ลกั ษณะพฤตกิ รรมการแสดงออกทางเพศทเ่ี หมาะสม บทสรุป กจิ กรรมการเรียนรู้ คาถามท้ายบทท่ี 5 เอกสารอา้ งอิง บทท่ี 6 ทักษะส่วนบคุ คลท่เี กย่ี วข้องกับเพศศกึ ษา การตระหนกั ในคณุ ค่าของตนเอง ทกั ษะการสอ่ื สาร ทกั ษะการตดั สนิ ใจ ทกั ษะการต่อรอง ทกั ษะการปฏเิ สธ กลไกในการป้องกันตวั ทางเพศ การแสวงหาความช่วยเหลือจากผ้อู นื่ เม่อื เกดิ ปัญหา แนวทางในการปอ้ งกนั ตนเองจากการมีเพศสมั พันธท์ ี่ไมพ่ ึงประสงค์ แหล่งบรกิ ารช่วยเหลอื เก่ยี วกับปญั หาทางเพศ บทสรุป กจิ กรรมการเรียนรู้ คาถามท้ายบทที่ 6 เอกสารอา้ งอิง

(17) บทท่ี 7 สงั คมและวฒั นธรรมท่ีมีผลกระทบตอ่ เพศวิถี 6 ช่วั โมง คา่ นิยมทางเพศตามสังคมและวฒั นธรรม วฒั นธรรมไทยในการสรา้ งสัมพันธภาพทางเพศ ความคาดหวงั ของสงั คมทมี่ ตี อ่ การเปล่ยี นแปลงของวัยรุ่น บทบาทหนา้ ท่ขี องวยั รุ่นตอ่ สังคม ความรบั ผิดชอบของวัยรนุ่ วัฒนธรรมทางเพศ บทบาทของเพศชายและเพศหญิง สือ่ กบั เพศ สิทธใิ นการแสดงออกตามวถิ ีทางเพศ กฎหมายวา่ ด้วยเพศและความเสมอภาคทางเพศ บทสรปุ กิจกรรมการเรยี นรู้ คาถามท้ายบทที่ 7 เอกสารอ้างอิง การสาธติ การจัดการเรยี นรูแ้ ละออกแบบแผนการเรียนรเู้ พศศกึ ษาแบบองคร์ วม ระดบั ม.1 – ม.6 6 ช่วั โมง กิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง โดยให้ผเู้ รียนได้ มีโอกาสศึกษาค้นควา้ ทางานเปน็ กลุ่ม ส่งเสริมกระบวนการคดิ ส่งเสริมการสรา้ งงาน และการนาเสนอ ผลงาน โดยผู้สอนเป็นผู้นาสรุปเพ่ิมเตมิ ความรู้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตามเน้ือหา และหลกั ทฤษฎี โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนดังน้ี 1. ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยาย ประกอบสื่อทางคอมพิวเตอร์ Microsoft Power Point รวมทั้งส่อื รปู ภาพ วีดิทศั น์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเนอ้ื หาในแต่ละบทเรียน 2. ผ้สู อนอธบิ ายเน้อื หา แนวคดิ และทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้อง 3. ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดหลักผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และเน้นสร้าง องค์ความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง (Constructivist) รวมท้ังได้เรียนรู้จากประสบการณ์ โดยมีกิจกรรม การเรยี นการสอน ดงั น้ี

(18) 3.1 ผู้เรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน วีดิทัศน์ หนังส้ัน คลิปวิดีโอ กรณตี วั อยา่ ง และบทความทเี่ กยี่ วขอ้ ง 3.2 ผู้เรยี นแบง่ กลุ่มร่วมกนั ทากิจกรรม ทั้งรายบุคคล และเปน็ กลุ่มย่อย โดยให้ระดม สมองชว่ ยกันคิดหาคาตอบ แสดงบทบาทสมมติ และรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาสาระท่ีได้ 3.3 ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามหัวข้อที่สนใจ ท้ังรายบุคคล เป็นคู่ และ เปน็ กลุ่มย่อย 3.4 ผู้เรียนจดั ทารายงาน ผลงาน และนาเสนอผลการทางาน โดยมีการแลกเปล่ียน เรียนร้ทู ั้งในกลมุ่ ยอ่ ย และกล่มุ ใหญ่ 4. ผู้สอนสรุป อธิบายความรู้เพิ่มเติม ประกอบกับการซักถาม ร่วมอภิปราย และสรุป ประเด็นทส่ี าคญั รว่ มกบั ผเู้ รียน 5. ผู้เรียนทบทวนความรูโ้ ดยตอบคาถามท้ายบทเรียน และเสนอแนะแนวความคิด 6. ผสู้ อนเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ ับผเู้ รียนก่อนเลิกเรียน สื่อการเรยี นการสอน สอ่ื การเรียนการสอนประกอบด้วย 1. เอกสารคาสอนวิชาเพศศึกษาแบบองคร์ วม 2. เอกสาร ตารา หนงั สือ และงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้องกบั เพศศกึ ษาแบบองคร์ วม 3. สไลด์นาเสนอความรทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ ง ด้วยสอ่ื ทางคอมพิวเตอร์ Microsoft Power Point 4. วดี ทิ ศั น์ / หนังสั้น / คลปิ วิดโี อ / กรณีศกึ ษา / การแสดงบทบาทสมมติ 5. ใบกิจกรรม และใบงาน การวดั และการประเมินผล การวดั และประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียน โดย 1. สังเกตการตอบคาถามและต้ังคาถาม 2. สังเกตจากการอภปิ ราย ซักถาม แสดงความคิดเหน็ และการนาเสนองาน 3. สังเกตจากความรว่ มมอื ในการทางานกลมุ่ และทักษะสังคม 4. การตรวจผลงาน 5. การทดสอบ

(19) การใหค้ ะแนน 70% 1. คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 10% 40% 1.1 การเขา้ เรียน ความสนใจในการเรียน การรว่ มกิจกรรม การมีสว่ นรว่ มอภปิ รายเสนอความคดิ เห็นในช้นั เรียน 20% 30% 1.2 งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย - การทาคาถามทา้ ยบทเรยี น (5%) - การทารายงาน (รายบุคคล/กลุม่ ) และนาเสนอผลงาน (10%) - การทาใบกจิ กรรม (10%) - การออกแบบแผนการเรียนรู้และสาธติ (15%) 1.3 ทดสอบกลางภาคเรียน 2. คะแนนสอบปลายภาคเรียน เกณฑก์ ารประเมนิ ผลใหร้ ะดบั ผลการเรยี น การประเมนิ ผลแบบองิ เกณฑ์ ระบบค่าระดับคะแนนแบ่งเปน็ 8 ระดับ คะแนนระหว่าง 80 – 100 ไดผ้ ลการเรยี นระดบั A คะแนนระหวา่ ง 75 – 79 ไดผ้ ลการเรยี นระดบั B+ คะแนนระหว่าง 70 – 74 ไดผ้ ลการเรียนระดับ B คะแนนระหวา่ ง 65 – 69 ไดผ้ ลการเรียนระดบั C+ คะแนนระหว่าง 60 – 64 ไดผ้ ลการเรยี นระดับ C คะแนนระหวา่ ง 55 – 59 ไดผ้ ลการเรียนระดบั D+ คะแนนระหว่าง 50 – 54 ไดผ้ ลการเรยี นระดับ D คะแนนระหวา่ ง 0 – 49 ไดผ้ ลการเรียนระดับ F สง่ งานไม่ครบ/ขาดสอบกลางภาค/ไมร่ ว่ มกจิ กรรมในช้นั เรียน ได้ผลการเรียนระดับ I

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1 แนวคดิ เก่ยี วกบั เพศศึกษา วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เมื่อศึกษาบทเรยี นน้จี บแล้ว นกั ศึกษาควรมพี ฤตกิ รรมดังน้ี 1. อธิบายความหมายและบทบาทของเพศได้ 2. อธิบายประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาเรือ่ งเพศได้ 3. บอกความหมายของเพศศกึ ษาได้ 4. ระบคุ วามแตกต่างระหวา่ งเพศศึกษากับเพศศาสตร์ได้ 5. อธบิ ายขอบขา่ ยของเพศศึกษาได้ 6. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของการสอนเพศศกึ ษาได้ 7. ระบคุ วามจาเปน็ จดุ มงุ่ หมาย และประโยชน์ของการสอนเพศศึกษาได้ 8. ยกตวั อย่างสถาบันทม่ี ีบทบาทในการสอนเพศศึกษาได้ เนอ้ื หาสาระ เนื้อหาสาระในบทน้ีประกอบด้วย 1. ความหมายของเพศ 2. บทบาทของเพศ 3. ประวตั คิ วามเป็นมาของการศึกษาเรือ่ งเพศ 4. ความหมายของเพศศกึ ษา 5. ความแตกต่างระหว่างเพศศึกษากบั เพศศาสตร์ 6. ขอบข่ายของเพศศกึ ษา 7. ความหมายของการสอนเพศศึกษา 8. ความสาคญั ของการสอนเพศศกึ ษา 9. ความจาเปน็ ของการสอนเพศศึกษา 10. จดุ มงุ่ หมายของการสอนเพศศกึ ษา 11. ประโยชนข์ องการสอนเพศศกึ ษา 12. สถาบันท่มี บี ทบาทในการสอนเพศศึกษา

2 กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรยี นการสอนเรื่องแนวคดิ เกี่ยวกบั เพศศกึ ษา มีดงั นี้ สปั ดาห์ท่ี 1 (3 ชวั่ โมง) 1. ผู้สอนช้ีแจงคาอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรายวิชา รวมทั้งสร้างข้อตกลงร่วมกนั ในการศกึ ษาในรายวิชาน้ี 2. ผสู้ อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ตุ๊กตาล้มลกุ ” เพือ่ นาเข้าสบู่ ทเรยี น 3. ผู้สอนบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกบั แนวคิดเก่ยี วกบั เพศศกึ ษาทุกหัวข้อ 4. ผู้เรียนรับฟังบรรยายสรุปเน้ือหาสาระ ร่วมกับศึกษาเน้ือหาเร่ือง “แนวคิดเก่ียวกับ เพศศกึ ษา” จากเอกสารคาสอน พรอ้ มท้ังซักถามและตอบคาถามระหว่างการฟังบรรยาย 5. ผสู้ อนจดั กิจกรรมการเรียนรู้ “เส้นชวี ิต” แลว้ ร่วมกันสรปุ สาระสาคญั ทไี่ ด้รบั 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย สรุปเนื้อหาแนวคิดเก่ียวกับเพศศึกษาและ แนวทางการนาไปประยกุ ตใ์ ช้ รวมท้งั เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนซกั ถามในหวั ขอ้ / ประเดน็ ท่ีสงสยั 7. ผู้สอนมอบหมายใหผ้ เู้ รียนทาคาถามท้ายบท และกาหนดวันสง่ 8. ผู้สอนช้ีแจงหัวข้อที่จะเรยี นในครงั้ ต่อไป เพื่อใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษากอ่ นล่วงหน้า 9. ผู้สอนเสรมิ สร้างคณุ ธรรมและจริยธรรมให้กับนักศกึ ษาก่อนเลิกเรียน สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารคาสอน เพศศึกษาแบบองค์รวม 2. เอกสาร ตารา หนังสอื และงานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เพศศึกษาแบบองคร์ วม 3. สไลด์นาเสนอความรู้ประเด็นสาคัญทุกหัวข้อเร่ือง ด้วยส่ือทางคอมพิวเตอร์ Microsoft Power Point 4. วัสดแุ ละอุปกรณ์สาหรับจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 4.1 กระดาษสี 6 สี ขนาดเอสตี่ ัดแบง่ 4 สว่ นเทา่ ๆ กนั จานวนสีละ 30 แผน่ 4.2 เชอื กฟาง 6 เสน้ 4.3 ปากกาเคมี 6 ด้าม 4.4 กระดาษกาว 6 มว้ น 5. คาถามทา้ ยบท

3 การวัดผลและการประเมินผล วัตถุประสงค์ วธิ กี าร/เครอื่ งมือ การวัดผลและการประเมินผล 1. อธิบายความหมายและบทบาทของ 1. ซักถาม-ตอบคาถาม 1. นักศกึ ษาตอบคาถาม และ เพศได้ อภปิ ราย แลกเปลีย่ น อภปิ รายได้ถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 2. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มาของ และการสนทนารว่ มกัน 2. นักศกึ ษามีความสนใจ/ การศกึ ษาเรื่องเพศได้ 2. สงั เกตพฤตกิ รรม ความร่วมมอื และความ 3. บอกความหมายของเพศศึกษาได้ การรว่ มกิจกรรม กระตือรนื รน้ ในการรว่ ม 4. ระบุความแตกต่างระหว่าง 3. สังเกตการนาเสนอผล กจิ กรรมอยใู่ นระดบั ดี เพศศึกษากบั เพศศาสตร์ได้ การทางานหนา้ ชน้ั เรยี น 3. นักศกึ ษามีความพร้อม/ 5. อธบิ ายขอบข่ายของเพศศึกษาได้ 4. ใบงานในกิจกรรมการ ความต้ังใจและความกลา้ 6. อธิบายความหมายและความสาคัญ เรียนรู้ แสดงออกในการนาเสนอผล ของการสอนเพศศึกษาได้ 5. คาถามทา้ ยบท การทางานหน้าชั้นเรยี นอยู่ใน 7. ระบคุ วามจาเปน็ จุดมุ่งหมาย และ ระดบั ดี ประโยชนข์ องการสอนเพศศึกษาได้ 4. นักศึกษาทาใบงานไดถ้ กู ต้อง 8. ยกตวั อยา่ งสถาบนั ท่ีมีบทบาทใน ครบสมบรู ณ์ และเสร็จตาม การสอนเพศศึกษาได้ เวลาที่กาหนด รอ้ ยละ 80 5. นักศึกษาตอบคาถามท้าย บทเรยี นได้ รอ้ ยละ 80

4

5 บทท่ี 1 แนวคิดเกี่ยวกบั เพศศึกษา ปัจจุบันการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาในระบบสถานศึกษา ได้รับการยอมรับว่ามี ความสาคัญต่อการพัฒนาทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน ที่กาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาตั้งแต่ระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา อาชีวศึกษา และอดุ มศกึ ษา เน่ืองจากสภาพการรับรู้เร่ืองเพศของเยาวชน มีรูปแบบหลากหลาย ไม่จากัดอยู่เฉพาะในครอบครัว สถานศึกษาหรือกลุ่มเพ่ือนเท่านั้น เด็กและ เยาวชนยังสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่แบบไม่จากัด ปัจจัยดังกล่าวนี้ทาให้พฤติกรรมทางเพศ และสภาวะเพศวิถีของแต่ละคนมีความแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่กับสถานภาพและสิ่งแวดล้อมของ การดาเนินชีวิต การจัดการเรียนรู้เร่ืองเพศศึกษาจึงต้องทาความเข้าใจกับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นจริง และผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ต้องพัฒนองค์ความรู้ ทักษะ และรูปแบบการสอนให้สอดคล้องด้วย เช่นกัน ดังน้ัน ในการนาเนื้อหาไปใช้ในการสอนเพศศึกษาแก่เด็กและเยาวชนน้ัน ควรท่ีจะได้ทา ความรู้จักและทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับเพศศึกษาเสียก่อน เพ่ือช่วยให้สามารถทา ความเข้าใจเกย่ี วกับเร่อื งอนื่ ๆ ตอ่ ไปไดด้ ยี ิง่ ขึ้น ความหมายของเพศ คาว่า “เพศ” ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “Sex” ซึ่งคนทั่วไปมักจะตีความหมายไปถึง ความต้องการทางเพศหรือความรู้สึกทางเพศ บางคร้ังหมายถึงพฤติกรรมทางเพศ หรือการมี เพศสัมพันธ์ จงึ ทาใหเ้ รือ่ งเพศถูกมองไปในลักษณะที่ไม่สภุ าพ หยาบคาย น่าละอายที่จะคิดหรือพูดถึง จนกลายเป็นเรื่องต้องห้ามไปในบางสังคม ดังน้ันเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับ เร่ืองเพศ จึงควรท่ีจะได้ศึกษาถึงความหมายของคาว่า “เพศ” ตามความหมายทางวิชาการ ซ่ึงมีผู้ให้ ความหมายไวห้ ลากหลาย ดังตอ่ ไปน้ี พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525, น. 602) ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เพศ” หมายถึง “รปู ทแี่ สดงให้รวู้ ่าหญิงหรือชาย” ซ่งึ หากจะตคี วามหมายกันแต่เพียงว่า “เพศ” คอื ลักษณะ ท่ีบอกให้ใคร ๆ รู้ว่าบุคคลน้ัน ๆ เป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย ในลักษณะของรูปธรรมเท่าน้ัน ก็คงจะเป็น ความหมายที่ค่อนข้างแคบเกินไป และเป็นการยากท่ีจะทาความเข้าใจในความหมายของเพศได้ อย่างสมบูรณ์

6 กฤตยา อาชวนิจกุล (2554, น. 46) ได้ให้คาจากัดความ “เพศ” เพ่ืออธิบายความหมาย ตามลักษณะและองคป์ ระกอบโดยสรุปได้ 3 นยั ดังน้ี 1. เพศสรีระ (Sex) หมายถึง โครงสร้างทางกายวิภาคหรือสรีรวิทยาที่แสดงออกให้เห็นว่า เป็นเพศหญิง เพศชาย 2. เพศสภาพ (Gender) หรือ เพศภาวะ หรือ เพศสถานะ หมายถึง เพศท่ีสังคมกาหนด บทบาทหน้าท่ีให้เมื่อร่างกายเกิดมาเป็นหญิง หรือเกิดมาเป็นชาย โดยสังคมและวัฒนธรรมได้หล่อ หลอมบทบาทหนา้ ท่ขี องความหญงิ และความเปน็ ชายไวแ้ ตกตา่ งกัน เช่น การปลกู ฝังว่าเพศหญิงตอ้ ง ไวผ้ มยาว มีกริยานุ่มนวลออ่ นหวาน ประณตี ละเอียดลออ ซึ่งในสังคมไทยได้เปรียบเทียบเพศหญงิ ตาม เพศภาวะว่า “ช้างเท้าหลัง” ในขณะที่เพศชาย ต้องเข็มแข็งสุภาพ เป็นผู้นา กล้าคิดกล้าตัดสินใจ ร่างกายบึกบึนกายา ตัดผมส้ัน ในสงั คมไทยเปรียบเทียบตามเพศภาวะว่า “ชา้ งเท้าหนา้ ” ท้ังน้ีรวมถึง เพศสภาพก็จะมีเพ่ิมมากข้ึน เช่น เกย์ กะเทย ทอม ดี้ เลสเบี้ยน ฯลฯ อันจะนาไปสู่การกาหนด บทบาทเพศต่าง ๆ มากกว่าหญงิ และชาย 3. เพศวิถี (sexuality) หมายถึง ค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติ การแสดงออกเก่ียวกับความปรารถนาทางเพศ ครู่ ัก ชวี ิตคู่ ทีม่ ีความสัมพนั ธ์กับสังคมและวฒั นธรรม พจนานุกรมเวบสเตอร์ (Webster's Encyclopedia Unabridged Dictionary of English Language, 1994: 1307) ได้ใหค้ วามหมายของคาว่า “เพศ” ไว้โดยสรปุ ได้ 4 นัย คือ 1. เปน็ การแบ่งส่ิงมชี วี ติ โดยเฉพาะมนุษยอ์ อกเปน็ เพศชายและหญงิ 2. เป็นลักษณะโครงสร้างทางร่างกายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเกิดจากการสมั พันธ์ของบดิ ามารดา โดยแบ่งแยกและรวมกนั ทางโครโมโซมเพศ จนแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงเปน็ ชายหรอื หญิง 3. เป็นขอบเขตพฤติกรรมระหว่างบุคคล โดยเฉพาะระหว่างชายและหญิงที่เก่ียวข้อง โดยตรงกบั การอย่รู ว่ มกัน 4. เป็นสัญชาตญาณอย่างหน่ึงของมนษุ ย์ และการแสดงออกของสัญชาตญาณทางเพศน้ีจะ อยใู่ นรูปของการมีเพศสัมพันธ์ ปีเตอร์ แจ็คสัน และ เนริดา คุค (Peter A. Jackson and Nerida M. Cook, 1999) อภิปรายไว้ในหนังสือ “Genders & Sexualities in Modern Thailand” ว่าในวาทกรรมไทยคาว่า “เพศ (Phet)” คาเดียวมีความหมายครอบคลมุ วาทกรรมในสังคมตะวนั ตกปัจจบุ ันดงั นี้ 1. ลักษณะทางชีวเพศ (Biological Sex) ที่บอกว่าเป็นเพศชายหรือหญิง เช่น เพศผู้ เพศเมยี 2. ความเปน็ เพศ (Gender) เช่น เพศชาย เพศหญิง 3. ภาวะทางเพศ (Sexuality) เช่น รกั รว่ มเพศ (ร่วมสงั วาส) รักสองเพศ และรกั ตา่ งเพศ 4. การร่วมเพศ (Sexual Intercourse) เชน่ ร่วมเพศ เพศสมั พันธ์

7 กล่าวโดยสรุปว่า นอกจาก “เพศ” จะหมายถึงลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ว่าเป็นชายหรือหญิง แล้ว เพศยังเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ เพราะมนุษย์ทุกคนเกิดขึ้นมาพร้อมกับเพศ ครั้ง เม่ื อเจริญ เติบ โตเป็ น ผู้ให ญ่ ความ เจ ริญ เติบ โต ทาง เพ ศก็ เป็ น พั ฒ น าก ารส่ วน หนึ่ ง ขอ งม นุ ษ ย์ ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม “เพศ” จึงมีความหมายรวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ของ มนุษย์ ความสนใจซ่ึงกันและกัน ตลอดจนการมีเพศสัมพันธ์ ซ่ึงส่ิงดังกล่าวนี้ล้วนมีอิทธิพลอย่างย่ิง ต่อบุคลิกภาพ อารมณ์ จิตใจ และการปรับตัวให้เข้ากับสังคม ตลอดจนพัฒนาการทางกายของ แตล่ ะบคุ คล จนกล่าวได้ว่าเรื่องเพศมีอิทธิพลตอ่ การดาเนนิ ชวี ิตของมนษุ ยเ์ ป็นอยา่ งยิง่ และเป็นเรื่องที่ ทุกคนจะต้องประสบด้วยตนเองอย่างไมอ่ าจหลกี เลีย่ งได้ บทบาทของเพศ นับต้ังแต่มีการกาเนิดของมนุษชาติ เร่ืองเพศก็ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิต ของมนุษย์โดยตลอด เพราะสิ่งนี้เป็นความต้องการข้ันพ้ืนฐาน (Basic Needs) และนามาซึ่งความสุข แก่ชีวิต ดังจะเห็นได้จากนักปรัชญาชาวตะวันตกยุคหนึ่งในอดีตได้กล่าวถึงปัจจัยที่สาคัญยิ่งต่อ การดารงชีวิตของมนุษย์ 3 ประการ คือ อาหาร กามารมณ์ และสังคม (Food, Sex and Social) โดยจัดให้เร่ืองเพศหรือกามารมณ์มีความสาคัญเป็นอันดับสองรองจากเร่ืองอาหาร ซึ่งสอดคล้องกับ ความคิดเห็นของนักปรัชญาและนักเขียนชาวอเมริกันยุคหลัง ๆ คือ ดร.วิลล์ ดูแรนท์ (Dr.Will Durant) ท่ีกล่าวว่า “รองจากความหิว เรื่องเพศเป็นสัญชาตญาณท่ีรุนแรงท่ีสุดและเป็นปัญหาใหญ่ ที่สดุ ดว้ ย” โดยธรรมชาติและข้อเท็จจรงิ แล้ว เรือ่ งเพศมบี ทบาทต่อการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์ต้ังแตเ่ กิด จนตาย ไม่ว่ามนุษย์จะยอมรับหรือไม่ก็ตาม ดังท่ีซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ได้กล่าวว่า “มนุษย์เรามีสัญชาตญาณและความรู้สึกทางเพศมาต้ังแต่เกิดไม่ใช่จะมีเมื่อตอนโตข้ึน หรือเป็นเร่ือง ของผู้ใหญ่เท่าน้ัน” โดยสอดคล้องกับเหตุผลทางชีววิทยาที่ถือว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณ 2 อย่างคือ สญั ชาตญาณของการอยู่รอด และสัญชาตญณของการสบื พนั ธุ์ โดยสญั ชาตญาณทัง้ สองนจี้ ะปรากฎใน พัฒนาการของชีวิต มนุษย์ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชราโดยเฉพาะสัญชาตญาณของการสืบพันธ์ุนั้น เป็นส่ิงที่จะทาให้มนุษย์สามารถดารงไว้ซ่ึงเผ่าพันธุ์และยังเป็นสิ่งท่ีมนุษย์จะต้องรู้จักควบคุมในเร่ือง ของการแสดงออกให้ถูกกาละเทศะ เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหากบั ตนเองและสังคม และเปน็ สิง่ ทีจ่ ะแสดงให้ เห็นได้อย่างเด่นชัดว่ามนษุ ยม์ ีความแตกตา่ งไปจากสตั วโ์ ลกอ่ืน ๆ อีกดว้ ย เร่ืองเพศมคี วามหมายและขอบเขตทกี่ วา้ งขวางและลึกซึ้งมาก พลงั ผลักดันหรือแรงผลักดนั ทางเพศ (Sex drive หรือ Libido) เป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ส่วนหน่ึงของเร่ืองเพศเท่าน้ัน แต่เรื่องเพศ เป็นส่วนสาคัญมากของการเจริญเติบโต บุคลิกภาพ และความรัก (Growth, Personality and

8 Love) ซ่ึงอาจจะแสดงตัวออกมาได้ในรูปของศิลปะและวิทยาศาสตร์อันมีผลกระทบต่อบุคคล และสงั คมเป็นอย่างยง่ิ ดร.มารี เอส คาลเดอโรน (Dr.Mary S. Calderone อ้างอิงจาก สุชาติ โสมประยูร และ วรรณี โสมประยรู , 2531, น.4) นักการแพทย์และนกั การสาธารณสุขชาวอเมริกัน เป็นอกี ท่านหนึ่งท่ี ได้กล่าวถึงเรื่องเพศไวส้ ้นั ๆ อย่างชัดเจนและน่าสนใจว่า “เร่ืองเพศไม่ใช่ส่งิ ที่ทา่ นทา แตเ่ ป็นสิ่งท่ีท่าน เปน็ อย\"ู่ (Sex is not something you do, but somethings you are) กลา่ วคือ เขาไม่เห็นด้วยกับ คนท่ัวไปท่ีเข้าใจว่าเรื่องเพศเป็นเร่อื งของการกระทา หรือการแสดงพฤติกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ของ ความสัมพันธ์ระหว่างชาย - หญิง พรือเพศสัมพันธ์เท่านั้น แต่ได้เน้นถึงสาระสาคัญท่ีว่าเรื่องเพศ เปน็ เรอื่ งของชวี ิตและความเปน็ อย่ทู ท่ี ุกคนกาลงั เผชญิ อย่หู รอื แสดงออกมาใหเ้ ห็นไดโ้ ดยตลอด ลักษณะความเป็นเพศของมนุษย์ (Human Sexuality) นั้น เป็นลักษณะสาคัญส่วนบุคคล ท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ทุกเพศทุกวัย ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลง ทางเพศท่เี กิดข้ึนกับชายและหญิงในวัยต่าง ๆ อย่างต่อเน่อื ง นอกจากนี้ลกั ษณะเฉพาะหรือเอกลกั ษณ์ ทางเพศยังนับว่าเป็นส่วนสาคัญของแนวทางในการดาเนินชีวิตของบุคคล รวมท้ังยังส่งผลกระทบต่อ ความเป็นมนุษย์ในทุกรูปแบบอีกด้วย อาทิเช่น ลักษณะความเป็นเพศจะเร่ิมเกี่ยวข้องกับ การต้ังช่ือเล่นและช่ือจริงของทารกต้ังแต่แรกเกิด ต่อมาก็จะมีความแตกต่างกันระหว่างเด็กชายและ เด็กหญิง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเล่น ลักษณะการเล่น เส้ือผ้า หรือของใช้ การเลือกอาชีพของชายและ หญงิ ก็จะแตกต่างกนั รวมทั้งวิธีการคดิ หรอื แก้ไขปญั หายังมคี วามแตกต่างกนั ด้วย เปน็ ต้น จึงเหน็ ได้ว่า เร่ืองเพศหรือลักษณะความเป็นเพศของมนุษย์ได้สอดแทรกเข้าไปมีบทบาทอยู่ทั้งทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา อย่างยากทจ่ี ะแยกออกจากกนั ได้ เมื่อทุกส่ิงทุกอย่างในชีวิตประจาวันของมนุษย์มีเร่ืองเพศเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเช่นนี้ จึงอาจกล่าวต่อไปได้อีกว่า คุณภาพของชีวิตมนุษย์จะดีหรือเลวเพียงใดก็ข้ึนอยู่กับอิทธิพล ของเรื่องเพศ ดังที่ ไคร์เคนดัล (Kirdendall, 1965, p. 1) ได้กล่าวว่า “ความสุข ความสาเร็จ หรือ การอุทิศตนเพ่ือชว่ ยเหลอื สังคมของบุคคลจะมากหรือน้อยก็ขนึ้ อยู่กับความสาเร็จหรอื ความล้มเหลว ของการปรับตัวทางเพศ การแสดงบทบาททางเพศท่ีเหมาะสม รวมทั้งความฉลาดและความสามารถ ในการดารงชีวิตทางเพศของบุคคลนั้นๆ ทั้งน้ีก็เน่ืองจากเร่ืองเพศเป็นพลังอันยิ่งใหญ่ท่ีอาจเป็นได้ ท้ังพลังสร้างสรรคส์ ง่ิ ตา่ ง ๆ และเปน็ ได้ทัง้ พลังในการทาลายล้างนั่นเอง

9 ประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาเร่อื งเพศ ในการศึกษาเร่ืองเพศได้เร่ิมต้นข้ึนคร้ังแรกเม่ือประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล โดยฮิปโป เครติส (Hippocratis) นักปราชญ์ชาวกรีกผู้ได้ช่ือว่าเป็นบิดาแห่งการแพทย์ เขาได้ทดลองฟักไข่ ประมาณ 20 ฟอง แลว้ ตอกไข่ออกดวู ันละ 1 ฟอง เพอื่ ศึกษาการเจริญเติบโตของไขแ่ ตล่ ะวนั ซึ่งตอ่ มา อริสโตเตลิ (Aristotel) นักปราชญ์ชาวกรีกอีกผ้หู นง่ึ กไ็ ด้ศึกษาโดยวิธีเดียวกันนี้ แต่ไม่ได้ทาการบนั ทึก รายละเอียดไว้ นอกจากบอกว่าภายหลังจากท่ีได้ฟักไข่ไปประมาณ 3 วัน ก็จะเห็นหัวใจของลูกไก่ เกิดขึ้นจากถุงของไข่แดง โดยยังไม่ทราบว่าการปฏิสนธิเกิดขึ้นได้อย่างไร จากน้ันนักวิทยาศาสตร์ รนุ่ ตอ่ มากไ็ ด้ทาการศกึ ษาคน้ คว้าเกี่ยวกบั เรื่องเพศมาโดยตลอด จนถงึ โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) นักบวชชาวอังกฤษ ซ่ึงเป็นคนแรกท่ีค้นพบอสุจิจากเพศชาย แต่ผลงานคร้ังนี้ไม่ได้รับอนุญาติให้ เผยแพร่ ดังน้ันจึงไม่มีใครทราบเรือ่ งน้ีแพร่หลายนัก นอกจากวงการวิทยาศาสตร์จะให้ความสนใจกับ การศึกษาเรื่องเพศแล้ว วงการวรรณกรรมก็ได้ให้ความสาคัญกับเร่ืองเพศเช่นกัน ดังจะเห็นได้จาก วรรณกรรมอันเลื่องช่ือหลายเรื่องของเช็คสเปียร์ (Shakespere) กวีเอกชาวอังกฤษที่ได้มีการบรรจุ เรื่องเพศเอาไว้ในหลายบท หลายตอน จึงแสดงให้เห็นว่าเร่ืองเพศน้ันได้ถูกสอดแทรกอยู่ทั้งในส่วนที่ เป็นศาสตร์และศลิ ปข์ องสงั คมตะวันตกมาช้านาน (จนั ทร์วิภา ดลิ กสัมพันธ์, 2548, น. 4) ต่อมาในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ได้มีซิกมันต์ ฟรอยด์ (Freud, 1970, p. 21) จิตแพทย์ และนักจิตวิเคราะห์ชาวออสเตรียท่ีให้ความสนใจและให้ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องเพศมาก เขามี ทรรศนะว่าเร่ืองเพศเป็นเร่ืองท่ีสาคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์ เพราะเป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรมต่าง ๆ โดยเขาไดท้ าการศึกษาและสร้างทฤษฎีต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับจิตใจ การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนา ทางเพศ และทฤษฎีอื่น ๆ ไว้มากมาย นอกจากฟรอยดแ์ ล้ว ยังมีบุคคลอีกผู้หน่ึงซ่ึงควรจะได้กล่าวถึง ท่านผู้น้ันคือ คินซีย์ (Alfred c. Kinsey) ผู้เชี่ยวชาญทางเพศวิทยาคนหนึ่งของอเมริกา เขาได้ผลิต ผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่เด่นดังท่ีสุดชิ้นหน่ึงเกี่ยวกับเพศในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยได้รายงาน พฤติกรรมทางเพศของหญิงและชายชาวอเมริกันไว้ในปี ค.ศ. 1948 ผลงานของคินซีย์และคณะ ถ้าจะเปรียบเทียบกับผลงานของฟรอยด์จะเห็นว่าแตกต่างกัน ฟรอยด์ศึกษาคนที่ป่วยโดยซักประวัติ ย้อนหลังกลับไปในอดีต แล้วจึงตั้งเป็นทฤษฎีเพ่ืออธิบายว่าพฤติกรรมที่ผิดปกติเกิดเพราะสาเหตุใด ส่วนของคินซีย์เป็นการให้ตอบแบบสอบถามหรือสมั ภาษณ์ทางโทรศัพท์เกี่ยวกับพฤติกรรมของคน ๆ น้ันอย่างตรงไปตรงมา ฟรอยด์มีความสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาทางบุคลิกภาพของคน ท้ังคนและ เร่ืองเพศเป็นส่วนหนึ่งในทฤษฎีของฟรอยด์ แต่การศึกษาของคินซีย์แคบกว่าโดยเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศอย่างกว้าง ๆ ในสังคมเท่าน้ัน แต่อย่างไรกต็ ามการรายงานพฤติกรรมทาง เพศของคนอเมริกันชายและหญิงของคินซีย์นี้ ถ้ามองดูกว้าง ๆ แล้วก็ยังเป็นท่ียอมรับกันในปัจจุบัน และเป็นรายงานที่ย่ิงใหญ่ช้ินหน่ึงที่มีผลต่อวิชาการและสังคม ยิ่งกว่านั้นผลงานของคินชีย์เกี่ยวกับ

10 อารมณ์เพศในวัยเด็กก็สนับสนุนความคิดของฟรอยด์ว่าอารมณ์เพศในเด็กมีจริง แต่การเล่นทางเพศ (Sex Play) ของเดก็ อาจไมม่ จี ดุ ประสงคห์ รอื ความสนใจเหมอื นผูใ้ หญ่ และส่วนใหญก่ เ็ ล่นกันในหมูเ่ ด็ก เพศเดียวกันมากกว่าจะเล่นกับเพื่อนต่างเพศ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค 2539, น. 88-89) นอกจากน้ี ยังอีกสองท่านจะต้องกล่าวถึงก็คือ มาสเตอร์ส (Willam H. Masters) และ จอห์นสัน (Virginia E. Johnson) ซ่ึงเป็นสูตินรีแพทย์ และนักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกันท่ีได้ ทาการศึกษาวจิ ัยเก่ยี วกับเรื่องเพศอย่างจรงิ จัง จนได้รับการยกย่องและกล่าวขวัญถึงในวงการศึกษา เร่ืองเพศมาตลอด ทาให้มนุษย์ได้เข้าใจในเรื่องเพศ ตลอดจนวิธีการป้องกันและการรักษ า ความบกพร่องทางเพศได้มากข้ึนมาโดยลาดับ ส่วนการศึกษาเร่ืองเพศของสังคมไทยในอดีตน้ันมักจะเป็นการบอกเล่าให้รับรู้จากพ่อแม่ ญาติพี่น้อง และเพื่อนฝงู เพราะค่อนข้างจะมีค่านิยมว่าเรื่อง “เพศ” เป็นสิ่งตอ้ งห้ามในสังคมที่นามา พูดคุยหรือส่ังสอนกันอย่างเปิดเผยมิได้ โดยแปลงออกมาในรูปของการอบรมสั่งสอนด้านศีลธรรม จรรยา วดั จึงเป็นแหล่งของความรู้ทางเพศที่สาคัญ ดังจะเหน็ ได้จากคาสอนทางพระพุทธศาสนาท่ีให้ พุทธศาสนิกชนยึดหลักธรรมะในข้อท่ีว่า ไม่มักมากในกามคุณ ไม่สาส่อนทางเพศ หรือประพฤติผิด ในกามกับบุตร ภรรยาหรือสามีของผู้อ่ืน ซ่ึงถือว่าเป็นการให้ความรู้ทางเพศในด้านสังคมวิทยา นอกจากนั้นการให้ความรู้เรื่องเพศก็ยังมีการถ่ายทอดผ่านวรรณคดีไทยในสมัยต่าง ๆ มาโดยตลอด อาทิเช่น วรรณคดเี รื่องขนุ ช้างขนุ แผน ท่ไี ด้สอดแทรกความรู้เร่ืองเพศไว้มากมายหลายบท หลายตอน เชน่ ประเพณีการหมนั้ การแต่งงาน การตัง้ ครรภ์ การคลอด การครองเรอื น เปน็ ต้น สุภาษิตสอนหญิง ท่สี อนใหผ้ ู้หญิงรู้จักการวางตน รู้จักรักนวลสงวนตัว การคบหาสมาคมระหว่างเพอื่ นต่างเพศ ตลอดจน กริยามารยาทต่าง ๆ เป็นต้น ดังนั้นจึงเป็นการสอนเร่ืองเพศท่ีสอดแทรกอยู่ในศาสนา วรรณกรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม ความเชื่อ ตลอดจนวิถีทางในการดาเนินชีวิตของ สงั คมไทย จนถึงตอนต้นของรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 แห่ง กรงุ รัตนโกสินทร์ ได้มีการตีพิมพค์ วามรเู้ รื่องเพศลงในหนังสอื เปน็ ครัง้ แรก คอื หนังสือชื่อ “มิวเซ่ียม” หรือ “รัตนโกษ” ซ่ึงเป็นหนังสือรายเดือนเล่มแรกของไทยในหัวข้อเรื่อง “คัมภีร์ครรภ์รักษา” เขียน โดย ดร.บรัดเลย์ หมอศาสนาชาวอเมริกัน และ “โลกยสังขาร” แต่งโดย \"ท.จ.ว.ม.ม.\" กล่าวถึง ลักษณะอวัยวะเพศของหญิง การเกิดโลหิตประจาเดือน การต้ังครรภ์ กรเจริญเติบโตของทารกใน ครรภ์ ลักษณะของมดลูก และลักษณะภายนอกของอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย เป็นต้น จึงนับเป็นการ เผยแพรค่ วามรู้เรอื่ งเพศในเชงิ วิชาการมากกวา่ ยคุ อดีตที่ผ่านมา ส่วนการศึกษาเร่ืองเพศของสังคมไทยในชว่ งปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 มีผลมาจากการรับ เอาอิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกท่ีหล่ังไหลเข้าอย่างไม่หยุดย้ัง มีการตีพิมพ์หนังสือและผลิตสื่อ ตา่ ง ๆ ทางเพศออกมากมาย โดยเฉพาะสอื่ ประเภทยัว่ ยุ ปลกุ เร้าอารมณ์ เพื่อให้เกิดความรูส้ ึกทางเพศ ที่เรียกวา่ “สินค้าเพศพานชิ ย์”\" ออกมาอย่างแพรห่ ลายในสังคม ซึ่งคนทุกเพศทุกวัยสามารถแสวงหา

11 ประสบการณ์จากสิ่งเหล่าน้ีได้ไม่ยากนัก จึงเป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาให้คนไทยมีทัศนคติ ค่านิยม และ ความเชื่อที่เกยี่ วกับเรือ่ งเพศอยา่ งผิด ๆ มีการแสดงออกทางเพศอย่างไมถ่ กู ต้อง ไม่เหมาะสม จนทาให้ ชื่อเสียงของประเทศไทยต้องมัวหมอง ถูกกล่าวขวัญจากนานาประเทศในด้านของสถานเริงรมย์ และบริการทางเพศท่ีมีอยู่เป็นจานวนมากมายและหลากหลายรปู แบบมากกว่าชื่อเสยี งท่ีประเทศไทย เคยมีในด้านของศิลปวฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณอี นั ดงี ามประจาชาติ ดังนั้นการให้การศึกษาทางเพศอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการจึงเป็นแนวทางหนึ่งใน การแก้ไขวิฤกตการปัญหาทางเพศของสังคมไทยในปัจจุบัน เพ่ือช่วยในการปรับเปล่ียนแนวคิดและ พฤตกิ รรมทางเพศของคนไทยให้ถูกตอ้ งกอ่ นท่ีจะสายเกินไป ซง่ึ มาตรกรในการแกไ้ ขทดี่ ปี ระการหนึ่งก็ คือ การบรรจุวิชาเพศศึกษาลงในหลักสูตร ท้ังในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ซึ่งได้ดาเนินการมาจนกระทงั่ ในปจั จุบันนี้ ความหมายของเพศศกึ ษา คาว่า “เพศศึกษา” ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “Sex Education” ซ่ึงมีนักวิชาการ แพทย์ และผ้รู ู้ไดใ้ หค้ วามหมายไวใ้ นหลายลักษณะท่แี ตกตา่ งกนั ดังต่อไปนี้ ไครเ์ คนดัล (Kirkendall, 1965) และ รูบิน (Rubin, 1993) ได้ให้ความหมายว่า เพศศึกษา มิใช่เป็นเพียงหน่วยการสอนเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ การปฏิสนธิ และการคลอดเท่านั้น แต่ยังรวมถึง กระบวนการทางการศกึ ษาทจ่ี ะช่วยให้บคุ คลได้นาความรเู้ กย่ี วกบั เพศไปผสมผสานกบั การดาเนินชวี ิต ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพ่ือช่วยให้เข้าใจพ้ืนฐานที่สาคัญทางเพศเมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ และให้เข้าใจถึง บรรทัดฐานทางเพศในสังคมท่ีแตกต่างกัน ตลอดจนสามารถปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นในสังคมได้ อีกท้ังเป็นการปลูกฝงั ให้บุคคลมีความสามารถในการตัดสินใจเก่ียวกบั การปฏบิ ัติทางเพศอย่างถกู ต้อง และมศี ีลธรรมจรรยาอกี ด้วย เบิร์ท และเบราว์เซอร์ (Burt & Brower, 1970) ได้ให้ความหมายของเพศศึกษาไว้ว่า เพศศึกษา หมายถึง การศึกษาเพื่อความรกั (Sex Education as Education for Love) เพราะพวก เขาเช่ือว่าความรักมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดทางพฤติกรรมทางเพศ โดยทาการจาแนกความรัก ออกไปตามแนวคดิ ของอีรกิ (Eric) ประกอบไปดว้ ยส่วนสาคัญ 4 สว่ น ดังนี้ 1. ความอุตสาหะ (Lobor) ความรักจะต้องประกอบไปด้วยความเต็มใจท่ีจะทุ่มเท กาลงั กายและกาลงั ใจให้กับคนรักของตน 2. ความรับผิดชอบ (Responsible) ความรักจะต้องประกอบไปด้วยความสามารถในการ ประเมินและความควบคมุ สถานการณ์ อนั เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากพฤตกิ รรมทางเพศอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอ้ มจะให้ความช่วยเหลือต่อคนรักของตนตลอดเวลา ซึ่งคู่รกั จะปฏิบัติตอ่ กันไดถ้ ูกตอ้ งมี

12 ประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับเขามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลของการเปลี่ยนแปลง ทางด้านชีวภาพสังคม วัฒนธรรม จติ วทิ ยา และร่างกายของมนุษย์ดมี ากนอ้ ยเพียงใด 3. ความเคารพ (Respect) ความรักจะต้องประกอบไปด้วยความเคารพยาเกรง ซ่ึงกันและกนั ไม่แก่งแยง่ และเอารดั เอาเปรยี บซงึ่ กนั และกัน 4. ความเข้าใจ (Understanding) ความรักจะตอ้ งประกอบไปด้วยความเข้าใจเห็นใจซึ่งกัน และกัน พยายามเอาใจเขามาใส่ใจเราให้มาก ๆ พยายามทบทวนดูว่า ถ้าต้องเกิดมาเป็นเพศตรงข้าม บา้ งแลว้ จะต้องปฏบิ ัตอิ ย่างไร คารเ์ ตอร์ วี กู๊ด (Carter V. Good, 2005) ให้คาจากดั ความว่า เพศศึกษา จาก Dictionary of Education หมายถึง 1. การศกึ ษาที่เก่ยี วกับกระบวนการตา่ ง ๆ และปัญหาของการสืบพนั ธุ์ 2. การศึกษาที่มุ่งจัดให้บุคคล เพื่อให้เข้าใจเร่ืองเพศศึกษาและควบคุมพฤติกรรมทางเพศ และแรงขบั ทางเพศของตนได้ 3. การศึกษาทีเ่ กี่ยวกับหลักการต่าง ๆ ตลอดจนปัญหาส่วนบุคคลและหมูค่ ณะ อนั เน่ืองมา จากขอ้ เทจ็ จรงิ ทางชีววิทยาท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั เรือ่ งเพศของชายและหญงิ โดยในสารานุกรมอเมริกาน่า บันทึกไว้ว่า เพศศึกษาเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับการสอนเรื่อง เพศในสาขาต่าง ๆ ให้แก่ผ้เู รยี นในระดบั อายุท่ีเหมาะสม ซ่ึงประกอบดว้ ยพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ การสืบพนั ธ์ุ การแสดงออกทางกายและใจท่ีสัมพันธ์กับการตอบสนองทางเพศ ความสัมพันธร์ ะหว่าง เพศ รวมทั้งปัญหาดา้ นชีวิตครอบครัว และปญั หาด้านความสมั พันธข์ องเพศชายและหญงิ โดยทวั่ ไป สุชาติ โสมประยูร และวรรณี โสมประยูร (2531) กล่าวถึงเพศศึกษาไว้ว่า เป็นการสอน หรือให้การศึกษาเร่ืองความรู้ทางเพศ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติหรือความรู้สึกท่ีดีใน ธรรมชาติทางเพศ พฤติกรรมทางเพศที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ สวัสดิภาพ และมนุษสัมพันธ์อันดีงาม ระหวา่ งกนั ท้งั ด้านสว่ นตวั และสว่ นรวม นายแพทย์สุพร เกิดสว่าง (2536) ได้อ้างถึงรายงานขององค์การอนามยั โลก (WHO) ซ่ึงให้ ความหมายของเพศศึกษาไว้ว่า เป็นการสอนให้เกิดความเข้าใจถึงภายวิภาค สรีรวิทยา จิตวิทยา สงั คมวิทยา และจรรยาท่ีเก่ียวกับเรือ่ งเพศ รวมท้ังเน้นถึงเร่ืองความรับผิดชอบและเจตคติท่ีเก่ียวกับ เร่ืองเพศท่ีเหมาะสมกับสังคมและประเพณีอันดีงาม จันทรว์ ิภา ดิลกสัมพันธ์ (2548, น. 10) ไดใ้ ห้ความหมายเพศศึกษาไว้ว่า เป็นกระบวนการ ทางการศึกษาท่ีจะช่วยให้บุคคลมีประสบการณ์เรียนรู้เก่ียวกับเรื่องเพศในทุก ๆ ด้าน ต้ังแต่ การเจริญเติบโต โครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบสืบพันธุ์ พัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศท้ังทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ พฤติกรรมระหว่างเพศ และมนุษยสัมพันธ์อันดีงาม

13 อนั จะทาใหบ้ คุ คลเกิดความรู้ความเขา้ ใจทศั นคติ และการปฏบิ ัตติ นเกีย่ วกบั เร่ืองเพศอย่างถูกต้องและ เหมาะสมในการดาเนนิ ชวี ติ ซง่ึ จะมผี ลทาให้เกดิ ความเป็นระเบยี บในชวี ติ ครอบครัวและสังคม องค์การแพธ (PATH) (2551, น. 20) กล่าวว่า เพศศึกษาเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ เกยี่ วกบั เพศ (Sexuality) ทีค่ รอบคลุมพัฒนาการทางร่างกาย จติ ใจ การทางานของสรรี ะและการดูแล สุขอนามัย เจตคติ ค่านิยม สัมพันธภาพ พฤติกรรมทางเพศ มิติทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีมีผลต่อ วิถีชวี ิตทางเพศ เป็นกระบวนการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ความคิด เจตคติ อารมณ์ และทักษะท่ีจาเป็น สาหรับบุคคลทจี่ ะช่วยให้สามารถเลือกดาเนินชวี ิตทางเพศอย่างเป็นสุขและปลอดภยั สามารถพัฒนา และดารงความสมั พันธ์กบั ผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบและสมดุล ชุมาภรณ์ ฝาชัยภูมิ (2559, น. 1) ได้ใหค้ วามหมายเพศศึกษาไว้ว่า กระบวนการท่ีก่อให้เกิด ประสบการณ์ อันเป็นผลทาให้บุคคลเข้าใจพฤติกรรมที่เกี่ยวกับชีวิตนับแต่เกิดจนตาย ทั้งในด้าน ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติท่ีเหมาะสมในเร่อื งเพศ เพ่ือสามารถปรับตวั ดาเนินชีวติ ในสังคมร่วมกับ คนเพศเดยี วกนั หรือต่างเพศไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ อทุ มุ พร แกว้ สามศรี และคณะ (2562, น. 6) ได้ให้ความหมายเพศศกึ ษา หรือเพศวถิ ศี ึกษา (Sexuality education) คือ วิชาการศึกษาท่ีว่าด้วยความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเพศที่ถูกต้อง เพ่ือให้ เกิดการยอมรับ การดูแลปฏิบัติรักษาตนเองในเร่ืองสุขอนามัย การรู้และเข้าใจถึงพัฒนาการปล่ียน แปลงของร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญาตามวัย การสร้างสัมพันธ์ระหว่างวัยตลอดจนความรู้ความ เข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโรคเอดส์ และ การดูแลป้องกันลดความเส่ยี งจากพฤตกิ รรมทางเพศ และการตัง้ ครรภก์ อ่ นวยั อันควร จากความหมายของเพศศึกษาท่ีผู้รู้และนักวิชาการได้กล่าวไว้ข้างต้น พอสรุปได้ว่า เพศศึกษา คือ กระบวนการท่กี ่อใหเ้ กิดประสบการณ์ อนั เป็นผลทาใหบ้ ุคคลเขา้ ใจพฤตกิ รรมท่เี กย่ี วกับ ชีวิตนับแต่เกิดจนตาย ท้ังในด้านความรู้ ทศั นคติ และการปฏิบัติที่เหมาะสมในเร่ืองเพศ เพ่ือสามารถ ปรบั ตวั ดาเนนิ ชีวติ ในสังคมร่วมกับคนเพศเดยี วกนั หรือต่างเพศได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ความแตกต่างระหว่างเพศศึกษากับเพศศาสตร์ ความสับสนระหว่างเพศศึกษา (Sex Education) กับเพศศาสตร์ (Sexology) ทาให้เกิด ความเข้าใจผิดคิดว่าทั้งสองคาน้ีมีความหมายเดียวกัน จึงทาให้เกิดการต่อต้านต่อการนาเพศศึกษา เข้าสู่ระบบการศึกษาทั้งในและนอกระบบโรงเรียน (ชัยวัฒน์ ปัญจพษ์ และคณะ, 2525, น. 15) โดยทั่วไปโดยเฉพาะครูและผู้ปกครองนักเรียนต่างเห็นว่าไม่มีความจาเป็นใด ๆ ท่ีจะต้องมาสอน ศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยเรอ่ื งกามารมณ์กันต้ังแตเ่ ยาว์วัย ทงั้ ทค่ี วามจริงแล้วเพศศาสตร์จะมีความหมายต่างไป จากเพศศกึ ษา โดยมีผ้ใู หค้ านิยามคาว่าเพศศาสตร์ ไว้ดังน้ี

14 เพศศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องเพศ ท่ีเน้นถึงพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ใน เร่อื งระบบการสบื พนั ธ์ุเป็นสาคญั โดยมีจดุ มงุ่ หมายสาคัญท่ีจะช่วยแก้ไขขอ้ บกพร่องหรอื ความผิดปกติ ทางเพศทุกชนดิ และสามารถจะชว่ ยใหม้ นุษย์ทกุ คนมคี วามสุขสูงสดุ ในเร่อื งราวของกามารมณ์ได้ อาจกล่าวได้ว่า เพศศาสตร์ก็คือ วิทยาศาสตร์ทางเพศ (The Science of Sex) ที่เน้น เฉพาะพฤติกรรมทางเพศโดยเฉพาะ (สุชาติ โสมประยูร และวรรณี โสมประยูร, 2525, น. 8) และ ไดจ้ ัดให้เปน็ วิทยาการชัน้ สงู ที่เปดิ สอนเฉพาะในโรงเรยี นแพทย์ หรอื สถาบันชัน้ สูงในดา้ นวิทยาศาสตร์ การแพทย์ โดยท่ผี ู้เรยี นตอ้ งมพี นื้ ฐานความรูด้ ้านกายวิภาคและสรีรวิทยาเปน็ อยา่ งดี ดังน้ัน เพศศึกษาจึงมีความแตกต่างไปจากเพศศาสตร์ เพราะเพศศึกษาไม่ได้เก่ียวข้อง เฉพาะพฤติกรรมทางเพศและกามารมณ์เท่านั้น แต่เพศศึกษาเป็นกระบวนการทางการศึกษาที่ ตอ่ เน่ือง ซึ่งจาเป็นต้องจดั ใหก้ ับบุคคลต้ังแต่เยาว์วัย ได้มีความรู้ความเข้าใจถึงเร่อื งธรรมชาติของเพศ นับต้ังแต่กลไกการทางาน การเปลี่ยนแปลงดังกล่ววในทุกด้านทั้งทางด้านกายวิภาค สรีรวิทยา สุขวิทยา จิตวิทยา รวมทั้งขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคม เพ่ือนามาใช้ ในการปรับตัววางแผนการดาเนินชีวิต การตัดสินใจปฏิบัติต่อกันระหว่างต่างเพศและระหว่างเพศ เดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นผลทาให้เกิดความรักความเข้าใจอันดีต่อกันในเพ่ือนมนุษย์ ซึง่ จะนามาซึง่ ความเปน็ ระเบียบในชีวิตครอบครัวและสงั คม จะเห็นได้ว่า เพศศึกษาตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นน้ัน มีความลึกซ้ึงกว้างขวางกว่า เพศศาสตร์มาก (เพศศาสตร์เป็นส่วนหน่ึงของเพศศึกษา) ความรู้ทางด้านกายวิภาค และสรีรวิทยา ระหว่างเพศ หรือความรู้ทางด้านเพศศาสตร์อย่างเดียว ไม่เพียงพอแต่จะต้องมีความรู้ทาง ด้านชีวิต (Life) การศึกษา (Education) อื่นๆ อีก เช่น สุขวิทยา ศาสนา สันทนาการ การแพทย์ การสาธารณสุข ประชากรศึกษา กางวางแผนครอบครัว และอ่ืนๆ อีกเข้ามาเป็นส่วนประกอบด้วย ดังน้ัน ถ้าจะพิจารณาตามเนื้อหาของเพศศึกษาแล้ว ก็กล่าวได้ว่าเป็นแบบผสมผสานสาขาวิชาต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน เชน่ ทเี่ รียกว่า สหวิทยา (Interdiscipline) ขอบขา่ ยของเพศศึกษา เพศศึกษาถือเป็นกระบวนการทางการศึกษา (Education Process) ที่จะทาให้บุคคลเกิด ความรู้ความเข้าใจในชีวิตอันเก่ียวขอ้ งกับเร่ืองเพศ เพ่ือเป็นการเตรียมพร้อมในการแก้ไขปญั หาชีวติ ท่ี เก่ียวข้องกับเร่อื งเพศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมท้ังในปัจจบุ ันและอนาคต พ้ืนฐานความรู้เกี่ยวกับ เพศศึกษาจึงควรจะต้องมีขอบข่ายกว้างขวางเก่ียวข้องกับหลายสาขาวิชาในลักษณะสหวิทยาการ (Interdiscipline) โดยนาความรู้จากหลายสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตมาประยุกต์เข้าด้วยกัน ซง่ึ อยา่ งน้อยควรประกอบไปด้วย 4 แขนงวชิ า คือ (จันทรว์ ภิ า ดลิ กสมั พันธ์, 2548, น. 11)

15 1. ด้านชีววิทยา (Biological Aspect) เป็นความรู้ที่เก่ียวข้องกับการกาเนิดของชีวิต ก าร ศึ ก ษ าเก่ี ย ว กั บ ก าย วิภ า คแ ละ ส รีวิ ท ย า ข อ งร่ า งก า ย ม นุ ษ ย์ ใน ส่ ว น ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ เร่ื อ งเพ ศ ระบบสืบพันธ์ุ พัฒนาการทางเพศด้านร่างกายของชายและหญิง อันได้แก่ การมีหนวด เครา เสียงแตก ห้าว การมปี ระจาเดือน การปฏสิ นธิ การต้งั ครรภ์ และการคลอดบตุ ร 2. ด้านสุขวิทยา (Hygienic Aspect) เป็นความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพทางเพศตั้งแต่ การดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ สุขปฏิบัติเก่ียวกับอวัยวะเพศ สุขปฏิบัติขณะมีประจาเดือน การเฝ้าระวังความผิดปกติของอวัยวะเพศ การตรวจโลหิตก่อนแต่งงาน การพบแพทย์เม่ือเกิด สิ่งผิดปกติขน้ึ กบั อวัยวะเพศ 3. ด้านจิตวิทยา (Psychological Aspect) เป็นความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับด้านจิตใจและ อารมณ์ของมนุษย์ การเปล่ียนแปลงดา้ นจติ ใจและอารมณ์เม่ือยา่ งเข้าสู่วัยรนุ่ วัยหนุ่มสาว แรงผลกั ดัน ทางเพศ การระบายอารมณ์ทางเพศ เจตคติต่อเพศตรงข้าม การปรับตัวเข้ากับเพศเดียวกันและ ต่างเพศ ความต้องการทางเพศ ความรัก ตลอดจนความผิดปกติทางจิตใจอันมีผลต่อพฤติกรรม ทางเพศ เป็นตน้ 4. ด้านสังคมวิทยาและวัฒนธรรม (Sociological and Cultural Aspect) เป็นความรู้ที่ เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับบรรทัดฐานของสังคม พัฒนาการด้านสังคมเก่ียวกับเร่ืองเพศ อันได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ การวางตัวต่อเพศตรงข้าม การเลือกคู่ครอง การแต่งงาน ชีวิตสมรสหรือ การปรับตัวเมอื่ อยู่เป็นโสด ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมทางเพศต่าง ๆ ความหมายของการสอนเพศศกึ ษา การสอนเพศศึกษา หมายถึง การให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศ เพื่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทั้งในด้านความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติในเรื่องเพศไปในทางที่ถูกต้อง เหมาะสม ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครวั และสังคม ดังนั้น การสอนเพศศึกษาจึงช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตให้กับบุคคลให้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ในครอบครัวและสังคมอย่างมีความสุข ซ่ึงความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศท่ีจะนามาสอน เพศศึกษาน้ันมีขอบข่ายเนื้อหาที่กว้างขวางมาก เช่น กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธ์ุ ของชายและหญิง การกาเนิดชีวิต การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ การวางแผนชีวิต การปฏิบัติตัวเกี่ยวกับเรื่องเพศ การเลือกคู่ครอง การมีเพศสัมพันธ์เม่ือพร้อมและ ปลอดภัย การสมรส การเตรียมตัวเป็นบิดามารดาท่ีดี เป็นต้น ดังน้ันในการสอนเพศศึกษาจึงควรจะ พิจารณาหยิบยกเน้ือหามาสอนให้สอดคล้องเหมาะสมกับวัย ปัญหาและความต้องการของผู้เรียน แต่ละบคุ คลด้วย

16 นอกจากน้ี นายแพทย์พนม เกตุมาน (2542) กล่าวว่า การสอนเร่ืองเพศแก่เดก็ และวัยรุ่น เป็นกระบวนการศึกษาทีเ่ ก่ียวข้องกับชวี ติ มนุษย์ ต้ังแตเ่ กิดจนตาย เปน็ การศกึ ษาทั้งในระบบโรงเรยี น และนอกระบบโรงเรียน ท่ีจะให้บุคคลได้เรียนรู้ธรรมชาติความเป็นจริงของชีวิตและสังคม เพ่ือให้ บคุ คลมคี วามรู้ มีทศั นคติ และมพี ฤตกิ รรมถูกตอ้ งในเรือ่ งเพศ ตลอดจนสามารถปรับตัวตามพัฒนาการ ของชีวิตอย่างเหมาะสม การสอนดังกล่าวมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมกว้างขวาง เกิดข้ึนต่อเน่ืองตาม พัฒนาการเด็กตั้งแต่เกิด และต่อเนื่องไปตามวัยจนถึงวัยรุ่น เด็กเรียนรู้จากการเปล่ียนแปลงทาง ร่างกาย และจากตัวอย่าง และการสอนโดยพ่อแม่ ครอบครัว และสังคมส่ิงแวดล้อม ไปตามระดับ สติปัญญา และการเปล่ียนแปลงของตนเองและส่ิงแวดล้อม พัฒนาเป็นเอกลักษณ์ทางเพศ บทบาท ทางเพศท่ีเหมาะสม ปรับตัวเอง และควบคุมตัวเองในเร่ืองเพศได้ การสอนเร่ืองเพศจาเป็นให้ สอดคล้องตามพัฒนาการทางเพศปกติ ผู้สอนเรื่องเพศจึงต้องศึกษาเรื่องพัฒนาการทางเพศตั้งแต่ เดก็ จนถงึ วยั ร่นุ เพ่ือให้จดั การเรียนรไู้ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง กล่าวโดยสรุปได้ว่า การสอนเพศศึกษา หมายถึง กระบวนการศึกษาท่ีจะช่วยให้ผู้เรียน มีความรคู้ วามเขา้ ใจถึงเรื่องราวทางเพศ ในด้านกลไกการทางาน การเปล่ียนแปลงความตอ้ งการ และ ผลสืบเน่ืองจากเปลี่ยนแปลงและความต้องการจากการเปล่ียนแปลง เช่น ทางด้านกายวิภาค สรีรวิทยา สุขภาพจติ เศรษฐกจิ อนั ที่จะใหบ้ คุ คลได้นาความรไู้ ปใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งมีความสขุ ความสาคัญของการสอนเพศศกึ ษา นกั วชิ าการและนักจิตวิทยาทัง้ หลายลงความเหน็ ว่า ควรมกี ารใหค้ วามรู้ในเร่ืองเพศแก่เด็ก เพราะจะก่อให้เกิดผลดีหลายประการ พอจะสรุปให้เห็นถึงความสาคญั ของการสอนเพศศึกษาไดด้ ังนี้ (จันทร์วภิ า ดลิ กสมั พันธ,์ 2548, น. 222) 1. เรอ่ื งเพศเปน็ ความจาเปน็ ที่จะต้องไดท้ ราบภายในขอบเขต เพราะเป็นเรือ่ งเกี่ยวกับชวี ิต ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นนักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากเพราะเป็นผู้นาทาง จิตวทิ ยา เช่ือว่า สัญชาตญาณทางเพศนนั้ มีอยู่ในมนุษย์ต้ังแต่เกิด หากแต่อย่ใู นลกั ษณะที่แตกต่างกัน กบั ทีแ่ สดงออกมาในตอนเป็นหนุ่มสาว ในเมื่อเรื่องราวทางเพศเป็นสิ่งที่มนุษยจ์ ะต้องเผชิญ ยิง่ จาเป็น ที่ควรจะได้มกี ารทราบ (ในขอบเขตที่เหมาะสม) 2. ความล้ีลับการปกปิดในเรื่องเพศ อาจจะนาไปสู่ความเข้าใจผิด เข้าใจว่าเรื่องเพศเป็น สิ่งหยาบโลน สิ่งดังกล่าวนี้อาจก่อให้เกิดผลเสียแก่เด็กได้ โดยนายแพทย์สรรค์ ศรีเพ็ญ ได้กล่าวว่า ถึงเวลาแล้วท่ีผู้มีหน้าที่ในการให้ความรู้ต่าง ๆ แก่เด็ก โดยเริ่มจากบิดามารดา ผู้ปกครอง และ ครูอาจารย์ท้ังหลายควรร่วมมือปรึกษาหารือกันโดยใกล้ชิด เพื่อหาทางป้อนความรู้เร่ืองเพศให้ ลูกหลานของตนโดยถูกต้อง และเหมาะสมกับวัยและสติปัญญาของเด็กแต่ละคน ซึ่งคงดีกว่าท่ีจะ

17 ปล่อยให้เขาเหล่าน้ันไปหาความรู้เอาเอง จากเพื่อนหรือแหล่งอ่ืน ๆ ซึ่งขาดความถูกต้องแน่นอน ดงั นนั้ จึงเห็นด้วยตอ่ การสอนเพศศกึ ษา เพราะว่ามคี วามสาคัญดังตอ่ ไปน้ี 2.1 เป็นการตอบสนองธรรมชาติของมนุษย์ ไม่ว่าเด็กหรอื ผู้ใหญ่ย่อมอยากรู้อยากเห็น ซึ่งในเดก็ เลก็ ๆ จะเหน็ ไดช้ ัดเจนมาก เชน่ เขามกั จะถามวา่ เขาเกดิ มาจากไหน เปน็ ต้น 2.2 ความคิดในสมัยก่อน คิดที่จะปิดบังไม่ให้เด็กรู้น้ัน สมัยน้ีไม่มีทางสาเร็จเสียแล้ว เพราะฉะนั้นกค็ วรใหเ้ ด็กรอู้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสมกับวัยของเดก็ จะดีกวา่ 3. เป็นการเตรียมตัวให้เด็กพร้อมท่ีจะเผชิญปัญหาท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ตลอดจนรู้จัก แก้ไขปรับปรงุ และปอ้ งกันเหตุการณ์อนั เก่ียวข้องกับการดาเนินชีวิตใหเ้ ปน็ ไปอย่างดีท่ีสุด เช่น ปญั หา ท่ีเกิดจากการเปลยี่ นแปลงในวยั รุ่นท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจ เป็นตน้ 4. เพศศึกษาจะนาไปสู่ความสมบูรณ์ในทางศีลธรรม และวัฒนธรรมของประชาชน รู้จัก ประพฤตติ นให้อย่ใู นขอบเขตในความสัมพันธอ์ ันดรี ะหว่างกนั นอกจากน้ี วันทนีย์ วาสิกะสิน (2527) กล่าวถึงความสาคัญของการสอนเพศศึกษาให้ แก่เดก็ และเยาวชน ดงั น้ี 1. ขจัดความกลวั ความสงสัย ความเข้าใจที่ไมถ่ กู ต้องในเร่อื งเพศลงได้ 2. สร้างทัศนคตทิ ีด่ ใี นเรือ่ งเพศทง้ั ทีเ่ กีย่ วกบั ตวั เองและผ้อู ื่น 3. สามารถเขา้ ใจความต้องการทางเพศของตนและยอมรับในพฤติกรรมทางเพศของคนอื่น ทแ่ี ตกตา่ งออกไปได้ และไมต่ กเปน็ เหยอ่ื ทางเพศของผู้อื่น 4. สามารถสร้างสถาบันการแต่งงานและสถาบันครอบครัวได้อย่างมั่นคง เช่น มคี วามสามารถในการเป็นคู่สมรสที่ดี และเปน็ บิดามารดาทด่ี ตี ่อบตุ ร 5. ช่วยกันสรา้ งสรรค์จรรโลงสังคม ป้องกันการล่อลวงหญิง การข่มขนื ขจัดความเสียหาย ในเรอ่ื งเพศตา่ ง ๆ ลงได้ 6. จะช่วยใหม้ ีค่านิยมมีศีลธรรมจรรยาที่ดใี นเรอื่ งเพศ รู้จกั เคารพยกย่องและรับผดิ ชอบต่อ เพศตรงขา้ ม 7. ปอ้ งกันปัญหาในการดารงชวี ิตประจาวันและปญั หาสังคม จะเห็นได้ว่า การสร้างเสริมประสบการณ์ชวี ิตให้เยาวชนได้เข้าใจและยอมรบั นับถอื ตนเอง พัฒนาความสามารถในการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดี มีพัฒนาการทางเพศทั้งด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ และสังคมอย่างเหมาะสม สามารถปรับตัวสร้างเสริมบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ระหว่างเพศได้ดี รู้จักหน้าท่ีของตนในการเป็นพ่อแม่ท่ีดีในอนาคต ตลอดจนมีความเข้าใจและสามารถแก้ไขปัญหา เก่ียวกับเรื่องเพศได้นั้น จาเป็นจะต้องอาศัยการสอนเพศศึกษา ซ่ึงมิได้เป็นเพียงการสอนเทคนิค เก่ียวกับการร่วมเพศตามที่คนส่วนใหญ่เข้าใจกัน แต่เป็นการสอนท่ีมีเน้ือหากว้างขวางและน่าศึกษา กว่านน้ั มาก

18 ความจาเป็นของการสอนเพศศกึ ษา สภาพสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมากในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้าน เศรษฐกจิ และสังคม เนอื่ งจากอิทธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกท่ีหลงั่ ไหลเขา้ มาอย่างรวดเรว็ เป็นตน้ ว่า การเปล่ียนแปลงลักษณะทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดาเนินชีวิต ความสัมพันธ์ใน ครอบครัวเส่ือมคลายลง และส่ือมวลชนในรูปแบบใหม่ทเ่ี ขา้ มามอี ิทธิพลอย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมที่ ไดร้ ับนั้นแตกต่างไปจากวัฒนธรรมเดิมของไทยมาก ลกั ษณะสงั คมทัง้ เกา่ และใหม่ต่างมีลักษณะสังคม ที่ดีและไม่ดีปนกัน มีการจัดต้ังสถานบริการในรูปแบบใหม่ข้ึนมากมายเพ่ือล่อใจให้เยาวชนเข้า ไปใช้บริการ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร ผับบาร์ ไนท์คลับ และสถานเริงรมย์ต่าง ๆ ซึ่งมีบุหร่ี และเครอ่ื งดมื่ มึนเมาทุกประเภทไว้คอยบรกิ ารลูกค้า มีสภาพการจดั สถานท่ี ท่ีนง่ั เป็นซอก หลบื มมุ มืด ทาให้ขาดความสนใจซ่ึงกันและกัน มีโอกาสทดลองทาสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ไปจากท่ีเคย เช่น ม่ัวสุม ทางเพศ ทดลองใช้ยา สารเสพติด หรือของมึนเมา เป็นต้น ซึ่งการใช้ยา สารเสพติด หรือของมึนเมา ก็เป็นสาเหตุให้วัยรุ่นกระทาผิดหรือประพฤติเหลวใหล เนื่องจากฤทธ์ิของยาหรือสารเหล่านั้น ทาให้ ขาดความควบคุม ขาดความยั้งคิด นอกจากน้ียังมีการใช้เยาวชนชายหญิงให้ขายบริการทางเพศ โดยเรียกว่าเป็นการหาทุนการศึกษา การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดปัญหามากมายตามมา อาทเิ ชน่ ปญั หาทางเพศ ปญั หาครอบครัวแตกแยก ปัญหายาเสพติด และปญั หาอาชญากรรม เป็นต้น (จันทร์วิภา ดลิ กสัมพันธ์, 2548, น. 222) อีกประเดน็ หนึ่งทค่ี วรพิจารณาก็คือ เยาวชนไทยทั้งชายและ หญิงยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติท่ีถูกต้องในเร่ืองเพศ โดยเฉพาะขาดแหล่งข้อมูลหรือ แหลง่ ทีจ่ ะขอคาแนะนาปรกึ ษาได้ เม่ือตอ้ งการความช่วยเหลอื เน่ืองจากพ่อ แม่ ผ้ปู กครอง หรือแมแ้ ต่ ครู อาจารย์บางท่านยังคงมีความคิดวา่ เร่ืองเพศน้ันเป็นเรื่องน่าละอาย น่ารงั เกียจ ควรปกปิด ไมค่ วร นามาสอน พูดคุย หรือทาความเข้าใจกับเยาวชน มีความกลัวว่าการสอนเร่ืองเพศจะเป็นการชี้นา เยาวชนให้เกิดความอยากทดลองหาประสบการณ์ทางเพศ ประกอบกับสถาบันครอบครัวมีบทบาท ลดน้อยลง พ่อแมม่ ีเวลาให้การอบรมส่ังสอนและสอดส่องความประพฤติ รวมทั้งการใช้วลาว่างของลูก น้อยลงไปทุกที เยาวชนจึงมีเสรีภาพนอกบ้านมากข้ึน แต่กลับได้รับการอบรมส่ังสอนและแนะนา จากผู้ใหญ่น้อยลง ดังน้ันเพื่อสนองตอบความอยากรู้อยากเห็นและแรงขับทางเพศตามธรรมชาติ ของคน จึงทาให้เยาวชนไปซ้ือหาสินค้าทางเพศมาเพิ่มประสบการณ์ให้กับตนเอง เช่น หนังสือโป๊ วีดิทัศน์ ภาพยนตร์ และส่ิงตีพิมพ์อื่น ๆ ท่ีแสดงภาพการประกอบกิจกรรมทางเพศ ซ่ึงผู้ประกอบ การค้าสินค้าเหล่านี้ต่างก็มีจุดมุ่งหมายท่ีจะกระตุ้นอารมณ์ทางเพศของผู้ซื้อเพ่ือขายสินค้าให้ได้มาก ที่สุด จึงให้ภาพที่เกินจริง มุ่งปลุกเร้าความรู้สึกทางเพศจนเป็นการให้ข้อมูลท่ีผิด และทั้ง ๆ ที่ สังคมไทยพยายามจะปิดบังไม่ให้เยาวชนรู้เร่ืองเพศ แต่กลับมีการเผยแพร่ส่ิงเหล่านี้ออกมาทาง สื่อสารมวลชนตลอดเวลา เช่น ภาพผู้หญิงเปลือยหรือแต่งกายล่อแหลมตามหน้าหนังสือพิมพ์

19 ภาพการกอดจบู พลอดรกั ระหว่างชายหญงิ ทางหนังสอื พิมพ์หรือโทรทศั น์ แมแ้ ตห่ นังสือการ์ตนู สาหรับ เด็กก็ยังมีการสอดแทรกเรอื่ งเพศเข้าไปในทางลามกอนาจาร ทาให้เยาวชนไทยได้รับประสบการณ์ทาง เพศท่ีผิดบ้างถูกบ้าง ดีบ้างไม่ดีบ้าง และบางอย่างก็เกินกว่าวัยท่ีควรจะได้รับรู้ ทาให้เกิดความสับสน สงสัย คับข้องใจ จนอาจทาให้เกิดการระบายออกทางเพศที่ไม่ถูกต้องไม่เหมาะสม เนื่องจากการขาด ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เช่น การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่พร้อม และไม่ปลอดภัย การหาประสบการณ์ ทางเพศจากหญิงบริการ การข่มขืนกระทาชาเรา เมื่อเกิดความต้องการทางเพศ เป็นต้น จึงจาเป็น จะต้องมีการสอนเพศศึกษาเพ่ือให้รู้จักคิดอย่างรอบด้านมากข้ึน มีการแสดงออกที่ถูกต้องเหมาะสม โดยทต่ี นเองมคี วามพงึ พอใจและเป็นทีย่ อมรบั ของสังคม การท่ีผู้ใหญ่ในสังคมให้ความรู้หรือส่ังสอนเยาวชนในเรื่องเพศ โดยวิธีการห้ามปราม ดุว่า และลงโทษ เพื่อไม่ให้เด็กกระทาส่ิงต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องเพศ อาจทาให้เด็กเกิดความสับสน สงสัย คับข้องใจ และอยากรู้มากยิ่งข้ึนไปอีก จนอาจไปแสวงหาข้อมูลจากแหล่งผิด ๆ ทาให้เกิด ความรู้ความเข้าใจผิดเก่ียวกับเรื่องเพศ จนทาให้มีพฤติกรรมผิดไปด้วยดังได้กล่าวแล้วข้างต้น ดังน้ัน การให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่เด็กจึงเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้ใหญ่ ซึ่งโซล กอร์ดอน (Sol Gordon) ผู้ให้การสนับสนุนการสอนเพศศึกษาแก่เด็กและเยาวชนทั้งท่ีบ้านและสถานศึกษา ในสหรัฐอเมริกา ก็ได้ย้าว่า “เด็กมีสิทธิในการท่ีจะได้รับความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องเพศ โดยเป็นหน้าท่ี ของผู้ใหญ่ท่ีจะต้องให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ใหญ่ไม่มีสิทธิบิดเบือนข้อเท็จจริงหรือไม่ให้ความรู้แก่เด็กไม่ว่า กรณใี ด ๆ นอกจากนี้ โซล กอร์ดอน ยังให้แนวความคิดเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงเจตคติของ คนในสังคมเกี่ยวกับเร่ืองการให้ความรู้เร่ืองเพศศึกษา โดยย้าว่ามนุษย์ควรมีสิทธิในความมีอิสระ ในเรื่องเพศ (Bill of Sexual Rights) และความรับผิดชอบในเรื่องเพศ (Sexual Responsibility) ดงั นี้ (จันทร์วิภา ดลิ กสัมพนั ธ,์ 2548, น. 223-224) สิทธิในความมีอิสระในเรอ่ื งเพศ ประกอบด้วย 1. มนุษย์ควรมีสิทธิในความมีอิสระที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเร่ืองเพศ (Freedom of Information) โดยไม่เลือกเพศ เช้ือชาติ ศาสนา แม้แต่คนพิการ ทุพพลภาพ เจ็บป่วยทางจิตก็ควร เข้าใจว่าเขายังมีความต้องการในเรื่องเพศและต้องการท่ีจะได้รับรู้เร่ืองเพศ โดยพิจารณาให้ความรู้ ตามความสามารถทเ่ี ขาควรไดร้ บั ต้องไม่ไปตัดสทิ ธใิ นเรอื่ งนี้ 2. มนษุ ยค์ วรมีสทิ ธิเท่าเทียมกันในทางเพศ (Freedom for Sexual Oppression) เพศชายและหญิงควรมีความเท่าเทียมกันในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้าน เศรษฐกิจ การศกึ ษา ฐานะทางสังคม หรือแมแ้ ตใ่ นเร่ืองเพศ

20 3. มนุษย์ควรจะได้รับสิทธิในการรับรู้ข้อมูลที่เป็นจริงในเร่ืองเพศ (Freedom from Research Nonsense and Sex Myths) ถ้าเป็นข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวิจยั ก็ต้องเป็นการค้นคว้าวิจัยที่ทาด้วยความถูกต้องเท่ียงตรง หากข้อมูลผิดพลาดไม่เป็นจริง คนท่ีจะยิ่งสับสนเร่ืองเพศมากข้ึน หรือถ้าเป็นคอลัมน์ตอบปัญหา ทางเพศก็ควรจะให้ข้อมูลท่ีเป็นความรู้จริง ๆ มิใช่เป็นการชี้แนะหรือยั่วยุทางกามารมณ์ ผู้ตอบต้อง รู้จริงต้องมีความรับผิดชอบ เพราะจะมีอิทธิพลต่อการกระจายความรู้ ทาให้คนจานวนมาก เกดิ ความเช่อื ถือ 4. มนุษย์ควรมีอิสระท่ีจะมีพฤติกรรมทางเพศท่ีไม่เหมือนกับคนอื่น ๆ (Freedom from Sexual Stereotyping) ถ้าพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกนั้นไม่ทาให้ผอู้ ่ืนเดือดร้อน โดยสังคมควรจะให้ความเป็นธรรม ไม่ควรจะไปประณามว่าผิดปกติ ซ่ึงจะทาให้ผู้ที่มีพฤติกรรมทางเพศท่ีต่างไปจากผู้อ่ืนต้องปวดร้าว ทรมานจากการไมย่ อมรบั ของสังคม 5. มนุษย์ควรมีอสิ ระท่ีจะสามารถรบั ผิดชอบต่อร่างกายของตนอย่างเต็มที่ (Freedom to Control One's Own Body) สามารถที่จะตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ เก่ียวกับตนเองได้ เช่น การทาหมัน การทาแท้ง การใช้วิธีการคุมกาเนิด เป็นหน้าที่ของรัฐท่ีจะต้องจัดบริการต่าง ๆ ให้กับคนในชุมชนเลือกใช้ อยา่ งทัว่ ถึง 6. มนษุ ยค์ วรจะมีอสิ ระในการแสดงความรักทมี่ ตี ่อกนั (Freedom to Express Affection) โดยสงั คมควรจะใจกว้างยอมรบั การแสดงออกซ่งึ ความรักของมนุษย์ พ่อแม่รักลูกก็ควร แสดงออกให้รู้ว่ารักลูกด้วยการโอบอุ้มโอบกอด มิใช่รักอยู่ในใจ ไม่พูดไม่บอก สามีภรรยา ควรแสดงออกซึ่งความรกั ความหว่ งใยต่อกัน หญงิ ชายทรี่ ักกนั ก็อาจแสดงออกได้ เชน่ เดินโอบเอวกัน แตต่ ้องไม่ประเจดิ ประเจ้อเกนิ เหตุ และควรคานึงถงึ ความเหมาะสมของแต่ละวัฒนธรรมดว้ ย ความรับผดิ ชอบในเรอ่ื งเพศ ประกอบดว้ ย 1. ไม่มีใครจะมีสิทธิไปทาร้ายบุคคลอ่ืน ไม่ว่าจะทางร่างกายหรือจิตใจก็ตาม หรือไป แสวงหาประโยชน์จากบคุ คลอืน่ รวมทัง้ เรอ่ื งเพศด้วย เช่น ทาใหบ้ คุ คลอืน่ เปน็ สินค้าทางกามารมณห์ รือ ผลประโยชนข์ องตน 2. ไมม่ ีใครจะมีสทิ ธไิ ปปดิ บังความรูเ้ กย่ี วกับเร่อื งเพศต่อบุคคลอื่น 3. ไม่มใี ครจะมสี ิทธทิ ีจ่ ะทาให้เด็กเกดิ มาด้วยความไม่ต้องการ 4. ไม่มีใครจะมีสิทธิไปเผยแพร่โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ใหก้ บั ผอู้ ื่น 5. ไมม่ ใี ครจะมสี ิทธิไปทารา้ ยเด็ก หรือแสวงหาผลประโยชนก์ ับเดก็ ในเร่ืองเพศ รวมทั้งกบั ผเู้ จ็บป่วยทางกายและทางจิตด้วย

21 6. ไม่มีใครจะมีสิทธิไปบังคับบุคคลอื่นในเรื่องเพศ การมีเพศสัมพันธ์ทางเพศจะต้องตั้ง อยู่บนความเตม็ ใจและสมคั รใจเท่านน้ั ทัง้ คูส่ มรสและทีไ่ มใ่ ชค่ ูส่ มรสดว้ ย การมีอิสระและความรับผิดชอบในเรื่องเพศดังกล่าวข้างต้นนี้ จะเกิดขึ้นได้ต้องได้มาจาก ความรู้ความเขา้ ใจที่ถูกต้องในเรื่องเพศ ซ่ึงจะมผี ลทาให้การอยรู่ ่วมกันกบั ผอู้ ่ืนในสังคมได้อย่างราบรื่น เพราะมีการเคารพในสทิ ธิของผอู้ ่นื โดยเฉพาะในเร่ืองเพศ ดังน้ันการสอนเพศศึกษาอย่างถูกต้องและเหมาะสมจึงเป็นส่ิงที่จาเป็นอย่ างย่ิง เป็นการเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถ รู้จักท่ีจะเลือกคิดเลือกตัดสินใจและ เลือกปฏบิ ัติอย่างถูกต้องเหมาะสม จุดมงุ่ หมายของการสอนเพศศึกษา ชลู ซ์และวลิ เล่ยี มส์ (Schulz and Williams, 1969, p. 7) ไดก้ ล่าวสรุปถึง จุดมงุ่ หมายของ การสอนเพศศึกษาไว้อย่างน่าสนใจว่า “ความมุ่งหมายท่ีสาคัญที่สุดของการสอนเพศศึกษาก็เพ่ือ ต้องการจะช่วยให้บุคคลไดร้ ู้จักคิดเก่ียวกับเร่ืองเพศได้อย่างถูกต้อง และรู้จักแสดงออกซ่ึงพฤติกรรม ทางเพศได้อย่างฉลาด โดยตนเองก็พึงพอใจมีความสุขและสังคมก็ยอมรับ ถ้าการสอนบรรลุผล ตามจุดมุ่งหมาย ผลประโยชน์ท่ีจะได้รับมิใช่บังเกิดแก่บุคคลเพียงฝ่ายเดียวเท่าน้ัน แต่จะส่งผลไปถึง สังคมโดยสว่ นรวมอกี ดว้ ย” นอกจากนี้ การสอนเพศศกึ ษามจี ดุ ม่งุ หมายดงั ต่อไปน้ี 1. เพื่อให้มีความรู้พอเพียงในเร่ืองกระบวนการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายและสรีระ ของทัง้ สองเพศอนั มผี ลต่อความคิด สติปญั ญา อารมณ์ และจติ ใจ 2. เพ่ือช่วยขจัดความวิตกกังวลเก่ียวกับเร่ืองการพัฒนา การปรับตัว และการวางตัว ใหเ้ หมาะสมกบั บทบาททางเพศ 3. เพ่ือเสริมสร้างให้เกิดทัศนคติท่ีถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องเพศ ท้ังในเรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง และผอู้ ่ืน ท้งั ต่อเพศเดยี วกันและเพศตรงข้าม 4. เพ่ือให้ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้มนุษย์สัมพันธ์ท่ีถูกต้องเพื่อการดารงชีวิตท่ีราบร่ืน ของแตล่ ะบคุ คล ครอบครัว และสงั คม 5. เพื่อใหเ้ กิดความเข้าใจในตนเองอย่างถอ่ งแท้ในเร่อื งความสมั พนั ธ์ของเขากับเพอื่ นมนุษย์ ทง้ั สองเพศ และช่วยให้มองเห็นและเข้าใจว่าคนนั้นมหี นา้ ที่ มพี นั ธะ มคี วามรับผิดชอบตอ่ เพ่ือนมนษุ ย์ ด้วยกนั มิใชแ่ กต่ นร่วมดว้ ยเสมอ 6. เพื่อสร้างความเข้าใจว่า การจะตัดสินใจท่ีชอบด้วยเหตุผลนั้น จาเป็นต้องมีหลัก ทางด้านศีลธรรมรว่ มด้วยเสมอ

22 7. เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างเพียงพอเก่ียวกับการใช้เพศในทางที่ไม่ถูกต้อง ตลอดจน มีความเข้าใจเกี่ยวความผิดปกติทางเพศ เพื่อจะได้รู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกหลอกถูกเอารัด เอาเปรยี บ ถูกข่มเหง หรอื ไดร้ บั อนั ตรายต่อร่างกาย จติ ใจ และชอ่ื เสยี ง 8. เพื่อให้เกิดความตระหนักว่าการกระทาทางเพศส่วนตัวมีผลกระทบต่อสังคม เช่น การปลอ่ ยทิ้งบตุ รตามยถากรรม การหลอกลวงผู้หญงิ ไปค้าประเวณี เปน็ ต้น 9. เพ่ือให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคม โดยขจัดส่ิงเลวร้ายต่าง ๆ ให้หมดไป เช่น การเอาเปรียบทางด้านเพศ การหาประโยชน์จากผู้อ่ืนในเรื่องเพศ การใช้เพศและกามารมณ์ อย่างไมร่ ับผิดชอบและอยตุ ิธรรมของกฎหมายเก่ียวกบั เพศที่ลา้ สมยั และอยตุ ธิ รรม 10. เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และฝึกหัดการคิดนึกจนกลายเป็นความเคยชินพอท่ีจะช่วยให้ แต่ละคนรู้และใช้ความเป็นเพศหญิง หรือชายของตนมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชนเพื่อให้ เกดิ ประโยชน์สขุ ประโยชนข์ องการสอนเพศศกึ ษา การสอนเพศศึกษามีประโยชน์ตอ่ บุคคลและสังคม ดังต่อไปนี้ (ชุมาภรณ์ ฝาชัยภูมิ, 2559, น. 3-4) 1. เพื่อใหเ้ กดิ ความรูค้ วามเข้าใจในเรอ่ื งเพศอยา่ งถอ่ งแท้ 2. เพอื่ ใหเ้ กิดเจตคตแิ ละค่านิยมทถ่ี ูกตอ้ งในเรอ่ื งเพศ 3. เพ่ือแก้ไขความเช่อื และความเข้าใจผิดในเร่ืองเพศ 4. เพื่อสร้างเสริมลกั ษณะนิสัยและการประพฤติปฏิบัตทิ างเพศท่ีดีงาม รวมทงั้ ความสานกึ และตระหนกั รับผดิ ชอบตอ่ การกระทาต่าง ๆ ทีจ่ ะมีผลต่อสงั คมสว่ นรวม 5. เพ่ือเสริมสร้างความสมบูรณ์ของจิตใจและอารมณ์ทางเพศ ให้บุคคลมีพัฒนาการไป ในทางทถ่ี ูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งท่ีการพัฒนาบุคลิกภาพและสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล เพื่อจะได้อยู่ ในสงั คมได้อยา่ งเปน็ สุข 6. เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและตระหนักถึงความสาคัญ ของชีวิตครอบครัว และ สรา้ งจิตสานึกทีจ่ ะสรา้ งครอบครัวทีม่ ีสุขในอนาคต 7. เพ่ือเปน็ การป้องกันและลดปญั หาสังคมที่เกยี่ วเนื่องมาจากเรื่องทางเพศ 8. เพอื่ ปอ้ งกันและลดปัญหาการกระทาผิดทางเพศในสังคม 9. เพอ่ื ลดปัญหาการขัดแย้งในชีวิตครอบครัว 10. เพอ่ื ลดปญั หาการเกิดโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธท์ ้งั มวล

23 11. เพ่อื สร้างคณุ ภาพชวี ติ ให้กบั บคุ คลโดยเกดิ ความสมบูรณท์ ุกด้าน 12. เพอื่ ใหบ้ ุคคลดารงชวี ติ อย่ใู นครอบครวั และสงั คมอยา่ งเป็นสุข สถาบนั ทมี่ ีบทบาทในการสอนเพศศกึ ษา สถาบันท่มี ีบทบาทในการสอนเพศศึกษามี 3 สถาบนั ไดแ้ ก่ สถาบนั ครอบครัว ชุมชน และ สถานศกึ ษา ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี (จนั ทรว์ ภิ า ดิลกสัมพนั ธ์, 2548, น. 226-242) 1. การสอนเพศศกึ ษาในครอบครวั เนื่องจากขอบข่ายเน้ือหาของเพศศึกษามีความเกี่ยวเนื่องกับชีวิตของมนุษย์ นับต้ังแต่ ถือกาเนิดขึ้นมาจนกระท่ังตายลง ดังนั้นการเรียนรใู้ นเร่อื งเพศจึงต้องกระทาอยา่ งต่อเนื่อง บ้านหรือ ครอบครัวจงึ เป็นสถาบันแห่งแรกในการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองต่าง ๆ ของชีวิตให้กบั เด็ก รวมท้ังเร่ืองเพศด้วย เพราะเรื่องเพศก็เป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของชีวิต แม้ว่าเรื่องเพศจะเป็น สัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ แต่เน่ืองจากมนุษย์ได้พัฒนายกสภาพชีวิตความเป็นอยู่และจิตใจ ให้เหนือกว่าสัตว์ท้ังปวง จึงไม่อาจจะปล่อยให้ชีวิตท่ีถือกาเนิดเกิดใหม่ได้ เจริญเติบโตไปตาม สภาพธรรมชาติได้ จาเป็นที่พ่อแม่จะต้องโอบอุ้มเลี้ยงดูช่วยเหลือและอบรม สั่งสอนขัดเกลา เพ่ือให้ พฒั นาการเปน็ ไปอย่างเหมาะสม การอบรมสั่งสอนเร่ืองเพศแก่บุตรในครอบครัวมิได้เป็นเรื่องใหม่แต่อย่างใด ได้มีมา ต้ังแต่สมัยโบราณแล้ว เพยี งแต่วธิ กี ารอบรมส่ังสอนจะแตกต่างไปจากปัจจุบัน นนั่ คือสมยั ก่อนสถาบัน ครอบครัวได้ทาหนา้ ท่ีและมีบทบาทต่อการเลี้ยงดูลูกอย่างมาก มีความใกล้ชิดกับสมาชกิ ในครอบครัว การสอนในเร่ืองเพศจะเป็นไปในลักษณะใหเ้ ด็กร้ถู ึงมารยาท การวางตวั บทบาททางเพศ รู้จกั ควบคุม เก็บกดในเร่ืองความรู้สึกและอารมณ์ทางเพศ โดยจะใช้วิธีการ ว่ากล่าวตักเตือน ดุว่า ห้ามปรามและ ลงโทษ ถ้ามีการฝ่าฝืนก็จะใช้วิธีที่รุนแรง โดยเฉพาะกับเด็กผู้หญิง ผู้ใหญ่จะเข้มงวดกวดขันให้อยู่ใน โอวาทมากกว่าเด็กผู้ชาย ส่วนในยุคปัจจุบันสังคมได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมากมาย ทั้งทางวัตถุและ จิตใจ สถาบันครอบครัวได้ลดบทบาทท่ีสาคัญต่อสมาชิกในครอบครัวลงหลายด้าน ความห่างเหิน ระหว่างผใู้ หญก่ ับเด็กมมี ากขึน้ ขณะเดยี วกันเด็กกม็ ีโอกาสจะเรยี นรูเ้ ร่ืองเพศจากแหล่งอื่น ๆ มากกว่า ในบ้าน จนบางครั้งผู้ใหญ่ตามไม่ทันและคาดไม่ถึงว่าเด็กจะรู้ได้ การสอนลูกในเรื่องเพศของพ่อแม่ก็ ควรจะต้องใช้วิธีการซักถาม พูดคุยกับลกู แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นกัน เพอ่ื พ่อแม่จะได้รู้และเขา้ ใจว่า ลูกตอ้ งการอะไร มีความคดิ อย่างไร ถกู ตอ้ งหรือไม่

24 1.1 ลกั ษณะการสอนเพศศกึ ษาในครอบครัว ลักษณะการสอนเพศศึกษาในครอบครัของพ่อแม่หรือผู้ปกครองแก่สมาชิกใน ครอบครัว แบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทท่ี 1 ปฏเิ สธทจี่ ะสอนเพศศกึ ษาใหก้ ับเดก็ เหตุผลท่ีปฏิเสธเนื่องจากมีเจตคติท่ีไม่ถูกต้องในเร่ืองเพศ มองว่าเรื่องเพศเป็น ส่ิงน่าละอาย นา่ รงั เกยี จ ลามก สกปรก ไมส่ มควรพดู กับเด็กเลยในเรือ่ งพศ รอให้โตขน้ึ เดก็ ก็จะรู้ได้เอง อีกเหตุผลอีกอย่างหน่ึงท่ีปฏิเสธการสอนก็เนื่องจากไม่มีความรู้ในเรื่องเพศ เกิดความกระดากอาย ท่ีจะพูดเร่ืองเพศ ไม่รจู้ ะใช้ภาษาคาศัพท์อย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่น่าเกลียด จึงปฏิเสธท่ีจะสอน เรอ่ื งเพศแกบ่ ตุ รหลานไปเลย ประเภทที่ 2 เตม็ ใจและมีความต้ังใจจะสอนเพศศกึ ษาให้กับเดก็ ผู้ปกครองในประเภทน้ีก็ยังแบ่งเป็นสองแบบ โดยแบบแรกเป็นผู้ปกครองที่มี ความรู้ความเข้าใจและมองเห็นคุณค่าและความจาเป็นของการมีความรู้เร่ืองเพศที่มีต่อบุตรหลาน จึงให้การอบรมส่ังสอนเร่ืองเพศอย่างถูกต้องและเหมาะสม ส่วนผู้ปกครองอีกแบบหน่ึงคือ แบบท่ีมี ความรู้ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับเร่ืองเพศ ดังนั้นเร่ืองท่ีปลูกฝังอบรมให้กับบุตรหลานจึงผิดไปด้วย เพราะเปน็ การสอนตามความเชอื่ ความเข้าใจของตนเอง 1.2 ความพรอ้ มของพอ่ แมใ่ นการสอนเพศศึกษา จ าก เห ตุ ผ ล แ ล ะ ค ว าม จ า เป็ น ข อ ง ก าร ส อ น เพ ศ ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า บั น ค ร อ บ ค รั ว ในสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงเป็นหน้าที่ของพ่อแม่โดยตรงที่จะต้องรับผิดชอบในการถ่ายทอดความรู้ เรื่องเพศให้กับบุตรหลาน โดยไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ เพราะหากพ่อแม่ไม่สอนให้กับบุตรหลานก็จะมี คนอน่ื มาชว่ ยสอนแทน การสอนของคนอนื่ นั้นน้อยคนนักท่ีจะมีความรักความปรารถนาดี อันบริสุทธ์ิ เป็นพ้ืนฐานเสมือนพ่อแม่ เพื่อให้การสอนเพศศึกษาของพ่อแม่บังเกิดผลดี พ่อแม่จาเป็นต้องมี ความพร้อมในด้านตอ่ ไปน้ี (สมศรี สุกมุ ลนนั ท์, 2528, น.34) 1.2.1 ต้องมคี วามรเู้ กย่ี วกบั เรอื่ งเพศอย่างถูกตอ้ งและเพียงพอ 1.2.2 ต้องมีเจตคติที่ดีในเรื่องเพศ มองเห็นประโยชน์และคุณค่าของเรื่องเพศ อยา่ งแท้จริง ตลอดจนปรารถนาท่ีจะใหเ้ ด็กไดร้ บั ความรูใ้ นเร่ืองเพศอย่างถูกตอ้ ง เพื่อประโยชนต์ ่อชีวิต ของเด็กเอง 1.2.3 ต้องมีความรู้ในด้านจิตวิทยาพัฒนาการเด็กคือ รู้ถึงความเจริญเติบโตและ พัฒนาการของเดก็ วัยต่าง ๆ ตลอดจนความสนใจและความตอ้ งการของเดก็ แต่ละวยั ด้วย 1.2.4 ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุตร รวมทั้งความสัมพันธ์ภายในครอบครัวด้วย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงความสมั พันธ์ระหวา่ งพ่อแม่ โดยทาตนเป็นแบบอยา่ งที่ดใี ห้กับลกู เพราะการอบรม สั่งสอนด้วยคาพูดมีความสาคัญไม่เท่ากับการกระทาของพ่อแม่ ซ่ึงลูกได้ยินได้ฟังและซึมชับอยู่

25 ตลอดเวลา ภาพลักษณ์ของพ่อแม่และสมาชิกในครอบครัวจะติดฝังแน่นอยู่ในความทรงจามากกว่า การพร่าสอนด้วยคาพูด จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าพฤติกรรมของพ่อแม่มีผลท้ังทางตรงและทางอ้อม ต่อความคิดและพฤติกรรมของเด็ก ทั้งส่วนท่ีแสดงออกมาอย่างชัดเจนของเด็กและส่วนท่ีอาจมอง ไมเ่ หน็ แตจ่ ะอยู่ภายในจติ ใต้สานกึ 1.3 เน้อื หาและวธิ กี ารสอนเพศศึกษาในครอบครัว พ่อแม่ผู้ปกครองบางคนอาจมีปัญหาท่ีไม่อาจจะตัดสินใจได้ว่า ควรจะเริ่มต้นสอน เพศศึกษาให้กับบุตรหลานเมื่อไรจึงจะเหมาะสม คาตอบในเรื่องนี้ที่ยอมรับกันโดยทั่วไปคือ ควรจะ เร่ิมต้นสอนเมื่อเด็กเริ่มถามปัญหาเรื่องเพศ เมื่อคาตอบเป็นเช่นน้ีจึงมีพ่อแม่ ผู้ปกครองบางรายสรุป เอาเองว่าถ้าเดก็ ไม่ถามเกย่ี วกบั เร่อื งเพศเลยกจ็ ะไมบ่ อกไมส่ อนเรื่องเพศให้กับเดก็ เป็นการหลีกเลีย่ งที่ จะสอนเรื่องเพศไปเลย นับเป็นความคิดท่ีไม่ถูกต้องอย่างยิง่ เพราะการที่เด็กไม่ถามเร่ืองเพศขึ้นมาก็ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เด็กไม่สนใจไม่อยากรเู้ ร่ืองเพศ โดยปกตเิ ด็กจะเรมิ่ สนใจ เริ่มมปี ญั หาใครร่ เู้ รอื่ งเพศ เม่ืออายุราว 3 ขวบ แต่ถ้าวัยน้ีแล้วเด็กยังไม่สนใจใคร่ถามพ่อแม่ พ่อแม่ก็ควรจะสารวดูด้วยว่า สัมพันธภาพระหว่างตนกับลูกดีเพียงใด พ่อแม่เข้มงวดเย็นชากับลูก ๆ จนลูกไม่กล้าเข้าใกล้หรือ ไม่พ่อแม่อย่าพยายามหลีกเล่ียงกับการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษากับลูก อย่าดีใจท่ีลูกไม่มีคาถาม ถ้าลูกไม่ถามพ่อแม่กอ็ าจต้องเริ่มต้นก่อน กอ่ นท่ีจะสายเกนิ ไป พ่อแม่เริ่มเร็วเท่าใดก็จะเกิดประโยชน์ ตอ่ ตัวเด็กมากเทา่ นน้ั การเร่ิมต้นสอนควรเป็นไปตามวัยของเด็กดังน้ี (จันทร์วภิ า ดิลกสัมพันธ,์ 2548, น. 229-232) 1.3.1 วัยก่อนวัยเรยี น (อายุ 0 - 6 ป)ี 1) การแสดงความรักของพ่อแม่ที่มีตอ่ ลูกควรเสมอภาคกันท้ังสองเพศ เพื่อ ไม่ใหเ้ ดก็ เกิดความรสู้ ึกว่าเพศใดเพศหนงึ่ สาคญั กว่าอกี เพศหน่ึง 2) พยายามส่งเสริมให้เด็กรู้สึกภาคภูมิใจในเพศของตนเอง ต้องไม่แสดงให้ เด็กเกิดความรู้สึกผิดปกติในเร่ืองอวัยวะเพศ ซึ่งเด็กในช่วง 2-3 ขวบ เด็กจะเร่ิมสนใจในอวัยวะเพศ ของตน โดยสังเกตอาการจับตอ้ งอวยั วะเพศเล่น ซึ่งพ่อแม่ก็ไมค่ วรจะใช้วิธี ลงโทษโดยการดุว่าหรือตี มอื เด็ก ควรทาเฉย ๆ และหันเหความสนใจของเด็กให้ไปทางอ่ืน เช่น หาของเล่นให้ เด็กก็จะเลิกเล่น ไปเองในไม่ช้า อย่าทาให้เด็กเกิดความรู้สึกว่าเร่ืองน้ีเป็นความผิดอย่างร้ายแรง พ่อแม่ควรให้ ความสาคัญของอวัยวะเพศเท่า ๆ กับอวัยวะอ่ืน ๆ อย่าสร้างความรู้สึกรังเกียจต่ออวัยวะเพศว่าเป็น ของสกปรก เป็นของต่าที่ไม่ควรไปจับต้อง ความรู้สึกเห ล่านี้จะมีผลต่อเด็กไปจนโต เม่ือเกิด ความผิดปกตหิ รอื โรคภัยบริเวณอวยั วะเพศ กจ็ ะไม่กล้าไปพบแพทย์หรอื บอกให้ใครรู้ ซ่งึ เปน็ อันตราย ตอ่ ตวั เด็กเอง ถา้ โรคหรือความผิดปกติน้ันรุนแรงจนสายเกนิ กว่าจะแกไ้ ขได้ 3) การตอบคาถามหรือให้ความรู้ข้อมูลแก่เด็ก ทุกคาถามที่เด็กสงสัยใคร่รู้ การตอบควรใช้คาง่าย ๆ ตรงไปตรงมา ส้ัน ๆ ไม่จาเป็นต้องอธิบายอย่างลึกซ้ึงและการให้เด็กได้รับรู้

26 ความจริงในเรอ่ื งเพศ กไ็ ม่จาเปน็ จะต้องตอบทุกอย่างในคราวเดียวกัน ควรพิจารณาดูวยั และวฒุ ิภาวะ ของเด็กด้วยว่า จะสามารถเข้าใจคาตอบได้ในระดับไหน การให้รายละเอียดมากเกินไปจะทาให้เด็ก เกิดความสับสน งุนงง และไม่เข้าใจมากขึ้น การมีสัตว์เลี้ยงในบ้าน เช่น สุนัข แมว ไก่ อาจช่วยให้เด็ก มคี วามเข้าใจในเร่ืองกาเนิดของชีวิตได้เป็นอย่างดี พ่อแมอ่ าจใช้สถานกรณ์เหล่านี้อธิบายการเกิดของ มนุษย์ได้ 4) การสอนให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยทางเพศ ฝึกฝนให้เด็กเรียนรู้ เก่ียวกับเร่ืองการใช้ห้องน้าห้องส้วม (Toilet training) การรู้จักรักษาความสะอาดอวัยวะเพศของตน เม่ือเข้าห้องน้าหอ้ งส้วม 5) การเรียกช่ืออวัยวะเพศต้องเรยี กใหถ้ ูกตอ้ งและไมร่ ้สู กึ วา่ หยาบคาย 6) ควรบอกให้เด็กรับรู้ว่าการพูดคุยเร่ืองเหล่านี้ ควรพูดคุยกันเฉพาะใน ครอบครัว หากสงสัยอะไรก็ควรถามจากพ่อแม่ เพราะเด็กในวัยนี้ยังไม่ทราบว่าอะไรควร ไม่ควร ตอ่ การซักถาม 1.3.2 วยั เรียน (อายุ 7 - 11 ปี) เด็กในวัยนี้ได้เปล่ียนส่ิงแวดล้อมจากบ้านมาเป็นโรงเรียน โลกของเด็ก กว้างขึ้น ได้พบปะผู้คนนอกบ้าน มีเพ่ือนร่วมช้ันเรียน การสอนความรู้เร่ืองเพศแก่เด็กวัยนี้ คือ เร่ืองการสร้างความสัมพนธ์กับเพื่อนท้ังเพศเดียวกันและเพ่ือนต่างเพศ เพื่อให้เด็กได้มีพัฒนาการ เกย่ี วกับความสามารถในการสรา้ งความสัมพนั ธห์ รือการปรบั ตวั ให้เขา้ กับผูอ้ ่ืนได้ นอกเหนือจากคนใน ครอบครัวของตน และยังเป็นการสร้างความรสู้ ึกท่ีดีต่อเพศตรงข้ามด้วย เด็กวยั น้ีเมอื่ ไปโรงเรยี นจะมี เพื่อนมากขึ้น อาจมีคาถามแปลก ๆ เก่ียวกับเรื่องเพศมาถามพ่อแม่มากข้ึน พ่อแม่ก็ควรจะต้อง ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา และรายละเอียดของคาตอบก็ควรมากขึน้ กวา่ ก่อนวยั เรียน 1.3.3 วยั รุ่นตอนตน้ (อายุ 12 - 15 ป)ี ระยะน้ีเป็นระยะหัวเลี้ยวหัวต่อของเด็กท่ีจะก้าวพ้นความเป็นเด็กเข้าสู่ ความเป็นผู้ใหญ่ มีการเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งหลายอย่างทั้งทางร่างกายและจิตใจเกิดขึ้นกับเด็ก หากพ่อแม่ไม่ให้ข้อเท็จจริงในเร่ืองเพศก็จะทาให้เด็กเกิดความวิตกกังวลใจได้ ดังนั้นการให้ความรู้ เรอ่ื งเพศศึกษาแก่เดก็ วยั น้จี งึ ควรเก่ยี วข้องกับเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี 1) ความรู้เก่ียวกับการเปล่ียนแปลง และการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่น แม่ต้องเป็นคนสอนลูกสาวให้รับรู้เรื่องการมีประจาเดือน การมีหน้าอก การมีขนข้ึนในท่ีลับ พอ่ ก็ต้องสอนลูกชายในเรื่องการแข็งตวั ของอวัยวะเพศ การฝันเปียก การบาบัดความใคร่ด้วยตนเอง เปน็ ต้น ตอ้ งพยายามสร้างความรสู้ กึ ทีด่ ีต่อการเปลีย่ นแปลงเหลา่ นเ้ี ป็นเร่ืองปกตธิ รรมดา และแสดงว่า ร่างกายของเรามีพัฒนาการที่ปกติ ซ่ึงบ่งช้ีว่าเรากาลังก้าวเข้าสู่การเป็นผู้ใหญ่ เพ่ือเป็นการลด

27 ความวิตกกังวลใจหรือตกใจเมื่อเกิดการเปล่ียนแปลงขึ้นจริง โดยย้าให้รู้ว่าการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ี เป็นเร่ืองท่ีเกดิ ขึน้ กับทุกคน 2) ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัวและวางตัวต่อเพศตรงข้าม ในระยะนี้เด็กจะ เร่ิมสนใจต่อเพศตรงข้าม และเพศเดียวกัน มีโอกาสคบเพื่อนต่างเพศ พ่อแม่จาเป็นต้องชี้ให้เด็ก สามารถจาแนกแยกแยะเก่ียวกับค่านิยมให้ได้ว่า บางอย่างเป็นค่านิยมท่ีดีและบางอย่างจาเป็นต้อง แก้ไข 3) การปลูกฝังความรับผิดชอบในเร่ืองเพศ ท้ังความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อเพศตรงข้าม การมีเพื่อนต่างเพศสามารถทาได้ แต่ต้องรู้ถงึ วิธกี ารปฏิบัติตนและการให้เกียรติ เพศตรงข้ามอยา่ งถกู ตอ้ ง 4) พ่อแม่ต้องเข้าใจถึงความต้องการของเด็กวัยน้ี ในด้านความมีอิสระ สว่ นตัว เช่น ต้องการอยู่คนเดียว ตอ้ งการมหี อ้ งเปน็ ส่วนตวั ต้องการตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง ความขัดแย้ง ระหว่างลูกกับพ่อแม่อาจเกิดข้ึนได้ ถ้าพ่อแม่ไม่พยายามเข้าใจและไม่ปล่อยให้เด็กเป็นตัวของตัวเอง แต่ในขณะเดียวกัน หากปล่อยเด็กให้มีอิสระมากเกินไปก็อาจเกิดความผิดพลาดได้ เพราะเด็ก ขาดประสบการณ์ อยากรู้อยากลอง เดก็ จึงควรจะอยใู่ นสายตาพ่อแม่ แต่ตอ้ งไม่ให้เด็กเกิดความรู้สึก วา่ ถูกควบคุม ไม่มอี ิสระ 5) การให้ความจริงใจแก่เด็กและสร้างสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันระหว่างพ่อแม่ และลูก เพ่ือให้เด็กรู้สึกว่าพ่อแม่เป็นท่ีพ่ึงของลูกได้เสมอเม่ือเกิดปัญหาข้ึน หากเกิดความผิดพลาด พ่อแม่ก็พร้อมจะให้อภัย พร้อมจะช่วยเหลือแก้ไขได้ ถ้าพ่อแม่เข้มงวดกวดขันเกินไปเด็กก็จะขาด ความไวว้ างใจ และถา้ ปล่อยปละละเลยเกินไปเด็กอาจเกิดความรู้สกึ ว่าพ่อแมไ่ มร่ ัก ไมใ่ สใ่ จตน จึงตอ้ ง ไปพึง่ พาคนอนื่ หรือพึ่งอบายมขุ ตา่ ง ๆ 1.3.4 วัยรุน่ ตอนปลาย (อายุ 16 - 20 ปี) เนื้อหาทางเพศท่คี วรจะปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ เกดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ มดี ังตอ่ ไปนี้ 1) การปลูกฝังให้เด็กมีเจตคตทิ ่ีดที ั้งต่อตนเองและต่อเพศตรงข้าม เพื่อแกไ้ ข ค่านิยมเก่า ๆ ว่าเพศชายต้องเหนือกว่าเพศหญิง ค่านิยมท่ีถูกต้องคือท้ังสองเพศมีความสาคัญ เท่าเทียมกัน การสร้างสรรค์สังคม ควรจะเกิดความร่วมมือจากทั้งสองเพศ ส่วนผู้ท่ีมีพฤติกรรม ทางเพศท่ีต่างไปจากคนส่วนใหญ่ในสงั คม เราก็ควรจะยอมรับความผดิ ปกติเหล่านั้นได้ ถ้าพฤติกรรม ดังกล่าวไม่เป็นภัยต่อคนในสังคม ควรให้ความเห็นอกเห็นใจและพิจารณา ถึงเหตุผลท่ีเขาต้องมี พฤตกิ รรมเชน่ น้ัน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ พ่อแม่ควรทาความเข้าใจกับลูกว่าการมี ความสัมพนธ์ระหว่างเพศเป็นเรื่องที่เกิดข้ึนได้เสมอ เพราะเป็นธรรมชาติของมนุษย์ แต่การมี ความสัมพันธ์กันควรอยู่ในขอบเขตท่ีถูกต้องและเหมาะสม การมีความสัมพันธท์ างเพศก่อนแต่งงาน

28 ย่อมนามาซ่ึงผลเสียหายต่าง ๆ นานัปการ ถ้าเป็นลูกสาวพ่อแม่ก็ต้องปลูกฝังให้ลูกมคี วามรอบคอบใน การคบเพื่อนชาย ไม่ควรปล่อยกายปล่อยใจ ต้องรักนวลสงวนตัว ถ้าเป็นลูกชายพ่อแม่ก็ต้องอบรม สง่ั สอนให้รสู้ ึกสานึกรับผดิ ชอบต่อเพศหญิง ไม่หลอกลวง ข่มเหงน้าใจ ถ้าเราไมไ่ ด้รกั เขาจริงก็อย่าไป หลอกลวง หรือผูกมัดโดยการมีเพศสัมพันธ์ท่ีไม่พร้อม ไม่คานึงถึงผลที่เกิดตามมาอย่างรอบด้าน เพราะทง้ั สองฝ่ายยังไม่พร้อม ท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม และยังไม่สามารถรับผิดชอบต่อปัญหาที่จะ ตามมาอีกมากมาย อาทิเช่น การต้ังครรภ์ การทาแท้ง การมีบุตรนอกสมรส ตลอดจนการติดเชือ้ โรค ทางเพศสัมพันธ์ และความสนุกโดยขาดการยังคิดจนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันสมควร จะมีผลต่อ สขุ ภาพอนามัยในระยะยาวอีกดว้ ย (อมรา สุนทรธาดา, 2536, น. 12) ดังนั้นควรปลูกฝงั และสร้างวิธี คิดถงึ ผลทีจ่ ะเกดิ ข้นึ หากมีเพศสัมพนั ธท์ ่ไี มพ่ รอ้ มอย่างรอบด้าน 3) การอบรมให้เข้าใจถึงอันตรายของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ การป้องกันไม่ว่าจะเป็น กามโรคชนิดต่าง ๆ หรือโรคเอดส์ วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคเหล่าน้ีคือ การใชถ้ งุ ยางอนามยั ทุกครง้ั กบั ทกุ คนเมอื่ มเี พศสัมพันธ์ 4) การสอนให้รู้จักและเข้าใจถึงวิธีการคุมกาเนิด เพราะเด็กในวัยน้ีอาจมี ความต้องการที่จะทดลองหาประสบการณ์ทางเพศเมื่อเกิดความต้องการทางเพศขึ้น หรือการที่มี เพ่ือน ๆ ชักจูงให้ไปเที่ยวในสถานท่ีเริงรมย์จนไม่อาจจะควบคุมตัวเองได้ ดังนั้นการสอนให้เด็กได้มี ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ี จึงเป็นการป้องกันปัญหาที่จะตามมามากกว่าเป็นการชี้โพรงให้กระรอก หรอื การกระตุ้นใหเ้ ด็กอยากทดลองหรือหาทางมีเพศสมั พันธ์ 5) การปลูกฝังให้เด็กมีความเข้าใจถึงความสาคัญของสถาบันครอบครัว บทบาทหน้าท่ีของพ่อแม่ท่ีดี โดยเร่ิมต้นตั้งแต่การรู้จักเลือกคู่ครองอย่างถูกต้อง ชอบด้วยเหตุผล การปรบั ตัวในเร่ืองเพศและความรบั ผดิ ชอบ สร้างครอบครวั ให้มคี วามสุขความอบอุ่น การปรับเปลยี่ น พฤติกรรมบางอย่างในการเป็นหัวหน้าครอบครัวให้สอดคล้องกับสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป เพ่ือไม่สร้างปัญหาความขัดแย้งให้เกิดข้ึนในครอบครัว จนกลายเป็นปัญหาทางสังคมให้เป็นท่ี เดือดร้อนของผู้อ่ืน วิธีการปลูกฝังในเร่ืองน้ีจะบังเกิดผลอย่างแท้จริงได้จะต้องเกิดจากแม่แบบที่ดี น่นั คือ การประพฤติปฏบิ ัติของพ่อแมเ่ ป็นสาคัญ 2. การสอนเพศศกึ ษาในชมุ ชน ชุมชนนับเปน็ อีกสถาบันหนึ่งที่เป็นแหล่งในการถ่ายทอดความรู้เร่อื งเพศใหแ้ ก่บคุ คลได้ อย่างกว้างขวางท้ังทางตรงและทางอ้อม ยิ่งในยุคปัจจุบันท่ีการ เผยแพร่ข่าวสารตลอดจน การติดต่อส่ือสารของผู้คนในสังคมเป็นไปอย่างกว้างขวาง สะดวก รวดเร็ว จึงทาให้ประชาชนได้มี โอกาสเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ มากมายหลายด้านจากแหล่งต่าง ๆ ในชุมชน ทั้งที่เป็นหน่วยงานของรฐั และ เอกชน รวมทั้งสื่อมวลชนต่าง ๆ โดยเฉพาะวทิ ยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และนิตยสารต่าง ๆ นับเป็น

29 แหลง่ ข้อมูลสาคัญย่ิงที่บคุ คลในสังคมจะได้รับร้เู รือ่ งราข่าวสารต่าง ๆ ท่ัวมุมโลก รวมท้ังเรอ่ื งทเ่ี ก่ยี วกัน กับเพศศกึ ษาด้วย ซึง่ ในอดีตนน้ั นอกเหนือจากครอบครัวแล้ว สถาบันในชมุ ชนท่มี ีบทบาทในการอบรม สั่งสอนเรื่องเพศให้กับบุคคลก็คือ สถาบันทางศาสนา เกือบทุกศาสนาจะมีคาสั่งสอนท่ีเก่ียวข้องกับ เร่ืองเพศอยู่เสมอ เพ่ือให้ศาสนิกชนได้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ แต่มาในปัจจุบันหน่วยงานที่เข้ามามี บทบาทในการเผยแพร่ความรู้ข่าวสารเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษามีกว้างขวางมากข้ึนทั้งในภาครัฐและ เอกชน เชน่ กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงสาธารณสุข สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย สมาคมอนามัยการเจริญพันธุ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแห่งประเทศไทย สมาคมพัฒนาประชากรและ สังคม เป็นต้น ซ่ึงการจัดโปรแกรมการให้บริการเร่ืองเพศศึกษาแก่ผู้คนในชุมชน อาจทาได้ในหลาย ลกั ษณะดังน้ี 2.1 การใหค้ วามรเู้ รอื่ งเพศศกึ ษาแก่พอ่ แม่ผู้ปกครอง เพือ่ นาไปสอนใหก้ ับเยาวชน โดยใหป้ ระชาชนทม่ี ีความสนใจได้เข้ารับการฝึกอบรม โดยอาจจัดเป็นหลักสูตรสั้น ๆ ในช่วงเวลาวันหยุด หรือช่วงเวลาเย็น เนื้อหาท่ีให้กับกลุ่มนี้ ได้แก่ ความรู้เก่ียวกับกายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์ โดยเฉพาะระบบสืบพันธุ์ การกาเนิดของมนุษย์ การเล้ียงดบู รบิ าลทารกและเด็ก การวางแผนครอบครัว และความรู้เรอ่ื งโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ 2.2 การใหค้ าปรกึ ษากอ่ นการสมรส เป็นบริการให้ความรู้ด้านเพศศึกษาแก่ชายหญิงเพ่ือเตรียมตัวเข้าสู่ชีวิตสมรส โดยคาดหวงั วา่ จะทาให้ท้ังคูส่ ามารถปรบั ตวั เข้าหากันได้อย่างดี อนั จะเป็นการสร้างความม่ันคงให้กับ สถาบันครอบครัว ปัญหาความขดั แยง้ ของสมาชิกในครอบครวั ก็จะลดน้อยลง ปญั หาการหยา่ ร้างหรือ ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้งก็คาดว่าจะลดน้อยลงเช่นเดียวกัน ถ้าหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เห็น ความสาคัญของบริการนี้ มีการประชาสัมพันธ์ชักจูงให้ประชาชนมาใช้บริการมากขึ้น ก็จะเป็น การยุตปิ ัญหาสังคมอนั เกิดจากปัญหาบ้านแตก (Broken Home) ลงได้มากมาย เพราะถ้าสามีภรรยา ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัวมีความรักความเข้าใจต่อกันปัญหาต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในครอบครัวก็จะ คล่ีคลายแกไ้ ขลงได้ในท่ีสุด ซ่ึงความรู้เร่ืองเพศที่ควรจะจัดไวใ้ นรูปบริการให้คาปรึกษาก่อนการสมรส ไดแ้ ก่ 2.2.1 การให้บริการตรวจสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจก่อนการสมรส เช่น ตรวจเลือด ตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ ชักถามประวัติความเจ็บป่วยของครอบครัวท้ังสองฝ่าย และ ประสบการณก์ ่อนแตง่ งาน ประวัตกิ ารป่วยเปน็ กามโรค เพื่อศกึ ษาปญั หาท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ ซึง่ ถ้าตรวจพบความผิดปกติใด ๆ กจ็ ะได้รบี หาทางแก้ไขหรือรักษาเสียก่อน 2.2.2 ความรู้เรื่องอวัยวะสืบพันธุ์ของมนุษย์ การกาเนิดชีวิต การต้ังครรภ์ และ การคลอด

30 2.2.3 ความรู้เร่ืองการมีเพศสัมพนธ์ ความต้องการทางเพศของแต่ละฝ่าย เพื่อให้ เกิดการเข้าใจ ยอมรบั และการตอบสนองทางเพศของทงั้ สองฝ่ายเปน็ ไปดว้ ยดี 2.2.4 ความรู้เร่ืองการวางแผนครอบครัว และการคมุ กาเนดิ 2.2.5 ความรู้เร่ืองความผดิ ปกติทางเพศ 2.2.6 ความร้เู รอื่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธแ์ ละการป้องกัน 2.2.7 ความรูเ้ รอ่ื งการเตรยี มตัวเปน็ สามี ภรรยา และบดิ ามารดาท่ีดี 2.3 การให้คาปรึกษาเก่ยี วกบั ปญั หาชีวิตสมรส เป็ น บ ริก าร ให้ ค ว าม รู้ให้ ค าป รึก ษ ากั บ คู่ ส ม ร ส ที่ ป รับ ตั ว ไม่ ใด้ เกิ ด ความคับข้องใจ ความไม่เข้าใจต่าง ๆ ในชีวิตสมรส เช่น การปรับตัวเข้ากันไม่ได้ในเรื่องเพศ การไม่มีบุตร การมีลูกถ่ีเกินไป หรือการนอกใจของคู่สมรส ภาวะทางเศรฐกิจการเงิน หรือแม้แต่ ปัญหาเครือญาติ ซ่ึงปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ถ้าปล่อยสะสมไว้จะทาให้เกิดภาวะความตึงเครียดทาง อารมณ์นาไปสู่การขดั แย้งทะเลาะเบาะแว้งและจบชีวติ สมรสลงด้วยการหย่าร้างหรือหมดหวังในชีวิต รสู้ กึ ซึมเศร้า อันอาจนาไปสภู่ าวะการคดิ ทาร้ายตนเอง คอื ฆ่าตัวตายในท่ีสุด ซึง่ ภาวะวิกฤตเหล่าน้ีจะ สามารถพบเห็นได้มากในปัจจุบัน โดยเฉพาะในสังคมเมืองขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการลดขั้นตอน การเดินทางเน่ืองจากปัญหาการจราจรเป็นการประหยัดเวลาที่มีอยู่อันจากัด และเพื่อขจัดความอาย ต่อการท่ีจะพาตนเองไปนั่งเล่าปัญหาชีวิตภายในครอบครัวให้กับผู้อื่นฟัง จึงได้เกิดหน่วยงาน ท่ีให้บริการรับปรึกษาปัญหาชีวิตทางโทรศัพท์มากมายทั้งของรัฐและเอกชน และแนวโน้มที่คู่สมรส จะใช้บริการเหล่านี้ก็มเี พ่มิ มากข้นึ เร่อื ย ๆ หนว่ ยบรกิ ารดังกล่าว ได้แก่ - ศนู ยส์ ุขวิทยาจติ กรมสขุ ภาพจิต โทรศัพท์ 0-2245-7798 - สายดว่ นสุขภาพจติ โทรศัพท์ 1677 - สายด่วนวยั รนุ่ โทรศพั ท์ 0-2756-9934, 0-2692-1828 - ปรกึ ษาปญั หาสุขภาพจติ โทรศัพท์ 0-2526-3342 - ศูนย์แฮปปี้ไลน์ (Happy Line) ซ่ึงเป็นศูนย์ให้บริการของกรมประชาสงเคราะห์ โทรศัพท์ 0-2247-6274-7 - ศูนยฮ์ อทไลน์ (Hot Line) มูลนิธฮิ อทไลน์ โทรศัพท์ 0-2276-2950-1 - ศนู ย์โฮบไลน์ โทรศัพท์ 0-2377-0073 - ศูนย์บรรเทาใจ โทรศพั ท์ 0-2675-5577, 0-2675-5533 - สมาคมสขุ ภาพจติ แห่งประเทศไทย โทรศพั ท์ 0-2247-9292, 0-2245-2733 - สมาคมสมารติ นั ช่วยเหลือการฆ่าตัวตาย โทรศัพท์ 0-2713-6793 - คลินกิ ซมึ เศรา้ (โรงพยาบาลศรีธัญญา) โทรศัพท์ - 0-2525-0981-5 ตอ่ 1753 - มูลนธิ ิเพื่อนหญงิ โทรศัพท์ 0-2513-1001

31 สาหรับบุคลากรท่ีจะทาหน้าท่ีเป็นผู้ให้ความรู้และคาปรึกษาในบริการต่าง ๆ ที่ได้ กล่าวมาแล้วในข้างต้น ได้แก่ บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ และได้ผ่าน การฝึกฝนมาเปน็ อย่างดี เช่น แพทย์ จติ แพทย์ พยาบาล นักสงั คมสงเคราะห์ นกั จติ วิทยา เป็นตน้ 3. การสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา สถานศึกษานับเป็นสถาบันที่สองรองจากครอบครัว ซึ่งเด็กจะได้เข้ามาเพ่ิมพูน ประสบการณ์ในการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ โลกของเด็กจะค่อย ๆ กว้างขวางมากข้ึน ได้มีโอกาส อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนท่ีไม่ใชส่ มาชิกในครอบครัวของตน ในส่วนของการเรียนรดู้ ้านเพศ สถานศกึ ษาจงึ ต้อง รับบทบาทในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเสริมประสบการณ์ในการเรียนรู้เร่ืองเพศ ซึ่งเด็กได้รับ การสอนมาบ้างแล้วจากครอบครัว แต่เน่ืองจากปัจจุบันสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปจาก เดิมมาก โดยเฉพาะผลพวงจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ ปรากฏการณ์บางอย่างได้บ่งบอกว่า สถาบันครอบครัวกาลังอ่อนตัวลงอาทิ เช่น การเพิ่มขึ้นของอตั ราการหย่ารา้ งและการลดบทบาทของ ครอบครัวลงในหลาย ๆ ด้าน (สุรพล ปราบวณิช, 2534, น. 77) คนทั่วไปจึงมักจะเข้าใจกันว่า สถานศึกษาควรจะต้องรับผิดชอบอยา่ งเต็มทใ่ี นการอบรมสงั่ สอนเพศศึกษาให้แก่เด็ก ถา้ มีการยอมรับ ให้มีการสอนเพศศึกษาข้ึนในสังคม ซ่ึงเป็นความคาดหวังของสังคมที่มีต่อสถาบันทางการศึกษา แต่สภาพความเป็นจริง สถานศึกษาจะต้องประสบกับปัญหาการสอนเพศศึกษาหลาย ๆ ด้าน เช่น ความพร้อมในด้านบุคลากรครูผู้สอน ประสบการณ์ดั้งเดิมทางเพศของเด็กแต่ละคนท่ีได้รับและถูก ปลูกฝังมาจากครอบครัว และส่วนใหญ่เด็กมักจะได้รับการปลูกฝังมาผิด ๆ จึงเป็นหน้าท่ีของครูที่ จะต้องแกไ้ ขสิ่งที่ผดิ พลาดดงั กล่าว ในขณะเดียวกันครกู ็ต้องคอยสอนส่งิ ท่ีถูกต้องหรือส่ิงใหม่ ๆ ให้แก่ ผเู้ รียนไปพร้อม ๆ กนั 3.1 ขอ้ ดีและข้อเสียของการสอนเพศศกึ ษาในสถานศกึ ษา ลรี อย จี ชูลท์ (LeRoy G. Schultz) ได้รวบรวมความคดิ เห็นท้ังของฝ่ายท่ีเห็นด้วย และไม่เห็นด้วยท่ีจะให้มีการสอนเพศศึกษาในสถาบันทางการศึกษาไว้ (วันทนีย์ วาสิกะสิน, 2527, น. 199) ดังนี้ ข้อดีของการสอนเพศศกึ ษาในสถานศกึ ษา 1) ถ้าครอบครัวไม่อาจทาหน้าท่ีในการสอนเพศศึกษาให้กับเด็กได้ หรือสอน สิ่งผิด ๆ ปลูกฝังเจตคติท่ีไม่ถูกต้องให้กับเด็ก การท่ีสถานศึกษามีบทบาทในการสอนเพศศึกษาก็จะ ช่วยแกไ้ ขหรือเพ่มิ เตมิ ส่งิ ท่ีเด็กยงั ไม่รู้ใหก้ บั เดก็ ได้ 2) การให้ความรู้เร่ืองเพศศกึ ษาจะช่วยลดปญั หาความคบั ขอ้ งใจ ขจัดความรูส้ ึกผิด ความละอายต่าง ๆ ในเรือ่ งเพศใหก้ ับเดก็ ได้ และยังเปน็ การสร้างความมั่นคงทางอารมณใ์ หก้ บั เด็ก