Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน ปฐมธรรม

Description: พุทธวจน ปฐมธรรม

Search

Read the Text Version

พุทธวจน

ภิกษุทง้ั หลาย !  กาล ๔ ประการน้ี อันบุคคลบำาเพญ็ โดยชอบ ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ยอ่ มให้ถงึ ความสิ้นอาสวะโดยลำาดับ  กาล ๔ ประการ เปน็ อย่างไรเลา่  คอื   ๑. การฟงั ธรรมตามกาล (กาเลน  ธมฺมสสฺ วนำ)  ๒. การสนทนาธรรมตามกาล (กาเลน  ธมฺมสากจฉฺ า)  ๓. การทำาสมถะ (ความสงบ) ตามกาล (กาเลน  สมโถ)  ๔. การทาำ วปิ สั สนาตามกาล (กาเลน  วปิ สสฺ นา) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  กาล ๔ ประการน ้ี อนั บุคคลบาำ เพ็ญโดยชอบ ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ยอ่ มให้ถงึ ความสน้ิ อาสวะโดยลาำ ดับ. -บาลี จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๑๘๘/๑๔๗.

พุทธวจน ปฐมธรรม เข้าใจธรรมเพยี งบทเดยี ว ก็เพยี งพอ คามณิ ! ...เพราะเหตุวา่ ถึงแม้เขาจะเขา้ ใจธรรมท่เี ราแสดงสักบทเดียว นน่ั กย็ ังจะเป็นไปเพอ่ื ประโยชน์เกอื้ กลู และความสุขแก่ชนท้ังหลายเหล่าน้ัน ตลอดกาลนาน. -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๓๘๙/๖๐๕.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ ๙ฉบับ ปฐมธรรม พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๙ ปฐมธรรม ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สิทธิ์ในตน้ ฉบบั นไ้ี ด้รับการสงวนไว้ ในการจะจดั ท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใชค้ วามละเอียดรอบคอบ เพ่ือรกั ษาความถกู ตอ้ งของข้อมูล ให้ขออนญุ าตเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร และปรึกษาด้านขอ้ มลู ในการจดั ทำ�เพอื่ ความสะดวกและประหยัด ตดิ ต่อได้ที่ มลู นิธิพทุ ธโฆษณ์ โทรศัพท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มูลนธิ ิพทุ ธวจน โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คณุ ศรชา โทรศพั ท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอารีวรรณ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปีท่พี ิมพ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม ปรญิ ญา ปฐวนิ ทรานนท,์ วิชชุ เสรมิ สวสั ดศิ์ รี, ณรงค์เดช เจริญปาละ จัดท�ำ โดย มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขท่ี ๒๙/๓ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำ บลบงึ ทองหลาง อ�ำ เภอลำ�ลกู กา จังหวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org

อกั ษรยอ่ เพือ่ ความสะดวกแกผ่ ูท้ ย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจเร่อื งอกั ษรยอ่ ท่ใี ชห้ มายแทนชื่อคมั ภรี ์ ซ่ึงมอี ยโู่ ดยมาก มหาว.ิ ว.ิ มหาวิภังค์ วนิ ยั ปิฎก. ภิกขฺ ุนี. ว.ิ ภกิ ขนุ วี ิภังค์ วินัยปฎิ ก. มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . ว.ิ จุลวรรค วนิ ัยปิฎก. ปริวาร. ว.ิ ปริวารวรรค วินัยปิฎก. สี. ที. สลี ขนั ธวรรค ทีฆนกิ าย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทีฆนกิ าย. ปา. ที. ปาฏกิ วรรค ทฆี นิกาย. ม.ู ม. มูลปณั ณาสก์ มชั ฌิมนกิ าย. ม. ม. มชั ฌิมปณั ณาสก์ มัชฌิมนิกาย. อปุ ร.ิ ม. อุปริปัณณาสก์ มัชฌมิ นกิ าย. สคาถ. สํ. สคาถวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. นทิ าน. สํ. นทิ านวรรค สงั ยุตตนิกาย. ขนธฺ . สํ. ขนั ธวารวรรค สังยตุ ตนิกาย. สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สงั ยุตตนิกาย. มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. เอก. อํ. เอกนิบาต อังคตุ ตรนิกาย. ทุก. อ.ํ ทกุ นบิ าต อังคุตตรนกิ าย. ติก. อ.ํ ตกิ นบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย. จตกุ ฺก. อ.ํ จตกุ กนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย.

ปญฺจก. อ.ํ ปญั จกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. ฉกกฺ . อํ. ฉักกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. สตตฺ ก. อ.ํ สัตตกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย อฏฺ ก. อํ. อฏั ฐกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. นวก. อ.ํ นวกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย. เอกาทสก. อ.ํ เอกาทสกนบิ าต อังคตุ ตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนกิ าย. ธ. ข.ุ ธรรมบท ขทุ ทกนิกาย. อ.ุ ข.ุ อุทาน ขุททกนิกาย. อิติวุ. ขุ. อิติวุตตกะ ขุททกนิกาย. สุตฺต. ข.ุ สตุ ตนบิ าต ขทุ ทกนกิ าย. วมิ าน. ขุ. วมิ านวัตถุ ขทุ ทกนกิ าย. เปต. ขุ. เปตวตั ถุ ขุททกนิกาย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนกิ าย. เถรี. ขุ. เถรคี าถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขทุ ทกนิกาย. มหาน.ิ ข.ุ มหานทิ เทส ขุททกนกิ าย. จูฬน.ิ ข.ุ จูฬนทิ เทส ขทุ ทกนกิ าย. ปฏสิ ม.ฺ ขุ. ปฏิสัมภทิ ามรรค ขุททกนิกาย. อปท. ขุ. อปทาน ขุททกนิกาย. พทุ ธฺ ว. ข.ุ พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จริยาปฎิ ก ขุททกนิกาย. ตัวอยา่ ง ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอ้ า่ นว่า ไตรปิฎกฉบบั สยามรัฐ เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ข้อที่ ๒๔๕



คำ�อนุโมทนา ขออนุโมทนา  กับคณะผู้จัดทำ�  หนังสือพุทธวจน ฉบับ  “ปฐมธรรม”  ในเจตนาอันเป็นกุศล  ท่ีมีความต้ังใจ เผยแผค่ �ำ สอนขององคส์ มั มาสมั พทุ ธเจา้ ทอ่ี อกจากพระโอษฐ์ ของพระองคเ์ อง  ทง้ั หมดทท่ี า่ นตรสั รใู้ นหลายแงม่ มุ ทเ่ี กย่ี วกบั การใช้ชีวิต  วิธีแก้ทุกข์  ฯลฯ  ตามหลักพุทธวจนง่ายๆ  เพอ่ื ใหผ้ สู้ นใจไดศ้ กึ ษาและน�ำ มาปฏบิ ตั  ิ เพอ่ื ใหถ้ งึ ความพน้ ทกุ ข์ ด้วยเหตุอันดีน้ี  ขอจงเป็นพลวปัจจัยให้ผู้มีส่วนร่วมในการ ทำ�หนังสือเล่มน้ีและผู้ท่ีได้อ่าน  ได้ศึกษา  พึงเกิดปัญญา ได้ดวงตาเหน็ ธรรม  พ้นทุกข์ในชาตนิ ีเ้ ทอญ. ขออนุโมทนา ภิกขุคึกฤทธ์ิ โสตถฺ ิผโล



ค�ำ น�ำ ไม่แปลกที่นกั วิชาการทางโลก มกั จะจัดหมวดหมธู่ รรมะ ไปตามความเข้าใจจากการคิดเชิงวิเคราะห์แบบแบ่งย่อยแยกส่วน เพราะน่ันคือฐานวิธีการเข้าหาความจริงของวิทยาศาสตร์ตะวันตก ซง่ึ ถกู ใชเ้ ปน็ แมแ่ บบ ในกระบวนการศกึ ษา ของทกุ ๆ สาขาวชิ าทางโลก. เมอ่ื มองจากจดุ ยนื นน้ั หนงั สอื พทุ ธวจนฉบบั ปฐมธรรม น้ี อาจจะถกู เขา้ ใจไดว้ า่ เปน็ หนงั สอื ธรรมะหมวดทว่ั ไป ส�ำ หรบั ฆราวาส เพราะวา่ ชอ่ื หวั ขอ้ เรอ่ื งตา่ งๆ นน้ั คอ่ นขา้ งเอนไปในแงข่ องหลกั ปฏบิ ตั ิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ มงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ ปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คมทเ่ี ปน็ ปกตสิ ขุ . ความเขา้ ใจในลกั ษณะน้ี  มคี วามถูกต้องเพยี งมิติเดียว. จรงิ อยวู่ า่ การปฏบิ ตั ติ นทถ่ี กู ตอ้ ง ตามหลกั ค�ำ สอนตา่ งๆ สามารถสรา้ งสงั คมทเ่ี ปน็ ปกตสิ ขุ ได้ ปญั หามอี ยวู่ า่ หากเพยี งมงุ่ สรา้ ง สงั คมโลกทส่ี งบสขุ นา่ อยู่ หรอื เพยี งเพอ่ื ดแู ลชวี ติ ของตนเองใหด้ แี คน่ น้ั การมขี น้ึ ของอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะกไ็ มม่ จี �ำ เปน็ แตอ่ ยา่ งใด เพราะวา่ ทกุ สงั คมเชอ้ื ชาติ ตา่ งกม็ ลี ทั ธคิ วามเชอ่ื และหลกั ค�ำ สอนทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความสงบสขุ แบบโลกๆ กนั อยแู่ ลว้ ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั นน่ั ยงั ท�ำ ใหโ้ อกาส ของการไดเ้ กดิ มาเปน็ มนษุ ย์ และการไดม้ าพบค�ำ สอนของพระพทุ ธเจา้ กลับกลายเสมือนเปน็ ความสูญเปล่าเสยี ไปด้วย.

จุดสำ�คัญมีอยู่ว่า  สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ท้ังหมด นบั ตง้ั แตร่ าตรที ท่ี รงตรสั รู้ ไปจนถงึ ปจั ฉมิ วาจา กอ่ นปรนิ พิ พานนน้ั ไมว่ า่ จะปรากฏเปน็ เรอ่ื งลกึ หรอื ตน้ื ตอ่ บคุ คลผสู้ ดบั อยู่ อยา่ งไรกต็ าม ตา่ งกส็ ะทอ้ นอานสิ งส์ โนม้ เอยี งไปสจู่ ดุ หมายอยา่ งเดยี วกนั ในทส่ี ดุ คอื เปน็ เรอ่ื งทน่ี �ำ ไปสคู่ วามหลดุ พน้ จากชาติ ชรา มรณะ ดว้ ยกนั ทง้ั สน้ิ . ไม่ใช่เรื่องง่าย  ท่ีจะเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ว่า  วธิ ปี ฏบิ ตั ติ นตอ่ บคุ คลแวดลอ้ ม (ทศิ ๖) หรอื หลกั วธิ กี ารใชจ้ า่ ยทรพั ย์ หรอื แมก้ ระทง่ั เรอ่ื งของศลี คอื หลกั การกระท�ำ ทไ่ี มเ่ บยี ดเบยี นกนั นน้ั เกย่ี วขอ้ ง และน�ำ ไปสู่ การหลดุ พน้ จากชาติ ชรา มรณะ ไดอ้ ยา่ งไร. พระผู้มีพระภาคเจ้า  ทรงยืนยันด้วยพระองค์เองว่า เพราะเหตใุ ดกต็ าม ทท่ี �ำ ให้ ๓ สง่ิ น้ี คอื ชาติ ชรา มรณะ มอี ยใู่ นโลก เพราะเหตนุ น้ั นน่ั เอง จงึ มกี ารบงั เกดิ ขน้ึ ของอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ. เหตุข้างตน้ น้ี บวกเข้ากับ คณุ สมบตั ิ ๑๐ ขอ้ ของพุทธวจน (ดไู ด้ในแผน่ พบั : ทำ�ไมต้องพทุ ธวจน - ชาวพทุ ธปฏิบัติตามใคร) ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะความเชอ่ื มโยงสอดคลอ้ งเปน็ หนง่ึ ของธรรมวนิ ยั ทเ่ี ปน็ พทุ ธวจน ในทกุ บรบิ ท ทกุ แงม่ มุ ไมว่ า่ ตรสั กบั ใคร ในวาระไหน. พทุ ธวสิ ยั ในการใช้บทพยัญชนะ และการพูดบอกสอน ทม่ี ลี กั ษณะเชอ่ื มโยงประสานเปน็ หนง่ึ เดยี วทง้ั หมด โดยไมพ่ ลาดเลยน้ี เปน็ ความอศั จรรยว์ เิ ศษ ทถ่ี กู ชาวพทุ ธมองขา้ ม หรอื ไมร่ เู้ ลยกว็ า่ ได้ เปน็ เหตใุ หพ้ ลาดโอกาส ในการรแู้ จง้ แทงตลอดหลกั ธรรมในมติ ติ า่ งๆ เพราะไมส่ ามารถเปดิ จดุ เชอ่ื มโยงธรรม ใหถ้ ึงกนั ได.้

หากใครกต็ าม ไดศ้ กึ ษาบทพยญั ชนะทเ่ี ปน็ พทุ ธวจนใหด้ ี จะพบจดุ เชอ่ื มโยงธรรม จากเรอ่ื งทด่ี เู หมอื นเปน็ เพยี งวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ วั ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทว่ั ๆ ไปนน้ั ไปถงึ หลกั ธรรมล�ำ้ ลกึ อนั เปน็ แกน่ แทไ้ ด้ คอื เชอ่ื มตอ่ ๆ กนั ไปถงึ การหลดุ พน้ จากชาติ ชรา มรณะ โดยสน้ิ เชงิ ได้. จึงเป็นเรื่องท้าทายสำ�หรับชาวพุทธ  ในแง่มุมที่ว่า ทกุ วนั น้ี เราศกึ ษาพทุ ธวจน ในระดบั ทส่ี ามารถเปดิ จดุ เชอ่ื มโยงธรรม ทซ่ี อ้ นทบั เกย่ี วเนอ่ื งกนั อยไู่ ดห้ รอื ไม่ และ เราใชป้ ระโยชนจ์ ากค�ำ สอน ของพระพุทธเจ้า ได้ถึงอานสิ งส์ทม่ี งุ่ หมายอย่างแท้จรงิ แค่ไหน. คณะผู้จัดพมิ พห์ นงั สอื เลม่ นี้ ขอนอบน้อมสกั การะ ต่อ ตถาคต ผ้อู รหันตสัมมาสมั พทุ ธะ และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยน้ี ตง้ั แตค่ รั้งพุทธกาล จนถงึ ยคุ ปจั จบุ นั ทมี่ ีส่วนเกี่ยวข้องในการสบื ทอดพุทธวจน คอื ธรรม และวนิ ยั ทที่ รงประกาศไว้ บรสิ ุทธิ์บรบิ รู ณด์ แี ลว้ . ตถาคตสาวโก คณะงานธัมมะ วดั นาป่าพง



สารบัญ ธรรมะกับชวี ติ ๑ ๑. ผ้ชู ี้ขุมทรัพย์ ! ๒ ๒. โอกาสในการเกดิ เป็นมนษุ ยน์ ้นั แสนยาก ๔ ๓. วญิ ญาณ คือ เหตุแหง่ การเกดิ ขึ้นของสตั ว ์ ๖ ๔. หลักปฏิบัติต่อทศิ ทง้ั ๖ ๙ หนา้ ท่ีท่พี ึงปฏบิ ตั ติ อ่ ทิศเบื้องหนา้ ๑๐ หน้าที่ทพ่ี ึงปฏบิ ัตติ อ่ ทิศเบื้องขวา ๑๑ หน้าท่ีที่พงึ ปฏิบตั ติ อ่ ทิศเบื้องหลงั ๑๒ หน้าทท่ี พ่ี งึ ปฏิบตั ิตอ่ ทิศเบ้อื งซ้าย ๑๓ หน้าที่ที่พงึ ปฏิบตั ิต่อทิศเบื้องตำ่� ๑๔ หน้าทท่ี ี่พงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ ทศิ เบื้องบน ๑๕ ๕. หลักในการใชจ้ า่ ยทรัพย์ ๑๗ ๖. การตอบแทนคณุ มารดาบดิ าอยา่ งสูงสุด ๒๑ ๗. ว่าดว้ ยความรัก ๔ แบบ ๒๓ ๘. ลกั ษณะของ “ฆราวาสชั้นเลิศ” ๒๗ ๙. หลกั การด�ำรงชพี เพ่ือประโยชนส์ ุขในวันนี ้ ๒๙ ความขยนั ในอาชพี ๒๙ การรักษาทรัพย ์ ๓๐

ความมมี ิตรด ี ๓๑ การด�ำรงชีวติ สม่�ำเสมอ ๓๒ ๑๐. หลักการด�ำรงชพี เพือ่ ประโยชน์สุขในวนั หน้า ๓๔ ๑๑. เหตเุ สือ่ มและเหตุเจริญแห่งทรพั ย์ ๓๗ เหตุเสื่อมแห่งทรัพย์ ๔ ประการ ๓๗ เหตเุ จริญแห่งทรัพย์ ๔ ประการ ๓๘ ๑๒. อบายมขุ ๖ (ทางเสอ่ื มแหง่ ทรัพย์ ๖ ทาง) ๔๐ โทษของอบายมุขแตล่ ะข้อ ๔๑ ๑๓. การบรโิ ภคกามคณุ ทงั้ ๕ อย่างไม่มีโทษ ๔๕ ๑๔. หลักการพูด ๔๙ ๑๕. ลกั ษณะการพูดของตถาคต ๕๑ ๑๖. ลักษณะการพูดของสตั บรุ ุษ ๕๓ ๑๗. ลกั ษณะการพูดของอสัตบรุ ษุ ๕๕ ๑๘. อย่าหูเบา ๕๗ ๑๙. เข้าใจธรรมเพียงบทเดยี ว ก็เพียงพอ ๕๙ ๒๐. ให้เปน็ ผหู้ นกั แน่น ๖๐ ๒๑. ลาภสักการะและเสียงเยนิ ยอ เปน็ อันตราย ๖๓ แมแ้ ต่พระอรหนั ต์ ๒๒. ลักษณะของผู้มีสติและสัมปชญั ญะ ๖๕ ๒๓. สิง่ ทีพ่ ระศาสดาถอื วา่ เปน็ ความอศั จรรย์ ๖๗

๒๔. จิตอธษิ ฐานการงาน ๖๘ ๒๕. การตัง้ จติ กอ่ นนอน ๖๙ ๒๖. มดื มา...สวา่ งไป  สว่างมา...กย็ ังคงสว่างไป ๗๐ ๒๗. เหตุของความสามัคคแี ละความแตกแยก ๗๓ ๒๘. ความอยาก (ตณั หา) คอื ตน้ เหตแุ หง่ การทะเลาะววิ าท ๗๗ ๒๙. กฎธรรมชาติ ๗๙ ๓๐. เหตแุ หง่ การเบียดเบยี น ๘๐ ๓๑. ความพอใจใด ความพอใจนนั้ คอื เหตเุ กดิ แหง่ ทกุ ข ์ ๘๒ ๓๒. ธรรมอันเปน็ ไปเพ่อื ความเจรญิ ไมเ่ สือ่ ม ๘๓ (อปริหานยิ ธรรม) ๓๓. เหตใุ ห้ศาสนาเจรญิ ๘๕ ๓๔. เหตใุ ห้ศาสนาเสือ่ ม ๘๘ ๓๕. สิง่ ทง้ั หลายไม่เทย่ี ง ๙๑ ๓๖. ผลจากความไม่มีธรรมะของมนุษย์ (อย่างเบา) ๙๗ ๓๗. ผลจากความไม่มธี รรมะของมนุษย์ (อยา่ งหนัก) ๑๐๐ ๓๘. ข้อควรทราบเก่ียวกบั อกศุ ลมลู ๑๐๕ (ราคะ โทสะ โมหะ) ๓๙. คุณสมบัตขิ องทตู ๑๐๘ ๔๐. ไม่โกหกกัน แมเ้ พยี งเพ่ือหัวเราะเล่น ๑๐๙ ๔๑. งูเป้ือนคถู ๑๑๐

“กรรม” และผลของการกระท�ำ ๑๑๓ ๔๒. สิ่งท่คี วรรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกับ “กรรม” ๑๑๔ ๔๓. กายนี้ เป็น “กรรมเกา่ ” ๑๑๖ ๔๔. ศีล ๕ ๑๑๘ ๔๕. ทาน ทจี่ ดั ว่าเปน็ มหาทาน ๑๒๐ ๔๖. อโุ บสถ (ศีล) ๑๒๒ ๔๗. อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ๑๒๔ ๔๘. กุศลกรรมบถ ๑๐ ๑๒๙ ๔๙. อานสิ งสส์ �ำหรับผู้ท�ำศลี ใหบ้ ริบูรณ์ ๑๓๕ ๕๐. ผลของการมศี ีล ๑๔๐ ๕๑. ผลของการไมม่ ีศีล ๑๔๒ ๕๒. ท�ำดี ได้ดี ๑๔๕ ๕๓. ธรรมดาของโลก ๑๔๙ ๕๔. กรรมท่ที �ำให้ไดร้ ับผลเปน็ ความไม่ตกตำ่� ๑๕๐ ๕๕. ทานท่ีให้แล้วในสงฆแ์ บบใด จงึ มีผลมาก ๑๕๒ ๕๖. ผปู้ ระสบบญุ ใหญ่ ๑๕๔

ธรรมะกับการสอบ ๑๕๗ ๕๗. ต้องขงึ สายพณิ พอเหมาะ ๑๕๘ ๕๘. ผู้เหน็ แกน่ อน ๑๖๐ ๕๙. ลกั ษณะของ “ผูม้ ีความเพียรตลอดเวลา” ๑๖๓ ๖๐. ลกั ษณะของ “ผเู้ กียจครา้ นตลอดเวลา” ๑๖๔ ๖๑. วธิ กี ารตามรกั ษาไวซ้ งึ่ ความจรงิ (สจฺจานรุ กฺขณา) ๑๖๕ ๖๒. การตามรู้ซ่ึงความจรงิ (สจจฺ านโุ พโธ) ๑๖๙ ๖๓. การตามบรรลุถึงซึ่งความจรงิ (สจจฺ านุปตฺติ) ๑๗๒ ๖๔. ท�ำความเพียรแข่งกับอนาคตภยั ๑๗๓ ๖๕. วิธแี กค้ วามหดหู่ ๑๗๘ ๖๖. วธิ แี กค้ วามฟุ้งซ่าน ๑๘๐ การท�ำสมาธิและอานสิ งส์ของการท�ำสมาธ ิ ๑๘๓ ๖๗. สมาธภิ าวนา ๔ ประเภท ๑๘๔ ๖๘. อานภุ าพของสมาธิ (นยั ที่ ๑) ๑๘๘ ๖๙. อานุภาพของสมาธิ (นัยที่ ๒) ๑๘๙ ๗๐. แมเ้ พยี งปฐมฌาน กช็ อื่ วา่ เปน็ ทหี่ ลบพน้ ภยั จากมาร ๑๙๔ ๗๑. สมาธริ ะงบั ความรกั -เกลยี ด ทมี่ อี ยตู่ ามธรรมชาต ิ ๑๙๕ ๗๒. ความส�ำคัญของสมถะและวปิ ัสสนา ๑๙๗ ๗๓. ผ้กู �ำลังโน้มเอยี งไปส่นู พิ พาน ๑๙๘

๗๔. อานสิ งสส์ ูงสุดแหง่ อานาปานสติ ๒ ประการ ๒๐๐ ๗๕. อานาปานสติระงบั ไดซ้ ึ่งอกศุ ลท้งั หลาย ๒๐๔ ๗๖. เจรญิ อานาปานสติ ชอื่ วา่ ไม่เหนิ ห่างจากฌาน ๒๐๖ ๗๗.ลมหายใจก็คือ “กาย” ๒๐๗ ๗๘. ผู้เจริญอานาปานสติ ย่อมชอ่ื วา่ เจริญกายคตาสติ ๒๐๙ ๗๙. ลกั ษณะของผู้เจริญกายคตาสติ ๒๑๑ ๘๐. การตงั้ จติ ในกายคตาสติ เปน็ เสาหลกั อยา่ งดขี องจติ ๒๑๓ ลกั ษณะของผไู้ มต่ ั้งจิตอยูก่ บั กาย ๒๑๓ ลักษณะของผู้ตัง้ จติ อยู่กบั กาย ๒๑๕ ๘๑. ใหต้ ้งั จิตในกายคตาสติ ๒๑๘ เสมือนเต่าหดอวัยวะไวใ้ นกระดอง ๘๒. ใหต้ ง้ั จติ ในกายคตาสติ เสมอื นบรุ ษุ ผถู้ อื หมอ้ นำ�้ มนั ๒๒๑ ๘๓. อานิสงสข์ องการเจรญิ กายคตาสต ิ ๒๒๓ ๘๔. การด�ำรงสมาธิจติ เม่ือถกู เบยี ดเบียนทางวาจา ๒๒๔ ๘๕. อานิสงส์แหง่ การปฏบิ ตั สิ มาธแิ บบตา่ งๆ ๒๒๙ ๘๖. ลักษณะของผทู้ ่งี า่ ยตอ่ การเขา้ สมาธ ิ ๒๓๐ ๘๗. เจริญสมาธิใหไ้ ดอ้ ย่างนอ้ ยวันละ ๓ คร้ัง ๒๓๒ ๘๘. การอยู่ปา่ กบั การเจริญสมาธิ ส�ำหรับภิกษุบางรปู ๒๓๔ ๘๙. ผลของการกระท�ำท่ที �ำได้เหมาะสมกับเวลา ๒๓๗ ๙๐. จงเปน็ ผู้มีสติคกู่ ันไปกับสัมปชญั ญะ ๒๓๘

ความส�ำคัญของค�ำพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ๒๔๑ ๙๑. เหตผุ ลทตี่ อ้ งรบั ฟังเฉพาะค�ำตรัส ๒๔๓ ของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ทรงก�ำชับให้ศึกษาปฏิบตั ิเฉพาะจากค�ำของ ๒๔๓   พระองค์เทา่ นนั้ อย่าฟงั คนอน่ื หากไมส่ นใจค�ำตถาคต จะท�ำให้เกดิ ความ ๒๔๕   อันตรธานของคำ� ตถาคต เปรยี บด้วยกลองศกึ พระองค์ทรงสามารถก�ำหนดสมาธิ ๒๔๗   เมอ่ื จะพดู ทกุ ถ้อยคำ� จงึ ไม่ผดิ พลาด คำ� พดู ทต่ี รัสมาทัง้ หมดนบั แตว่ นั ตรัสร้นู ้ัน ๒๔๘   สอดรบั ไม่ขัดแยง้ กนั แตล่ ะค�ำพูดเปน็ อกาลโิ ก คอื ถูกต้องตรงจรงิ ๒๔๙   ไม่จำ� กัดกาลเวลา ทรงใหใ้ ชธ้ รรมวนิ ัยท่ตี รัสแลว้ ๒๕๐   เป็นศาสดาแทนต่อไป ทรงหา้ มบญั ญตั เิ พมิ่ หรอื ตดั ทอน สงิ่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ ว ้ ๒๕๑ ๙๒. อรยิ มรรคมีองค์ ๘ คอื ๒๕๒ กัลยาณวตั รท่ีตถาคตทรงฝากไว้

การปรินิพพานของตถาคต ๒๕๕ ๙๓. เหตกุ ารณช์ ่วงปรนิ พิ พาน ๒๕๖ ๙๔. ผมู้ ีธรรมเป็นทีพ่ ่งึ ๒๖๑ ๙๕. หลักตดั สนิ ธรรมวนิ ยั ๔ ประการ ๒๖๓ ๙๖. การบชู าตถาคตอยา่ งสงู สดุ ๒๖๕ ๙๗. พนิ ัยกรรม ของ “พระสังฆบดิ า” ๒๖๗ ๙๘. สังเวชนียสถานภายหลงั พุทธปรินพิ พาน ๒๖๘ ๙๙. สถานทที่ คี่ วรจะระลกึ ตลอดชวี ติ ๒๗๑ นิพพานและการพน้ ทุกข ์ ๒๗๓ ๑๐๐. เพราะการเกิด เปน็ เหตุให้พบกับความทกุ ข ์ ๒๗๔ ๑๐๑. เหตแุ ห่งการเกิด “ทุกข”์ ๒๗๘ ๑๐๒. ส้ินทกุ ขเ์ พราะสน้ิ กรรม ๒๘๐ ๑๐๓. ส้ินนันทิ สนิ้ ราคะ ๒๘๒ ๑๐๔. ความส้ินตณั หา คอื นิพพาน ๒๘๓ ๑๐๕. ความเพลิน เป็นเหตใุ ห้เกดิ ทกุ ข ์ ๒๘๕ ๑๐๖. ความเป็นโสดาบนั ๒๘๖ ประเสรฐิ กว่าเป็นพระเจา้ จักรพรรดิ ๑๐๗. สัทธานสุ าร ี ๒๘๘ ๑๐๘. ธมั มานสุ าร ี ๒๘๙

๑๐๙. ฐานะท่ีเปน็ ไปไม่ได้ ของผถู้ ึงพรอ้ มดว้ ยทิฏฐิ ๒๙๑ (พระโสดาบนั ) ๑๑๐. ล�ำดับการปฏิบตั ิเพื่ออรหตั ตผล ๒๙๓ ๑๑๑. อรยิ มรรค มีองค์ ๘ ๒๙๕ ๑๑๒. “ดนิ น�้ำ ไฟ ลม” ไม่อาจหย่งั ลงได้ในทไ่ี หน ๓๐๐ ๑๑๓. สง่ิ ๆ หนง่ึ ซงึ่ บุคคลพึงรู้แจ้ง ๓๐๓ ๑๑๔. สังขตลกั ษณะ ๓๐๔ ๑๑๕. อสงั ขตลักษณะ ๓๐๕ ๑๑๖. ล�ำดบั การหลดุ พ้นโดยละเอียดเมื่อเห็นอนัตตา ๓๐๖ ๑๑๗. ท�ำความเข้าใจเก่ยี วกบั อาหาร ๓๐๘ ๑๑๘. หลกั การพจิ ารณาอาหาร ๓๑๑ ๑๑๙. หมดความพอใจ กส็ นิ้ ทุกข ์ ๓๑๔ ๑๒๐. ความรู้สกึ ภายในใจ ๓๑๕ เมอื่ ละตัณหา (ความอยาก) ได้ ลกั ษณะภิกษผุ มู้ ศี ีล ๓๑๗ ๑๒๑. ผชู้ ี้ชวนวงิ วอน ๓๑๘ ๑๒๒. ลกั ษณะของภิกษผุ ้มู ศี ลี (นยั ท่ี ๑) ๓๑๙ ๑๒๓. ลักษณะของภิกษผุ มู้ ศี ีล (นยั ท่ี ๒) ๓๒๒ ๑๒๔. ลักษณะของภิกษุผ้มู ศี ลี (นัยท่ี ๓) ๓๒๔



ธรรมะกับชีวิต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ผชู้ ข้ี มุ ทรพั ย์ ! ๐๑ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๒๔๕/๓๕๖., -บาลี ธ. ขุ. ๒๕/๒๕/๑๖. น เต อหํ อานนทฺ ตถา ปรกฺกมิสฺสามิ อานนท์ ! เราไมพ่ ยายามท�ำ กะพวกเธอ อยา่ งทะนถุ นอม ยถา กมุ ภฺ กาโร อามเก อามกมตฺเต เหมอื นพวกช่างหม้อ ทำ�แก่หมอ้ ที่ยังเปยี ก ยังดิบอยู.่ นิคคฺ ยฺหนิคคฺ ยฺหาหํ อานนฺท วกขฺ ามิ อานนท์ ! เราจักขนาบแลว้ ขนาบอีก ไม่มหี ยดุ . ปวยหฺ ปวยหฺ าหํ อานนฺท วกขฺ ามิ อานนท์ ! เราจกั ชโ้ี ทษแลว้ ช้โี ทษอกี ไม่มหี ยดุ . โย สาโร, โส ฐสสฺ ติ ผู้ใดมีมรรคผลเป็นแกน่ สาร ผนู้ น้ั จักทนอยู่ได.้ 2

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม นิธนี วํ ปวตฺตารํ ยํ ปสเฺ ส วชชฺ ทสสฺ ินํ นิคคฺ ยฺหวาทึ เมธาวึ ตาทิสํ ปณฑฺ ติ ํ ภเช คนเรา ควรมองผู้มีปญั ญาใดๆ ทคี่ อยชโี้ ทษ คอยกลา่ วคำ�ขนาบอยเู่ สมอไป วา่ คนนนั้ แหละ คือ ผู้ชี้ขุมทรพั ย์ละ ควรคบบณั ฑิตท่ีเปน็ เช่นน้นั ตาทสิ ํ ภชมานสฺส เสยโฺ ย โหติ น ปาปโิ ย เม่ือคบหากบั บณั ฑติ ชนิดน้ันอยู่ ย่อมมีแต่ดีทา่ เดยี ว ไม่มีเลวเลย. 3

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ปฐมธรรม โอกาสในการเกดิ ๐๒ เปน็ มนษุ ยน์ น้ั แสนยาก -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๖๘/๑๗๔๔. ภิกษุทง้ั หลาย ! ถ้าสมมติว่า  มหาปฐพีอัน ใหญ่หลวงนี้ มีน้ำ�ท่วมถึงเป็นอันเดียวกันทั้งหมด บุรุษ คนหน่งึ   ท้งิ แอก (ไม้ไผ่ ?) ซ่งึ มีรูเจาะได้เพียงรูเดียวลงไป ในนำ้�น้ัน  ลมตะวันออกพัดให้ลอยไปทางทิศตะวันตก  ลมตะวนั ตกพดั ใหล้ อยไปทางทศิ ตะวนั ออก  ลมทศิ เหนอื พดั ให้ลอยไปทางทิศใต้  ลมทิศใต้พัดให้ลอยไปทางทิศเหนือ  อยดู่ งั น ้ี ในน�ำ้ นน้ั   มเี ตา่ ตวั หนง่ึ   ตาบอด  ลว่ งไปรอ้ ยๆ  ปี มันจะผดุ ขนึ้ มาครั้งหนงึ่ ๆ. ภิกษุท้ังหลาย !   เธอทั้งหลาย  จะสำ�คัญความ ขอ้ นีว้ ่าอย่างไร จะเป็นไปได้ไหม ท่ีเต่าตาบอด รอ้ ยปจี ึง จะผุดขนึ้ สักครง้ั หนึง่ จะพงึ ยน่ื คอเข้าไปในรูซ่ึงมอี ยูเ่ พยี ง รูเดยี วในแอกนน้ั  ? “ข้อน้ยี ากท่จี ะเป็นไปได้  พระเจ้าข้า  !  ท่เี ต่าตาบอดน้นั   รอ้ ยปผี ดุ ขน้ึ เพยี งครง้ั เดยี ว  จะพงึ ยน่ื คอเขา้ ไปในรซู ง่ึ มอี ยเู่ พยี งรเู ดยี ว ในแอกนัน้ ”. 4

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ยากทจ่ี ะเปน็ ไปได้ ฉนั เดยี วกนั ที่ใครๆ จะพงึ ไดค้ วามเป็นมนษุ ย์ ยากที่จะเปน็ ไปได้ ฉนั เดยี วกนั ทต่ี ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะจะเกดิ ขน้ึ ในโลก ยากท่จี ะเปน็ ไปได้ ฉนั เดียวกนั ที่ธรรมวนิ ยั อนั ตถาคตประกาศแลว้ จะรุง่ เรืองไปทัว่ โลก. ภิกษทุ ้ังหลาย !   แต่วา่ บดั น้ี ความเปน็ มนษุ ย์ ก็ได้แล้ว  ตถาคตผ้อู รหันตสัมมาสัมพุทธะก็บังเกิดข้นึ ในโลกแล้ว  และธรรมวินัยอันตถาคตประกาศแล้ว  ก็รงุ่ เรืองไปทวั่ โลกแล้ว. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   เพราะเหตุน้ัน ในกรณีนี้ พวกเธอพึงกระท�ำ โยคกรรม เพ่ือให้รู้ว่า “น้ี ทกุ ข์ นี้ เหตุให้เกดิ ทุกข์ น้ี ความดับแห่งทกุ ข์ นี้ หนทางใหถ้ งึ ความดบั แหง่ ทุกข”์ ดังน้ี เถิด. 5

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : ปฐมธรรม วญิ ญาณ ๐๓ คอื เหตแุ ห่งการเกิดขึน้ ของสตั ว ์ -บาลี มหา. ที. ๑๐/๖๗/๕๘. อานนท์ ! กค็ �ำ น้วี ่า “นามรปู มี เพราะปจั จยั คอื วิญญาณ” ดังน้ี เชน่ นี้แล เปน็ ค�ำ ทเ่ี รากล่าวแลว้ . อานนท์ ! ความข้อน้ี  เธอต้องทราบอธิบาย โดยปรยิ ายดังต่อไปน้ี ทต่ี รงกบั หวั ขอ้ ทเี่ รากล่าวไวแ้ ลว้ ว่า “นามรปู มี เพราะปจั จัยคอื วิญญาณ”. อานนท์ ! ถา้ หากวา่ วญิ ญาณจกั ไมก่ า้ วลงในทอ้ ง แห่งมารดาแล้วไซร้ นามรปู จกั ปรุงตัวข้ึนมาในท้องแหง่ มารดาไดไ้ หม ? “ข้อนน้ั หามิได้พระเจา้ ขา้ !”. อานนท์ ! ถ้าหากว่าวิญญาณก้าวลงในท้อง แห่งมารดาแล้ว  จักสลายลงเสียแล้วไซร้  นามรูปจัก บงั เกิดขึ้น เพอ่ื ความเป็นอยา่ งนไ้ี ด้ไหม ? “ขอ้ น้นั หามไิ ด้พระเจ้าข้า !”. 6

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม อานนท์ ! ถ้าหากว่าวิญญาณของเด็กอ่อน  ที่ เป็นชายก็ตาม  เป็นหญิงก็ตาม  จักขาดลงเสียแล้วไซร้ นามรปู จักถึงซ่งึ ความเจริญ ความงอกงาม ความไพบูลย์ บา้ งหรอื  ? “ขอ้ น้นั หามิไดพ้ ระเจ้าข้า !”. อานนท์ ! เพราะเหตนุ ้นั ในเรอื่ งนี้ นนั่ แหละ คือเหตุ  นั่นแหละคือนิทาน  นั่นแหละคือสมุทัย  นั่นแหละคือปจั จัย ของนามรูป น้ันคือ วญิ ญาณ. อานนท์ ! กค็ �ำ นวี้ ่า “วิญญาณมี เพราะปัจจัย คือนามรูป” ดังน้ี เช่นนีแ้ ล เปน็ คำ�ท่เี รากล่าวแลว้ . อานนท์ ! ความข้อนี้  เธอต้องทราบอธิบาย โดยปริยายดังต่อไปน้ีที่ตรงกับหัวข้อท่ีเรากล่าวไว้แล้วว่า “วิญญาณมี เพราะปัจจยั คือนามรปู ”. อานนท์ ! ถ้าหากว่าวิญญาณ  จักไม่ได้มีที่ตั้ง ทีอ่ าศัยในนามรูป แล้วไซร้ ความเกดิ ข้ึนพรอ้ มแห่งทุกข์ คอื ชาติ ชรา มรณะ ตอ่ ไป จะมขี ึน้ มาให้เหน็ ได้ไหม ? “ขอ้ นัน้ หามิได้พระเจา้ ข้า !”. 7

พุทธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรือ่ งนี้ นัน่ แหละ คอื เหตุ นน่ั แหละคอื นทิ าน นน่ั แหละคอื สมทุ ยั นน่ั แหละ คอื ปัจจัยของวิญญาณ นน่ั คอื นามรปู . อานนท์ ! ด้วยเหตเุ พยี งเทา่ นี้ สัตว์โลก จงึ เกิดบ้าง จงึ แกบ่ ้าง จึงตายบ้าง จงึ จุตบิ า้ ง จงึ อุบัตบิ า้ ง คลองแหง่ การเรียก (อธิวจน) ก็มเี พยี งเท่าน้ี คลองแหง่ การพดู จา (นริ ตุ ฺติ) ก็มเี พยี งเท่าน้ี คลองแหง่ การบญั ญตั ิ (ปญฺ ตตฺ )ิ กม็ เี พยี งเทา่ น้ี เรื่องที่จะต้องรู้ด้วยปญั ญา  (ปญฺาวจร)  กม็ เี พียงเทา่ น้ี ความเวียนวา่ ยในวฏั ฏะ กม็ เี พยี งเท่าน้ี นามรปู พรอ้ มท้งั วญิ ญาณต้งั อยู่ เพ่อื การบญั ญัติซึ่งความเป็นอยา่ งนี้ (ของนามรูปกบั วิญญาณ น่นั เอง). 8

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ปฐมธรรม หลกั ปฏิบตั ติ อ่ ทศิ ทงั้ ๖ ๐๔ -บาลี ปา. ที. ๑๑/๑๙๕-๒๐๖/๑๗๔-๒๐๕. “ขา้ แตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ ! ในอรยิ วนิ ยั   มกี ารนอบนอ้ ม ทิศท้ังหกอย่างไรพระเจ้าข้า  !  พระองค์จงทรงแสดงธรรม ที่เป็นการนอบน้อมทิศทั้งหกในอริยวินัยเถิด”. คหบดีบตุ ร ! พงึ ทราบว่า ทศิ ท้ังหกเหลา่ นี้ มีอยู่ คอื พงึ ทราบวา่ มารดาบดิ า เปน็ ปรุ ตั ถมิ ทศิ (ทศิ เบอ้ื งหนา้ ) พงึ ทราบวา่ อาจารย์ เป็นทักขณิ ทศิ (ทศิ เบ้อื งขวา) พงึ ทราบวา่ บุตรภรรยา เปน็ ปจั ฉมิ ทศิ (ทศิ บ้อื งหลัง) พงึ ทราบวา่ มติ รสหาย เป็นอตุ ตรทศิ (ทิศเบ้ืองซ้าย) พงึ ทราบวา่ ทาสกรรมกร เป็นเหฏฐิมทิศ (ทศิ เบอ้ื งต่ำ�) พงึ ทราบวา่ สมณพราหมณ ์ เปน็ อุปรมิ ทิศ (ทศิ เบอ้ื งบน). 9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หน้าทท่ี พี่ งึ ปฏบิ ตั ิต่อทศิ เบื้องหน้า คหบดบี ตุ ร ! ทศิ เบอ้ื งหนา้   คอื   มารดาบดิ า อนั บตุ รพงึ ปฏบิ ัตติ ่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  คอื (๑)  ทา่ นเลี้ยงเราแล้ว เราจกั เลี้ยงทา่ น (๒)  เราจกั ทำ�กิจของทา่ น (๓)  เราจกั ดำ�รงวงศส์ กลุ (๔)  เราจักปฏิบตั ติ นเปน็ ทายาท (๕)  เม่ือท่านทำ�กาละล่วงลับไปแล้ว  เราจัก กระท�ำ ทักษิณาอุทศิ ทา่ น คหบดบี ุตร ! ทิศเบอื้ งหน้า คอื มารดาบดิ า อันบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ยอ่ มอนุเคราะหบ์ ุตรโดยฐานะ  ๕  ประการ  คือ (๑)  ห้ามเสียจากบาป (๒)  ให้ต้ังอยู่ในความดี (๓)  ให้ศึกษาศลิ ปะ (๔)  ให้มคี ูค่ รองท่ีสมควร (๕)  มอบมรดกให้ตามเวลา เมื่อเป็นดังน้ี  ทิศเบ้ืองหน้านั้น  เป็นอันว่ากุลบุตรนั้น ปิดกั้นแลว้ เป็นทิศเกษม ไม่มีภยั เกิดขนึ้ . 10

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม หน้าทที่ ีพ่ ึงปฏบิ ตั ิตอ่ ทิศเบ้ืองขวา คหบดบี ตุ ร ! ทิศเบ้ืองขวา  คือ  อาจารย์ อันศิษยพ์ งึ ปฏิบตั ติ ่อโดยฐานะ  ๕  ประการ คือ (๑)  ด้วยการลุกขึ้นยืนรับ (๒)  ด้วยการเขา้ ไปยนื คอยรับใช้ (๓)  ดว้ ยการเช่ือฟงั อย่างยิ่ง (๔)  ดว้ ยการปรนนิบตั ิ (๕)  ด้วยการศกึ ษาศิลปวทิ ยาโดยเคารพ คหบดีบุตร ! ทิศเบื้องขวา  คือ  อาจารย์ อันศิษย์ปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ยอ่ มอนเุ คราะหศ์ ิษยโ์ ดยฐานะ  ๕  ประการ คือ (๑)  แนะน�ำ ดี (๒)  ใหศ้ กึ ษาดี (๓)  บอกศลิ ปวทิ ยาส้นิ เชิง (๔)  ทำ�ให้เปน็ ทีร่ จู้ ักในมติ รสหาย (๕)  ท�ำ การคุ้มครองให้ในทิศทั้งปวง เม่ือเป็นดังนี้  ทิศเบื้องขวานั้น  เป็นอันว่ากุลบุตรนั้น ปิดกน้ั แล้ว เป็นทิศเกษม ไมม่ ีภยั เกิดขน้ึ . 11

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หนา้ ทที่ ีพ่ ึงปฏบิ ัตติ ่อทศิ เบ้ืองหลงั คหบดบี ตุ ร ! ทิศเบ้ืองหลัง  คือ  ภรรยา อันสามพี ึงปฏิบตั ิต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  คอื (๑)  ด้วยการยกย่อง (๒)  ด้วยการไม่ดูหมน่ิ (๓)  ดว้ ยการไมป่ ระพฤตินอกใจ (๔)  ดว้ ยการมอบความเปน็ ใหญ่ในหนา้ ทใ่ี ห้ (๕)  ดว้ ยการให้เคร่อื งประดับ คหบดีบตุ ร ! ทิศเบื้องหลัง  คือ  ภรรยา อันสามีปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ยอ่ มอนุเคราะหส์ ามโี ดยฐานะ  ๕  ประการ  คอื (๑)  จดั แจงการงานดี (๒)  สงเคราะห์คนขา้ งเคียงดี (๓)  ไมป่ ระพฤตินอกใจ (๔)  ตามรกั ษาทรพั ย์ท่มี ีอยู่ (๕)  ขยันขนั แข็งในการงานทั้งปวง เม่ือเป็นดังน้ี  ทิศเบื้องหลังน้ัน  เป็นอันว่ากุลบุตรน้ัน ปดิ กน้ั แลว้ เปน็ ทศิ เกษม ไมม่ ภี ยั เกิดข้นึ . 12

เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม หน้าท่ีที่พึงปฏิบัติตอ่ ทศิ เบ้ืองซ้าย คหบดบี ุตร ! ทิศเบอ้ื งซ้าย คอื มิตรสหาย อนั กุลบตุ รพงึ ปฏบิ ตั ิต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  คอื (๑)  ด้วยการใหป้ ัน (๒)  ดว้ ยการพูดจาไพเราะ (๓)  ด้วยการประพฤตปิ ระโยชน์ (๔)  ด้วยการวางตนเสมอกัน (๕)  ดว้ ยการไมก่ ลา่ วค�ำ อนั เปน็ เครอ่ื งใหแ้ ตกกนั คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบือ้ งซา้ ย คือ มติ รสหาย อันกุลบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ยอ่ มอนุเคราะห์กุลบุตรโดยฐานะ  ๕  ประการ คอื (๑)  รักษามติ รผปู้ ระมาทแล้ว (๒)  รักษาทรัพยข์ องมติ รผ้ปู ระมาทแล้ว (๓)  เป็นท่ีพึ่งแก่มติ รเม่ือมภี ยั (๔)  ไม่ทอดทิ้งในยามมอี ันตราย (๕)  นับถอื สมาชกิ ในวงศข์ องมติ ร เม่ือเป็นดังนี้  ทิศเบื้องซ้ายนั้น  เป็นอันว่ากุลบุตรนั้น ปดิ กน้ั แล้ว เปน็ ทศิ เกษม ไมม่ ีภัยเกดิ ขนึ้ . 13

พุทธวจน - หมวดธรรม หนา้ ทีท่ พ่ี งึ ปฏิบัตติ อ่ ทิศเบ้อื งต�ำ่ คหบดีบุตร ! ทิศเบ้ืองต�ำ่ คอื ทาสกรรมกร อันนายพงึ ปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ  ๕  ประการ คือ (๑)  ดว้ ยให้ท�ำ การงานตามก�ำ ลงั (๒)  ด้วยการใหอ้ าหารและรางวลั (๓)  ด้วยการรกั ษาพยาบาลยามเจ็บไข้ (๔)  ดว้ ยการแบง่ ของมรี สประหลาดให้ (๕)  ด้วยการปล่อยให้อิสระตามสมัย คหบดบี ุตร ! ทศิ เบ้อื งต�ำ่ คอื ทาสกรรมกร อันนายปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ยอ่ มอนเุ คราะห์นายโดยฐานะ  ๕  ประการ  คือ (๑)  เปน็ ผ้ลู กุ ขน้ึ ท�ำ งานก่อนนาย (๒)  เลิกงานทีหลงั นาย (๓)  ถือเอาแตข่ องทน่ี ายให้ (๔)  กระทำ�การงานใหด้ ที ส่ี ุด (๕)  นำ�เกียรติคณุ ของนายไปร่ำ�ลอื เม่ือเป็นดังนี้  ทิศเบ้ืองต่ำ�น้ัน  เป็นอันว่ากุลบุตรนั้น ปิดก้นั แลว้ เปน็ ทิศเกษม ไม่มภี ัยเกดิ ข้ึน. 14

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ปฐมธรรม หน้าท่ีที่พงึ ปฏบิ ัติตอ่ ทิศเบ้ืองบน คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบอ้ื งบนคอื สมณพราหมณ์ อันกุลบตุ รพึงปฏิบตั ติ อ่ โดยฐานะ  ๕  ประการ  คือ (๑)  ด้วยเมตตากายกรรม (๒)  ด้วยเมตตาวจีกรรม (๓)  ด้วยเมตตามโนกรรม (๔)  ดว้ ยการไมป่ ิดประตู (คอื ยนิ ดีตอ้ นรบั ) (๕)  ด้วยการคอยถวายอามิสทาน คหบดบี ุตร ! ทศิ เบอ้ื งบน คอื สมณพราหมณ์ อันกุลบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ยอ่ มอนุเคราะหก์ ุลบตุ รโดยฐานะ  ๖  ประการ  คอื (๑)  ห้ามเสยี จากบาป (๒)  ใหต้ ง้ั อยูใ่ นความดี (๓)  อนุเคราะห์ดว้ ยใจอันงดงาม (๔)  ใหฟ้ ังในสิ่งท่ไี มเ่ คยฟัง (๕)  ท�ำ ส่งิ ท่ีไดฟ้ ังแล้วให้แจ่มแจ้งถึงทสี่ ดุ (๖)  บอกทางสวรรคใ์ ห้ 15

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมื่อเป็นดังนี้  ทิศเบ้ืองบนน้ัน  เป็นอันว่ากุลบุตรน้ัน ปดิ กน้ั แล้วเปน็ ทิศเกษม ไม่มีภยั เกดิ ขึน้ . 16

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม หลกั ในการใช้จา่ ยทรัพย์ ๐๕ -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๘๕/๖๑. คหบดี ! อริยสาวกนั้น  ใช้โภคทรัพย์ท่ีตน หาไดม้ าดว้ ยความเพยี รเปน็ เครอ่ื งลกุ ขน้ึ   รวบรวมมาด้วย กำ�ลังแขน  มีตัวชุ่มด้วยเหง่ือ  เป็นโภคทรัพย์ประกอบ ด้วยธรรม ได้มาโดยธรรม เพื่อกระทำ�กรรมในหน้าท่ี ๔ ประการ. ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ ในกรณีนี้ คือ ๑.  อริยสาวกนั้น  ใช้โภคทรัพย์อันตนหาได้มา โดยชอบธรรม (ดงั ที่กลา่ วแล้วข้างตน้ ) ในการเลี้ยงตน ให้ เป็นสุข  อ่ิมหนำ�  บริหารตนให้อยู่เป็นสุขโดยถูกต้อง ในการเลี้ยงมารดาและบิดาให้เปน็ สขุ อิม่ หนำ� บรหิ าร ท่านท้ังสองให้อยู่เป็นสุขโดยถูกต้อง  ในการเลี้ยงบุตร ภรรยา ทาสและกรรมกรชายหญิง ให้เปน็ สขุ อม่ิ หน�ำ บริหารให้อยู่กันอย่างเป็นสุขโดยถูกต้อง  ในการเลี้ยง มิตรอำ�มาตย์ให้เป็นสุข  อ่ิมหนำ�  บริหารให้อยู่เป็นสุข 17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม โดยถูกต้อง  นี้เป็นการบริโภคทรัพย์  ฐานที่  ๑  อัน อริยสาวกนั้นถึงแล้ว  บรรลุแล้ว  บริโภคแล้วโดยชอบ ดว้ ยเหตุผล (อายตนโส). คหบดี !  ขอ้ อืน่ ยังมอี กี ๒.  อริยสาวกนั้น  ใช้โภคทรัพย์อันตนหาได้มา โดยชอบธรรม  (ดังท่ีกล่าวแล้วข้างต้น)  ในการปิดก้ัน อันตรายทงั้ หลาย ท�ำ ตนใหส้ วสั ดจี ากอันตรายทัง้ หลาย ทเ่ี กดิ จากไฟ จากน�ำ้ จากพระราชา จากโจร หรอื จากทายาท ท่ีไม่เป็นท่ีรักน้ันๆ  นี้เป็นการบริโภคทรัพย์  ฐานท่ี  ๒ อันอริยสาวกน้นั ถงึ แลว้   บรรลุแล้ว  บรโิ ภคแลว้ โดยชอบ ด้วยเหตุผล. คหบดี !  ขอ้ อน่ื ยังมีอกี ๓.  อริยสาวกน้ัน  ใช้โภคทรัพย์อันตนหาได้มา โดยชอบธรรม (ดงั ทก่ี ลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ ) ในการกระท�ำ พลกี รรม ๕ ประการ คอื สงเคราะหญ์ าติ (ญาตพิ ลี) สงเคราะหแ์ ขก (อตถิ พิ ล)ี สงเคราะหผ์ ลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ (ปพุ พเปตพล)ี ชว่ ยชาติ (ราชพล)ี สงเคราะหเ์ ทวดา (เทวตาพล)ี นเ้ี ปน็ การบรโิ ภคทรพั ย์ ฐานที่ ๓ อันอริยสาวกนั้นถึงแล้ว บรรลุแลว้ บรโิ ภคแล้ว โดยชอบด้วยเหตุผล. คหบดี !  ข้ออ่ืนยงั มอี ีก 18

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม ๔.  อริยสาวกน้ัน  ใช้โภคทรัพย์อันตนหามาได้ โดยชอบธรรม  (ดังท่ีกล่าวแล้วข้างต้น)  ในการตั้งไว้ซึ่ง ทักษิณา  อุทิศแก่สมณพราหมณ์ท้ังหลาย  ผู้งดเว้นแล้ว จากความประมาทมวั เมา ผ้ตู งั้ มัน่ อยู่ในขันติและโสรจั จะ ผู้ฝึกฝน ทำ�ความสงบ ทำ�ความดบั เยน็ แก่ตนเอง อันเป็น ทักษิณาทานที่มีผลเลิศในเบื้องบน  เป็นฝ่ายดี  มีสุข เป็นผลตอบแทน  เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์  นี้เป็นการ บริโภคทรัพย์  ฐานท่ี  ๔  อันอริยสาวกนั้นถึงแล้ว  บรรลุแล้ว  บริโภคแล้วโดยชอบด้วยเหตุผล. คหบดี ! อริยสาวกนน้ั ย่อมใชโ้ ภคทรัพยท์ ีต่ น หาได้มาดว้ ยความเพียรเป็นเคร่อื งลกุ ข้ึน รวบรวมมาด้วย ก�ำ ลงั แขน มตี วั ชมุ่ ดว้ ยเหงอ่ื เปน็ โภคทรพั ยป์ ระกอบดว้ ยธรรม ได้มาโดยธรรม เพื่อกระทำ�กรรมในหน้าที่ ๔ ประการ เหลา่ นี้. 19

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม 20

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม การตอบแทนคณุ ๐๖ มารดาบดิ าอยา่ งสงู สดุ -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๗๘/๒๗๘. ภิกษุทั้งหลาย !   เรากล่าวการกระทำ�ตอบแทน ไมไ่ ดง้ ่ายแกท่ า่ นทงั้ สอง. ทา่ นทง้ั สองนนั้ คอื ใคร ? คอื ๑. มารดา ๒. บิดา ภิกษุท้ังหลาย !   บตุ รพงึ ประคบั ประคองมารดา ดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ พงึ ประคบั ประคองบดิ าดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ เขามอี ายมุ ชี วี ติ อยตู่ ลอดรอ้ ยปี และเขาพงึ ปฏบิ ตั ทิ า่ นทง้ั สอง นน้ั ดว้ ยการอบกลน่ิ การนวด การใหอ้ าบน�ำ้ และการดดั และทา่ นทง้ั สองนน้ั พงึ ถา่ ยอจุ จาระปสั สาวะบนบา่ ทง้ั สอง ของเขาน่นั แหละ.  ภกิ ษุทง้ั หลาย !  การกระทำ�อย่างน้นั ยังไม่ชื่อว่า  อันบุตรทำ�แล้ว  หรือทำ�ตอบแทนแล้ว  แกม่ ารดาบดิ าเลย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   อนึ่ง บุตรพงึ สถาปนามารดา บดิ าในราชสมบตั  ิ อนั เปน็ อสิ ราธปิ ตั ย ์ ในแผน่ ดนิ ใหญ่ อนั มีรตนะ ๗ ประการ มากหลายเชน่ นี้ การกระทำ�กิจ อย่างนนั้ ยังไม่ช่ือวา่ อันบุตรทำ�แลว้ หรือท�ำ ตอบแทนแล้ว แกม่ ารดาบิดาเลย. ขอ้ นั้นเพราะเหตุไร ? 21

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะมารดาบิดามีอุปการะมาก  บำ�รุงเล้ียง แสดงโลกน้ีแก่บุตรท้งั หลาย. ส่วนบุตรคนใด  ยังมารดาบิดาผู้ไม่มีศรัทธา ให้สมาทานตั้งมั่นในสัทธาสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วย ศรัทธา). ยังมารดาบิดาผู้ทุศีล  ให้สมาทานตั้งมั่นใน สีลสัมปทา (ความถึงพร้อมดว้ ยศลี ). ยังมารดาบิดาผู้มีความตระหน่ี  ให้สมาทาน ต้งั มนั่ ในจาคสัมปทา (ความถงึ พร้อมดว้ ยการบริจาค). ยงั มารดาบดิ าทรามปัญญา ใหส้ มาทานตง้ั ม่นั ในปัญญาสมั ปทา (ความถึงพรอ้ มดว้ ยปัญญา). ภิกษุทั้งหลาย !   ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล การกระทำ�อย่างนั้นย่อมชื่อว่า  อันบุตรนั้นทำ�แล้ว  และ ทำ�ตอบแทนแลว้ แก่มารดาบิดา. 22

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม วา่ ด้วยความรัก ๔ แบบ ๐๗ -บาลี จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๑/๒๐๐. (๑)  ความรกั เกดิ จากความรัก ภิกษุท้ังหลาย !   ในกรณีน้ี  มีบุคคลซึ่งเป็นท่ี ปรารถนารกั ใครพ่ อใจของบคุ คลคนหนง่ึ มบี คุ คลพวกอน่ื มาประพฤตกิ ระท�ำ ตอ่ บคุ คลนน้ั ดว้ ยอาการทน่ี า่ ปรารถนา น่ารักใครน่ ่าพอใจ บคุ คลโน้นกจ็ ะเกดิ ความพอใจขึน้ มา อย่างนี้ว่า  “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำ�ต่อบุคคล ท่ีเราปรารถนารักใคร่พอใจ  ด้วยอาการที่น่าปรารถนา น่ารกั ใครน่ า่ พอใจ” ดงั น้ี บุคคลนนั้ ชอื่ วา่   ย่อมทำ�ความรักให้เกดิ ขึน้ ในบุคคลเหลา่ นน้ั . ภิกษทุ ้งั หลาย !   อยา่ งนแ้ี ล เรยี กว่า ความรกั เกดิ จากความรัก. 23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๒)  ความเกลยี ดเกิดจากความรัก ภิกษุทั้งหลาย !   ในกรณีน้ี  มีบุคคลซึ่งเป็นท่ี ปรารถนารกั ใครพ่ อใจของบคุ คลคนหนง่ึ มบี คุ คลพวกอน่ื มาประพฤตกิ ระท�ำ ตอ่ บคุ คลนน้ั ดว้ ยอาการทไ่ี มน่ า่ ปรารถนา ไมน่ า่ รกั ใครพ่ อใจ บคุ คลโนน้ กจ็ ะเกดิ ความไมพ่ อใจขน้ึ มา อย่างนี้ว่า  “บุคคลเหล่าน้ันประพฤติกระทำ�ต่อบุคคลท่ี เราปรารถนารักใคร่พอใจ  ด้วยอาการท่ีไม่น่าปรารถนา ไม่น่ารกั ใครพ่ อใจ” ดังนี้ บุคคลนน้ั ชอ่ื ว่า ยอ่ มท�ำ ความเกลยี ดใหเ้ กดิ ขน้ึ ในบคุ คลเหลา่ นน้ั . ภกิ ษุทัง้ หลาย !   อยา่ งนแ้ี ล เรยี กว่า ความเกลียดเกิดจากความรกั . 24