www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจ ด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) RAREANG BUNTHEANG JAI www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจ ด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) RAREANG BUNTHEANG JAI www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บันทกึ นำ ในการพมิ พค์ รั้งที่ ๒ ร่าเริงบันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา จัดพิมพ์ ครั้งแรก ๑๐,๐๐๐ เล่ม ออกเผยแพร่เมื่อเดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้จัดถวายพระสังฆาธิการ และพระภิกษุในโครงการสัมมนาพระกัลยาณมิตร หลักสูตรการเผยแผ่ธรรมะอย่างเป็นระบบ ณ วัดพระ ธรรมกาย และจัดมอบให้พระภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา ทท่ี ำหนา้ ท่เี ผยแผ่ธรรมะ บดั นี้หนังสือได้หมดลงแลว้ ในการจัดพิมพ์คร้ังที่ ๒ ผู้เรียบเรียงและคณะ ได้จัดทำบทสัมโมทนียกถา เพิ่มจาก ๕๐ บท เป็น ๑๐๘ บท และเพ่ิมหมวดบุญพิเศษเก่ียวกับสัมโมทนี- ยกถาทใ่ี ชใ้ นการถวายวัตถุทานอืน่ ๆ เชน่ ถวายกองทนุ การศึกษา ถวายผ้าไตรจีวร ถวายยารักษาโรค ถวาย www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) เคร่อื งกันหนาว ถวายโคมประทีป เป็นต้น ขออานิสงส์ท่ีเกิดจากประโยชน์ของหนังสือ เลม่ นี้ จงอำนวยผลให้ทา่ นผมู้ สี ่วนร่วมสนบั สนนุ มดี วง ปัญญา สว่างไสว รู้แจ้งแทงตลอดในธรรมขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้โดยง่ายไปทุกภพทุก ชาติ ตราบกระท่ังถึงทีส่ ดุ แห่งธรรมเทอญฯ พระครูธรรมธรไพบูลย์ ธมฺมวิปุโล ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) คำนำ การกล่าวสัมโมทนียกถา เป็นการกล่าว ถ้อยคำเป็นท่ีบันเทิงใจ แสดงความยินดี ช่ืนชมหรือ ขอบใจ เปน็ ถ้อยคำที่ไพเราะ เมอื่ ไดฟ้ งั แล้วเกดิ ความ ชุ่มช่ืนใจ เกิดกำลังใจในการทำความดี ใช้กล่าวเม่ือ เห็นบุคคลประกอบกรรมดี เป็นคำกล่าวสนับสนุนส่ง เสริมให้ภูมิใจในการกระทำน้ัน พร้อมกับขออานุภาพ คุณของ พระรัตนตรัย และคุณธรรมความดีนั้นให้ คุ้มครองป้องกันภัย เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลใน ชวี ติ การกล่าวสัมโมทนียกถาเป็นกิจวัตรของพระ ภิกษุ สามเณรท่ีถือปฏิบัติสืบทอดต่อกันมายาวนาน ตั้งแต่สมัยพุทธกาลอันเป็นพุทธบัญญัติ จึงเป็นหน้าที่ ที่พระภิกษุสามเณรจะต้องศึกษา ถึงความเป็นมา www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ความหมายและความสำคัญ รวมท้ังฝึกการกล่าว สัมโมทนียกถาให้ไพเราะเหมาะสม ยังความชุ่มชื่น เบิกบานใจแก่ทานบดีผู้ใจบุญค้ำจุนพระพุทธศาสนา จะได้ทำหน้าท่ีทายก ทายิกา (ผู้ให้) สั่งสมบุญบารมี ใหย้ ิ่งๆ ขึน้ ไป คณะสงฆ์วัดพระธรรมกาย ได้พัฒนาบทกล่าว สัมโมทนียกถา เพ่ือใช้ในการกล่าวอนุโมทนาแก่เจ้า ภาพท่ีมาทำบุญถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานมาตาม ลำดบั ต่อมา มีพระภิกษุไปปฏิบัติศาสนากิจเผยแผ่ พระศาสนา ท้ังภายในและต่างประเทศต้องการ บท สมั โมทนยี กถา เพอ่ื เปน็ แมบ่ ทในการฝกึ กลา่ วสมั โมทน-ี ยกถาอย่างเป็นระบบ จึงได้จัดทำหนังสือร่าเริงบันเทิง ใจด้วยสัมโมทนียกถาเลม่ นข้ี ึ้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือร่าเริงบันเทิงใจด้วย สัมโมทนียกถา จะอำนวยประโยชน์แก่พระภิกษุ www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) สามเณรผรู้ ักการฝึกตวั ทุกทา่ น คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณและอนุโมทนา บุญกับทุกท่านที่มีส่วนร่วมสนับสนุน และจัดทำ หนังสือเล่มน้จี นสำเรจ็ ลุล่วงมาได้ดว้ ยด ี คุณความดีที่จะบังเกิดข้ึนจากหนังสือเล่มน้ี ขอนอบนอ้ มสกั การะบูชาพระคณุ บิดา มารดา บพุ การี คุณครูอุปัชฌาย์ทุกท่านที่เป็นกัลยาณมิตร ช่วยประ คับประคองให้ได้บำเพ็ญความดี และคุณประโยชน์ ตราบจนกระทง่ั ถงึ ปจั จุบนั น้ ี (พระครธู รรมธรไพบูลย์ ธมมฺ วปิ ุโล และคณะ) วดั พระธรรมกาย จ.ปทมุ ธานี ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) สารบญั คำนำ ๔ สารบญั ๗ ตัวอย่างบทสัมโมทนยี กถา หมวดศรทั ธา ๑๖ บทท่ี ๑ ชวี ติ ของพระภกิ ษสุ ามเณรอยู่ได้ดว้ ย ความศรัทธาของสาธุชน ๑๗ บทท่ี ๒ เหตุท่ที ำใหพ้ ระภิกษุสามเณร รงุ่ เรอื งอย่ใู นพระศาสนา ๑๙ บทที่ ๓ เชื่อผลของกรรมแลว้ ให้ทาน ๒๑ บทท่ี ๔ อานิสงสข์ องการทำทาน ด้วยความศรทั ธา ๒๓ บทที่ ๕ ผู้มศี รทั ธา ช่ือวา่ ไม่ยากจน ๒๕ บทท่ี ๖ ศรทั ธาดุจสายฝน ๒๗ บทท่ี ๗ ศรัทธาและความเพียร ๒๙ www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๘ เกดิ บอ่ ยๆ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ รรคผล ๓๑ บทท่ี ๙ คณุ และโทษของทรัพย ์ ๓๔ หมวดทาน ๓๗ บทที่ ๑๐ อานิสงส์ของการทำทานดว้ ย ความร่าเริงแจ่มใส ๓๘ บทท่ี ๑๑ อานสิ งสข์ องการทำทาน ๔ ประการ ๔๑ บทท่ี ๑๒ อานิสงส์ของการทำทานดว้ ยจิต ท่ผี ่องใสท้งั ๓ ระยะ ๔๓ บทที่ ๑๓ เจตนาบริสทุ ธ์ ิ ๔๕ บทที่ ๑๔ บุคคลใหท้ านไม่ไดด้ ว้ ยเหตุ ๒ ประการ ๔๗ บทท่ี ๑๕ ผ้เู อาชนะความตระหน่ี ๕๐ บทที่ ๑๖ ทานกับการรบ ๕๒ บทที่ ๑๗ องคแ์ ห่งทานทม่ี ผี ลมาก ๓ ประการ ๕๔ บทที่ ๑๘ เหตุทีท่ ำให้ไดอ้ ายุ ๕๖ บทท่ี ๑๙ สง่ิ ใดทนี่ ำออกสิ่งน้ันเปน็ ของเรา ๕๘ www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๒๐ คนจน ๓ ประเภท ๖๐ บทท่ี ๒๑ คนเราเลือกเกิดได ้ ๖๐ บทที่ ๒๒ ผใู้ ห้โภชนะชอ่ื วา่ ใหฐ้ านะ ๕ ประการแกป่ ฏิคาหก ๖๔ บทท่ี ๒๓ ฐานะ ๕ ประการทีเ่ งนิ ซอ้ื ไมไ่ ด้ ๖๗ บทท่ี ๒๔ มหาสมุทรไมอ่ ิ่มด้วยน้ำ ๖๙ บทท่ี ๒๕ การทำทานทม่ี ผี ลมาก ๗๑ บทท่ี ๒๖ ทานบารมีของพระโพธิสัตว ์ ๗๓ บทท่ี ๒๗ ทานบารมีเปน็ เบ้ืองตน้ ของ การสร้างบารม ี ๗๕ บทที่ ๒๘ รูปสวย รวยบรวิ าร ๗๘ บทท่ี ๒๙ แม่น้ำไมด่ ่ืมกนิ น้ำของตวั เอง ๘๐ บทที่ ๓๐ ทานเปน็ เครื่องหล่อเล้ียง พระพุทธศาสนา ๘๒ บทที่ ๓๑ พระพทุ ธศาสนาดำรงอยไู่ ด้ ด้วยทาน ๘๔ บทท่ี ๓๒ ทานเป็นต้นเหตขุ องความสุข ๘๖ บทท่ี ๓๓ การใหท้ านของสัตบุรุษ ๘๘ บทที่ ๓๔ ผใู้ หย้ ่อมเปน็ ทร่ี กั ๙๐ บทที่ ๓๕ ปฏิบัติสะดวก บรรลไุ ดเ้ รว็ ๙๒ www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) หมวดบญุ ๙๔ บทท่ี ๓๖ ความปลื้มปีติเปน็ ทางมาแห่งบุญ ๙๕ บทท่ี ๓๗ อานสิ งส์ของการทำบญุ บอ่ ยๆ และนกึ ถงึ บุญบอ่ ยๆ ๙๘ บทท่ี ๓๘ เหตใุ หป้ ระสพบุญมาก ๓ ประการ ๑๐๐ บทที่ ๓๙ ไมค่ วรดูหม่นิ บุญวา่ มปี ระมาณน้อย ๑๐๒ บทท่ี ๔๐ บญุ เอาติดตัวไปได้ ๑๐๔ บทที่ ๔๑ ยดึ บญุ เป็นใหญ ่ ๑๐๖ บทท่ี ๔๒ บุญฉดุ ไปสูภ่ พภูมอิ ันประเสริฐ ๑๐๘ บทที่ ๔๓ บุญท่สี ่ังสมไวด้ ีแลว้ เหมอื นผลไม้พนั ธุด์ ี ๑๑๐ บทท่ี ๔๔ ดวงบญุ เปรียบดงั่ ดวงตะวนั ๑๑๒ บทท่ี ๔๕ เกิดมาสร้างบญุ บารมี ๑๑๔ บทท่ี ๔๖ พ้ืนฐานของความสุขและ ความสำเรจ็ ๑๑๖ บทท่ี ๔๗ ผู้มีบุญลาภอนั ประเสรฐิ ๑๑๘ บทที่ ๔๘ ทำประกันชีวิตดว้ ยบุญ ๑๒๐ บทที่ ๔๙ คณุ คา่ ของความเป็นมนุษย์ ๑๒๒ บทท่ี ๕๐ ชาวนาผู้ชาญฉลาด ๑๒๔ 10 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๕๑ บุญทำให้อายุยนื และอายสุ ้นั ๑๒๖ บทท่ี ๕๒ เนือ้ นาบญุ ๑๒๘ บทที่ ๕๓ การสง่ั สมบุญ นำความสุขมาให้ ๑๓๐ บทท่ี ๕๔ ทำบญุ ไม่สูญเปลา่ ๑๓๒ บทท่ี ๕๕ ไดท้ ้ังทรัพยแ์ ละบรวิ าร บทท่ี ๕๖ หาบญุ ได้ ใชบ้ ุญเปน็ ๑๓๔ บทท่ี ๕๗ ใช้บญุ ให้เป็น ๑๓๕ บทท่ี ๕๘ บญุ เกา่ บุญใหม่ ๑๓๗ บทที่ ๕๙ ธาตุ...ดงึ ดูดสมบตั ิ ๑๓๙ บทที่ ๖๐ กระแสบุญ ๑๔๑ บทท่ี ๖๑ การสง่ ผลของบุญ ๑๔๓ บทที่ ๖๒ ผ้รู กั ตนเอง ๑๔๕ บทที่ ๖๓ หมดบญุ ก็หมดสทิ ธ์ ิ ๑๔๗ บทที่ ๖๔ เราใชบ้ ญุ เก่าไปทกุ วนั ๑๔๙ บทที่ ๖๕ ดูปจั จุบัน ๑๕๑ บทท่ี ๖๖ เราคือผูอ้ อกแบบชวี ิต ๑๕๓ ๑๕๕ บทที่ ๖๗ ผไู้ ม่สะด้งุ กลัวตอ่ ความตาย ๑๕๗ บทที่ ๖๘ สรา้ งบารมีไมม่ ีเวน้ วรรค ๑๕๙ 11 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) หมวดชวี ติ ในปรโลก ๑๖๑ บทท่ี ๖๙ เมอื่ เหล่าเทพจตุ ิ ๑๖๒ บทที่ ๗๐ สวา่ งมา สว่างไป ๑๖๔ บทที่ ๗๑ เรอื นทถ่ี กู ไฟไหม้ ๑๖๖ บทท่ี ๗๒ ผใู้ ห้ของท่ปี ระเสรฐิ ย่อมเขา้ ถงึ ฐานะ อนั ประเสริฐ ๑๖๘ บทที่ ๗๓ เทวดาขม่ เทวดา ๑๗๑ บทท่ี ๗๔ คนเชอ่ื ผลของบุญ ๒ ประเภท ๑๗๓ บทท่ี ๗๕ บุญเปน็ สงิ่ ทีต่ อ้ งแสวงหา ๑๗๖ บทท่ี ๗๖ บุญเป็นมติ รติดตามไปในโลกหน้า ๑๗๘ บทที่ ๗๗ ฐานะทางสังคมในโลกหน้า ๑๘๑ บทที่ ๗๘ ผูม้ ชี ยั ในโลกท้งั สอง ๑๘๓ บทท่ี ๗๙ ละโลกไปอย่างผ้มู ีชยั ๑๘๕ บทที่ ๘๐ จติ ผ่องใส สุคติเป็นทีไ่ ป ๑๘๗ บทท่ี ๘๑ นาทีทองตอนสน้ิ ใจ ๑๘๙ บทที่ ๘๒ ชีวติ ท่ปี ลอดภัยในปรโลก ๑๙๑ บทท่ี ๘๓ ชวี ิตท่รี าบเรยี บ ๑๙๓ บทที่ ๘๔ ชีวติ ในปรโลกไมม่ ีการทำมาหากนิ ๑๙๕ บทท่ี ๘๕ เงนิ สกลุ บญุ ๑๙๗ 12 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๘๖ การเกิดขนึ้ ของวิมาน ๒ แบบ ๑๙๙ บทท่ี ๘๗ โครงสร้างของวิมาน ๒๐๑ บทท่ี ๘๘ อัศจรรย์วันพระ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) ๒๐๓ หมวดบญุ พเิ ศษ ๒๐๕ บทที่ ๘๙ ธรรมทานเลิศกว่าทานทงั้ หลาย ๒๐๖ บทที่ ๙๐ ผา้ ชุดสดุ ท้าย ๒๐๘ บทท่ี ๙๑ ธงชยั พระอรหันต์ ๒๑๐ บทที่ ๙๒ อานสิ งสข์ องการถวายยารกั ษาโรค ๒๑๓ บทท่ี ๙๓ ความไมม่ โี รคเปน็ ลาภอนั ประเสรฐิ ๒๑๕ บทที่ ๙๔ อานสิ งส์ของการถวาย เครอื่ งกนั หนาว ๒๑๗ บทที่ ๙๕ อานสิ งส์ของการถวายโคมประทปี เป็นพุทธบูชา ๒๑๙ หมวดวันสำคัญ ๒๒๑ บทท่ี ๙๖ การทำบุญขนึ้ ปีใหม่ (๑ มกราคม) ๒๒๒ บทท่ี ๙๗ ตามติดคุณยาย (๑๙ มกราคม) ๒๒๔ 13 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๙๘ สายบุญมหาปชู นยี าจารย์ (๓ กมุ ภาพนั ธ)์ ๒๒๗ บทที่ ๙๙ เหตแุ ละประโยชน์จากความรัก (๑๔ กุมภาพนั ธ์ วันวาเลนไทน์) ๒๒๙ บทท่ี ๑๐๐ อานิสงส์ของการถวายกองทุน โคมมาฆประทีป (ขน้ึ ๑๕ ค่ำ เดือน ๓) ๒๓๒ บทท่ี ๑๐๑ อานิสงสข์ องการเป็นญาติกับ พระศาสนา (บวชธรรมทายาท) ๒๓๕ บทที่ ๑๐๒ ฉลองพระบวชใหม ่ ๒๓๗ บทที่ ๑๐๓ เหตุท่ที ำให้ไดเ้ ป็นพระราชา หรือ ประธานาธิบดี (๕ พฤษภาคม วันฉัตรมงคล) ๒๓๙ บทท่ี ๑๐๔ วนั วิสาขบูชา (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖) ๒๔๑ บทท่ี ๑๐๕ บคุ คล ๒ ท่านในวนั อาสาฬหบชู า (ขน้ึ ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ วันอาสาฬหบูชา) ๒๔๔ บทที่ ๑๐๖ เหตุท่ีทำให้ไดบ้ รรลุธรรมกอ่ นใคร (ข้นึ ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ วนั อาสาฬหบูชา) ๒๔๗ 14 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๑๐๗ แม่ (พ่อ) และลูกทป่ี ระเสริฐ (๑๒ สิงหาคม วันแม่ ๕ ธนั วาคม วนั พ่อแห่งชาต)ิ ๒๔๙ บทท่ี ๑๐๘ อานสิ งส์ของกฐินทาน ๒๕๒ ทม่ี าของการกล่าวสมั โมทนยี กถา ๒๕๖ ความหมาย ๒๖๐ ประเภทของการอนโุ มทนา ๒๖๒ หลักการกล่าวสัมโมทนียกถา ๒๖๘ การกลา่ วบทสมั โมทนียกถา ของคณะสงฆว์ ัดพระธรรมกาย ๒๗๓ ๑. ข้ันตอนการกลา่ วสมั โมทนยี กถา ๒. ขอ้ ปฏบิ ตั ิในการกล่าวสมั โมทนียกถา ๓. ขอ้ ควรระวงั ในการกลา่ วสมั โมทนยี กถา บรรณานุกรม ๒๘๒ วธิ ีฝกึ สมาธิเบอ้ื งตน้ ๒๘๗ คณะผู้จัดทำ ๒๙๔ ประวัติผเู้ รยี บเรียง ๒๙๕ 15 www.kalyanamitra.org
บทสมั โมทนียกถา หมวดศรัทธา www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทที่ ๑ ชวี ติ ของพระภิกษุสามเณร อยู่ได้ด้วยศรทั ธาของสาธชุ น ชีวิตของพระภิกษุสามเณร ดำรงอยู่ได้ด้วย ภัตตาหารที่สาธุชนนำมาถวายด้วยศรัทธา ครั้งแล้ว ครงั้ เล่า คนแล้วคนเล่า สบื เน่ืองกันเรือ่ ยมา ต้งั แต่สมัย พุทธกาลจนถึงปัจจุบันน้ี ดุจคล่ืนในมหาสมุทรที่ซัด เข้าหาฝ่งั ระลอกแล้วระลอกเลา่ ข้าวปลาอาหารนี้ นอกจากให้กำลงั กาย กำลัง ใจแลว้ ยังแปรเปล่ียนเป็นเลอื ด เป็นเน้อื เป็นชวี ติ ของ พระภิกษุ สามเณร เพ่ือให้พระภิกษุสามเณรบำเพ็ญ ประโยชน์อันสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา ดังที่พระ ภกิ ษุได้ปฏิญาณตนในวนั อปุ สมบทไวว้ า่ 17 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) สพั พะทกุ ขะ นสิ สะระณะ นพิ พานะ สจั ฉิกะระณตั ถายะ แปลความว่า ข้าพเจ้าออกบวชเพ่ือสลัดกอง ทกุ ข์ และทำพระนิพพานใหแ้ จ้ง ข้าวปลาอาหารของท่านทานบดีทั้งหลาย จึง เป็นประดุจอาหารทิพย์ อาหารที่เป็นไปเพ่ือหนทาง สวรรคแ์ ละพระนพิ พาน ท่านทานบดี (ผู้เป็นใหญ่ในการให้ทาน) ท้ัง หลาย แม่น้ำทุกสายย่อมไหลรวมลงไปสู่มหาสมุทร ฉันใด ท่อธารแห่งบุญก็ย่อมไหลไปสู่ทานบดี ผู้มีปกติ ใหท้ านแก่ผู้ประพฤตธิ รรมอย่เู ป็นนติ ย์ มหาสมุทรไม่เคยอิ่มด้วยน้ำฉันใด ทานบดีผู้ หวงั บญุ ปรารถนาบุญ กย็ ่อมไมอ่ ่ิมดว้ ยการสั่งสมบุญ ฉันนน้ั . 18 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๒ เหตุที่ทำใหพ้ ระภิกษุสามเณร ร่งุ เรืองอยใู่ นพระศาสนา ดอกบัวแย้มบานรับแสงอาทิตย์อุทัยในยาม เชา้ ย่อมงดงามดว้ ยเหตุ ๒ ประการ ประการแรก บัวนั้นเป็นบัวพันธ์ุดี ดอกจึงมีสี ท่งี ดงาม ประการที่สอง บัวน้ันมีน้ำ และโคลนตมคอย หล่อเลีย้ ง พระภิกษุสามเณรในพระศาสนาก็เช่นกัน จะ เจรญิ งอกงามในพระศาสนาด้วยเหตุ ๒ ประการ คอื ประการแรก พระภิกษสุ ามเณรมีความศรัทธา 19 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) เล่ือมใสในพระรัตนตรัย และมีความตั้งใจที่จะทำ พระนิพพานให้แจง้ ประการท่ีสอง พระภิกษุสามเณรต้องอาศัย ปัจจัย ๔ อันควรแกส่ มณะบรโิ ภค ซ่งึ ท่านทานบดผี มู้ ี จิตเล่ือมใสศรัทธา นำมาอุปัฏฐากบำรุงเลี้ยง ท่านจึงมี เวลาศึกษาประพฤติปฏิบัติธรรม ฝึกฝนอบรมตนเอง จนเป็นเน้อื นาบญุ ใหแ้ กช่ าวโลก ด้วยเหตุสองประการน้ี จึงทำให้พระภิกษุ สามเณรเจริญร่งุ เรอื งเป็นอายุของพระศาสนา ทา่ นทานบดที ง้ั หลาย ทกั ษณิ าทานอนั ประกอบ ด้วยศรทั ธา ทท่ี ่านหลง่ั รินลงในพระศาสนา จงึ เปน็ บญุ ใหญ่ เป็นกุศลอันเลศิ บญุ น้จี ะคอยสนบั สนุนค้ำจนุ ให้ บุคคลผู้มีศรัทธามีแต่ความเจริญรุ่งเรือง แม้ละโลกไป แล้ว บุญน้ีก็ยังติดตามประดุจเงาท่ีติดตามตัว ประคับ ประคองให้มสี คุ ติเปน็ ท่ีไป. 2 0 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทที่ ๓ เช่อื ผลของกรรมแลว้ ให้ทาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ทักษิณาท่ีถวาย เป็นสังฆทานมีอานิสงส์นับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ “ผู้ใด มีศีล ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดี เชื่อกรรม และผลของกรรมอันโอฬาร ให้ทานในชนผู้มีศีล เรา กล่าวทานของผนู้ น้ั ว่ามผี ลไพบูลย๑์ ” พระภิกษุสามเณรได้เร่ียวแรงอันเกิดจากภัต ตาหารนี้ ไปสร้างบุญกุศลมากมายเพียงใด ท่าน ทานบดีท้ังหลายก็มีส่วนแห่งบุญนี้ไปด้วย เปรียบ เสมือนต้นไม้อาศัยแผ่นดิน ดูดซับอาหารและความ ชุ่มชื้นมาหล่อเลี้ยงจนผลิดอกออกผล ให้ความชุ่มช้ืน ก่อกำเนิดเป็นเมฆฝน สร้างความมีชีวิตชีวาให้แก่โลก ใบน้ี ฉันใด ๑ ทกั ขิณาวภิ งั คสตู ร มก. ๒๓/๓๙๑, มจ. ๑๔/๔๓๐ 21 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) พระภิกษุสามเณรดำรงชีพอยู่ได้ เพราะอาศัย ภัตตาหารจากท่านทานบดีมาหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้มี กำลังในการศึกษาประพฤติปฏิบัติธรรม สืบทอดอายุ พระศาสนา ยังฝนคือบุญให้เกิดขึ้น ไหลรินเป็นสาย ธารแห่งบุญ จรดลงสู่ศูนย์กลางกายของท่านทานบดี ทั้งหลาย และยังฝนคือธรรมธารา ไหลรินสู่ดวงใจ ชาวโลก สร้างความชุ่มเย็น นำสรรพสัตว์ให้หลุดพ้น จากกองทุกข์ ไปสพู่ ระนิพพาน ฉันน้ัน. 22 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๔ อานิสงสข์ องการทำทาน ด้วยความศรัทธา พวกเราทั้งหลายอาจดูเหมือนกับคนท่ัวไป แต่ ในความเหมือนนั้น เรามีความไม่เหมือนอยู่ภายในคือ ความศรัทธา ศรัทธา คือ ความเชื่อในผลของการให้ทาน เพราะความศรัทธา จึงนำพวกเราท้ังหลายมาท่ีน้ี เพื่อ มาบำเพ็ญทานกศุ ล ศรัทธา เม่ือเกิดข้ึนแล้ว ผู้มีบุญจะสอนตนเอง ให้รักษาศรทั ธาใหม้ น่ั คงไมค่ ลอนแคลน ผู้ท่ีมีศรัทธาไม่ม่ันคง เม่ือทำบุญแล้วเกิด อปุ สรรคในชวี ติ กลบั คดิ วา่ ทำบญุ แลว้ ทำไมบญุ ไมช่ ว่ ย 23 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) ส่วนผู้ท่ีมีศรัทธาม่ันคง เมื่อทำบุญแล้วเกิด อุปสรรคในชีวิต กลับคิดว่า เพราะเรายังมีบุญน้อย เมื่อมีบุญน้อยอุปสรรคจึงมาก เพราะฉะนั้นจะต้อง สรา้ งบญุ ให้ย่ิงข้ึนไปอกี ศรัทธาท่ีมั่นคงย่อมมีอานิสงส์อันไพบูลย์ ทา่ นอปุ มาไวว้ า่ แม้ฝนตกในท่ีไกล บนยอดภเู ขาสูง ย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำ ยังแม่น้ำให้เต็ม แล้วไหลลงสู่ มหาสมทุ รอนั กว้างใหญ่ไพศาล ฉนั ใด ศรัทธา คือ ความเช่ือผลของการให้ทานก็เช่น เดยี วกนั บุคคลใดมีศรัทธาตั้งมั่นไม่หว่ันไหว ไม่คลอน แคลน ศรัทธาย่อมนำบุคคลนั้นไปสู่สวรรค์และ พระนิพพานในท่ีสุด ฉันน้ัน. 24 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๕ ผ้มู ศี รทั ธาชื่อว่าไม่ยากจน บุคคลแม้มีทรัพย์น้อย แต่มีศรัทธามั่นคง พระอริยเจ้ากล่าวว่า ไม่ใช่คนยากจน แม้จะจน เพราะมที รพั ยน์ ้อย กเ็ ปน็ ความจนชว่ั คราว เมือ่ ขยนั ประกอบสัมมาอาชีวะ และหม่ันสั่งสมทานกุศลอย่าง ต่อเนื่อง ย่อมเต็มเป่ียมไปด้วยบุญ ดุจน้ำที่ไหลลงสู่ หม้อทลี ะหยาด กท็ ำให้หม้อเต็มไปด้วยน้ำได้ ตรงกันข้าม บุคคลแม้มีทรัพย์มาก แต่ไม่มี ศรทั ธา ถึงรวยกร็ วยชวั่ คราว เมอื่ ผลแหง่ ทานกุศลใน อดีตส่งผลจนหมดกำลัง และมีความตระหน่ีครอบงำ ไม่ให้ทาน ไม่มีบุญใหม่เพิ่มเติม ไม่นานชีวิตก็จะ ตกต่ำ กลับสู่ความยากจน ดุจไม้ใหญ่ที่รากเน่าเสีย 25 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) ไม่สามารถดูดซึมน้ำและอาหารจากผืนดินได้ ในที่สุด กล็ ้มลง บุคคลผมู้ ศี รทั ธามัน่ คงจงึ ไดช้ ือ่ ว่า มีอรยิ ทรพั ย์ คอื ทรพั ย์อนั ประเสริฐของพระอรยิ เจา้ เพราะทรพั ย์ คือ ศรัทธาน้ี สามารถปิดประตอู บายได้ นำชีวติ ไปสู่ หนทางสวรรค์และพระนิพพานได้ ดุจฝนที่ตกบนเขา สูง ย่อมไหลรวมลงไปสู่แม่น้ำ และลงไปสู่มหาสมุทร คอื พระนิพพานในทส่ี ุด. 26 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๖ ศรทั ธาดุจสายฝน เม่ือมหาเมฆใหญ่ โปรยปรายสายฝน หล่อ เล้ียงให้เมล็ดพันธุ์ข้าวออกรวงให้ชาวนาได้เก็บเกี่ยว ฉันใด พระพุทธศาสนาสืบต่อมาได้ ต้ังแต่สมัยพุทธ กาลจนถึงทุกวันนี้ เพราะสายธารแห่งพลังศรัทธาอัน ชุ่มเย็น ของท่านทานบดีท้ังหลาย ที่หลั่งรินลงใน พระพุทธศาสนา คอยบำรุงหล่อเล้ียงพระภิกษุ สามเณร ผู้เป็นศาสนทายาท ให้เจริญรุ่งเรืองอยู่ใน พระศาสนา ด้วยปัจจัย ๔ อันควรแก่สมณบริโภค ทำให้พระภิกษุ สามเณรปลอดกังวลในเร่ืองปัจจัย ๔ มีเวลาในการศึกษาประพฤติปฏิบัติธรรม และเผยแผ่ พระพุทธศาสนา เป็นเน้ือนาบุญให้แก่ชาวโลก ฉนั นัน้ 27 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) วนั น้ี ทา่ นทานบดีทงั้ หลาย ได้มาสง่ั สมบญุ ให้ แก่ตนเองและหมู่ญาติ ด้วยการถวายสังฆทานแก่ คณะสงฆ์หมู่ใหญ่ เป็นการสืบต่ออายุของพระพุทธ- ศาสนา ให้ดำรงอยู่คู่โลกสืบไป ผลบุญนี้จะคอย สนับสนุนให้ประสพความสุขความสำเร็จในชีวิต และ เป็นเสบียงติดตัวไปในภพเบ้ืองหน้า ตราบจนกระทั่ง เข้าสพู่ ระนิพพาน. 28 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๗ ศรัทธาและความเพียร ท่านทานบดีท้ังหลายได้ช่ือว่า เป็นผู้มีศรัทธา คือมีความเช่ือในผลของการให้ทาน อีกท้ังยงั เปน็ ผ้ทู ีม่ ี ความเพยี ร มาบำเพ็ญบญุ กศุ ลอย่างต่อเนอื่ ง ทา่ นทานบดีทัง้ หลาย ศรทั ธาและความเพียร น้ัน เป็นส่ิงที่สนับสนุนเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน ศรัทธา เป็นเหตุให้มีความเพียรในการกระทำความดี ความ เพียรกเ็ ปน็ เหตุใหม้ ศี รทั ธาเพ่มิ ข้ึน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ศรัทธาเปรียบ เสมอื นพืช ความเพยี รเปรยี บเสมอื นฝน๑ ๑ กสภิ ารทวาชสตู ร มก. ๒๕/๒๔๓, มจ. ๑๕/๒๘๓ 29 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) ท่านทานบดีท้ังหลาย สายฝนที่หล่ังริน ย่อม ยังพืชท้ังหลายให้เจริญเติบโต เป็นที่พึ่งแก่สรรพสัตว์ ท้งั หลาย ฉันใด ความเพียรในการบำเพ็ญบุญกุศล มีการให้ ทาน รักษาศลี และเจริญภาวนา ย่อมยังศรทั ธาของ ท่านท้ังหลายให้เจริญเตบิ โต เป็นศรัทธาท่มี ่นั คง เป็นท่ี พ่ึงให้แก่ตนเอง และหมู่ญาติท่ีล่วงลับไปแล้ว ท้ังยัง เป็นต้นบุญต้นแบบ เป็นแสงสว่างนำพาชาวโลกไปสู่ หนทางสวรรค์และพระนพิ พาน ฉนั น้นั . 30 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๘ เกดิ บ่อยๆ เพอ่ื ให้ได้มรรคผล ครงั้ หนงึ่ ในสมยั พทุ ธกาล พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เสด็จบิณฑบาต ณ ที่อยู่ของอุทัยพราหมณ์ พราหมณ์ นนั้ ไมม่ ีศรัทธา แต่กใ็ ส่บาตร พราหมณ์ใส่บาตรในวันแรกและวันท่ีสองแล้ว มไิ ดพ้ ดู อะไร พระพทุ ธเจา้ กม็ ไิ ดต้ รสั อะไรเช่นกัน แต่ใน วันท่สี าม พราหมณ์มอิ าจอดกลั้นไวไ้ ด้จงึ กลา่ ววา่ พระ สมณโคดมนต้ี ดิ ในรสอาหาร จงึ เสดจ็ มาบ่อยๆ พระพุทธองค์ทรงสดับคำนั้นแล้วจึงตรัสว่า ท่านพราหมณ์ ทา่ นถวายบณิ ฑบาตเพียง ๓ วัน ยงั มี ความย่อท้ออยู่ ในโลกนีม้ ธี รรมอยู่ ๑๖ ประการทค่ี วร ทำบ่อยๆ คอื 31 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) “กสิกรยอ่ มหวา่ นพชื บ่อยๆ ฝนย่อมตกบอ่ ยๆ ชาวนาย่อมไถนาบ่อยๆ แว่นแคว้นย่อมบริบูรณ์ด้วย ธัญชาติบ่อยๆ ยาจกย่อมขอบ่อยๆ ทานบดีย่อมให้ บ่อยๆ ทานบดีให้บ่อยๆแล้ว ย่อมเข้าถึงสวรรค์บ่อยๆ ผู้ต้องการน้ำนมย่อมรีดนมบ่อยๆ ลูกโคย่อมเข้าหาแม่ โคบ่อยๆ บุคคลย่อมลำบากและดิ้นรนบ่อยๆ คนเขลา ย่อมเข้าถึงครรภ์บ่อยๆ สัตว์ย่อมเกิดและตายบ่อยๆ บุคคลท้ังหลายย่อมนำซากศพไปป่าช้าบ่อยๆ ส่วนผู้มี ปัญญาถงึ จะเกิดบอ่ ยๆ กเ็ พอื่ ได้มรรคแล้วไม่เกิดอีก๑” เมอ่ื พระพทุ ธองค์ตรัสจบลง พราหมณ์บังเกดิ ความศรัทธาเล่อื มใส มีความปีติเบิกบานใจ ขอถึงพระ รตั นตรัยเป็นที่พึ่งไปตลอดชีวิต ท่านทานบดีทั้งหลาย แม้บุคคลท่ีถวายทาน แล้วมีความศรัทธาเลื่อมใสในภายหลัง ยังบังเกิดความ ปีติถึงเพียงนี้ จะกล่าวไปไยถึงบุคคลท่ีถวายทานด้วย ความเล่ือมใสศรัทธาอยู่ตลอดเวลาเล่า ความปีติย่อม เพิ่มพูนทับทวี ซ่ึงความปีติใจนี้เป็นทางมาแห่งบุญ จะ ๑อทุ ยั สตู ร มก. ๒๖/๒๖๕, มจ. ๑๕/๒๘๕ 32 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) คอยเกือ้ หนนุ ให้ประสพแตส่ งิ่ ทีป่ รารถนา พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรสั วา่ “ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของดีย่อมได้ของดี ผู้ให้ของ เลิศย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของที่ประเสริฐย่อมเข้าถึง ฐานะอันประเสริฐ นรชนใดให้ของดี ให้ของเลิศ และให้ของ ประเสริฐ นรชนนั้นจะไปเกิด ณ ทีใ่ ดๆ ย่อมมอี ายุยนื มยี ศในที่นั้น๒.” ๒ มหาปทายีสตู ร มก. ๓๖/๑๐๐, มจ. ๒๒/๖๙ 33 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๙ คุณและโทษของทรพั ย์ ทรัพย์นั้นมีท้ังคุณและโทษ ข้ึนอยู่ว่าเกิดขึ้น กับใคร ถ้าทรัพย์เกิดขึ้นกับคนตระหนี่ ย่อมมีโทษ โทษจากความห่วงกังวล ต้องคอยเฝ้าทรัพย์ ถึงแม้มี ทรพั ย์มากกไ็ มใ่ ห้ จงึ ไม่ได้ประโยชนจ์ ากการมีทรัพย์ เหมือนบ่อน้ำใสท่ีเกิดขึ้นในป่าลึกห่างไกลจากผู้คน น้ำ น้ันย่อมไมเ่ ปน็ ประโยชน์แก่ใครๆ รอแตจ่ ะเนา่ เสยี หรือ เหอื ดแหง้ หายไป เมื่อคนตระหน่ีละจากโลกน้ีไป ก็นำทรัพย์นั้น ติดตัวไปไม่ได้ หากตายในขณะจิตหวงแหนทรัพย์ จิต 34 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) เศร้าหมองจึงคอยวนเวียนเฝ้าทรัพย์ ไม่ยอมไปเกิดก็ เคยมีปรากฏมาแล้ว ทรัพย์เกิดขึ้นกับคนตระหนี่ก็เพ่ือ ความห่วงกังวล นี้เป็นโทษของทรัพย์ที่เกิดขึ้นกับคน ตระหน่ี ตรงกันข้าม หากทรัพย์น้ันเกิดขึ้นกับผู้มี ศรทั ธา บุคคลผู้มีศรัทธาย่อมเห็นอานิสงส์ของการให้ ทาน เช่อื วา่ ตายแลว้ ไมส่ ูญ ยงั ต้องเวียนว่ายตายเกิดใน วัฏสงสาร เห็นคุณค่าของบุญว่าเป็นที่พ่ึงท้ังในโลกนี้ และโลกหนา้ บุญเป็นส่ิงท่ีอยู่เบ้ืองหลังความสุขและความ สำเร็จทั้งปวง การเข้าถึงฐานะของความเป็นเศรษฐี มหาเศรษฐีก็ด้วยอำนาจของบุญ เข้าถึงความเป็น กษัตริย์ พระเจา้ จักรพรรดิก็ด้วยอำนาจของบุญ เขา้ ถงึ ความเป็นพระอรหันต์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ด้วย อำนาจของบญุ 35 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ผู้มีศรัทธาจึงมองทรัพย์ว่า เป็นเครื่องมือใน การสั่งสมบุญบารมี ติดตัวไปในภพชาติเบื้องหน้า จึง ใช้ทรพั ย์เล้ียงตน เลี้ยงหมญู่ าตแิ ละแจกจา่ ยทำบญุ ฝนแม้ตกในที่ไกลบนภูเขาสูง ย่อมไหลลงสู่ท่ี ต่ำ ยังแม่น้ำให้เต็ม แล้วไหลไปสู่มหาสมุทรในที่สุด ฉันใด ศรัทธาเม่ือเกิดขึ้นในบุคคลใดแล้ว บุคคลนั้น รักษาให้ม่ันคง หนักแน่นไม่คลอนแคลน ศรัทธาย่อม นำบุคคลนั้นไปสู่หนทางสวรรค์ และพระนิพพานใน ทีส่ ุด ฉันนนั้ . 36 www.kalyanamitra.org
บทสัมโมทนียกถา หมวดทาน www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๑๐ อานสิ งส์ของการทำทาน ดว้ ยความรา่ เริงแจ่มใส ในสมัยพุทธกาล ในวันฉลองวิหาร มหา อบุ าสกิ าวิสาขาเปลง่ อทุ านดว้ ยเสียงไพเราะ ภิกษุทั้งหลายไดย้ นิ คดิ วา่ นางร้องเพลง จึงทลู ถามพระบรมศาสดา พระองค์ตรัสว่า ธิดาของเราไม่ได้ร้องเพลง๑ แต่เธอดีใจว่า ความปรารถนาท่ีจะถวายมหาทานที่ ตงั้ ใจไว้ ถึงท่ีสดุ แล้ว จงึ เดนิ เปลง่ อุทาน พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ หลวง พ่อธัมมชโย เคยให้โอวาทไว้ว่า ในการทำบุญ แต่ ๑ นางวสิ าขา มก. ๔๑/๑๑๐ 38 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ละครง้ั ใหเ้ ราทำกาย วาจา ใจ ให้รา่ เรงิ แจ่มใส เพราะ การกระทำของเราทุกอย่าง จะถูกเก็บบันทึกเป็นภาพ ไวใ้ นใจ ซงึ่ จะมีอานสิ งส์ต่อเนื่องอย่างนอ้ ย ๔ ประการ คือ ประการแรก เมื่อเราระลึกนึกถึงภาพแห่งการ ทำบุญคราวใด ใจก็จะอ่ิมเอิบ เบิกบานกับภาพ ที่ รา่ เรงิ แจม่ ใส ประการที่สอง เม่ือถึงวาระสุดท้ายของชีวิต กรรมนิมิต คือ ภาพการทำบุญท่ีร่าเริงแจ่มใสมา ปรากฏ ทำใหจ้ ิตผ่องใส เปน็ เหมอื นยานพาหนะทจ่ี ะ นำเราไปสสู่ คุ ตโิ ลกสวรรค์ ประการท่ีสาม เมื่อมีเทพบุตร เทพธิดาใหม่ เกิดขึ้นบนสวรรค์ เป็นธรรมเนียมท่ีจะต้องตรวจดูทิพย สมบัติของตนว่า เกิดด้วยบุพกรรมใด ที่เคยส่ังสมไว้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ เม่ือตามระลึกถึงภาพความร่าเริง 39 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) แจ่มใสในการส่ังสมบุญบารมี ใจก็ยิ่งอิ่มเอิบเบิกบาน รัศมีกส็ วา่ งไสว ประการท่ีส่ี เป็นธรรมเนียมของพระอรหันต์ เมื่อบรรลุธรรมส้ินอาสวะกิเลสแล้ว ก็จะระลึกชาติ ตรวจดูบุพกรรมของตนเองว่า ส่ังสมบุญบารมีมา อย่างไร เม่ือเห็นการส่ังสมบุญด้วยความร่าเริงแจ่มใส ก็ยง่ิ มีปีตอิ ิ่มเอิบในธรรม ท้งั ยังเปน็ แบบอยา่ งแก่พุทธ- บรษิ ทั ท่ีตามมาในภายหลงั ให้ถอื ปฏบิ ัตติ ามอีกด้วย ดังนั้น จึงขอเรยี นเชิญทกุ ทา่ น ได้ยังจติ ของตน ให้ร่าเริงแจ่มใส ในทานกุศลท่ีต้ังใจมากระทำในคร้ังน้ี และทต่ี ้ังใจจะกระทำทกุ ครั้งสืบไป. 40 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๑๑ อานสิ งสข์ องการทำทาน ๔ ประการ การบำเพ็ญทานกุศล ย่อมมีอานิสงส์อย่าง นอ้ ย ๔ ประการคอื ประการแรก ทานกุศลทเ่ี ราได้กระทำอย่างต่อ เน่ือง ย่อมแปรเปลี่ยนจากทรัพย์หยาบเป็นทรัพย์ ละเอียดคือบุญ ติดตามเราไปในภพเบื้องหน้า เป็น หลกั ประกนั วา่ ชวี ิตของเรา จะไม่รจู้ กั กับคำว่าลำบาก ยากจน บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ จะ ประกอบธุรกิจการงานในทางโลก ย่อมสำเร็จได้โดย ง่าย ครั้นจะนำทรัพย์ที่เกิดขึ้นน้ีมาประกอบกิจในทาง ธรรมบำเพ็ญทานกุศล กย็ ่อมกระทำได้โดยงา่ ย ประการที่สอง หมู่ญาติมิตรที่ละโลกไปแล้ว เมื่อไดอ้ นุโมทนาบุญ ก็ย่อมมีส่วนแห่งบุญนี้ไปด้วย ที่ 41 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ทกุ ขม์ ากกท็ ุกขน์ อ้ ย ทท่ี กุ ขน์ ้อยกพ็ น้ ทุกข์ ทีส่ ขุ น้อย กส็ ุขมาก ที่สขุ มากแล้วก็ สขุ ยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป ประการท่สี าม กลุ บุตรท่ีท่านทานบดีท้งั หลาย พามา เห็นแบบอย่างความประพฤติอันดีงาม มีการ เคารพนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย กำจัดความตระหนี่ ด้วยการบริจาคทาน เป็นต้น เขาเห็นแล้วยอมคล้อย ตาม ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตาม ท่านท้ังหลายจึงได้ชื่อว่า เป็นผู้ให้หนทางอัน ประเสริฐ คือ ให้หนทางสวรรค์และพระนิพพานแก่ กุลบตุ รทั้งหลาย และอานิสงส์ประการสุดท้าย ชีวิตนั้นดำรง อยู่ได้ด้วยอาหาร ขาดอาหารแล้วชีวิตไม่สามารถดำรง อย่ไู ด้ พระภิกษุสามเณรก็เชน่ เดยี วกนั ดำรงชีวิตอย่ไู ด้ ดว้ ยอาหาร ท่านทานบดีท้ังหลายจึงได้ช่ือว่า ให้อายุแก่ พระภิกษุสามเณร ให้อายุแก่พระพุทธศาสนา และยัง สนั ตสิ ขุ ให้คงอยคู่ โู่ ลกสบื ไป. 42 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๑๒ อานสิ งสข์ องการทำทาน ดว้ ยจติ ทผ่ี อ่ งใสท้งั ๓ ระยะ การบำเพญ็ ทานกุศล ทจี่ ะทำให้มอี านสิ งสอ์ นั ไพบูลย์ จะต้องกระทำด้วยใจที่ผ่องใสทั้ง ๓ ระยะ คือก่อนให้ก็ดีใจ ขณะให้ก็เลื่อมใส หลังจากให้ไปแล้ว กต็ ามระลึกนึกถึงดว้ ยความปล้ืมใจ ก่อนให้ก็ดีใจ ดีใจเพราะว่า บางคนมีศรัทธา แต่ไม่มีไทยธรรมก็ให้ไม่ได้ บางคนมีไทยธรรม แต่ไม่มี ศรัทธาก็ให้ไม่ได้ บางคนถึงพร้อมด้วยศรัทธาและ ไทยธรรม แต่หา่ งไกลพระพุทธศาสนา ไมม่ ีเน้อื นาบญุ แมใ้ ห้กเ็ หมือนหว่านพชื ในนาเลว ยอ่ มไม่มผี ลมาก เป็นบุญลาภอันประเสริฐของเรา ที่ถึงพร้อม 43 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) ด้วยศรัทธา ไทยธรรมและเน้ือนาบุญ คิดอย่างนี้แล้ว จึงดใี จก่อนให้ทาน ขณะให้ก็เล่ือมใส เล่ือมคือไม่ขรุขระ ใสคือไม่ ขุ่นมัว ขณะให้ก็รักษาใจให้ผ่องใส ไม่ยอมให้มีสิ่งใดมา กระทบใจให้ขนุ่ มัว หลังจากให้แล้ว ก็ตามระลึกนึกถึงด้วยความ ปลืม้ ใจ ไมต่ ระหน่ีเสียดายทรัพย์ ดีใจว่าชวี ิตทผ่ี ่านไป ไมส่ ญู เปล่า ผ่านไปพร้อมบญุ บารมีทเ่ี พมิ่ พนู ขึน้ สมกบั ท่ีได้เกิดมาเป็นมนุษย์ พบพระพุทธศาสนาเกิดมาสร้าง บารม ี ทานกุศลที่กระทำด้วยใจท่ีผ่องใสทั้ง ๓ ระยะ คือก่อนให้ก็ดีใจ ขณะให้ก็เลื่อมใส หลังจากให้แล้ว ก็ตามระลึกนึกถึงด้วยความปลื้มใจ ย่อมมีอานิสงส์คือ เมอื่ ถงึ คราวทท่ี านกศุ ลสง่ ผล ยอ่ มมโี ภคทรพั ยแ์ ละความ สขุ ในทกุ วยั ทง้ั ในปฐมวยั มชั ฌมิ วยั และปจั ฉมิ วยั . 44 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๑๓ เจตนาบรสิ ุทธ ์ิ องค์ประกอบสำคัญ ท่ีทำให้การให้ทานได้บุญ มาก คอื เจตนาบรสิ ทุ ธิ์ หมายถึง มีเจตนาทเี่ ปีย่ มลน้ ไปด้วยความเล่ือมใสศรัทธา เชื่อในผลของทาน ทง้ั ก่อนให้ ขณะให้ และหลงั จากให้แลว้ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ เคยให้ โอวาทไว้ว่า ใจใสจึงจะเหมาะสมเป็นภาชนะรองรับ บญุ ใหญท่ ีจ่ ะเกิดข้ึน บุญจะไมม่ ีหกไม่มีหลน่ เลย คอื ก่อนทำ กำลังทำ และหลังทำไปแล้ว ใจต้องใสๆ เวลาบุญส่งผล สมบัติจะเกิดขึ้นเต็มเป่ียมบริบูรณ์ ไม่ ว่าจะเป็นรปู สมบตั ิ ทรัพยส์ มบตั ิ หรอื คุณสมบตั ิ จะได้ อย่างสะดวกสบายอย่างง่ายดาย ไม่มีอุปสรรคอันใด เกิดข้นึ 45 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) ท่านทานบดีท้ังหลาย ได้ต้ังใจมาถวายภัตตา หารเป็นสังฆทาน ด้วยใจที่ผ่องใสท้ัง ๓ ระยะ โดย เฉพาะหลังจากทำไปแล้ว ให้ตามระลึกถึงบุญด้วย ความอม่ิ เอิบเบิกบานใจ ยอ่ มมีอานสิ งส์อนั ไพบูลย.์ 46 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทที่ ๑๔ บุคคลใหท้ านไมไ่ ด้ ดว้ ยเหตุ ๒ ประการ บุคคลให้ทานไม่ได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ ความตระหน่ี และความประมาท๑ บุคคลท่ีมีความตระหน่ี เพราะคิดว่าทรัพย์ ของตนจะหมดไป จึงไม่ให้ทาน แม้มีทรัพย์มากก็ไม่ ให้ เหมือนบ่อน้ำใสท่ีอยู่ในป่าลึก ห่างไกลจากผู้คน น้ำน้ันย่อมไม่เป็นประโยชน์ต่อใครๆ รอแต่จะ เหอื ดแหง้ หรือเนา่ เสียไป บุคคลผู้ตระหนี่ย่อมไม่ให้ทรัพย์แก่ใครๆ เมื่อ ไม่ให้ก็ไม่ได้ ชีวิตในปรโลกของผู้มีความตระหนี่ จึง ๑ พลิ ารโกสิยชาดก มก. ๕๙/๙๑๓ , มจ. ๒๗/๓๔๓ 47 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) เต็มไปด้วยความลำบาก ทุกข์ทรมาน ต้องอดอยาก หิวโหย บุคคลที่มีความประมาท เพราะไม่รู้ความจริง ของชีวิต ไม่รู้จักชีวิตหลังความตาย ไม่รู้จักภัย ในวัฏ สงสาร เพราะไมไ่ ดฟ้ งั ธรรมของพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า บุคคลผปู้ ระมาท พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ตรสั ว่า แม้มีชีวิตอยู่ ก็เหมือนกับคนท่ีตายแล้ว๒ คือตายจาก ความดี ตายจากหนทางสวรรค์และพระนพิ าน เหตุท้ัง ๒ ประการน้ี จึงทำให้บุคคลให้ทาน ไมไ่ ด ้ ทา่ นทานบดที ง้ั หลายชอ่ื วา่ เปน็ ผมู้ บี ญุ ลาภอนั ประเสรฐิ ทไ่ี ดฟ้ งั ธรรม มคี วามศรทั ธา คอื เชอื่ ในผลของ ทาน ขม่ ความตระหน่ี ดำรงชวี ติ อยดู่ ว้ ยความไมป่ ระมาท พากันมาสั่งสมบุญกุศล ด้วยการถวายภัตตาหารเป็น ๒พระนางสามาวดี มก. ๔๐/๒๒๐ , มจ. ๒๕/๓๑ 48 www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304