Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตราย โรคติตด่

แนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตราย โรคติตด่

Description: แนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตราย โรคติตด่

Search

Read the Text Version

แนวทางการรายงาน โรคติดตอ อันตราย และโรคติดตอท่ตี อ งเฝา ระวงั ตามพระราชบญั ญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 สำนกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการรายงาน โรคตดิ ตอ่ อันตรายและโรคติดตอ่ ทตี่ ้องเฝ้าระวัง ตามพระราชบญั ญตั ิโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 ท่ปี รกึ ษา นพ. นคร เปรมศรี ดร.พญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ บรรณาธกิ าร กล่มุ พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ทางระบาดวทิ ยาโรคติดตอ่ ดร.สพ.ญ. เสาวพกั ตร์ ฮิน้ จ้อย ดร.พญ. ภาวนิ ี ดว้ งเงนิ นส. พวงทพิ ย์ รัตนะรัต นส. กนกทพิ ย์ ทพิ ย์รัตน์ นางอาทิชา วงศ์ค�ำ มา นายสหภาพ พูลเกษร นส. สุทธนนั ท์ สุทธชนะ นางอัญชนา วากัส นางสมคิด คงอยู่ นส. ปณติ า คมุ้ ผล นส. อ้อยทิพย์ ยาโสภา กลมุ่ พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ทางระบาดวทิ ยาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ นพ. ฐิตพิ งษ์ ยิง่ ยง นางสปุ ิยา จันทรมณี นางนริ มล ปญั สุวรรณ นส. ขนษิ ฐา ภบู่ ัว นายวชั รพล สีนอ ศนู ย์สารสนเทศและการพยากรณ์โรค ดร.นพ. ยงเจือ เหล่าศิรถิ าวร นายสมาน สยมุ ภรู จุ นิ นั ท์ กลุ่มสอบสวน ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ และประสานกฎอนามยั ระหว่างประเทศ นพ. โรม บวั ทอง นส. กณั ฐกิ า ถิน่ ทพิ ย์ จัดทำ�โดย : ส�ำ นกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ

ค�ำ น�ำ แนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวังตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ฉบับน้ีจัดทำ�ข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และ หน่วยงานอ่ืนๆ นำ�ไปใช้ประโยชน์ในการดำ�เนินงานเฝ้าระวังและสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา โดยนำ� เนื้อหามาจากนยิ าม โรคตดิ เช้ือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546 แนวทางการรายงานโรคที่มคี วามส�ำ คญั สูง ประเทศไทย และยังได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เช่ียวชาญด้านต่างๆ ในการปรับปรุงให้เหมาะสมกับ การเฝา้ ระวงั การรายงาน และแบบฟอรม์ ทใี่ ชใ้ นการรายงาน การสอบสวนโรค รวมทง้ั หลกั เกณฑข์ นั้ ตอน และวธิ ปี ฏิบตั งิ านตา่ งๆ เพ่ือใชเ้ ปน็ คูม่ อื ส�ำ หรบั ผู้ปฏบิ ัตงิ านทกุ ระดับ ในหนังสือฉบับน้ีประกอบไปด้วยนิยามในการเฝ้าระวังโรค แบบสอบสวนโรค หลักเกณฑ์และ วิธีการแจ้งในกรณีท่ีเจ้าบ้าน แพทย์ผู้ทำ�การรักษา ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล ผู้ทำ�การชันสูตร ท่ีทราบข่าวการป่วย สงสัย หรือตรวจพบเช้ือโรคติดต่ออันตรายหรือโรคท่ีต้องเฝ้าระวัง ให้รีบแจ้ง เจ้าพนักงานควบคุมโรคตามช่องทางการรายงานโรค ซึ่งบุคลากรเหล่านี้มีส่วนช่วยในการควบคุมและ ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค และช่วยใหก้ ารด�ำ เนินงานทางระบาดวทิ ยามีประสิทธิภาพมากข้ึน ผจู้ ดั ท�ำ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่  แนวทางการรายงานโรคตดิ ตอ่ อนั ตรายและโรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั ตาม พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนแ์ กท่ า่ นผอู้ า่ น มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ แนวทาง ขน้ั ตอนการรายงานโรคอยา่ งถกู ตอ้ ง และหากมีขอ้ เสนอแนะใดๆ เพมิ่ เตมิ อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ งานนี้ ส�ำ นกั ระบาดวทิ ยายนิ ดรี บั ไวพ้ จิ ารณา โปรดแจง้ ไดท้ กี่ ลมุ่ พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ทางระบาดวทิ ยาโรคตดิ ตอ่ สำ�นกั ระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ โทร. 0-2590-1775, 0-2590-1795 โทรสาร 0-2590-1784 (นายแพทยน์ คร เปรมศร)ี รักษาการผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ระบาดวิทยา 29 มกราคม 2561

สารบญั • หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการแจง้ ในกรณที ่มี ีโรคติดตอ่ อนั ตราย 4 3. ไขด้ �ำ แดง 35 หรอื โรคระบาดเกดิ ขึ้น กรณี เจา้ บ้าน หรือผคู้ วบคมุ 4. ไข้เดง็ กี่ 36 ดแู ลบา้ น หรอื แพทย์ผู้ท�ำ การรักษาพยาบาล 5 5. ไขป้ วดข้อยงุ ลาย 37 หรอื เจ้าของ หรือผ้คู วบคมุ สถานประกอบการ 6. ไขม้ าลาเรยี 38 • หลกั เกณฑ์และวธิ ีการแจ้งในกรณีทม่ี โี รคตดิ ตอ่ อันตราย 6 7. ไข้ไมท่ ราบสาเหตุ 38 โรคระบาด หรอื โรคติดตอ่ ที่ตอ้ งเฝ้าระวงั เกดิ ขึน้ 7 8. ไขส้ มองอกั เสบชนดิ ญป่ี ุ่น 39 กรณีผู้รบั ผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผ้ทู �ำ การ 8 9. ไข้สมองอักเสบไมร่ ะบุเชอ้ื สาเหตุ 39 ชันสูตร หรอื ผู้รับผดิ ชอบในสถานท่ีทีไ่ ด้มีการชนั สูตร 12 10. ไข้หวัดนก 40 • แบบรายงาน 506 11. ไข้หวดั ใหญ่ 41 • ทะเบียนรับแจ้งและตรวจสอบขา่ วการเกดิ 12. ไขห้ ดั 41 โรคตดิ ต่ออันตราย หรอื โรคระบาดเกดิ ขึ้นในแนวทาง 13. ไขห้ ัดเยอรมัน 42 การเฝา้ ระวงั เหตุการณ์ SRRT เครือข่ายระดบั ตำ�บล 14. ไข้เอนเทอรคิ 42 • นยิ ามโรคติดตอ่ อันตราย ฉบบั เจา้ บ้าน หรือผู้ควบคุม 15. ไขเ้ อนเทอโรไวรัส 43 ดแู ลบา้ น หรอื เจ้าของ หรือผู้ควบคมุ สถานประกอบการ 16. คอตีบ 43 • รหสั โรค, เช้อื กอ่ โรค, และ ICD-10 รายงานเฝ้าระวงั 17. คางทูม 44 ทางระบาดวทิ ยา (รายงาน 506) ตาม พรบ. โรคตดิ ตอ่ 18. ซิฟลิ สิ 45 พ.ศ. 2558 19. บาดทะยกั 48 20. โปลิโอ 49 นิยามโรคตดิ ต่ออนั ตราย 23 21. แผลรมิ อ่อน 50 22. พยาธิทรคิ เิ นลลา 50 1. กาฬโรค 23 23. พยาธิทริโคโมแนสของระบบสบื พันธุ์ 51 2. ไขท้ รพษิ 23 และทางเดินปสั สาวะ 51 3. ไขเ้ ลอื ดออกไครเมียนคองโก 24 24. เมลอิ อยโดสสิ 52 4. ไข้เวสต์ไนล์ 24 25. เย่อื หุ้มสมองอกั เสบจากพยาธิ 52 5. ไขเ้ หลือง 25 26. เยื่อหมุ้ สมองอักเสบไม่ระบุเช้อื สาเหตุ 53 6. โรคไข้ลาสซา 25 27. เรมิ ของอวยั วะสบื พันธแุ์ ละทวารหนกั 53 7. โรคติดเชอ้ื ไวรสั นิปาห์ 26 28. โรคตบั อกั เสบจากเชือ้ ไวรสั 55 8. โรคตดิ เชือ้ ไวรสั มารบ์ วรก์ 26 ชนิด เอ บี ซี ดี และ อี 56 9. โรคตดิ เช้ือไวรัสอีโบลา 26 29. โรคตาแดงจากไวรสั 57 10. โรคตดิ เชือ้ ไวรัสเฮนดรา 28 30. โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสซิกา 58 11. โรคทางเดนิ หายใจเฉียบพลันรนุ แรง หรือโรคซารส์ 28 31. โรคติดเชอื้ สเตร็ปโตคอคคสั ซอู สิ 58 12. โรคทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง หรือโรคเมอรส์ 30 32. โรคเท้าช้าง 59 13. วณั โรคด้ือยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (Extensively 32 33. โรคบรูเซลโลสิส 60 drug-resistant tuberculosis (XDR-TBX)) 34. โรคบดิ 61 35. โรคปอดอกั เสบ 62 นิยามโรคตดิ ตอ่ ที่ตอ้ งเฝ้าระวัง 34 36. โรคพษิ สุนขั บา้ 62 37. โรคมอื เท้าปาก 1. กามโรคของต่อมและทอ่ นำ�้ เหลือง 34 38. โรคเรื้อน 2. ไขก้ าฬหลงั แอน่ 35 2

39. โรคลซิ มาเนยี 63 4. ไข้ปวดขอ้ ยงุ ลาย 112 40. โรคเลปโตสไปโรสสิ 64 5. ไข้มาลาเรีย 115 41. โรคสครับไทฟสั 65 6. ไข้สมองอกั เสบ/ไข้สมองอักเสบชนิดญปี่ ุ่น/ 118 42. โรคสกุ ใส หรอื อสี กุ อใี ส 66 เยือ่ หุ้มสมองอกั เสบ 43. โรคอมั พาตกลา้ มเน้ืออ่อนปวกเปียกเฉยี บพลนั 66 7. ไขห้ วัดนก 122 44. โรคอุจจาระร่วงเฉยี บพลนั 67 8. ไขห้ วัดใหญ่ 122 45. โรคเอดส์ 67 9. ไข้หัด/ไขห้ ดั เยอรมัน 129 46. โรคแอนแทรกซ์ 68 10. ไขเ้ อนเทอรคิ 134 47. โลนที่อวยั วะเพศ 69 11. คอตบี 138 48. วัณโรค 70 12. คางทมู 140 49. ไวรสั ตบั อกั เสบไม่ระบุเช้อื สาเหตุ 70 13. บาดทะยัก 143 50. หนองใน 71 14. พยาธทิ ริคเิ นลลา 145 51. หนองในเทยี ม 72 15. เมลอิ อยโดสสิ 148 52. หดู ขา้ วสุก 73 16. เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากพยาธิ 151 53. หูดอวยั วะเพศและทวารหนัก 73 17. โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัส ชนิดเอ/อ/ี 155 54. อหิวาตกโรค 74 ไมร่ ะบุเช้ือสาเหตุ 55. อาการภายหลังไดร้ บั การสรา้ งเสริมภมู ิคมุ้ กนั โรค 74 18. โรคตาแดงจากไวรสั 158 56. อาหารเปน็ พษิ 75 19. โรคตดิ เช้ือไวรสั ซิกา 160 57. ไอกรน 75 20. โรคติดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสซูอสิ 162 21. โรคเท้าชา้ ง 166 22. โรคบรเู ซลโลสิส 168 แบบสอบสวนโรคติดตอ่ อันตราย 77 1. กาฬโรค 77 23. โรคบิด 171 2. ไขท้ รพิษ 79 24. โรคปอดอักเสบ 175 3. ไข้เลอื ดออกไครเมียนคองโก/โรคตดิ เชื้อไวรสั อีโบลา/ 81 25. โรคพษิ สุนขั บา้ 182 โรคตดิ เชอื้ ไวรสั มาร์บวรก์ 84 26. ไข้เอนเทอโรไวรสั /โรคมอื เทา้ ปาก 186 4. ไข้เวสตไ์ นล์/โรคติดเช้ือไวรสั นิปาห์/ 88 27. โรคเรื้อน 188 โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั เฮนดรา 90 28. โรคลซิ มาเนีย 195 5. ไขเ้ หลือง 93 29. โรคเลปโตสไปโรสิส 197 6. โรคไข้ลาสซา 93 30. โรคสครับไทฟัส 202 7. โรคทางเดินหายใจเฉียบพลนั รุนแรง หรือโรคซารส์ 100 31. โรคสุกใส หรอื อีสุกอใี ส 205 8. โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส 32. โรคอจุ จาระรว่ งเฉยี บพลนั 207 9. วณั โรคดือ้ ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก 33. โรคแอนแทรกซ์ 212 34. อหวิ าตกโรค 215 35. อาการภายหลงั ได้รับการสร้างเสริมภูมิค้มุ กนั โรค 217 แบบสอบสวนโรคติดตอ่ ท่ตี อ้ งเฝา้ ระวัง 104 36. โปลิโอ/โรคอมั พาตกล้ามเน้ือออ่ นปวกเปยี ก 225 เฉียบพลนั 1. โรคไข้กาฬหลังแอน่ 104 37. อาหารเปน็ พษิ 232 2. ไขด้ �ำ แดง 107 38. ไอกรน 237 3. ไข้เดง็ ก่ี/ไขเ้ ลือดออกเด็งก่ี/ไข้เลือดออกชอ็ กเด็งก่ี 110 3

หลักเกณฑ์และวธิ ีการแจง้ ในกรณที ม่ี โี รคตดิ ตอ่ อนั ตราย หรอื โรคระบาดเกดิ ขนึ้ กรณี เจา้ บา้ น หรอื ผ้คู วบคุมดแู ลบา้ น หรอื แพทยผ์ ู้ท�ำ การรักษาพยาบาล หรือเจา้ ของ หรอื ผู้ควบคมุ สถานประกอบการ ข้อ รายการ 1. โรคตดิ ตอ่ อันตราย พบผปู้ ่วยหรือผ้ทู ่ีสงสัยโรคตดิ ตอ่ อนั ตราย หรือโรคระบาดตามนิยามการเฝ้าระวังโรค เจา้ บา้ น หรอื ผูค้ วบคมุ ดแู ลบา้ น หรือแพทยผ์ ทู้ �ำ การรักษาพยาบาล หรือเจา้ ของ หรือผู้ควบคมุ สถานประกอบการ แจ้งภายใน 3 ชม. แจง้ ภายใน 1 ชม. แจ้งภายใน 3 ชม. จพง. ควบคมุ โรคติดต่อ จพง. ควบคุมโรคตดิ ต่อ แจง้ ภายใน สว่ นกลาง ในพ้นื ท่ี 24 ชม. 2. โรคระบาด แจ้ง จพง. ควบคุมโรคตดิ ตอ่ 3. ช่องทางการแจ้ง ในพื้นท่ี ภายใน 24 ชม. 1.1 แจ้งโดยตรงตอ่ ตอ่ เจา้ พนักงานควบคมุ โรคติดต่อ 4. ขอ้ มูลการแจ้งตอ่ 1.2 แจ้งทางโทรศพั ท์ จพง. ควบคมุ 1.3 แจง้ ทางโทรสาร โรคติดตอ่ 1.4 แจ้งเป็นหนงั สอื 1.5 แจง้ ทางไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ 1.6 วิธีการอ่นื ใดที่อธบิ ดีกรมควบคุมโรคประกาศกำ�หนดเพ่ิมเติม ชือ่ ท่ีอยู่ และสถานทท่ี ำ�งานของตน ความเกยี่ วขอ้ งกับผปู้ ว่ ย ขอ้ มูลผู้ปว่ ยทีส่ �ำ คัญ ฯลฯ รายละเอียดตามทก่ี ำ�หนดไว้ 5. หนา้ ท่ี จพง. จพง. ควบคมุ โรคตดิ ต่อ บันทึกข้อมลู ตามแบบฟอร์มท่อี ธิบดกี รมควบคุมโรคก�ำ หนด ไดแ้ ก่ ควบคุมโรคติดต่อ รง. 506, การเฝา้ ระวงั เหตกุ ารณ์ SRRT เครอื ขา่ ยระดบั ต�ำ บล, อืน่ ๆ จุดส้นิ สุด 4

หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารแจ้ง ในกรณีทมี่ ีโรคติดตอ่ อันตราย โรคติดต่อทต่ี ้องเฝ้าระวงั หรือโรคระบาดเกิดขึ้น กรณผี ู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล หรอื ผทู้ �ำ การชนั สตู ร หรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานทท่ี ไ่ี ดม้ กี ารชนั สตู ร ข้อ รายการ พบผู้ปว่ ยหรือผู้ทส่ี งสยั โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย หรอื โรคติดต่อท่ีตอ้ งเฝ้าระวงั หรอื โรคระบาดตามนิยามการเฝ้าระวังโรค 1. โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย ผู้รบั ผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผทู้ ำ�การชันสตู ร หรอื ผู้รบั ผดิ ชอบในสถานที่ท่ไี ด้มกี ารชันสูตร แจง้ ภายใน 3 ชม. แจ้งภายใน แจ้งภายใน 3 ชม. จพง. ควบคุมโรคตดิ ตอ่ 1 ชม. จพง. ควบคมุ โรคติดต่อ ส่วนกลาง ในพนื้ ที่ 2. โรคระบาด แจ้งภายใน แจ้ง จพง. ควบคุมโรคตดิ ต่อในพื้นที่ ภายใน 24 ชม. 7 วัน 3. โรคตดิ ต่อที่ตอ้ ง เฝ้าระวงั จพง. ควบคุมโรคตดิ ตอ่ ในสงั กัดสำ�นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั กรณที ่ีพบในเขตจงั หวัด หรือ จพง. ควบคมุ โรคติดต่อในสงั กัดสำ�นักอนามยั กรงุ เทพมหานคร กรณที พ่ี บในเขตกรงุ เทพมหานคร 3. ช่องทางการแจ้ง 1.1 แจง้ โดยตรงต่อตอ่ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ 1.2 แจ้งทางโทรศพั ท์ 4. ขอ้ มูลการแจง้ ตอ่ 1.3 แจ้งทางโทรสาร จพง. ควบคมุ 1.4 แจ้งเป็นหนังสือ โรคติดตอ่ 1.5 แจ้งทางไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ 5. หน้าที่ จพง. 1.6 วธิ ีการอื่นใดทีอ่ ธิบดกี รมควบคุมโรคประกาศก�ำ หนดเพิม่ เตมิ ควบคุมโรคติดตอ่ แบบรายงาน 506 ชอื่ ท่อี ยู่ และสถานทที่ ำ�งานของตน ความเกี่ยวขอ้ งกบั ผู้ป่วย ขอ้ มูลผู้ปว่ ยทีส่ ำ�คัญ ฯลฯ รายละเอยี ดตามท่กี ำ�หนดไว้ จพง. ควบคมุ โรคตดิ ต่อ บนั ทกึ ข้อมูลตามแบบฟอร์มท่ีอธิบดกี รมควบคมุ โรคก�ำ หนด ไดแ้ ก่ รง. 506, การเฝ้าระวงั เหตุการณ์ SRRT เครอื ขา่ ยระดับต�ำ บล, อนื่ ๆ จุดสิน้ สุด 5

บตั รรายงานผูป้ ่วย เลขท่อี ี 0 ของ สสจ. ......................... เลขที่อี 1 ของ สสจ. ......................... แบบ รง. 506 เลขทอี่ ี 0 ของ สสอ. ......................... เลขท่ีอี 1 ของ สสอ. ......................... ขโทา่ รย.งา0น-2เ5ฝ9้า0ร-ะ1ว7งั8โ7ร,ค0-ส2ำ�5น9กั0-ร1ะ7บ8า5ดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เลขทอ่ี ี 0 ของ รพ./สอ. .................... เลขทอ่ี ี 1 ของ รพ./สอ. .................... โ ** * ** รค อบEออ ****nุหาจิดtหจวิeาาาDrPTBAiรรตcyyaaเะmกspปcรreโfaho็น่วeรinloteงคพvrtyyeibedpษิ 0r0rihyc(21S0,o00 h8370iudi** g 6n es0pl9oไบe อsาciกsดi)fรiทeน0ะd5ย2 ัก044 25 * พษิ สุนขั บ้า 42 * L*eptบoาspดiทroะsยisัก43ในทารกแรกเกิด 53 * ไขเ้ ด็งกี่ (Dengue fever) 66 * สครบั ไทยฟสั 44 * ไข้เลือดออก (DHF) 26 * แอนแทรกซ์ 45 * * ทริคโิ นสสิ 46 * มไไ*ขขา้ส้เลลมาJือaเอดรงpยีออaอกั n*กเeสชsบอ็ePคV(eE(nn*DccSeeSpp)PhhM2aa7ll ii*ttiiss,2uP9nF sp*eciMfieIXdE)D283 0 โ รคจ** ากกพถ(ารกูิษระปพจบรษิาุ)ะกส.กโ.าล.อ.ร.หบ.เ.คะ.อ.ม.หา..กีนช..�ำีพ.ัก.จ...ัด..ศ...ตั ..ร..ูพ...ืช47 ******* * * * ไหกไหโไสโไปร*ต***ขขขขกุลัดดัคับ้้คห้้กหลใ้าเตสยิโาออรวม2อฬหBACาอือัดตกั1เมแน1ไรใัด หเบี ข1ส7ดหยัม1้ือ1ทล2 ไ้บเ1งญ3ันอ2ีม่ังอม มั3แไ่โี่ท((1 ลรอพh1Hร6คต5a่นาeา แeิสตบpท1mอ** aส92รอ่าto ก0iนเtr หirsปDEh(,ตรวauุะ7ก6g10nบ9เi8 ปcs )ุ p ีย.ec.ก.co.แ.i.nfบ.i.ej.uบ.d.nเ.).ฉc..ียt.1.ivบ.0.i. พt.i.s.ล)..ัน..1..4(.. A..F..P..). * โรคปอดบวม (Pneumonia) 31 * (ระบ)ุ ......................... 48 49 * ว**ัณโรรเยคะอ่ืปบหอบมุ้ดอส่ืน(มๆทอตี่ ง.ร..ว(..Tจ.B.พ....บ.m..เ.ช.e.้อื.n..)i.n..3g..2.it. .is..)...3..3.. ........... พษิ จากสารตัวท�ำ ลาย - โรคเร้ือน 35 * คดุ ทะราดระยะติดตอ่ 36 34 * (ระบ)ุ ................................. 50 * กามโรค พษิ จากแกส๊ สารไอระเหย * ซ****ิฟิลหแฝหิสผีมนนล(ะออรรมงงะมิใใว่ บนนอง)ุ เ่อท34รนีย81ะ มย4ะ03 9.. ...................................... * (ระบ)ุ ................................. 51 * เ**ริมทหโีอ่รดูควอัยตววิดยัะตวเพอ่ะทเศพาศง7เ9พแ ศลสะทัมพวาันรธห์อน่นื กั ๆ8(0ร ะบุ) .... โรคปอดจากการประกอบอาชพี 37 * (ระบ)ุ ............................... 64 * โรคจากปจั จยั ทางกายภาพ 65 * (ระบ)ุ ................................. 67 * * คางทูม 52 22 * อาการภายหลงั ไดร้ ับวัคซีน (AEF1) 81 * (ระบ)ุ ...................................... Hand Foot Mouth disease (HFM) 71 Melioidosis 72 โรคอนื่ ๆ (ระบุ) .............................. ช่อื ผู้ป่วย ...............……………………………………………………………………… H.N. ………………………………………………………………………………… ชอื่ บิดา - มารดา หรือผูป้ กครอง (ส�ำ หรบั ผู้ปว่ ยเดก็ ท่มี ีอายุต่ำ�กวา่ 15 ป)ี ………………………………. อาชพี ของบิดา-มารดา ………………………………… 1 เพศ อาย ุ 1 ภาวะสมรส สญั ชาต ิ งานท่ที �ำ 2 ชาย ปี ................................ 2 โสด ** คคนนไตท่ายงชาติ ประเภท * 1 * 2 ..........(..*.....*.....).............. หญงิ วเดันือทนี่ ...........................(.*.....*.....). 3 ค ู่ ระบสุ ญั ชาติ ........................................... 4 หย่าร้าง หม้าย ที่อยขู่ ณะเร่ิมปว่ ย บ้านเลขท่ี/ถนน หมทู่ ี่ ต�ำ บล อำ�เภอ จังหวัด ส...ถ..า..น...ท..ใ่ี..ก...ล..เ้.ค...ยี ..ง....................................................................................................................................................................................................................(.*.....*.....*.....).. ......................................(.*.....*.....). ............ 1 ในเขตเทศบาล 2 อบต. วนั ท่ีเรม่ิ ป่วย วันพบผ้ปู ว่ ย สถานทร่ี ักษา ประเภทผู้ป่วย วันที่ ....................... (**) วันที่ ....................... (**) 1 รพ. ศูนย์ 4 คลนิ กิ ของราชการ 7 คลินกิ รพ. เอกชน 1 ผ้ปู ว่ ยนอก เดอื น ..................... (**) เดือน ..................... (**) 2 รพ. ทั่วไป 5 สอ. 8 บ้าน 2 ผู้ป่วยใน พ.ศ. ...................... (**) พ.ศ. ...................... (**) 3 รพ. ชุมชน 6 รพ. ราชการใน กทม. * ตหาายยส ภาพ**ผปู้ ่วไยยมงั ม่ทีชราีวบติ อย ู่ เพวดนั.ือศทน.ี่ ......................ว......ัน.......ท........ต่ี.......า......ย........ .. (((******))) ช่อื ผู้รายงาน สถานทท่ี �ำ งาน จังหวดั วนั ทเ่ี ขียนรายงาน * ยังรักษาอย ู่ .......................... * .......................... .......(..*.....*.....). ...... (*...*.....*.....*.....*....*.... ) วันที่รับรายงานของ สสอ. .ว..ัน..ท...ี่ร..บั ..ร..า..ย..ง..า..น...ข..อ..ง....ส. ส(*จ. *****) .ว..นั ..ท...่รี..บั ..ร..า..ย...ง.า..น...ข..อ...ง..ส..�ำ น(*ักร*ะบ*าดว*ิทย*า *) ................................................................ (******) ใหท้ ำ�เครื่องหมาย X ในชอ่ ง * หนา้ ข้อความที่ต้องการ *นยิ าม ต่างชาตปิ ระเภท 1 คอื ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ มาขายแรงงานในประเทศไทยไมม่ ใี บตา่ งดา้ ว และกรอกรายละเอียดในชอ่ งวา่ งใหค้ รบถ้วนและชดั เจน ต่างชาติประเภท 2 คอื ชาวตา่ งชาตหิ รอื นกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตทิ เี่ ขา้ มารกั ษาในประเทศไทย ยกเว้นใน ** เมื่อหายแลว้ กลับประเทศของตน 6

ทะเบียนรบั แจ้งและตรวจสอบขา่ วการเกิดโรคติดตอ่ อันตราย หรือโรคระบาดเกดิ ข้นึ ในแนวทางการเฝ้าระวังเหตกุ ารณ์ SRRT เครือขา่ ยระดบั ตำ�บล ทะเบียนรับแจ้งและตรวจสอบข่าวการเกิดโรค ภัย และเหตกุ ารณผ์ ิดปกติ ของหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ โรค ................................ ท ่ี วนั เด ือน ป ี ชอื่ ผแู้ จง้ - แหล่งข่าว/ เน้อื หาขา่ วสาร ชือ่ ผ้รู บั แจง้ / การตรวจสอบขา่ วสาร สรปุ ความเหน็ ชือ่ ผู้ปฏบิ ัต/ิ ท่ีอยู่/โทร ทีได้รับแจ้ง เวลา (วิธกี ารและผล) และการปฏบิ ตั ิ วันเวลา ชือ่ ผู้ปว่ ย ............................................ ยนื ยันการเกดิ โรค/เหตุการณ์ (.....) แจ้ง SRRT ตำ�บล อายุ .......... อาชพี ............................ (.....) เปน็ โรคติดตอ่ จรงิ (.....) แจง้ SRRT อำ�เภอ ทีอ่ ยู่ ................................................... คอื โรค ..................................... (.....) แจง้ SRRT จังหวดั ............................................................ (.....) เป็นโรคท่ียังไมส่ ามารถ (.....) แจง้ SRRT อปท. เบอรโ์ ทรศัพท์ (ถา้ ม)ี ......................... ระบชุ นิดได้ (.....) อน่ื ๆ ระบุ .............. โรค/อาการส�ำ คัญ/เหตกุ ารณ์สำ�คญั (.....) เปน็ การเจบ็ ปว่ ยที่ผิดปกติ .......................................... ............................................................ (.....) เป็นเหตกุ ารณผ์ ดิ ปกติ ............................................................ ผลการตรวจสอบ กจิ กรรมทดี่ ำ�เนนิ การ วันเริ่มปว่ ย ......................................... - พบผปู้ ว่ ย ........................ คน (.....) สอบสวนโรค วนั พบผู้ปว่ ย ....................................... - พบผู้เสียชีวิต .................. คน (.....) ควบคุมโรค การรักษา ........................................... - พบผู้ทมี่ ีอาการสงสัย ...... คน (.....) ระงับเหตุอันตราย - พบเหตุการณท์ ี่อาจเปน็ โดย .................................. เหตกุ ารณ์อ่นื ๆ เพิ่มเตมิ อันตรายตอ่ สุขภาพดังนี้ ........ .......................................... ............................................................ ............................................... .......................................... ประเภทขา่ ว ............................................................ ............................................... .......................................... ( ) โรคหรอื กลมุ่ อาการท่วั ไปทพี่ บบอ่ ย ............................................................ วธิ ตี รวจสอบขา่ ว (.....) อ่ืนๆ ....................... ( ) โรคใหม่ หรือกล่มุ อาการทไี่ ม่เคยพบ ............................................................ (.....) ตรวจสอบดว้ ยตนเอง .......................................... ในพื้นท ่ี (.....) สอบถาม ......................... .......................................... ( ) เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ ปจั จัยเส่ยี งต่อสุขภาพ หรือการเกดิ โรคในคน 7

นิยามโรคติดต่ออันตราย ฉบับเจ้าบา้ น หรอื ผคู้ วบคุมดแู ลบ้าน หรือเจา้ ของ หรอื ผู้ควบคมุ สถานประกอบการ 1. กาฬโรค (Plague) เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย โดยมีหมัดเป็นพาหะนำ�โรค ในปัจจุบันมีการรายงานการระบาดท่ีประเทศใน ทวีปอเมริกา แอฟริกา เอเชียกลาง จีน รัสเซีย และมาดากัสกา โดยอาจทำ�ให้เกิดอาการติดเชื้อที่ ตอ่ มน�ำ้ เหลอื ง ในกระแสเลอื ด หรอื มอี าการปอดบวม นยิ ามการเฝา้ ระวงั คอื ผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ในสามข้อต่อไปนี้ ควรรายงานเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ - ผปู้ ว่ ยทมี่ ีอาการ ไข้สงู หนาวส่นั คล่ืนไส้ เจบ็ คอ ปวดศรี ษะ ตอ่ มน�ำ้ เหลอื งบรเิ วณขาหนบี หรอื รักแร้โตและมีหนอง - ผู้ป่วยทีม่ ีอาการไข้สูง ปวดศรี ษะ อาเจียน คอหอยและทอนซลิ อักเสบ จำ้�เลือดตามผวิ หนัง - ผปู้ ่วยที่มอี าการไข้สงู หนาวสนั่ ไออาจมีเสมหะปนเลอื ด หอบ 2. ไข้ทรพิษ (Smallpox) เป็นโรคติดเชื้อไวรัส ที่ทำ�ให้เกิดไข้ และผ่ืนเป็นตุ่มน้ำ� บางรายมีอาการรุนแรงอาจทำ�ให้เกิดอาการ เลือดออกในเยอื่ บุตา่ งๆ และผวิ หนัง ไม่มกี ารรายงานพบผู้ปว่ ยตง้ั แตป่ ี 2521 โดยอาการเพื่อการเฝ้าระวงั มนี ยิ ามดังนี้ - ผู้ป่วยที่มีไข้สูงปวดศีรษะ ปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย ต่อมาเร่ิมพบจุดสีแดงขึ้นตามล้ิน เยื่อบุช่องปากและเย่ือบุโพรงจมูก และมีผื่นตามผิวหนัง (ลักษณะของผื่น เริ่มต้นจะเป็นผ่ืน แบบแบนราบ ต่อมาจะนูนขน้ึ เปน็ ตุม่ กลมๆ ซง่ึ มรี อยบมุ๋ ตรงกลาง) หลงั จากน้นั ผ่นื จะกลายเป็น ตุม่ หนองซึ่งคอ่ นขา้ งแข็ง โดยเร่ิมทบ่ี รเิ วณใบหนา้ ก่อน และกระจายไปตาม แขน ขา มอื เท้า และล�ำ ตัวจนท่วั ภายใน 24 ช่ัวโมง 3. ไขเ้ ลอื ดออกไครเมยี นคองโก (Crimean - Congo hemorrhagic fever) โรคติดเช้ือไวรัส โดยมเี ห็บเป็นพาหะ นอกจากน้ีอาจเกิดจากการสมั ผัสกับผู้ป่วยทมี่ อี าการ มกี ารรายงานวา่ พบผู้ป่วยโรคน้ีที่ประเทศในทวีปแอฟริกา ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง จีน อินเดีย บังคลาเทศ โดยนิยามในการเฝา้ ระวงั ผปู้ ว่ ยมดี ังนี้ - ผปู้ ว่ ยท่มี ไี ข้ ปวดกลา้ มเน้อื ปวดหลัง ปวดศีรษะ คอแข็ง ปวดตา กลวั แสง ท้องรว่ ง ต่อมน�ำ้ เหลืองโต มเี ลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั เยอื่ บหุ รอื สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายรว่ มกบั มอี ารมณแ์ ปรปรวน สบั สน กา้ วรา้ ว หลงั จากน้ันอาจมีงว่ งซมึ เศรา้ 8

4. ไขเ้ วสตไ์ นล(์ West Nile Fever) โรคติดเช้อื ไวรัส โดยมยี งุ เป็นพาหะน�ำ โรค มรี ายงานการพบผู้ป่วยโรคนี้ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ยโุ รป ตะวนั ออก ตะวนั ออกกลาง เอเชยี ตะวันตก และออสเตรเลยี ทำ�ใหเ้ กดิ อาการไข้สมองอักเสบ โดยนยิ าม ในการเฝา้ ระวังผปู้ ว่ ยมดี งั น้ี - ผู้ทมี่ ีไข้ ปวดศีรษะ และมีการเปลี่ยนแปลงทางระดบั ความรู้สกึ ตัว เช่น ซึมลง อาจมีชัก 5. ไข้เหลอื ง (Yellow fever) โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โดยมยี งุ เปน็ พาหะน�ำ โรค มรี ายงานการพบผปู้ ว่ ยโรคนใ้ี นแถบอเมรกิ าใต้ และแอฟรกิ า นยิ ามในการเฝา้ ระวังผู้ป่วยมดี งั นี้ - ผทู้ ม่ี ไี ข้ ปวดศรี ษะ ปวดกลา้ มเนอ้ื ชพี จรเตน้ ชา้ ไมเ่ ปน็ สดั สว่ นกบั อาการไข้ อาจมอี าการตวั เหลอื ง ตาเหลอื ง และมีเลอื ดออกตามอวัยวะต่างๆ 6. โรคไขล้ าสซา (Lassa fever) เกิดจากการติดเช้ือไวรัส โดยการสัมผัสกับปัสสาวะหรืออุจจาระของหนูที่ติดเช้ือ ทำ�ให้มีอาการไข้ ปวดเมือ่ ยล�ำ ตวั รายที่รนุ แรงอาจมหี น้าบวม หายใจหอบเหน่อื ย และมีเลือดออกท่ีอวัยวะต่างๆ มีรายงาน พบผปู้ ว่ ยในประเทศแถบแอฟรกิ า เชน่ กานา เบนนิ ไนจีเรยี กเิ นยี มาลี เซียราลโี อน นยิ ามการเฝ้าระวัง ผปู้ ่วยมดี งั น้ี - ผปู้ ว่ ยทมี่ ไี ข้ ปวดศรี ษะ เจบ็ คอ มอี าการไอ อาเจยี น ทอ้ งรว่ ง เจบ็ หนา้ อกและชอ่ งทอ้ ง ตาอกั เสบ และคออกั เสบเปน็ หนอง ในรายทีม่ อี าการรุนแรงจะมอี าการเลือดออก ช็อก มีอาการหนา้ บวม คอบวม เกลด็ เลอื ดจะลดลง และการท�ำ งานของเกลด็ เลอื ดจะผดิ ปกติ หรอื หหู นวกจากพยาธสิ ภาพ ทเี่ ส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 8 7. โรคติดเชือ้ ไวรัสนปิ าห์ (Nipah virus disease) เกดิ จากการติดเชือ้ ไวรสั ตดิ ต่อโดยการสมั ผัสโดยตรงกบั สุกรท่ปี ว่ ย หรือการสมั ผัสสารคัดหล่ังของสตั ว์ ท่ีป่วยผ่านทางบาดแผล หรือการรับประทานผลไม้ท่ีปนเป้ือนน้ำ�ลายของค้างคาวท่ีเป็นพาหะมีรายงาน พบผู้ป่วยในประเทศมาเลเซีย อินเดีย บังคลาเทศ ทำ�ให้เกิดอาการไข้สมองอักเสบ โดยมีนิยามในการ เฝ้าระวงั อาการดังน้ี - ผทู้ ่มี ีไข้ และมีการเปลย่ี นแปลงทางระดบั ความรู้สึกตัว เช่น ซึมลง อาจมชี ักหรือ 9

8. โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั มารบ์ วร์ก (Marburg virus disease) เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั ตดิ ตอ่ โดยการสมั ผสั สารคดั หลงั่ ของสตั วท์ เ่ี ปน็ พาหะ ไดแ้ ก่ คา้ งคาว หรอื สมั ผสั โดยตรง กบั สารคัดหล่งั เช่น เลือด น�้ำ ลายของผู้ป่วย มรี ายงานการพบโรคในประเทศแถบแอฟริกา เชน่ อกู นั ดา แองโกลา เคนยา ทำ�ให้เกิดอาการไข้ ปวดเม่ือยร่างกาย ในรายที่รุนแรงทำ�ให้มีเลือดออกที่เยื่อบุต่างๆ และอวยั วะภายใน นยิ ามในการเฝ้าระวังไดแ้ ก่ - ผู้ท่ีมีไข้สูงเฉียบพลัน อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเน้ือและปวดศีรษะมาก ตามมาด้วยอาการเจ็บคอ อาเจยี น ท้องเสีย และมผี นื่ นูนแดงตามตวั อาจมีอาการอาเจยี นหรอื ถ่ายเปน็ เลือด เลอื ดกำ�เดาไหล เลอื ดออกตามไรฟนั ได้ 9. โรคติดเชือ้ ไวรสั อีโบลา (Ebola virus disease - EVD) เกิดจากเช้ือไวรัสอีโบลา เป็นเชื้อประจำ�ถ่ินแถบประเทศแอฟริกา ติดต่อโดยการสัมผัสกับเลือดหรือ สารคดั หล่งั ของสตั ว์ที่มีเช้ืออยู่ เช่น ลงิ ลงิ ชิมแปนซี หรอื ค้างคาว และสามารถตดิ ตอ่ คนสู่คนด้วยการ สัมผัสโดยตรงกับเลือดที่ติดเช้ือและสารคัดหล่ัง ทำ�ให้มีเลือดออกง่ายและรุนแรง อวัยวะล้มเหลว และ เสียชีวิต อตั ราการเสยี ชีวติ สงู ถงึ ร้อยละ 90 และเปน็ โรคตดิ ตอ่ จากคนสู่คน ขณะนีย้ งั ไม่มยี าสำ�หรับรักษา โรคนี้ นิยามในการเฝ้าระวงั ไดแ้ ก่ - ผู้ที่มีไข้สูง หรือมีเลือดออกผิดปกติ / มีอาการรุนแรงที่เกิดกับหลายระบบอวัยวะและทรุดลง อย่างรวดเร็ว ร่วมกบั มปี ระวัตสิ มั ผสั โรคในช่วง 21 วนั กอ่ นเร่มิ ปว่ ย หรือเดินทางมาจากประเทศ ทเี่ กดิ โรค (ณ ปจั จุบนั ไดแ้ ก่ กินี ไลบเี รีย เซยี ราลโี อน และเมอื งลากอส ไนจเี รีย) 10. โรคติดเชื้อไวรัสเฮนดรา (Handra virus disease) เกิดจากเชื้อไวรัสเฮนดรา มีรายงานการพบเช้ือครั้งแรกท่ีประเทศออสเตรเลีย ติดต่อโดยการสัมผัส ใกลช้ ดิ กบั สตั วท์ ต่ี ดิ เชอื้ เชน่ มา้ และคา้ งคาว ท�ำ ใหม้ อี าการคลา้ ยเปน็ ไขห้ วดั คอื มไี ข้ ปวดเมอื่ ยกลา้ มเนอื้ ไอ เจ็บคอ และเยอื่ หมุ้ สมองอกั เสบแบบไม่รุนแรง นยิ ามในการเฝ้าระวังไดแ้ ก่ - ผู้ทม่ี ไี ข้สูง ปวดศีรษะ เจ็บคอ วิงเวียน ซึม และสับสน หรอื อาการคล้ายไข้หวดั ใหญ่ หรือมี ปอดอักเสบ 11. โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรนุ แรง หรอื โรคซารส์ (Severe Acute Respiratory Syndrome - SARS) เกดิ จากเชอื้ ไวรัสระบบทางเดินหายใจในกล่มุ เชื้อโคโรนาไวรัส เกิดข้นึ ครงั้ แรกท่ีประเทศจนี ตดิ ต่อกัน ไดง้ า่ ยโดยการสมั ผสั ใกลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ย โดยการหายใจเอาเชอื้ ไวรสั ทกี่ ระจายอยใู่ นละอองเสมหะ น�ำ้ มกู น�้ำ ลาย หรือการสัมผสั กบั สารคัดหล่งั แลว้ น�ำ มาสมั ผัสกับเยอื่ บจุ มกู ตา หรอื ปาก ท�ำ ใหม้ ีไข้สูง หนาวสนั่ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เบื่ออาหาร บางรายมีถ่ายอุจจาระเหลว แล้วตามด้วยอาการไอแห้งๆ ไม่มเี สมหะ หอบเหนือ่ ย หายใจลำ�บาก ในรายที่มอี าการรุนแรง จะมีภาวะหายใจล้มเหลวและเสยี ชีวิต 10

องคก์ ารอนามัยโลกร่วมกบั องคก์ ารตา่ งๆ ไดพ้ ยายามควบคมุ โรค และสามารถหยดุ การระบาดได้ ปจั จุบนั กย็ ังไม่พบการกลับมาการระบาด นยิ ามในการเฝ้าระวังไดแ้ ก่ - ผทู้ มี่ ไี ขส้ งู ไอ หายใจเหนอื่ ย/ล�ำ บาก มกี ารตดิ เชอ้ื ในปอดหรอื ปอดอกั เสบ หรอื มภี าวะระบบหายใจ ลม้ เหลว รว่ มกบั มปี ระวตั ใิ กลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั การตดิ เชอื้ SARS หรอื มปี ระวตั เิ ดนิ ทางไปประเทศ ทม่ี ีการระบาดของโรค SARS หรอื อาศัยอยใู่ นพน้ื ท่ที มี่ กี ารระบาดของโรค SARS 12. โรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome - MERS) เกิดจากเชอ้ื ไวรัสระบบทางเดนิ หายใจในกลมุ่ เช้ือโคโรนาไวรสั สายพนั ธ์ุใหม่ ปี 2012 ผปู้ ่วยสว่ นใหญ ่ อย่ใู นประเทศแถบคาบสมทุ รอาหรับหรือผู้เดินทางจากประเทศในแถบนั้น คาดการณ์วา่ น่าจะตดิ ตอ่ มาจากสัตว์ เนอ่ื งจากพบเชอื้ ในอฐู ในประเทศกาตาร์ โอมาน อยี ปิ ต์ และซาอดุ อิ าระเบยี ตดิ ตอ่ โดยการสมั ผสั สารคดั หลง่ั จากระบบทางเดินหายใจของผู้ปว่ ยจากการไอ จาม และพบได้ในบคุ คลทใี่ กลช้ ิดกับผู้ปว่ ย เช่น บุคลากร ทางการแพทย์ บุคคลในครอบครัว การติดต่อระหว่างบุคคลทั่วไปไม่เกิดข้ึนได้ง่ายนัก ในผู้ป่วยบางราย ติดเชื้อแลว้ ไม่แสดงอาการ บางรายอาจมีอาการเพยี งเลก็ นอ้ ยเหมือนปว่ ยเป็นโรคหวดั และหายไดเ้ ป็นปกติ ในบางรายอาจมีท้องเสีย มวนท้อง คลื่นไส้อาเจียน ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีปอดบวมหรือไตวายได้ นิยามในการเฝ้าระวัง มี 3 กรณี กรณที ี่ 1 ผู้ป่วยท่มี ีการติดเชอื้ ระบบทางเดินหายใจส่วนบน ไดแ้ ก่ ไอ นำ้�มกู เจบ็ คอ เปน็ ตน้ ) ร่วมกบั มีไข้สูง หรือมีประวัติเข้ารบั บริการในโรงพยาบาล/สมั ผัสอฐู /ด่ืมนมอูฐ หรือสัมผัสใกลช้ ิดกบั ผู้ป่วยโรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลางในชว่ ง 14 วนั ก่อนวนั เร่ิมป่วย กรณีท่ี 2 ผ้ปู ่วยมีปอดบวม รว่ มกบั ทีม่ ีประวตั ิเสี่ยง หมายถึง ผูป้ ่วยปอดบวม ร่วมกบั ท่มี ีประวตั ิอาศัย หรือเดินทางจากพื้นท่ีท่ีพบผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือเป็นบุคลากรทาง การแพทย์ท่ีดูแลผู้ป่วยปอดบวม หรือเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการท่ีตรวจตัวอย่างจากระบบ ทางเดนิ หายใจ กรณที ่ี 3 ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรงหรือผู้ป่วยปอดบวมที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ หรือมีภาวะระบบ ทางเดนิ หายใจล้มเหลวเฉียบพลนั ที่ไมท่ ราบเช้อื สาเหตุ ถงึ แมไ้ ม่มีประวัตเิ สย่ี ง 13. วัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (Extensively drug-resistant tuberculosis (XDR-TBX)) เป็นวัณโรคทม่ี กี ารดอื้ ยา 4 ขนานร่วมกัน ไดแ้ ก่ ไอโซไนอะซดิ (Isoniazid) ไรแฟมพซิ นิ (Rifampicin) กลมุ่ ยาฟลอู อโรควโิ นโลน (Fluoroquinolones) และกล่มุ ยาทางเลอื กที่ 2 ทเ่ี ปน็ ยาชนดิ ฉีด (Second-line injectable drugs) มีอาการไอเรอ้ื รังหรอื ไอเป็นเลือด เบ่ืออาหาร น้�ำ หนกั ลด อ่อนเพลยี มีไข้ เจบ็ หน้าอก หอบเหนอื่ ย สามารถแพรเ่ ชอ้ื สผู่ อู้ น่ื ได้ ในรายทม่ี อี าการรนุ แรงจะมอี าการระบบการหายใจลม้ เหลว และอาจ ถงึ ข้นั เสียชีวติ ได้ 11

รหัสโรค, เชือ้ ก่อโรค, และ ICD-10 รายงานเฝา้ ระวังทางระบาดวิทยา (รายงาน 506) ตาม พรบ. โรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 1. โรคตดิ ต่ออันตราย 12 โรค รหสั 506 รหสั ICD-10 ชือ่ โรค และ รหสั เชอื้ กอ่ โรค ช่อื โรคภาษาไทย กำ�หนดให ้ A20.0 - A20.3, Plague จำ�แนกประเภทโดยใช้รหัส กาฬโรค รายงานทนั ท ี A20.7 - A20.9, Organism ดังน้ี ทพี่ บผ้ปู ่วย 1 กาฬโรคตอ่ มนำ�้ เหลือง แม้เพียงสงสยั (Bubonic plague) โดยแจ้ง 2 กาฬโรคชนิดโลหติ เปน็ พิษ เบอื้ งตน้ ไปยงั (Septicemic plague) คณะกรรมการ 3 กาฬโรคปอด โรคตดิ ตอ่ (Pneumonic plague) ระดับจงั หวัด B03 Smallpox ไขท้ รพษิ โดยไมต่ ้องรอ A98.0 Crimean - Congo hemorrhagic ไขเ้ ลือดออกไครเมียนคองโก การวินจิ ฉยั fever สดุ ทา้ ยจาก A92.3 West Nile Fever ไขเ้ วสตไ์ นล์ แพทย์ และ A95.0, A95.1, Yellow fever ไขเ้ หลอื ง ไม่ตอ้ งรอการ A95.9 ลงรหสั A96.2 Lassa fever โรคไขล้ าสซา ICD-10 B33.8 Nipah virus disease โรคตดิ เชื้อไวรสั นปิ าห์ A98.3 Marburg virus disease โรคติดเชือ้ ไวรัสมารบ์ วร์ก A98.4 Ebola virus disease โรคติดเช้ือไวรสั อีโบลา B33.8 Hendra virus disease โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสเฮนดรา B97.21 Severe Acute Respiratory โรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั Syndrome - SARS รนุ แรง หรือโรคซารส์ J12.81 Middle East Respiratory Syndrome - โรคทางเดนิ หายใจ MERS ตะวนั ออกกลาง หรือโรคเมอรส์ 12

2. รหัสโรคทใี่ ชใ้ นการรายงานผูป้ ่วยในขา่ ยงานเฝ้าระวงั ทาง ระบาดวิทยา (รายงาน 506) 71 รหัสโรค รหสั 506 รหัส ICD-10 ช่ือโรค และ รหสั เช้ือกอ่ โรค ชอ่ื โรคภาษาไทย 01 A00.0, A00.1, Cholera อหิวาตกโรค A00.9 จำ�แนกรหัส Organism type ดังน้ี 1 Vibrio cholerae Eltor Inaba 2 Vibrio cholerae Eltor Ogawa 3 Vibrio cholerae Eltor Hikojima 6 Vibrio cholerae O139 02 9 Unknown A02.0, Acute diarrhea, Diarrhea, Infantile โรคอจุ จาระร่วงเฉียบพลัน A04.0 - A04.9, diarrhea, Gastroenteritis, Enteritis, A08.0 - A08.5, Summer diarrhea 03 A09.0, A09.9 A05.0, Food poisoning, Foodborne อาหารเปน็ พิษ A05.2 - A05.4, disease, Foodborne intoxication, A05.8 - A05.9 Acute foodborne infection จ�ำ แนกรหสั Organism type ดังน้ี 1 Vibrio parahaemolyticus 2 Salmonella spp. 3 Staphylococcus 5 Clostridium perfringens 05 9 Unknown A03.0 - A03.3 Shigellosis dysentery, โรคบิดจากเชอื้ ชิเกลลา 06 A03.8 - A03.9 Bacillary dysentery A06.0, A06.1, Amoebic Dysentery, Amoebiasis โรคบดิ อะมบี า 08 A06.9 A01.0 Typhoid fever, Typhus abdominalis, ไขร้ ากสาดนอ้ ย, ไข้ไทฟอยด์, 09 Enteric fever (Typhoid fever type) ไข้เอนเทอรคิ (ชนดิ ไข้ไทฟอยด์) A01.1 - A01.4 Paratyphoid fever, Enteric fever ไข้รากสาดเทยี ม, ไขพ้ าราไทฟอยด์, (Paratyphoid fever type) ไข้เอนเทอริค (ชนดิ ไข้พารา 10 ไทฟอยด์) B17.8 - B17.9, Hepatitis, Unspecified viral hepatitis ไวรัสตับอกั เสบไมร่ ะบเุ ชือ้ สาเหตุ 11 B19.0, B19.9 B15.0, B15.9 Viral hepatitis A, Acute Viral โรคตับอักเสบจากเชอื้ ไวรสั hepatitis A ชนดิ เอ 13

รหัส 506 รหสั ICD-10 ชื่อโรค และ รหสั เช้อื ก่อโรค ช่อื โรคภาษาไทย 12 B16.0 - B16.2, Viral hepatitis B, Acute Viral โรคตับอกั เสบจากเชอ้ื ไวรัส B16.9 hepatitis B ชนิด บี 13 B17.1 Viral hepatitis C, Acute Viral โรคตับอกั เสบจากเชอ้ื ไวรัส hepatitis C ชนิด ซี 14 B30.0 - B30.3, Viral conjunctivitis, Haemorrhagic โรคตาแดงจากไวรัส B30.8 - B30.9 conjunctivitis 15 J10.0, J10.1, Influenza, (Flu) ไขห้ วดั ใหญ่ J10.8 J11.0, จำ�แนกรหสั Organism type ดงั นี้ J11.1, J11.8 1 Influenza A unknown subtype 2 Influenza B unknown subtype 3 Influenza A (H1) 4 Influenza A (H3) 7 Other specify 9 Unknown 16 B06.0, B06.8, Rubella, German measles, ไขห้ ดั เยอรมัน, เหอื ด B06.9, M01.4 Congenital rubella จ�ำ แนกรหสั Organism type ดังน้ี 1 IgM positive 2 IgM negative 3 Inconclusive 9 Unknown 17 B01.0 - B01.2, Varicella, Chickenpox โรคสกุ ใส อสี ุกอีใส B01.8 - B01.9 18 R50.8, R50.9 Pyrexia of unknown origin, Fever of ไข้ไม่ทราบสาเหตุ unknown origin, P.U.O. F.U.O., Fever cause 19 A39.0, Meningococcal meningitis, ไข้กาฬหลงั แอ่น A39.2 - A39.5, Meningococcemia A39.8 - A39.9 จ�ำ แนกรหัส Organism type ดังน้ี 1 N. meningitides group A 2 N. meningitides group B 3 N. meningitides group C 4 N. meningitides group Y 5 N. meningitides group W135 6 N. meningitides group X 7 N. meningitides unknown serogroup 9 Unknown 14

รหสั 506 รหสั ICD-10 ชอ่ื โรค และ รหสั เชื้อกอ่ โรค ชื่อโรคภาษาไทย 20 A80.0 - A80.4, Poliomyelitis, Polio, โปลิโอ, ไขไ้ ขสนั หลงั อักเสบ A80.9 Acute poliomyelitis จำ�แนกรหสั Organism type ดงั นี้ 1 Wild type 1 2 Wild type 2 3 Wild type 3 4 VAPP 5 VDPV 9 Unknown 21 B05.9 Measles ไข้หัด จ�ำ แนกรหสั Organism type ดงั น้ี 1 IgM positive 2 IgM negative 3 Inconclusive 9 Unknow 22 B05.0 - B05.4, Measles with complication ไขห้ ดั ทีม่ ีโรคแทรกซอ้ น B05.8 ระบรุ หัส Complication ดงั น้ี 1 Pneumonia (ICD10: B05.2) 2 Diarrhea (ICD10: B05.4) 3 Encephalitis (ICD10: B05.0) 4 Otitis media (ICD10: B05.3) 5 Other (ICD10: B05.8) 6 nknown 7 Pneumonia + Diarrhea (ICD10: B05.2 รว่ มกบั B05.4) 8 Pneumonia + Encephalitis (ICD10: B05.2 รว่ มกับ B05.0) 9 Pneumonia + Other (ICD10: B05.2 รว่ มกบั B05.8) ระบุรหัส Organism type ดงั นี้ 1 IgM positive 2 IgM negative 3 Inconclusive 9 Unknown 23 A36.0 - A36.3, Diphtheria, Facial diphtheria, Nasal คอตบี A36.8 - A36.9 diphtheria, Laryngeal diphtheria 24 A37.0, A37.9 Pertussis, Whooping cough ไอกรน 25 A34, A35 Tetanus, Lockjaw บาดทะยกั 15

รหสั 506 รหัส ICD-10 ชื่อโรค และ รหสั เชือ้ กอ่ โรค ช่อื โรคภาษาไทย 26 ICD10 (เก่า) Dengue haemorrhagic fever ไข้เลอื ดออกเดง็ กี่ A91.1, A91.9 จ�ำ แนกรหัส Organism type ดงั นี้ ICD10 (2016) 1 Serotype 1 A97.0,A97.1 2 Serotype 2 3 Serotype 3 4 Serotype 4 9 Unknown 27 ICD10 (เก่า) Dengue shock syndrome, ไข้เลือดออกชอ็ กเด็งกี่ A91.0 Dengue with shock ICD10 (2016) จ�ำ แนกรหสั Organism type ดังนี้ A97.2 1 Serotype 1 2 Serotype 2 3 Serotype 3 4 Serotype 4 9 Unknown 28 A83.1 - A83.5, Unspecified encephalitis ไขส้ มองอักเสบไมร่ ะบุเชื้อสาเหตุ A83.8 - A83.9, A84.0 - A84.1, A84.8 - A84.9, A85.0 - A85.2, A85.8, A86, B00.4, G04.8 - G04.9, G05.1 29 A83.0 Japanese encephalitis, J.E., ไข้สมองอกั เสบชนดิ ญ่ปี ุ่น J.E.V. Disease 30 B50.0, Malaria ไข้มาลาเรยี B50.8 - B50.9, จ�ำ แนกรหัส Organism type ดังน้ี B51.0, 1 Plasmodium falciparum B51.8 - B51.9, (ICD10: B50.0, B50.8 - B50.9) B52.0, 2 Plasmodium vivax B52.8 - B52.9, (ICD10: B51.0, B51.8 - B51.9) B53.0, B53.1, 3 Plasmodium malariae B53.8, B54 (ICD10: B52.0, B52.8 - B52.9) 4 Mixed type 5 Plasmodium ovale (ICD10: B53.0) 6 Plasmodium knowlesi (ICD10: B53.8) 9 Unknown (ICD10: B54) 16

รหัส 506 รหสั ICD-10 ชอื่ โรค และ รหสั เชื้อกอ่ โรค ช่ือโรคภาษาไทย 31 J12.0 - J12.3, Pneumonitis, Pneumonia โรคปอดอกั เสบ โรคปอดบวม J12.8 - J12.9, J13, J14, J15.0 - J15.9, J16.0, J16.8, J17.0 - J17.1, J18.0 - J18.2, J18.8 - J18.9, J85.1 32 A15.0 - A15.3, Tuberculosis, Pulmonary TB วณั โรคปอด A16.0 - A16.2, จ�ำ แนกรหัส Organism type ดงั น้ี J65 1 ตรวจพบเชอ้ื (ICD10: A15.0 - A15.3) 2 ตรวจไมพ่ บเช้ือ (ICD10: A16.0) 3 ไมไ่ ด้ตรวจเช้ือ (ICD10: A16.1 - A16.2, J65) 33 A17.0 - A17.1 Tuberculosis meningitis, วัณโรคเยอื่ หมุ้ สมอง Tuberculous meningitis 34 A15.4 - A15.9, Tuberculosis other organs วณั โรคระบบอนื่ ๆ A16.3 - A16.5, จำ�แนกรหสั Complication type ดงั น้ี A16.7 - A16.9, 1 TB Lymph node (ICD10: A15.4, A17.8 - A17.9, A16.3, A18.2) A18.0 - A18.8, 2 TB Spine node (ICD10: A18.0 A19.0 - A19.2, เฉพาะ vertebral column, M49.0) A19.8 - A19.9, 3 TB Hips, Bones, Joints (ICD10: B20.0, K23.0, A18.0 อนื่ ๆ, M01.1, M90.0) K67.3, K93.0, 4 TB Peritoneum (ICD10: A18.3 M01.1, M49.0, เฉพาะ peritonitis, K67.3) M90.0, N33.0, 5 TB Skin (ICD10: A18.4) N74.0 - N74.1 6 TB Gastro-intestinal tract (ICD10: A18.3 อนื่ ๆ, K23.0, K93.0, N33.0, N74.0 - N74.1) 7 TB Genito-Urinary organs tract (ICD10: A18.1) 8 TB other organs (ICD10: A15.5 - A15.9, A16.4 - A16.5, A16.7 - A16.9, A17.8 - A17.9, A18.5 - A18.8, A19.0 - A19.2, A19.8 - A19.9, B20.0) 9 Unknown 17

รหสั 506 รหสั ICD-10 ช่อื โรค และ รหสั เช้อื กอ่ โรค ชื่อโรคภาษาไทย 35 A30.0 - A30.5, Leprosy โรคเรอ้ื น A30.8 - A30.9 37 A50.0 - A50.7, Syphilis ซิฟิลสิ A50.9 จ�ำ แนกรหสั Complication type ดังนี้ A51.0 - A51.5, 1 primary syphilis A51.9, (ICD10: A51.0 - A51.2) A52.0 - A52.3, 2 secondary syphilis A52.7 - A52.9, (ICD10: A51.3 - A51.4) A53.0, A53.9 3 late or tertiary syphilis (ICD10: A52.0, A52.7) 4 latent syphilis (ICD10: A51.5, A51.9, A52.8 - A52.9, A53.0, A53.9) 5 congenital syphilis (ICD10: A50.0 - A50.7, A50.9) 6 neurosyphilis (ICD10: A52.1 - A52.3) 7 others 9 unknown 38 A54.0 - A54.6, Gonorrhea, G.C., Gonococcal หนองใน A54.8 - A54.9, urethritis, Gonococcal vulvovaginitis, K67.1, M73.0, Gonococcal cervicitis, N74.3, O98.2 Gonococcal bartholinitis 39 A56.0 - A56.4, Non-Gonococcal urethritis/ vaginitis/ หนองในเทียม A56.8, cervicitis, Non-specific urethritis/ N34.1 - N34.3 vaginitis/ cervicitis, NGU/V, NSU/V, Chlamydial infection of genitourinary tract/ anus & rectum/ pharynx 40 A57 Chancroid, Soft chancre แผลริมออ่ น 41 A55 Lymphogranuloma Venereum/ กามโรคของตอ่ มและทอ่ น้�ำ เหลอื ง Chlamydial lymphogranuloma (venereum) / L.G.V. 42 A82.0, A82.1, Rabies, Hydrophobia โรคพิษสนุ ัขบา้ A82.9 43 A27.0, A27.8, Leptospirosis, Weil disease โรคเลปโตสไปโรสสิ ไขฉ้ ีห่ นู A27.9 44 A75.0 - A75.3, Scrub Typhus, Mite-borne typhus โรคสครับไทฟัส A75.9 fever 18

รหัส 506 รหสั ICD-10 ชื่อโรค และ รหัสเช้ือก่อโรค ช่ือโรคภาษาไทย 45 A22.0 - A22.2, Anthrax โรคแอนแทรกซ์ A22.7 - A22.9 จำ�แนกรหสั Complication type ดงั น้ี 1 cutaneous anthrax (ICD10: A22.0) 2 pulmonary anthrax (ICD10: A22.1) 3 gastrointestinal anthrax (ICD10: A22.2) 8 others (ICD10: A22.7 - A22.8) 9 unknown (ICD10: A22.9) 46 B75 Trichinosis, Trichinellosis พยาธิทริคเิ นลลา 52 B26.0 - B26.3, Mumps คางทมู B26.8 - B26.9 53 A33 Tetanus neonatorum บาดทะยกั ในทารกแรกเกดิ 54 A87.8 - A87.9, Unspecified meningitis เย่ือหมุ้ สมองอกั เสบ G00.9, G02.0, ไมร่ ะบเุ ชอ้ื สาเหตุ G03.0, G03.8 - G03.9 55 B83.2, G02.8 Eosinophilic Meningitis เยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบจากพยาธิ 58 T62.0 Mushroom poisoning รับประทานเห็ดมพี ษิ 65 ผู้ทม่ี อี ายุ <15 ปี Acute Flaccid Paralysis (AFP) โรคอัมพาตกล้ามเนือ้ อ่อน และมี ICD10 ปวกเปียกเฉียบพลัน ใน 23 กล่มุ โรค 1) G82.0, G82.2 - G82.3, G82.5, G83.0 - G83.3, G83.8 - G83.9 2) G95.9 3) G61.0 4) G36.9 5) G58.0, G58.9 6) G62.9 7) E80.2 8) G58.8 9) G70.0 10) T60.0 11) G36.9 12) G72.3 13) G72.4 19

รหสั 506 รหัส ICD-10 ชื่อโรค และ รหัสเชือ้ ก่อโรค ช่ือโรคภาษาไทย 14) M79.1 15) M79.2 16) G37.3 17) R53 18) G80.2, G81.0 19) M60.8, M60.9 20) G04.0 21) G04.8 22) G04.9 23) G71.3 หมายเหต:ุ ไมน่ บั รหัสทีเ่ ขา้ เกณฑ์ AFP แตอ่ ยู่ใน รายงานโรคอื่นแลว้ 3 กลมุ่ โรค ไดแ้ ก่ 24) A80.0 - A80.4, A80.9 (รหสั 506: 20) 25) A05.1 (รหัส 506: 85) 26) B75 (รหสั 506: 46) 66 ICD10 (เก่า) Dengue fever ไขเ้ ดง็ กี่ A90 จำ�แนกรหัส Organism type ดังน้ี ICD10 (2016) 1 Serotype 1 A97.9 2 Serotype 2 3 Serotype 3 4 Serotype 4 9 Unknown 68 B55.0, B55.1, Leishmaniasis โรคลิซมาเนีย B55.2, B55.9 จำ�แนกรหัส Complication type ดังนี้ 1 Kala azar (Visceral leishmaniasis) (ICD10: B55.0) 2 Cutaneous leishmaniasis (ICD10: B55.1) 3 Mucocutaneous leishmaniasis (ICD10: B55.2) 9 Unknown (ICD10: B55.9) 20

รหัส 506 รหัส ICD-10 ชือ่ โรค และ รหสั เชอื้ กอ่ โรค ช่อื โรคภาษาไทย 69 B17.0 Viral hepatitis D, Acute Viral โรคตับอักเสบจากเช้ือไวรัส hepatitis D ชนดิ ดี 70 B17.2 Viral hepatitis E, Acute Viral โรคตบั อกั เสบจากเช้อื ไวรสั hepatitis E ชนดิ อี 71 B08.4, B08.5 Hand foot and mouth disease (HFM) โรคมือเทา้ ปาก จ�ำ แนกรหัส Organism type ดงั น้ี 1 HFM ไมร่ ะบุเชอื้ 2 Herpangina ไม่ระบเุ ชื้อ 3 Enterovirus 71 4 Coxsackie A 5 Coxsackie B 6 Enterovirus others or unspecified 9 Unknown 72 A24.1 - A24.4 Melioidosis เมลิออยโดสิส 74 A38 Scarlet fever ไขด้ ำ�แดง 76 B74.0 - B74.2, Elephantiasis Lymphatic Filariais, โรคเท้าชา้ ง B74.8 - B74.9, Filariasis H13.0 จำ�แนกรหัส Organism type ดงั น้ี 1 Wuchereria bancrofti (ICD10: B74.0) 2 Brugia malayi (ICD10: B74.1) 3 Brugia timori (ICD10: B74.2) 4 Others (ICD10: B74.8) 9 Unknown (ICD10: B74.9, H13.0) 78 T80.5, T80.6, Adverse Event Following อาการภายหลังได้รับการสร้าง T88.0, T88.1, Immunization (AEFI) เสรมิ ภมู ิคุ้มกนั โรค M02.2 79 A60.0 - A60.1, Anogenital Herpes, Genital Herpes เรมิ ของอวัยวะสบื พนั ธแ์ุ ละ A60.9 Simplex Virus Infection ทวารหนัก 80 A63.0 Condyloma Acuminata หูดอวัยวะเพศและทวารหนัก (Venereal Warts) 81 A63.8, A64 Other Sexually transmitted diseases โรคเพศสมั พนั ธ์อุ น่ื ๆ ที่ไมร่ ะบุ 82 ไม่มี ICD-10 เฉพาะ Streptococcus suis infection โรคติดเชือ้ สเตรป็ โตคอคคัสซูอสิ 21

รหัส 506 รหสั ICD-10 ช่อื โรค และ รหัสเชอื้ กอ่ โรค ช่อื โรคภาษาไทย 83 A23.0 - A23.3, Brucellosis โรคบรเู ซลโลสสิ A23.8 - A23.9 จ�ำ แนกรหสั Organism type ดังน้ี 1 Brucella melitensis (ICD10: A23.0) 2 Brucella abortus (ICD10: A23.1) 3 Brucella suis (ICD10: A23.2) 4 Brucella canis (ICD10: A23.3) 5 Others (ICD10: A23.8) 84 9 Unknown (ICD10: A23.9) 85 A92.0 Chikungunya fever ไขป้ วดข้อยงุ ลาย / ไขช้ คิ นุ กนุ ยา 86 A05.1 Botulism อาหารเป็นพิษจากโบทูลิซมึ A59.0, Vaginal trichomoniasis พยาธิทริโคโมแนสของระบบ 87 A59.8 - A59.9 สบื พันธ์ุและทางเดนิ ปัสสาวะ 88 A92.5 Zika virus disease โรคติดเช้ือไวรสั ซิกา 89 B85.3 Pediculosis Pubis โลนท่ีอวัยวะเพศ 90 B08.1 Genital Molluscum Contagiosum หูดขา้ วสุก A85.0, A87.0, Enterovirus Fever ไขเ้ อนเทอโรไวรัส B34.1 จำ�แนกรหัส Complication type ดงั นี้ 1 Enteroviral encephalitis (ICD10: A85.0) 2 Enteroviral meningitis (ICD10: A87.0) 9 Enterovirus infection, unspecified 91 site (ICD10: B34.1) J09 Avian Influenza ไข้หวดั นก 22

เร่อื ง นยิ ามการรายงาน โรคตดิ ต่ออันตราย พ.ศ. 2560 1. กาฬโรค (Plague) ✚ ประเภทผูป้ ่วย 1. ผูป้ ่วยทีส่ งสยั หมายถึง ผทู้ ่มี อี าการและอาการแสดง ดงั ตอ่ ไปน้ี - กาฬโรคต่อมน�้ำ เหลือง (Bulbonic plague) ไข้สงู หนาวสัน่ คลืน่ ไส้ เจบ็ คอ ปวดศีรษะ ต่อมน�ำ้ เหลือง บรเิ วณขาหนีบ หรือรักแรโ้ ตและมหี นอง หรอื มา้ มโตและมหี นอง - กาฬโรคของโลหิต (Septicemic plague) มอี าการของโลหติ เป็นพษิ ไข้สงู ปวดศรี ษะ อาเจยี น คอหอยและทอนซิลอักเสบ อาจมีเยื่อหมุ้ สมองอักเสบ และจ�้ำ เลือดตามผวิ หนัง - กาฬโรคปอด (Pneumonicmic plague) ไข้สูง หนาวสัน่ ไอ มีเสมหะปนเลือด หอบ Chest X-ray พบลักษณะของปอดอกั เสบ รว่ มกับมปี ระวตั ิสมั ผสั ผูป้ ่วยกาฬโรค 2. ผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ ข่าย (ไมม่ ี) 3. ผปู้ ่วยทีย่ ืนยนั ผล หมายถึง ผปู้ ว่ ยทส่ี งสัยร่วมกบั ตรวจพบขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ดังน้ี - มผี ลเพาะเชอ้ื ได้จากหนอง เสมหะ เลือด นำ้�ไขสันหลัง พบเชื้อ Yersinia pestis - เกบ็ ตวั อยา่ งเลอื ด 2 ครง้ั (Paired-sera) เพอ่ื ตรวจทางภมู คิ นุ้ กนั วทิ ยา ดว้ ยวธิ ี Immunofluorescent antibody (IFA) หรอื ELISA ให้ผลบวก ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ใหร้ ายงานตง้ั แต่ผปู้ ว่ ยที่สงสยั 2. ไขท้ รพิษ (Smallpox) ✚ ประเภทผูป้ ว่ ย 1. ผปู้ ว่ ยท่ีสงสยั หมายถงึ ผทู้ ี่มอี าการตามเกณฑท์ างคลนิ ิก ไดแ้ ก่ มไี ขส้ งู มากกวา่ 38.3 องศาเซลเซียส ปวดศีรษะ ปวดเม่อื ยกล้ามเนอื้ โดยเฉพาะบรเิ วณหลัง รู้สึกอ่อนเปลีย้ เพลยี แรง และอาจมีอาการอาเจยี นได้ อาการในระยะน้จี ะเปน็ อยู่ 2 - 4 วนั กอ่ นผน่ื ขึ้น ต่อมาเริ่มพบจดุ สแี ดงขนึ้ ตามล้นิ เย่อื บชุ ่องปากและ เย่ือบุโพรงจมกู ต่อมาจะเรม่ิ ปรากฏผ่นื ตามผวิ หนงั (ลกั ษณะของผน่ื เร่มิ ต้นจะเป็นผ่นื แบบแบนราบ ต่อมา จะนูนขึ้นเป็นตุ่มกลมๆ ซ่ึงมีรอยบุ๋มตรงกลาง) หลังจากนั้นผ่ืนจะกลายเป็นตุ่มหนองซึ่งค่อนข้างแข็ง โดยเรม่ิ ท่บี ริเวณใบหนา้ กอ่ น และกระจายไปตาม แขน ขา มือ เท้า และล�ำ ตวั จนทว่ั ภายใน 24 ช่ัวโมง 23

2. ผู้ปว่ ยที่เข้าข่าย หมายถงึ ผ้ปู ่วยท่ีสงสัยร่วมกบั ขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยาเชื่อมโยงกับผปู้ ว่ ยที่ยืนยนั 3. ผู้ป่วยท่ยี ืนยันผล หมายถงึ ผปู้ ่วยที่สงสยั รว่ มกับตรวจพบจากการผลเพาะเช้ือหรือด้วยวิธี PCR ✚ การรายงานผู้ปว่ ยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ใหร้ ายงานต้ังแตผ่ ปู้ ่วยท่ียืนยนั 3. ไขเ้ ลอื ดออกไครเมียนคองโก (Crimean - Congo hemorrhagic fever) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผู้ป่วยทส่ี งสยั หมายถึง ผ้ทู ี่มอี าการตามเกณฑ์ทางคลินกิ ได้แก่ ผ้ปู ่วยทมี่ ไี ข้ ปวดกล้ามเนอื้ คอแข็ง กลวั แสง ทอ้ งร่วง ต่อมน�ำ้ เหลอื งโต มเี ลือดออกใต้ผวิ หนงั เยอ่ื บหุ รือส่วนตา่ งๆ ของร่างกายร่วมกบั มีอารมณ์ แปรปรวน สับสน กา้ วรา้ ว หลังจากนนั้ อาจมีงว่ งซมึ เศรา้ หรือหวั ใจเต้นเร็ว บางรายมตี ับอกั เสบร่วมด้วย 2. ผปู้ ว่ ยที่เข้าขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ่วยท่ีสงสัยร่วมกับข้อมลู ทางระบาดวทิ ยาเชื่อมโยงกับผปู้ ่วยท่ยี ืนยัน 3. ผู้ป่วยท่ียืนยันผล หมายถึง ผู้ป่วยท่ีสงสัยร่วมกับผลตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการให้ผลบวกต่อ ไวรัสอาร์เอน็ เอกลมุ่ Bunyaviridae ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค ให้รายงานผู้ป่วยที่ยนื ยนั ผล 4. ไข้เวสตไ์ นล์ (West Nile Fever) ✚ ประเภทผปู้ ว่ ย 1. ผปู้ ว่ ยท่สี งสยั หมายถงึ ผ้ทู ม่ี ไี ข้ อาจจะสงู หรือตำ�่ ก็ได้ และมีการเปลย่ี นแปลงทางระดบั ความรู้สึกตัว อาจมีชกั 2. ผ้ปู ่วยทเี่ ขา้ ขา่ ย หมายถึง ผ้ปู ว่ ยที่สงสัย รว่ มกับมีขอ้ มูลทางระบาดวิทยาเชอ่ื มโยงกบั ผู้ปว่ ยทยี่ ืนยนั ผล 3. ผู้ปว่ ยทย่ี ืนยันผล หมายถึง ผ้ปู ว่ ยท่สี งสยั และมีผลการตรวจพบเชื้อด้วยวธิ ีใดวธิ หี น่ึงดังน้ี - พบแอนตบิ อดที ี่จ�ำ เพาะต่อ West Nile Virus โดยวิธี ELISA - พบสารพนั ธกุ รรมของไวรัส West Nile virus โดยวิธี PCR - เพาะแยกเชอื้ จาก Serum หรือสมอง ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวังโรค ใหร้ ายงานผูป้ ่วยทย่ี นื ยนั ผล 24

5. ไข้เหลือง (Yellow fever) ✚ ประเภทผูป้ ว่ ย 1. ผ้ปู ่วยทสี่ งสัย หมายถงึ ผูท้ ี่มไี ข้ ปวดศรี ษะ ปวดกล้ามเนือ้ ชีพจรเต้นช้าไม่เปน็ สดั ส่วนกบั อาการไข้ อาจมอี าการตัวเหลือง ตาเหลือง และมเี ลือดออกตามอวัยวะตา่ งๆ 2. ผูป้ ่วยที่เขา้ ข่าย หมายถงึ ผูป้ ่วยทีส่ งสัยรว่ มกบั มีขอ้ มูลทางระบาดวทิ ยาเชอื่ มโยงกับผ้ปู ่วยท่ียนื ยนั ผล 3. ผ้ปู ว่ ยที่ยนื ยนั ผล หมายถึง ผู้ปว่ ยท่สี งสัยทม่ี ีผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร พบข้อใดข้อหน่ึงดังน้ี - ตรวจระดับภูมคิ ้มุ กนั ดว้ ยวธิ ี HI Test (paired sera) มรี ะดบั ภมู ิคุ้มกนั เพ่ิมข้ึนอย่างนอ้ ย 4 เทา่ (four-fold rising) - ตรวจหาสารพนั ธกุ รรมด้วยวิธี PCR for Yellow fever virus ใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผู้ปว่ ยตามระบบเฝ้าระวังโรค ใหร้ ายงานต้ังแต่ผู้ปว่ ยทสี่ งสยั 6. โรคไขล้ าสซา (Lassa fever) ✚ ประเภทผู้ป่วย 1. ผปู้ ่วยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ มี่ ีอาการตามเกณฑท์ างคลินกิ ไดแ้ ก่ ผปู้ ่วยทม่ี ีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ มอี าการไอ อาเจยี น ทอ้ งรว่ ง เจบ็ หนา้ อกและชอ่ งทอ้ ง ตาอกั เสบ และคออกั เสบเปน็ หนอง ในรายทม่ี อี าการ รนุ แรงจะมีอาการเลือดออก ชอ็ ก มอี าการหน้าบวม คอบวม เกล็ดเลือดจะลดลง และการท�ำ งานของ เกลด็ เลือดจะผิดปกติ หรือหูหนวกจากพยาธิสภาพทเ่ี สน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 8 2. ผู้ปว่ ยทเ่ี ข้าขา่ ย หมายถึง ผูป้ ว่ ยที่สงสัยรว่ มกับมีขอ้ มูลทางระบาดวทิ ยาเช่ือมโยงกบั ผปู้ ว่ ยทย่ี นื ยนั 3. ผปู้ ่วยที่ยืนยันผล หมายถงึ ผ้ปู ่วยทส่ี งสัยท่มี ผี ลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร พบขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ดงั นี้ - วิธี ELISA ใหผ้ ลบวก - วิธี PCR จากเลือด ปสั สาวะ หรอื ตวั อยา่ งจากคอหอยให้ผลบวก ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ใหร้ ายงานผ้ปู ่วยทย่ี ืนยันผล 25

7. โรคติดเชื้อไวรัสนปิ าห์ (Nipah virus disease) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผู้ปว่ ยท่ีสงสยั หมายถงึ ผู้ทม่ี ีไข้ อาจจะสูงหรือตำ่�ก็ได้ และมกี ารเปลยี่ นแปลงทางระดับความรู้สึกตวั อาจมีชกั หรอื ผู้ที่มีไข้และอาเจียน หรอื มีอาการแสดงทางระบบทางเดินหายใจ 2. ผปู้ ่วยที่เขา้ ข่าย หมายถงึ ผู้ป่วยท่ีสงสยั รว่ มกับมขี ้อมลู ทางระบาดวิทยาเช่ือมโยงกบั ผูป้ ่วยทย่ี นื ยนั ผล 3. ผู้ป่วยทย่ี ืนยันผล หมายถึง ผูป้ ่วยที่สงสยั ร่วมกับตรวจพบขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ดังน้ี - ตรวจวธิ ี ELISA ใหผ้ ลบวก - ตรวจวธิ ี IFA ใหผ้ ลบวก - PCR for Nipah virus ใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ใหร้ ายงานผู้ปว่ ยทยี่ ืนยนั ผล 8. โรคตดิ เชื้อไวรัสมาร์บวรก์ (Marburg virus disease) ✚ ประเภทผปู้ ่วย 1. ผปู้ ว่ ยทสี่ งสยั หมายถงึ ผทู้ มี่ ไี ขส้ งู เฉยี บพลนั ออ่ นเพลยี ปวดกลา้ มเนอื้ และปวดศรี ษะมาก ตามมาดว้ ย อาการเจ็บคอ อาเจยี น ท้องเสยี และมีผืน่ นนู แดงตามตวั 2. ผูป้ ว่ ยทเ่ี ขา้ ขา่ ย หมายถึง ผปู้ ่วยท่สี งสัยรว่ มกับมีข้อมลู ทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยทยี่ ืนยนั ผล 3. ผ้ปู ว่ ยที่ยนื ยันผล หมายถงึ ผู้ป่วยที่สงสยั ร่วมกับตรวจพบข้อใดข้อหน่งึ ดังน้ี - ตรวจวิธี RT-PCR ให้ผลบวก - การตรวจหาแอนติเจนโดยวธิ ี ELISA ในตัวอยา่ งเลือด น้าํ เหลือง หรือจากอวัยวะ ใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผู้ปว่ ยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ให้รายงานผู้ป่วยที่ยืนยันผล 9. โรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD) ✚ ประเภทผูป้ ว่ ย 1. ผู้ปว่ ยเข้าเกณฑส์ อบสวน (PUI: patient under investigation) ผทู้ ม่ี ีอาการไข้ต้งั แต่ 38 องศาเซลเซยี สขึ้นไป รว่ มกบั มีประวตั ิสมั ผสั โรคในชว่ ง 21 วนั กอ่ นเรม่ิ ป่วย ขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ต่อไปน้ี 26

- อาศยั อยู่ หรอื เดนิ ทางมาจากประเทศทเี่ กดิ โรค (ณ ปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ กนิ ี ไลบเี รยี เซยี ราลโี อน และ เมืองลากอส ไนจเี รยี ) - สัมผสั ผ้ปู ว่ ยหรือศพของผปู้ ่วยท่ีสงสัยติดเชือ้ อโี บลา - สัมผสั โดยตรงกับสัตว์จ�ำ พวกคา้ งคาว หนู ลิง สัตวป์ า่ เทา้ กบี ท่มี าจากพืน้ ที่เกดิ โรค 2. ผ้ปู ว่ ยสงสยั (Suspected case) ได้แก่ ผปู้ ว่ ยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีอาการเลือดออกผิดปกติ / มอี าการรนุ แรงทีเ่ กิดกบั หลายระบบ อวยั วะและทรดุ ลงอยา่ งรวดเรว็ (Severe and rapid progressive) รวมทง้ั ผเู้ สยี ชวี ติ โดยทมี่ อี าการดงั กลา่ ว โดยไม่ทราบสาเหตอุ ่ืนๆ ท่ีชดั เจน 3. ผู้ป่วยนา่ จะเปน็ (Probable case) ได้แก่ ผู้ป่วยเขา้ เกณฑส์ อบสวน / ผปู้ ว่ ยสงสยั ท่มี ปี ระวัติสมั ผสั ผปู้ ว่ ยหรือศพ หรือสารคดั หล่งั ของ ผปู้ ว่ ยท่ียืนยนั /น่าจะเป็นผตู้ ิดเชื้ออีโบลา หรอื ผปู้ ่วยท่ีเสียชวี ิตโดยไมท่ ราบสาเหตรุ ายอนื่ 4. ผูป้ ่วยยนื ยนั (Confirmed case) ผู้ป่วยเขา้ เกณฑ์สอบสวน / ผูป้ ่วยสงสยั / ผู้ป่วยยนื ยันท่มี ีผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการพบหลักฐาน การตดิ เชอ้ื ไวรัสอีโบลา อย่างใดอย่างหนง่ึ ได้แก่ - Ebola Realtime RT-PCR ใหผ้ ลบวก - การตรวจด้วยวธิ ี ELISA พบ Ebola IgM ให้ผลบวก - สามารถแยกเช้อื ไวรสั อโี บลา (viral isolation) หมายเหตุ ณ ปัจจุบัน ห้องปฏิบัตกิ ารในประเทศไทย ยงั ไม่ทำ�การแยกเช้อื ไวรสั อโี บลาในห้องปฏิบตั กิ าร เนอื่ งจากตอ้ งการความปลอดภัยสูงในระดับ BSL4 5. ตดั ออกจากการเป็นผปู้ ว่ ย (discarded) ผู้ป่วยท่ีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบหลักฐานการติดเช้ือไวรัสอีโบลา จากการตรวจคัดกรอง ดว้ ยวธิ มี าตรฐาน 2 วิธที ี่แตกตา่ งกัน ดังเกณฑต์ ่อไปน้ี 1. Ebola Realtime RT-PCR และ การตรวจดว้ ยวธิ ี ELISA พบ Ebola IgM ใหผ้ ลลบ 2. Ebola Realtime RT-PCR 2 คร้งั ด้วย primer ท่ีแตกตา่ งกนั ใหผ้ ลลบ หรือการตรวจดว้ ย family PCR โดยใช้ primer ทีแ่ ตกตา่ งกนั 5 คู่ หมายเหตุ ตัวอยา่ งทีส่ ง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ จะตอ้ งเกบ็ ตัวอยา่ งในวนั ท่เี ริ่มมีอาการป่วยมาแล้ว 3 วัน ขน้ึ ไป ในกรณที ใี่ หผ้ ลลบในชว่ งไมเ่ กนิ สามวนั หลงั มอี าการดงั กลา่ ว ตอ้ งท�ำ การตรวจซ�้ำ อยา่ งนอ้ ยอกี หนงึ่ ครงั้ ทง้ั น้ีเน่อื งจากสามวันแรกหลงั มีอาการผลท่ไี ดอ้ าจเปน็ ผลลบปลอม เพราะปรมิ าณเชอ้ื นอ้ ย 3. กรณีที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจหาการติดเชื้อได้ ให้คณะกรรมการท่ีปรึกษาด้านวิชาการ และยทุ ธศาสตรฯ์ โรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หมแ่ หง่ ชาติ รว่ มกนั พจิ ารณาขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย อาการทางคลนิ กิ ระบาดวทิ ยา และผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารที่เกยี่ วข้อง เพือ่ ลงความเห็นวา่ จะตัดออกจากการเป็นผปู้ ว่ ยหรอื ไม่ 27

✚ การรายงานผูป้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวงั โรค 1. ให้รายงานทีมเฝ้าสอบสวนโรคทนั ที 2. ให้เก็บตวั อยา่ งจากผปู้ ่วยเพ่อื สง่ ตรวจทางหอ้ งปฎบิ ตั ิการ 3. บันทกึ ข้อมูลผปู้ ว่ ยสงสยั ลงในแบบรายงาน/แบบสอบสวนพร้อมชอื่ ผู้สัมผสั กบั ผูป้ ่วยสงสัย 4. ถ้าผู้ป่วยเสียชีวิต แนะนำ�ให้จัดการศพหรืองานศพด้วยวิธีการที่ปลอดภัยจากการแพร่กระจายเช้ือ หรอื มีทมี ชว่ ยจดั การศพให้ เพอ่ื ให้มนั่ ใจวา่ จะไม่มีการแพร่กระจายของเช้ือ 10. โรคติดเช้อื ไวรัสเฮนดรา (Handra virus disease) ✚ ประเภทผปู้ ว่ ย 1. ผู้ปว่ ยที่สงสัย หมายถงึ ผูท้ ี่มีไขส้ งู ปวดศรี ษะ เจ็บคอ วงิ เวียน ซมึ และสับสน หรืออาการคลา้ ย ไข้หวัดใหญ่ ในระยะแรกมักจะพบอาการปอดอักเสบ 2. ผ้ปู ว่ ยท่เี ข้าข่าย ผู้ปว่ ยทีส่ งสัยรว่ มกับมีขอ้ มูลทางระบาดวิทยาเชอ่ื มโยงกับผปู้ ่วยที่ยืนยันผล 3. ผปู้ ว่ ยทีย่ ืนยันผล หมายถึง ผู้ป่วยท่สี งสัยร่วมกับตรวจพบขอ้ ใดข้อหนงึ่ ดังนี้ - การตรวจทางน�ำ้ เหลอื งวทิ ยา หา IgM และ IgG โดยวธิ ี ELISA ให้ผลบวก - ตรวจวธิ ี serum neutralization ยืนยนั การวนิ จิ ฉัยโดยการแยกเชอ้ื ไวรัสใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ให้รายงานผปู้ ่วยท่ยี นื ยนั ผล 11. โรคทางเดินหายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง หรอื โรคซารส์ (Severe Acute Respiratory Syndrome - SARS) ✚ ประเภทผปู้ ว่ ย 1. ผ้ปู ว่ ยทสี่ งสัยจ�ำ แนกเป็นสองกรณีดงั น้ี 1.1 ผู้ปว่ ยสงสยั ที่มีไขม้ ากกวา่ 38 องศาเซลเซยี ส ร่วมกับไอ หายใจเหนอ่ื ย หรือหายใจลำ�บาก และ มปี ระวัติอย่างใดอย่างหนึ่งตอ่ ไปน้ี - มปี ระวัตใิ กลช้ ิดกับผูป้ ่วยทส่ี งสยั การติดเชอ้ื SARS หรือ - มปี ระวตั ิเดนิ ทางไปประเทศทีม่ ีการระบาดของโรค SARS หรอื - อาศยั อยู่ในพ้นื ทที่ ีม่ กี ารระบาดของโรค SARS 28

1.2 ผู้ท่ีเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันที่หาสาเหตุไม่ได้ ร่วมกับมีประวัติอย่างใด อย่างหน่งึ ตอ่ ไปน้ี - มปี ระวตั ใิ กล้ชดิ กับผู้ปว่ ยทีส่ งสัยการติดเชอื้ SARS หรอื - มีประวัติเดนิ ทางไปประเทศที่มกี ารระบาดของโรค SARS หรอื - อาศยั อยใู่ นพ้ืนที่ท่ีมกี ารระบาดของโรค SARS 2. ผู้ป่วยเข้าขา่ ย หมายถึง ผูท้ ่เี ขา้ ได้กับเกณฑ์อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตอ่ ไปน้ี 2.1 ผู้ป่วยสงสัย SARS ท่ีมีผลการตรวจเอกซเรย์ปอดพบว่ามีลักษณะเข้าได้กับการติดเช้ือในปอด (pneumonia) หรือ pneumonia ร่วมกับมีภาวะระบบหายใจลม้ เหลว (respiratory distress syndrome: RDS) 2.2 ผู้ป่วยสงสยั ทเี่ สยี ชวี ิต รว่ มกบั มผี ลการชนั สูตรพยาธสิ ภาพของโรคเข้าได้กบั ภาวะ RDS โดยหา สาเหตอุ ่ืนๆ ไม่ได้ 3. ผ้ปู ่วยยนื ยนั หมายถงึ ผปู้ ว่ ยสงสยั SARS ท่มี ผี ลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหผ้ ลบวกต่อเชือ้ SARS coronavirus อยา่ งนอ้ ยหน่งึ วิธตี อ่ ไปนี้ 3.1 ตรวจพบสารพันธกุ รรมของเชอื้ ไวรสั ด้วยวิธี PCR ตามเงื่อนไขอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งต่อไปนี้ - ตรวจพบจากตวั อย่างท่ตี ่างกนั อย่างน้อย 2 ชนิด เชน่ จากสารคัดหล่งั ในโพรงจมูก และ จากอจุ จาระเป็นต้น หรือ - ตรวจพบจากตัวอยา่ งชนิดเดยี วกนั แต่เก็บหา่ งกนั อยา่ งน้อยสองวนั 3.2 ตรวจพบภมู คิ ุ้มกันต่อเช้อื SARS (Seroconversion by ELISA or IFA) ด้วยเง่ือนไขอยา่ งหนง่ึ ต่อไปนี้ : - ตรวจไม่พบภมู ิคมุ้ กันจากการเจาะตวั อยา่ งครงั้ แรก และตรวจพบภูมิค้มุ กนั ในตวั อยา่ งทีส่ อง ทเ่ี กบ็ ห่างกันอยา่ งน้อย 14 วนั - พบการเพม่ิ ขึ้นของระดับภมู ิค้มุ กนั ตอ่ เชอ้ื SARS อยา่ งนอ้ ย 4 เท่าในตวั อย่างท่เี ก็บหา่ งกัน อยา่ งนอ้ ย 14 วัน 3.3 ตรวจพบเช้ือไวรัส SARS จากการเพาะเช้อื (Virus isolation) ร่วมกบั การยนื ยันด้วยวธิ ี PCR จาก ห้องปฏิบตั กิ ารท่ีไดก้ ารรบั รองมาตรฐาน ✚ การรายงานผู้ปว่ ยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานผปู้ ่วยสงสัย 29

12. โรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง หรอื โรคเมอรส์ (Middle East Respiratory Syndrome - MERS) ✚ ประเภทผ้ปู ว่ ย 1. ผปู้ ่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวงั และตอ้ งด�ำ เนินการสอบสวนโรค (Patients under investigated: PUI) กรณที ่ี 1 ผูป้ ่วยติดเชื้อระบบทางเดินหายใจสว่ นบน ไดแ้ ก่ ผู้ทีม่ อี าการตดิ เชอ้ื ทางเดินหายใจส่วนบน (ไอ น�้ำ มกู เจบ็ คอ เปน็ ตน้ ) และมปี ระวตั เิ ดนิ ทางมาจากพนื้ ทที่ พ่ี บผปู้ ว่ ยในชว่ งเวลา 14 วนั กอ่ นวนั เรมิ่ ปว่ ย และมีลักษณะ อย่างใดอย่างหน่ึงต่อไปน้ี มีอุณหภูมิกายมากกว่าหรือเท่ากับ 38 องศาเซลเซียส หรือ มปี ระวตั เิ ขา้ รบั บรกิ ารในโรงพยาบาลในพน้ื ทเี่ สย่ี งในชว่ ง 14 วนั กอ่ นวนั เรม่ิ ปว่ ย หรอื สมั ผสั อฐู หรอื ดมื่ นมอฐู ในชว่ ง 14 วันก่อนวันเริ่มปว่ ย หรือสมั ผสั ใกล้ชดิ กบั ผู้ปว่ ยโรคทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง ในช่วง 14 วนั ก่อนวนั เรมิ่ ป่วย กรณีท่ี 2 ผู้ป่วยปอดบวมที่มีประวัติเสี่ยง หมายถึง ผู้ป่วยปอดบวมที่มีประวัติอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั ตอ่ ไปนใ้ี นชว่ งเวลา 14 วนั กอ่ นวนั เรมิ่ ปว่ ย ไดแ้ ก่ อาศยั หรอื เดนิ ทาง หรอื เปน็ ผสู้ มั ผสั ของผทู้ เี่ ดนิ ทางจาก พื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยปอดบวม หรอื เจา้ หน้าทหี่ อ้ งปฏิบตั ิการทตี่ รวจตวั อยา่ งจากระบบทางเดินหายใจ หรือผูส้ มั ผสั ใกลช้ ดิ “ผู้ป่วยเข้าขา่ ย” หรือ “ผู้ป่วยยืนยัน” ติดเชื้อทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือผู้ป่วยปอดบวมที่เกิดเป็นกลุ่มก้อน (พบผู้ป่วยตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป) ในชุมชนหรือท่ีทำ�งานเดียวกัน หรือมีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา ในผปู้ ่วยทงั้ 4 กลมุ่ นีถ้ ้าตรวจพบเช้ือสาเหตุอื่นๆ แล้ว แต่ไมต่ อบสนองต่อการรักษาเช้อื ดังกล่าว ต้องส่ง ตรวจหาเชอ้ื ไวรสั โรคทางเดนิ หายใจตะวันออกกลาง กรณีท่ี 3 ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรง หรือภาวะระบบทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome: ARDS) ท่ีไม่ทราบเช้ือสาเหตุ (ปอดบวมรนุ แรง หมายถึงผปู้ ว่ ยปอดบวม ทตี่ ้องใสเ่ ครอ่ื งช่วยหายใจ) ถงึ แม้ไม่มีประวตั ิเส่ยี งก็ตาม หมายเหตุ ประเทศในตะวนั ออกกลาง ไดแ้ ก่ บาหเ์ รน อยี ิปต์ อหิ รา่ น ตุรกี อิรกั อิสราเอล จอรแ์ ดน คูเวต เลบานอน โอมาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบยี ซเี รีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เยเมน และดนิ แดนปาเลสไตน์ (เวสตแ์ บงค์ และฉนวนกาซา) 2. ผู้ป่วยน่าจะเปน็ (Probable case) แบ่งออกเปน็ 3 กรณี : กรณที ่ี 1 ผปู้ ่วยปอดบวม หรอื ภาวะระบบทางเดนิ หายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome: ARDS) ซ่งึ มีประวัติอาศัยอยหู่ รอื เดนิ ทางไปประเทศแถบตะวนั ออกกลางทม่ี รี ายงาน การระบาดโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง ในชว่ ง 14 วนั ก่อนวันเร่ิมป่วย รว่ มกับมผี ลการตรวจท่ีไม่ สามารถสรปุ ผลได้ (inconclusive tests) (เช่น ตรวจ PCR ใหผ้ ลบวกเพียงชดุ เดียว) 30

กรณีที่ 2 ผู้ปว่ ยปอดบวม หรือภาวะระบบทางเดนิ หายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome: ARDS) ซ่ึงมีประวัตสิ มั ผัสใกล้ชดิ กับผู้ปว่ ยยืนยันโรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง รว่ มกับไม่มีผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ หรอื ผลการตรวจหาเชอ้ื MERS-CoV ให้ผลลบ จากการตรวจ เพยี ง 1 คร้งั โดยเกบ็ ตวั อยา่ งท่ไี มเ่ หมาะสมหรอื ด้อยคณุ ภาพ กรณีที่ 3 ผู้ป่วยที่มีอาการของการติดเช้ือระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน (ไม่ว่าจะเป็นอาการของ ระบบทางเดินหายใจส่วนบนหรือส่วนล่าง) ซ่ึงมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันโรคทางเดินหายใจ ตะวันออกกลาง รว่ มกับมผี ลการตรวจท่ไี ม่สามารถสรุปผลได้ (เช่น ตรวจ PCR ใหผ้ ลบวกเพยี งชุดเดยี ว) 3. ผปู้ ว่ ยยนื ยนั (Confirmed case) หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทมี่ ผี ลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารยนื ยนั ดว้ ยวธิ ดี งั นี้ 3.1 พบสารพันธุกรรมเช้อื MERS-CoV โดยการตรวจดว้ ยวธิ ขี อ้ ใดข้อหนึ่ง ดังนี้ - วิธี PCR ตรวจหาจีโนมจ�ำ เพาะ (specific genomic target) อย่างนอ้ ย 2 ตำ�แหน่ง - วิธี PCR ตรวจหาจโี นมจำ�เพาะ 1 ตำ�แหน่ง รว่ มกับวิธี DNA sequencing 3.2 ผลการตรวจซีรม่ั คใู่ ห้ผลบวกด้วย 2 วธิ ี คือ การคัดกรองด้วยวิธี ELISA/IFA และการตรวจยืนยัน ดว้ ยวธิ ี neutralization assay (การตรวจดว้ ยวิธที างซโี รโลยไี ม่เหมาะสมสำ�หรบั การตรวจวนิ จิ ฉยั เพอ่ื การรกั ษา หรอื คน้ หาผปู้ ว่ ยทกี่ �ำ ลงั ตดิ เชอ้ื เนอ่ื งจากภมู คิ มุ้ กนั ตอ่ เชอ้ื MERS-CoV จะตรวจพบ ไดอ้ ยา่ งเรว็ สุดในวนั ท่ี 14 - 21 หลังวันที่ผู้ป่วยติดเชอื้ ) ผู้ป่วยคัดออก (Excluded) ผู้ปว่ ยทีข่ อ้ มลู จากการสอบสวนโรคพบวา่ ไม่เข้านยิ ามผ้ปู ว่ ยประเภท ต่างๆ ข้างตน้ หรือการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการไมพ่ บหลกั ฐานการตดิ เชอ้ื หมายเหตุ 1. ส�ำ หรบั ผปู้ ว่ ยยนื ยนั ตอ้ งมผี ลการตรวจเชอ้ื MERS-CoV ใหผ้ ลบวกจากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งนอ้ ย 2 แหง่ ได้แก่ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ร่วมกับห้องปฏบิ ัตกิ ารทีเ่ ปน็ เครอื ข่ายของกระทรวงสาธารณสขุ 2. ตวั อย่างทีไ่ มเ่ หมาะสมหรือดอ้ ยคุณภาพ ไดแ้ ก่ กรณีท่มี เี พียงตัวอยา่ งท่ีไดจ้ ากทางเดนิ หายใจส่วนต้น (เช่น nasopharyngeal swab) โดยทไี่ ม่ได้เก็บตัวอยา่ งจากทางเดนิ หายใจสว่ นล่างมาตรวจด้วย (ส�ำ หรับ กรณที ผี่ ปู้ ่วยมอี าการของระบบทางเดนิ หายใจส่วนล่าง ได้แก่ ผู้ป่วย PUI ในกลมุ่ ที่ 2 และ 3) หรอื ตวั อย่าง ทค่ี ุณภาพต�่ำ เนอ่ื งจากใช้วธิ ีการทไ่ี มเ่ หมาะสมในขณะที่ขนสง่ หรือตัวอย่างท่เี ก็บหา่ งจากวันเริม่ ปว่ ยมากเกินไป จนไม่สามารถแปลผลได้เมอื่ ตรวจไม่พบเชอื้ (ควรเก็บตวั อย่างเร็วทสี่ ดุ ภายใน 3 วนั เม่อื ผู้ปว่ ยเรม่ิ ปรากฏ อาการของโรค หรืออยา่ งชา้ ภายใน 3 - 9 วัน) 3. ผลการตรวจท่ีไม่สามารถสรปุ ผลได้ (Inconclusive tests) หมายถึง ผลการตรวจคัดกรองโดยวธิ ี PCR ให้ผลบวก (หมายถงึ ตรวจเชอื้ MERS-CoV ด้วย probe เพยี งชุดเดยี ว) โดยไมม่ กี ารตรวจยืนยนั โดยวธิ ี PCR อีกครง้ั ด้วย probe ชุดท่ี 2 หรอื ไดต้ รวจ PCR ด้วย probe ชุดท่ี 2 แลว้ ใหผ้ ลลบตอ่ MERS-CoV หรอื ผลการตรวจซีรมั่ ให้ผลบวกในซีรัม่ เดย่ี ว (Evidence of sero-reactivity by a single convalescent serum sample) โดยไม่ไดม้ ผี ลการตรวจโดยวิธี PCR ร่วมด้วย 31

13. วณั โรคดือ้ ยาหลายขนานชนดิ รุนแรงมาก (Extensively drug-resistant tuberculosis: XDR-TB) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผมู้ ีเหตอุ นั ควรสงสัยเป็น XDR-TB หมายถึง กลุ่มผูป้ ว่ ย MDR-TB หรือ pre XDR-TB ตอ่ ไปนี้ 1) กล่มุ ที่ปฏเิ สธการรกั ษา หรอื ไมย่ ินยอมใหม้ ีผูก้ ำ�กับการกนิ ยา 2) กลุ่มทมี่ คี วามเสยี่ งสูงตอ่ การขาดการรกั ษา เช่น โรคจิตเวช/คนเร่ร่อน/ตดิ สรุ าเร้อื รงั /สารเสพตดิ เป็นตน้ 3) กล่มุ ทไี่ ม่ปฏบิ ัตติ ามแผนการรกั ษา เชน่ กินหรอื ฉดี ยาไม่สม่�ำ เสมอ 4) ผปู้ ว่ ยวณั โรคทส่ี มั ผสั ผปู้ ว่ ย XDR-TB ซงึ่ ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยวณั โรคทส่ี มั ผสั กบั ผปู้ ว่ ย XDR-TB ทอี่ ยใู่ นระยะ แพร่เชอื้ จำ�แนกได้ดงั น้ี • ผู้สัมผสั วณั โรครว่ มบ้าน (household contact) หมายถึง บุคคลทีอ่ าศัยอย่รู ว่ มบา้ นกบั ผ้ปู ่วย ถ้านอนห้องเดียวกัน (household intimate) มีโอกาสรับและติดเชื้อสูงมากกว่าผู้ท่ีอาศัยใน บ้านเดยี วกันแต่นอนแยกหอ้ ง (household regular) • ผู้สัมผัสใกล้ชิด (close contact) หมายถึง บุคคลท่ีไม่ใช่ผู้อาศัยร่วมบ้านแต่อยู่ร่วมกันใน พน้ื ทเี่ ฉพาะ เชน่ ท�ำ งานทเ่ี ดยี วกนั ในชว่ งเวลานาน โดยใชเ้ กณฑร์ ะยะเวลาเฉลยี่ วนั ละ 8 ชว่ั โมง หรอื 120 ชวั่ โมง ใน 1 เดือน หมายเหตุ 1) ผู้มีเหตุอันควรสงสัยเป็น XDR-TB ต้องส่งส่ิงส่งตรวจ เพ่ือทดสอบความไวต่อยาแนวที่สอง ทุกราย โดยในขณะท่ีรอผลตรวจให้แยกกักผู้ป่วยในสถานท่ีท่ีโรงพยาบาลกำ�หนดไว้ โดยดำ�เนินการตามหลักการ ป้องกนั และควบคุมการแพร่กระจายเช้ือ ซง่ึ อาจจะเปน็ หอผปู้ ่วยทีแ่ ยกจากหอผู้ป่วยอ่ืน หรือเปน็ พนื้ ที่ทีเ่ หมาะสม 2) การตรวจทดสอบความไวตอ่ ยาแนวทส่ี อง ตามวธิ ที อ่ี งคก์ ารอนามยั โลกรบั รอง ปจั จบุ นั ใชว้ ธิ อี ณชู วี วทิ ยา อาทิเชน่ Line probe assay สำ�หรับทดสอบความไวต่อยาแนวที่สอง (SL-LPA) โดยใชร้ ะยะเวลาตรวจ 2 วนั ทงั้ นรี้ ะยะเวลาในกระบวนการสง่ ตรวจขน้ึ อยกู่ บั การบรหิ ารจดั การ ขอ้ จ�ำ กดั และบรบิ ทของแตล่ ะโรงพยาบาล 3) หากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่าไม่ใช่ XDR-TB แต่เป็น DS-TB, MDR-TB/ pre XDR-TB ให้ดูแลรักษาตามมาตรฐาน และผู้ป่วยต้องให้ความร่วมมือในการรักษา เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยดื้อยาเพ่ิม จนอาจเป็น XDR-TB ได ้ 2. ผู้ป่วยท่ียืนยันการวินิจฉัย XDR-TB หมายถึง ผู้ป่วยวัณโรคท่ีมีการด้ือยา 4 ขนานร่วมกัน ได้แก่ ไอโซไนอะซิด (Isoniazid) ไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ยาในกลมุ่ ฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) แ ละยาในกลุ่มทางเลอื กท่ีสองท่เี ปน็ ยาชนดิ ฉดี (Second - line injectable drugs) ระยะเวลาการแยกกกั และคุมไวส้ ังเกตุ ระยะเวลาการแยกกัก 1) แยกกักผมู้ เี หตุอนั ควรสงสัยระหวา่ งรอผลตรวจความไวตอ่ ยาแนวทีส่ อง การทดสอบความไวต่อยาแนวที่สองเพื่อหา XDR-TB ตรวจโดยวิธีท่ีองค์การอนามัยโลกรับรอง 32

ปัจจุบนั ใช้วธิ อี ณชู วี วทิ ยา Line probe assay (SL-LPA) ใช้ระยะเวลาตรวจ 2 วัน แต่ระยะเวลา ในกระบวนการส่งตรวจขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการ ข้อจำ�กัดและบริบทของแต่ละหน่วยบริการ (ระยะเวลาแยกกกั 2 - 5 วัน) เมือ่ พบผมู้ ีเหตุอันควรสงสัย ตอ้ งรบี ด�ำ เนินการส่งเสมหะตรวจทางห้องปฏิบัติการทันที หากพบว่าเป็นผปู้ ว่ ย XDR-TB ให้รายงานกรมควบคมุ โรคทราบทันที โดยปฏบิ ัตติ าม หลักเกณฑ์ และวิธีการแจ้ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข 2) แยกกกั ผปู้ ว่ ย XDR-TB ดแู ลรักษาผปู้ ว่ ยเข้ารบั การรกั ษาในสถานที่ทก่ี ำ�หนด อย่างน้อย 30 วัน โดยพจิ ารณาจากผลการ ตรวจเสมหะ AFB Smear เปน็ ลบ อย่างนอ้ ย 2 คร้งั ห่างกันอย่างนอ้ ย 7 วนั ติดต่อกัน (ระยะ เวลาแยกกัก 4 - 5 สัปดาห์ ระยะเวลาการคุมไว้สังเกต หลังจากท่ีผู้ป่วยได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อให้สามารถกลับไปรับการรักษา ณ ทพี่ กั อาศยั หรือทีบ่ า้ น ให้เจ้าพนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ คมุ ไว้สังเกต ช่วงท่ีหลัง ให้คุมไว้สังเกตและจำ�กัดการเดินทาง จนครบกำ�หนดการรักษา โดยระยะเวลาการคุม ไว้สงั เกต ใชเ้ กณฑก์ ารพน้ ระยะแพรเ่ ช้ือ ซ่ึงพจิ ารณาจากมผี ลการเพาะเลยี้ งเชอื้ เปน็ ลบอยา่ งน้อย 2 คร้ัง ห่างกันอยา่ งน้อย 30 วัน (sputum culture conversion) (ระยะเวลาการคมุ ไว้สังเกต 2 - 3 เดือน) เม่อื สน้ิ สุดระยะเวลาการคุมไว้สงั เกตแลว้ ให้ทมี สหวิชาชีพดแู ลรกั ษาจนครบก�ำ หนดการรกั ษา ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวังโรค 1. กรณพี บผทู้ เ่ี ปน็ หรอื ผทู้ สี่ งสยั วา่ เปน็ XDR-TB เกดิ ขนึ้ ใหบ้ คุ คลดงั ตอ่ ไปนแี้ จง้ ตอ่ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรค ติดตอ่ (มาตรา 31) • เจ้าบ้านหรอื ผูค้ วบคุมดแู ลบา้ น กรณีเกดิ ข้นึ ในบ้าน • แพทยผ์ ทู้ ำ�การรักษาพยาบาล ผู้รับผดิ ชอบในสถานพยาบาล กรณเี กิดขึน้ ในสถานพยาบาล • ผทู้ �ำ การชนั สตู รหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานทที่ ไี่ ดม้ กี ารชนั สตู ร กรณที ไ่ี ดม้ กี ารชนั สตู รทางการแพทย์ • เจ้าของหรอื ผคู้ วบคมุ สถานประกอบการหรอื สถานทีอ่ นื่ ใด กรณีเกิดขนึ้ ในสถานทน่ี ้นั ๆ เมอื่ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ไดร้ บั แจง้ จากบคุ คลขา้ งตน้ นี้ ใหแ้ จง้ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั / กรุงเทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี และรายงานขอ้ มูลนั้นใหก้ รมควบคมุ โรคทราบโดยเร็ว (มาตรา 32) 2. กรณผี ลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพบวา่ เปน็ XDR-TB ใหห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารทที่ �ำ การตรวจ (อาจเปน็ หอ้ งปฏบิ ตั ิ การของโรงพยาบาล ส�ำ นกั วัณโรค สำ�นักงานป้องกันควบคมุ โรค หรือหอ้ งปฏบิ ตั ิการจากหนว่ ยงานอืน่ ๆ) แจง้ ไปยงั โรงพยาบาลทส่ี ง่ สงิ่ สง่ ตรวจ แจง้ หนว่ ยตระหนกั รสู้ ถานการณ์ (Situation Awareness Team, SAT) และแจ้งสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือเปิดศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรคแห่งชาติ (NOC-TB) เตรียมรับ สถานการณใ์ นจังหวัด โดยสอดคลอ้ งกบั หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารตามพระราชบัญญัตโิ รคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 3. ผปู้ ่วยที่ยนื ยันการวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ XDR-TB ให้โรงพยาบาลที่ตรวจวนิ ิจฉยั และรักษา ข้นึ ทะเบยี นผู้ป่วยใน โปรแกรม TBCM ทุกราย 4. กลุม่ ผู้สัมผัส XDR-TB ทุกรายตอ้ งได้รับการคดั กรอง และบนั ทกึ ขอ้ มูลในโปรแกรม TBCM 33

เรอ่ื ง นิยามการรายงาน โรคติดตอ่ ที่ตอ้ งเฝ้าระวงั พ.ศ. 2560 1. กามโรคของต่อมและทอ่ นำ้�เหลอื ง (Lymphogranuloma Venereum หรือ GranulomaInguinale) ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผปู้ ่วยท่สี งสัย หมายถงึ ผูท้ ี่มีประวตั เิ ส่ยี งต่อโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์* และไม่มแี ผลติดเชอ้ื บริเวณขา เท้าหรือทวารหนัก ร่วมกับมีต่อมนำ้�เหลืองในบริเวณขาหนีบบวมโตหรือเป็นฝีหนองอาจมีประวัติแผลเล็กๆ ตืน้ ๆ ซึง่ หายเองไดโ้ ดยไมไ่ ดท้ ำ�การรกั ษา 2. ผู้ป่วยท่เี ขา้ ขา่ ย ไมม่ ี 3. ผ้ปู ่วยทีย่ ืนยนั ผล หมายถึง ผูป้ ่วยที่สงสยั รว่ มกบั เก็บสงิ่ สง่ ตรวจท่ีเกบ็ จากรอยโรค (แผล) หนองทด่ี ูดฝี หรือทวารหนัก ตรวจพบข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปน้ี (การตรวจทางห้องปฏิบัติการทำ�ได้ยาก และไม่เป็นที่ แพรห่ ลาย) • Complement fixation titers >1:64 • Microimmunofluorescencetiters >1:256 • Direct immunofluorescence ใหผ้ ลบวกต่อ C. trachomatis • Cell culture จากฝีหนองพบ C. trachomatis • PCR หรือ LCR หรอื TMA จากฝหี นองเยอื่ บทุ วารหนักใหผ้ ลบวกต่อ C. trachomatis หมายเหตุ มปี ระวัติเส่ียงต่อโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธห์ มายถึง การท่ีผูป้ ่วยผูต้ ิดเชื้อหรือค่เู พศสัมพนั ธ์ 1) มีกรณีใดกรณีหนึ่งได้แก่มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คนขึ้นไป, มีคู่เพศสัมพันธ์ที่ไม่รู้จักกันมาก่อน (anonymous sex partners), มคี เู่ พศสมั พนั ธค์ นใหม,่ เปลยี่ นคเู่ พศสมั พนั ธบ์ อ่ ย, มคี เู่ พศสมั พนั ธท์ มี่ อี าการ ทเี่ ก่ยี วข้องกับโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธห์ รือเปน็ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธม์ คี ่เู พศสัมพนั ธ์เป็นหญงิ หรือชาย ใหบ้ ริการทางเพศในช่วง 3 เดอื นที่ผ่านมาหรอื อาจนานกวา่ น้ใี นบางโรคทม่ี ีระยะฟกั ตัวนานและ 2) มีเพศสัมพันธ์ในกรณีดังกล่าวโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง หรือถุงยางอนามัยแตกร่ัว หลุด ในชอ่ งทางใดชอ่ งทางหนงึ่ ทใี่ ชใ้ นการมเี พศสมั พันธ์ เชน่ อวยั วะเพศ ทวารหนัก ชอ่ งปาก เปน็ ต้น ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค ใหร้ ายงานต้งั แต่ผู้ป่วยทีส่ งสัย 34

2. ไข้กาฬหลังแอน่ (Meningococcal meningitis): ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ ม่ี อี าการตามเกณฑท์ างคลนิ กิ ไดแ้ ก่ มไี ขอ้ าจมปี วดศรี ษะ อาเจยี น รว่ มกบั อย่างน้อยหนง่ึ อาการ ดังต่อไปน้ี 1) มีอาการระคายเคืองของเย้อื หุ้มสมอง เช่น คอแข็ง 2) ซึม อาจพบ อาการชัก ตรวจรา่ งกายระดบั ความรสู้ กึ อาจปกติจนถงึ โคมา่ 3) จ�้ำ เลอื ดตามผิดหนังชนิดรนุ แรง (purpura fulminant) 2. ผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั และพบลกั ษณะอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ขอ้ จากตวั อยา่ งน�้ำ ไขสนั หลงั ดงั น้ี - ตรวจพบ WBC >100 จนถึงหลายพันตัว - CSF sugar น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ blood sugar - โปรตีน มากกว่าหรอื เท่ากบั 50 mg% - ยอ้ มสแี กรมจากเชือ้ ทเ่ี พาะได้จาก เลอื ดน้ำ�ไขสนั หลงั พบ gram negative diplococcic 3. ผ้ปู ่วยที่ยนื ยนั หมายถงึ ผู้ป่วยทส่ี งสยั และและพบลักษณะอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ขอ้ ดังนี้ - เพาะเชือ้ Nesseria meningitides จากเลือด นำ้�ไขสนั หลงั เพ่อื หาเชื้อแบคทีเรยี โดยใช้ Blood agar หรอื Chocolate agar - ตรวจน�้ำ เหลอื งน�้ำ ไขสนั หลงั ดว้ ยวธิ ี Latex agglutination ใหผ้ ลบวก ส�ำ หรบั เชอ้ื meningococcemia - ตรวจ CSF ดว้ ยวิธี PCR ใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผ้ปู ่วยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ให้รายงานตั้งแต่ผปู้ ว่ ยทส่ี งสัย 3. ไขด้ ำ�แดง (Scarlet fever) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผปู้ ว่ ยท่ีสงสยั หมายถึง ผทู้ ี่มอี าการตามเกณฑ์ทางคลนิ ิก ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยท่มี ีไข้ เจ็บคอ ปวดศีรษะ รว่ มกบั มผี น่ื ละเอยี ดสแี ดง สมั ผสั แลว้ มลี กั ษณะคลา้ ยกระดาษทรายบรเิ วณล�ำ คอ รกั แร้ ตามตวั และแขนขา มีปนื้ ขาวทล่ี ้นิ หรอื ล้ินมลี ักษณะบวมแดงคล้ายผลสตรอว์เบอรร์ ่ี (strawberry tongue) 2. ผู้ป่วยท่เี ข้าข่าย หมายถงึ ผู้ป่วยทส่ี งสยั ร่วมกับมีข้อมลู ทางระบาดวทิ ยาเชื่อมโยงกบั ผู้ป่วยทย่ี ืนยนั 3. ผปู้ ่วยท่ียืนยนั ผล หมายถึง ผู้ปว่ ยทส่ี งสัยรว่ มกบั ผลตรวจยืนยนั ทางหอ้ งปฏบิ ัติการพบเชือ้ “สเตรปโตคอ็ กคัส กล่มุ เอ” (group A streptococcus) หรอื “สเตรปโตค็อกคสั ไพโอจนี ัส” (Streptococcus pyogenes) ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานตง้ั แต่ผู้ป่วยทีส่ งสยั 35

4. ไขเ้ ด็งก่ี (Dengue Fever) ไขเ้ ด็งกี่ (Dengue Fever) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผปู้ ่วยท่ีสงสยั หมายถงึ ผูท้ ี่มีไข้เฉียบพลัน ร่วมกบั อาการอ่นื ๆ อย่างน้อย 2 อาการ ตอ่ ไปนี ้ ปวดศรี ษะอย่างรุนแรง ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเน้อื ปวดกระดูกหรือขอ้ ตอ่ มีผ่นื มีอาการเลอื ดออก tourniquet test ใหผ้ ลบวก 2. ผปู้ ว่ ยท่เี ขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทสี่ งสัย และพบลกั ษณะอยา่ งน้อยหนึ่งข้อ ดงั นี้ - มีผลการตรวจเลือดทวั่ ไปของไข้เดง็ ก่ีคือ ผลการตรวจ Complete Blood Count (CBC) พบมี จำ�นวนเม็ดเลอื ดขาว ≤ 5,000 เซล/ลูกบาศกม์ ลิ ลเิ มตร) และพบสดั ส่วน lymphocyte สูง - มีผลการเช่ือมโยงทางระบาดวิทยากับผู้ป่วยรายอ่ืนๆ ที่มีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ จำ�เพาะ 3. ผปู้ ่วยทีย่ ืนยัน หมายถงึ ผู้ป่วยท่สี งสัยร่วมกับตรวจพบขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ดงั นี้ - ตรวจพบเชื้อไดจ้ ากเลือดในระยะไข้ โดยใช้วิธี PCR หรือการแยกเชือ้ - ตรวจพบแอนตบิ อดีจ�ำ เพาะต่อเชอื้ ในนำ�้ เหลืองคู่ (paired sera) ดว้ ยวิธี Hemagglutination Inhibition (HI) ≥ 4 เทา่ หรือถ้าน้�ำ เหลอื งเด่ยี ว ตอ้ งพบภมู ิคมุ้ กัน >1:1,280 - ตรวจพบภูมิคุม้ กันชนดิ IgM ≥ 40 ยูนติ หรือการเพมิ่ ขึ้นของ IgG อยา่ งมนี ัยส�ำ คญั โดยวิธี Enzyme Immuno Assay (EIA) ไข้เลือดออกเด็งก่ี (Dengue Hemorrhagic Fever) ✚ ประเภทผปู้ ่วย 1. ผู้ป่วยทสี่ งสัย หมายถึง ผู้ทมี่ ไี ขเ้ ฉียบพลนั และ tourniquet test ให้ผลบวก (ตรวจพบจดุ เลอื ดออก เทา่ กบั หรอื มากกวา่ 10 จดุ ตอ่ ตารางนวิ้ ถอื วา่ ใหผ้ ลบวก) รว่ มกบั มลี กั ษณะทบี่ ง่ บอกถงึ การรว่ั ของ plasma และอาการอื่นๆ อย่างน้อย 1 อาการ ต่อไปนี้ ปวดศีรษะอยา่ งรนุ แรงปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูกหรือขอ้ ตอ่ มผี นื่ มีอาการเลือดออก ตับโตมักกดเจบ็ 2. ผ้ปู ่วยท่ีเขา้ ข่าย หมายถึง ผ้ปู ว่ ยที่สงสัย และพบลักษณะอยา่ งน้อยหนึง่ ขอ้ ดงั นี้ - มผี ลการตรวจเลอื ดทวั่ ไปของไขเ้ ลอื ดออกเดง็ กแ่ี ละหลกั ฐานการรวั่ ของ plasma คอื ผลการตรวจ Complete Blood Count (CBC) พบมจี ำ�นวนเมด็ เลือดขาว ≤ 5,000 เซล/ลูกบาศก์มิลลเิ มตร) และพบสัดส่วน lymphocyte สูงและมีเกลด็ เลอื ด ≤ 100,000 เซล/ลูกบาศก์มิลลิเมตร - มีผลการเชื่อมโยงทางระบาดวิทยากับผู้ป่วยรายอื่นๆ ท่ีมีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ จำ�เพาะ 36

3. ผปู้ ่วยทยี่ นื ยนั หมายถึง ผปู้ ว่ ยทสี่ งสยั รว่ มกับตรวจพบขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ดงั น้ี - ตรวจพบเช้อื ไดจ้ ากเลือดในระยะไข้ โดยใช้วธิ ี PCR หรือการแยกเชื้อ - ตรวจพบแอนตบิ อดีจ�ำ เพาะต่อเช้ือในนำ้�เหลืองคู่ (paired sera) ด้วยวธิ ี Hemagglutination Inhibition (HI) ≥ 4 เทา่ หรือถ้าน�ำ้ เหลอื งเด่ยี ว ต้องพบภมู คิ ุ้มกัน >1:1,280 - ตรวจพบภมู คิ ้มุ กนั ชนดิ IgM ≥ 40 ยูนิต หรอื การเพ่มิ ขน้ึ ของ IgG อย่างมนี ัยสำ�คัญโดยวิธี Enzyme Immuno Assay (EIA) ไขเ้ ลือดออกชอ็ กเดง็ กี่ (Dengue Shock syndrome) ✚ ประเภทผู้ป่วย ผ้ปู ่วยไขเ้ ลอื ดออกทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงทางระบบไหลเวียนโลหติ หรอื มีภาวะความดนั โลหิตลดตำ�่ ลง ✚ การรายงานผ้ปู ่วยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานต้งั แตผ่ ูป้ ่วยทเี่ ข้าขา่ ย 5. ไข้ปวดขอ้ ยงุ ลาย (Chikungunya fever) ✚ ประเภทผปู้ ่วย 1. ผปู้ ่วยที่สงสัย หมายถงึ ผทู้ ี่มไี ข้สงู มผี นื่ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดกู หรือข้อ ปวดกระบอกตา และ มีเลอื ดออกตามผิวหนัง 2. ผู้ปว่ ยที่เข้าข่าย หมายถึง ผปู้ ่วยทสี่ งสยั รว่ มกับมีลักษณะอย่างใดอยา่ งหน่ึงดงั นี้ - มีผลการตรวจเลอื ดท่วั ไป ไดแ้ ก่ Complete Blood Count (CBC) อาจมจี �ำ นวนเม็ดเลอื ดขาวต�ำ่ , เกรด็ เลือดปกติ ซ่ึงสามารถแยกจากไข้เด็งก่ีได้ - มีขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยาเชอ่ื มโยงกบั ผปู้ ่วยที่ยนื ยันผล 3. ผปู้ ว่ ยท่ยี นื ยันผล หมายถึง ผูป้ ว่ ยทีส่ งสยั รว่ มกบั ตรวจพบข้อใดข้อหนึง่ ดังน้ี - ตรวจพบแอนติบอดจี ำ�เพาะตอ่ เชอื้ ในน�ำ้ เหลอื งคู่ (paired sera) ด้วยวธิ ี Haemagglutination Inhibition (HI) >4 เทา่ หรอื ถา้ น้ำ�เหลอื งเดี่ยวน้นั ตอ้ งพบภมู คิ ุ้มกัน >1: 1,280 - ตรวจพบภมู ิค้มุ กนั ชนดิ IgM โดยวิธี ELISA - ตรวจพบเชื้อได้จากเลอื ดโดยวธิ ี PCR หรือการแยกเช้อื (culture) ✚ การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ใหร้ ายงานต้ังแต่ผู้ปว่ ยท่เี ขา้ ขา่ ย 37

6. ไขม้ าลาเรยี (Malaria) ✚ ประเภทผ้ปู ว่ ย มาลาเรยี เปน็ โรคหนงึ่ ทอ่ี งคก์ ารอนามยั โลกรว่ มกบั ประเทศสมาชกิ มเี ปา้ หมายมงุ่ สกู่ ารก�ำ จดั โรคมาลาเรยี ใหห้ มดไปในอนาคต ดงั นนั้ นยิ ามผปู้ ่วยจึงแบง่ เปน็ สองส่วน คอื ผ้ปู ว่ ยที่มอี าการและผลทางหอ้ งปฏิบัติการ ยืนยนั และผ้ตู ิดเช้อื ไม่มอี าการ 1. ผปู้ ว่ ยยนื ยนั หมายถงึ ผทู้ ม่ี อี าการเขา้ ไดก้ บั เกณฑท์ างคลนิ กิ และมผี ลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเปน็ บวก อยา่ งนอ้ ย 1 ขอ้ ดังน้ี - เกณฑท์ างคลนิ กิ ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการไข้ รว่ มกบั มปี ระวตั เิ ดนิ ทางเขา้ ปา่ หรอื แหลง่ ทมี่ กี ารรายงาน ของโรคมาลาเรยี หรอื มปี ระวตั ริ ับเลอื ด ในระยะ 2 สปั ดาห์ถึง 2 สองเดอื นก่อนมีอาการป่วย รว่ มกบั มอี าการอยา่ งใดอย่างหน่ึงต่อไปนี้ • ตับ หรอื มา้ มโต • หนาวสน่ั • คลืน่ ไส้ อาเจยี น • ตาเหลือง • ซดี - เกณฑ์ทางห้องปฏบิ ัตกิ าร ไดแ้ ก่ ผ้ปู ว่ ยทมี่ ีผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารให้ผลบวกข้อใดขอ้ หน่งึ ต่อไปน้ี • การตรวจ Thick หรอื Thin film พบเช้อื มาลาเรยี ในเลอื ดจากกล้องจุลทรรศน์ • การตรวจพบสารพันธุกรรมของเช้ือมาลาเรียในกระแสเลือดด้วยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) 2. ผู้ตดิ เชอื้ ไมแ่ สดงอาการ ได้แก่ผ้ทู ่ีไมม่ ีอาการป่วย แตม่ ีผลการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ใหร้ ายงานทั้งผ้ปู ว่ ยยืนยนั และผตู้ ดิ เชื้อไมแ่ สดงอาการ 7. ไข้ไม่ทราบสาเหตุ (Pyrexia of Unknown origin หรอื Fever of Unknown Origin) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผปู้ ่วยทีส่ งสยั หมายถึง ผทู้ ี่มีอาการตามเกณฑท์ างคลนิ กิ ได้แก่ ผู้ทม่ี ไี ข้ >38.3 ํC วดั หลายคร้งั ทาง รกั แร้ โดยเกดิ ขน้ึ อยา่ งฉบั พลนั นานอยา่ งนอ้ ย 7 วนั โดยหลงั จากซกั ประวตั กิ ารเจบ็ ปว่ ยและตรวจรา่ งกายแลว้ ไม่สามารถอธิบายสาเหตุของไขไ้ ด้ 38

2. ผ้ปู ว่ ยท่ีเขา้ ข่าย (ไมม่ ี) 3. ผปู้ ว่ ยทย่ี นื ยนั ผล หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั รว่ มกบั มกี ารตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเบอื้ งตน้ แลว้ ยงั ไมส่ ามารถ อธบิ ายสาเหตขุ องไข้ได้ ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ใหร้ ายงานต้งั แต่ผูป้ ว่ ยสงสยั 8. ไข้สมองอักเสบชนิดญี่ปุน่ (Japanese Encephalitis) ✚ ประเภทผปู้ ่วย 1. ผปู้ ว่ ยท่ีสงสยั หมายถึง ผูท้ มี่ ีไข้ อาจจะสูงหรอื ต่ำ�กไ็ ด้ และมกี ารเปลี่ยนแปลงทางระดบั ความรู้สกึ ตวั อาจมีชัก 2. ผปู้ ่วยที่เขา้ ข่าย (ไม่ม)ี 3. ผปู้ ว่ ยที่ยนื ยันผล หมายถึง ผู้ป่วยทสี่ งสัยรว่ มกบั ตรวจพบขอ้ ใดข้อหนง่ึ ดังนี้ - JE IgM ใน CSF >40 unit (โดยวิธEี LISA) - JE IgM ใน serum >40 unit และอัตราส่วนระหว่าง JE IgM/Dengue IgM >1 (โดยวิธี ELISA) ✚ การรายงานผ้ปู ่วยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ให้รายงานผปู้ ว่ ยทย่ี ืนยันผล 9. ไขส้ มองอกั เสบไม่ระบุเช้อื สาเหตุ (Unspecified encephalitis) ✚ ประเภทผปู้ ว่ ย 1. ผปู้ ่วยที่สงสยั หมายถงึ ผู้ทีม่ ีไข้ อาจจะสูงหรอื ต่ำ�ก็ได้ และมกี ารเปล่ียนแปลงทางระดบั ความรสู้ ึกตัว อาจมีชัก 2. ผ้ปู ่วยที่เขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผูป้ ว่ ยท่ีสงสัยร่วมกับมีขอ้ มลู ทางระบาดวิทยาเชอ่ื มโยงกบั ผปู้ ว่ ยท่ยี ืนยันผล 3. ผปู้ ่วยที่ยนื ยนั ผล หมายถึง ผ้ปู ่วยทสี่ งสยั ร่วมกับเกณฑ์ทางห้องปฏิบตั กิ ารจ�ำ เพาะ ได้แก่ การตรวจ เพาะเชื้อ การตรวจภมู ิคุ้มกันวทิ ยา หรอื การตรวจหาด้วยเทคนคิ อณชู ีวโมเลกลุ ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานต้งั แต่ผู้ป่วยท่สี งสัย 39

10. ไขห้ วัดนก (Avian Influenza) ✚ ประเภทผูป้ ว่ ย 1. ผูป้ ว่ ยท่สี งสยั หมายถึง ผ้ปู ว่ ยที่มลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1.1 ผปู้ ่วยท่ีมไี ข้ มากกวา่ เท่ากบั 38 องศาเซลเซยี ส ร่วมกับอาการใดอาการหน่ึง ดงั ต่อไปนี้ ไอ ปวดกล้ามเนอื้ หายใจผดิ ปกติ (หอบเหน่ือย หรือหายใจลําบาก) หรอื 1.2 แพทย์สงสยั ว่าเป็นปอดบวม หรอื ไข้หวัดนก และมปี ระวตั ิเส่ยี งอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ดงั นี้ • ชว่ ง 14 วันกอ่ นป่วยไดม้ กี ารสัมผัสกบั สัตว์ปีก • ชว่ ง 14 วนั กอ่ นปว่ ยไดอ้ าศยั อย่ใู นพื้นท่ที ่ีมีสัตว์ปกี ตายมากผิดปกติ หรอื พบเชอื้ ในสัตว์ปีก หรือสิง่ แวดล้อม • ช่วง 14 วนั กอ่ นปว่ ยไดอ้ าศยั อยู่หรอื เดินทางมาจากพนื้ ท่ที ่ีมกี ารระบาดของไข้หวดั นก • ช่วง 14 วันก่อนป่วยไดด้ แู ล หรอื สัมผัสใกล้ชดิ กับผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวดั ใหญ่หรอื ปอดอกั เสบ 1.3 เปน็ ผปู้ ่วยปอดอกั เสบรุนแรง หรอื เสียชวี ิตทีห่ าสาเหตไุ มไ่ ด้ 1.4 เปน็ ผ้ปู ่วยปอดอกั เสบในบุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ หรือเจา้ หนา้ ท่ีห้องปฏบิ ัติการ 1.5 เป็นผู้ปว่ ยปอดอักเสบเป็นกลมุ่ กอ้ น 2. ผปู้ ่วยที่เขา้ ข่าย หมายถงึ ผู้ป่วยสงสัยที่มีการหายใจลม้ เหลว (respiratory failure) หรือเสียชวี ิต 3. ผู้ปว่ ยท่ียืนยนั ตดิ เชอ้ื ไขห้ วัดนก เชน่ H5 หรือ H7 หมายถงึ ผูป้ ่วยสงสัยท่มี ผี ลการตรวจสุดท้าย ตามมาตรฐานหอ้ งปฏิบัตกิ ารดว้ ยวิธใี ดวธิ ีหนงึ่ ดังต่อไปนี้ 3.1 ตรวจพบสารพันธกุ รรมของเชอ้ื ไข้หวัดนก ด้วยวิธี RT-PCR ในสง่ิ ส่งตรวจตัวอย่างเดียวแต่ต้องใช้ primer หรอื probe จาํ นวน 2 ชดุ หรอื ตรวจจากส่ิงสง่ ตรวจอยา่ งนอ้ ย 2 ตวั อย่าง ที่เกบ็ จาก ผปู้ ว่ ยทตี่ าํ แหนง่ แตกต่างกัน (เชน่ throat swab กับ nasopharyngeal aspirate) หรือตรวจจาก สง่ิ ส่งตรวจอยา่ งนอ้ ย 2 ตวั อยา่ งทเี่ ก็บจากผูป้ ่วยในชว่ งเวลาทแ่ี ตกตา่ งกัน 3.2 เพาะเช้ือไวรสั ไขห้ วัดนกได้ 3.3 ตรวจซรี ั่มคู่ให้ผลบวกด้วยวิธี Micro neutralization test พบระดับภูมคิ มุ้ กนั จากเลอื ดในระยะ พกั ฟน้ื สงู ขนึ้ 4 เทา่ จากระดบั ในระยะเฉยี บพลนั (การตรวจดว้ ยวธิ ที างซโี รโลยไี มเ่ หมาะสมส�ำ หรบั การตรวจวินิจฉัยเพ่ือการรักษาหรือค้นหาผู้ป่วยท่ีก�ำ ลังติดเชื้อเนื่องจากภูมิคุ้มกันต่อเช้ือไข้หวัดนก จะตรวจพบได้อยา่ งเรว็ สุดในวันที่ 14 - 21 หลังวนั ทผ่ี ู้ปว่ ยตดิ เชอ้ื ) ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค ใหร้ ายงานตงั้ แต่ผู้ป่วยทีส่ งสยั และนำ�มาจ�ำ แนกเปน็ - Patient Under Investigation (PUI) หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทยี่ งั ตอ้ งหาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ทงั้ ทางคลนิ กิ และ/ หรอื ประวตั ิการสมั ผัสปจั จยั เส่ียงในพืน้ ทีแ่ ละ/หรือผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ก่อนท่จี ะสามารถ สรปุ จาํ แนกประเภทผู้ปว่ ยไดช้ ัดเจน - Excluded หมายถงึ ผปู้ ่วยทจี่ ากการสอบสวนโรคพบว่า ไมเ่ ขา้ นยิ ามผปู้ ว่ ยประเภทตา่ งๆ ข้างตน้ 40

11. ไขห้ วัดใหญ่ (Influenza) ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ ม่ี ไี ข้ (>38 ํc) และปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอื้ รว่ มกบั อาการอน่ื อยา่ งนอ้ ยหนง่ึ อาการ ดังต่อไปนี้ ปวดศรี ษะ ไอรุนแรง เจ็บคอ อ่อนเพลยี คัดจมกู เย่ือบุตาอกั เสบ 2. ผู้ป่วยทีเ่ ขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ว่ ยท่ีสงสยั ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวทิ ยาเชอ่ื มโยงกบั ผู้ปว่ ยท่ยี ืนยัน 3. ผูป้ ว่ ยที่ยนื ยนั ผล หมายถึง ผปู้ ่วยสงสัยท่มี ีผลการตรวจสุดทา้ ยตามมาตรฐานห้องปฏบิ ตั ิการพบด้วย วธิ ีใดวิธหี นง่ึ ดงั ต่อไปน้ี 3.1 วธิ ี RT-PCR โดยพบสารพนั ธุกรรมของเชือ้ ไวรสั ไข้หวัดใหญ่ 3.2 เพาะเชอ้ื ไวรัสไข้หวัดใหญไ่ ด้ 3.3 ตรวจซีรัม่ คใู่ ห้ผลบวกด้วยวิธี Hemagglutination Inhibition assay (HI assay) โดยพบระดับ ภมู คิ ้มุ กันจากเลอื ดในระยะพักฟ้นื สงู ขึน้ 4 เท่าจากระดบั ในระยะเฉยี บพลัน ✚ การรายงานผ้ปู ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานต้ังแต่ผปู้ ่วยท่ีสงสัย 12. ไข้หัด (Measles) ✚ ประเภทผู้ปว่ ย 1. ผปู้ ่วยที่สงสยั หมายถึง ผูท้ มี่ อี าการไข้ ผนื่ แดงข้นึ ขณะยังมีไข้ ไอ รว่ มกับอาการอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ตอ่ ไปนี้ ได้แก่ มนี �ำ้ มกู ตาแดง ตรวจรา่ งกายพบ Koplik’s spot หรอื ผูป้ ่วยท่แี พทยส์ งสยั วา่ เปน็ โรคหัด 2. ผปู้ ว่ ยทเ่ี ขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการเขา้ ไดก้ บั ผปู้ ว่ ยทสี่ งสยั และมปี ระวตั เิ ชอ่ื มโยงทางระบาดวทิ ยา กบั ผู้ปว่ ยยืนยนั ไข้หัด 3. ผู้ป่วยทยี่ นื ยนั ผล หมายถึง ผปู้ ่วยทส่ี งสัยร่วมกบั ตรวจพบขอ้ ใดข้อหน่งึ ดงั นี้ - MeaslesspecificIgM ให้ผลบวก - ตรวจพบเชอ้ื จากเลอื ด หรอื สารคดั หล่งั เชน่ นำ้�มูก เสมหะ โดยวิธกี ารเพาะเชื้อ ✚ การรายงานผูป้ ่วยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยพบผู้ป่วยสงสัย และให้เก็บตัวอย่างตรวจยืนยันเพ่ือหาภูมิคุ้มกันชนิด IgM ต่อเช้ือหัดด้วยวิธี ELISA ที่ห้องปฏิบัติการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในผ้ปู ว่ ยสงสยั ทุกราย 41

13. ไข้หดั เยอรมนั (Rubella) ✚ ประเภทผปู้ ่วย 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ มี่ อี าการไขต้ �ำ่ ๆ ผน่ื แดงขนึ้ อยา่ งเฉยี บพลนั รว่ มกบั อาการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ตอ่ ไปนี้ ไดแ้ ก่ - ต่อมน�้ำ เหลืองที่คอ หลงั ศรี ษะ หรอื หลังหูโต - ปวดข้อหรือข้อบวมแดง 2. ผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการเขา้ ไดก้ บั ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั และมปี ระวตั เิ ชอื่ มโยงทางระบาดวทิ ยา กบั ผูป้ ว่ ยยืนยันไข้หดั 3. ผปู้ ว่ ยทย่ี นื ยนั ผล หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั รว่ มกบั ตรวจ Rubela specific IgM ใหผ้ ลบวก (โดยตวั อยา่ ง ควรเก็บภายใน 28 วนั หลงั จากมีผนื่ ข้ึน) ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวังโรค ให้รายงานต้ังแต่ผู้ป่วยสงสัย และให้เก็บตัวอย่างตรวจยืนยันเพื่อหาภูมิคุ้มกันชนิด IgM ต่อ เชื้อหดั เยอรมันด้วยวิธี ELISA ท่ีห้องปฏบิ ตั กิ ารศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ในผปู้ ่วยสงสยั ทุกราย 14. ไขเ้ อนเทอริค (Enteric fever) ✚ ประเภทผูป้ ว่ ย 1. ผปู้ ว่ ยทสี่ งสยั หมายถงึ ผทู้ มี่ อี าการไขล้ อยสงู นานกวา่ 1 สปั ดาห์ รว่ มกบั อาการอน่ื อยา่ งนอ้ ยสองอาการ ดังตอ่ ไปน้ี 1) ปวดศรีษะ 2) เบื่ออาหาร 3) หัวใจอาจเต้นชา้ กวา่ ปกติ (โดยยงั มไี ขส้ งู ) 4) ทอ้ งอดื ทอ้ งผูก ปวดท้อง อาจมีท้องเสียได้ 5) บางรายอาจมีอาการรุนแรง โดยถ่ายเป็นเลือด ซ๊อคเนื่องจากภาวะท่ีมี เลอื ดแขง็ ตัวกระจา่ ยไปทว่ั รา่ งกาย (Disseminated Intravascular Coagulopathy Shock) เยอื่ บชุ อ่ งท้อง อกั เสบจากลำ�ไสท้ ะลุ 6) อาจพบตบั โต ม้ามโต 2. ผปู้ ว่ ยทเ่ี ขา้ ขา่ ย หมายถึง ผู้ป่วยท่สี งสยั และพบลกั ษณะอย่างนอ้ ยหนง่ึ ข้อ ดงั น้ี - ตรวจเลือด CBC พบ WBC ต่ำ�กวา่ 7,000/ลบมม. - Widal test ใหผ้ ลบวก (ควรตรวจหลงั การเริ่มมอี าการ 10 วนั ) 3. ผูป้ ว่ ยท่ียนื ยัน หมายถงึ ผู้ปว่ ยท่สี งสยั รว่ มกบั ผลเพาะเชอื้ จากอจุ จาระ ปัสสาวะ หรอื เลือด พบเชือ้ Salmonela Typhi หรอื Salmonella Paratyphi A หรือ Salmonella Paratyphi B หรอื Salmonela Paratyphi C ✚ การรายงานผปู้ ่วยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ใหร้ ายงานตงั้ แต่ผู้ป่วยท่ีสงสัย 42

15. ไข้เอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ✚ ประเภทผ้ปู ว่ ย 1. ผปู้ ว่ ยท่สี งสยั หมายถงึ ผู้ทม่ี ีอาการตามเกณฑ์ทางคลนิ กิ ไดแ้ ก่ 1.1 ผปู้ ่วยมีไข้ร่วมกับอาการหอบเหนื่อยเฉียบพลนั และมอี าการหรอื อาการแสดงท่ีบ่งชี้การติดเชือ้ ใน ระบบประสาทสว่ นกลาง (CNS infection) อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้ ไดแ้ ก่ ชกั /เกรง็ (seizure/ convulsion) หรอื ตรวจรา่ งกายพบ meningeal sign หรอื encephalitis หรอื สนั่ (tremor) หรอื แขน ขาออ่ นแรง (acute flaccid paralysis) หรอื ตรวจรา่ งกายพบ myoclonic jerk ไมว่ า่ ผปู้ ว่ ย จะมีหรอื ไมม่ อี าการของโรคมอื เท้า ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรอื อาการของโรคแผล ในคอหอย (Herpangina) ซงึ่ ผ้ปู ่วยจะมเี ฉพาะแผลในปากโดยไมม่ ผี นื่ หรอื ตุ่มน้ำ�ที่ฝ่ามือฝ่าเท้า 1.2 ผู้ป่วยมีอาการของโรคมือเท้าปาก (Hand-foot-mouth disease) หรือโรคแผลในคอหอย (Herpangina) รว่ มกบั มีไข้สงู ≥ 39 องศาเซลเซยี ส และมีอาการแสดงอย่างใดอยา่ งหน่งึ ดังต่อไปนี้ ไดแ้ ก่ อาเจียน ท้องเสีย ซมึ หอบเหนอ่ื ย หรืออาการทางระบบประสาทส่วนกลาง (ดังขา้ งต้น) 1.3 ผปู้ ว่ ยมอี าการของโรคมือ เทา้ ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรอื มโี รคแผลในคอหอย (Herpangina) ท่ีไมม่ อี าการรุนแรง (ไมค่ รบตามเกณฑข์ ้อ 1 หรือขอ้ 2) 2. ผู้ปว่ ยทีเ่ ขา้ ข่าย หมายถงึ ผู้ท่มี ีอาการตามเกณฑท์ าง คลินิกและขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยาเชอ่ื มโยงกบั ผู้ปว่ ยทย่ี ืนยัน 3. ผปู้ ว่ ยทย่ี นื ยนั ผล หมายถงึ ผทู้ มี่ อี าการตามเกณฑท์ างคลนิ กิ รว่ มกบั ผลตรวจยนื ยนั ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พบสารพันธกุ รรมตอ่ เชอ้ื ไวรัสเอนเตอโร 71 หรอื ผลการตรวจซรี ั่มคู่ต่างกนั อยา่ งนอ้ ย 4 เทา่ ของระดบั แอนติบอดตี อ่ ไวรสั เอนเตอโร 71 ✚ การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ใหร้ ายงานตั้งแต่ผ้ปู ว่ ยทส่ี งสัย 16. คอตบี (Diphtheria) ✚ ประเภทผู้ป่วย 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสัยหมายถึง ผู้ทีม่ อี าการและอาการแสดงครบทงั้ 3 ขอ้ ดังน้ี - ไข้ - เจบ็ คอ - แผน่ ฝา้ สขี าวปนเทา ตดิ แน่นท่บี ริเวณทอนซลิ ช่องคอ และ/หรอื โพรงจมูก กลอ่ งเสยี ง 43

2. ผู้ปว่ ยทเี่ ขา้ ข่าย หมายถึง ผู้ที่มอี าการแสดงครบ 3 ข้อ รว่ มกบั ลกั ษณะอย่างนอ้ ยหนงึ่ อยา่ ง ดังต่อไปนี้ - ทางเดนิ หายใจอดุ ตนั (airway obstruction) - กลา้ มเนอื้ หัวใจอักเสบหรือปลายประสาทอกั เสบ (myocarditis or neuritis 1 - 6 สัปดาห ์ หลงั เริม่ มอี าการ - เป็นผูส้ มั ผสั ต่อผู้ปว่ ยในชว่ ง 2 สัปดาห์ก่อนมีอาการป่วย - กำ�ลงั มีการระบาดเกดิ ขึน้ ในพน้ื ทีใ่ นชว่ งเวลานนั้ - เสยี ชีวิต 3. ผปู้ ่วยที่ยืนยันผล หมายถงึ ผทู้ ม่ี ีอาการตามเกณฑ์ ครบ 3 ขอ้ ร่วมกับตรวจพบข้อใดขอ้ หนง่ึ ดงั นี้ - ตรวจ CBC เพอ่ื แยกจากโรคอืน่ เช่น Infectiousmononucleosis, Streptococcal Pharyngitis, โรคเลอื ดบางชนิด (Agranulocytosis) - Throat swab บรเิ วณแผ่นฝ้าป้ายลงแผน่ ใสเพือ่ ยอ้ ม Gram’s stain อาจจะพบลักษณะเฉพาะ ของเช้อื คือมรี ูปร่างคลา้ ยกระบองโคง้ เล็กนอ้ ยติดสีแกรมบวกไมม่ ีสปอรเ์ ชือ้ เรยี งตวั คล้ายรูปตวั V ลกั ษณะการเรยี งตัวดงั กลา่ วเมอื่ รวมกนั เปน็ กลุ่มทำ�ให้ดูคล้ายกบั อกั ษรจีน - Throat swab เพาะเชอ้ื พบ Corynebacterium diphtheria ✚ การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ใหร้ ายงานต้ังแตผ่ ปู้ ่วยทส่ี งสยั 17. คางทมู (Mumps) ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผปู้ ่วยที่สงสัย หมายถงึ ผทู้ มี่ ีอาการไขต้ �่ำ ปวดบวมอยา่ งเฉยี บพลันบริเวณตอ่ มน�ำ้ ลาย บรเิ วณหน้าหู อักเสบอาจเปน็ ขา้ งเดยี วหรือสองข้างก็ได้ โดยไมม่ ีสาเหตุอ่นื บางคร้ังอาจมีอาการเจ็บคอเวลากลืนน�ำ้ ลาย ปวดขากรรไกรเวลาเคย้ี วอาหาร มอี าการอกั เสบของตอ่ มน�้ำ ลาย อาจตรวจพบรอยแดงและอาการบวมบรเิ วณ รเู ปิดของท่อนำ้�ลายในชอ่ งปาก 2. ผู้ป่วยทเี่ ข้าขา่ ย หมายถงึ ผปู้ ่วยทีส่ งสยั ร่วมกับมขี ้อมลู ทางระบาดวิทยาเชอื่ มโยงกบั ผปู้ ่วยท่ียนื ยนั ผล 3. ผ้ปู ่วยทยี่ นื ยนั ผล หมายถงึ ผู้ป่วยท่ีสงสยั รว่ มกบั ตรวจพบขอ้ ใดข้อหนึง่ ดังนี้ - ตรวจภมู คิ มุ้ กนั วทิ ยาดว้ ยวธิ ี ELISA เพอื่ หา Mumps IgM โดยการเจาะเลอื ดเพยี งครงั้ เดยี วประมาณ 3 - 5 ซีซี ในระยะเวลาไม่เกนิ 1 เดือนหลังเริม่ ปว่ ย - ตรวจหาระดับภมู คิ ุ้มกันในน้ำ�เหลืองคู่ (paired sera) ต่อไวรัสคางทมู ต่างกัน >4 เท่า - แยกเช้ือไวรสั คางทูม (mumps virus) โดยการเกบ็ ตัวอย่าง เช่น น�ำ้ ลาย เลือด ปัสสาวะ และ น�้ำ ไขสันหลัง ในช่วงระยะแรกๆ ของการเจ็บป่วย 44

✚ การรายงานผูป้ ว่ ยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ให้รายงานต้ังแตผ่ ูป้ ว่ ยทสี่ งสยั 18. ซิฟลิ สิ (Syphilis) 18.1 ซิฟิลสิ แตก่ �ำ เนิด (congenital syphilis) ✚ ประเภทผ้ปู ว่ ย 1. ผปู้ ่วยทีส่ งสยั (ไมม่ ี) 2. ผู้ป่วยท่ีเข้าข่าย หมายถึง ทารกหรือเด็กท่ีคลอดจากมารดาที่ไม่ได้รับการรักษาซิฟิลิส หรือได้รับ การรกั ษาไมไ่ ดต้ ามมาตรฐานกอ่ นคลอด (รวมถงึ รกั ษาไดค้ รบตามมาตรฐาน แตน่ อ้ ยกวา่ 30 วนั กอ่ นคลอด) ไมว่ ่าทารกจะมีอาการแสดงหรอื ไม่ก็ตาม 3. ผูป้ ่วยทย่ี นื ยนั ผล หมายถงึ ทารกหรอื เด็กทีค่ ลอดจากมารดาที่ไม่ไดร้ บั การรักษาซฟิ ิลิส หรือไดร้ บั การ รกั ษาไม่ไดม้ าตรฐานก่อนคลอด (รวมถงึ รักษาได้ครบตามมาตรฐาน แตน่ ้อยกว่า 30 วันก่อนคลอด) ร่วมกับมีอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ดงั ต่อไปนี้ • ทารกอายนุ อ้ ยกวา่ 2 ปี มี hepatosplenomegaly, rash, condylomalata, snuffles, jaundice (non-viral hepatitis), pseudoparalysis, anemia, edema(neprotic syndrome and/or malnutrition) • เด็กโตพบ stigmata (e.g. interstitial keratitis, nerve deafness, anterior bowing of shins, frontal bossing, mulberry molars, Hutchison teeth, saddle nose, rhagades, clutton joints) • ไม่มีอาการหรืออาการแสดง แต่ผลตรวจเลือดซิฟิลิสเป็นบวก (latent congenital syphilis โดยแบง่ เปน็ early latent congenital syphilis ในเดก็ อายุ <2 ปี และ late latent congenital syphilis ในเดก็ อายุ >2 ปี) รว่ มกับการตรวจ treponemal test ให้ผลบวก ร่วมกบั มีอย่างนอ้ ยหนึง่ สงิ่ ดังต่อไปนี้ • ตรวจร่างกายพบลกั ษณะของโรคซิฟลิ ิสแตก่ �ำ เนดิ • ภาพรงั สีกระดูก (long bones) พบลกั ษณะของซิฟิลิสแตก่ ำ�เนดิ • การตรวจ VDRL ในน้ำ�ไขสันหลงั ใหผ้ ลบวก • มกี ารเพม่ิ ขึน้ ของ cerebrospinal fluid (CSF) cel count หรือ protein โดยปราศจากสาเหตุอน่ื • การตรวจ fluorescent treponemal antibody absorbed-19S-IgM antibody test หรือ IgM enzyme-linked immunosorbent assay ใหผ้ ลบวก 45

รวมถงึ ทารกหรอื เด็กท่ไี มม่ อี าการหรอื อาการแสดง แต่ผลตรวจเลอื ดซิฟลิ สิ เป็นบวกตามเกณฑ์ดงั นี้ • ตรวจพบเชอ้ื spirochete ในส่ิงส่งตรวจทีเ่ กบ็ จากรก สายสะดอื และสารคดั หลั่งหรอื รอยโรคจาก ทารก เชน่ นำ้�ไขสนั หลงั สารคดั หลั่งจากโพรงจมกู และสารคดั หลั่งจากแผลท่ีผวิ หนังดว้ ยการ ตรวจวิธีใดวิธีหนง่ึ ดังต่อไปน้ี - Dark field microscopy พบเชอ้ื Treponemapalidum - Direct fluorescent antibody test for T. palidum ให้ผลบวก - Other specific stains ใหผ้ ลบวกตอ่ เชอื้ T. palidum - ตรวจทางพยาธวิ ทิ ยา (histopathology) โดยการตรวจรกหรือสายสะดือพบเชอ้ื T.palidum • ตรวจแอนตบิ อดีต่อซิฟลิ สิ จากเลอื ด - ตรวจแอนตบิ อดีต่อซฟิ ลิ ิสจากเลอื ดด้วยวิธี non-treponemal test วธิ ใี ดวิธหี นง่ึ เช่น RPR (rapid plasma reagin card test) หรอื VDRL (Venereal Disease Research Laboratory slide test) ให้ผลบวก (reactive) ในทารกและ >4 เท่าเม่ือเทียบกบั มารดา - ตรวจแอนติบอดีต่อซิฟิลสิ จากเลือดดว้ ยวิธี treponemal test วิธใี ดวิธหี นึ่ง เช่น FTA-ABS (fluorescent treponemal antibody-absorption test), TPHA (Treponemapalidum- hemagglutination assay), TP-PA (Treponemapalidum particle agglutination assay), ICT (immunochromatography test), EIA (enzyme immunoassay), CMIA (chemiluminescent immunoassay) หรือ immunoblot (western blot) เป็นต้น ให้ผลบวก (reactive) หลังทารกอายุ 18 เดอื น ✚ การรายงานผู้ปว่ ยตามระบบเฝา้ ระวงั โรค ใหร้ ายงานตัง้ แต่ผู้ป่วยที่เข้าข่าย 18.2 ซฟิ ลิ ิสระยะท่ี 1 (primary syphilis) ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ ม่ี ปี ระวตั เิ สยี่ งตอ่ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ*์ รว่ มกบั มแี ผลบรเิ วณอวยั วะเพศ หรอื อวัยวะอ่ืนท่ีใชส้ �ำ หรับเพศสัมพันธ์ เช่น ปาก ทวารหนัก มกั มีแผลเดียว แผลสะอาดไมเ่ จบ็ บริเวณ ก้นแผลแขง็ คลา้ ยกระดมุ 2. ผ้ปู ว่ ยท่เี ขา้ ข่าย หมายถงึ ผปู้ ่วยท่ีสงสยั รว่ มกบั มีขอ้ มูลทางระบาดวทิ ยาเชอื่ มโยงกบั ผู้ป่วยซฟิ ลิ ิสทยี่ ืนยนั ผล หรอื มเี พศสมั พนั ธก์ ับผปู้ ว่ ยซฟิ ลิ ิส 3. ผปู้ ว่ ยท่ยี ืนยันผล หมายถงึ ผปู้ ่วยทสี่ งสัยร่วมกับ • ตรวจน�ำ้ เหลืองจากก้นแผล ดว้ ย dark field microscope พบเชือ้ T.palidum • Direct fluorescent antibody test for T.pallidum ให้ผลบวก ✚ การรายงานผปู้ ว่ ยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ให้รายงานตัง้ แตผ่ ปู้ ่วยทสี่ งสัย 46

18.3 ซิฟลิ ิสระยะท่ี 2 (secondary syphilis) 1. ผปู้ ว่ ยทส่ี งสยั หมายถงึ ผทู้ ม่ี ปี ระวตั เิ สยี่ งตอ่ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ*์ รว่ มกบั อาการอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดังต่อไปน้ี • มีผื่น อาจพบได้ทั่วตวั มักพบทฝี่ า่ มือ ฝา่ เท้า ลกั ษณะผ่ืนสว่ นใหญ่จะแดง อาจนูน มสี ะเกด็ ไมค่ ัน หรือผนื่ เฉพาะ เช่น condylomalata, mucous patch เป็นตน้ • ผมรว่ งและ/หรอื ควิ้ ร่วง • ต่อมน้�ำ เหลืองโต 2. ผู้ปว่ ยทเ่ี ข้าขา่ ย หมายถึง ผูป้ ว่ ยสงสัย รว่ มกับมีอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ดงั ตอ่ ไปน้ี • ตรวจแอนตบิ อดตี อ่ ซฟิ ิลิสจากเลือดด้วยวธิ ี non-treponemal test วธิ ใี ดวธิ ีหนง่ึ เช่น RPR หรือ VDRL ให้ผลบวก และ titer >1:8 • มีข้อมูลทางระบาดวทิ ยาเช่ือมโยงกบั ผปู้ ว่ ยซิฟิลิสทยี่ ืนยันผลหรือมีเพศสมั พันธก์ บั ผปู้ ่วยซฟิ ิลิส 3. ผูป้ ว่ ยท่ียืนยันผล หมายถงึ ผปู้ ่วยสงสัย รว่ มกับ • ตรวจแอนติบอดีต่อซฟิ ลิ ิสจากเลอื ดดว้ ยวธิ ี non-treponemal test วิธีใดวิธหี น่งึ เช่น RPR หรอื VDRL ให้ผลบวก และ titer >1:8 และ • ตรวจแอนตบิ อดตี อ่ ซฟิ ลิ สิ จากเลอื ดดว้ ยวธิ ี treponemal test วธิ ใี ดวธิ หี นงึ่ เชน่ FTA-ABS, TPHA, TP-PA, ICT, EIA, CMIA หรอื immunoblot เป็นต้น ให้ผลบวก (reactive) ✚ การรายงานผ้ปู ่วยตามระบบเฝ้าระวงั โรค ให้รายงานตง้ั แต่ผปู้ ว่ ยท่ีเขา้ ข่าย 18.4 ซฟิ ิลิสระยะแฝง (latent syphilis) 1. ผู้ป่วยท่ีสงสัย หมายถึง ผู้ท่ีมีประวัติเส่ียงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์* ร่วมกับตรวจพบโรคจาก การตรวจเลอื ดโดยไม่ปรากฏอาการและอาการแสดงใดๆ ของซิฟลิ สิ ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 และระยะอ่นื ๆ และไม่มีประวัติการรักษาซิฟิลิสมาก่อนแยกการวินิจฉัยซิฟิลิสระยะแฝงโดยพิจารณาจากระยะเวลาที่มี ประวตั เิ สี่ยงตอ่ การตดิ เช้อื โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และประวตั กิ ารตรวจเลือดซฟิ ลิ ิส ดงั นี้ • ซฟิ ิลิสระยะแฝงชว่ งแรก/ตน้ (early latent syphilisมีประวตั ิเสี่ยงฯ ภายใน 2 ปนี ี้ และอาจม ี อย่างใดอย่างหนึง่ ดงั ตอ่ ไปน้ี เชน่ เคยตรวจเลือดซิฟลิ ิสแบบ non-treponemal test คร้งั สดุ ท้าย ไม่เกนิ 2 ปี ผลเปน็ ปกตหิ รือผลการตรวจเลือดซฟิ ิลสิ ครัง้ น้มี ี titer สูงขน้ึ >4 เท่าเม่ือเทยี บกับ การตรวจคราวกอ่ นหรือมีประวัตอิ าการภายใน 2 ปที ่เี ข้ากบั ซิฟลิ ิสระยะที่ 1 หรือระยะท่ี 2 หรอื มคี ู่เพศสมั พนั ธท์ ่ีเข้าข่าย (probable) หรือไดร้ บั การยืนยนั (confirm) เปน็ ซิฟิลสิ ระยะที่ 1 หรือ ระยะที่ 2 หรือซิฟิลิสระยะแฝงช่วงแรก/ตน้ • ซิฟิลิสระยะแฝงช่วงหลัง (late latent syphilis) ไม่มีประวัติเส่ียงฯ ใน 2 ปีน้ี แต่เคยมี ประวตั เิ สี่ยงฯ มากอ่ นอาจมปี ระวัติเคยตรวจเลือดซฟิ ลิ ิสครั้งสุดท้ายเกนิ 2 ปี โดยผลเป็นปกติ 47

• ซฟิ ลิ สิ ระยะแฝงทไี่ มท่ ราบระยะเวลาทเ่ี ปน็ (latent syphilis of unknown duration มปี ระวตั เิ สย่ี ง ทัง้ ภายใน 2 ปีนี้ และเกนิ 2 ปี ทำ�ใหไ้ ม่สามารถระบุได้วา่ เรม่ิ ตดิ เชือ้ ซิฟลิ สิ ตง้ั แต่เมือ่ ไร และ ไมเ่ คยตรวจเลือดซฟิ ลิ ิสมาก่อน ร่วมกับ • ตรวจแอนตบิ อดตี อ่ ซฟิ ลิ สิ จากเลอื ดดว้ ยวธิ ี treponemal test วธิ ใี ดวธิ หี นง่ึ เชน่ FTA-ABS, TPHA, TP-PA, ICT, EIA, CMIA หรือ immunoblot เปน็ ต้น ให้ผลบวก (reactive) แต่ • ตรวจแอนติบอดตี ่อซิฟลิ ิสจากเลือดด้วยวธิ ี non-treponemaltest วิธใี ดวิธีหนึ่ง เชน่ RPR หรือ VDRL ให้ผลลบ (non-reactive) และไม่สามารถตรวจแอนติบอดีต่อซิฟิลิสจากเลือดด้วยวิธี treponemal test ทีแ่ ตกต่างจากวิธแี รก 2. ผปู้ ่วยท่ีเข้าขา่ ย หมายถงึ ไมม่ ี 3. ผู้ป่วยทยี่ นื ยนั ผล หมายถงึ ผู้ปว่ ยสงสยั รว่ มกับ • ตรวจแอนตบิ อดตี อ่ ซฟิ ลิ สิ จากเลอื ดดว้ ยวธิ ี treponemal test วธิ ใี ดวธิ หี นงึ่ เชน่ FTA-ABS, TPHA, TP-PA, ICT, EIA, CMIA หรอื immunoblot เปน็ ตน้ ใหผ้ ลบวก (reactive) และ • ตรวจแอนติบอดตี ่อซิฟิลิสจากเลอื ดด้วยวธิ ี non-treponemaltest วิธีใดวิธหี น่ึง เช่น RPR หรอื VDRL ให้ผลบวก กรณีไดผ้ ลลบ (non-reactive) ต้องมีการตรวจแอนติบอดตี ่อซฟิ ิลิสจากเลือด ด้วยวธิ ี treponemal test ทีแ่ ตกตา่ งจากวิธแี รกใหผ้ ลบวก ✚ การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝา้ ระวังโรค ให้รายงานเฉพาะผู้ป่วยซิฟิลิสระยะแฝงช่วงแรก/ต้นที่เข้าข่ายและผู้ป่วยซิฟิลิสระยะแฝงช่วงแรก/ต้น ทยี่ ืนยันผล 19. บาดทะยกั (Tetanus) กรณบี าดทะยกั ทวั่ ไป ✚ ประเภทผ้ปู ่วย 1. ผู้ป่วยทสี่ งสัย หมายถึง ผู้ทม่ี อี าการกลา้ มเน้อื หดเกร็งแบบเฉยี บพลนั (muscular contractions) หรือ กระตุก ขากรรไกรแขง็ คอแขง็ อา้ ปากไมไ่ ด้ กลืนลำ�บาก อาจมีอาการกล้ามเนอื้ เกร็งท่วั ร่างกาย (muscle spasms) 48