Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สวดมนต์ฉบับอเมริกา

สวดมนต์ฉบับอเมริกา

Description: สวดมนต์ฉบับอเมริกา

Search

Read the Text Version

95)  ค�ำสละอดเิ รกจีวรแก่พระภิกษุ เมอ่ื พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ มพี ทุ ธานญุ าตใหพ้ ระภกิ ษรุ บั จวี รและสบงไดม้ ากกวา่ 1 ผืนแลว้ เรียกผา้ เหล่านนั้ ว่า อดิเรกจีวร แตพ่ ระองคท์ รงก�ำหนดไว้ว่า ผา้ เหลา่ นั้น ตอ้ งทำ� พนิ ทแุ ละวกิ ปั ปใ์ หเ้ สรจ็ ภายในเวลา 10 วนั ถา้ หากเกบ็ ผา้ ไวน้ านเกนิ กวา่ 10 วนั พระภิกษุจะต้องอาบัตินิสสัคคียปาจิตตีย์ตามพระวินัย และผ้าน้ันจะต้องสละคืนให้ กบั พระภกิ ษุรปู อนื่ โดยมขี นั้ ตอนการสละอดิเรกจวี รดังน้ี 1. พระภิกษุทั้งสองรปู ครองผา้ ใหเ้ รียบรอ้ ยนงั่ คุกเข่าหันหนา้ เขา้ หากนั 2. ประนมมือขนึ้ แล้ว ตงั้ นะโม 3 จบ พร้อมกนั 3. พระภิกษุรูปที่ต้องการสละอดิเรกจีวร น�ำผ้าผืนน้ันวางไว้บนแขนที่ประนม มืออยแู่ ล้ว กล่าววา่ อิทัง เม อาวุโส จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง, อิมาหัง อายัส๎มะโต นสิ ชั ชามิฯ ทุติยัมปิ อิทัง เม อาวุโส จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง, อิมาหัง อายสั ม๎ ะโต นสิ ัชชามฯิ ตะติยัมปิ อิทัง เม อาวุโส จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง, อิมาหัง อายสั ม๎ ะโต นสิ ัชชามฯิ 4. เมอ่ื กล่าวจบแล้วใหส้ ่งผา้ ทงั้ หมดคืนใหก้ ับอกี รปู 5. พระภกิ ษุรปู ทส่ี ละอดเิ รกจวี รตอ้ งปลงอาบตั แิ ล้ว (ตามหมายเลข 96) 6. พระภกิ ษรุ ปู ทรี่ บั ผา้ มา ใหก้ ลา่ วคำ� ใหค้ นื (ตามหมายเลข 94) แลว้ สง่ ผา้ ทงั้ หมด คนื ดังน้ี หมายเ หตุ : 1. ถา้ ผา้ ท่ีขาดครองมี 2 ผนื ให้เปลยี่ นคำ� วา่ อทิ งั ...จีวะรงั เปน็ คำ� วา่ อมิ านิ...ท๎วิจีวะรานิ 2. ถ้าผา้ ทีข่ าดครองมี 3 ผนื ใหเ้ ปลยี่ นคำ� ว่า อิทัง...จีวะรงั เปน็ คำ� วา่ อมิ านิ...ติจวี ะรานิ 3. ถา้ หากวา่ พระภกิ ษรุ ปู ทต่ี อ้ งอาบตั เิ ปน็ อาวโุ ส (ผมู้ พี รรษานอ้ ยกวา่ ) ใหเ้ ปลย่ี น ค�ำวา่ “อาวุโส” เปน็ ค�ำวา่ “ภันเต” คำ� วา่ “ตยุ หัง” เปน็ ค�ำว่า“อายัส๎มะโต” 82 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

96)  ลักษณะการปลงอาบตั ทิ ีถ่ กู ต้อง46 ภิกษุต้องอาบัติอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ให้รีบแสดงเสีย อย่าแช่ไว้ในอาบัติ การปลงอาบตั ิท่ถี กู ตอ้ งเพื่อใหอ้ าบตั ิตกนน้ั ต้องก�ำหนด ดังนก้ี อ่ น คอื 1. ถา้ น่งั ชิดกันเกนิ ไปจะแสดงอาบตั ิไม่ตก ตอ้ งน่งั ให้มนษุ ย์และสตั ว์เดนิ ผา่ น ไดจ้ งึ จะแสดงอาบตั ติ ก 2. เวลาแสดงอาบตั ิ พระภกิ ษอุ อ่ นพรรษายกมอื สงู พระภกิ ษแุ กพ่ รรษายกมอื ตำ�่ กวา่ ผอู้ อ่ นพรรษา แสดงอาบตั ดิ ว้ ยกนั ไมต่ ก พระภกิ ษแุ กพ่ รรษาตอ้ งยกมอื สงู พระภกิ ษอุ อ่ นพรรษยกมอื ตำ่� และนอ้ มกายเขา้ หาดว้ ย จงึ แสดงอาบตั ติ ก 3. ภิกษุอุปสมบทคนละอุปัชฌาย์ คนละสีมา แต่บวช วัน เดือน ปี เวลานาที เดยี วกนั เวลาปลงอาบัติด้วยกนั ถ้า “ภันเต” ก็ว่า “ภันเต” ด้วยกัน ถ้าว่า “อาวุโส” กว็ ่า “อาวุโส” ด้วยกัน เพราะอปุ สมบทเสมอกัน 4. การห่มผ้าน้ันตอ้ งใหเ้ หมอื นกัน จึงจะแสดงอาบัติตก 5. ถ้านั่งอยู่คนละอาสนะ แสดงอาบัติด้วยกันไม่ตก ต้องนั่งท่ีเสมอกันจึงจะ แสดงอาบัตติ ก 6. หากภิกษุในอาวาสเดียวกัน ต้องอาบัติเดียวกัน แสดงอาบัติด้วยกันไม่ ตก ต้องส่งภิกษุในอาวาสนั้น 1 องค์ หรือ 2 องค์ไปแสดงอาบัติท่ีอาวาส อน่ื กอ่ น เมอื่ กลบั มาแลว้ ใหแ้ สดงกนั ตอ่ ๆ ไป อาบตั นิ นั้ จงึ จะตกและบรสิ ทุ ธไิ์ ด้ วิธีแสดงอาบตั ิ เมื่อจะแสดงอาบัตินิยมกราบพระประธานหรือพระสถูปเจดีย์ก่อน แล้วเริ่ม แสดงอาบตั ิตามลำ� ดับดงั นี้ พรรษาออ่ นกล่าววา่ : สัพพา ตา อาปัตตโิ ย อาโรเจมิฯ (กลา่ ว 3 จบ) สัพพา คะรุละหกุ า อาปัตติโย อาโรเจมฯิ (กลา่ ว 3 จบ) อะหงั ภนั เต สมั พะหลุ า นานาวตั ถกุ าโย อาปตั ตโิ ย อาปชั ชงิ ตา ตมุ หะ มเู ล ปะฏเิ ทเสมฯิ พรรษาแก่กลา่ ววา่ : ปัสสะสิ อาวโุ ส ตา อาปัตตโิ ยฯ พรรษาอ่อนกล่าวว่า : อุกาสะ อามะ ภนั เต ปัสสามฯิ 46 จากหนังสือพระปาฏโิ มกข์แปล พระนพิ นธข์ องสมเด็จพระวันรตั (แดง สีลวฑฒฺ โน) 83 ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ

พรรษาแก่กลา่ วว่า : อายะตงิ อาวุโส สังวะเรยยาสิฯ พรรษาอ่อนกล่าวว่า : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สงั วะรสิ สามิฯ ทตุ ิยมั ปิ สาธุ สุฏฐุ ภนั เต สังวะรสิ สามฯิ ตะตยิ ัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิฯ พรรษาออ่ นกลา่ ววา่ : นะ ปเุ นวงั กะริสสามฯิ พรรษาแกก่ ล่าวว่า : สาธฯุ พรรษาอ่อนกล่าวว่า : นะ ปุเนวงั ภาสสิ สามฯิ พรรษาแกก่ ลา่ วว่า : สาธฯุ พรรษาออ่ นกล่าววา่ : นะ ปุเนวัง จนิ ตะยิสสามฯิ พรรษาแกก่ ล่าววา่ : สาธุฯ (จบพรรษาออ่ น) พรรษาแกก่ ล่าววา่ : สัพพา ตา อาปตั ติโย อาโรเจมฯิ (กล่าว 3 จบ) สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมฯิ (กลา่ ว 3 จบ) อะหัง อาวโุ ส สมั พะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปตั ตโิ ย อาปชั ชงิ ตา ตยุ หะ มเู ล ปะฏเิ ทเสมฯิ พรรษาอ่อนกล่าววา่ : อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโยฯ พรรษาแก่กลา่ ววา่ : อามะ อาวโุ ส ปสั สามิฯ พรรษาออ่ นกลา่ ววา่ : อายะตงิ ภันเต สังวะเรยยาถะฯ พรรษาแก่กล่าววา่ : สาธุ สฏุ ฐุ อาวุโส สงั วะรสิ สามิฯ ทตุ ิยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวโุ ส สังวะรสิ สามิฯ ตะตยิ มั ปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สงั วะริสสามฯิ พรรษาแกก่ ล่าววา่ : นะ ปุเนวัง กะรสิ สามิฯ พรรษาอ่อนกลา่ ววา่ : สาธฯุ พรรษาแกก่ ลา่ ววา่ : นะ ปเุ นวัง ภาสสิ สามิฯ พรรษาออ่ นกล่าวว่า : สาธฯุ พรรษาแกก่ ลา่ ววา่ : นะ ปุเนวงั จนิ ตะยิสสามิฯ พรรษาอ่อนกลา่ ววา่ : สาธุฯ (จบวธิ ีการแสดงอาบตั )ิ 84 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

ค�ำท่องขานนาค (แบบอกุ าสะ) การบวชในพระพทุ ธศาสนาตอ้ งมกี ารกลา่ วคำ� เปลง่ วาจาตอ่ หนา้ พระสงฆ์ เพอื่ ขอและประกาศถึงเจตนารมณข์ องตนให้พระสงฆไ์ ดท้ ราบ การกลา่ วคำ� เปล่งวาจาน้ี เรยี กวา่ \"ทอ่ งคำ� ขานนาค\" ผบู้ วชจะตอ้ งทอ่ งคำ� ขานนาคใหไ้ ดเ้ พอื่ เปน— การแสดงออก ถึงความเคารพเล่ือมใสในพระรัตนตรัยและความตั้งใจจริงในการบวชของตน วิธีท่องค�ำขานนาคนั้นจะต้องท่องให้ถูกอักขระโดยออกเสียงสระ พยัญชนะ ใหถ้ กู ตอ้ งชดั ถอ้ ยชัดคำ� 97)  ค�ำวันทาสมี า และคำ� วนั ทาพระประธาน อกุ าสะ วนั ทามิ ภนั เต, สพั พงั อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภนั เต, มะยา กะตงั ปญุ ญงั สามนิ า อะนโุ มทติ พั พงั , สามนิ า กะตงั ปญุ ญงั มยั หงั ทาตพั พงั , สาธุ สาธุ อะนโุ มทามฯิ นง่ั คุกเขา่ ประนมมอื กลา่ ววา่ สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเตฯ กราบหน่ึงครั้ง ประนมมอื กล่าววา่ อุกาสะ ทว๎ ารัตตะเยนะ กะตงั , สพั พงั อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภันเตฯ กราบหนึง่ ครงั้ ยืนขน้ึ ประนมมอื กล่าววา่ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนโุ มทามิฯ นงั่ คกุ เขา่ ประนมมอื กราบ 3 ครัง้ 98)  คำ� ขอบรรพชา อกุ าสะ วนั ทามิ ภนั เต, สพั พงั อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภนั เต, มะยา กะตงั ปญุ ญงั สามินา อะนุโมทติ ัพพงั , สามินา กะตัง ปุญญงั มัยหงั ทาตัพพงั , สาธุ สาธุ อนุโมทามิ, อกุ าสะ การุญญัง กตั ๎วา, ปพั พัชชัง เทถะ เม ภนั เตฯ นั่งคกุ เขา่ ประนมมือ กลา่ ววา่ อะหงั ภันเต, ปัพพชั ชงั ยาจามฯิ ทตุ ิยมั ปิ อะหัง ภนั เต, ปัพพชั ชัง ยาจามิฯ ตะติยมั ปิ อะหงั ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามฯิ สัพพะทุกขะ-นิสสะระณะ, นิพพานะ-สัจฉิกะระณัตถายะ, อิมัง กาสาวัง คะเหต๎วา, ปพั พาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปงั อุปาทายะฯ (กลา่ ว 3 จบ) ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 85

สพั พะทกุ ขะ-นสิ สะระณะ, นพิ พานะ-สจั ฉกิ ะระณตั ถายะ, เอตงั กาสาวงั ทตั ว๎ า, ปพั พาเชถะ มัง ภนั เต, อะนุกมั ปงั อปุ าทายะฯ (กล่าว 3 จบ) 99)  มูละกัมมัฏฐาน เกสา,  โลมา,  นะขา,  ทันตา,  ตะโจ (อนโุ ลม) ตะโจ,  ทนั ตา,  นะขา,  โลมา,  เกสา (ปฏิโลม) 100)  คำ� ขอสะระณะคมนแ์ ละศีล อะหัง ภันเต, สะระณะสลี งั ยาจามฯิ ทุติยมั ปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลงั ยาจามิฯ ตะติยมั ปิ อะหงั ภนั เต, สะระณะสีลงั ยาจามฯิ พระอาจารยก์ ล่าวค�ำนมสั การพระรตั นตรยั ใหน้ าคกลา่ วตาม นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะฯ (กล่าว 3 จบ) พระอาจารยถ์ ามวา่ : ยะมะหงั วะทามิ ตัง วะเทหฯิ นาคตอบรับวา่ : อามะ ภันเตฯ จากน้ันพระอาจารย์จะใหส้ รณคมน์และศลี ใหน้ าคกล่าวตามดังน้ี พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามฯิ ธมั มัง สะระณงั คจั ฉามิฯ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามฯิ ทตุ ิยัมปิ พุทธงั สะระณัง คจั ฉามฯิ ทตุ ยิ มั ปิ ธัมมงั สะระณงั คจั ฉามฯิ ทุติยมั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะตยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉามิฯ ตะตยิ มั ปิ ธัมมัง สะระณังคจั ฉามิฯ ตะติยมั ปิ สังฆงั สะระณงั คจั ฉามิฯ พระอาจารยก์ ล่าววา่ : ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐติ ังฯ นาคตอบรับว่า : อามะ ภันเตฯ 86 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

พระอาจารย์จะกล่าวน�ำศีล 10 ให้กลา่ วตามทีละบท 1. ปาณาตปิ าตา เวระมะณ,ี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิฯ 2. อะทินนาทานา เวระมะณี, สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิฯ 3. อะพร๎ หั ๎มะจะริยา เวระมะณี, สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิฯ 4. มุสาวาทา เวระมะณ,ี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามฯิ 5. สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณ,ี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ 6. วกิ าละโภชะนา เวระมะณ,ี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิฯ 7. นจั จะคีตะวาทติ ะวสิ กู ะทสั สะนา เวระมะณี, สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิฯ 8. มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี, สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิฯ 9. อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณ,ี สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิฯ 10. ชาตะรปู ะระชะตะปะฏคิ คะหะณา เวระมะณี, สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิฯ พระอาจารย์กลา่ วนำ� วา่ อมิ านิ ทะสะ สกิ ขาปะทานิ สะมาทยิ ามฯิ นาคกล่าวตามว่า อมิ านิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทยิ ามฯิ (กลา่ ว 3 จบ แลว้ กราบ 3 คร้ัง) 101)  ค�ำขอนสิ สัย อะหงั ภนั เต, นสิ สะยัง ยาจามิฯ ทตุ ิยัมปิ อะหงั ภันเต, นิสสะยงั ยาจามิฯ ตะติยมั ปิ อะหงั ภนั เต, นิสสะยงั ยาจามฯิ อุปชั ฌาโย เม ภันเต โหหฯิ (กลา่ ว 3 จบ) ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 87

พระอปุ ัชฌายก์ ล่าววา่ สามเณรกลา่ วรับว่า ปะฏริ ปู ังฯ สาธุ ภันเตฯ โอปายกิ ังฯ สาธุ ภันเตฯ ปาสาทเิ กนะ สมั ปาเทถะฯ สาธุ ภันเตฯ เมอ่ื กลา่ วรบั จบ ใหส้ ามเณรกลา่ วตอ่ ไปวา่ อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโรฯ (กล่าว 3 จบ แลว้ กราบ 3 คร้ัง) 102)  คำ� บอกบรขิ าร พระอุปชั ฌายก์ ลา่ วว่า สามเณรกล่าวรบั ว่า อะยนั เต ปัตโตฯ อามะ ภนั เตฯ อะยัง สังฆาฏิฯ อามะ ภนั เตฯ อะยงั อตุ ตะราสังโคฯ อามะ ภนั เตฯ อะยัง อันตะระวาสะโกฯ อามะ ภนั เตฯ 88 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

103)  ค�ำถามอันตรายิกะธรรม พระคสู่ วดถามวา่ สามเณรกลา่ วรับวา่ กุฏฐังฯ นตั ถิ ภันเตฯ คณั โฑฯ นตั ถิ ภนั เตฯ กิลาโสฯ นตั ถิ ภนั เตฯ โสโสฯ นตั ถิ ภันเตฯ อะปะมาโรฯ นัตถิ ภันเตฯ มะนสุ โสสิ๊ฯ อามะ ภันเตฯ ปุรโิ สสิฯ๊ อามะ ภนั เตฯ ภุชสิ โสส๊ิฯ อามะ ภนั เตฯ อะนะโณสิฯ๊ อามะ ภันเตฯ นะส๊ิ ราชะภะโฏฯ อามะ ภนั เตฯ อะนุญญาโตส๊ิ มาตาปติ ูหิฯ อามะ ภันเตฯ ปะรปิ ุณณะวีสะติวสั โสส๊ฯิ อามะ ภันเตฯ ปะริปณุ ณันเต ปัตตะจวี ะรังฯ อามะ ภันเตฯ กนิ นาโมสิ๊ฯ อะหงั ภันเต ...(ฉายาของตนเอง)... นามะฯ โก นามะ เต อุปัชฌาโยฯ อปุ ชั ฌาโย เม ภันเต อายสั ม๎ า... (ฉายาของพระอปุ ชั ฌาย)์ ...นามะฯ ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 89

104)  คำ� ขออปุ สมบท สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ, อะนุกัมปัง อุปาทายะฯ ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ, อะนกุ ัมปัง อปุ าทายะฯ ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ, อะนกุ ัมปงั อปุ าทายะฯ 105)  ค�ำขอขมา อุกาสะ, ดังข้าพเจ้าท้ังหลายจะขอวโรกาส, กราบลาพ่อแม่ญาติพี่น้อง, ท่านพทุ ธศาสนกิ ชนทั้งหลาย, เพื่อบรรพชาอปุ สมบท ณ บัดนี้ ตลอดระยะเวลา, ท่ีต่างต้องเวียนว่ายตายเกิด, ถือก�ำเนิดในวัฏฏะ สงสาร, หากข้าพเจ้าท้ังหลาย, ได้ประพฤติผิดพลาดล่วงเกิน, ต่อท่านทั้ง หลาย, ในที่ต่อหน้าก็ดี, ในที่ลับหลังก็ดี, ทั้งมีเจตนาก็ดี, ท้ังไม่มีเจตนาก็ดี, ที่ระลึกได้ก็ดี, ที่ระลึกไม่ได้ก็ดี, นับต้ังแต่ร้อยชาติพันชาติ, หม่ืนชาติแสนชาติ ก็ดี, ทั้งในปัจจุบันชาติก็ดี, ขอท่านท้ังหลาย, โปรดอโหสิกรรม, งดความผิดท้ัง หลายเหล่าน้ัน, ให้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ผู้จะบรรพชาอุปสมบท47ในบัดน้ี, เพ่ือความ บรสิ ทุ ธิ,์ เพอ่ื ความบริบรู ณ์, เพ่อื ความอยู่เปน็ สุขในพรหมจรรย์, และเพอื่ ประโยชน์, แกก่ ารท�ำใหแ้ จ้งซึ่งพระนพิ พาน, ของขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย, ในปจั จบุ ันชาตนิ เี้ ทอญฯ หมายเหตุ บทสำ� คัญทผ่ี อู้ ปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษุตอ้ งท่องให้ไดก้ ่อน ไดแ้ ก่ 1. คำ� ขอบรรพชา 2. คำ� ขอสรณคมน์และศีล 3. คำ� ขอนสิ สัย 4. คำ� ขออปุ สมบท การอปโลกนเ์ ผดยี งสงฆ์ เม่ืออุปสัมปทาเปกข์กล่าวค�ำขอบวชกะสงฆ์จบแล้ว พระอุปัชฌาย์ พึงกล่าวคำ� อปโลกนเ์ ผดียงสงฆ์ เพอื่ ซกั ถามอนั ตรายกิ ธรรมแลว้ ให้อปุ สมั ปทาเปกข์ นั้นอุปสมบทดังน้ี โดยสมมติให้อุปสัมปทาเปกข์มีฉายาว่า โอภาโส สมมติ พระอุปชั ฌาย์มีฉายาว่า โสภโณ 47 ผู้จะบรรพชาเป็นสามเณรเพียงอย่างเดียว ไม่ต้องกลา่ วคำ� ว่า อุปสมบท 90 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

106)  ค�ำอปโลกน์เผดยี งสงฆ์ สำ� หรับอปุ สมั ปทาเปกขเ์ ดี่ยว อิทานิ โข อาวุโส (ภันเต) อะยัง โอภาโส นามะ สามะเณโร มะมะ อุปะสัมปะทาเปกโข อุปะสัมปะทัง อากังขะมาโน, สังฆัง ยาจะติ, อะหัง สัพพะมิมัง สังฆัง อัชเฌสามิ, สาธุ อาวุโส (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัง โอภาสัง นามะ สามะเณรัง, อันตะรายิเก ธัมเม ปุจฉิต๎วา, ตัตถะ ปัตตะกัลลัตตัง ญัต๎วา ญัตติจะตุตเถนะ กัมเมนะ อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาติ, กัมมะสนั นฏิ ฐานัง กะโรตุฯ พระสงฆ์ทัง้ น้ัน พึงประนมมอื กล่าวรับพร้อมกันว่า “สาธุ” ต่อจากน้ัน พระอุปัชฌาย์หรือพระคู่สวด จะสั่งให้อุปสัมปทาเปกข์ เดินเข่าเข้ามาท่ามกลางหมู่สงฆ์แล้วน่ังคุกเข่าประนมมือ เพื่อรับการสอบถาม อันตรายิกธรรมตอ่ ไป 107)  ค�ำสมมตติ นเพอ่ื ถามอันตรายิกธรรม สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง โอภาสัง อันตะรายิเก ธัมเม ปุจเฉยยงั ฯ 108)  คำ� ถามอันตรายกิ ธรรม สณุ าสิ โอภาสะ, อะยนั เต สจั จะกาโล ภตู ะกาโล, ยงั ชาตงั ตงั ปจุ ฉาม,ิ สนั ตงั อัตถีติ วัตตัพพัง, อะสันตัง นัตถีติ วัตตัพพัง, สันติ เต เอวะรูปา อาพาธา (ถาม) กุฏฐัง ฯลฯ โก นามะ เต อุปัชฌาโย, (ตอบ) นัตถิ ภันเต ฯลฯ อุปัชฌาโย เม ภนั เต อายัส๎มา โสภะโณ นามะฯ 109)  ค�ำสวดกรรมวาจาอปุ สมบท สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ปะริสุทโธ อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณัสสะ ปัตตะจีวะรัง, โอภาโส สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจะติ, อายัส๎มะตา โสภะเณนะ อุปัชฌาเยนะ, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง สังโฆ โอภาสัง อุปะสัมปทาเทยยะ, อายสั ม๎ ะตา โสภะเณนะ อปุ ัชฌาเยนะ, เอสา ญัตติ. ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 91

สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ปะริสุทโธ อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณัสสะ ปัตตะจีวะรัง, โอภาโส สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจะติ, อายัส๎มะตา โสภะเณ นะ อุปัชฌาเยนะ, สังโฆ โอภาสัง อุปะสัมปาเทติ, อายัส๎มะตา โสภะเณนะ อุปัชฌาเยนะ, ยัสสายัส๎มะโต ขะมะติ, โอภาสัสสะ อุปะสัมปะทา, อายัส๎มะตา โสภะเณนะ อปุ ชั ฌาเยนะ, โส ตณุ ห๎ สั สะ, ยัสสะ นะ ขะมะติ, โส ภาเสยยะฯ ทุติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายสั ๎มะโต โสภะณัสสะ อปุ ะสมั ปะทาเปกโข ฯลฯ โส ภาเสยยะฯ ตะตยิ ัมปิ เอตะมัตถงั วะทามิ, สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ ฯลฯ โสภาเสยยะฯ อปุ ะสัมปันโน สงั เฆนะ, โอภาโส อายัสม๎ ะตา โสภะเณนะ อปุ ัชฌาเยนะ ขะมะติ สงั ฆสั สะ, ตสั ๎มา ตณุ ๎ห,ี เอวะเมตัง, ธาระยามิฯ หมายเหต:ุ อนุสาวนาท่ี 2 ที่ 3 ซงึ่ ฯลฯ ไวน้ ้นั พึงสวดเต็มความเหมือนอนุสาวนาท่ี 1 คำ� อปโลกน์เผดียงสงฆ์ ส�ำหรับอปุ สมั ปทาเปกขค์ ู่ อุปสัมปทาเปกข์มีหลายรูป สามารถอุปสมบทพร้อมกันได้คราวละ 2 รูป หรือ 3 รปู แต่ให้มพี ระอุปัชฌายอ์ งคเ์ ดยี วกันได้ ค�ำสวดกรรมวาจา จึงตอ้ งเปล่ยี น วิภตั ติ วจนะ ให้ถูกต้องตามหลักบาลีดังนี้, โดยสมมติอุปสัมปทาเปกข์ มีฉายาว่า ปุณโณ, สโุ ภ, สมมตพิ ระอปุ ัชฌายม์ ฉี ายาว่า โสภโณ 110)  ค�ำอุปชั ฌาย์พึงกล่าวเผดียงสงฆ์ ส�ำหรบั อปุ สัมปทาเปกขค์ ู่ อิทานิ โข อาวุโส (ภันเต) อะยัญจะ ปุณโณ นามะ สามะเณโร, อะยัญจะ สุโภ นามะ สามะเณโร, มะมะ อุปะสัมปะทาเปขา, อุปะสัมปะทัง อากังขะมานา, สังฆัง ยาจันติ, อะหัง สัพพะมิมัง สังฆัง อัชเฌสามิ, อาวุโส (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัญจะ ปุณณัง นามะ สามะเณรัง, อิมัญจะ สุภัง นามะ สามะเณรัง, อันตะรายิเก ธัมเม ปุจฉิตวา, ตัตถะ ปัตตะกัลลัตตัง ญัตวา, ญัตติจะตุตเถนะ กัมเมนะ อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาติ, กัมมะสันนิฏฐานัง กะโรต.ุ 92 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

พระสงฆ์ทง้ั นั้น พึงประนมมือกล่าวรบั พร้อมกนั วา่ “สาธุ” ต่อจากนั้น พระอุปัชฌาย์หรือพระคู่สวด จะสั่งให้อุปสัมปทาเปกข์เดินเข่าเข้า มาท่ามกลางหมู่สงฆ์แล้ว นั่งคุกเข่าประนมมือ เพื่อรับการสอบถามอันตรายิกธรรม ตอ่ ไป 111)  คำ� สมมตแิ ละคำ� ถามอันตรายิกธรรม สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ สุโภ, อายัส๎มะโต โสภณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง ปุณณัญจะ สุภัญจะ อนั ตะรายเิ ก ธมั เม ปุจเฉยยังฯ (แล้วสอบถามทลี ะรปู ) 112)  คำ� ถามอนั ตรายกิ ธรรม สุณาสิ โอภาสะ, อะยันเต สัจจะกาโล ภูตะกาโล, ยัง ชาตัง ตัง ปุจฉามิ, สันตัง อัตถีติ วัตตัพพัง, อะสันตัง นัตถีติ วัตตัพพัง, สันติ เต เอวะรูปา อาพาธา ? (ถาม) กุฏฐัง ฯลฯ โก นามะ เต อุปัชฌาโย, (ตอบ) นัตถิ ภันเต ฯลฯ อุปัชฌาโย เม ภนั เต อายสั ๎มา โสภะโณ นามะฯ 113)  ค�ำสวดกรรมวาจาอุปสมบท สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ สุโภ, อายัส๎มะโต โสภณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะรปิ ุณณะมเิ มสัง ปตั ตะจีวะรงั , ปุณโณ จะ สุโภ จะ สังฆัง อปุ ะสมั ปะทัง ยาจนั ต,ิ อายัส๎มะตา โสภเณนะ อุปัชฌาเยนะ, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ ปุณณัญจะ สุภัญจะ อุปะสัมปาเทยยะ, อายัส๎มะตา โสภเณนะ อุปัชฌาเยนะ, เอสา ญัตตฯิ ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 93

สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ สุโภ, อายัส๎มะโต มะนุสสะนาคัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณะมิเมสัง ปัตตะจีวะรัง, ปุณโณ จะ สุโภ จะ สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจันติ, อายัส๎มะตา โสภเณนะ อุปัชฌาเยนะ. สังโฆ ปุณณัญจะ สุภัญจะ อุปะสัมปาเทติ, อายัส๎มะตา มะนุสสะนาเคนะ อุปัชฌาเยนะ. ยัสสายัส๎มะโต ขะมะติ, ปุณณัสสะ จะ สุภัสสะ จะ อุปะสัมปะทา, อายัส๎มะตา โสภเณนะ อปุ ชั ฌาเยนะ โส ตณุ ห๎ ัสสะ ยัสสะ นะ ขะมะติ โส ภาเสยยะ, ทุติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ, อะยญั จะ สโุ ภ, อายสั ม๎ ะโต โสภณสั สะ อปุ ะสมั ปะทาเปกขา, ฯลฯ โส ภาเสยยะ. ตะติยัมปิ เอตะมัตถงั วะทามิ, สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ, ฯลฯ โส ภาเสยยะ. อุปะสัมปันนา สังเฆนะ, ปุณโณ จะ สุโภ จะ, อายัส๎มะตา โสภเณนะ อุปัชฌาเยนะ, ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิฯ (ในท่ลี งเครอ่ื งหมาย ฯลฯ ไว้นน้ั ใหส้ วดเต็มความ) 114)  คำ� บอกอนุศาสน์แบบเดมิ ตาวะเทวะ ฉายาเมตัพพัง อุตุปปมาณัง อาจิกขิตัพพัง ทิวะสะภาโค อาจิกขิตัพโพ สังคีติ อาจิกขิตัพพา จัตตาโร นิสสะยา อาจิกขิตัพพา จัตตาริ จะ อะกะระณียานิ อาจิกขิตัพพานีติ หิทัง อุปะสัมปะทายะ ปัจฉิมะกิจจัง ภะคะวะตา วุตตัง ตันทานิ มะยา เต อุปัชฌาเยนะ สะตา ตะทาจิกขะเนนะ อะนกุ าตพั พงั โหติ ตนั เต สักกจั จัง โสตัพพังฯ พระภกิ ษใุ หม่ พึงกล่าวรับวา่ “อามะ ภนั เต” เม่ือพระภิกษุใหม่กล่าวรับค�ำแล้ว พระอุปัชฌาย์หรือผู้แทนพึงบอกอนุศาสน์ ตอ่ ไปดงั นี้ (1) ปณิ ฑิยาโลปะโภชะนัง นิสสายะ ปัพพัชชา ตัตถะ เต ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณีโย อะติเรกะลาโภ สังฆะภัตตัง อุทเทสะภัตตัง นิมันตะนัง สะลากภัตตัง ปักขิกัง อโุ ปสะถกิ งั ปาฏปิ ะทกิ ัง ฯ พระภกิ ษใุ หม่ พงึ กลา่ วรบั ว่า “อามะ ภันเต” 94 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

(2) ปังสุกูละจีวรัง นิสสาย ปัพพัชชา ตัตถะ เต ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณโี ย อะติเรกะลาโภ โขมัง กปั ปาสิกงั โกเสยยัง กัมพะลัง สาณัง ภงั คังฯ พระภิกษใุ หม่ พงึ กล่าวรับวา่ “อามะ ภันเต” (3) รกุ ขะมลู ะเสนาสนงั นสิ สาย ปพั พชั ชา ตตั ถะ เต ยาวะชวี งั อสุ สาโห กะระณโี ย อะติเรกะลาโภ วิหาโร อัฑฒะโยโค ปาสาโท หัมมิยัง คุหาฯ พระภกิ ษใุ หม่ พึงกล่าวรับวา่ “อามะ ภนั เต” (4) ปตู มิ ตุ ตะเภสชั ชงั นสิ สายะปพั พชั ชาตตั ถะเตยาวะชวี งั อสุ สาโหกะระณโี ย อะตเิ รกะลาโภ สัปปิ นะวะนีตงั เตลัง มะธผุ าณิตงั ฯ พระภกิ ษุใหม่ พึงกล่าวรบั วา่ “อามะ ภันเต” (5) อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา เมถุโน ธัมโม นะ ปะฏิเสวิตัพโพ อันตะมะโส ติรัจฉานะคะตายะปิฯ โย ภิกขุ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวะติ อสั สะมะโณ โหติ อะสกั ย๎ ะปตุ ตโิ ย ฯ เสยยะถาปิ นามะ ปรุ โิ ส สสี จั ฉนิ โน อะภพั โพ เตนะ สะรีระพันธะเนนะ ชีวิตุ เอวะเมวะ ภิกขุ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิตะวา อสั สะมะโณ โหติ อะสกั ย๎ ะปตุ ตโิ ยฯ ตนั เต ยาวะชวี งั อะกะระณยี งั ฯ พระภกิ ษใุ หม่ พงึ กลา่ วรับว่า “อามะ ภันเต” (6) อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง นะ อาทาตัพพัง อันตะมะโส ติณะสะลากัง อุปาทายะ ฯ โย ภิกขุ ปาทัง วา ปาทาระหัง วา อะติเรกะปาทัง วา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง อาทิยะติ อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโยฯ เสยยะถาปิ นามะ ปัณฑุปะลาโส พันธะนา ปะมุตโต อะภัพโพ หริตัตตายะ เอวะเมวะ ภิกขุ ปาทัง วา ปาทาระหัง วา อะติเรกะปาทัง วา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง อาทิยิตวา อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโยฯ ตันเต ยาวะชวี งั อะกะระณยี ังฯ พระภิกษุใหม่ พงึ กล่าวรบั ว่า “อามะ ภนั เต” ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 95

(7) อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา สัญจิจจะ ปาโณ ชีวิตา นะ โวโรเปตัพโพ อันตะมะโส กุนถะกิปลิ ลิกัง อุปาทายะฯ โย ภิกขุ สัญจิจจะ มะนุสสะวิคคะหัง ชีวิตา โวโรเปติ อันตะมะโส คัพภะปาตะนัง อุปาทายะ อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโยฯ เสยยะถาปิ นามะ ปุถุสิลา เทวธา ภินนา อัปปะฏิสันธิกา โหติ เอวะเมวะ ภิกขุ สัญจิจจะ มะนุสสะวิคคะหัง ชีวิตา โวโรเปตวา อัสสะมะโณ โหติ อะสกั ย๎ ะปุตติโย ฯ ตันเต ยาวะชวี ัง อะกะระณียงั ฯ พระภิกษุใหม่ พงึ กลา่ วรบั วา่ “อามะ ภันเต” (8) อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา อุตตะริมะนุสสะธัมโม นะ อุลละปติ ัพโพ อันตะมะโส สุญญาคาเร อะภิระมามีติฯ โย ภิกขุ ปาปิจโฉ อิจฉาปะกะโต อะสันตัง อะภูตัง อุตตะริมะนุสสะธัมมัง อุลละปะติ ฌานัง วา วิโมกขัง วา สะมาธิง วา สะมาปัตตงิ วา มคั คงั วา ผลงั วา อัสสะมะโณ โหติ อะสกั ยะปุตตโิ ย ฯ เสยยะถาปิ นามะ ตาโล มัตถะกัจฉินโน อะภัพโพ ปุนะ วิรุฬหิยา เอวะเมวะ ภิกขุ ปาปิจโฉ อิจฉาปะกะโต อะสันตัง อะภูตัง อุตตะริมะนุสสะธัมมัง อุลละปิตะวา อัสสะมะโณ โหติ อะสักยะปุตติโยฯ ตันเต ยาวะชีวัง อะกะระณียังฯ พระภกิ ษุใหม่ พึงกล่าวรบั ว่า “อามะ ภนั เต” แล้วลกุ ขึน้ นั่งคุกเข่า ประนมมอื กราบพระอปุ ชั ฌาย์ 3 คร้ัง หมายเหตุ ถา้ บอกอนุศาสนแ์ ก่พระภกิ ษใุ หมพ่ ร้อมกันต้งั แต่ 2 รูปขน้ึ ไปพงึ เปล่ยี นค�ำวา่ “เต” เปน็ “โว” เปล่ยี นคำ� วา่ “ตนั เต” เปน็ “ตัง โว” ในท่ที กุ แหง่ 115)  ค�ำขอขมาโทษพระเถรานุเถระท่ัวไป ถา้ ผขู้ อขมาหลายรูปใหก้ ล่าววา่ พระอนเุ ถระกลา่ ววา่ : เถเร ปะมาเทนะ ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภนั เตฯ พระเถระตอบวา่ : อะหงั ขะมาม,ิ อายสั ม๎ นั เตหปิ ิ เม ขะมติ พั พงั ฯ พระอนุเถระตอบรับวา่ : ขะมามะ ภนั เตฯ 96 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

ถา้ ผู้ขอขมารปู เดยี ว พงึ กล่าววา่ พระอนเุ ถระกล่าววา่ : เถเร ปะมาเทนะ ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม ภนั เตฯ พระเถระตอบวา่ : อะหงั ขะมาม,ิ อายสั ม๎ นั ตาหปิ ิ เม ขะมติ พั พงั ฯ พระอนุเถระตอบรับวา่ : ขะมามิ ภันเตฯ หมายเหต:ุ เถเร ปะมาเทนะ พระอนเุ ถระกล่าวกับพระเถระผมู้ พี รรษา 10 ขึน้ ไป ถ้าหากตำ�่ กว่า 10 พรรษา ให้เปล่ยี นเปน็ อายัสม๎ ันเต ปะมาเทนะ 116)  คำ� อธษิ ฐานเข้าพรรษา อิมัส๎มงิ อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสงั อุเปมฯิ ทตุ ิยัมปิ อิมัส๎มิง อาวาเส อมิ ัง เตมาสงั วัสสงั อเุ ปมิฯ ตติยัมปิ อิมสั ม๎ ิง อาวาเส อมิ งั เตมาสงั วัสสงั อุเปมฯิ 117)  คำ� บอกสัตตาหะ สัตตาหะกะระณียัง กิจจัง เม อัตถิ ตัส๎มา มะยา คันตัพพัง อิมัส๎มิง สตั ตาหัพภนั ตะเร นิวัตติสสามิฯ แปลว่า กิจธุระท่ีควรท�ำใน 7 วันมีแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าพึงไป ข้าพเจ้าจักกลับ มาภายใน 7 วัน ฯ 118)  คำ� ปวารณาออกพรรษา สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส๎มันโต อะนุกัมปงั อปุ าทายะ ปัสสนั โต ปะฏกิ กะริสสามฯิ ทตุ ยิ ัมปิ ภนั เต สงั ฆงั ปะวาเรมิ ทฏิ เฐนะ วา สุเตนะ วา ปะรสิ งั กายะ วา วะทนั ตุ มัง อายัสม๎ ันโต อะนกุ มั ปัง อปุ าทายะ ปสั สันโต ปะฏกิ กะรสิ สามิฯ ตะตยิ มั ปิ ภนั เต สงั ฆงั ปะวาเรมิ ทฏิ เฐนะ วา สเุ ตนะ วา ปะรสิ งั กายะ วา วะทนั ตุ มัง อายัส๎มนั โต อะนกุ ัมปงั อปุ าทายะ ปัสสนั โต ปะฏกิ กะรสิ สามิฯ ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 97

พธิ กี รานกฐนิ 98 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

119)  คำ� ถวายผ้ากฐิน (ตง้ั นะโม 3 จบ) อมิ ัง มะยงั ภนั เต, สะปะริวารัง, กะฐินะจวี ะระทุสสงั , สงั ฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภกิ ขสุ งั โฆ, อมิ งั สะปะรวิ ารงั , กะฐนิ ะจวี ะระทสุ สงั , ปะฏคิ คณั หาต,ุ ปะฏิคคะเหต๎วา จะ, อิมินา ทุสเสนะ, กะฐินัง, อัตถะระตุ, อัม๎หากัง, ทีฆะรัตตัง, หติ ายะ, สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ผ้าจีวรกฐิน, พร้อมด้วยบริวาร, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ผ้าจีวรกฐิน, พร้อมด้วยบริวาร, ครั้นรับแล้ว, จงกรานกฐิน, ด้วยผ้าผืนนี้, เพื่อประโยชน์, เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าท้ังหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 120)  คำ� กล่าวเผดยี งสงฆ์ (ส�ำหรับประธานสงฆ์) ผ้ากฐินทาน, กับท้ังผ้าอานิสงส์บริวารทั้งปวงนี้, เปน็ ผ้ากฐินสามัคคี, ซึ่งมี ...(กัลฯ ชื่อ-นามสกุล ผู้เป็นประธานกฐิน)... พร้อมด้วยเหล่ากัลยาณมิตร, และสัมพันธชน, ...(ชื่อวัด)..., ได้มีจิตศรัทธาเปน็ สมานฉันท์, ร่วมใจกัน น้อมน�ำมาทอดถวาย, แด่พระภิกษุสงฆ์, ผู้จ�ำพรรษากาลครบถ้วนไตรมาส, ณ อาวาส...(ช่ือวัด)...ผ้ากฐินทานนี้, เป็นของบริสุทธิ์, ประดุจเล่ือนลอยมาจาก นภากาศ, แล้วตกลง ณ ท่ามกลางสงฆ์, มิได้เฉพาะเจาะจง, แก่พระภิกษุรูปใด, ผ้ากฐินทานน้ี, ทรงมีพระบรมพุทธานุญาตไว้ว่า, ให้มอบแก่พระภิกษุ, ผู้มีจีวรเก่า, หรือพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึง, ซึ่งมีสติปัญญาสามารถ, อาจจะกระท�ำกฐินัตถารกิจ, ใหถ้ กู ตอ้ งตามพระบรมพทุ ธานญุ าตได,้ บดั น,ี้ สงฆท์ งั้ ปวง, จะเหน็ สมควรแกพ่ ระภกิ ษุ รปู ใด, กจ็ งพรอ้ มใจกนั มอบให,้ แดพ่ ระภกิ ษรุ ปู นน้ั เทอญฯ ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 99

121)  ค�ำอปโลกน์กฐนิ (ส�ำหรบั พระภกิ ษกุ ล่าวคำ� อปุ โลกน์ รปู ที่ 2) ผ้ากฐินทาน, กับท้ังผ้าอานิสงส์บริวารท้ังปวงน้ี, ข้าพเจ้าพิจารณาเห็น สมควรแก่, ...(ชื่อ-ฉายา ผู้รับผ้ากฐิน)...ผู้มีสติปัญญาสามารถ, อาจจะกระท�ำ กฐินัตถารกิจ, ให้ถูกต้องตาม, พระบรมพุทธานุญาตได้, ถ้าพระภิกษุรูปใดเห็น ไม่สมควร, จงทักท้วงข้ึนในท่ามกลางสงฆ์, (หยุดนิดหน่ึง) ถ้าเห็นสมควรแล้ว, จงใหส้ ทั ทสัญญา, สาธุการข้นึ พร้อมกนั ฯ --- สาธุ --- 122)  พิธกี รานกฐิน แบบกรรมวาจาสวดใหผ้ า้ กฐิน (ตั้ง นะโม 5 ชั้น 3 จบ) สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ) ทะเทยยะ, กะฐนิ งั อัตถะรติ ุง, เอสา ญัตติ ฯ สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง, สังโฆ อิมัง กะฐนิ ะทสุ สงั อายสั ม๎ ะโต (อติ ถนั นามสั สะ48) เทติ กะฐนิ งั อตั ถะรติ งุ , ยสั สายสั ม๎ ะโต ขะมะติ อิมัสสะ กะฐินะทุสสัสสะ อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ) ทานัง, กะฐินัง อตั ถะริตุง, โส ตณุ ห๎ สั สะ, ยสั สะ นกั ขะมะต,ิ โส ภาเสยยะ ฯ ทินนัง อิทัง สังเฆนะ กะฐินะทุสสัง, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ) กะฐินัง อัตถะริตงุ , ขะมะติ สงั ฆัสสะ ตัสม๎ า ตณุ ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิฯ เม่ือสวดจบแล้ว ท�ำบุพพกรณ์เสร็จแล้ว ผ้ากฐินน้ันท�ำเป็นจีวรชนิดใด พึงปัจจุทธรณ์(ถอน) จีวรชนิดน้ันของเดิมแล้วอธิษฐานจีวรใหม่โดยช่ือนั้น กระทำ� โดยพระภิกษอุ งคค์ รองกฐนิ 48 ในวงเล็บ (อติ ถนั นามสั สะ) ให้ใส่ช่ือผ้คู รองกฐินแทน 100 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

วิธีถอน (ธรรมเนียมโบราณ) ท่านให้ยกผ้าเก่าทับผ้าใหม่แล้วกล่าวค�ำถอนว่า ดงั นี้ สงั ฆาฏ ิ ใหก้ ลา่ วถอนวา่ อมิ ายะ สังฆาฏยิ า กะฐินัง ปจั จุทธะรามิฯ (3 จบ) จวี ร ใหก้ ลา่ วถอนวา่ อมิ นิ า อตุ ตะราสงั เคนะ กะฐนิ งั ปจั จทุ ธะรามฯิ (3 จบ) สบง ให้กลา่ วถอนวา่ อมิ นิ า อันตะระวาสะเกนะ กะฐนิ ัง ปัจจทุ ธะรามิฯ (3 จบ) จากน้ันให้อธิษฐานผ้า ซึ่งวิธีอธิษฐาน (ธรรมเนียมโบราณ) ท่านให้ยกผ้าใหม่ ทับผ้าเก่าแลว้ กลา่ วค�ำอธิษฐาน ว่าดังนี้ สังฆาฏิ ใหอ้ ธิษฐานว่า อมิ ายะ สงั ฆาฏิยา กะฐินงั อธิฏฐามิฯ (3 จบ) จีวร ใหอ้ ธษิ ฐานวา่ อิมินา อุตตะราสงั เคนะ กะฐนิ งั อธฏิ ฐามฯิ (3 จบ) สบง ให้อธษิ ฐานวา่ อิมนิ า อันตะระวาสะเกนะ กะฐินงั อธฏิ ฐามิฯ (3 จบ) การกรานกฐิน พระภิกษุองค์ครองกฐินหันหน้าไปทางพระประธาน กราบ พระประธานองค์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้ัง นะโม 3 ครั้ง แล้วว่ากรานกฐินให้ สงฆ์ไดย้ ินทว่ั กนั จะกรานผ้าสังฆาฏิ อุตตราสงค์ หรืออนั ตรวาสก ผืนใดผนื หนึง่ ก็ได้ คำ� กรานว่าดังนี้ สงั ฆาฏ ิ ใหก้ รานวา่ อมิ ายะ สงั ฆาฏยิ า กะฐนิ งั อตั ถะรามฯิ (3 จบ) จวี ร ใหก้ รานวา่ อมิ นิ า อตุ ตะราสงั เคนะ กะฐนิ งั อตั ถะรามฯิ (3 จบ) สบง ใหก้ รานวา่ อมิ นิ า อนั ตะระวาสะเกนะ กะฐนิ งั อตั ถะรามฯิ (3 จบ) เม่ือกรานจะพึงท�ำอย่างไรด้วยจีวรน้ันท่านมิได้กล่าวไว้ แต่โดยอาการท่ี ท�ำกันมา มือจับหรือลูบผ้าน้ันด้วย ในขณะเปล่งค�ำกรานน้ันๆ ครั้นกรานเสร็จแล้ว พึงหนั หน้ามาหาสงฆท์ ั้งปวง ประนมมือกล่าววา่ อัตถะตัง ภันเต กะฐินงั ธัมมโิ ก กะฐนิ ตั ถาโร อะนโุ มทะถะฯ (3 จบ) จากนัน้ พระสงฆท์ งั้ ปวงจะเปลง่ วาจาอนุโมทนาวา่ ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 101

123)  ค�ำอนโุ มทนากฐิน อตั ถะตัง ภันเต49 สงั ฆสั สะ กะฐนิ ัง ธัมมโิ ก กะฐนิ ัตถาโร อะนโุ มทามะ50 ฯ (กล่าว 3 จบ) 124)  คำ� ชกั ผ้าป่าทไ่ี มม่ เี จา้ ของ อทิ งั วตั ถงั อัสสามิกัง ปังสกุ ุละจวี ะรงั มยั หัง ปาปณุ าติฯ ผา้ บงั สกุ ลุ จวี รอนั ไมม่ เี จา้ ของน้ี จงสำ� เรจ็ ประโยชนแ์ กข่ า้ พเจา้ ในกาลบดั นฯี้ 125)  คำ� ชักผ้าปา่ ท่มี เี จ้าของ อทิ ัง วตั ถงั สัสสามิกัง ปงั สกุ ลุ ะจวี ะรงั มัยหัง ปาปุณาตฯิ ผา้ บังสกุ ุลจีวรอนั มีเจ้าของน้ี จงสำ� เร็จประโยชนแ์ กข่ า้ พเจา้ ในกาลบัดน้ีฯ 126)  ค�ำลาสกิ ขา สกิ ขงั ปัจจกั ขามิ คหิ ีติ มงั ธาเรถะฯ กระผมลาสิกขา ขอทา่ นท้ังหลาย จงจ�ำกระผมไว้ว่า เปน็ คฤหสั ถ์ ณ บัดนี้ฯ (กลา่ ว 3 จบ) 49 สำ� หรบั พระภกิ ษทุ ม่ี พี รรษาแกก่ วา่ ผคู้ รองกฐนิ ใหพ้ ระภกิ ษเุ หลา่ นน้ั เปลย่ี นคำ� วา่ ภนั เต เปน็ อาวโุ ส 50 บางแหง่ นิยมใช้ค�ำวา่ “อนโุ มทาม”ิ 102 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

“ขา้ แต่พระสุคตเจา้ หม่อมฉันเปน็ มารดาของพระองค์ ข้าแตพ่ ระธรี เจ้า พระองค์เปน็ พระบดิ าของหม่อมฉัน ขา้ แตพ่ ระโลกนาถ พระองค์เปน็ ผู้ประทานความสุข อนั เกิดจากพระสทั ธรรมใหห้ มอ่ มฉัน ข้าแตพ่ ระโคดม หม่อมฉันเปน็ ผอู้ นั พระองคใ์ หเ้ กดิ . ข้าแตพ่ ระสุคตเจา้ รูปกายของพระองคน์ ้ี อันหม่อมฉันท�ำให้เจริญเตบิ โต. ธรรมกาย อนั น่าเพลดิ เพลนิ ของหมอ่ มฉนั อันพระองคท์ ำ� ให้เจรญิ เติบโตแลว้ . หม่อมฉันใหพ้ ระองคด์ ดู ดมื่ น้�ำนมอันระงับเสียไดซ้ ึ่งความ อยากชว่ั ครู ่   แม้นำ้� นมคอื พระสทั ธรรมอนั สงบระงับลว่ งสว่ น พระองค์ก็ให้หมอ่ มฉนั ดูดดื่มแลว้ . ข้าแต่พระมหามนุ ใี นการผูกมัดและรกั ษา พระองค์ช่ือว่ามไิ ด้เปน็ หนีห้ ม่อมฉนั .” (ขทุ ทกนกิ าย อปทาน) ปกิณณะกะพิธีส�ำหรับพระภิกษุ 103

หมวดท่ี 8 ค�ำอาราธนาต่างๆ 104 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

127)  วิธีบชู าพระรตั นตรยั ก่อนนัง่ ภาวนา ยะมะหงั สมั มาสมั พทุ ธงั , ภะคะวนั ตงั สะระณงั คะโต51 (คะตา), อมิ นิ า สกั กาเรนะ, ตงั ภะคะวันตงั อะภิปชู ะยามิฯ ข้าพเจ้าบูชาบัดนี้, ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ, ซึง่ ข้าพเจา้ ถงึ , วา่ เปน็ ที่พึ่ง, กำ� จัดทุกข์ได้จรงิ , ดว้ ยสักการะนีฯ้ ยะมะหัง ส๎วากขาตัง, ภะคะตา ธัมมัง สะระณัง คะโต(คะตา), อิมินา สกั กาเรนะ, ตัง ธมั มงั อะภิปชู ะยามิฯ ข้าพเจ้าบูชาบัดน้ี, ซ่ึงพระธรรม, อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว, ซง่ึ ขา้ พเจา้ ถึง, วา่ เปน็ ที่พึ่ง, ก�ำจดั ภัยไดจ้ รงิ , ดว้ ยสักการะนฯ้ี ยะมะหงั สปุ ะฏปิ นั นงั , สงั ฆงั สะระณงั คะโต(คะตา), อมิ นิ า สกั กาเรนะ, ตงั สงั ฆงั อะภปิ ูชะยามิฯ ข้าพเจ้าบูชาบัดนี้, ซึ่งพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี, ซ่ึงข้าพเจ้าถึง, ว่าเป็นที่พึ่ง, ก�ำจัด โรคไดจ้ ริง, ดว้ ยสักการะนีฯ้ อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา, พทุ ธงั ภะคะวนั ตงั อะภวิ าเทมฯิ (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิฯ (กราบ) สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงั ฆงั นะมามฯิ (กราบ) (น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะเสฯ (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ (กล่าว 3 จบ) ค�ำขอขมาลาโทษ 51 ทา่ นชายสวดว่า “คะโต” ท่านหญิงสวดวา่ “คะตา” ค�ำอาราธนาต่างๆ 105

อุกาสะ, อัจจะโย โน ภันเต, อัจจัคคะมา, ยะถาพาเล, ยะถามุฬ๎เห52, ยะถาอะกสุ ะเล, เย มะยัง กะรมั หา, เอวัง ภนั เต มะยงั , อจั จะโย โน, ปะฏิคคณั หะถะ, อายะติง สังวะเรยยามะฯข้าพระพุทธเจ้าขอวโรกาส, ท่ีได้พล้ังพลาดด้วย กาย วาจา ใจ, ในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ,์ เพยี งไร, แตข่ า้ พระพทุ ธเจา้ , เปน็ คน พาลคนหลง, อกศุ ลเขา้ สงิ จติ , ให้กระทำ� ความผิด, ตอ่ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ,์ ขอพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ,์ จงงดความผดิ ทง้ั หลายเหลา่ นน้ั , แกข่ า้ พระพทุ ธเจา้ , จ�ำเดิมแต่วันน้ีเป็นต้นไป, ข้าพระพุทธเจ้า, จักขอส�ำรวมระวัง, ซึ่งกาย วาจา ใจ, สืบตอ่ ไปในเบื้องหน้าฯ คำ� อาราธนา อุกาสะ, ข้าพระพุทธเจ้าขออาราธนา, สมเด็จพระพุทธเจ้า, ท่ีได้ตรัสรู้ ล่วงไปแล้ว, ในอดีตกาล, มากกว่าเมล็ดทรายในท้องพระมหาสมุทรท้ังสี่, และสมเด็จพระพุทธเจ้า, อันจักได้ตรัสรู้, ในอนาคตกาลภายภาคเบื้องหน้า, และสมเด็จพระพุทธเจ้า, ท่ีได้ตรัสรู้, ในปัจจุบันน้ี, ขอจงมาบังเกิด, ในจักขุทวาร โสตทวาร, ฆานทวาร ชิวหาทวาร, กายทวาร มโนทวาร, แห่งข้าพระพุทธเจ้า, ในกาลบัดเด๋ียวนี้เถิดฯ อุกาสะ, ข้าพระพุทธเจ้าขออาราธนา, พระนพโลกุตรธรรมเจ้า, 9 ประการ, ในอดีตกาลท่ีล่วงลับไปแล้ว, จะนับจะประมาณมิได้, และพระนพโลกุตรธรรมเจ้า, 9 ประการ, ในอนาคตกาลภายภาคเบ้ืองหน้า, และพระนพโลกุตรธรรมเจ้า, 9 ประการ, ในปัจจุบันน้ี, ขอจงมาบังเกิด, ในจกั ขทุ วารโสตทวาร,ฆานทวารชวิ หาทวาร,กายทวารมโนทวาร,แหง่ ขา้ พระพทุ ธเจา้ , ในกาลบัดเด๋ียวนีเ้ ถิดฯ 52 พงึ อ่านว่า มนุ -ละ-เห 106 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

อุกาสะ, ข้าพระพุทธเจ้าขออาราธนา, พระอริยสงฆ์กับสมมติสงฆ์, ในอดีตกาล ที่ล่วงลับไปแล้ว, จะนับจะประมาณมิได้, และพระอริยสงฆ์ กับสมมติสงฆ์, ในอนาคตกาลภายภาคเบ้ืองหน้า, และพระอริยสงฆ์กับ สมมติสงฆ์, ในปัจจุบันน้ี, ขอจงมาบังเกิด, ในจักขุทวาร โสตทวาร, ฆานทวาร ชวิ หาทวาร, กายทวาร มโนทวาร, แห่งขา้ พระพทุ ธเจ้า, ในกาลบดั เดี๋ยว นีเ้ ถดิ ฯ คำ� อธษิ ฐาน ขอเดชคุณพระพุทธเจา้ , คุณพระธรรมเจ้า, คณุ พระสงฆเจ้า, คุณครอู ุปัชฌาย์ อาจารย์(ทา่ นผหู้ ญงิ วา่ คณุ ครบู าอาจารย)์ ,อกี ทงั้ คณุ มารดาบดิ า,คณุ ทานบารมีศลี บารม,ี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี, วิริยบารมี ขันติบารมี, สัจจบารมี อธิษฐานบารมี, เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี, ที่ข้าพเจ้าได้บ�ำเพ็ญมา, นับต้ังแต่ร้อยชาติพันชาติ, หมื่นชาติแสนชาติก็ดี, ท่ีข้าพเจ้าได้บ�ำเพ็ญมา, ในปัจจุบันนี้, ต้ังแต่เล็กแต่น้อย, จะระลกึ ไดก้ ด็ ี มริ ะลกึ ไดก้ ด็ ,ี ขอบญุ บารมที ง้ั หลายเหลา่ นน้ั , จงมาชว่ ยประคบั ประคอง ข้าพเจ้า, ขอให้ขา้ พระพุทธเจา้ , ไดส้ �ำเร็จมรรคและผล, ในกาลปัจจบุ ันนี้ เทอญฯ นิพพานะปจั จะโย โหตฯุ ค�ำใหพ้ รเปน็ ภาษาบาลเี มอ่ื จะเลกิ น่งั สมาธิ สัพเพ พทุ ธา พะลปั ปัตตา ปจั เจกานญั จะ ยงั พะลงั , อะระหนั ตานัญจะ เตเชนะ รกั ขงั พนั ธามิ สพั พะโส, (สว่ นนเ้ี พมิ่ ตามความเหมาะสม เต อตั ถะลทั ธา สขุ ติ า วริ ฬุ ห๎ า พุทธะสาสะเน, อะโรคา สขุ ิตา โหถะ สะหะ สพั เพหิ ญาตภิ ิ,) สัพพะพทุ ธานภุ าเวนะ, สัพพะธัมมานภุ าเวนะ, สพั พะสงั ฆานุภาเวนะ, สะทา โสตถี, ภะวนั ตุ เตฯ (สาธุชนรับว่า สาธ)ุ ค�ำอาราธนาต่างๆ 107

128)  คำ� กล่าวบชู าขา้ วพระ (นำ� ) หันทะ มะยัง พทุ ธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโรมะเสฯ (รบั ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะฯ ( 3 จบ) พุทธะรัตนะ, ธัมมะรัตนะ, สังฆะรัตนะ, ญาณะรัตนะ, ข้าพระพุทธเจ้า รวมใจ, บูชาดอกไม้ธูปเทียน, แด่บรมพุทธเจ้า, ในอดีตกาลท่ีล่วงลับไปแล้ว, จะ นบั จะประมาณมิได,้ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์, ในอดตี กาลที่ลว่ งลับไปแล้ว, จะนบั จะประมาณมไิ ด้, พุทธะรัตนะ, ธัมมะรัตนะ, สังฆะรัตนะ, ญาณะรัตนะ, ข้าพระพุทธเจ้า รวมใจ, บชู าดอกไมธ้ ูปเทียน, แดบ่ รมพทุ ธเจา้ , ในปัจจุบันน,้ี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ,์ ในปจั จุบนั น้ี, พทุ ธะรัตนะ, ธัมมะรัตนะ, สังฆะรตั นะ, ญาณะรัตนะ, ขา้ พระพทุ ธเจ้ารวมใจ, บูชาดอกไม้ธูปเทียน, แด่บรมพทุ ธเจ้า, ในอนาคตกาลภายภาคเบ้อื งหน้า, พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์, ในอนาคตกาลภายภาคเบือ้ งหน้า, อิมัง สูปะพยัญชนะ, สัมปันนัง, สาลีนัง, โภชะนัง, อุทะกัง วะรัง, พุทธัสสะ, ธัมมัสสะ, สังฆัสสะ, นิยยาเทมะฯ ข้าพระพุทธเจ้ารวมใจ, บูชาข้าวพระ, ทั้งหวานทง้ั คาว, แด่บรมพทุ ธเจา้ , ในปัจจบุ นั น,้ี พุทธะรัตนะ, ธมั มะรตั นะ, สังฆะรัตนะ, ญาณะรตั นะ, ข้าพระพทุ ธเจ้ารวมใจ, บูชาขา้ วพระ, ทง้ั หวานทง้ั คาว, แดบ่ รมพทุ ธเจ้า, ในอดตี กาลท่ลี ว่ งลับไปแล้ว, จะนบั จะประมาณมไิ ด,้ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์, ในอดตี กาลท่ีลว่ งลับไปแล้ว, จะนบั จะประมาณมิได,้ พุทธะรตั นะ, ธมั มะรตั นะ, สงั ฆะรตั นะ, ญาณะรตั นะ, ข้าพระพุทธเจา้ รวมใจ, บชู าข้าวพระ, ทั้งหวานทง้ั คาว, แดบ่ รมพทุ ธเจ้า, ในปจั จุบนั น้,ี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ,์ ในปจั จุบันนี,้ พทุ ธะรตั นะ, ธมั มะรตั นะ, สังฆะรตั นะ, ญาณะรตั นะ, ข้าพระพุทธเจ้ารวมใจ, บูชาข้าวพระ, ท้ังหวานท้ังคาว, แด่บรมพทุ ธเจา้ , ในอนาคตกาลภายภาคเบ้อื งหน้า, พระพทุ ธ พระธรรมพระสงฆ,์ ในอนาคตกาลภายภาคเบือ้ งหนา้ , บญุ ใด, ทขี่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย, บชู าขา้ วพระน,้ี ขอบญุ นน้ั , จงดลบนั ดาลให,้ ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย, ได้ประโยชน์, ได้ความสขุ , ได้สำ� เร็จมรรคและผล, ในกาลปัจจบุ ันน้เี ทอญ นิพพานะปจั จะโย โหตฯุ 108 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

129)  คำ� ลาขา้ วพระพทุ ธ เสสงั มังคะลงั ยาจามฯิ 130)  ค�ำอาราธนาศลี 5 คำ� กลา่ วน�ำกอ่ นอาราธนาศีล บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ต้ัง เป็นบ่อเกิดแห่ง คุณความดีท้ังหลาย และเป็นประธานแห่งธรรมท้ังปวง บุคคลใดช�ำระศีล ให้บริสุทธ์ิแล้ว จะเป็นเหตุให้เว้นจากความทุจริต จิตจะร่าเริงแจ่มใส และเป็น ท่าหยัง่ ลงมหาสมุทร คอื นพิ พาน ดงั นน้ั ขอเรยี นเชญิ ทกุ ทา่ นพงึ ตง้ั ใจกลา่ วคำ� อาราธนาศลี โดยพรอ้ มเพรยี งกนั มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ ตะตยิ มั ปิ มะยัง ภันเต วสิ งุ วิสุง รกั ขะณตั ถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สลี านิ ยาจามะฯ เมอื่ คฤหัสถอ์ าราธนาศีล 5 แลว้ พระภิกษุพึงกลา่ วใหศ้ ีลดังน้ี นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะฯ (กลา่ ว 3 จบ) พุทธัง สะระณงั คัจฉามฯิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิฯ สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉามฯิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิฯ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิฯ ค�ำอาราธนาต่างๆ 109

พระภกิ ษพุ งึ กล่าวว่า ตสิ ะระณะคะมะนัง นฏิ ฐติ ังฯ คฤหสั ถพ์ ึงตอบรับว่า อามะ ภันเตฯ 1. ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามฯิ (ข้าพเจา้ ขอสมาทาน สิกขาบท คอื เจตนาเปน็ เครอ่ื งเว้นจากการฆ่า) 2. อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิฯ (ขา้ พเจ้าขอสมาทาน สกิ ขาบท คอื เจตนาเปน็ เครอ่ื งเวน้ จากการถือ เอาสงิ่ ของทีเ่ จา้ ของไม่ไดใ้ ห้แล้ว) 3. กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทาน สกิ ขาบท คอื เจตนาเปน็ เครอ่ื งเวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม) 4. มสุ าวาทา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสกิ ขาบท คือ เจตนาเปน็ เคร่อื งเวน้ จากการพูดไม่จรงิ ) 5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิฯ (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเคร่อื งเว้นจากการเสพของเมา มีสุรา และเมรยั เปน็ ตน้ อันเป็นทต่ี ้งั ของความประมาท) พระภกิ ษุพงึ กลา่ วสรุปวา่ อมิ านิ ปญั จะ สกิ ขาปะทาน,ิ สเี ลนะ สคุ ะตงิ ยนั ต,ิ สเี ลนะ โภคะสมั ปะทา, สเี ลนะ นพิ พุตงิ ยันติ, ตสั ๎มา สลี ัง วโิ สธะเยฯ คฤหัสถพ์ งึ รับวา่ “สาธ”ุ แลว้ กราบ 3 ครัง้ 131)  ค�ำอาราธนาศีล 8 มะยงั ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สลี านิ ยาจามะฯ ทตุ ยิ มั ปิ มะยงั ภนั เต, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ สลี านิ ยาจามะฯ ตะตยิ ัมปิ มะยัง ภนั เต, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ สีลานิ ยาจามะฯ เมื่อคฤหัสถ์อาราธนาศีล 8 แล้ว พระภกิ ษุพึงใหศ้ ลี ดังน้ี 110 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะฯ (กล่าว 3 จบ) พุทธัง สะระณงั คจั ฉามิฯ ธัมมัง สะระณัง คจั ฉามฯิ สังฆงั สะระณงั คจั ฉามิฯ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิฯ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิฯ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิฯ พระภกิ ษุพึงกล่าววา่ ตสิ ะระณะคะมะนงั นิฏฐิตังฯ คฤหัสถพ์ งึ ตอบรับวา่ อามะ ภนั เตฯ 1. ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามฯิ (ข้าพเจ้าขอสมาทาน สิกขาบท คือเจตนาเปน็ เคร่อื งเว้นจากการฆา่ ) 2. อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิฯ (ขา้ พเจ้าขอสมาทาน สกิ ขาบท คือ เจตนาเปน็ เคร่อื งเวน้ จากการถอื เอาสิ่งของทเ่ี จ้าของไม่ได้ให้แล้ว) 3. อะพร๎ หั ม๎ ะจะรยิ า เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทาน สิกขาบท คอื เจตนาเปน็ เครอ่ื งเว้นจากการกระทำ� อันมิใชพ่ รหมจรรย)์ 4. มสุ าวาทา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสกิ ขาบท คือ เจตนาเปน็ เคร่ืองเวน้ จากการพูดไม่จรงิ ) 5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิฯ (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการเสพของเมา มีสุรา และเมรยั เปน็ ตน้ อนั เปน็ ทต่ี งั้ ของความประมาท) 6. วิกาละโภชะนาเวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิฯ (ข้าพเจ้าขอสมาทาน สิกขาบท คือ เจตนาเปน็ เครอ่ื งเว้นจากการบรโิ ภคอาหารในเวลาวิกาล) 7. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะมาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวภิ ูสะนฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทาน สิกขาบท คือ เจตนาเป็นเคร่ืองเว้น จากการฟ้อนร�ำ, การขับเพลงการดนตรี, การดกู ารละเลน่ ชนิดเป็นข้าศกึ ตอ่ กศุ ล, การทดั ทรงสวมใส,่ การประดบั การตกแต่ง ตนดว้ ยพวงมาลา ดว้ ยเครือ่ งหอมและเคร่ืองผดั ทา) 111 ค�ำอาราธนาต่างๆ

8. อจุ จาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามฯิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสกิ ขาบท คอื เจตนาเปน็ เครอ่ื งเวน้ จากการนง่ั การนอนบนทนี่ อนสงู และ ที่นอนใหญ่) พระภิกษุพึงกลา่ วสรุปวา่ อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สเี ลนะ นิพพตุ งิ ยันติ, ตสั ม๎ า สลี ัง วโิ สธะเยฯ คฤหัสถพ์ งึ รบั ว่า “สาธ”ุ แลว้ กราบ 3 ครั้ง 132)  คำ� อาราธนาอโุ บสถศลี มะยงั ภันเต, ตสิ ะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมนั นาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะฯ ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถงั ยาจามะฯ ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อโุ ปสะถงั ยาจามะฯ เมอ่ื คฤหสั ถอ์ าราธนาอโุ บสถศลี แลว้ พระภกิ ษพุ งึ กลา่ วใหต้ ามศลี 8 ขา้ งตน้ และ พึงกลา่ วน�ำตอ่ จากศลี ข้อท่ี 8 ดงั นว้ี า่ อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง, อิมัญจะ รัตติง อมิ ญั จะ ทวิ ะสัง, สมั มะเทวะ อะภริ ักขติ งุ สะมาทยิ ามฯิ พระภกิ ษุพงึ กล่าวสรปุ วา่ อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ, อุโปสะถะสีละวะเสนะ, สาธุกัง กัต๎วา, อัปปะมาเทนะ รักขิตัพพานิฯ สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพตุ งิ ยันติ, ตัส๎มา สลี ัง วิโสธะเยฯ 133)  ค�ำอาราธนาสวดพระปริตร วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสมั ปัตตสิ ิทธิยา, สัพพะทกุ ขะวนิ าสายะ ปะริตตงั พร๎ ูถะ มงั คะลงั ฯ สัพพะสมั ปตั ติสทิ ธยิ า, วิปตั ติปะฏพิ าหายะ ปะรติ ตัง พ๎รูถะ มังคะลงั ฯ สพั พะภะยะวินาสายะ สพั พะสมั ปตั ติสิทธิยา, ปะรติ ตัง พ๎รูถะ มงั คะลงั ฯ วิปัตตปิ ะฏพิ าหายะ สัพพะโรคะวนิ าสายะ 112 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

134)  คำ� อาราธนาแสดงธรรม พร๎ หั ม๎ า จะ โลกาธปิ ะตี สะหมั ปะต,ิ กตั อญั ชะลี อนั ธวิ ะรงั อะยาจะถะ, สนั ตธี ะ สตั ตาปปะระชกั ขะชาตกิ า, เทเสตุ ธมั มงั อะนกุ มั ปมิ งั ปะชงั ฯ 135)  คำ� ถวายขา้ วพระพทุ ธ (ต้งั นะโม 3 จบ) อิมงั สปู ะพย๎ ญั ชะนะสมั ปนั นงั สาลนี งั โภชะนงั อทุ ะกงั วะรงั พทุ ธสั สะ ธมั มสั สะ สงั ฆัสสะ ปเู ชมฯิ 136)  ปณิ ฑะปาตะธาตุปฏกิ ลู ะปัจจะเวกขะณะปาโฐ (น�ำ) หันทะ มะยัง ปิณฑะปาตะธาตุปฏิกูลละปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะเสฯ (รบั ) ยะถาปัจจะยงั ปะวตั ตะมานัง ธาตมุ ตั ตะเมเวตัง ยะททิ ัง ปณิ ฑะ- ปาโต, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ, สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย, อิมัง ปูติ กายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชคิ ุจฉะนีโย ชายะติฯ สิง่ เหล่านี้ เปน็ สกั วา่ ธาตตุ ามธรรมชาติเทา่ นั้น กำ� ลงั เปน็ ไปตามเหตตุ ามปจั จยั อยู่เนืองนิจ สิ่งเหล่าน้ี คือ บิณฑบาต และผู้บริโภคบิณฑบาตนั้น เป็นสักว่าธาตุ ตามธรรมชาติ มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล ว่างเปล่า จากความหมายแห่งความเป็นตัวตนก็บิณฑบาตท้ังหมดนี้ ไม่เป็นของน่าเกลียดมา แต่เดิมคร้ันมาถูกเข้ากับกาย อันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว ย่อมกลายเป็นของน่าเกลียด อยา่ งยงิ่ ไปด้วยกันฯ 137)  ค�ำอธษิ ฐานเม่ือจบของต่างๆ ถวายพระ สทุ ินนัง วะตะ เม ทานงั , อาสะวักข๎ยาวะหงั โหตุฯ ขอผลแหง่ ทานทข่ี า้ พเจา้ ใหด้ แี ลว้ หนอ จงเปน็ เครอ่ื งกำ� จดั อาสวะกเิ ลสออกไป จากใจของขา้ พเจา้ ด้วยเทอญฯ ค�ำอาราธนาต่างๆ 113

138)  คำ� สมาทานยถาสนั ถติกังคธดุ งควัตร เสนาสะนะโลลปุ ปงั , ปะฏกิ ขิปามิ, ยะถาสันถะตกิ งั คัง, สะมาทยิ ามฯิ ข้าพเจ้าขอสมาทานธุดงค์, องค์แห่งที่อยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เป็นวตั รปฏิบตั ิฯ ทุติยัมปิ, เสนาสะนะโลลุปปัง, ปะฏิกขิปามิ, ยะถาสันถะติกังคัง, สะมาทิยามิฯ ข้าพเจ้าขอสมาทานธุดงค์, องค์แห่งท่ีอยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เป็นวัตรปฏิบัติ, แม้ครัง้ ท่ี 2ฯ ตะติยัมปิ, เสนาสะนะโลลุปปัง, ปะฏิกขิปามิ, ยะถาสันถะติกังคัง, สะมาทยิ ามฯิ ข้าพเจ้าขอสมาทานธุดงค์, องค์แห่งท่ีอยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เป็นวัตรปฏิบัติ, แม้คร้ังท่ี 3ฯ 139)  คำ� ลายถาสนั ถติกงั คธุดงควตั ร เสนาสะนะโลลุปปัง, ปะฏกิ ขปิ ามิ, ยะถาสนั ถะติกังคงั , ปจั จุทธะรามฯิ ข้าพเจ้าขอลาธุดงค์, องค์แห่งท่ีอยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เป็นวัตร ปฏบิ ัติฯ ทุติยัมปิ, เสนาสะนะโลลุปปัง, ปะฏิกขิปามิ, ยะถาสันถะติกังคัง, ปจั จุทธะรามฯิ ข้าพเจ้าขอลาธุดงค์, องค์แห่งที่อยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เปน็ วัตรปฏบิ ตั ิ, แมค้ รงั้ ท่ี 2ฯ ตะติยัมปิ, เสนาสะนะโลลุปปัง, ปะฏิกขิปามิ, ยะถาสันถะติกังคัง, ปจั จทุ ธะรามิฯ ข้าพเจ้าขอลาธุดงค์, องค์แห่งท่ีอยู่อาศัย, ตามแต่เจ้าหน้าที่จัดให้, เปน็ วตั รปฏบิ ัติ, แม้ครง้ั ท่ี 3ฯ 114 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

140)  ค�ำกล่าวแสดงตนเปน็ พุทธมามะกะ เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง, สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมญั จะ สังฆัญจะ, พุทธมามะกาติโน, สังโฆ ธาเรตุฯ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ น้ัน, แม้เสด็จปรินิพพานไปนานแล้ว, กับทั้งพระธรรม, และพระสงฆ์, ว่าเป็นท่ีพ่ึง, ท่ีระลึกอันสูงสุด, ขอพระสงฆ์, โปรดจ�ำข้าพเจ้าท้ังหลายไว้ว่า, เป็นพุทธมามะกะ, ผถู้ งึ พระรตั นตรยั , เปน็ สรณะตลอดชวี ติ , ตงั้ แตบ่ ดั น,้ี ขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, จะปฏบิ ตั ติ น, มีศรัทธาในพระรตั นตรยั , ตงั้ ใจรักษาศลี , ไมเ่ ชื่อถือมงคลตน่ื ขา่ ว, ไม่แสวงบญุ นอก พระพุทธศาสนา, หมน่ั สร้างบุญกุศล, ในพระพทุ ธศาสนา, ตลอดกาลนานเทอญฯ 141)  คำ� ขอฝากตวั เปน็ ศิษย์ หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะเสฯ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะฯ ( 3 จบ) อาจะรโิ ย เม ภันเต โหหิฯ อาจะรโิ ย เม ภนั เต โหหฯิ อาจะรโิ ย เม ภนั เต โหหิฯ อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหงั ภาโร, อะหมั ปิ เถรัสสะ ภาโรฯ อชั ชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหงั ภาโร, อะหมั ปิ เถรสั สะ ภาโรฯ อชั ชะตัคเคทานิ เถโร, มยั หงั ภาโร, อะหัมปิ เถรสั สะ ภาโรฯ ด้วยการกล่าวค�ำสัตย์น้ี, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอมอบกายถวายชีวิต, ให้อยู่ใน ความดแู ล, ของพระอาจารย์, และคณะสงฆ์, ได้โปรดเมตตา, ใหก้ ารอบรมส่งั สอน, แกข่ า้ พเจา้ ทงั้ หลาย, เพอื่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง, ในการศกึ ษา, ในการดำ� เนนิ ชวี ติ , ทง้ั ภพ ชาติน,้ี ชาตหิ น้า, และเพ่อื ประโยชน์, แกก่ ารท�ำใหแ้ จ้งซึ่งพระนพิ พาน, ของข้าพเจา้ ทั้งหลาย, ในปัจจบุ ันชาตนิ เี้ ทอญฯ --- กราบ 3 คร้ัง --- ค�ำอาราธนาต่างๆ 115

142)  คำ� ขอบวช ส�ำหรบั อบุ าสกิ าแกว้ เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง, สะระณัง คัจฉามิ, ธมั มญั จะ ภกิ ขสุ งั ฆญั จะ,อปุ าสกิ งั มงั ,สงั โฆ ธาเรต,ุ อชั ชะตคั เคปาณเุ ปตงั ,สะระณงั คะตงั . ทุติยัมปาหงั ภันเต, สจุ ิระปะรินิพพุตมั ป,ิ ตัง ภะคะวนั ตงั , สะระณัง คัจฉามิ, ธมั มญั จะ ภกิ ขสุ งั ฆญั จะ,อปุ าสกิ งั มงั ,สงั โฆธาเรต,ุ อชั ชะตคั เคปาณเุ ปตงั ,สะระณงั คะตงั . ตะติยมั ปาหงั ภนั เต, สจุ ริ ะปะรนิ ิพพตุ ัมป,ิ ตัง ภะคะวนั ตัง, สะระณงั คัจฉาม,ิ ธัมมัญจะ ภิกขุสงั ฆญั จะ, อปุ าสิกงั มัง, สังโฆ ธาเรตุ, อชั ชะตคั เค ปาณุเปตัง, สะระณงั คะตงั . คำ� แปล ข้าแต่ท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าขอถึง, สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า, แม้เสด็จดับ ขันธปรนิ ิพพานนานมาแลว้ , กับท้ังพระธรรม, และพระสงฆ,์ วา่ เป็นทีพ่ งึ่ , ที่ระลกึ , ขอพระสงฆ์, จงจ�ำข้าพเจ้าไว้ว่า, เป็นอุบาสิกาแก้ว, ในพระพุทธศาสนา, ผู้ถึง พระรตั นตรยั , ว่าเปน็ สรณะตลอดชวี ิต, ตง้ั แต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป แม้ครั้งท่ี2, ข้าพเจ้าขอถึง, สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า, แม้เสด็จดับ ขันธปรินพิ พานนานมาแล้ว, กบั ทั้งพระธรรม, และพระสงฆ,์ ว่าเป็นท่ีพงึ่ , ท่ีระลกึ , ขอพระสงฆ์, จงจ�ำข้าพเจ้าไว้ว่า, เป็นอุบาสิกาแก้ว, ในพระพุทธศาสนา, ผู้ถึง พระรตั นตรยั , วา่ เปน็ สรณะตลอดชีวิต, ตง้ั แตบ่ ดั นีเ้ ปน็ ตน้ ไป แม้ครั้งท่ี3, ข้าพเจ้าขอถึง, สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า, แม้เสด็จ ดับขันธปรินิพพานนานมาแล้ว, กับท้ังพระธรรม, และพระสงฆ์, ว่าเป็น ทพ่ี ง่ึ , ทรี่ ะลกึ , ขอพระสงฆ,์ จงจำ� ขา้ พเจา้ ไวว้ า่ ,เปน็ อบุ าสกิ าแกว้ , ในพระพทุ ธศาสนา, ผ้ถู งึ พระรัตนตรัย, ว่าเปน็ สรณะตลอดชีวติ , ตัง้ แตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป 116 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

“ ดวงอาทิตย์ดวงเดยี ว ผุดข้นึ มาขจดั ความมดื ทำ� ให้อากาศสว่างได้ ฉนั ใด คนดๆี แม้เพียงคนเดียว ก็สามารถ ทำ� ใหท้ ุกคนในโลกสะอาดและสวา่ งได้ ฉันน้ัน” (พระเทพญาณมหามนุ )ี ค�ำอาราธนาต่างๆ 117

หมวดท่ี 9 ค�ำกล่าวค�ำหถมววดาทย่ี 9ทานตา่ งๆ คำ� กล่ำวถวำยทำนต่ำงๆ 118 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

วธิ ถี วายทานต่างๆ 143)  คำ� ถวายสังฆทาน คำ� กล่าวนำ� ก่อนถวายภตั ตาหารเป็นสังฆทาน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า, สัปบุรุษย่อมให้ทาน, เช่นข้าวและน้�ำ, ท่ีสะอาดประณีต, ตามกาลสมควรอยู่เป็นนิจ, แด่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์, ซึ่งเป็น บุญเขตอันเยี่ยม, ส�ำหรับผู้ให้เครื่องบริโภคน้ัน, ได้ชื่อว่า, ให้ฐานะ 5 ประการ, แก่ปฏิคาหก, ดังต่อไปน้ีคือ, ให้อายุ, ให้วรรณะ, ให้สุขะ, ให้พละ, และให้ปฏิภาณ, ผู้ให้ก็ย่อมได้รับฐานะทั้ง 5 ประการน้ันด้วย, ท่านสาธุชนท้ังหลาย, บุญเท่านั้น, เปน็ ทีพ่ ่งึ ของพวกเราทัง้ หลาย, ดังนัน้ , ขอเรียนเชญิ ทกุ ท่าน, พงึ ต้งั ใจ, กลา่ วคำ� ถวายภัตตาหารเป็นสงั ฆทาน, โดยพรอ้ มเพรยี งกนั นะครับ/ค่ะ (นำ� ) หันทะ มะยงั พุทธสั สะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการงั กะโรมะเสฯ (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะฯ (กลา่ ว 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ภตั ตาน,ิ สะปะรวิ าราน,ิ ปะฏคิ คณั หาตุ, อัมห๎ ากัง, ทฆี ะรตั ตงั , หติ ายะ, สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพื่อประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 119

144)  ค�ำถวายกองทนุ ภตั ตาหาร (ตง้ั นะโม 3 จบ) อิเม มะยัง ภันเต, ภัตตะมูละนิธี, สะปะริวาเร, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขสุ งั โฆ, อิเม ภตั ตะมลู ะนธิ ี, สะปะรวิ าเร, ปะฎิคคัณหาต,ุ อัมห๎ ากงั , ฑีฆะรัตตงั , หติ ายะ, สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, กองทุนภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, กองทุนภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, เพอื่ ประโยชน,์ เพอื่ ความสขุ , เพอ่ื มรรคผลนพิ พาน, แกข่ า้ พเจา้ ทงั้ หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 145)  ค�ำถวายเครอ่ื งไทยธรรม (ต้งั นะโม 3 จบ) อิมัง มะยัง ภันเต, จะตุปัจจะยาทิกัง, เทยยะธัมมัง, สะปะริวารัง, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมัง, จะตุปัจจะยาทิกัง, เทยยะธัมมัง, สะปะริวารัง, ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง, ฑฆี ะรตั ตงั , หติ ายะ, สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, เคร่ือง ไทยธรรม, มีปัจจัยสี่เป็นต้น, พร้อมด้วยของบริวารน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, เครื่องไทยธรรม, มีปัจจัยส่ีเป็นต้น, พร้อมด้วยของ บริวารน,ี้ ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพือ่ ประโยชน,์ เพอ่ื ความสขุ , เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 120 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

146)  คำ� ถวายโคมมาฆะประทีป (ตั้ง นะโม 3 จบ) อิเม มะยัง ภันเต, มาฆะปะทีเป, สะปะริวาเร, มาฆะปุณณะมิยัง, พุทธัสสะ, ปูชะนัตถายะ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิเม, มาฆะปะทีเป, สะปะริวาเร, ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง, ฑฆี ะรตั ตัง, หติ ายะ, สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย, โคมมาฆะ- ประทีป, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่านี้, เพื่อเป็นพุทธบูชา, ในวันเพ็ญ เดือนมาฆะ, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, โคมมาฆะประทีป, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, เพื่อประโยชน์, เพอ่ื ความสขุ , เพอ่ื มรรคผลนพิ พาน, แกข่ า้ พเจ้าทง้ั หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 147)  ค�ำถวายผ้าอาบนำ�้ ฝน (ต้ัง นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏคิ คณั หาต,ุ อมั ๎หากงั , ทฆี ะรัตตัง, หิตายะ, สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ผ้าอาบ น้�ำฝน, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุ สงฆ์, จงรับ, ผ้าอาบน้�ำฝน, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้า ทั้งหลาย, เพ่ือประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพ่ือมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้า ท้งั หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 121

148)  ค�ำถวายผ้าไตรจวี ร (ตั้ง นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, ติจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ติจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าท้ังหลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่ึงผ้าไตรจีวร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ซึ่งผ้าไตรจีวร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, เพอ่ื ประโยชน,์ เพอ่ื ความสขุ , เพอื่ มรรคผลนพิ พาน, แกข่ า้ พเจา้ ทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 149)  คำ� ถวายผา้ ไตรจวี รอุทิศแก่ผ้ตู าย (ตั้ง นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, ติจีวะรานิ, อัยยัสสะ เทมะ, สาธุ โน ภันเต, อะยัง ติจีวะระปูชาวิปาโก, อัม๎หากัง, มาตาปิตุอาทีนัง, ญาตีนัง, กาละกะตานัง, สังวัตตะตุ, อัม๎หากัง, มาตาปิตุอาทะโย, ญาตะกา, ทานะปัตติง, ละภันตุ, อมั ๎หากงั , เจตะสาฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอถวายผ้าไตรจีวร, แด่พระภิกษสุ งฆ์, ขา้ แต่พระภิกษุสงฆผ์ เู้ จรญิ , ขอบุญกุศล, ของการบชู า, ดว้ ยผ้าไตร จีวรนี้, จงเป็นไป, เพื่อญาติท้ังหลาย, มีบิดามารดาเป็นต้น, ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, ขอญาตทิ งั้ หลาย, มมี ารดาบดิ าเปน็ ตน้ , ของขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย, จงไดร้ บั , สว่ นแหง่ ทานน,้ี ตามความปรารถนา, ของขา้ พเจ้าทง้ั หลายเทอญฯ 122 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

150)  ค�ำถวายยารักษาโรค (ตงั้ นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, คิลานะเภสัชชานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขสุ งั โฆ, อิมานิ, คลิ านะเภสชั ชาน,ิ สะปะริวาราน,ิ ปะฏิคคณั หาตุ, อัมห๎ ากัง, ฑีฆะรัตตัง,หติ ายะ, สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ยารักษาโรค, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ยารกั ษาโรค, พรอ้ มดว้ ยบรวิ ารทง้ั หลายเหลา่ น,ี้ ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, เพอื่ ประโยชน,์ เพ่ือความสขุ , เพอ่ื มรรคผลนิพพาน, แกข่ ้าพเจา้ ทง้ั หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 151)  คำ� ถวายผา้ ปา่ (ต้งั นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, ปังสุกูละจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภกิ ขสุ งั โฆ, อมิ าน,ิ ปงั สกุ ลู ะจวี ะราน,ิ สะปะรวิ าราน,ิ ปะฏคิ คณั หาต,ุ อมั ห๎ ากงั , ทฆี ะรตั ตงั , หติ ายะ, สขุ ายะ, นพิ พานายะ จะฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ผ้าบังสุกุล จีวร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ผ้าบังสุกุลจีวร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้า ท้ังหลาย, เพ่ือประโยชน์, เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้า ทง้ั หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 123

152)  ค�ำถวายมะตะกะภตั ร (ตง้ั นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, มะตะกัสสะเจวะ, อัมหากัญจะ, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ซึ่งมะตะกะ- ภัตร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุ สงฆ์, จงรับ, ซึ่งมะตะกะภัตร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้า ทั้งหลาย, เพื่อประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพ่ือมรรคผลนิพพาน, แก่หมู่ญาติ ผ้ลู ว่ งลบั ไปแล้ว, และแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 153)  คำ� ถวายเทยี นพรรษา (ตั้ง นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, วัสสิกะปะทีปานิ, สะปะริวารานิ, เตมาสัง, พุทธัสสะ, ปูชะนัตถายะ, อิมัส๎ะมิง อาวาเส, นิยยาเทมะ, สาธุ โน ภันเต, อะยัง เตมาสัง, วัสสิกะปะทปี านัง, ทานสั สะ, อานิสังโส, อัมหากัญเจวะ, ฑฆี ะรัตตงั , หติ ายะ, สุขายะ, นพิ พานายะ จะ ฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, เทียนพรรษา, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, ไว้ในอาวาสแห่งน้ี, เพ่ือเป็น พทุ ธบูชา, ตลอดพรรษา, ขออานิสงส์, แห่งการถวายเทียนพรรษา, ตลอดพรรษานี้, จงเป็นไป, เพ่ือประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้า ทงั้ หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 124 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

154)  ค�ำถวายเครือ่ งกันหนาว (ตัง้ นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต, ปาปุระณานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ,ปาปุระณานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏคิ ัณหาตุ, อมั ห๎ ากัง, ฑีฆะรตั ตัง, หติ ายะ, สุขายะ, นพิ พานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, เคร่ืองห่มกันหนาว, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, เคร่ืองห่มกันหนาว, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, เพอ่ื ประโยชน,์ เพอื่ ความสขุ , เพอ่ื มรรคผลนพิ พาน, แกข่ า้ พเจา้ ทงั้ หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 155)  ค�ำถวายผา้ อาบนำ�้ ฝนและหลอดไฟ (ตง้ั นะโม 3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต,วัสสิกะสาฎิกานิ,ปะทีปานิ จะ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, วัสสิกะสาฎิกานิ, ปทีปานิ จะ, ปะฎคิ คัณหาต,ุ อัมห๎ ากัง, ฑฆี ะรัตตัง, หติ ายะ, สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ ค�ำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย, ผ้าอาบ น้�ำฝน, และโคมไฟทั้งหลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ผ้าอาบน�้ำฝน, และโคมไฟทั้งหลายเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพื่อประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพ่ือมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าท้ังหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 125

156)  ค�ำถวายสลากภตั ร (ตั้ง นะโม 3 จบ) เอตานิ มะยัง ภันเต, สะลากะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, อะสุกัฏฐาเน, ฐะปิตานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, เอตานิ สะลากะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง, ทีฆะรัตตัง, หติ ายะ, สขุ ายะ, นิพพานายะ จะฯ คำ� แปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ซึ่งสลาก- ภัตร, พร้อมด้วยบริวารท้ังหลายเหล่านี้, อันข้าพเจ้าท้ังหลาย, ตั้งไว้แล้ว ณ ที่โน้น, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ซ่ึงสลากภัตร, พร้อมด้วย บริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพื่อประโยชน์, เพ่ือความสุข, เพอ่ื มรรคผลนิพพาน, แกข่ ้าพเจ้าทงั้ หลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ 157)  พิธปี ลอ่ ยสตั วป์ ลอ่ ยปลา ตัวอย่างคำ� เกริน่ ก่อนน�ำปล่อยสัตว์ปลอ่ ยปลา ท่านสาธุชนทั้งหลาย บางคนถึงจะมีทรัพย์สมบัติมากมายสักเพียงใด ก็ตามที มีสมบัติเป็นพันล้านก็ตามเถิด แต่ถ้าชีวิตของเขาเหล่านั้น เป็นชีวิต ท่ีส้ันเสียแล้ว ก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้จ่ายสมบัติเหล่าน้ัน และโอกาสที่จะ ได้ใช้สมบัติเหล่าน้ันก็มีน้อย เพราะฉะนั้นชีวิตและอายุที่ยืนนาน จึงเป็นสิ่งท่ี พึงปรารถนาส�ำหรับทุกคน การให้ชีวิตย่อมได้ชีวิต ท่านท้ังหลายได้เดินทางออก จากบ้านมาต้ังแต่เช้า เพ่ือมาสั่งสมบุญให้ย่ิงๆ ข้ึนไป เราได้มาใช้เวลาให้กับตัวเรา อย่างเต็มที่ในการสร้างบารมีให้กับตัวเอง โดยเฉพาะการปล่อยสัตว์ปล่อยปลา ให้ชีวิตสัตว์เป็นทาน เป็นการต่ออายุให้กัเรา เพราะฉะน้ันเม่ือท่านได้ทราบถึง อานิสงส์แล้ว ต่อจากนี้ไป ขอเรียนเชิญทุกท่าน ต้ังใจกล่าวค�ำปล่อยสัตว์ปล่อยปลา โดยพร้อมเพรียงกนั 126 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

คำ� ปล่อยสัตว์ปลอ่ ยปลา (นำ� ) หนั ทะ มะยงั พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการงั กะโรมะเสฯ (รบั ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะฯ (กล่าว 3 จบ) พทุ ธะปชู า, มะหาเตชะวนั โต, ขา้ พเจา้ , บชู าพระพทุ ธเจา้ , ขอใหม้ เี ดช, มอี ำ� นาจ, มีวาสนา ธัมมะปชู า, มะหาปัญโญ, ขา้ พเจ้า, บูชาพระธรรม, ขอให้มีปญั ญา สงั ฆะปชู า, มะหาโภคะวะโห, ขา้ พเจา้ , บชู าพระสงฆ,์ ขอใหม้ โี ภคะทรพั ยส์ มบตั ิ อิมินา สักกาเรนะ, พุทธัง, ธัมมัง, สังฆัง, ปูเชมิฯ ข้าพเจ้า, ขอนอบ น้อมถึง, คุณพระพุทธเจ้า, คุณพระธรรมเจ้า, คุณพระสงฆเจ้า, อีกทั้ง คุณมารดาบิดา, คุณครูอุปัชฌาย์ อาจารย์(ท่านผู้หญิงว่า คุณครูบาอาจารย์), คุณ ทานบารมี ศีลบารมี, เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี, วิริยะบารมี ขันติบารมี, สัจจะ บารมี อธษิ ฐานบารม,ี เมตตาบารมี อเุ บกขาบารมี, ทข่ี ้าพเจ้าได้บำ� เพ็ญมา, นบั ตงั้ แต่ รอ้ ยชาติพนั ชาต,ิ หม่นื ชาติแสนชาตกิ ด็ ,ี ทีข่ ้าพเจ้าไดบ้ �ำเพ็ญมา, ในปจั จุบนั นี,้ ตง้ั แต่ เล็กแตน่ ้อย, จะระลึกไดก้ ็ดี, มริ ะลึกไดก้ ็ด,ี ขอบญุ บารมีทง้ั หลายเหล่านน้ั , จงมาชว่ ย ประคับประคองข้าพเจ้า, ให้สิ้นสรรพทุกข์, ให้สิ้นสรรพโศก, ให้สิ้นสรรพโรค, ใหส้ น้ิ สรรพภยั , ศตั รใู ดๆ อย่าได้มาพอ้ งพาล สัพเพ สัตตา, อะเวรา, อัพ๎ยาปัชฌา, อะนีฆา, สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ ขอสัตว์ท้ังหลายท้ังปวง, จงเป็นผู้ไม่มีเวร, จงเป็นผู้ไม่มีภัย, ขอให้พ้นทุกข์พ้นภัย, ปลาทง้ั หลายเหลา่ น,้ี หากขา้ พเจา้ ไมช่ ว่ ยชวี ติ ไว,้ กจ็ ะถงึ ซง่ึ ความตาย, ในวนั นห้ี รอื พรงุ่ น้ี ขอบุญกุศล, ที่ข้าพเจ้าช่วยให้, สัตว์พ้นจากความตาย, สัตว์พ้นจากที่คุมขัง, จงมาชว่ ยประคบั ประคองขา้ พเจา้ ,ใหส้ นิ้ สรรพทกุ ข,์ ใหส้ น้ิ สรรพโศก,ใหส้ น้ิ สรรพโรค, ให้สิน้ สรรพภยั , ใหไ้ ด้สำ� เร็จมรรคผลนิพพาน, ในกาลปัจจุบนั นี้ เทอญฯ นพิ พานะปจั จะโย โหตุฯ ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 127

158)  วธิ ีกรวดนำ�้ หลงั จากการทเ่ี ราไดส้ ง่ั สมบญุ ตา่ งๆแลว้ เมอ่ื จะกรวดนำ้� เพอ่ื อทุ ศิ สว่ นบญุ ใหก้ บั หมญู่ าตนิ นั้ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ประเพณที ม่ี มี าตงั้ แตโ่ บราณกาลดว้ ย วธิ นี ยิ มทำ� กนั ดงั นี้ คอื เรมิ่ ต้นเตรียมน้ําสะอาดใส่ภาชนะไวพ้ อสมควร จะเปน็ คณโฑเลก็ ๆ แกว้ นาํ้ หรอื ขัน อย่างใดอยา่ งหนึง่ ก็ได้ พอสงฆเ์ รม่ิ สวดอนุโมทนาดว้ ยบท ยะถา...ก็เริ่มกรวดนำ�้ โดย ตง้ั ใจนกึ ถงึ บญุ และอทุ ศิ สว่ นบญุ โดยทใ่ี ชม้ อื ขวาจบั ภาชนะมอื ซา้ ยชว่ ยประคอง คอ่ ยๆ รินสายน้ำ� ออกจากภาชนะ แล้วว่า บทกรวดนำ�้ ในใจไปจนกระทั่งน�้ำหมดภาชนะ ในขณะเดียวกันกับเวลาที่พระรูปถัดไปสวดรับว่า สัพพีติโย...ให้ผู้กรวดน้�ำ นึกอธษิ ฐานจิตในส่งิ ปรารถนาต่อไปจนกระท่งั เสร็จส้นิ ค�ำกรวดน�ำ้ อิทงั เม, ญาตีนงั โหต,ุ สุขิตา โหนต,ุ ญาตะโยฯ (กลา่ ว 3 จบ) ขอบญุ น,ี้ จงสำ� เรจ็ แกญ่ าตทิ งั้ หลาย, ของขา้ พเจา้ , ขอญาตทิ งั้ หลาย, จงเปน็ สขุ เป็นสขุ เถดิ ฯ 159)  กิจวัตรของพระภิกษุ 10 อย่าง 1. บิณฑบาต 2. กวาดวดั 3. ปลงอาบตั ิ 4. ท�ำวตั รสวดมนต์ และเจริญสมาธภิ าวนา 5. พิจารณาปัจจเวกขณ์ 6. อุปฏั ฐากอุปชั ฌาย์อาจารย์ 7. บรหิ ารสิง่ ของ และร่างกาย 8. ขวนขวายเรียนพระธรรมวินัย 9. เอาใจใส่ของสงฆ์ และกิจของสงฆ์ 10. ด�ำรงตนให้นา่ ไหว้ 128 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

160)  การปฏบิ ัตติ นของคนไปวัด การแตง่ กายไปวัด 1. เสือ้ ผ้า ควรใชส้ ขี าวหรอื สอี ่อน ถา้ มลี ายก็ควรเปน็ ลายเรียบๆ เย็นตา 2. เนื้อผ้า ไมโ่ ปร่งบางเกนิ ไป ไม่ประณีตเกนิ ไป ไม่หรหู รา แพงเกินไป 3. การตัดเย็บ อย่าให้รัดรูป แต่หลวมพอสมควร เพื่อความสะดวกในการก ราบไหว้พระ และน่ังสมาธิ ส�ำหรับท่านหญิงไม่ควรนุ่งกระโปรงส้ัน หรือ ชะเวกิ ชะวากผา่ หนา้ ผา่ หลงั แตค่ วรนงุ่ กระโปรงยาวพอสมควร หรอื ผา้ ถงุ สำ� เร็จ และควรนำ� ผ้าคลุมเขา่ มาดว้ ย เพือ่ ใช้ขณะนั่งพบั เพยี บ 4. ทรงผม ท่านชายตัดให้สั้น ถ้าไว้ยาวก็หวีให้เรียบ ท่านหญิง อย่าแต่งผม ประณตี เกนิ งาม ผพู้ บเห็นจะได้ไม่เกิดความคิดฟ้งุ ซ่าน 5. น�้ำมันใส่ผม ไม่ควรใช้ หากจ�ำเป็นต้องใช้ ควรเป็นชนิดกลิ่นอ่อนที่สุด จะได้ไมร่ บกวนผู้อ่ืน 6. น�้ำหอม ควรเวน้ เด็ดขาด 7. การแต่งหน้า เขยี นค้ิว ทาปาก ทาเล็บ ฯลฯ จนเกินงาม ไมค่ วรกระท�ำ 8. เคร่ืองประดับราคาแพง เช่น แหวนเพชร นาฬิกาเรือนทอง หรือ สร้อยทองคำ� เส้นโตๆ ฯลฯ ควรเว้นเด็ดขาด 9. โปรดระลึกเสมอว่า วัด...ไมใ่ ช่เวทีประกวดความงาม หรือสถานที่พลอดรกั วัด...ไมใ่ ช่สถานทีอ่ วดความมั่งมี วดั ...เปน็ สถานทีแ่ สวงบุญ กิเลสใดท่ีพอกำ� จัดได้เองกรณุ ากองท้ิงไว้ นอกประตวู ดั ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 129

161)  การเตรียมใจกอ่ นไปวดั ความมุ่งหมายส�ำคัญของการไปวัด ก็คือ ไปเพ่ือขัดกิเลสให้หมดสิ้น แตก่ เิ ลสตา่ งๆนนั้ ไดห้ มักดองใจมาเปน็ เวลานานแลว้ ท�ำใหข้ ดั เกลาไม่ค่อยออก หรอื ออกแล้วถ้าไม่ระวังให้ดีก็อาจกลับงอกใหม่ได้อีก งานขัดกิเลสเป็นงานท่ีต้องใช้สติ ปญั ญาอย่างเต็มท่ี และโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ตอ้ งมกี ำ� ลงั ใจ ดงั น้ัน การเตรียมใจใหพ้ ร้อมก่อนไปวดั จึงมคี วามจำ� เปน็ เชน่ เดียวกับทหารท่ี ต้องเตรียมพร้อมก่อนลงสนามรบ การเตรียมใจกอ่ นไปวัด ทำ� ดังน้ี •• กอ่ นเขา้ นอนคนื นี้ จดั การภารกจิ ทจ่ี �ำเปน็ ใหเ้ สรจ็ เรยี บร้อย ถ้าไม่เรยี บรอ้ ย ก็มอบหมายผทู้ ่ีไว้ใจไดท้ ำ� แทน ขณะประกอบการบุญจงึ จะไม่เปน็ กงั วล •• ส�ำรวมใจระลึกถึงบุญกุศลท่ีเคยท�ำมาดีแลว้ ตลอดชวี ติ เพอ่ื ยังจติ ใหแ้ จ่มใส •• กราบบชู าพระรตั นตรยั หนา้ ทบ่ี ชู าพระสวดมนตท์ ำ� วตั รเยน็ แลว้ นงั่ ขดั สมาธิ เจริญภาวนา •• ใหห้ มนั่ ปฏบิ ตั เิ ชน่ นต้ี อ่ ไปอยา่ ลดละ อยา่ งนอ้ ย 15-20 นาที กอ่ นนอนทกุ ๆ คนื •• เม่ือตื่นนอนตอนเช้า ก่อนอืน่ กำ� หนดใจระลึกถงึ พระธรรมกายเพอ่ื ท�ำใจให้ บริสุทธแ์ิ ลว้ เตรยี มตวั ไปวัดโดยกำ� หนดใจว่า วันนเ้ี ราจะตกั ตวงบุญใหเ้ ต็ม ที่ ใหค้ มุ้ กบั ความเสยี สละที่ได้สูก้ ระท�ำ จะอาศัยบุญนฆี้ ่ากิเลสใหส้ น้ิ ซาก การใหท้ าน เพอ่ื ฆ่ากิเลส คอื โลภะ การรกั ษาศลี และแผเ่ มตตา เพื่อฆา่ กเิ ลส คอื โทสะ การเจริญภาวนาใหเ้ กิดปัญญา เพ่ือฆา่ กเิ ลส คอื โมหะ 130 หนังสือสวดมนต์ ฉบับภาคพื้นอเมริกา

162)  ระหว่างการเดนิ ทางไปวัด ขณะเดินทางไปวัด ไม่ควรสนทนากันในเร่ืองท่ีท�ำให้ใจขุ่นมัว เช่น เรื่องโจรผู้ร้าย ของแพง ไฟไหม้ น้�ำท่วม ชู้สาว การเมืองฯลฯ แต่ควรก�ำหนด ใจระลึกถึงเร่ืองบุญกุศล เช่น ผลของการท�ำทานด้วยความเคารพ ผลของ การรักษาศีล 5 และศีล 8 ตลอดชีวิต ผลของการแผ่เมตตา ผลของการ เจริญภาวนาว่ามีอย่างไรบ้าง และตนได้สร้างบุญกุศลเหล่าน้ันมากน้อย เพยี งใด ฯลฯ การปฏบิ ัติตนโดยท่ัวไปภายในวดั วดั เปน็ ที่รวมคนหลายประเภท ซ่งึ แตกต่างกันมากทัง้ อายุ ฐานะความเปน็ อยู่ การศึกษา อาชีพ ตลอดจนนิสัยใจคอ โอกาสที่จะกระทบกระทั่งกันย่อมเกิดขึ้นได้ โดยงา่ ย จำ� เปน็ ต้องระมัดระวังตน จึงจะได้บุญเต็มที่ ดังน้นั โปรดปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี •• ส�ำรวมกาย วาจา ให้สงบเรียบร้อย งดอาการคะนองด้วยประการ ทั้งปวง ทั้งน้ีเพื่อให้ใจของเราเหมาะสมที่จะเป็นภาชนะรองรับ ผลบุญท่ีจะบังเกิดขน้ึ •• งดสูบบหุ รี่และเค้ยี วหมากโดยเด็ดขาด •• เมื่อไปถึงสถานท่ีท่ีจัดไว้ต้อนรับ ควรนั่งให้เป็นระเบียบ ท่านชายนั่งแถบ หนึง่ ท่านหญงิ น่ังอกี แถบหนึ่ง จึงจะเปน็ การสมควร •• ในการประกอบศาสนพิธี เช่น สวดมนต์ สมาทานศีล ถวายสังฆทานฯลฯ ควรเปลง่ เสยี งอยา่ งชดั เจนโดยพรอ้ มเพรยี งกนั เพราะเปน็ การแสดงความ เคารพด้วยวาจา และกอ่ ใหเ้ กดิ ความปีตใิ จ •• สิ่งใดที่ท�ำให้ขุ่นหมองใจ เช่น อากาศร้อน หิวกระหาย กิริยาอาการที่ไม่ เหมาะสมของคนบางคน การไม่ได้รับความสะดวกในเรื่องต่างๆ ฯลฯ ขอ จงพยายามอดทน เพอื่ เพิ่มขนั ติบารมี และแผ่เมตตาให้ความเหน็ อกเหน็ ใจ ทุกสง่ิ ทุกอยา่ ง อยา่ ใหเ้ กดิ โทสะขึน้ ได้ •• ศกึ ษาระเบยี บตา่ งๆ ภายในวดั จากเจา้ หนา้ ทป่ี ระชาสมั พนั ธ์ เชน่ การทำ� ทาน ว่ามีการตั้งมูลนิธิอะไรบ้าง มีการเทศน์วันใด เวลาใดบ้าง หรือมีกิจกรรม งานบญุ อะไรบ้าง เปน็ ต้น ค�ำกล่าวค�ำถวายทานต่างๆ 131


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook