Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Published by สมยงค์ สาลีศรี, 2021-09-02 04:08:38

Description: กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Search

Read the Text Version

ชื่�่อหนัังสือื กฎหมายดิจิ ิิทัลั รวบรวมโดย สำำ�นัักกฎหมาย สำำ�นัักงานพััฒนาธุุรกรรมทางอิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์ อาคารเดอะ ไนน์ ์ ทาวเวอร์์ แกรนด์์ พระรามเก้้า (อาคารบีี) ชั้�น้ ๒๐-๒๒ เลขที่่� ๓๓/๔ ถนนพระราม ๙ แขวงห้ว้ ยขวาง เขตห้ว้ ยขวาง กรุุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศััพท์์ ๐ ๒๑๒๓ ๑๒๓๔ โทรสาร ๐ ๒๑๒๓ ๑๒๐๐ เว็็บไซต์์ www.etda.or.th http://ictlawcenter.etda.or.th www.facebook.com/ictlawcenter ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๗๙๕๖-๔๖-๖ พิิมพ์์ครั้้�งที่ �่ ๓ (กันั ยายน ๒๕๖๓) จำ�ำ นวน ๒,๕๐๐ เล่ม่ แหล่ง่ ที่�ม่ า ราชกิิจจานุุเบกษา ราคา ๓๐๐ บาท





















4 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ค�ำนำ� ปัจั จุบุ ันั ธุรุ กรรมทางอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ห์ รือื ธุรุ กรรมทางออนไลน์ม์ ีคี วามหมายครอบคลุมุ ทั้้ง� พาณิชิ ย์์ อิิเล็็กทรอนิกิ ส์์ (e-Commerce) และธุุรกรรมทางอิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์ภ์ าครัฐั (e-Government) ซึ่ง�่ นัับวััน มีปี ริมิ าณการใช้ง้ านเพิ่่ม� มากขึ้น�้ และมีบี ทบาทอย่า่ งมากในการใช้ช้ ีวี ิติ ประจำ�ำ วันั ดังั นั้้น� เพื่่อ� ผลักั ดันั ให้้ ธุุรกรรมทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์หรืือธุุรกรรมทางออนไลน์์เป็็นกลไกสำำ�คััญในการขัับเคลื่่�อนนโยบาย การพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน คณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในฐานะคณะกรรมการระดบั ชาติ จงึ ไดก้ �ำหนดยทุ ธศาสตรเ์ ชงิ รกุ เพื่อสง่ เสรมิ ความเชื่อมน่ั และผลกั ดนั ใหก้ ารท�ำธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ น่ั คงปลอดภยั ภายใตม้ าตรฐานทน่ี า่ เชื่อถอื โดยมสี �ำนกั งาน พฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื สพธอ. (Electronic Transactions Development Agency : ETDA) ท�ำหนา้ ที่ขบั เคล่ื อนยทุ ธศาสตรเ์ กีย่ วกบั ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หเ้ กิดผลในทางปฏิบตั ิ อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาการท�ำธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องประเทศ ในการส่ง่ เสริมิ และสนับั สนุนุ การทำ�ำ ธุรุ กรรมทางอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ข์ องประเทศ สพธอ. ได้ร้ วบรวม กฎหมายที่่�เกี่ �ยวข้้องกัับการทำำ�ธุุรกรรมทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์และเทคโนโลยีีดิิจิิทััล นำำ�มาจััดพิิมพ์์ เป็็นหนัังสืือ เพื่่�อให้เ้ ป็็นแหล่่งข้อ้ มูลู สำำ�หรัับใช้ศ้ ึึกษาหาความรู้้�ด้้านกฎหมายดิจิ ิทิ ัลั การจััดพิิมพ์ค์ รั้�งนี้้� ได้รวบรวมกฎหมายใหม่ ๆ โดยเฉพาะทีก่ ระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่ื อเศรษฐกจิ และสังคมได้ผลักดนั ใหเ้ กดิ ขึ้น ในช่วงไมก่ ี่ปีท่ผี ่านมา อนั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ รวมถึงสร้างความเช่ื อมั่นและ ความน่าเชื่อถือในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้กับทุกภาคส่วน โดยเป็นส่วนช่วย ในการขบั เคล่ื อนเศรษฐกจิ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในยุคดจิ ิทลั ตอ่ ไป สำ�ำ นักั กฎหมาย ภายใต้ส้ ำำ�นักั งานพััฒนาธุรุ กรรมทางอิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์



สารบัญ ๑๑ ๒๗ ๑. พระราชบัญญตั ิสำ�นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒. พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เติม) ๒.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๕๙ เร่อื ง แนวทางการจัดทำ�แนวนโยบาย (Certificate Policy) และแนวปฏิบตั ิ (Certification Practice Statement) ของผูใ้ หบ้ รกิ าร ออกใบรบั รองอิเล็กทรอนกิ ส์ (Certification Authority) พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์ ๘๓ เร่อื ง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำ�หรอื แปลงเอกสาร และขอ้ ความใหอ้ ยูใ่ นรูปของขอ้ มูลอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒.๓ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๙๗ เร่อื ง การรับรองสงิ่ พิมพอ์ อก พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๔ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๐๗ เร่อื ง หนว่ ยงานรบั รองสงิ่ พมิ พ์ออก พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๕ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์ ๑๑๑ เร่อื ง แนวทางการใชบ้ ริการคลาวด์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒.๖ พระราชกฤษฎีกากำ�หนดประเภทธุรกรรมในทางแพง่ และพาณิชย์ ๑๒๑ ท่ียกเว้นมิให้น�ำ กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ มาใช้บังคับ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒.๗ พระราชกฤษฎีกากำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการทำ�ธุรกรรม ๑๒๗ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ภาครฐั พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒.๗.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๑๓๕ เร่อื ง แนวนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการรักษาความม่นั คงปลอดภัย ด้านสารสนเทศของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับแก้ไขเพมิ่ เติม) ๒.๗.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๔๕ เร่อื ง แนวนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล ของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๓

๒.๘ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัย ๑๕๕ ในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒.๘.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์ ๑๖๕ เร่อื ง ประเภทของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และหลักเกณฑ์ การประเมนิ ระดับผลกระทบของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ตามวิธีการแบบปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๘.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๑๗๑ เร่อื ง มาตรฐานการรกั ษาความม่นั คงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ตามวิธีการแบบปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๘.๓ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๘๗ เร่อื ง รายช่อื หนว่ ยงานหรือองค์กร หรอื สว่ นงานของหนว่ ยงาน หรอื องค์กรท่ีถือเป็ นโครงสร้างพ้นื ฐานส�ำ คัญของประเทศ ๑๙๗ ซ่งึ ต้องกระทำ�ตามวิธีการแบบปลอดภัยในระดับเครง่ ครัด พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๒๓ ๓. พระราชบญั ญตั ิการพัฒนาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔. พระราชบัญญัติสภาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ๕. พระราชบัญญตั ิการบรหิ ารงานและการใหบ้ รกิ ารภาครัฐผา่ นระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๔๓ ๖. พระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๕๗ (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม) ๖.๑ กฎกระทรวงกำ�หนดแบบหนงั สือแสดงการยึด ๒๗๕ หรืออายัดระบบคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖.๒ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๒๘๕ เร่อื ง หลักเกณฑ์การเก็บรกั ษาข้อมลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผใู้ หบ้ รกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖.๓ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๓๐๑ เร่อื ง หลักเกณฑ์เก่ียวกับคณุ สมบัติของพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เติม)

๖.๔ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๓๑๓ เร่อื ง กำ�หนดแบบบัตรประจำ�ตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบญั ญัติ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖.๕ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ๓๒๑ เร่อื ง ลักษณะและวิธกี ารสง่ และลักษณะและปริมาณของขอ้ มูล ความถ่ีและวิธีการสง่ ซ่งึ ไมก่ ่อใหเ้ กิดความเดือดรอ้ นร�ำ คาญแก่ผูร้ ับ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๖ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๓๒๙ เร่อื ง หลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธกี ารปฏิบตั ิสำ�หรบั การระงับการทำ�ให้แพรห่ ลาย หรือลบข้อมูลคอมพวิ เตอร์ของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีหรือผ้ใู หบ้ รกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๗ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๓๓๙ เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญตั ิ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๘ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ๓๔๙ เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการกล่ันกรองข้อมลู คอมพวิ เตอรต์ ามพระราชบญั ญัติ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๙ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ๓๕๗ เร่อื ง ข้นั ตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำ�ให้แพรห่ ลายของขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ และการนำ�ข้อมูลคอมพวิ เตอรอ์ อกจากระบบคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๑๐ ระเบยี บ ว่าด้วยการจับ ควบคุม ค้น การทำ�สำ�นวนสอบสวนและดำ�เนนิ คดี ๓๖๗ กับผู้กระทำ�ความผดิ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ ๓๗๓ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๗๙ ๖.๑๑ ระเบียบกระทรวงดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหากรรมการผูท้ รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการ กล่ันกรองขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๗. พระราชบญั ญตั ิการรักษาความม่นั คงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘. พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔๑๕

10 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบัญญัติ สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 11

ช่ือกฎหมาย พระราชบัญญตั ิสำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๖ / ตอนท่ี ๔๙ ก / หนา ๔๕ / วันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ เร่ิมบังคับใช วนั ท่ี ๑๕ เมษายน ๒๕๖๒ ผูรกั ษาการ รฐั มนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม 12 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๔บ๕กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ พระราชบญั ญตั ิ สานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ี่ ๔ ในรชั กาลปัจจบุ นั สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยทีเ่ ปน็ การสมควรมีกฎหมายวา่ ด้วยสานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานติ ิบญั ญตั แิ ห่งชาตทิ าหนา้ ท่รี ัฐสภา ดังตอ่ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี “คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการกากับสานกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการกากับสานักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ “สานกั งาน” หมายความว่า สานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 13

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๔บ๖กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ “ผอู้ านวยการ” หมายความวา่ ผู้อานวยการสานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ “รฐั มนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี มาตรา ๔ ให้มีสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคล่ือนนโยบายและแผนของรัฐด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนามาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือให้ระบบ งานเทคโนโลยดี ิจทิ ัลตา่ ง ๆ เช่ือมโยงกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มคี วามมนั่ คงปลอดภยั และมีความนา่ เชอื่ ถอื สานักงานเป็นหนว่ ยงานของรัฐที่มฐี านะเปน็ นิติบคุ คล และไม่เป็นสว่ นราชการตามกฎหมายว่าด้วย ระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ หรอื รัฐวิสาหกจิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณหรือกฎหมายอน่ื กิจการของสานักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย วา่ ดว้ ยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายวา่ ด้วยการประกนั สงั คม และกฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทน แต่พนกั งาน และลูกจ้างของสานักงานต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย การคุม้ ครองแรงงาน กฎหมายว่าดว้ ยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทน ให้สานักงานเปน็ หนว่ ยงานของรฐั ตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมดิ ของเจา้ หน้าที่ มาตรา ๕ นอกจากดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง ให้สานักงานรับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีหน้าท่ีและ อานาจดงั ตอ่ ไปน้ดี ว้ ย (๑) จัดทาแผนยุทธศาสตร์เก่ียวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เสนอต่อคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ (๒) จัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านมาตรฐานท่ีสอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดับชาตวิ ่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม (๓) ส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ให้มีการดาเนินการ ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ท้ังทางการเงิน การค้า การลงทุน และการนาเข้าส่งออก รวมทั้งการให้บริการประชาชนของภาครัฐ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรเ์ กี่ยวกับธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 14 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๔บ๗กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ (๔) ศึกษา วจิ ัย และพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อรองรบั การทาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมท้ังส่งเสริมการออกแบบสถาปัตยกรรม ดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทัล เพื่อเสนอแนะต่อคณะกรรมการธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในการกาหนดมาตรฐาน เรอื่ งดงั กลา่ ว (๕) จัดทาข้อเสนอแนะเก่ียวกับมาตรฐาน และมาตรการหรือกลไกการกากับดูแลที่เก่ียวข้อง กับการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกันอย่างมีความม่ันคงปลอดภัยและ มีความนา่ เช่ือถอื (๖) กากับดูแลการประกอบธุรกิจบริการเก่ียวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามพระราชกฤษฎกี า ท่ีออกตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการให้การสนับสนุนการประกอบธุรกิจบริการ เก่ยี วกบั ธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกสด์ งั กลา่ ว (๗) วิเคราะห์และรับรองความสอดคล้องและความถูกต้องตามมาตรฐานหรือตามมาตรการ หรือกลไกการกากับดูแลท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การทาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์และพาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (๘) เป็นศูนย์กลางในการให้บริการทางวิชาการหรือให้บริการท่ีเก่ียวกับการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แก่หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชน และประชาชน รวมท้ังเผยแพร่และใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจในการทาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (๙) ทาความตกลงและร่วมมือกับองค์การหรือหน่วยงานท้ังในประเทศและต่างประเทศใน กิจการที่เกีย่ วกบั การดาเนินการตามหน้าที่และอานาจของสานักงาน (๑๐) ฝึกอบรมเพ่ือยกระดับของบุคลากรของสานักงานและบุคคลภายนอกให้มีทักษะเกี่ยวกับ มาตรฐาน ความมั่นคงปลอดภัย และการสร้างความน่าเช่ือถือในระบบและการให้บริการทางธุรกรรม ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละพาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์ (๑๑) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือคณะกรรมการ มอบหมาย หรือตามท่ีกฎหมายกาหนด มาตรา ๖ ในการดาเนินงานของสานักงาน นอกจากหน้าที่และอานาจตามท่ีบัญญัติใน มาตรา ๕ แล้ว ใหส้ านกั งานมหี น้าที่และอานาจท่ัวไป ดงั ตอ่ ไปน้ดี ้วย (๑) ถอื กรรมสทิ ธิ์ มสี ิทธคิ รอบครอง และมที รพั ยสิทธิต่าง ๆ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 15

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๔บ๘กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ (๒) ก่อตั้งสิทธิ หรือทานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพย์สิน ตลอดจนทานิติกรรมอ่ืนใด เพือ่ ประโยชนใ์ นการดาเนนิ กิจการของสานกั งาน (๓) จดั ใหม้ แี ละให้ทุนเพือ่ สนับสนุนการดาเนนิ กจิ การของสานักงาน (๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการดาเนินงาน ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑ์และอตั ราทส่ี านักงานกาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ (๕) ปฏิบัติการอื่นใดท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของสานักงาน หรือตามท่ี คณะกรรมการธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์หรอื คณะกรรมการมอบหมาย มาตรา ๗ ทนุ และทรพั ย์สนิ ในการดาเนนิ งานของสานกั งานประกอบด้วย (๑) เงินและทรัพยส์ ินท่ไี ดร้ ับโอนมาตามมาตรา ๓๕ (๒) เงินอดุ หนนุ ทวั่ ไปท่รี ฐั บาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเป็นรายปี (๓) ค่าธรรมเนียม ค่าบารงุ ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือรายได้จากการดาเนนิ งาน (๔) เงินบรจิ าคจากภาคเอกชนหรือองค์กรอืน่ รวมทั้งจากต่างประเทศหรอื องค์การระหว่างประเทศ และเงินหรือทรพั ย์สนิ ทม่ี ีผ้อู ทุ ิศให้ (๕) ดอกผลและผลประโยชน์หรือรายได้อนื่ ใดที่เกิดจากการดาเนนิ งานของสานกั งาน ทรัพย์สินของสานักงานไมอ่ ยู่ในความรบั ผดิ แห่งการบังคับคดีและมาตรการบงั คบั ทางปกครอง มาตรา ๘ รายไดข้ องสานักงานไมต่ ้องนาสง่ คลังเปน็ รายไดแ้ ผ่นดนิ มาตรา ๙ ใหม้ ีคณะกรรมการกากับสานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญและประสบการณ์ในด้านธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ผูแ้ ทนสานกั งบประมาณ และกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒซิ ึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ จานวนหกคน ให้ผู้อานวยการเป็นกรรมการและเลขานุการ และใหผ้ ู้อานวยการแตง่ ตั้งพนกั งานของสานักงาน เป็นผ้ชู ่วยเลขานกุ ารไดต้ ามความจาเป็นแตไ่ ม่เกนิ สองคน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ต้องมีความรู้ ความเช่ียวชาญและ ประสบการณ์ในด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสามคน และ ดา้ นอน่ื ท่ีเกีย่ วขอ้ งอันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดาเนินงานของสานกั งาน มาตรา ๑๐ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทย และไม่มีลักษณะ ตอ้ งห้าม ดงั ตอ่ ไปน้ี 16 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๔บ๙กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ (๑) เปน็ บคุ คลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลล้มละลายทุจริต (๒) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ (๓) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้ กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๔) เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรอื ผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน เว้นแต่จะไดพ้ น้ จากตาแหนง่ มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าหนงึ่ ปี (๕) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งอื่นในพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของ พรรคการเมือง เวน้ แต่จะได้พน้ จากตาแหน่งมาแล้วไมน่ ้อยกว่าหน่ึงปี (๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรอื จากหนว่ ยงานของเอกชน เพราะทจุ รติ ตอ่ หน้าท่หี รือประพฤตชิ ่วั อยา่ งร้ายแรง (๗) ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอิสระอื่นใด หรือเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือลูกจ้างของ องค์การเอกชนใดท่ีมีส่วนไดเ้ สียหรือมีผลประโยชนข์ ัดแย้งไม่ว่าโดยตรงหรอื โดยอ้อมกับการปฏิบัติหน้าที่ ในตาแหน่งกรรมการและหน้าที่และอานาจของสานกั งาน มาตรา ๑๑ ประธานกรรมการและกรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ มิ ีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสป่ี ี มาตรา ๑๒ เมื่อประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้ดาเนินการแต่งตั้งใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างท่ียังมิได้มีการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระน้ัน อยู่ในตาแหน่งเพ่ือปฏบิ ัติหนา้ ที่ต่อไปจนกว่าประธานกรรมการและกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิซึง่ ไดร้ ับแต่งตั้งใหม่ เข้ารับหนา้ ที่ มาตรา ๑๓ นอกจากการพน้ จากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๑ ประธานกรรมการและ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิพ้นจากตาแหน่ง เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคณุ สมบตั ิหรอื มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๐ (๔) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเส่ือมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าท่ี หรอื หย่อนความสามารถ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 17

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๕บ๐กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๑๔ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าท่ีเหลืออยู่และให้ดาเนินการแต่งต้ังประธานกรรมการหรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตาแหน่งท่ีว่างภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตาแหน่งว่างลง เว้นแต่วาระของ กรรมการเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน และให้ผู้ท่ีได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระ ทเ่ี หลืออย่ขู องผู้ซ่งึ ตนแทน มาตรา ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากง่ึ หน่งึ ของ จานวนกรรมการทม่ี อี ยู่ จึงจะเป็นองค์ประชมุ ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหนา้ ท่ีได้ ใหท้ ่ปี ระชมุ เลือกกรรมการคนหนึง่ เพ่อื ทาหน้าที่ประธานในท่ีประชุม ในการวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้ามคี ะแนนเสยี งเทา่ กัน ใหป้ ระธานในท่ปี ระชมุ ออกเสียงเพ่ิมข้ึนอกี เสียงหนงึ่ เปน็ เสยี งชข้ี าด กรรมการทมี่ ีสว่ นไดเ้ สยี ในเรือ่ งท่มี กี ารพจิ ารณาจะเข้าร่วมประชุมมไิ ด้ การประชุมของคณะกรรมการอาจกระทาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่คณะกรรมการ กาหนดก็ได้ มาตรา ๑๖ ใหค้ ณะกรรมการมีหนา้ ที่และอานาจ ดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดนโยบายการบรหิ ารงาน และใหค้ วามเห็นชอบแผนการดาเนนิ งานของสานักงาน (๒) ออกข้อบังคบั ว่าด้วยการจัดองค์กร การเงิน การบริหารงานบคุ คล การบริหารงานทว่ั ไป การพสั ดุ การตรวจสอบภายใน รวมตลอดท้ังการสงเคราะหแ์ ละสวสั ดกิ ารต่าง ๆ ของสานักงาน (๓) อนมุ ตั แิ ผนการใชจ้ า่ ยเงินและงบประมาณรายจ่ายประจาปขี องสานักงาน (๔) ควบคุมการบริหารงานและการดาเนินการของสานักงานและผู้อานวยการให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ีและกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง (๕) แตง่ ตั้งคณะกรรมการสรรหาผ้อู านวยการ (๖) วินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองของผู้อานวยการในส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารงานของ สานกั งาน (๗) ประเมนิ ผลการดาเนินงานของสานักงาน และการปฏบิ ตั งิ านของผอู้ านวยการ (๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนกาหนดให้เป็นหน้าท่ีและอานาจ ของคณะกรรมการหรือตามทคี่ ณะรัฐมนตรมี อบหมาย 18 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๕บ๑กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ข้อบังคับตาม (๒) ถ้ามีการจากัดอานาจผู้อานวยการในการทานิติกรรมกับบุคคลภายนอก ให้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีหรือ กระทาการอย่างหน่ึงอยา่ งใดตามท่คี ณะกรรมการมอบหมายได้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งบุคคลซ่ึงมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ใน การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของคณะกรรมการ เป็นท่ปี รกึ ษาคณะกรรมการได้ การปฏิบัติหน้าที่และจานวนของคณะอนุกรรมการตามวรรคหน่ึงหรือที่ปรึกษาตามวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามท่ีคณะกรรมการกาหนด ใหน้ ามาตรา ๑๕ มาใช้บังคบั แก่คณะอนกุ รรมการโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการ ไดร้ ับเบี้ยประชมุ หรอื ค่าตอบแทนตามหลกั เกณฑ์ทค่ี ณะรฐั มนตรีกาหนด มาตรา ๑๙ ให้สานักงานมีผู้อานวยการคนหน่ึงซ่ึงคณะกรรมการแต่งตั้ง มีหน้าท่ีบริหาร กจิ การของสานกั งาน มาตรา ๒๐ ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อานวยการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องหา้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) มสี ญั ชาตไิ ทย (๒) อายุไมเ่ กนิ ห้าสิบแปดปบี ริบรู ณ์ (๓) สามารถทางานใหแ้ กส่ านกั งานได้เตม็ เวลา (๔) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านที่เก่ียวกับภารกิจของสานักงาน และการบริหารจดั การ (๕) ไมเ่ ปน็ บคุ คลล้มละลายหรอื เคยเปน็ บุคคลลม้ ละลายทุจรติ (๖) ไมเ่ ปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๗) ไมเ่ คยไดร้ บั โทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถงึ ท่ีสดุ ใหจ้ าคุก เว้นแตเ่ ป็นโทษสาหรบั ความผดิ ทไ่ี ด้ กระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ (๘) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือจากหน่วยงานของเอกชน เพราะทจุ รติ ตอ่ หนา้ ทหี่ รอื ประพฤติชัว่ อย่างร้ายแรง (๙) ไมเ่ คยถูกถอดถอนออกจากตาแหน่งตามกฎหมาย ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 19

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๒ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๑๐) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง สมาชกิ สภาท้องถิ่น หรือผ้บู ริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ พรรคการเมือง (๑๑) ไม่เปน็ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียในกจิ การท่ีเก่ยี วข้องกบั สานักงานไมว่ ่าโดยทางตรงหรือทางออ้ ม มาตรา ๒๑ ผู้อานวยการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับแต่งต้ังอีกได้ แตจ่ ะดารงตาแหน่งเกินสองวาระติดตอ่ กันไม่ได้ ก่อนครบกาหนดตามวาระการดารงตาแหน่งของผู้อานวยการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน แต่ไม่เกินหกสิบวัน หรอื ภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ทีผ่ ู้อานวยการพน้ จากตาแหน่งก่อนวาระ ใหค้ ณะกรรมการ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อสรรหาผู้อานวยการคนใหม่ ทั้งน้ี ให้คณะกรรมการสรรหาเสนอรายช่ือบุคคล ท่ีเหมาะสมไม่เกนิ สามคนต่อคณะกรรมการ มาตรา ๒๒ ในแต่ละปีให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผอู้ านวยการ ทั้งน้ี ให้เป็นไป ตามระยะเวลาและวธิ ีการทค่ี ณะกรรมการกาหนด มาตรา ๒๓ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๑ ผู้อานวยการพ้นจาก ตาแหน่ง เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) อายคุ รบหกสิบปีบริบรู ณ์ (๔) คณะกรรมการให้ออก เพราะไมผ่ ่านการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน มคี วามประพฤตเิ สอ่ื มเสีย บกพรอ่ งหรือไม่สจุ ริตตอ่ หนา้ ท่ี หรอื หยอ่ นความสามารถ (๕) ได้รบั โทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถงึ ท่ีสดุ ใหจ้ าคกุ (๖) ขาดคุณสมบตั ิหรือมลี ักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๐ ยกเว้นกรณมี าตรา ๒๐ (๒) มาตรา ๒๔ ให้ผู้อานวยการมหี น้าทแ่ี ละอานาจ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) บริหารงานของสานักงานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามภารกิจของสานักงาน และตามนโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แผนยุทธศาสตร์เก่ียวกับธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านมาตรฐานที่สอดคล้องกับ นโยบายและแผนดงั กล่าว นโยบายของคณะรัฐมนตรแี ละคณะกรรมการ และระเบียบ ข้อบังคบั หรือ มติของคณะกรรมการ 20 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๓ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๒) วางระเบยี บเกี่ยวกับการดาเนินงานของสานักงานโดยไม่ขัดหรือแย้งกบั กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบ ขอ้ บงั คบั ขอ้ กาหนด นโยบาย มติ หรือประกาศของคณะกรรมการ (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนกั งานและลกู จา้ งของสานักงานตามระเบยี บหรอื ขอ้ บงั คับของสานักงาน (๔) แต่งตั้งรองผู้อานวยการหรือผู้ช่วยผู้อานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เพ่อื เปน็ ผชู้ ว่ ยปฏิบตั ิงานของผู้อานวยการตามทีผ่ ูอ้ านวยการมอบหมาย (๕) บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ของสานักงาน ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างของสานักงานออกจากตาแหน่ง ทั้งนี้ ตามข้อบังคับที่ คณะกรรมการกาหนด (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด นโยบาย มติ หรือประกาศของ คณะกรรมการ ให้ผอู้ านวยการรับผิดชอบในการบรหิ ารงานของสานกั งานขึ้นตรงต่อคณะกรรมการ มาตรา ๒๕ ในกิจการของสานักงานที่เก่ียวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อานวยการเป็นผู้แทน ของสานักงาน เพ่ือการน้ี ผู้อานวยการจะมอบอานาจให้บุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แตต่ อ้ งเปน็ ไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการเป็นผู้กาหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของ ผอู้ านวยการตามหลักเกณฑ์ทีค่ ณะรฐั มนตรกี าหนด มาตรา ๒๗ เพ่ือประโยชน์ในการบริหารงานของสานกั งาน ผู้อานวยการอาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐ มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสานักงานเป็นการช่ัวคราวได้ ท้ังนี้ เมอื่ ไดร้ บั อนมุ ัตจิ ากผูบ้ ังคับบญั ชาหรอื นายจา้ งของผู้น้นั และมีขอ้ ตกลงทีท่ าไวใ้ นการอนุมตั ิ และในกรณี ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับอนุมัติให้มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสานักงานเป็นการชั่วคราว ใหถ้ ือวา่ เป็นการได้รับอนญุ าตให้ออกจากราชการหรือออกจากงานไปปฏิบัติงานใด ๆ เมื่อส้ินสุดระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้มาปฏิบัติงานในสานักงาน ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหน่ึง มีสิทธิได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งและรับเงินเดือนในส่วนราชการหรือหน่วยงานเดิม ไมต่ ่ากว่าตาแหน่งและเงนิ เดอื นเดมิ ตามข้อตกลงท่ที าไว้ในการอนมุ ัติ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 21

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๕บ๔กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้น้ันกลับมาบรรจุและได้รับแต่งต้ังในส่วนราชการหรือหน่วยงานเดิม ตามวรรคสองแลว้ ให้นับระยะเวลาของเจ้าหน้าท่ขี องรัฐผูน้ น้ั ระหวา่ งท่ีมาปฏิบตั งิ านในสานักงานสาหรับ การคานวณบาเหน็จบานาญหรือประโยชน์ตอบแทนอื่นทานองเดียวกันเสมือนอยู่ปฏิบัติราชการหรือ ปฏบิ ัตงิ านเตม็ เวลาดงั กลา่ ว แลว้ แต่กรณี มาตรา ๒๘ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าทขี่ องรัฐซ่ึงอยู่ระหวา่ งการปฏิบตั ิงานชดใช้ทุนการศกึ ษา ที่ได้รับจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ท่ีได้ย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ที่สานักงานโดยได้รับความเห็นชอบ จากผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ให้ถือเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และให้นับระยะเวลาการปฏิบัติงานใน สานักงานเปน็ ระยะเวลาในการชดใชท้ นุ ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐแหง่ ใดประสงค์จะขอให้พนักงานของสานักงานซง่ึ อยู่ระหว่างการปฏิบัตงิ าน ชดใช้ทุนการศึกษาท่ีได้รับจากสานักงานไปเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานของรัฐ แห่งนัน้ ตอ้ งไดร้ บั ความเห็นชอบจากผอู้ านวยการกอ่ น และให้ถือวา่ การไปปฏบิ ตั ิงานในหน่วยงานของรฐั แห่งน้ันเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และให้นับระยะเวลาการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐแห่งน้ัน เปน็ ระยะเวลาในการชดใช้ทุน มาตรา ๒๙ การบัญชีของสานักงานให้จัดทาตามหลักสากล ตามแบบและหลักเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๓๐ ให้สานักงานจัดทางบดุล งบการเงินและบัญชี แล้วส่งผู้สอบบัญชีภายใน หนึง่ ร้อยยสี่ บิ วันนบั แต่วนั ส้นิ ปีบญั ชี ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตท่ีสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของสานักงาน และประเมินผลการใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินของ สานักงานทุกรอบปแี ลว้ ทารายงานผลการสอบบัญชเี สนอต่อคณะกรรมการเพ่อื รับรอง มาตรา ๓๑ ให้สานักงานจัดทารายงานการดาเนินงานประจาปีเสนอคณะกรรมการและ รัฐมนตรีภายในหน่ึงรอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แต่วนั ส้ินปบี ญั ชี และเผยแพร่รายงานนต้ี ่อสาธารณชน รายงานการดาเนนิ งานประจาปตี ามวรรคหนง่ึ ให้แสดงรายละเอียดของงบการเงนิ ที่ผูส้ อบบญั ชี ใหค้ วามเห็นแล้ว พรอ้ มทงั้ ผลงานของสานกั งานและรายงานการประเมินผลการดาเนนิ งานของสานกั งาน ในปที ลี่ ่วงมาแลว้ การประเมินผลการดาเนินงานของสานักงานตามวรรคสอง จะต้องดาเนินการโดยบุคคลภายนอก ที่คณะกรรมการใหค้ วามเหน็ ชอบ 22 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๕บ๕กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๓๒ ใหร้ ัฐมนตรีมอี านาจกากับดแู ลโดยทวั่ ไปซง่ึ กิจการของสานกั งานใหเ้ ป็นไปตามหนา้ ท่ี และอานาจ และตามกฎหมาย นโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ และมติคณะรฐั มนตรีทเ่ี กย่ี วข้อง เพ่ือการน้ี รัฐมนตรีมีอานาจส่ังให้ผู้อานวยการช้ีแจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือทารายงานเสนอ และมีอานาจสั่งยับยั้งการกระทาของสานักงานท่ีขัดต่อหน้าที่และอานาจของสานักงาน นโยบายของ รัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ หรือมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับ การดาเนินการของสานักงานได้ ในกรณที ่ผี ูอ้ านวยการฝ่าฝนื หรือไมก่ ระทาการตามคาสั่งของรัฐมนตรตี ามวรรคหนึง่ ใหร้ ัฐมนตรี ส่งเร่อื งให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนนิ การตามหนา้ ท่ีและอานาจต่อไป มาตรา ๓๓ ให้คณะกรรมการบริหารสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าท่ี คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้เท่าที่จาเป็นไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติน้ี ซึ่งต้องไม่เกินหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๓๔ ในวาระเร่ิมแรก ให้ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ อยูใ่ นวันกอ่ นวันที่พระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ้ ังคับ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีผู้อานวยการ จนกว่าจะมกี ารแตง่ ตัง้ ผูอ้ านวยการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๓๕ เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ให้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นอันยกเลิก และให้โอนบรรดา กิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ หน้ี เจ้าหน้าที่และลูกจ้าง และงบประมาณของสานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจดั ต้ังสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่ีมอี ยู่ในวนั ก่อนวันท่ีพระราชบญั ญตั นิ ี้ใช้บังคบั ไปเป็นของสานกั งาน ให้เจ้าหนา้ ท่ีและลกู จ้างท่ีโอนไปตามวรรคหนึ่งได้รบั เงินเดอื น เงินประจาตาแหนง่ หรือค่าจา้ ง รวมทั้งสิทธิและประโยชน์ต่าง ๆ เท่ากับท่ีเคยได้รับอยู่เดิมไปพลางก่อน จนกว่าจะได้บรรจุและแต่งตั้ง ใหด้ ารงตาแหนง่ ในสานกั งาน โดยไดร้ บั เงินเดือนหรอื คา่ จา้ งไมต่ า่ กวา่ เงนิ เดอื นหรือค่าจา้ งทีไ่ ดร้ บั อยู่เดิม ในกรณที ีเ่ จา้ หนา้ ที่หรอื ลกู จ้างผู้ใดอยู่ภายใต้ระเบยี บหรือสญั ญาจ้างที่มไิ ด้กาหนดระยะเวลาการจ้าง มใิ หถ้ อื วา่ การจา้ งโดยไม่มกี าหนดระยะเวลาดงั กล่าวเป็นสทิ ธิและประโยชนต์ ามวรรคสอง ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 23

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๖ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา การบรรจแุ ละแตง่ ตั้งเจา้ หน้าทห่ี รอื ลกู จ้างตามวรรคสองไม่ถอื เปน็ การออกจากงานเพราะสังกัดเดมิ เลิกจา้ ง มาตรา ๓๖ ให้นาบทบัญญัติเก่ียวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม การพ้นจากตาแหน่ง และการปฏิบัติหนา้ ทข่ี องเจา้ หน้าท่แี ละลูกจา้ งของสานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) ตามท่ีกาหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาใช้กับพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน จนกว่าจะมีข้อบังคับเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ท่อี อกตามพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๓๗ ในวาระเริม่ แรก กรณีทีง่ บประมาณซึง่ ได้รับโอนมาตามมาตรา ๓๕ วรรคหน่งึ ไม่เพียงพอแก่การดาเนนิ งานของสานักงาน ให้ผอู้ านวยการเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรีเพ่ือขอรบั เงินอุดหนุนท่ัวไป เพือ่ เป็นค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินงานให้เป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องสานกั งาน ใหค้ ณะรัฐมนตรีพจิ ารณาจดั สรรเงินงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอดุ หนนุ ทัว่ ไปตามที่ผอู้ านวยการเสนอ ตามความจาเปน็ และเหมาะสม มาตรา ๓๘ การร่วมทุน การกู้ยืมเงิน และการดาเนินการใดเท่าท่ีจาเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้ บรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องสานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎกี า จัดตั้งสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่ีได้กระทาไว้ก่อน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังไม่ส้ินสุด ให้ยังคงดาเนินการได้ต่อไปจนกว่าการดาเนินการ ดงั กล่าวจะสนิ้ สดุ ลง มาตรา ๓๙ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ัง สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อน วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศทีอ่ อกตามพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๔๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบัญญตั ิน้ี ผรู้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี 24 สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๗ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันสานกั งานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ซึ่งมีสถานะเป็นองค์การมหาชน ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน มีหน้าท่ีเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานต่าง ๆ เท่านั้น แต่ด้วย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจะต้องมีการพัฒนา ส่งเสริม และ สนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในฐานะคณะกรรมการระดับชาติและต้องมีการควบคุมดูแลการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับนานาประเทศ รวมท้ัง ตอ้ งมกี ารบรู ณาการการทางานระหว่างหนว่ ยงานของรัฐทเ่ี กยี่ วข้องกบั การสง่ เสริมภาคเอกชนในการดาเนินการ ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ตลอดจนการดาเนินการในด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และ ด้านอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง สมควรท่ีจะมีหน่วยงานท่ีมีการบริหารงานท่ีคล่องตัวและมีประสิทธิภาพเพื่อรับผิดชอบใน การดาเนินการดังกล่าว ในการนี้จึงได้ปรับปรุงสถานะและอานาจหน้าที่ของสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เพื่อให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจได้อย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ของประเทศ จึงจาเปน็ ต้องตราพระราชบัญญตั ิน้ี ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 25

26 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบัญญัติ วา ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั แกไ ขเพ่ิมเตมิ ) สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 27

ชือ่ กฎหมาย พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบับแกไขเพ่ิมเติม) ประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๑๘ / ตอนที่ ๑๑๒ ก / หนา ๒๖ / วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๔ เริ่มบงั คับใช วนั ที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ ผูรักษาการ รัฐมนตรวี า การกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม แกไขเพม่ิ เตมิ โดย  พระราชกฤษฎกี าแกไขบทบญั ญัติใหสอดคลองกับการโอนอำนาจหนาทข่ี องสวนราชการ ใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั ิปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕  ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา : เลม ๑๑๙ / ตอนที่ ๑๐๒ ก / หนา ๖๖ / วันท่ี ๘ ตลุ าคม ๒๕๔๕  เรม่ิ บงั คับใช : วนั ที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๔๕  พระราชบญั ญัตวิ าดวยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑  ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา : เลม ๑๒๕ / ตอนท่ี ๓๓ ก / หนา ๘๑ / วนั ท่ี ๑๓ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑  เรม่ิ บังคบั ใช : วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ 28 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

 พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบญั ญตั แิ หง กฎหมายที่เกี่ยวกับความรบั ผดิ ในทางอาญา ของผูแทนนติ ิบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐  ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา : เลม ๑๓๔ / ตอนที่ ๑๘ ก / หนา ๑ / วันท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๐  เรมิ่ บังคบั ใช : วันท่ี ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๐  พระราชบญั ญัตวิ า ดว ยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๔๙ ก / หนา ๑๒ / วันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒  เร่ิมบังคับใช : วันท่ี ๑๕ เมษายน ๒๕๖๒  พระราชบัญญัติวา ดวยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒  ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนท่ี ๖๗ ก / หนา ๒๐๓ / วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒  เริ่มบังคบั ใช : วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 29

พระราชบัญญัติ วา ดว ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔  ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เปน ปที่ ๕๖ ในรชั กาลปจ จุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยที่เปน การสมควรใหมกี ฎหมายวา ดว ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส พระราชบัญญตั นิ ี้มีบทบัญญัติบางประการเกย่ี วกับการจำกัดสทิ ธิและเสรภี าพของบุคคล ซึง่ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ใิ หกระทำได โดยอาศยั อำนาจตามบทบญั ญัตแิ หง กฎหมาย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหต ราพระราชบัญญัติข้ึนไวโ ดยคำแนะนำและยินยอมของ รัฐสภา ดังตอ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ ี้เรียกวา “พระราชบญั ญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๔” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับแกธุรกรรมในทางแพงและพาณิชยที่ดำเนินการ โดยใชขอมูลอิเล็กทรอนิกส เวนแตธุรกรรมท่ีมีพระราชกฤษฎีกากำหนดมใิ หน ำพระราชบัญญัตนิ ี้ ท้ังหมดหรอื แตบ างสวนมาใชบังคับ ความในวรรคหนึ่งไมมีผลกระทบกระเทือนถึงกฎหมายหรือกฎใดที่กำหนดขึ้นเพ่ือ คมุ ครองผูบริโภค พระราชบญั ญัตนิ ี้ใหใ ชบ ังคบั แกธ รุ กรรมในการดำเนนิ งานของรฐั ตามทีก่ ำหนดในหมวด ๔ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัติน้ี “ธุรกรรม” หมายความวา การกระทำใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพงและพาณิชย หรอื ในการดำเนนิ งานของรัฐตามท่กี ำหนดในหมวด ๔ ๑ ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๘/ตอนท่ี ๑๑๒ ก/หนา ๒๖/๔ ธนั วาคม ๒๕๔๔ 30 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

๒ “อิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึงการประยุกตใช วิธีการทางแสง วธิ ีการทางแมเหล็ก หรอื อุปกรณทเ่ี กย่ี วขอ งกับการประยุกตใชว ิธตี าง ๆ เชนวา นั้น “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใชวิธีการ ทางอิเลก็ ทรอนิกสท ง้ั หมดหรอื แตบ างสว น “ขอความ” หมายความวา เรื่องราวหรือขอเท็จจริง ไมวาจะปรากฏในรูปแบบของ ตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือ โดยผานวิธกี ารใด ๆ “ขอมูลอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา ขอความที่ไดสราง สง รับ เก็บรักษา หรือ ประมวลผลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เชน วิธีการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส โทรเลข โทรพมิ พ หรือโทรสาร “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส” หมายความวา อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ อื่นใดที่สรางขึ้นใหอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสซึ่งนำมาใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสเพื่อ แสดงความสัมพันธระหวางบุคคลกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงคเพื่อระบุตัวบุคคล ผูเปนเจาของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น และเพื่อแสดงวา บคุ คลดังกลา วยอมรบั ขอความในขอมลู อิเล็กทรอนิกสน น้ั “ระบบขอมูล” หมายความวา กระบวนการประมวลผลดวยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส สำหรบั สรา ง สง รบั เก็บรกั ษา หรือประมวลผลขอ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส “การพิสูจนและยืนยันตัวตน”๒ หมายความวา กระบวนการพิสูจนและยืนยัน ความถกู ตอ งของตวั บคุ คล “ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล”๓ หมายความวา เครือขาย ทางอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมโยงขอมูลระหวางบุคคลใด ๆ หรือหนวยงานของรัฐเพื่อประโยชน ในการพสิ ูจนแ ละยืนยันตวั ตน และการทำธรุ กรรมอื่น ๆ ที่เก่ียวเนื่องกับการพสิ จู นและยืนยันตวั ตน “ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติ”๔ หมายความวา โปรแกรม คอมพิวเตอรหรือวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอัตโนมัติอื่น ที่ใชเพื่อที่จะทำใหเกิด การกระทำหรือการตอบสนองตอขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือการปฏิบัติการใด ๆ ตอระบบขอมูล ไมวาทั้งหมดหรือแตบางสวน โดยปราศจากการตรวจสอบหรือการแทรกแซงโดยบุคคลธรรมดา ในแตละครง้ั ทมี่ ีการดำเนินการหรือแตล ะครง้ั ท่ีระบบไดส รา งการตอบสนอง “การแลกเปลีย่ นขอมูลทางอเิ ลก็ ทรอนิกส” หมายความวา การสง หรอื รบั ขอความดวย วธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกสร ะหวา งเคร่ืองคอมพวิ เตอรโ ดยใชมาตรฐานท่กี ำหนดไวล ว งหนา ๒ มาตรา ๔ นิยามคำวา “การพิสูจนและยืนยันตัวตน” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติ” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรม ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 31

๓ “ผูสงขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งเปนผูสงหรือสรางขอมูลอิเล็กทรอนิกสกอนจะมี การเก็บรักษาขอมูลเพื่อสงไปตามวิธีการที่ผูนั้นกำหนด โดยบุคคลนั้นอาจจะสงหรือสรางขอมูล อิเล็กทรอนิกสดว ยตนเอง หรือมกี ารสง หรือสรางขอมลู อเิ ล็กทรอนิกสในนามหรือแทนบุคคลน้ันก็ได ทัง้ นี้ ไมรวมถงึ บุคคลทีเ่ ปนส่อื กลางสำหรับขอ มูลอิเล็กทรอนิกสน ั้น “ผูรับขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งผูสงขอมูลประสงคจะสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสให และไดรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น ทั้งนี้ ไมรวมถึงบุคคลที่เปนสื่อกลางสำหรับขอมูล อเิ ล็กทรอนิกสน ัน้ “บุคคลที่เปนสื่อกลาง” หมายความวา บุคคลซึ่งกระทำการในนามผูอื่นในการสง รับ หรือเก็บรักษาขอมูลอิเล็กทรอนิกสอันใดอันหนึ่งโดยเฉพาะ รวมถึงใหบริการอื่นที่เกี่ยวกับขอมูล อิเลก็ ทรอนกิ สนั้น “ใบรับรอง” หมายความวา ขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือการบันทึกอื่นใด ซึ่งยืนยันความ เชอ่ื มโยงระหวา งเจา ของลายมอื ชือ่ กบั ขอมูลสำหรบั ใชสรา งลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส “เจาของลายมือชื่อ” หมายความวา ผูซึ่งถือขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อเิ ล็กทรอนิกสแ ละสรางลายมอื ชอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ สน น้ั ในนามตนเองหรอื แทนบคุ คลอน่ื “คูกรณีที่เกี่ยวของ” หมายความวา ผูซึ่งอาจกระทำการใด ๆ โดยขึ้นอยูกับใบรับรอง หรือลายมือชือ่ อิเล็กทรอนกิ ส “หนวยงานของรฐั ”๕ หมายความวา (๑) กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการ สว นภมู ิภาค และราชการสวนทอ งถิ่น (๒) รฐั วิสาหกิจท่ีตงั้ ข้ึนโดยพระราชบัญญัตหิ รือพระราชกฤษฎีกา (๓) องคการมหาชนท่ีตงั้ ข้ึนโดยพระราชบัญญตั หิ รอื พระราชกฤษฎีกา (๔) หนว ยงานของรฐั สภา (๕) หนวยงานของศาล ในสว นทไี่ มเ กยี่ วกบั การพพิ ากษาอรรถคดี (๖) องคกรตามรัฐธรรมนญู ในสวนทีไ่ มเ กีย่ วกบั การวินจิ ฉัยชข้ี าดขอ พพิ าท (๗) องคก รอสิ ระที่ต้ังขึน้ ตามกฎหมาย (๘) นิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีหนาที่และอำนาจในการดำเนินงานของรัฐ ไมว าในการใด ๆ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส “ผอู ำนวยการ”๖ หมายความวา ผูอ ำนวยการสำนักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส ๕ มาตรา ๔ นิยามคำวา “หนวยงานของรัฐ” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๖ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ผูอำนวยการ” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 32 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๔ “สำนักงาน”๗ หมายความวา สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ตามกฎหมาย วาดวยสำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส “รฐั มนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผูรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๕ บทบญั ญัติมาตรา ๑๓ ถงึ มาตรา ๒๔ และบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๖ ถึงมาตรา ๓๑ จะตกลงกนั เปนอยา งอน่ื กไ็ ด มาตรา ๖๘ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หมวด ๑ ธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส  มาตรา ๗ หามมิใหปฏิเสธความมผี ลผูกพันและการบังคับใชทางกฎหมายของขอความใด เพียงเพราะเหตทุ ีข่ อความนัน้ อยูในรปู ของขอ มูลอเิ ล็กทรอนิกส มาตรา ๘ ภายใตบ งั คับบทบัญญัตแิ หง มาตรา ๙ ในกรณที กี่ ฎหมายกำหนดใหก ารใดตอง ทำเปนหนังสือ มีหลักฐานเปนหนังสือหรือมีเอกสารมาแสดง หรือกำหนดผลทางกฎหมาย กรณีไมทำเปนหนังสือ ไมมีหลักฐานเปนหนังสือหรือไมมีเอกสารมาแสดง ถาไดมีการจัดทำ ขอความขึ้นเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สามารถเขาถึงและนำกลับมาใชไดโดยความหมาย ไมเปลี่ยนแปลง ใหถือวาขอความนั้นไดทำเปนหนังสือ มีหลักฐานเปนหนังสือหรือมีเอกสาร มาแสดงตามทก่ี ฎหมายกำหนด๙ ในกรณีกฎหมายกำหนดใหตองมีการปดอากรแสตมป หากไดมีการชำระเงินแทนหรือ ดำเนินการอื่นใดดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑและวิธีการที่หนวยงานของรัฐซ่ึง เกี่ยวของประกาศกำหนด ใหถือวาหนังสือ หลักฐานเปนหนังสือ หรือเอกสาร ซึ่งมีลักษณะเปน ตราสารนั้นไดมีการปดอากรแสตมปและขีดฆาตามกฎหมายนั้นแลว ในการนี้ในการกำหนด หลักเกณฑและวิธีการของหนวยงานของรัฐดังกลาว คณะกรรมการจะกำหนดกรอบและแนวทาง เพ่อื เปนมาตรฐานทั่วไปไวดวยกไ็ ด๑๐ ๗ มาตรา ๔ นิยามคำวา “สำนักงาน” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘ มาตรา ๖ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัติวา ดวยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๙ มาตรา ๘ วรรคแรก แกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติวาดวยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๐ มาตรา ๘ วรรคสอง เพมิ่ โดยพระราชบัญญัตวิ าดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 33

๕ มาตรา ๙๑๑ ในกรณที กี่ ฎหมายกำหนดใหมกี ารลงลายมือชื่อ หรือกำหนดผลทางกฎหมาย กรณีท่ไี มม กี ารลงลายมือช่ือไว ใหถอื วา ไดม กี ารลงลายมอื ช่อื แลว ถา (๑) ใชวิธีการที่สามารถระบุตัวเจาของลายมือชื่อ และสามารถแสดงเจตนาของเจาของ ลายมือชอ่ื เกยี่ วกับขอ ความในขอมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส และ (๒) ใชว ิธกี ารในลกั ษณะอยางใดอยางหนึ่ง ดงั ตอ ไปน้ี (ก) วิธีการที่เชื่อถือไดโดยเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการสรางหรือสงขอมูล อเิ ล็กทรอนิกส โดยคำนึงถึงพฤตกิ ารณแวดลอมทงั้ ปวง รวมถึงขอ ตกลงใด ๆ ที่เก่ยี วของ หรอื (ข) วิธีการอื่นใดที่สามารถยืนยันตวั เจาของลายมือชื่อและสามารถแสดงเจตนาของ เจา ของลายมอื ชอื่ ตาม (๑) ไดด ว ยวธิ ีการน้ันเองหรอื ประกอบกบั พยานหลักฐานอ่ืน วิธีการท่ีเชื่อถอื ไดต ามวรรคหน่ึง (๒) (ก) ใหคำนงึ ถึง (๑) ความมั่นคงและรัดกุมของการใชวิธีการหรืออุปกรณในการระบุตัวบุคคล สภาพพรอมใชงานของทางเลือกในการระบุตัวบุคคล กฎเกณฑเกี่ยวกับลายมือชื่อที่กำหนดไวใน กฎหมายระดับความมั่นคงปลอดภัยของการใชลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส การปฏิบัติตาม กระบวนการในการระบุตวั บุคคลผูเ ปน สื่อกลาง ระดับของการยอมรับหรือไมยอมรับ วิธีการที่ใช ในการระบุตัวบุคคลในการทำธุรกรรม วิธีการระบุตัวบุคคล ณ ชวงเวลาที่มีการทำธุรกรรมและ ติดตอ ส่อื สาร (๒) ลักษณะ ประเภท หรือขนาดของธุรกรรมที่ทำ จำนวนครั้งหรือความสม่ำเสมอ ในการทำธุรกรรม ประเพณที างการคา หรอื ทางปฏิบตั ิ ความสำคญั มูลคาของธุรกรรมทที่ ำ หรอื (๓) ความรัดกมุ ของระบบการตดิ ตอสื่อสาร ใหนำความในวรรคหนึ่งมาใชบังคับกับการประทับตราของนิติบุคคลดวยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนกิ สดวยโดยอนุโลม มาตรา ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหนำเสนอหรือเก็บรักษาขอความใดในสภาพ ที่เปนมาแตเดิมอยางเอกสารตนฉบับ ถาไดนำเสนอหรือเก็บรักษาในรูปขอมูลอิเล็กทรอนิกส ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ใหถือวาไดมีการนำเสนอหรือเก็บรักษาเปนเอกสารตนฉบับ ตามกฎหมายแลว (๑) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดใชวิธีการที่เชื่อถือไดในการรักษาความถูกตองของขอความ ตงั้ แตการสรางขอความเสร็จสมบูรณ และ (๒) สามารถแสดงขอ ความนน้ั ในภายหลังได ความถูกตองของขอความตาม (๑) ใหพิจารณาถึงความครบถวนและไมมี การเปลยี่ นแปลงใดของขอ ความ เวน แตก ารรบั รองหรือบันทึกเพม่ิ เตมิ หรือการเปลยี่ นแปลงใด ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นไดตามปกติในการติดตอสื่อสาร การเก็บรักษา หรือการแสดงขอความซึ่งไมมีผล ตอความถกู ตอ งของขอความนน้ั ๑๑ มาตรา ๙ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิวา ดว ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 34 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๖ ในการวินิจฉัยความนาเชื่อถือของวิธีการรักษาความถูกตองของขอความตาม (๑) ใหพิเคราะหถึงพฤติการณที่เกี่ยวของทั้งปวง รวมทั้งวัตถุประสงคของการสรางขอความนั้น ในกรณีที่มีการทำสิ่งพิมพออกของขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหนึ่งสำหรับใชอางอิง ขอความของขอมูลอิเล็กทรอนิกส หากสิ่งพิมพออกนั้นมีขอความถูกตองครบถวนตรงกับขอมูล อิเล็กทรอนิกส และมีการรับรองสิ่งพิมพออกโดยหนวยงานที่มีอำนาจตามที่คณะกรรมการ ประกาศกำหนดแลว ใหถอื วาสงิ่ พิมพออกดังกลาวใชแ ทนตน ฉบบั ได๑ ๒ มาตรา ๑๑๑๓ หามมิใหปฏิเสธการรับฟงขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนพยานหลักฐาน ในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมายทั้งในคดีแพง คดีอาญา หรือคดีอื่นใด เพียงเพราะเหตุวา เปน ขอมลู อเิ ล็กทรอนกิ ส ในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสจะเชื่อถือไดหรือไมเพียงใดน้ัน ใหพิเคราะหถึงความนาเชื่อถือของลักษณะหรือวิธีการที่ใชสราง เก็บรักษา หรือสื่อสารขอมูล อิเล็กทรอนิกส ลักษณะหรือวิธีการเก็บรักษา ความครบถวน และไมมีการเปลี่ยนแปลงของ ขอความ ลักษณะ หรือวิธีการที่ใชในการระบุหรือแสดงตัวผูสงขอมูล รวมทั้งพฤติการณท่ี เก่ียวขอ งท้งั ปวง ใหน ำความในวรรคหนึง่ มาใชบงั คบั กับสงิ่ พมิ พออกของขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสด ว ย มาตรา ๑๒ ภายใตบังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหเก็บรักษา เอกสารหรือขอความใด ถาไดเก็บรักษาในรูปขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑดังตอไปน้ี ใหถอื วา ไดมีการเกบ็ รกั ษาเอกสารหรอื ขอความตามทีก่ ฎหมายตองการแลว (๑) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นสามารถเขาถึงและนำกลับมาใชไดโดยความหมาย ไมเ ปลย่ี นแปลง (๒) ไดเกบ็ รกั ษาขอ มลู อเิ ล็กทรอนิกสนน้ั ใหอยใู นรปู แบบทเี่ ปน อยูในขณะท่ีสราง สง หรือ ไดรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น หรืออยูในรูปแบบที่สามารถแสดงขอความที่สราง สง หรือไดรับ ใหป รากฏอยา งถกู ตอ งได และ (๓) ไดเก็บรักษาขอความสวนที่ระบุถึงแหลงกำเนิด ตนทาง และปลายทางของขอมูล อเิ ล็กทรอนิกส ตลอดจนวนั และเวลาทสี่ งหรือไดรับขอ ความดงั กลา ว ถา มี ความในวรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับกับขอความที่ใชเพียงเพื่อวัตถุประสงคในการสงหรือ รบั ขอ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส หนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบในการเก็บรักษาเอกสารหรือขอความใด อาจกำหนด หลกั เกณฑรายละเอียดเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั การเก็บรกั ษาเอกสารหรือขอความน้ันได เทาที่ไมขัดหรือ แยง กับบทบัญญัติในมาตราน้ี ๑๒ มาตรา ๑๐ วรรคส่ี เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๓ มาตรา ๑๑ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัตวิ า ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 35

๗ มาตรา ๑๒/๑๑๔ ใหนำบทบัญญัติในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใชบ งั คับ กับเอกสารหรือขอความที่ไดมีการจัดทำหรือแปลงใหอยูในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ในภายหลังดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส และการเก็บรักษาเอกสารและขอความดังกลาวดวย โดยอนุโลม การจดั ทำหรือแปลงเอกสารและขอความใหอยูในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหน่ึง ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่ีคณะกรรมการกำหนด มาตรา ๑๓ คำเสนอหรือคำสนองในการทำสัญญาอาจทำเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสก็ได และหามมิใหปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้นไดทำคำเสนอ หรือคำสนองเปน ขอ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส มาตรา ๑๓/๑๑๕ การเสนอเพื่อทำสัญญาผานการติดตอสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส คร้ังเดียวหรอื หลายครั้ง ซง่ึ ไมไดสง ถึงบุคคลใดโดยเฉพาะเจาะจง แตบุคคลทวั่ ไปท่ีใชระบบขอมูลน้ัน สามารถเขาถึงได รวมถงึ การเสนอโดยใหร ะบบขอมูลสามารถโตตอบไดโดยอัตโนมัติ ในการทำคำส่ัง ผานระบบขอมูลใหถือเปนคำเชิญชวนเพื่อทำคำเสนอ เวนแตการเสนอเพื่อทำสัญญาระบุได โดยแจง ชัดถึงเจตนาของบคุ คลท่ที ำการเสนอที่จะผูกพนั หากมีการสนองรับ มาตรา ๑๓/๒๑๖ หามมิใหปฏิเสธความสมบูรณหรือการบังคับใชของสัญญาที่ทำโดย การโตตอบระหวางระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติกับบุคคลธรรมดา หรือ ระหวางระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติดวยกัน เพียงเพราะเหตุที่ไมมีบุคคล ธรรมดาเขาไปเกี่ยวของกับการดำเนินการในแตละครั้งที่กระทำโดยระบบแลกเปลี่ยนขอมูล ทางอิเล็กทรอนิกสอ ัตโนมัติหรือในผลแหงสัญญา มาตรา ๑๔ ในระหวางผูสงขอมูลและผูรับขอมูล การแสดงเจตนาหรือคำบอกกลาว อาจทำเปนขอมูลอเิ ลก็ ทรอนกิ สก็ได มาตรา ๑๕ บุคคลใดเปนผูสงขอมูลไมวาจะเปนการสงโดยวิธีใด ใหถือวาขอมูล อิเลก็ ทรอนิกสเ ปนของผูนั้น ในระหวางผูสงขอมูลและผูรับขอมูล ใหถือวาเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสของผูสงขอมูล หากขอ มูลอิเลก็ ทรอนิกสน นั้ ไดสงโดย (๑) บุคคลผมู อี ำนาจกระทำการแทนผูสงขอ มูลเกย่ี วกับขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสน ้นั หรอื (๒) ระบบขอมลู ท่ผี ูสง ขอมูลหรือบุคคลผูมีอำนาจกระทำการแทนผสู งขอมูลไดกำหนดไว ลว งหนา ใหส ามารถทำงานไดโดยอตั โนมตั ิ ๑๔ มาตรา ๑๒/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตวิ าดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๕ มาตรา ๑๓/๑ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตวิ าดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๖ มาตรา ๑๓/๒ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตวิ า ดวยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 36 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๘ มาตรา ๑๖ ผูรับขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนของผูสงขอมูลและ ชอบท่จี ะดำเนินการไปตามขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสน ้ันได ถา (๑)๑๗ ผรู บั ขอ มูลไดตรวจสอบโดยสมควรตามวธิ กี ารทผ่ี สู งขอมลู ไดต กลงหรือผูกพันตนไว วาเปน ขอมลู อิเลก็ ทรอนิกสเปน ของผสู ง ขอมลู หรอื (๒) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ผูร บั ขอมลู ไดรบั นัน้ เกิดจากการกระทำของบุคคลซึง่ ใชวิธีการ ที่ผูสงขอมูลใชในการแสดงวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นเปนของผูสงขอมูล ซึ่งบุคคลนั้นไดลวงรู โดยอาศยั ความสมั พันธร ะหวางบคุ คลนน้ั กับผสู ง ขอ มูลหรือผมู ีอำนาจกระทำการแทนผสู งขอมูล ความในวรรคหนง่ึ มิใหใ ชบ ังคบั ถา (๑) ในขณะนั้นผูรับขอมูลไดรับแจงจากผูสงขอมูลวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ผูรับขอมูล ไดรับนั้นมิใชของผูสงขอมูล และในขณะเดียวกันผูรับขอมูลมีเวลาพอสมควรที่จะตรวจสอบ ขอ เท็จจริงตามทไี่ ดร บั แจง นั้น หรอื (๒) กรณตี ามวรรคหน่ึง (๒) เมื่อผรู ับขอมูลไดรูหรือควรจะไดรูวา ขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน้ัน ไมใชของผูสงขอมูล หากผูรับขอมูลไดใชความระมัดระวังตามสมควร หรือดำเนินการตามวิธีการ ทีไ่ ดต กลงกันไวกอนแลว มาตรา ๑๗ ในกรณีตามมาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง ในระหวางผูสงขอมูล และผูรับขอมูล ผูรับขอมูลมีสิทธิถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับนั้นถูกตองตามเจตนาของ ผูสงขอมูลและสามารถดำเนินการไปตามขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นได เวนแตผูรับขอมูลไดรูหรือ ควรจะไดรูวา ขอ มูลอิเล็กทรอนิกสท่ไี ดร บั นั้นมีขอผดิ พลาดอันเกิดจากการสง หากผูรับขอมูลไดใช ความระมดั ระวงั ตามสมควรหรือดำเนินการตามวิธกี ารทีไ่ ดตกลงกนั ไวกอนแลว มาตรา ๑๗/๑๑๘ ในกรณีที่มีการลงขอมูลผิดพลาดโดยบุคคลธรรมดาและสงผานระบบ แลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติของผูอื่น และระบบแลกเปลี่ยนขอมูล ทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมตั นิ ัน้ ไมม ชี องทางใหบคุ คลดงั กลา วแกไขขอผิดพลาดที่เกดิ ขน้ึ บคุ คลดงั กลา ว หรือผแู ทนมีสิทธทิ จ่ี ะถอนการแสดงเจตนาในสว นท่เี กดิ จากการลงขอมลู ผิดพลาดได หาก (๑) บคุ คลดังกลา วหรือผแู ทนไดแจงใหอ ีกฝา ยหนึ่งทราบถึงขอผิดพลาดโดยพลันหลังจาก ที่ตนไดรูถึงขอผิดพลาดนั้น และแสดงใหเห็นวาไดสงขอมูลผิดพลาดผานระบบแลกเปล่ียนขอมลู ทางอิเล็กทรอนกิ สอัตโนมัติ และ (๒) บุคคลดังกลาวหรือผูแทนไมไดใชหรือไดรับประโยชนใด ๆ จากสินคา บริการ หรือ ส่ิงอืน่ ใดอยางนยั สำคญั จากอกี ฝา ยหนึ่ง ๑๗ มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง (๑) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๘ มาตรา ๑๗/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั วิ าดวยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 37

๙ มาตรา ๑๘ ผูรับขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับแตละชุดเปนขอมูล ที่แยกจากกัน และสามารถดำเนินการไปตามขอมูลอิเล็กทรอนิกสแตละชุดนั้นได เวนแตขอมูล อิเล็กทรอนิกสชุดนั้นจะซ้ำกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสอีกชุดหนึ่ง และผูรับขอมูลไดรูหรือควรจะ ไดรูวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ้ำ หากผูรับขอมูลไดใชความระมัดระวัง ตามสมควร หรือดำเนินการตามวิธีการท่ีไดต กลงกันไวกอ นแลว มาตรา ๑๙ ในกรณีที่ตองมีการตอบแจงการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไมวาผูสงขอมูลได รองขอหรือตกลงกับผูรับขอมูลไวกอนหรือขณะที่สงขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือปรากฏในขอมูล อเิ ล็กทรอนกิ สใ หเ ปน ไปตามหลักเกณฑด ังตอไปนี้ (๑) ในกรณีที่ผูสงขอมูลมิไดตกลงใหตอบแจงการรับขอ มูลอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบหรอื วิธกี ารใดโดยเฉพาะ การตอบแจงการรับอาจทำไดดวยการติดตอส่ือสารจากผรู ับขอมูล ไมวาโดย ระบบขอมูลที่ทำงานโดยอัตโนมัติหรือโดยวิธีอื่นใด หรือดวยการกระทำใด ๆ ของผูรับขอมูล ซ่งึ เพียงพอจะแสดงตอผสู ง ขอมูลวา ผรู บั ขอมลู ไดรับขอ มลู อิเล็กทรอนิกสนั้นแลว (๒) ในกรณีที่ผูสงขอมูลกำหนดเงื่อนไขวาจะถือวามีการสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตอเม่ือ ไดรับการตอบแจงการรับจากผูรับขอมูล ใหถือวายังไมมีการสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสจนกวา ผูสงขอมลู จะไดรับการตอบแจงการรับแลว (๓) ในกรณีที่ผูสงขอมูลมิไดกำหนดเงื่อนไขตามความใน (๒) และผูสงขอมูลมิไดรับ การตอบแจงการรับนั้นภายในเวลาที่กำหนดหรือตกลงกัน หรือภายในระยะเวลาอันสมควร ในกรณที ีม่ ไิ ดกำหนดหรอื ตกลงเวลาไว (ก) ผูสงขอมูลอาจสงคำบอกกลาวไปยังผูรับขอมูลวาตนยังมิไดรับการตอบแจง การรับและกำหนดระยะเวลาอันสมควรใหผ ูรบั ขอมลู ตอบแจง การรับ และ (ข) หากผูสงขอ มูลมิไดร ับการตอบแจงการรับภายในระยะเวลาตาม (ก) เมอ่ื ผูสงขอมูล บอกกลาวแกผูรับขอมูลแลว ผูสงขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นมิไดมีการสงเลย หรือผูสง ขอ มูลอาจใชส ิทธอิ ื่นใดท่ผี ูสง ขอมลู มอี ยูได มาตรา ๒๐ ในกรณีที่ผูสงขอมูลไดรับการตอบแจงการรับจากผูรับขอมูล ใหสันนิษฐาน วา ผูร ับขอ มูลไดรับขอมูลอเิ ล็กทรอนิกสที่เกีย่ วของแลว แตขอ สันนษิ ฐานดังกลาวมิใหถือวาขอมูล อิเล็กทรอนิกสท ผ่ี ูรบั ขอ มลู ไดรับน้ันถกู ตองตรงกนั กบั ขอมูลอิเล็กทรอนกิ สท่ีผสู ง ขอ มูลไดส ง มา มาตรา ๒๑ ในกรณที ปี่ รากฏในการตอบแจงการรับขอมูลอิเล็กทรอนกิ สน้ันเองวาขอมูล อิเล็กทรอนิกสที่ผูรับขอมูลไดรับเปนไปตามขอกำหนดทางเทคนิคที่ผูสงขอมูลและผูรับขอมูลได ตกลงหรือระบุไวในมาตรฐานซึ่งใชบังคับอยู ใหสันนิษฐานวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สงไปน้ัน ไดเ ปนไปตามขอ กำหนดทางเทคนิคท้งั หมดแลว มาตรา ๒๒ การสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหถือวาไดมีการสงเมื่อขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น ไดเ ขาสูร ะบบขอ มลู ที่อยนู อกเหนอื การควบคมุ ของผสู งขอมลู 38 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๑๐ มาตรา ๒๓ การรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหถือวามีผลนับแตเวลาที่ขอมูลอิเล็กทรอนิกส น้นั ไดเ ขาสูระบบขอมลู ของผูร บั ขอ มลู หากผูรับขอมูลไดกำหนดระบบขอมูลที่ประสงคจะใชในการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสไว โดยเฉพาะใหถือวาการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีผลนับแตเวลาทีข่ อมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นไดเขาสู ระบบขอมูลที่ผูรับขอมูลไดกำหนดไวนั้น แตถาขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวไดสงไปยังระบบ ขอมูลอื่นของผูรับขอมูลซึ่งมิใชระบบขอมูลที่ผูรับขอมูลกำหนดไว ใหถือวาการรับขอมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ สม ผี ลนับแตเวลาที่ไดเรยี กขอ มูลอิเล็กทรอนิกสจากระบบขอมูลนัน้ ความในมาตรานี้ใหใชบังคับแมระบบขอมูลของผูรับขอมูลตั้งอยูในสถานที่อีกแหงหน่ึง ตา งหากจากสถานท่ีทถี่ อื วา ผรู บั ขอมูลไดร บั ขอมูลอเิ ล็กทรอนิกสตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๔ การสงหรือการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกส ใหถือวาไดสง ณ ที่ทำการงานของ ผสู ง ขอมูล หรอื ไดรับ ณ ทีท่ ำการงานของผรู บั ขอ มูล แลวแตกรณี ในกรณีที่ผูสงขอมูลหรือผูรับขอมูลมีที่ทำการงานหลายแหง ใหถือเอาที่ทำการงาน ทเี่ ก่ยี วขอ งมากท่ีสุดกบั ธุรกรรมนัน้ เปน ที่ทำการงานเพ่ือประโยชนต ามวรรคหน่ึง แตถ าไมสามารถ กำหนดไดวาธุรกรรมนั้นเกี่ยวของกับที่ทำการงานแหงใดมากที่สุด ใหถือเอาสำนักงานใหญ เปนสถานที่ทไี่ ดรบั หรอื สง ขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน ้ัน ในกรณที ่ีไมป รากฏที่ทำการงานของผสู งขอมูลหรือผรู บั ขอมูล ใหถ ือเอาถนิ่ ท่ีอยูปกติเปน สถานที่ทีส่ งหรือไดรบั ขอ มูลอิเล็กทรอนิกส ความในมาตรานี้มิใหใชบังคับกับการสงและการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสโดยวิธีการ ทางโทรเลขและโทรพิมพ หรอื วิธกี ารส่ือสารอ่ืนตามทกี่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๒๕ ธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกสใดที่ไดกระทำตามวิธีการแบบปลอดภัยที่กำหนด ในพระราชกฤษฎกี า ใหส นั นิษฐานวา เปน วิธีการท่เี ชื่อถือได หมวด ๒ ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส  มาตรา ๒๖ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกสท ่เี ชอื่ ถอื ได (๑) ขอมูลสำหรับใชสรา งลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนน้ั ไดเช่อื มโยงไปยังเจาของลายมือช่ือ โดยไมเชื่อมโยงไปยังบุคคลอนื่ ภายใตส ภาพท่ีนำมาใช (๒) ในขณะสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนั้น ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ ยภู ายใตการควบคมุ ของเจา ของลายมือช่อื โดยไมมีการควบคมุ ของบุคคลอนื่ (๓) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดแกลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส นับแตเวลาที่ไดสรางข้ึน สามารถจะตรวจพบได และ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 39

๑๑ (๔)๑๙ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหการลงลายมือชื่อเปนไปเพื่อรับรองความครบถวน และไมมีการเปลี่ยนแปลงของขอความ การเปลี่ยนแปลงใดแกขอความนั้นสามารถตรวจพบได นบั แตเวลาทีล่ งลายมือชื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ไมเปนการจำกัดวาไมมีวิธีการอื่นใดที่แสดงไดวาเปนลายมือช่ือ อิเลก็ ทรอนิกสท่ีเชื่อถือได หรือการแสดงพยานหลักฐานใดเกย่ี วกบั ความไมนาเช่ือถือของลายมือชื่อ อเิ ล็กทรอนิกส มาตรา ๒๗ ในกรณีมีการใชขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อสราง ลายมอื ชือ่ อิเลก็ ทรอนกิ สทจ่ี ะมีผลตามกฎหมาย เจาของลายมือช่อื ตอ งดำเนินการดังตอไปน้ี (๑) ใชความระมัดระวังตามสมควรเพื่อมิใหมีการใชขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อิเลก็ ทรอนกิ สโดยไมไ ดรับอนุญาต (๒) แจงใหบุคคลที่คาดหมายไดโดยมีเหตุอันควรเชื่อวาจะกระทำการใดโดยขึ้นอยูกับ ลายมอื ชอ่ื อิเล็กทรอนิกสห รอื ใหบ รกิ ารเกย่ี วกับลายมือชอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส ทราบโดยมชิ กั ชา เมือ่ (ก) เจาของลายมือช่ือรูหรือควรไดรวู า ขอมลู สำหรบั ใชสรางลายมือชื่ออเิ ล็กทรอนิกสน้ัน สูญหาย ถกู ทำลาย ถูกแกไข ถูกเปด เผยโดยมชิ อบ หรอื ถกู ลว งรโู ดยไมส อดคลองกบั วตั ถุประสงค (ข) เจา ของลายมอื ชอ่ื รจู ากสภาพการณที่ปรากฏวา กรณีมีความเส่ยี งมากพอที่ขอมูล สำหรับใชส รางลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส สูญหาย ถูกทำลาย ถูกแกไข ถูกเปดเผยโดยมชิ อบ หรือ ถูกลวงรโู ดยไมสอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงค (๓) ในกรณีมีการออกใบรับรองสนับสนุนการใชลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส จะตองใช ความระมัดระวังตามสมควรใหแนใจในความถูกตองและสมบูรณของการแสดงสาระสำคัญ ทั้งหมด ซึ่งกระทำโดยเจาของลายมือชื่อเกี่ยวกับใบรับรองนั้นตลอดอายุใบรับรอง หรือตามที่มี การกำหนดในใบรับรอง มาตรา ๒๘ ในกรณมี กี ารใหบริการออกใบรับรองเพื่อสนับสนุนลายมอื ช่ืออิเล็กทรอนิกส ใหม ีผลทางกฎหมายเสมือนหนึ่งลงลายมือชอื่ ผใู หบ ริการออกใบรบั รองตอ งดำเนนิ การ ดังตอ ไปน้ี (๑) ปฏิบตั ติ ามแนวนโยบายและแนวปฏิบตั ิที่ตนไดแ สดงไว (๒) ใชความระมัดระวังตามสมควรใหแนใจในความถูกตองและความสมบูรณของ การแสดงสาระสำคัญทั้งหมดที่ตนไดกระทำเกี่ยวกับใบรับรองนั้นตลอดอายุใบรับรอง หรือตามท่ี มีการกำหนดในใบรับรอง (๓) จัดใหมีวิธีการในการเขาถึงโดยสมควร ใหคูกรณีที่เกี่ยวของสามารถตรวจสอบ ขอเทจ็ จริงในการแสดงสาระสำคัญทั้งหมดจากใบรับรองได ในเรอื่ งดังตอ ไปนี้ (ก) การระบผุ ใู หบ ริการออกใบรบั รอง (ข) เจาของลายมือชื่อซึ่งระบใุ นใบรับรองไดควบคุมขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชือ่ อิเลก็ ทรอนกิ สใ นขณะมกี ารออกใบรบั รอง ๑๙ มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง (๔) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 40 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

๑๒ (ค) ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสมีผลใชไดในขณะหรือกอนที่มี การออกใบรับรอง (๔) จัดใหมีวิธีการเขาถึงโดยสมควร ใหคูกรณีที่เกี่ยวของสามารถตรวจสอบ กรณีดังตอไปนจ้ี ากใบรับรองหรือจากวิธอี ื่น (ก) วิธกี ารท่ีใชใ นการระบุตวั เจาของลายมอื ชือ่ (ข) ขอ จำกดั เก่ียวกับวัตถุประสงคและคุณคาท่ีมีการนำขอมูลสำหรับใชส รางลายมือชื่อ อิเลก็ ทรอนกิ สห รอื ใบรบั รอง (ค) ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสมีผลสมบูรณใชไ ดและไมสูญหาย ถกู ทำลาย ถูกแกไข ถกู เปด เผยโดยมชิ อบ หรือถกู ลว งรูโดยไมส อดคลองกบั วัตถปุ ระสงค (ง) ขอ จำกดั เกย่ี วกบั ขอบเขตความรบั ผิดท่ีผูใหบรกิ ารออกใบรบั รองไดร ะบุไว (จ) การมีวธิ ีการใหเ จาของลายมอื ช่อื สง คำบอกกลาวเมือ่ มีเหตุตามมาตรา ๒๗ (๒) (ฉ) การมีบริการเกย่ี วกับการเพกิ ถอนใบรบั รองทท่ี ันการ (๕) ในกรณีทมี่ บี ริการตาม (๔) (จ) บริการน้นั ตองมวี ิธกี ารทีใ่ หเ จาของลายมือชื่อสามารถ แจงไดต ามหลกั เกณฑท ีก่ ำหนดตามมาตรา ๒๗ (๒) และในกรณีที่มบี รกิ ารตาม (๔) (ฉ) บริการนน้ั ตองสามารถเพิกถอนใบรบั รองไดทนั การ (๖) ใชร ะบบ วธิ กี าร และบุคลากรท่เี ช่ือถอื ไดใ นการใหบรกิ าร มาตรา ๒๙ ในการพิจารณาความเชื่อถือไดของระบบ วิธีการ และบุคลากรตามมาตรา ๒๘ (๖) ใหค ำนงึ ถงึ กรณีดังตอ ไปนี้ (๑) สถานภาพทางการเงนิ บุคลากร และสนิ ทรัพยทมี่ อี ยู (๒) คุณภาพของระบบฮารดแวรและซอฟตแวร (๓) วิธีการออกใบรับรอง การขอใบรบั รอง และการเก็บรกั ษาขอมูลการใหบ ริการนัน้ (๔) การจัดใหมีขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเจาของลายมือชื่อ ที่ระบุในใบรับรองและผูท่ี อาจคาดหมายไดว าจะเปน คกู รณีทเ่ี กี่ยวของ (๕) ความสมำ่ เสมอและขอบเขตในการตรวจสอบโดยผูตรวจสอบอสิ ระ (๖) องคกรที่ใหการรับรองหรือใหบริการออกใบรับรองเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือการมีอยู ของสิ่งทีก่ ลาวมาใน (๑) ถึง (๕) (๗) กรณใี ด ๆ ทีค่ ณะกรรมการประกาศกำหนด มาตรา ๓๐ คกู รณที เ่ี ก่ียวขอ งตองดำเนนิ การ ดงั ตอไปน้ี (๑) ดำเนินการตามสมควรในการตรวจสอบความนาเชื่อถอื ของลายมือชอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส (๒) ในกรณีลายมอื ชอื่ อเิ ล็กทรอนิกสม ใี บรบั รอง ตองมีการดำเนินการตามสมควร ดงั น้ี (ก) ตรวจสอบความสมบูรณของใบรับรอง การพักใช หรือการเพิกถอนใบรบั รอง และ (ข) ปฏบิ ตั ติ ามขอจำกดั ใด ๆ ที่เกย่ี วกับใบรับรอง ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook