Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

Published by suckseedeua_20325, 2022-08-22 19:30:09

Description: แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง การส่อื สารข้อมลู เวลาเรยี น 6 ชว่ั โมง การติดต่อส่ือสารเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนควบคู่มากับมนุษย์ เน่ืองจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยใช้ภาษา เป็นส่ือในการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลซ่ึงกันและกัน ซ่ึงปัจจุบันการส่ือสารข้อมูลมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามาก ยิ่งข้ึน มีการส่งข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถส่งผ่านข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว และเสียงผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเรียนรู้เก่ียวกับการสื่อสาร ข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นพ้ืนฐานสำคัญในการทำความเข้าใจเพื่อการพัฒนา และสามารถใช้เทคโนโลยี สำหรับการตดิ ตอ่ ส่อื สารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 1. ความหมายของการส่ือสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างผสู้ ่งและผู้รับ โดยผ่านชอ่ งทางส่อื สาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรอื คอมพิวเตอรเ์ ป็นตัวกลางในการส่ง ขอ้ มลู เพ่ือให้ผูส้ ่งและผู้รับเกดิ ความเขา้ ใจซึง่ กันและกัน 2. องค์ประกอบพืน้ ฐานในการส่ือสารขอ้ มูล องค์ประกอบพื้นฐานของการส่ือสารข้อมูลสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 5 ส่วน ดงั รูป 1. ผสู้ ง่ เป็นสงิ่ ที่ทำหน้าที่ส่งข้อมลู ข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางทตี่ ้องการ ซ่ึงอาจเป็น บคุ คลหรอื อปุ กรณ์ เช่น เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ เปน็ ต้น 2. ขอ้ มลู ขา่ วสาร เปน็ ตัวเนื้อหาของข้อมูล ซ่ึงมีไดห้ ลายรูปแบบดงั น้ี คือ - ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อย่ใู นรปู อกั ขระ หรือเอกสาร เชน่ ข้อความในหนงั สือ เป็นตน้ - เสียง (Voice) ข้อมลู เสียงท่แี หล่งต้นทางสรา้ งข้นึ มา ซ่ึงอาจจะเป็นเสยี งท่ีมนุษยห์ รืออปุ กรณ์ บางอย่างเปน็ ตวั สร้างก็ได้

- รปู ภาพ (Image) เปน็ ขอ้ มูลที่ไมเ่ หมือนขอ้ ความตัวอกั ษรทเ่ี รียงตดิ ต่อกัน แต่จะมีลักษณะเหมือน รปู ภาพ เช่น การสแกนภาพเขา้ คอมพิวเตอร์ เป็นตน้ เม่ือเปรียบเทียบข้อมูลรปู ภาพกับข้อมูลข้อความ แล้วรูปภาพ จะมีขนาดใหญ่กวา่ - สอ่ื ผสม (Multimedia) ขอ้ มูลที่ผสมลักษณะของท้ังรูปภาพ เสียงและข้อความเขา้ ด้วยกัน โดย สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรยี นผา่ นระบบ VDO conference เปน็ ต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก 3. ส่ือกลาง หรือช่องทางการสอ่ื สาร เป็นส่ิงทีช่ ่วยใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเดนิ ทางจากผสู้ ง่ ไปยังผู้รบั ได้ โดยสะดวก ซ่งึ มีหลายรูปแบบ ดังนี้ * สายสญั ญาณชนดิ ตา่ งๆ เช่น สายโทรศพั ท์ สายเคเบิล เสน้ ใยแก้วนำแสง เป็นตน้ * คลน่ื สญั ญาณชนดิ ตา่ งๆ เชน่ คลนื่ วิทยุ คล่ืนไมโครเวฟ คลื่นแสง คลนื่ อนิ ฟราเรด * อุปกรณ์เสริมชนิดตา่ งๆ เช่น เสาอากาศวิทยุ เสาอากาศโทรศพั ท์ ดาวเทยี ม โมเด็ม 4. ผ้รู ับ เปน็ สิ่งทที่ ำหนา้ ทร่ี ับขอ้ มลู ขา่ วสารจากผูส้ ง่ ซ่ึงส่งผ่านสอื่ กลางชนดิ ตา่ งๆ เชน่ เคร่อื ง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วทิ ยุ เป็นตน้ 5. โปรโตคอล (Protocol) เปน็ ขอ้ กำหนดหรอื ข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการสือ่ สาร เพอ่ื ใหผ้ สู้ ่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกนั การทจ่ี ะสง่ ข้อมลู ข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผรู้ บั ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพน้นั จะขาดสว่ นประกอบใด ส่วนประกอบหนงึ่ ทก่ี ลา่ วมาแล้วไม่ได้ และต้องรู้จักเลือกใชอ้ ปุ กรณ์และวธิ กี ารใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงาน ตาราง พัฒนาการสื่อสารข้อมูลทีส่ ำคัญต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั พ.ศ. เทคโนโลยี รายละเอียด 2380 โทรเลข (telegram) เป็นอปุ กรณ์สือ่ สารข้อมลู อิเล็กทรอนิกสแ์ บบแรก ประดิษฐข์ ้ึนทป่ี ระเทศ องั กฤษ ซ่ึงใชอ้ ปุ กรณ์ทางไฟฟ้าสง่ ขอ้ ความจากที่หนึง่ ไปอกี ทห่ี นึ่ง ถกู นำมาใช้ อย่างกว้างขวางในการสง่ ขา่ วสาร 2453 เครื่องโทรพมิ พ์ เป็นอุปกรณส์ ื่อสารข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์แบบเดยี วกบั โทรเลข แต่สามารถพมิ พ์ (teleprinter) ข้อความท่ีไดร้ บั ลงกระดาษได้โดยอตั โนมัติ ซงึ่ เปน็ ท่ีรจู้ ักกันท่วั ไปชื่อ เทเลก็ ซ์ (TELEX) สว่ นใหญ่ในอเมริกาเรยี กวา่ TWX 2487 มารค์ 1คอมพวิ เตอร์ เปน็ เครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองแรกของโลก สรา้ งโดยมหาวิทยาลยั ฮารว์ าร์ด ( Mark I- Computer) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ใชห้ ลอดสญุ ญากาศ ซ่ึงใชก้ ำลงั ไฟฟ้าสงู จึงมปี ัญหาเร่อื ง ความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย 2503 ดาวเทียมส่ือสารดวงแรก ชอื่ ว่า เอคโค 1 (Echo 1) ถกู สรา้ งข้ึนเพื่อการทดสอบระบบส่ือสารผ่าน ของสหรัฐอเมรกิ า ดาวเทยี มเทา่ นนั้ ซึ่งดาวเทียมเป็นโลหะมีรูปทรงกลม สามารถสะท้อนคลน่ื (first U.S.satellite) ไมโครเวฟทีส่ ง่ มาจากจุดใดจดุ หนึ่งบนพ้ืนโลกไปยังอีกจดุ หนึ่งได้ 2513 เลเซอร์ (laser) คิดค้นโดย ทโี อดอร์ ไมแมน (Theodore Maiman) ทสี่ ถาบันวจิ ยั ฮวิ จ์

(Hughes Research Labaratories) เปน็ ลำแสงขนานท่ีมคี วามเขม้ สูง และมี ความยาวคลนื่ ทต่ี ายตวั ซึ่งในช่วงแรกของการวิจัยมีแนวโนม้ เพื่อนำไปใชท้ าง การทหาร 2514 อเี มล (e-mail) มกี ารทดลองส่งครั้งแรกในเครือขา่ ยโดยเรย์ ทอมลนิ สัน (Ray Tomlinson) 2515 อีเทอรเ์ น็ต (Ethernet) บรษิ ทั ซีร็อกซ์ (Xerox) ได้สร้างมาตรฐานสำหรับการส่ือสารข้อมลู บนเครือข่าย เฉพาะบริเวณ (LAN) ข้นึ ซ่งึ ปัจจุบนั เป็นทีย่ อมรับกันวา่ เป็นเทคโนโลยี เครอื ข่ายทเี่ ปน็ มาตรฐานหลกั ของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมด 2519 พีซี (personal คดิ ค้นขึน้ เพ่ือให้ผใู้ ช้งานทั่วไป สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ได้อย่างสะดวกสบาย computer:PC) 2526 อนิ เทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายคอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ทโ่ี ยงใยกนั ทว่ั โลก โดยเครือขา่ ยดังกลา่ ว จะตอ้ งมีมาตรฐานการรับสง่ ข้อมูลระหว่างกันเป็นแบบเดยี วกัน แม้ คอมพิวเตอร์ทเี่ ชื่อมภายในเครือขา่ ยดังกล่าวอาจจะแตกตา่ งชนิดหรือต่างขนาด กนั ก็สามารถสอ่ื สารกนั ได้ 2527 เซลลลู าร์(cellular) ระบบโทรศัพท์ไรส้ ายแบบเซลลลู ารไ์ ด้เข้ามาแทนท่ีระบบโทรศัพท์ไร้สายแบบ ใชค้ ล่ืนวทิ ยุ 2533 ปรบั ปรุงระบบอาร์พา เครอื ข่ายอาร์พาเน็ตถกู ยกเลิกและถูกแทนที่ด้วยระบบเครือขา่ ยไร้สาย เน็ต (ARPANET ระดับชาติ Reorganization) 2535 เวิลด์ไวดเ์ วบ็ (World เป็นการบริการข้อมลู แบบไฮเปอรเ์ ท็กซ์ (hypertext) ท่ปี ระกอบไปด้วย Wild Web) เอกสารจำนวนมากทีม่ ีการเช่ือมโยงกนั 2541 โทรทัศน์แบบ HDTV เป็นโทรทศั น์ท่ีมีความละเอยี ดสูง ให้ภาพคมชดั มากกวา่ ปกติ เรมิ่ จำหน่ายครั้ง แรกในประเทศสหรฐั อเมรกิ า 2543 ระบบสือ่ สารแบบ ระบบสอื่ สารแบบไรส้ ายเรมิ่ เขา้ มามีส่วนแบ่งทางการตลาดมากขึน้ ไรส้ าย (wireless technology) 2545 ระบบสอื่ สารแบบ บริการอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูงที่ใชเ้ ทคโนโลยี Asymmetric Digital บรอดแบนต์ Subscriber Line (ADSL) นน่ั คอื การส่ือสารข้อมลู ความเร็วสูงบนข่ายสาย (broadband access) ทองแดง หรือคูส่ ายโทรศพั ท์

3. รปู แบบของการสง่ สัญญาณข้อมูล การสือ่ สารข้อมลู ระหว่างผู้รับกบั ผสู้ ง่ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท 1. การสือ่ สารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เปน็ การติดต่อส่ือสารเพียง ทิศทางเดยี ว คือผ้สู ่งจะสง่ ข้อมลู เพยี งฝ่งั เดยี วและโดยฝ่ังรับไม่มีการตอบกลบั เชน่ การกระจายเสียงของสถานวี ทิ ยุ การส่ง e-mail เป็นต้น รูป แสดงการสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว 2. การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางสลับกนั (Half Duplex Transmission) เปน็ การส่ือสาร 2 ทิศทางแตค่ นละเวลากัน เชน่ วทิ ยุสื่อสาร เปน็ ตน้ รูป แสดงการสื่อสารข้อมลู สองทิศทางสลับกนั 3. การสือ่ สารข้อมลู สองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) เปน็ การสอ่ื สาร 2 ทิศทาง โดยสามารถสง่ ข้อมูลในเวลาเดียวกนั ได้ เช่น การคุยโทรศพั ท์ เป็นตน้ รูป แสดงการสื่อสารขอ้ มลู สองทศิ ทางพร้อมกนั 4. การสอ่ื สารข้อมลู ทางคอมพิวเตอร์ การสือ่ สารข้อมลู ทางคอมพวิ เตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ขอ้ มูลหรือการแลกเปลี่ยน ข้อมลู ระหว่างผู้สง่ ตน้ ทางกบั ผรู้ บั ปลายทาง ท้ังข้อมลู ประเภท ขอ้ ความ รปู ภาพ เสียง หรือข้อมูลสอ่ื ผสม โดยผ้สู ง่

ตน้ ทางสง่ ข้อมลู ผ่านอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรอื คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงมีหน้าท่แี ปลงข้อมลู เหลา่ น้ันให้อยใู่ นรปู สัญญาณ ทางไฟฟ้า (Electronic data) จากนัน้ ถงึ สง่ ไปยงั อุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ปลายทาง ประเภทของสญั ญาณ ข้อมลู ที่ใชใ้ นการส่ือสารข้อมูลทางคอมพวิ เตอร์ ตอ้ งเปน็ ข้อมลู ท่ีอยูใ่ นรปู สญั ญาณทางไฟฟ้า ซ่งึ สามาถจำแนกสัญญาณได้ 2 ลักษณะ 1. สญั ญาณแบบดิจทิ ลั (Digitals signal) เป็นสัญญาณท่ีถกู แบ่งเป็นชว่ งๆ อย่างไม่ตอ่ เนื่อง (Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะแบ่ง ออกเป็นสองระดบั เพ่อื แทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละสถานะคือ การใหแ้ รงดนั ทางไฟฟา้ ท่ีแตกต่างกัน การทำงานในคอมพวิ เตอร์ใช้สญั ญาณดิจิทัล รูป แสดงสัญญาณแบบดจิ ทิ ัล 2. สัญญาณอนาลอก(Analog Signal) เป็นสญั ญาณคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ ีความต่อเนอื่ งของสญั ญาณ โดยไม่เปล่ียนแปลงแบบทนั ที่ ทนั ใดเหมือนกับสัญญาณดิจิทัล เช่น เสียงพดู หรอื อณุ หภมู ใิ นอากาศเมื่อเทยี บกับเวลาทเี่ ปลยี่ นแปลงอยา่ ง ตอ่ เนื่อง รูป แสดงสัญญาณแบบอนาลอก 5. สอ่ื กลางการสื่อสาร (Transmission media) การสง่ ข้อมลู จากผู้ส่งไปยังผรู้ ับให้ครบถว้ นและถกู ต้องจำเป็นตอ้ งอาศัยสอื่ กลางในการเช่ือมต่อซ่งึ สอื่ กลาง (Medium) ทำหนา้ ท่เี ป็นเส้นทางเดินของข้อมูล โดยคณุ ภาพของสัญญาณที่ถูกสง่ ออกไปจะเกิดการสญู เสียความ เข้มของสัญญาณระหว่างเส้นทางการส่ือสารทำให้ขอ้ มูลฝัง่ รบั เกดิ ข้อผดิ พลาดและเป็นการลดทอนประสิทธิภาพ ของการสื่อสารลง ซงึ่ สื่อท่ใี ช้ในการสง่ ผา่ นข้อมูล (Transmission medium) จงึ สง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิภาพในการสง่ ด้วย โดยสอื่ กลางในการสง่ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท

1. สื่อกลางแบบมีสาย (Guide media) เป็นสอ่ื ซง่ึ อาศัยวสั ดุทจ่ี บั ต้องไดเ้ ป็นตัวส่งผา่ นสัญญาณ เชน่ สายทองแดง สายคูต่ ีเกลียว (Twisted pair) 1.1 Twisted Pair (สายคตู่ ีเกลยี ว) สายคู่ตีเกลยี วแบง่ ออกเป็นสายคตู่ ีเกลียวไม่หุ้มฉนวนเรียกส้นั ๆ วา่ UTP (Unshielded Twisted Pair) และสายคู่ตเี กลยี วหมุ้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair) - UTP (Unshielded Twisted Pair) คู่สายในสายคู่ตเี กลยี วไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศพั ท์ มีหลายเส้น ซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสี แตกต่างไปและตลอดทงั้ สายนนั้ จะถกู หุ้มดว้ ยพลาสตกิ (Plastic Cover) ซึ่งการตีเกลียวลกั ษณะนจ้ี ะช่วยใหม้ นั มี คณุ สมบตั ใิ นการป้องกนั สญั ญาณรบกวนจากอุปกรณไ์ ฟฟ้าอ่ืนๆ เชน่ จากเคร่ืองถ่ายเอกสารที่อยใู่ กล้ๆ เป็นตน้ ปัจจบุ นั เป็นสายทไ่ี ดร้ บั ความนิยมมากทีส่ ดุ เนอื่ งจากราคาถูกและตดิ ต้งั ไดง้ ่าย รปู สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) - STP (Shield Twisted Pair) เป็นสายคู่ลักษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้องกนั สญั ญาณรบกวน สายค่ตู ี เกลยี วหมุ้ ฉนวนทีเ่ ป็นโลหะถักเป็นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซงึ่ รา่ งแหนจ้ี ะมคี ุณสมบัติเปน็ เกราะในการป้องกัน สญั ญาณรบกวนตา่ งๆ ภาษาเทคนคิ เรยี กเกราะนีว้ ่า ชิลด์ (Shield) จะใชใ้ นกรณีท่เี ช่ือมต่อเปน็ ระยะทางไกลเกนิ กว่าระยะทางท่จี ะใช้สาย UTP รปู สายคู่ตเี กลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair)

1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ลกั ษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็นทองแดงแล้วห้มุ ด้วยพลาสติกสว่ นช้ันนอกหุ้ม ดว้ ยโลหะหรือฟอยล์ทถ่ี กั เป็นรา่ งแหเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชยี ลมี 2 แบบ คือ แบบหนา (thick) และแบบบาง (thin) สว่ นใหญ่ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Ethernet แบบเดมิ ซงึ่ ใช้เช่อื มต่อระหว่างเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องใช้อปุ กรณร์ วมสาย (Hub) แตใ่ นปัจจบุ นั มีการใช้น้อยลงเน่ืองจากถกู แทนท่ีด้วยสาย UTP ท่ีมีราคาถกู กวา่ และสามารถติดตั้งได้งา่ ยกว่า รปู สายโคแอกเชียล 1.3 ใยแก้วนำแสง (Fiber-Optic) ลักษณะใยแก้วนำแสงจะส่งสัญญาณแสงว่งิ ผา่ นท่อแก้วหรอื ท่อพลาสติกเล็กๆซ่ึงทอ่ แก้วนจ้ี ะถกู หุม้ ดว้ ยเจลหรือพลาสตกิ เพื่อป้องกนั ความเสยี หายและการสญู เสยี ของสญั ญาณ มขี ้อดีตรงท่สี ง่ สัญญาณไดร้ ะยะ ทางไกลโดยไม่มสี ัญญาณรบกวน 2. สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media) เป็นส่ือกลางประเภทท่ีไมใ่ ช้วัสดใุ ดๆ ในการนำสัญญาณ ซ่ึงจะไม่มีการกำหนดเส้นทางให้สญั ญาณ เดนิ ทาง เช่น คล่นื ไมโครเวฟ คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รปู ใยแก้วนำแสง

2.1 ระบบคลน่ื ไมโครเวฟ ระบบสอื่ สารดว้ ยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเช่ือมต่อเครอื ข่ายที่อยู่ในพ้ืนที่ทเี่ ช่ือมต่อด้วยสอ่ื ประเภทอนื่ ลำบาก เช่น มแี ม่น้ำขวางกน้ั อยู่ หรือการสื่อสารข้ามอาคาร เปน็ ต้น การสง่ สัญญาณข้อมูลไปกบั คลน่ื ไมโครเวฟเปน็ การส่งสัญญาณขอ้ มูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับสง่ สัญญาณหนึ่งไปยังอกี สถานีหนึ่ง โดย สามารถเกิดสญั ญาณรบกวน ซงึ่ สภาพดินฟา้ อากาศมีผลต่อการสง่ คล่นื ไมโครเวฟพอสมควร เชน่ ถ้าสภาพอากาศมี ฝนหรือควนั มาก สญั ญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ดว้ ยเหตนุ ที้ ำใหเ้ ครือ่ งส่งรับไมโครเวฟสว่ นใหญจ่ ะถูก ออกแบบมาให้ทำงานในสภาพอากาศต่างๆ ท่แี ตกต่างกัน รูป ระบบคลนื่ ไมโครเวฟ 2.2 ระบบดาวเทียม การส่ือสารผ่านดาวเทยี มเป็นการสือ่ สารทสี่ ถานีรบั -ส่งท่อี ยู่บนพ้ืนดนิ สง่ ตรงไปยงั ดาวเทยี มแล้ว ส่งกลับมายงั ตวั รับปลายทางที่พน้ื ดินอกี ครง้ั หนึง่ ลกั ษณะการส่อื สารระบบดาวเทียมเหมาะสำหรบั การตดิ ต่อสื่อสาร ระยะไกลทรี่ ะบบสือ่ สารอ่ืนๆ เข้าถึงลำบาก เช่น เดินเรอื อยู่กลางทะเล รปู ระบบดาวเทยี ม สญั ญาณรบกวนและสภาพดินฟา้ อากาศกน็ บั ว่ามผี ลต่อการสง่ ขอ้ มูลจากสถานีพื้นโลกกับ ดาวเทยี มอยู่พอสมควร เพราะวา่ สภาพอากาศทีแ่ ปรปรวนจะรบกวนสญั ญาณให้ผดิ เพ้ียนไปได้ โดยสว่ นใหญ่ ดาวเทยี มจะถูกออกแบบมาใหช้ ดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านัน้ เชน่ ฝน หรอื หมอก เป็น ต้น

2.3 แสงอินฟราเรด (Infrared) เปน็ การสอื่ สารข้อมลู โดยใช้แสงอินฟราเรดเป็นสือ่ กลาง การ ส่อื สารประเภทน้นี ยิ มใช้สำหรบั การส่ือสารข้อมูลระยะใกล้ เชน่ การสอื่ การจากรีโมทคอนโทรลไปยงั เคร่อื งรบั วทิ ยุ หรือโทรทศั น์ 2.4 สญั ญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็นสื่อนำขอ้ มูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มกี ารสง่ ข้อมูลเปน็ สัญญาณคล่ืนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรบั สัญญาณ

แบบทดสอบหลังเรียน 1. ขอ้ ใดคือความหมายของการส่อื สารขอ้ มลู ก. การสรา้ งงานนำเสนอในการนำเสนอ ข. กระบวนการถา่ ยโอนหรอื แลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ระหว่างผู้สง่ และผูร้ บั ค. การพิมพร์ ายงานส่งครูผ้สู อน ง. เป็นการสง่ สารสนเทศในรูปแบบของตวั อักษร 2. จุดเริ่มต้นของการส่งขา่ วสาร หมายถึง สว่ นประกอบใดขององค์ประกอบพ้นื ฐานของการส่ือสารข้อมูล ก. ช่องสัญญาณ ข. สาร ค. ผ้สู ่งขา่ วสาร ง. ผูร้ บั สาร 3. ขอ้ ใดหมายถึง การสอ่ื สาร ผทู้ ำการส่ือสารควรมีความ ต้องการทจ่ี ะบอกกลา่ วหรือชี้แจง ข่าวสาร เร่ืองราว เหตุการณ์ หรอื สิ่งอืน่ ใดใหผ้ ูร้ ับสารได้รบั ทราบ ก. เพอ่ื สรา้ งความพอใจหรือใหค้ วามบันเทงิ (please of entertain) ข. เพ่ือเรียนรู้ (learn) ค. เพ่ือแจง้ ให้ทราบ (inform) ง. เพอ่ื กระทำหรือตดั สนิ ใจ (dispose or decide) 4. องคป์ ระกอบหลกั ของกระบวนการสอ่ื สารประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ก. ผสู้ ง่ สาร -> สาร -> ช่องทางการสื่อสาร -> ผรู้ ับสาร -> ปฏิกิรยิ าสะทา้ นกลบั ข. สาร -> ช่องทางการสือ่ สาร -> ผรู้ ับสาร -> ปฏกิ ิริยาสะท้านกลบั -> ผูส้ ง่ สาร ค. ชอ่ งทางการสื่อสาร -> ผ้รู บั สาร -> ผู้ส่งสาร -> ปฏิกิรยิ าสะทา้ นกลบั -> สาร ง. ปฏกิ ริ ิยาสะท้านกลับ -> ผู้สง่ สาร -> สาร -> ผรู้ บั สาร -> ช่องทางการส่ือสาร 5. เวบ็ ไซต์ในข้อใดจัดอย่ใู น การบรกิ ารเครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ก. www.google.com ข. www.คนละคร่ึง.com ค. www.facebook.com ง. www.nfe.go.th

6. ความหมายของ คำว่า “โซเชียลเน็ตเวิร์ค” (Social Network) ตรงกับข้อใด ก. เครือขา่ ยทีวีสญั จร ข. เครือข่ายการศึกษาไทย ค. เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ ง. เครือขา่ ยกองทุนช่วยเหลอื ผยู้ ากไร้ 7. ข้อใดคือความหมายของเครือข่ายสังคมออนไลน์ ก. เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ที่มีสองเคร่ืองขนึ้ ไป ข. เครือข่ายทม่ี ีการเช่ือมต่ออินเทอร์เนต ค. สังคมออนไลนท์ ่ีมกี ารเช่ือมโยงกันเพื่อสรา้ งเครือข่ายในการตอบสนองความต้องการทางสงั คมทม่ี ุง่ เน้น ในการสร้างและสะทอ้ นให้เห็นถึงเครือขา่ ย หรือความสัมพันธ์ทางสังคม ง. ถูกทกุ ขอ้ 8. สญั ลักษณ์ # นิยมใชใ้ นเครือขา่ ยสังคมออนไลนใ์ นขอ้ ใด ก. line ข. Instagram ค. youtube ง. twitter 9. Line ถูกพฒั นาขนึ้ โดยประเทศอะไร ก. อเมรกิ า ข. เกาหลใี ต้ ค. จนี ง. ญ่ีปุน่ 10. โพสตข์ อ้ ความวา่ ร้ายเปดิ เผยความลับของผู้อนื่ ลงใน Facebook ถือว่าผดิ มารยาทในการใช้อินเทอรเ์ น็ตหรือไม่ เพราะเหตุใด ก. ผดิ เพราะเป็นการสรา้ งหลักฐานทีเ่ ป็นเท็จ ข. ไม่ผดิ เพราะไม่ได้เปน็ การทำรา้ ยใคร ค. ไม่ผดิ เพราะถือเปน็ สทิ ธิส่วนบคุ คล ง. ผิด เพราะเป็นการใช้คอมพวิ เตอรท์ ำร้าย หรอื ละเมดิ สิทธผิ อู้ ่ืน

เฉลยแนวคำตอบ 1.ก 2.ค 3. ก 4.ง 5.ง 6.ข 7.ง 8.ค 9.ง 10. ง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผู้เรียน ชื่อโครงการ/กจิ กรรม........................................................................................................................ ชือ่ โรงเรียน/สถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………….. ชอ่ื หัวหน้าโครงการ/กจิ กรรม............................................................................................................. คำช้ีแจง ให้ผู้ประเมินทำเคร่ืองหมายถูก () ลงในช่องระดับพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีเกณฑ์ระดับคุณภาพ การประเมนิ ดงั นี้ 5 มพี ฤติกรรมการเรยี นรู้ มากที่สดุ 4 มีพฤติกรรมการเรยี นรู้ มาก 3 มีพฤติกรรมการเรยี นรู้ ปานกลาง 2 มพี ฤติกรรมการเรยี นรู้ น้อย 1 มีพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ น้อยทีส่ ุด เกณฑก์ ารพจิ ารณาระดับคณุ ภาพ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 0 - 50 ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 80 – 89 ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 90 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม พฤติกรรมการเรียนรู้ ระดบั พฤตกิ รรม 54321 1. ความต้งั ใจในการทำงาน 2. ความรบั ผดิ ชอบ 3. ความกระตอื รอื รน้ 4. การตรงตอ่ เวลา 5. ผลสำเร็จของงาน 6. การทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืน 7. มีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 8. มีการวางแผนในการทำงาน 9. การมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็นในกลุม่ 10. การมสี ว่ นรว่ มในการแก้ไขปญั หาในกลมุ่ ลงชื่อ......................................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.............................../.....................

บนั ทึกผลหลงั การจดั กระบวนการเรียนรู้ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. จำนวนเน้อื หากับจำนวนเวลา เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 2. การเรยี งลำดบั เนอ้ื หากับความเขา้ ใจของผูเ้ รยี น เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบเุ หตุผล ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................... ............................. ..................................................................................................... ........................................................... 3. การนำเขา้ สู่บทเรียนกับเน้ือหาแตล่ ะหวั ข้อ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล ............................................................................................................ .................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 4. วิธีการจัดการเรยี นร้กู บั เน้ือหาในแต่ละข้อ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................

5. การประเมินผลกบั ตวั ช้ีวัดในแตล่ ะหน่วย เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล ........................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ผลการเรียนของผเู้ รียน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ผลการจัดการเรียนรู้ของครู ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ............... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... .................................................................

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อนิ เทอร์เน็ต เวลาเรยี น 6 ช่ัวโมง เน่ืองจากอนิ เทอรเ์ นต็ คือ ระบบเครอื ข่ายขนาดใหญท่ ี่เกิดจากการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยขนาดเลก็ จำนวนมาก เขา้ ด้วยกัน เม่ือมีระบบเครือข่ายเกิดขน้ึ มนั ทำให้เราสามารถส่อื สารกบั ผู้อื่นผา่ นทางระบบเครอื ข่ายได้ ทั้งกบั คน สนิทและบุคคลทว่ั ไป ซงึ่ การท่ีเราติดตอ่ สื่อสารกันไดเ้ ชน่ น้ี ก็เปรยี บเสมือนเรากำลังอยใู่ นสงั คมแห่งใหม่ทเ่ี รยี กว่า สังคมในโลกอินเทอร์เน็ตนั่นเอง สิ่งทข่ี าดไปไม่ได้เลยในการที่เราจะอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมได้อย่างสงบสขุ นัน่ กค็ ือ มารยาทและกฎกติกาของ สังคม นึกงา่ ยๆ วา่ ถ้าเกิดประเทศเราไม่มีกฎหมายในการจัดการบ้านเมือง เชน่ กฎจราจร ผูค้ นคงขบั รถกันตามใจ ชอบ และต่อให้ขับรถชนคนอ่ืนก็จะไมม่ ีการถูกลงโทษใดๆ ซึง่ คงไม่ใช่เร่ืองที่ดีแนน่ อน ดงั น้ัน ในยุคปจั จบุ นั ทีเ่ ราแทบทกุ คนต่างมีสังคมอีกแห่งหน่ึงอยา่ ง สังคมในโลกอนิ เทอร์เนต็ เราจงึ จำเปน็ จะต้องรู้จักกฎ กติกา และมารยาทในการใช้อนิ เทอร์เน็ต หรอื เราควรจะมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมในการใช้ อนิ เทอร์เนต็ เพื่อเปน็ การให้เกยี รติและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อืน่ สำหรับคุณธรรมและจรยิ ธรรมการใช้อินเทอร์เน็ตท่ีควรมี มีทง้ั หมด 6 อยา่ ง ดังนี้ 1. ใชถ้ อ้ ยคำสุภาพ การทเ่ี ราจะสือ่ สารกับใครสักคนบนโลกอนิ เทอรเ์ นต็ เราต้องคำนึงเสมอวา่ คนท่เี ราจะสอื่ สารดว้ ยเป็นใคร ถงึ แมว้ า่ เราจะไมเ่ หน็ หนา้ ของคูส่ ื่อสาร แตเ่ ราตอ้ งคำนึงไว้ก่อนวา่ เขามตี วั ตน มีความรู้สึก ยกตัวอย่างเช่น ถ้าครจู ะโพสต์ทวงงานนกั เรียนในกรปุ๊ เฟสบุ๊ครายวชิ า ครูก็ตอ้ งนึกก่อนวา่ ในฐานะครู จำเป็น จะต้องใชค้ ำพูดกบั นักเรียนอย่างไร เพื่อใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจในสงิ่ ท่ีครตู ้องการจะบอก โดยท่ีนักเรยี นก็ไม่ได้รสู้ ึก เหมอื นถูกครูคุกคามหรือทำหยาบคายใส่

2. ปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกา และมารยาททแี่ ต่ละเวบ็ ไซตก์ ำหนด แต่ละเวบ็ ไซตจ์ ะมีการกำหนดกฎ กติกา และมารยาทในการใชเ้ ว็บไซต์ เพ่ือใหก้ ลุ่มผู้ใชเ้ ว็บไซต์สามารถอย่รู ว่ มกัน ไดอ้ ย่างสงบสุข เชน่ เวบ็ ไซต์ YouTube มีการกำหนดวา่ หากผใู้ ดต้องการอัปโหลดวดิ โี อ เนื้อหาในวดิ ีโอนน้ั จะตอ้ ง ไม่มเี นื้อหาที่ส่ือถงึ ความลามกหรืออนาจาร เปน็ ต้น 3. ให้เครดิตแหล่งทม่ี าข้อมลู เสมอ เมื่อมกี ารนำข้อมูลผูอ้ ืน่ มาใช้ เมือ่ เรามีการนำข้อมูลของคนอ่ืนมาใช้ ไมว่ ่าจะเป็นข้อความ ภาพ เสียง หรือวิดโี อตา่ งๆ เราตอ้ งใหแ้ หล่งท่ีมาของ ขอ้ มลู นัน้ เพื่อเป็นการใหเ้ กียรติและไมล่ ะเมิดสทิ ธิของเจา้ ของข้อมูล หากเรานำข้อมลู ของผ้อู ื่นมาใช้โดยไมใ่ ห้ แหลง่ ทีม่ า เราอาจจะถูกฟ้องรอ้ งเพราะไปขโมยข้อมลู ของผู้อื่นมาใชโ้ ดยไม่ไดร้ ับอนญุ าตได้ * ลองสังเกตดีๆ จะเห็นวา่ ในเวบ็ ไซต์นก้ี ม็ ีการแปะเวบ็ ไซต์แหล่งที่มาข้อมลู เชน่ กนั 4. ไมแ่ ชรข์ อ้ มูลผิดๆ หรอื ภาพทไี่ ม่เหมาะสม การแชร์ขอ้ มลู ผดิ ๆ หรือภาพท่ไี ม่เหมาะสมตา่ งๆ เช่น ภาพศพที่ไม่มีการเซน็ เซอร์ ภาพอนาจาร หรอื การแชรข์ ้อมูล การรักษาโรคแบบผดิ ๆ การท่ีเราแชร์ส่ิงเหล่าน้ีออกไป ไม่ว่าจะดว้ ยความสนุกหรืออะไรก็ตาม หากเราแชรไ์ ปโดยท่ี ไมค่ ิดไตรต่ รองใหด้ ี ก็จะทำให้คนอน่ื ๆ ที่มาเห็นข้อมลู เหล่านเ้ี ขา้ ใจผิดหรือร้สู กึ ไม่ดีได้ รวมถึงอาจเป็นการละเมดิ สิทธขิ องคนอ่นื อกี ด้วย

ตัวอย่างการแชร์ขอ้ มลู ผิดๆ \"คดิ กอ่ นเชื่อ เช็คก่อนแชร์ #ต้งั สติหนอ่ ยค่อยโซเชยี ล\" 5. ไมส่ ร้างความรำคาญแกผ่ อู้ ่ืน เวลาที่เรามาเจอเพ่ือนๆ ท่โี รงเรียน เราคงเคยบอกว่าเพอื่ นคนไหนนา่ รำคาญจากพฤติกรรมบางอยา่ ง เชน่ เพือ่ นพูด มาก เพื่อนขบ้ี ่น หรือเพื่อนชอบเซา้ ซี้ขอให้เราทำอะไรสกั อย่างใหไ้ ม่ยอมหยดุ สว่ นในโลกอินเทอร์เน็ต การสรา้ ง ความรำคาญแกผ่ ู้อน่ื ก็ไม่ได้แตกตา่ งไปมากนัก ยกตวั อย่างเชน่ การสแปมข้อความซำ้ ๆ การสง่ จดหมายลกู โซ่ หรอื การสง่ คำเชญิ เล่นเกมไปใหค้ นอื่นบ่อยจนเกินไป ตวั อยา่ งการสร้างความรำคาญแก่ผู้อนื่ ในโลกอินเทอร์เน็ต \"อยา่ ชวน ถ้าเขาไมเ่ ลน่ #ตัง้ สติหน่อยค่อยโซเชยี ล\" 6. ไม่ละเมิดสิทธิและไม่กลั่นแกล้งผ้อู น่ื ปจั จุบนั การละเมิดสทิ ธแิ ละกล่นั แกล้งผ้อู ่นื บนโลกอินเทอรเ์ นต็ มเี ยอะมาก เชน่ การแอบถ่ายรูปคนอ่ืนโดยท่เี จ้าตัว ไมไ่ ด้อนุญาต แล้วนำรูปแอบถ่ายไปอัปขึน้ Facebook พร้อมวิจารณ์เขาเสยี ๆ หายๆ หรอื การไปโพสตแ์ สดงความ คิดเหน็ ดว้ ยคำหยาบคาย ด่าทอผูอ้ นื่ แบบไม่มเี หตุผล (ภาษาง่ายๆ ท่ีเราเรยี กกัน คือ “พวกนักเลงคยี ์บอร์ด”) เป็น ตน้ กรณีศึกษา เช่น ข่าวที่มีคนแอบถา่ ยผ้ชู ายรองเท้าขาดบนรถไฟฟา้ BTS แลว้ อปั โหลดรปู ภาพดังกล่าวขน้ึ บัญชีเฟสบุค๊ ส่วนตัว พร้อมพิมพ์ข้อความกลา่ วหาว่า ผูช้ ายในภาพตดิ กล้องไวท้ ่รี องเท้าเพ่ือถ่ายภาพใตก้ ระโปรง หญิงสาว ทง้ั ๆ ท่ผี ู้ชายคนนนั้ แค่รองเทา้ ขาดเฉยๆ ซง่ึ มนั ทำให้เขาเส่ือมเสยี ชอ่ื เสยี งและถูกตราหนา้ วา่ เป็นคนโรคจิต ในช่วั ข้ามคืน อินเตอร์เน็ตมีกับผลกระทบต่อสังคมไทย อินเตอร์เน็ตเรม่ิ เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ตอ่ สงั คมไทย แนวโนม้ ของการเผยแพร่ขอ้ มลู ผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตนน้ั มี มากยิง่ ขึน้ และในรปู แบบท่หี ลากหลายกวา่ เดมิ การหา้ มไม่ใหม้ ีการเผยแพร่วัฒนธรรมตา่ งชาติเขา้ มานน้ั เปน็ สงิ่ ท่ี เป็นไปไม่ได้ วิธีการการทีจ่ ะทำให้วัฒนธรรมทอ้ งถ่ินไม่ถูกกลืนหรือสญู หายไปจากสังคม ก็คอื การสง่ เสริมและให้มี การเผยแพรว่ ฒั นธรรมผ่านทางสือ่ อินเทอรเ์ นต็ ซ่ึงสามารถทำได้งา่ ยและได้กลุ่มผรู้ ับข่าวสารมากยิ่งขน้ึ การใช้ อนิ เตอรเ์ น็ตมผี ลกระทบทง้ั ด้านบวกและลบ ผลกระทบดา้ นบวก มีดังเช่น ได้รับความร้ขู ่าวสารมากย่ิงข้นึ สามารถค้นหาข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชน์และทนั สมยั

ไมต่ ้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยสูง ผลกระทบดา้ นลบ มีดงั เช่น อาจทำให้เยาวชนไดร้ บั ข้อมลู หรอื ภาพในทางที่ไม่ดีได้ อาจะทำให้เยาวชนส่งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์หรอื สนทนาบนเครือข่ายที่ล่อแหลมต่อภัยสงั คมได้ อาจทำให้เกิดความไมเ่ สมอภาคกนั ในเร่อื งของการรบั ส่งข้อมูลขา่ วสารระหว่างในพน้ื ทมี่ ีการใช้อนิ เตอรเ์ น็ตกบั พน้ื ทีท่ ่ีไมม่ ีการใช้อนิ เตอร์เน็ตได้ ดังนั้นการใชอิ ินเตอรเ์ น็ตต้องพจิ ารณาอย่างถี่ถ้วน เพราะอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นส่อื เหมือนกับสอ่ื ทว่ั ไป ส่ือจะดหี รอื ไม่ นน้ั ขน้ึ อยู่กับผใู้ ช้ สรปุ 13 ขอ้ สาระสำคัญจำง่ายๆ พ.ร.บ.คอม 60 มีผลบงั คับใชแ้ ล้ว 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ใหผ้ ูร้ บั สามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไมเ่ ช่นนน้ั ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 3. ส่ง Email ขายของ ถือเปน็ สแปม ปรับ 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไมผ่ ดิ พ.ร.บ.คอมฯ ยกเวน้ การกดไลค์ เป็นเร่อื งเกยี่ วกบั สถาบัน เสย่ี งเข้าขา่ ยความผิด มาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมลู ทีแ่ ชรม์ ผี ลกระทบต่อผูอ้ ่ืน อาจเข้าขา่ ยความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะท่ีกระทบต่อบคุ คลท่ี 3 6. พบข้อมูลผดิ กฎหมายอยใู่ นระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใชส่ งิ่ ทเ่ี จา้ ของคอมพวิ เตอรก์ ระทำเอง สามารถแจ้ง ไปยงั หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบได้ หากแจง้ แล้วลบข้อมูลออกเจ้าของกจ็ ะไมม่ ีความผดิ ตามกฎหมาย เชน่ ความเหน็ ใน เวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ รวมไปถึง Facebook ทีใ่ ห้แสดงความคิดเหน็ หากพบวา่ การแสดงความเห็นผดิ กฎหมาย เมอ่ื แจง้ ไป ท่หี น่วยงานทรี่ บั ผิดชอบเพ่อื ลบได้ทันที เจา้ ของระบบเวบ็ ไซต์จะไม่มคี วามผิด 7.สำหรับ แอดมินเพจ ท่เี ปดิ ให้มีการแสดงความเหน็ เมื่อพบขอ้ ความทีผ่ ิด พ.ร.บ.คอมฯ เมอื่ ลบออกจากพืน้ ทที่ ่ีตน ดแู ลแล้ว จะถอื เป็นผู้พน้ ผิด 8. ไมโ่ พสตส์ งิ่ ลามกอนาจาร ทที่ ำให้เกดิ การเผยแพรส่ ่ปู ระชาชนได้ 9. การโพสตเ์ ก่ยี วกับเด็ก เยาวชน ต้องปดิ บงั ใบหนา้ ยกเว้นเมอื่ เป็นการเชิดชู ช่ืนชม อยา่ งใหเ้ กยี รติ 10. การให้ข้อมูลเกยี่ วกบั ผ้เู สียชวี ติ ต้องไมท่ ำใหเ้ กดิ ความเสือ่ มเสยี เช่ือเสยี ง หรอื ถกู ดหู มิน่ เกลียดชัง ญาตสิ ามารถ ฟอ้ งร้องไดต้ ามกฎหมาย

11. การโพสต์ด่าว่าผ้อู ่ืน มีกฏหมายอาญาอยแู่ ลว้ ไมม่ ีข้อมูลจรงิ หรือถูกตดั ต่อ ผถู้ ูกกล่าวหา เอาผดิ ผู้โพสตไ์ ด้ และ มโี ทษจำคุกไม่เกนิ 3 ปี ปรับไมเ่ กิน 200,000 บาท 12. ไม่ทำการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ผิ ู้ใด ไมว่ ่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวดิ ีโอ 13. ส่งรปู ภาพแชร์ของผู้อืน่ เช่น สวสั ดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไมเ่ อาภาพไปใชใ้ นเชิงพาณชิ ย์ หารายได้ บญั ญตั ิ 10 ประการของการใช้คอมพวิ เตอร์ 1. ต้องไมใ่ ช้คอมพิวเตอรท์ ำรา้ ยหรือละเมดิ ผู้อน่ื 2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผูอ้ ื่น 3. ตอ้ งไม่สอดแนม แกไ้ ข หรอื เปดิ ดูแฟ้มข้อมูลของผู้อ่ืน 4. ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์สรา้ งหลกั ฐานทเี่ ป็นเทจ็ 6. ตอ้ งมจี รรยาบรรณการใชเ้ ครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ 7. ใหร้ ะมดั ระวังในการละเมิดหรือสรา้ งความเสียหายใหผ้ ู้อนื่ 8. ให้แหลง่ ที่มาของข้อความ ควรอ้างองิ แหลง่ ข่าวได้ 9. ไม่กระทำการรบกวนผ้อู ื่นด้วยการโฆษณาเกนิ ความจำเปน็ 10. ดแู ลและแก้ไขหากตกเปน็ เหย่ือจากโปรแกรมอนั ไม่พึงประสงค์ เพ่ือปอ้ งกันมใิ หค้ นอืน่ เปน็ เหย่ือ

แบบทดสอบหลังเรยี น 1. การกระทาํ ใดจดั เป็นมารยาทเน็ต (netiquette) ก. อย่าลืมว่าคุณกำลงั คยุ กับคนทม่ี ตี ัวตนจริง ข. เคารพความเปน็ ส่วนตัวของผู้อน่ื ค. ให้อภยั ความผดิ พลาดของผอู้ ื่น ง. ถกู ทุกขอ้ 2. ถ้าทุกคนมมี ารยาทในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตจะเกดิ ผลดอี ยา่ งไร ก. เกดิ อาชญากรทางอินเทอร์เน็ตเพิม่ ข้นึ ข. สังคมอนิ เทอร์เนต็ จะปลอดภยั และมีแต่มารยาท ค. มกี ารหลอกลวงใหเ้ สียขอ้ มูลสำคญั หรอื เงินมากข้ึน ง. ถูกทกุ ข้อ 3. บุคคลใดปฏบิ ัติตามมารยาทในการใช้อินเทอรเ์ นต็ ก. ใบม่อนนำผลงานผู้อน่ื มาไปใช้ แต่ระบทุ ม่ี าของแหลง่ ข้อมลู ข. ใบบวั คดั ลอกภาพอาหารของผอู้ ่ืนเพือ่ นำมาทำเปน็ เมนูอาหารของร้าน ค. ใบบุญพมิ พ์ไลน์ต่อว่าเพอื่ นดว้ ยถ้อยคำที่รุนแรง เนื่องจากเพ่ือนผิดนัดตน ง. ใบตองเข้าไปซื้อเส้ือผ้าลอกเลยี นแบบในเวบ็ ไซต์ขายเสื้อผ้า 4. เมอ่ื มีการถ่ายทอดสดเหตุการณ์สาํ คญั ระดบั นานาชาติ ระหว่างชมการถ่ายทอดสด เราควรทาํ อยา่ งไร ก. พยายามสง่ คำถาม ไปใหม้ ากทส่ี ุด เพ่ือท่ีจะเปน็ การมั่นใจว่าเราจะไดร้ บั คำตอบ ข. พยายามใช้คำไม่สุภาพ เพื่อใหผ้ คู้ นจากทั่วโลกให้ความสนใจ ค. พยายามพมิ พข์ ้อความให้มากทีส่ ุด เพ่ือให้คนอ่นื เห็นขอ้ ความเรา ไมใ่ หเ้ หน็ ขอ้ ความคนอ่ืน ง. รบั ชมดว้ ยการมีมารยาท ไม่รบกวนผอู้ น่ื 5. จริยธรรมในข้อใดเป็นสิง่ จำเปน็ มากท่ีสุดในยคุ สังคมขา่ วสาร ก. ความพอใจ ข. ความรับผิดชอบ ค. ความเมตตา ง. ความเป็นผ้นู ำ

6. ข้อใดไม่ใช่ จรยิ ธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ก. ข้อมลู ท่ีได้รบั อนุญาต (Data Allow) ข. ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) ค. ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) ง. การเขา้ ถึงข้อมลู (Data Accessibility) 7. สุธเี ขา้ ถงึ ขอ้ มูลของผู้อนื่ โดยไม่ไดร้ ับความยนิ ยอมนนั้ ถือเป็นการผดิ จริยธรรม ขอ้ ใด ก. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ข. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) ค. ความเป็นถกู ต้อง (Information Accuracy) ง. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) 8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ควรเปดิ เผยแก่ผ้อู ่นื เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธคิ วามเปน็ ส่วนตัว ก. หมายเลขบตั รประชาชน ข. ชือ่ เล่น ค. รปู ถ่าย ง. เพศ 9. ข้อใดไมถ่ ือเปน็ การละเมิดจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ก. แอบเข้าไปอา่ นอีเมลผ์ ู้อน่ื ข. ทำสำเนาซอฟตแ์ วร์เพ่อื จำหนา่ ย ค. ตดิ ตง้ั โปรแกรมไวรสั ให้กับเครือ่ งผู้อ่นื ง. สนทนาออนไลนกบั ชาวต่างชาตเิ ปน็ เวลานาน 10. ขอ้ ใดเปน็ วิธกี ารตั้งรหัสความปลอดภัยท่ีเหมาะสมทีส่ ดุ ก. ใช้หมายเลขเบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถือเปน็ รหสั ผา่ น ข. ใช้ขอ้ มลู ตัวเลขเรียงลำดับ 1-5 ตง้ั เปน็ รหสั ผ่าน ค. ตัง้ รหัสผา่ นเปน็ ตวั เลขของวนั เดอื นปเี กิด ง. ตัง้ รหัสท่ีมีตัวองั กฤษและตัวเลขผสมกัน

เฉลยแนวคำตอบ 1.ง 2.ข 3. ก 4.ง 5.ข 6.ก 7.ข 8.ก 9.ง 10. ง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผู้เรียน ชื่อโครงการ/กจิ กรรม........................................................................................................................ ช่อื โรงเรียน/สถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………….. ชอ่ื หัวหน้าโครงการ/กจิ กรรม............................................................................................................. คำช้ีแจง ให้ผู้ประเมินทำเครื่องหมายถูก () ลงในช่องระดับพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีเกณฑ์ระดับคุณภาพ การประเมินดงั น้ี 5 มพี ฤติกรรมการเรยี นรู้ มากที่สดุ 4 มพี ฤติกรรมการเรยี นรู้ มาก 3 มีพฤติกรรมการเรยี นรู้ ปานกลาง 2 มีพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ น้อย 1 มีพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ น้อยทีส่ ุด เกณฑก์ ารพจิ ารณาระดับคณุ ภาพ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 0 - 50 ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 80 – 89 ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 90 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม พฤติกรรมการเรียนรู้ ระดบั พฤตกิ รรม 54321 1. ความต้งั ใจในการทำงาน 2. ความรบั ผดิ ชอบ 3. ความกระตอื รอื รน้ 4. การตรงตอ่ เวลา 5. ผลสำเร็จของงาน 6. การทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืน 7. มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 8. มีการวางแผนในการทำงาน 9. การมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ในกลุม่ 10. การมสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาในกลมุ่ ลงชือ่ ......................................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.............................../.....................

บนั ทึกผลหลงั การจดั กระบวนการเรียนรู้ ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ 1. จำนวนเนอื้ หากบั จำนวนเวลา เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................................ ........ .......................................................................................................................... ...................................... 2. การเรียงลำดบั เนือ้ หากบั ความเข้าใจของผู้เรียน เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบเุ หตุผล ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 3. การนำเขา้ สู่บทเรยี นกับเน้ือหาแต่ละหวั ข้อ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตุผล ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 4. วิธีการจัดการเรยี นรู้กบั เน้ือหาในแต่ละข้อ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตุผล ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................

5. การประเมินผลกบั ตวั ช้ีวัดในแตล่ ะหน่วย เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล ........................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ผลการเรียนของผเู้ รียน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ผลการจัดการเรียนรู้ของครู ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ............... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... .................................................................

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอ่ื ง พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลขิ สทิ ธใ์ิ นโลกออนไลนท์ ีค่ วรรู้ เวลาเรยี น 6 ชว่ั โมง แนวคดิ 1.พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ข้อควรรู้ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ การกระทำความผดิ เกีย่ วกับ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอรแ์ ละโทษที่ไดร้ บั ภยั คกุ คามทางโลกออนไลน์ และกรณศี ึกษา : การทำผดิ กฎหายตาม พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 2.ลิขสิทธ์ิในโลกออนไลน์ทีค่ วรรู้ ลขิ สิทธแ์ิ ละเรอื่ งท่คี วรรู้ ประโยชน์ของลิขสทิ ธิ์ ขนั้ ตอนการแจ้งขอ้ มูลลขิ สทิ ธิ์ ประเภทของการ ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสทิ ธิ์ ขอ้ ควรรู้หากถูกละเมดิ ลิขสิทธ์ิ และกรณีศกึ ษา : การละเมิด ลขิ สทิ ธิ์ในโลกออนไลน์ 3.การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์ ความหมายของการหมิ่นประมาท พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วกบั การหม่ินประมาท ออนไลน์ ข้นั ตอนการดำเนินการเมอื่ ถูกหม่ินประมาทออนไลน์ บทลงโทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ : การหมน่ิ ประมาทออนไลน์ ตัวชว้ี ัด 1. บอกความหมายและอธิบายความหมายของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ได้ 2. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 3. อธบิ ายสาระสำคญั ของพ.ร.บ.คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะฉบับได้ 4. อธบิ ายการกระทำความผิดเก่ยี วกับ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์รูปแบบต่างๆและโทษท่ีจะไดร้ ับได้ 5.ตระหนักถึงโทษทจี่ ะไดร้ ับจากการกระทำความผิดเกย่ี วกับ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 6.สามารถยกตวั อยา่ งของภยั คกุ คามทางโลกออนไลน์ได้ 7.ตระหนักถึงภยั คกุ คามทางโลกออนไลน์ 8.วิเคราะห์กรณีศกึ ษา : การทำผดิ กฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ท่ีกำหนดให้ศึกษาได้ 9.ตระหนกั ถึงผลกระทบของการทำผิดกฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 10. อธบิ ายความหมายของลิขสทิ ธ์ิ การได้มาซง่ึ ลขิ สิทธิ์ หลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณางานลิขสทิ ธ์ิงานอนั มี ลขิ สิทธิ์และไม่มีลขิ สิทธ์ิ ประเภทของงานอันมลี ิขสทิ ธ์ิ ผูถ้ ือครองลิขสิทธ์ิการคมุ้ ครองลิขสิทธ์แิ ละอายุของการ ค้มุ ครองลิขสทิ ธ์ไิ ด้ 11. บอกประโยชนข์ องลขิ สิทธิไ์ ด้ 12. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องลขิ สิทธไิ์ ด้

13. อธิบายขนั้ ตอนการแจ้งข้อมูลลขิ สทิ ธไ์ิ ด้ 14. บอกความแตกตา่ งของการละเมิดลิขสิทธิโ์ ดยตรงและการละเมิดลขิ สทิ ธิโ์ ยกอ้อมได้ 15. บอกบทกำหนดโทษจากการละเมิดลขิ สทิ ธิ์ได้ 16. บอกวิธีการปฏบิ ัตติ นหากถูกละเมิดลิขสิทธทิ์ างโลกออนไลนไ์ ด้ 17. วิเคราะห์กรณศี กึ ษา : การละเมดิ ลขิ สิทธิใ์ นโลกออนไลน์ได้ 18. ตระหนักถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึนจาการละเมิดลขิ สทิ ธิ์บนโลกออนไลนไ์ ด้ 19. อธบิ ายความหมายของการหม่ินประมาทได้ 20. อธบิ ายสาระสำคญั ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และกฎหมายท่ีเก่ียวกับของการหมนิ่ ประมาทออนไลนไ์ ด้ 21. ตระหนักถึงความสำคญั ของพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และกฎหมายท่เี กยี่ วกบั การของการหมนิ่ ประมาท ออนไลน์ 22 สามารถบอกขัน้ ตอนการปฏบิ ัติตนในการดำเนนิ การเมื่อถกู หมิ่นประมาทออนไลน์ได้ 23. วิเคราะหโ์ ทษของการหม่ินประมาทได้ 24. วิเคราะหก์ รณีศึกษา : การหมนิ่ ประมาททางออนไลน์ท่ีกำหนดให้ศึกษาได้ 25. ตระหนักถึงผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นจากฝ่าฝนื พ.ร.บ.คอมพิวเตอรแ์ ละกฎหมายทเ่ี ก่ียวกบั การหมนิ่ ประมาท ออนไลน์ เน้ือหา 1. ข้อควรรู้พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 2. การกระทำความผิดเกย่ี วกับพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และโทษที่ได้รบั 3. ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ 4. กรณศี ึกษา : การกระทำผิดกฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 5. ลิขสิทธิ์และเรื่องทค่ี วรรู้ 6. ประโยชน์ของลขิ สิทธ์ิ 7. ข้ันตอนการแจง้ ข้อมูลลิขสิทธ์ิ 8. ประเภทของการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ 9. บทกำหนดโทษจากกการละเมิดลิขสิทธิ์ 10. ข้อควรรู้หากถูกละเมิดลขิ สิทธิ์ 11.กรณศี ึกษา : การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิในโลกออนไลน์ 12. ความหมายของการหม่นิ ประมาท 13. พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ และกฎหมายท่เี ก่ียวกับหม่ินประมาทออนไลน์ 14. ขนั้ ตอนการดำเนนิ การเม่ือถูกหมิ่นประมาทออนไลน์

15. บทลงโทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ 16. กรณศี ึกษา : หมิน่ ประมาทออนไลน์ ขั้นตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้ ข้นั ตอนท่ี 1 การสรา้ งแรงบันดาลใจ ( Passion : P ) 1. ครูทักทายผ้เู รียน พรอ้ มทงั้ แนะนำตนเองและแผนการจดั การเรยี นร้ซู ึ่งการจัดการเรียนรู้ที่ผ้เู รยี นจะต้อง เรยี นรรู้ ่วมกันในคร้งั นี้ คอื เร่ือง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ” และชวนคิดชวนคุยเก่ยี วกับเร่ืองท่จี ะเรียนรู้เพื่อกระตุ้นให้ ผเู้ รียนเกดิ ความสนใจและมีความกระตอื รอื ร้นในการเช่ือมโยงและสร้างความพร้อมท่ีจะเรยี นรูห้ รือทำกิจกรรมการ เรยี นรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้คร้ังน้ี 2. ครูชีแ้ จงวตั ถุประสงค์ เน้ือหา กิจกรรม การวดั และประเมินผลของการเรยี นรู้ในครั้งน้ี ที่สอดคล้องกับ ตัวชวี้ ัดตามแผนการจัดการเรียนรคู้ ร้ังน้ี เพื่อใหผ้ ู้เรียนเขา้ ใจอย่างชัดเจนว่า ผูเ้ รยี นจะต้องเรียนรใู้ หบ้ รรลตุ ัวชว้ี ัด ที่ กำหนดตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลขิ สทิ ธ์ิในโลกออนไลนท์ คี่ วรรู้”ในคร้ังนี้ โดย ใหน้ กั ศึกษาทำใบงานท่ี 1 จำนวน 2 ข้อ อธบิ ายความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพ 3. ใหผ้ เู้ รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเร่อื ง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลิขสิทธิ์ในโลกออนไลนท์ ค่ี วรรู้” โดยใช้ เวลา 10 นาที 4. ครใู ห้ผ้เู รียนศึกษาหนังสอื เรียนรายวิชากฎหมายท่ีควรร้คู ่โู ลกออนไลน์ สค 0200038 ระดับ ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เร่อื ง อธิบายความสำคัญ พร้อมทัง้ แนะนำ แหล่งศกึ ษาค้นคว้าเพิม่ เติมจากอินเทอร์เนต็ ซึง่ ผ้เู รยี นสามารถไปเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเองและทำกจิ กรรมตามที่ไดร้ บั มอบหมายด้วย ทง้ั นค้ี รคู วรจะชี้แจงใหผ้ ูเ้ รียนทราบวา่ ในการพบกลมุ่ ตามแผนการจดั การเรยี นร้คู รง้ั น้ี ผ้เู รียนจะตอ้ ง เรยี นรแู้ ละทำกิจกรรมทสี่ อดคลอ้ งกับเนื้อหาท่เี รยี น โดยปฏิบัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้โดยการ อภิปรายรว่ มกับเพือ่ นในกลุ่มรวมทงั้ มีการทดสอบหลังเรียนด้วย นอกจากนี้ ในการพบกลุ่มแต่ละครั้งนัน้ ครจู ะมอบหมายงานใหผ้ เู้ รียนไปเรียนรดู้ ้วยวธิ กี ารเรียนร้ดู ้วย ตนเอง ซ่งึ วิธีการเรียนรู้ดว้ ยตนเองจะต้องเกิดขนึ้ ในทุกๆ ตัวช้ีวัดและเนื้อหาทีก่ ำหนดโดยผูเ้ รยี นจะต้องปฏิบตั ิ กิจกรรมที่กำหนดให้ด้วยวิธเี รียนรู้ออนไลน์ และศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนดังน้ัน ครจู ะต้องเชื่อมโยง รายละเอียดดังกล่าวข้างต้นให้ผูเ้ รียนไดเ้ กดิ ความเข้าใจและเกิดแรงบนั ดาลใจในการเรียนรูท้ ีจ่ ะเกดิ ขนึ้ เพราะการ มอบหมายงานให้ผเู้ รียนไปเรียนรู้ดว้ ยวิธีเรยี นรดู้ ้วยตนเองนั้น ผ้เู รยี นจะต้องเรยี นรู้ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต และ ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน 5. ครูชวนคิดชวนคุยเกี่ยวกับประสบการณ์เดิมของครใู นเร่ืองท่ีจะเรียนรตู้ ามแผนการจัดการเรียนรู้นี้ โดย ครูสุ่มผู้เรียนตามความสมคั รใจ จำนวน 4 –5 คนใหต้ อบคำถาม จำนวน 1 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 “ทา่ นทราบหรือไม่วา่ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลขิ สิทธิใ์ นโลกออนไลน์ทีค่ วรรู้ คืออะไร ”

• แนวคำตอบ คือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบบั ลา่ สดุ เปน็ กฎหมายท่ีวา่ ดว้ ยการกระทำผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ โนต็ บุ๊ค สมาร์ตโฟน รวมไปถึงระบบต่าง ๆ ท่ีถูกควบคุมการกระทำระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึง เปน็ พ.ร.บ. คอม ท่ีออกมาเพื่อปอ้ งกัน และควบคุมการกระทำผดิ ที่จะเกิดข้ึนได้การใชค้ อมพิวเตอร์ หาก ผูใ้ ดกระทำผดิ กจ็ ะต้องได้รับการลงโทษตามที่ พระราชบัญญัตคิ อมพวิ เตอร์ 2560 ทกี่ ำหนดไว้ • ประเดน็ ท่ี 2 “ท่านทราบหรือไมว่ ่า ลิขสิทธ์ใิ นโลกออนไลน์ คืออะไร ” • แนวคำตอบ คือ เนือ่ งจากของแทม้ ีราคาแพง และมคี า่ ใช้จ่ายสูงการละเมิดลิขสทิ ธ์ทิ ำได้งา่ ยและรวดเรว็ ตัวสินคา้ กม็ ีคุณภาพเทียบเท่าของจริงเปน็ วฒั นธรรมในบางสงั คม ซง่ึ มีมาเปน็ เวลายาวนาน เชน่ การ เอือ้ เฟื้อเผือ่ แผ่ มีการแบ่งปนั กันในสังคมมาโดยตลอด จึงทำใหผ้ ูท้ ่ีได้ละเมิดลขิ สิทธ์ิไม่คิดว่าตนเองได้ กระทำความผิดกลไกในการบังคับใช้กฎหมายท่ียงั ไมค่ ่อยมีประสิทธภิ าพเทา่ ท่คี วร และการหาตัวผูก้ ระทำ ความผิดกท็ ำไดย้ ากเช่นกนั ขนั้ ตอนที่ 2 การนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization : U) 1. ครูให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยแบง่ ผู้เรียนออกเปน็ กลุม่ ๆ กลุม่ ละ 4 – 5 คน ดำเนนิ กิจกรรมเปน็ รายกลมุ่ ศกึ ษาเน้ือหา ในหนังสอื เรียนรายวิชากฎหมายท่ีควรรคู้ โู่ ลกออนไลน์ สค 0200038 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งผู้แทนนำเสนอต่อกลุ่มใหญ่ครูและผู้เรียนสรุปผลการเรียนรู้ร่วมกัน และใหผ้ ู้เรยี นสรุปสิ่งทไี่ ดเ้ รยี นรลู้ งในสมุดบันทึกผลการเรียนรขู้ องตน 2. ครแู นะนำแหล่งเรียนรใู้ ห้กับผเู้ รยี นเพอื่ ใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง อาทิ หอ้ งสมดุ แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน หนว่ ยงาน สถานศกึ ษาตา่ ง ๆ รวมท้ังการใช้อินเตอร์เนต็ เพอื่ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง เปน็ ตน้ 3. ครูดำเนินการทำหน้าทีน่ ำการอภปิ ราย โดยให้ผูเ้ รยี นกลุ่มใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเหน็ คิด วเิ คราะห์ อภปิ ราย และวเิ คราะหใ์ ห้ข้อมลู เพิ่มเติมในเน้ือหาหรือประเด็นทีย่ ังไม่ชัดเจน ตามรายละเอยี ดทผี่ ู้เรียนได้ แลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกัน หากผูเ้ รยี นกล่มุ ใหญ่หรือครูเห็นว่ายงั ไม่สมบูรณ์ มคี วามต้องการในการเรียนรู้เพิ่มเตมิ ครจู ะช่วยเติมเตม็ ความรใู้ ห้กับผเู้ รียน หลังจากนนั้ ครูและผู้เรยี นสรุปสงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรใู้ นภาพรวมทัง้ หมดแล้วใหผ้ ู้เรียน สรุปสิ่งทไ่ี ด้เรยี นรู้ลงในสมดุ บันทกึ การเรยี นรู้ของตน หมายเหตุ : ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม ครูชี้แจงบทบาทหน้าที่ในการทำงานให้ผู้เรียนได้มีความรับผิดชอบร่วมกันใน การทำงาน ซึ่งมอบหมายให้ผู้เรียนดำเนินการแต่งตั้งประธานหรือผู้นำในการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการ มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในภารกิจต่างๆ รวมถึงการแต่งตั้งเลขานุการของกลุ่มเป็นผู้จดบันทึกและผู้รักษาเวลา เพ่ือปฏิบัติงานของกลุ่มใหญ่ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ และพิจารณาว่าสมาชิกลุ่มทุกคนควรมีความเข้าใจ ตรงกันว่า ตนมีบทบาทหน้าท่ีท่ีจะต้องช่วยให้กลุ่มทำงานได้สำเร็จ ครูควรให้คำแนะนำถึงความสำคัญของการให้

สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มมสี ่วนร่วมในการอภิปรายอย่างทวั่ ถึง ไม่ให้มีการผูกขาดการอภิปรายโดยผู้ใดผู้หน่ึง และควรมี การจำกดั เวลาของการอภิปรายแตล่ ะประเด็น ในระหว่างการทำกิจกรรมของผู้เรียน ครูมีบทบาทในการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน คอย กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้โดยบันทึกล งในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และเครอื่ งมือประเมนิ การสังเกตแบบประมาณคา่ 4. ครูเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นทัง้ กลุ่มรว่ มกันสนทนา เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมที กั ษะในการฟงั พูด คดิ วเิ คราะห์ การ ทำงานร่วมกบั ผู้อื่น การคิดสร้างสรรค์ ความรับผดิ ชอบ และการนำความรใู้ นเน้ือหามาใช้ โดยครูบรู ณาการเน้ือหา การเรียนรู้ มีการใชส้ ื่อเทคโนโลยที เ่ี ปน็ คลิปวิดโี อจาก youtubeและ TikTok ทีส่ ัมพนั ธ์กับเน้ือหา ทง้ั น้ีครเู ชื่อมโยง สง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ตามขนั้ ตอนที่ 1 ในการนำความรู้ไปสกู่ ารปฏิบัตแิ ละประยุกตใ์ ช้ผา่ นคลิปวิดีโอ โดยครูเปิดคลปิ วดิ โี อ เรื่อง “กฎหมายทค่ี วรรคู้ โู่ ลกออนไลน์ ” จาก https://www.youtube.com/watch?v=9-IE9SaW9xk ช่วงเวลา 2.54 นาที หลงั จากน้นั ครูดำเนนิ การ ดังน้ี (1) ครบู รรยายเนื้อหาตามใบความรู้สำหรับครู เรอื่ ง“ความสำคัญ และความจำเปน็ ของกฎหมาย ทคี่ วรรคู้ ู่โลกออนไลน์” เพ่ือใชส้ ำหรับประกอบกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง “ความสำคัญ และความจำเป็นของ กฎหมายที่ควรรู้คูโ่ ลกออนไลน์” ในสว่ นของผเู้ รยี นให้ศึกษาใบความรสู้ ำหรับผเู้ รยี น ประกอบการบรรยายของครู ตามใบความรสู้ ำหรับผู้เรยี น เร่อื ง “ความสำคญั และความจำเป็นของกฎหมายที่ควรรู้ค่โู ลกออนไลน์” (2) ครูอธบิ าย เร่อื ง “กฎหมายลิขสิทธิ์”พรอ้ มท้งั ให้ผู้เรียนไดแ้ ลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยใหผ้ ู้เรยี นตงั้ ประเดน็ ข้อสงสัย หรอื ส่ิงทต่ี ้องการเรยี นรู้ และเช่ือมโยงส่กู ารนำไปใช้ในชีวิตจริงของผเู้ รียนตอ่ ไป 5.ครูและผู้เรียนอภปิ รายและสรปุ ผลการเรียนรู้ร่วมกัน ข้นั ตอนท่ี 3 การสะทอ้ นความคดิ จากการเรียนรู้ ( Reflection : R ) 1. แบ่งผู้เรียนออกเป็น กลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คนใหผ้ ้เู รยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาเนอื้ หา โดยผู้เรยี นแตล่ ะกล่มุ วางแผนและดำเนนิ การเกี่ยวกับการทำรายงาน เรื่องท่ี 1 ลิขสทิ ธ์ิที่ควรรแู้ ละประโยชนข์ องลิขสทิ ธ์ิ เรื่องท่ี 2 ขัน้ ตอนการแจง้ ข้อมูลลิขสทิ ธ์ิ ประเภทของการละเมดิ ลิขสิทธิ์ เรื่องที่ 3 บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธิแ์ ละขอ้ ควรรู้หากถูกละเมดิ ลิขสิทธ์ิ เรื่องท่ี 4 กรณศี ึกษา : การละเมิดลิขสทิ ธิใ์ นโลกออนไลน์ 2. ให้ผ้เู รียนแต่ละกลมุ่ ตามข้อ 1 ปฏิบัติกจิ กรรมตามใบกิจกรรม เรื่อง ลิขสิทธ์ิทีค่ วรร้แู ละประโยชนข์ อง ลขิ สทิ ธิ์ ขั้นตอนการแจง้ ข้อมูลลิขสิทธ์ิ ประเภทของการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์และ ข้อควรรู้หากถูกละเมิดลิขสิทธ์ิ กรณีศึกษา : การละเมดิ ลิขสิทธใ์ิ นโลกออนไลน์ ท้ังนี้ ครูจะต้องกำกบั การปฏิบัติกจิ กรรมของผู้เรยี นจนกิจกรรมแล้วเสร็จตามใบกจิ กรรมสำหรบั ครู เรอ่ื ง “ลิขสิทธทิ์ ค่ี วรรแู้ ละประโยชนข์ องลขิ สิทธิ์ ขน้ั ตอนการแจ้งข้อมลู ลิขสิทธ์ิ ประเภทของการละเมดิ ลิขสิทธิ์ บท

กำหนดโทษจากการละเมิดลิขสทิ ธแิ์ ละข้อควรรู้หากถูกละเมิดลขิ สทิ ธิ์ กรณศี ึกษา : การละเมดิ ลิขสิทธ์ใิ นโลก ออนไลน์ 3. ใหผ้ เู้ รยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอ เรื่อง ลขิ สิทธิ์ที่ควรร้แู ละประโยชน์ของลขิ สิทธ์ิ ข้นั ตอนการแจง้ ข้อมลู ลขิ สทิ ธ์ิ ประเภทของการละเมิดลขิ สทิ ธิ์ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสทิ ธแ์ิ ละข้อควรรูห้ ากถกู ละเมิดลขิ สิทธ์ิ กรณศี ึกษา : การละเมิดลิขสิทธใ์ิ นโลกออนไลน์ ตามใบกจิ กรรมของผู้เรียน การนำเสนอผลการศกึ ษาค้นคว้าเพ่ือ นำมาวิเคราะหเ์ รื่องลิขสิทธทิ์ ี่ควรรแู้ ละประโยชนข์ องลิขสทิ ธ์ิ ขนั้ ตอนการแจ้งข้อมลู ลิขสิทธิ์ ประเภทของการละเมิด ลขิ สทิ ธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลิขสิทธ์แิ ละข้อควรรู้หากถูกละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ กรณีศึกษา : การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ ในโลกออนไลน์ 4. ครูใหผ้ ู้เรยี นสะทอ้ นความคดิ ในการเรยี นร้ทู ่ไี ดจ้ ากการเรียนรู้ จากขัน้ ตอนท่ี 1 ถึง ขั้นตอนที่ 3 นี้ 5. ครแู ละผู้เรยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรียนร้รู ว่ มกัน ขัน้ ตอนท่ี 4 การติดตามประเมนิ และแก้ไข (Action : A) 1. ครูสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้น้ีโดยครูสุ่มผู้เรียนตามความ สมัครใจ จำนวน 2 – 3 คน ให้ตอบคำถามในประเดน็ ต่อไปนี้ ประเด็น “ ทา่ นจะนำความรู้เรื่อง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสิทธใิ์ นโลกออนไลน์” แนวคำตอบ ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้เร่ือง ลิขสิทธิ์ที่ควรรู้และประโยชน์ของ ลิขสิทธิ์ ขั้นตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ประเภทของการละเมิดลิขสิทธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธ์ิและ ข้อควรร้หู ากถกู ละเมดิ ลิขสิทธิ์ กรณศี กึ ษา : การละเมดิ ลขิ สิทธใ์ิ นโลกออนไลน์ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ได้ ดังน้ี เรื่องของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ความหมาย ความสำคัญ และสาระสำคญั ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ การ กระทำความผดิ เกย่ี วกบั พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ภยั คกุ ตามทางโลกออนไลน์ เร่อื งท่คี วรรลู้ ขิ สทิ ธิ์ ประโยชน์ของ ลิขสทิ ธ์ิ ขั้นตอนการแจง้ ข้อมูลลิขสทิ ธิ์ประเภทของการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ และบทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ 2. ครแู ละผเู้ รยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรยี นรู้ร่วมกนั เร่อื ง ลขิ สทิ ธทิ์ ่คี วรร้แู ละประโยชนข์ องลขิ สิทธ์ิ ขั้นตอนการแจง้ ขอ้ มลู ลิขสิทธ์ิ ประเภทของการละเมิดลิขสิทธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลขิ สิทธแิ์ ละข้อควรรู้ หากถูกละเมิดลิขสทิ ธิ์ กรณีศึกษา : การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิในโลกออนไลน์ ซึง่ จะทำใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเขา้ ใจในกจิ กรรม การเรยี นรมู้ ากย่ิงข้นึ 3. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลขิ สิทธใ์ิ นโลกออนไลนท่ีควรรู้ จำนวน 10 ข้อ โดยใชเ้ วลา 10 นาที 4. ครแู ละผู้เรียนสรปุ ภาพรวมสงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ร่วมกัน นอกจากนี้ ในตอนท้ายของการพบกลุ่ม หลังจากเสร็จส้นิ ขั้นตอนที่ 3 ครูมอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วย ตนเอง รายละเอยี ดดังนี้

การมอบหมายงานใหเ้ รยี นรู้ดว้ ยตนเอง 1. ครูช้แี จงใหผ้ ู้เรยี นทราบว่า ในการพบกลุ่มแต่ละครั้งผู้เรยี นจะได้รับมอบหมายงานให้ไปเรียนรดู้ ้วยวธิ ี เรียนรดู้ ้วยตนเองในลักษณะท่ีครูจะมอบหมายงานให้ผ้เู รยี นไปศกึ ษา “หนังสือเรยี นรายวิชากฎหมายท่ีควรรคู้ ู่โลก ออนไลน์ สค0200038 ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยให้ศึกษา เนื้อหาและปฏบิ ตั ิกิจกรรมท้ายเร่ือง รายละเอียดของเนื้อหา แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 เน้ือหาการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรคู้ รั้งนี้ สว่ นที่ 2 เนอ้ื หาการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ ในหนงั สือเรียนเรยี นดังกลา่ ว 2. ครมู อบหมายงานให้ผเู้ รยี นเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง โดยใหไ้ ปศึกษา “หนงั สือเรียนรายวชิ ากฎหมายท่คี วรรูค้ ู่ โลกออนไลน์ สค0200038 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายละเอียดของกิจกรรมที่ผเู้ รียนจะตอ้ งปฏิบตั ิ แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนท่ี 1 เนอ้ื หาการเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั นี้ ได้แก่ หนงั สือเรยี นรายวชิ ากฎหมายทค่ี วรรคู้ ู่โลกออนไลน์ สค0200038 ระดบั ประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สว่ นท่ี 2 มอบหมายงานใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้ด้วยตนเอง ซึง่ เนื้อหาการเรยี นรู้เพ่ิมเติมใน“หนงั สอื เรยี นรายวชิ า กฎหมายทคี่ วรรู้ค่โู ลกออนไลน์ สค0200038 ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษา ตอนปลาย ได้แก่ 1) เรื่องพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 2) เรอื่ งลิขสิทธใิ์ นโลกออนไลนท์ ี่ควรรู้ หลังจากน้ัน ครูและผเู้ รยี นมีการนดั หมายทบทวน ตรวจสอบ และแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ่วมกนั ผ่านทาง สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ ต่อไป หมายเหตุ : ให้ผ้เู รยี นลงมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง ซึง่ การใหผ้ ้เู รยี นลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมดว้ ยตนเองน้ัน อาจมคี วามแตกต่างกนั บ้างในขั้นตอน โดยพิจารณาจากพื้นฐานของผู้เรียน ในกรณที ่ผี ู้เรียนมีพนื้ ฐานน้อยหรือไม่มี พื้นฐานมาก่อนก็ควรจัดการเรียนรู้พ้ืนฐานท่จี ำเปน็ และพอเพยี งกบั ผู้เรียน หลงั จากนนั้ ให้ผเู้ รยี นได้ปฏบิ ตั ิดว้ ย ตนเองในช่วงระยะหนึ่งแล้วจงึ ค่อยใหผ้ ู้เรยี นคิดหัวขอ้ ที่อยากจะทำ หรือถา้ ผู้เรียนมีพืน้ ความรูม้ าก่อนแล้ว ให้คิด หวั ขอ้ ทสี่ นใจจะทำและใหล้ งมือปฏิบตั ิได้ สือ่ วัสดุอุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง “พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลิขสิทธทิ์ ี่ควรรใู้ นโลกออนไลน์” 2. คลปิ วิดีโอ เรอ่ื ง “กฎหมายท่คี วรรู้คู่โลกออนไลน์” จาก https://www.youtube.com/watch?v=9- IE9SaW9xk ช่วงเวลา 2.54 นาที 3. ใบความรสู้ ำหรับผู้เรียน เรอ่ื ง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสิทธ์ิทค่ี วรรใู้ นโลกออนไลน์ 4. ใบความรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น เรอ่ื ง “ลขิ สทิ ธ์ิที่ควรรใู้ นโลกออนไลน์”

5. บทสรปุ ประกอบ PowerPoint สำหรับครู “เรอื่ งพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลิขสทิ ธิ์ท่ีควรรใู้ นโลก ออนไลน์” 9. แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอรแ์ ละลิขสทิ ธทิ์ ่คี วรรใู้ นโลกออนไลน์” 10. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นต่อการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ ม ความต้งั ใจ และความสนใจของผเู้ รยี น 2. ผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน 3. ผลการออกแบบและสรา้ งสรรค์นวัตกรรมและส่งิ ทต่ี อ้ งการพัฒนา/ช้นิ งาน/ผลงาน 4. ผลการประเมินความพงึ พอใจของผเู้ รียน

บันทกึ ผลหลงั การจดั กระบวนการเรียนรู้ ครงั้ ท.่ี ....... วนั ท.่ี ......เดือน............................พ.ศ............... ผลการใช้แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 1. จำนวนเนื้อหากับจำนวนเวลา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การเรียงลำดบั เนอ้ื หากบั ความเขา้ ใจของผ้เู รยี น  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การนำเขา้ สู่บทเรยี นกบั เน้ือหาแตล่ ะหวั ข้อ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรูก้ บั เน้อื หาในแตล่ ะขอ้  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………

5. การประเมินผลกบั ตัวชี้วดั ในแตล่ ะเนื้อหา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ผลการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………

สื่อวสั ดุอปุ กรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง “พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลิขสทิ ธิท์ คี่ วรรใู้ นโลกออนไลน์” 2. คลิปวิดีโอ เรอื่ ง “กฎหมายท่คี วรรคู้ ูโ่ ลกออนไลน์” จาก https://www.youtube.com/watch?v=9- IE9SaW9xk ช่วงเวลา 2.54 นาที 3. ใบความรูส้ ำหรับผู้เรียน เรื่อง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสทิ ธิท์ ่ีควรรู้ในโลกออนไลน์ 4. ใบความรสู้ ำหรบั ผูเ้ รียน เร่อื ง “ลขิ สิทธิท์ ี่ควรรูใ้ นโลกออนไลน์” 5. บทสรปุ ประกอบ PowerPoint สำหรบั ครู “เรือ่ งพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และลขิ สทิ ธิ์ท่ีควรรใู้ นโลก ออนไลน์” 9. แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสิทธ์ทิ ่ีควรรูใ้ นโลกออนไลน์” 10. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ชื่อโครงการ/กจิ กรรม........................................................................................................................ ช่ือโรงเรยี น/สถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………….. ชื่อหัวหนา้ โครงการ/กจิ กรรม............................................................................................................. คำช้ีแจง ให้ผู้ประเมินทำเคร่ืองหมายถูก () ลงในช่องระดับพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีเกณฑ์ระดับคุณภาพการ ประเมินดงั นี้ 5 มีพฤตกิ รรมการเรียนรู้ มากที่สดุ 4 มพี ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ มาก 3 มพี ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ปานกลาง 2 มีพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ น้อย 1 มีพฤติกรรมการเรยี นรู้ น้อยทีส่ ดุ เกณฑก์ ารพิจารณาระดบั คุณภาพ คะแนนเฉล่ียร้อยละ 0 - 50 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 70 – 79 ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 80 – 89 ระดบั คุณภาพ ดมี าก คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 90 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยยี่ ม พฤติกรรมการเรยี นรู้ ระดบั พฤติกรรม 54321 1. ความตง้ั ใจในการทำงาน 2. ความรับผดิ ชอบ 3. ความกระตือรือร้น 4. การตรงต่อเวลา 5. ผลสำเรจ็ ของงาน 6. การทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น 7. มคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ 8. มกี ารวางแผนในการทำงาน 9. การมีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็นในกลุม่ 10. การมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาในกลมุ่ ลงชื่อ......................................................................ผูป้ ระเมิน ............../.............................../.....................

ใบความรู้ เรอื่ ง กฎหมายที่ควรรคู้ โู่ ลกออนไลน์ อาชญากรรมออนไลน์ ความหมาย การกระทำผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์ เพ่ือกระทำผิดทางอาญา เช่น ทำลาย เปล่ียนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในที่น้ี หมาย รวมถงึ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ท่ีเชือ่ มกบั ระบบดังกล่าวด้วย อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหย่ือได้รับความเสียหาย และผู้กระทำได้รับ ผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซ่ึงใช้เทคโนโลยี คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครื่องมือและในการสืบสวนสอบสวนของ เจา้ หน้าที่เพอ่ื นำผ้กู ระทำผิดมาดำเนนิ คดี ตอ้ งใชค้ วามรูท้ างเทคโนโลยเี ช่นเดยี วกนั การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งท่ีมี ความสำคัญ ประเภทของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ ซึ่งปัจจุบันทั่วโลกจัดออกเป็น 9 ประเภท (ตาม ขอ้ มูลคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจรา่ งกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์) 1. การขโมยขอ้ มูลทางอนิ เตอร์เน็ต ซ่ึงรวมถงึ การขโมยประโยชนใ์ นการลกั ลอบใช้บริการ 2. อาชญากรนำเอาระบบการส่อื สารมาปกปดิ ความผิดของตนเอง 3. การละเมิดสิทธ์ิปลอมแปรงรูปแบบ เลยี นแบบระบบซอฟตแ์ วร์โดยมชิ อบ 4. ใช้คอมพวิ เตอรแ์ พรภ่ าพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลท่ีไมเ่ หมาะสม 5. ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงนิ 6. อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำจ่ายไฟ ระบบ การจราจร 7. หลอกลวงให้รว่ มค้าขายหรือลงทุนปลอม 8. แทรกแซงขอ้ มลู แล้วนำขอ้ มลู นน้ั มาเป็น)ระโยชน์ตอ่ ตนโดยมิชอบ เช่น ลกั รอบค้นหารหสั บัตรเครดิตอ่ืน มาใช้ดักข้อมลู ทางการคา้ เพอ่ื เอาผลประโยชน์นั้นเปน็ ของตน 9. ใช้คอมพวิ เตอร์แอบโอนเงินบัญชผี ูอ้ ืน่ เข้าบญั ชีตัวเอง

อาชญากรคอมพิวเตอร์ อาชญากรคอมพิวเตอร์ คอื ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์เป็นสว่ นสำคัญ มกี ารจำแนก ไวด้ ังนี้ 1. พวกมือใหม่ (Novices) หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้และส่วนใหญ่จะมิใช่ผู้ ที่เป็นอาชญากรโดย นิสัย มิได้ดำรงชีพโดยการกระทำผิด อาจหมายถึงพวกที่เพ่ิงได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ 2. Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตราย มักเป็น พวกท่ชี อบทำลายทกุ ส่งิ ทข่ี วางหนา้ ไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิง่ ของ หรือสภาพแวดล้อม 3. Organized Crime พวกนีเ้ ป็นกลุม่ อาชญากรที่ร่วมมือกนั ทำผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ทมี่ ีระบบ พวก เขาจะใช้คอมพิวเตอร์ท่ีต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเคร่ืองหาข่าวสาร เหมือนองค์กรธุรกิจท่ัวไป อีกส่วนหน่ึงก็ จะใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสำคญั ในการกอ่ อาชญากรรม หรือใช้เทคโนโลยกี ลบเกลื่อนรอ่ งร่อย ใหร้ อดพ้น จากเจ้าหนา้ ท่ี 4. Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ท่ีมีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็นห่วง มากที่สดุ เนอ่ื งจากนับวันจะทวจี ำนวนมากข้ึนเร่ือยๆ โดยจับผิดแล้วจบั ผิดเลา่ บ่อยคร้ัง 5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกท่ีชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ ส่วนตน อาชญากรประเภทน้ีจะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และความรู้ของตนเพ่ือหาเงินมิชอบ ทางกฎหมาย 6. Dreamer พวกบา้ ลทั ธิ เป็นพวกทค่ี อยทำผิดเน่อื งจากมคี วามเชอ่ื ถือส่ิงหนึ่งส่ิงใดอย่างร่นุ แรง 7. Cracker หมายถึง ผู้ท่ีมีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบได้ โดยมีวตั ถุประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอยา่ งหนึ่ง มักเข้าไปทำลายหรือลบไฟล์ หรือทำให้คอมพิวเตอร์ใช้ การไมไ่ ด้ รวมถงึ ทำลายระบบปฏบิ ัตกิ าร 8. นักเจาะข้อมูล (Hacker) ผู้ที่ชอบเจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น พยายามหาความท้าทายทาง เทคโนโลยเี ข้าไปในเครือข่ายของผอู้ น่ื โดยที่ตนเองไม่มีอำนาจ 9. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครอื่ งมือ เช่นพวกลักเล็กขโมยนอ้ ยที่ พยายามขโมยบัตร ATM ของผู้อื่น 10. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนี้จะดำรงชีพจากการกระทำความผิด เช่นพวกที่มักจะใช้ ความรู้ทาง เทคโนโลยฉี อ้ โกงสถาบันการเงนิ หรอื การจารกรรมข้อมลู ไปขาย เปน็ ตน้ 11. พวกหัวรนุ แรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มกั ก่ออาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ เพ่อื อุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกจิ ศาสนา หรือสทิ ธิมนษุ ยช์ น เปน็ ต้น

ใบความรู้ เรือ่ ง พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2560 สรุป 13 ขอ้ สาระสำคญั จำง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 ถ้ายังจำกันได้ถึงการผลักด้น พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบเม่ือเดือนธันวาคม เม่ือปี 2559 และได้ประกาศลงราชกิจจา นุเบกษาเม่อื วันที่ 24 มกราคม 2560 มีผลบังคับใช้แลว้ ในวันท่ี 24 พ.ค.2560 เพื่อการใช้ออนไลน์อย่างถูกกฎหมาย สำหรับสาระสำคัญท่ีหลายคนควรพึงระวังใน พ.ร.บ. วา่ ด้วยกระทำ ความผิดเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบับ 2 มสี าระสำคัญจำง่ายๆ ดังน้ี 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นน้ันถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 3. ส่ง Email ขายของ ถือเปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเก่ียวกับสถาบัน เส่ียงเข้าข่าย ความผดิ มาตรา 112 หรอื มีความผดิ รว่ ม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลท่ีแชร์มีผลกระทบต่อผู้อ่ืน อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลท่ี 3 6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานท่ีรับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมอื่ แจ้งไปท่ีหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบเพ่ือลบได้ทนั ที เจา้ ของระบบเวบ็ ไซตจ์ ะไมม่ คี วามผดิ 7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เม่ือพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เม่ือลบ ออกจากพ้ืนทท่ี ต่ี นดูแลแลว้ จะถอื เป็นผู้พ้นผิด 8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ท่ีทำให้เกิดการเผยแพร่สูป่ ระชาชนได้ 9. การโพสตเ์ ก่ียวกับเดก็ เยาวชน ตอ้ งปิดบงั ใบหนา้ ยกเวน้ เมอ่ื เป็นการเชิดชู ชน่ื ชม อยา่ งใหเ้ กยี รติ 10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเส่ือมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟอ้ งรอ้ งไดต้ ามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้ โพสตไ์ ด้ และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไมเ่ กนิ 200,000 บาท 12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธ์ิผใู้ ด ไมว่ า่ ข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวดิ ีโอ 13. สง่ รปู ภาพแชรข์ องผูอ้ ืน่ เช่น สวสั ดี อวยพร ไมผ่ ดิ ถ้าไมเ่ อาภาพไปใชใ้ นเชิงพาณิชย์ หารายได้

น่ีเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ท่ีมีผลบังคับใช้แล้ว ซ่ึงยังมีอีกหลายประเด็นที่ส่งผลกระทบ ต่อการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ ดังนั้นจึงควรรู้กฎกติกาการใช้งานไว้ก่อน ก็จะช่วยป้องกันไม่ให้เราเส่ียงต่อการทำ ผดิ กฎหมายได้ ใบความรู้ เร่อื ง การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ในโลกออนไลน์ท่คี วรรู้ การละเมิดลิขสิทธ์ิ หมายถึงการนําผลงานของผู้อื่นมาใช้ เผยแพร่ ดัดแปลง ทําซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของ ผลงานไม่อนญุ าตหรอื ไมไ่ ดร้ บั ทราบ ปกตแิ ล้วกรรมสิทธ์ิ และลขิ สิทธิ์ของผสู้ ร้างสรรคโ์ ดยปรยิ าย โดยหลัก ๆ ลิขสิทธ์ิในโลกออนไลน์ที่ควรรู้จะเกี่ยวข้องเพียง 3 เร่ือง เท่านั้น ได้แก่ ลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เคร่ืองหมายการค้า ส่วนพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนผังภูมิวงจรรวม ความลับทางการค้า สิ่งบ่งชี้ ภูมิศาสตร์ การคุ้มครองพันธุ์พืช จะไม่ได้สอนในวิชากฎหมายลิขสิทธ์ิในโลกออนไลน์ท่ีควรรู้ แต่มีพระราชบัญญัติ การค้มุ ครองกฎหมายลิขสิทธใ์ิ นโลกออนไลนท์ ีค่ วรรู้จะเก่ียวข้องกับกฎหมายลิขสทิ ธ์ใิ นโลกออนไลนท์ ่คี วรรคู้ ือ 1. พระราชบัญญั ติเคร่ืองหมายการค้า (Trade Marks) เป็นเร่ืองเก่ียวกับเคร่ืองหมายการค้า 2. พ ระราช บัญ ญั ติสิท ธิบั ตร (Patent) พ ระราชบัญ ญั ติสิท ธิบัตรของไท ยจะครอบคลุมถึง

สิ ท ธิ บั ต ร แ ล ะ ก า ร อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ Design) ท า ง WIPO ไ ด้ แ ย ก Design อ อ ก ต่ า ง ห า ก และมบี างประเทศที่แยกกฎหมาย Design ออกต่างหากจากสิทธิบตั ร แนวคดิ การให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 1. เพื่อตอบแทนความคิดสรา้ งสรรคข์ องบุคคล 2. เพอ่ื สง่ เสริมและจูงใจให้สร้างสรรคผ์ ลงาน 3. เพอ่ื ส่งเสริมให้ส่งเสรมิ ให้มกี ารเปิดเผยความรสู้ ่สู ังคม 4. เพอ่ื ป้องกนั การแข่งขันอันไม่เป็นธรรม 5. กระตุ้นการแข่งขนั โดยเสรี 6. เพอ่ื ค้มุ ครองผู้บริโภค 7. เพื่อรักษาผลประโยชนท์ างการค้าระหว่างประเทศ สิทธขิ องเจา้ ของลิขสทิ ธิใ์ นโลกออนไลนท์ คี่ วรรู้ ผู้ทรงสิทธิในลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ท่ีควรรู้มีสิทธิท่ีจะหวงกันไม่ให้ผู้อ่ืนมาใช้ผลงานทางปัญญาท่ีตนได้ สร้างสรรคห์ รือพัฒนาข้ึน เรยี กว่า สทิ ธเิ ดด็ ขาด หรือ สิทธแิ ตเ่ พยี งผ้เู ดียว (Exclusive rights) มสี ิทธิจําหนา่ ยจา่ ยโอนหรือทาํ ให้เกดิ ภาระติดพนั ใด ๆ แก่ลขิ สิทธ์ใิ นโลกออนไลนท์ คี่ วรรูข้ องตน มีสทิ ธิท่จี ะฟ้องคดีแพง่ หรือระงับการละเมิดและเรยี กค่าสินไหมทดแทน มีสทิ ธิในการดาํ เนนิ คดีอาญาตามพระราชบัญญัติและประมวลกฎหมายอาญา 1. การกระทําอย่างใดอยา่ งหน่งึ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ทาํ ซำ้ หรอื ดดั แปลง ซ่ึงงานอันมลี ขิ สิทธิ์ 1.2 เผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ซึง่ งานอนั มีลิขสิทธ์ิ 2. แก่งานอนั มีลิขสทิ ธ์ิ 3. โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ตามมาตรา 15 (5) ต้องระวางโทษปรับต้ังแต่20,000 ถึง 200,000 บาท (มาตรา 69) บทลงโทษ มคี วามผดิ ท้ังทางแพ่งและทางอาญา ผลกระทบของการละเมิดลิขสทิ ธิ์ในโลกออนไลนท์ ค่ี วรรู้ - ทาํ ให้เกิดการฟ้องร้องดําเนินคดเี พ่ือโต้แย้งสิทธใ์ิ นความเป็นเจ้าของลขิ สิทธิ์ในโลกออนไลนท์ ่ีควรรูร้ ะหวา่ งกัน ขน้ึ - ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจการส่งออกไทย ก่อให้เกิดความไม่น่าเชื่อถือแก่นานาชาติ เป็นเหตุให้ผู้ส่งออก ชาวไทยไมส่ ามารถสง่ สนิ คา้ ไปจําหน่ายท่ีตา่ งประเทศได้ ทาํ ใหส้ ญู เสียรายไดแ้ ละลดการขยายตัวของตลาดส่งออก

- ถูกกดดนั จากต่างประเทศที่เป็นเจ้าของลิขสทิ ธใิ์ นโลกออนไลน์ที่ควรรู้ ก่อให้เกดิ ความไม่ม่นั ใจแก่นักลงทุนใน การลงทนุ ภายในประเทศ - ผู้สร้างสรรค์ขาดแรงจูงใจในการสร้างสรรค์งานใหม่เนื่องจากการถูกลอกเลียนแบบ ส่งผลให้ขาดการพัฒนา นวัตกรรม ต้องนาํ เขา้ ความรแู้ ละเทคโนโลยีจากตา่ งประเทศ ทําใหก้ ารพัฒนาเศรษฐกจิ เปน็ ไปอยา่ งลา่ ชา้ วิธกี ารป้องกนั สิทธใิ นลขิ สิทธใิ์ นโลกออนไลน์ทคี่ วรรู้ - หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหมั่นลงสํารวจพื้นที่เข้าข่ายที่จะมีการละเมิดลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ที่ควรรู้ และ ดําเนินการปราบปรามการละเมิดหรือการกระทําท่ีผิดกฎหมายเกยี่ วกับลิขสิทธิใ์ นโลกออนไลน์ที่ควรรอู้ ย่างจริงจัง- จัดมาตรการคุ้มครองสิทธิในลิขสิทธ์ิในโลกออนไลน์ท่ีควรรู้ ณ จุดนําเข้า – ส่งออก ตัวอย่างเช่น สินค้าปลอมหรือ เลยี นเครื่องหมายการคา้ หรอื สนิ คา้ ทีท่ าํ ซ้ำหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธ์ิ เป็นตน้ - จัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าพนักงานตํารวจและเจ้าหน้าที่ กรมศุลกากรให้เข้าใจถึงสิทธิในลิขสิทธิ์ในโลก ออนไลน์ที่ควรรู้ - ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนทราบถึงการกระทําที่ถือเป็นการละเมดิ ซึ่งสิทธใิ นลิขสิทธ์ิในโลกออนไลน์ท่ี ควรรู้ และโทษท่ีได้รับ เชน่ จดั พิธีทําลายของกลางคดลี ะเมิดลขิ สิทธ์ใิ นโลกออนไลน์ทีค่ วรรู้ เพ่ือมใิ ห้เกิดการกระทํา อนั เปน็ เยย่ี งอยา่ ง เป็นตน้ - รณรงคใ์ หป้ ระชาชนไม่สนับสนุนสินคา้ หรอื ผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดจากการละเมิดลขิ สิทธ์ิในโลกออนไลน์ท่ีควรรู้

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง การหมน่ิ ประมาทในโลกออนไลน์ เวลาเรยี น 6 ชวั่ โมง แนวคิด 1.การหม่ินประมาทในโลกออนไลน์ ความหมายของการหม่ินประมาท พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการหมน่ิ ประมาท ออนไลน์ ข้ันตอนการดำเนนิ การเมือ่ ถูกหม่นิ ประมาทออนไลน์ บทลงโทษของการหมนิ่ ประมาทออนไลน์ : การหม่ิน ประมาทออนไลน์ ตัวช้วี ัด 1. บอกความหมายและอธิบายความหมายของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ได้ 2. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 3. อธิบายสาระสำคญั ของพ.ร.บ.คอมพวิ เตอรแ์ ต่ละฉบบั ได้ 4. อธิบายการกระทำความผิดเก่ียวกับ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์รูปแบบต่างๆและโทษท่ีจะไดร้ ับได้ 5.ตระหนักถึงโทษท่ีจะไดร้ บั จากการกระทำความผิดเก่ียวกับ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 6.สามารถยกตวั อยา่ งของภยั คุกคามทางโลกออนไลน์ได้ 7.ตระหนกั ถึงภัยคกุ คามทางโลกออนไลน์ 8.วิเคราะหก์ รณีศึกษา : การทำผดิ กฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ทก่ี ำหนดให้ศกึ ษาได้ 9.ตระหนกั ถึงผลกระทบของการทำผิดกฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 10. อธิบายความหมายของลขิ สทิ ธ์ิ การได้มาซ่งึ ลขิ สิทธิ์ หลักเกณฑใ์ นการพิจารณางานลิขสิทธิ์งานอันมี ลิขสิทธิ์และไมม่ ีลขิ สทิ ธ์ิ ประเภทของงานอนั มีลิขสทิ ธิ์ ผ้ถู ือครองลขิ สิทธ์ิการคุ้มครองลขิ สิทธ์แิ ละอายุของการ คุ้มครองลิขสทิ ธ์ิได้ 11. บอกประโยชน์ของลขิ สิทธิ์ได้ 12. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องลิขสิทธ์ิได้ 13. อธิบายข้ันตอนการแจ้งข้อมูลลขิ สทิ ธไ์ิ ด้ 14. บอกความแตกต่างของการละเมดิ ลิขสทิ ธิโ์ ดยตรงและการละเมิดลขิ สิทธิโ์ ยกออ้ มได้ 15. บอกบทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลขิ สิทธิ์ได้ 16. บอกวิธกี ารปฏบิ ัติตนหากถกู ละเมดิ ลขิ สิทธิท์ างโลกออนไลน์ได้ 17. วิเคราะห์กรณศี ึกษา : การละเมิดลขิ สทิ ธใิ์ นโลกออนไลนไ์ ด้ 18. ตระหนกั ถึงผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จาการละเมิดลิขสทิ ธบิ์ นโลกออนไลน์ได้ 19. อธบิ ายความหมายของการหมน่ิ ประมาทได้

20. อธิบายสาระสำคญั ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และกฎหมายทเี่ ก่ียวกบั ของการหม่ินประมาทออนไลนไ์ ด้ 21. ตระหนักถึงความสำคัญของพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวกบั การของการหมิ่นประมาท ออนไลน์ 22 สามารถบอกขัน้ ตอนการปฏิบตั ิตนในการดำเนินการเมื่อถกู หม่นิ ประมาทออนไลนไ์ ด้ 23. วิเคราะห์โทษของการหม่ินประมาทได้ 24. วเิ คราะหก์ รณศี ึกษา : การหมิ่นประมาททางออนไลน์ที่กำหนดให้ศึกษาได้ 25. ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึน้ จากฝา่ ฝืนพ.ร.บ.คอมพิวเตอรแ์ ละกฎหมายทเี่ กย่ี วกบั การหมิ่นประมาท ออนไลน์ เนอื้ หา 1. ขอ้ ควรรู้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2. การกระทำความผิดเก่ียวกับพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ และโทษที่ได้รบั 3. ภยั คุกคามทางโลกออนไลน์ 4. กรณีศึกษา : การกระทำผิดกฎหมายตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 5. ลขิ สิทธิแ์ ละเรื่องที่ควรรู้ 6. ประโยชนข์ องลิขสิทธ์ิ 7. ข้ันตอนการแจ้งข้อมลู ลขิ สิทธ์ิ 8. ประเภทของการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ 9. บทกำหนดโทษจากกการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ 10. ขอ้ ควรร้หู ากถกู ละเมดิ ลิขสิทธิ์ 11.กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธใ์ิ นโลกออนไลน์ 12. ความหมายของการหมน่ิ ประมาท 13. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เก่ียวกับหม่นิ ประมาทออนไลน์ 14. ข้ันตอนการดำเนินการเม่ือถูกหมน่ิ ประมาทออนไลน์ 15. บทลงโทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ 16. กรณีศึกษา : หมน่ิ ประมาทออนไลน์ ข้ันตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ขน้ั ตอนที่ 1 การสรา้ งแรงบันดาลใจ ( Passion : P ) 1. ครูทักทายผู้เรยี น พร้อมท้งั แนะนำตนเองและแผนการจดั การเรียนรซู้ ึ่งการจดั การเรยี นรู้ทผี่ ้เู รยี นจะต้อง เรยี นรู้ร่วมกันในครง้ั นี้ คอื เร่ือง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ” และชวนคิดชวนคุยเก่ียวกับเรื่องท่ีจะเรียนรู้เพ่ือกระตุ้นให้

ผู้เรียนเกดิ ความสนใจและมีความกระตือรือรน้ ในการเชื่อมโยงและสร้างความพร้อมทีจ่ ะเรียนรหู้ รอื ทำกจิ กรรมการ เรียนรู้ตามแผนการจดั การเรียนรคู้ ร้ังนี้ 2. ครูชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์ เน้ือหา กจิ กรรม การวดั และประเมนิ ผลของการเรยี นรู้ในครง้ั น้ี ท่สี อดคล้องกับ ตัวชวี้ ดั ตามแผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั นี้ เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจอย่างชัดเจนวา่ ผ้เู รียนจะต้องเรียนรู้ให้บรรลุตวั ชีว้ ัด ที่ กำหนดตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลิขสิทธิใ์ นโลกออนไลน์ทีค่ วรรู้”ในคร้งั นี้ โดย ให้นักศึกษาทำใบงานที่ 1 จำนวน 2 ข้อ อธบิ ายความสำคัญ และความจำเปน็ ในการพัฒนาอาชพี 3. ให้ผ้เู รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเร่อื ง “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลิขสิทธิ์ในโลกออนไลนท์ ีค่ วรรู้” โดยใช้ เวลา 10 นาที 4. ครูให้ผเู้ รยี นศกึ ษาหนังสือเรียนรายวชิ ากฎหมายท่ีควรรู้ค่โู ลกออนไลน์ สค 0200038 ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เรอ่ื ง อธบิ ายความสำคญั พร้อมทั้งแนะนำ แหลง่ ศกึ ษาค้นคว้าเพิม่ เติมจากอนิ เทอรเ์ น็ต ซงึ่ ผ้เู รยี นสามารถไปเรียนรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองและทำกจิ กรรมตามที่ไดร้ ับ มอบหมายดว้ ย ทงั้ น้ีครคู วรจะช้แี จงให้ผู้เรยี นทราบว่าในการพบกลุม่ ตามแผนการจัดการเรียนรูค้ รงั้ น้ี ผเู้ รยี นจะตอ้ ง เรียนรแู้ ละทำกจิ กรรมทีส่ อดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน โดยปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเรียนรโู้ ดยการ อภปิ รายรว่ มกับเพอื่ นในกลุ่มรวมทั้งมกี ารทดสอบหลังเรยี นดว้ ย นอกจากนี้ ในการพบกลุ่มแต่ละครงั้ นัน้ ครจู ะมอบหมายงานให้ผเู้ รียนไปเรียนรูด้ ้วยวิธกี ารเรียนรดู้ ้วย ตนเอง ซง่ึ วิธีการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองจะต้องเกดิ ข้นึ ในทุกๆ ตัวชีว้ ัดและเนือ้ หาทีก่ ำหนดโดยผูเ้ รียนจะต้องปฏบิ ัติ กิจกรรมที่กำหนดใหด้ ้วยวิธเี รียนรู้ออนไลน์ และศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนดังน้ัน ครจู ะตอ้ งเชอื่ มโยง รายละเอยี ดดังกล่าวขา้ งตน้ ให้ผูเ้ รยี นไดเ้ กดิ ความเข้าใจและเกดิ แรงบันดาลใจในการเรยี นรทู้ ่จี ะเกิดขึ้น เพราะการ มอบหมายงานใหผ้ ูเ้ รียนไปเรียนร้ดู ้วยวธิ ีเรยี นรดู้ ้วยตนเองนั้น ผูเ้ รียนจะต้องเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ต และ ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียน 5. ครูชวนคิดชวนคุยเก่ียวกับประสบการณ์เดิมของครูในเร่ืองท่ีจะเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้นี้ โดย ครูสุ่มผเู้ รยี นตามความสมัครใจ จำนวน 4 –5 คนใหต้ อบคำถาม จำนวน 1 ประเดน็ ดงั น้ี ประเดน็ ท่ี 1 “ทา่ นทราบหรือไม่วา่ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และลขิ สิทธ์ใิ นโลกออนไลน์ที่ควรรู้ คอื อะไร ” • แนวคำตอบ คือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบบั ลา่ สดุ เปน็ กฎหมายท่ีว่าดว้ ยการกระทำผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ โนต็ บุ๊ค สมาร์ตโฟน รวมไปถึงระบบต่าง ๆ ทีถ่ ูกควบคมุ การกระทำระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึง เป็น พ.ร.บ. คอม ท่อี อกมาเพ่ือปอ้ งกนั และควบคมุ การกระทำผดิ ที่จะเกดิ ขน้ึ ได้การใช้คอมพวิ เตอร์ หาก ผู้ใดกระทำผดิ กจ็ ะตอ้ งไดร้ ับการลงโทษตามท่ี พระราชบญั ญตั ิคอมพิวเตอร์ 2560 ทก่ี ำหนดไว้ • ประเดน็ ท่ี 2 “ท่านทราบหรือไมว่ ่า ลขิ สทิ ธิใ์ นโลกออนไลน์ คืออะไร ” • แนวคำตอบ คือ เนอ่ื งจากของแทม้ ีราคาแพง และมีค่าใชจ้ ่ายสูงการละเมิดลิขสิทธทิ์ ำได้งา่ ยและรวดเรว็ ตวั สนิ ค้าก็มีคุณภาพเทยี บเทา่ ของจรงิ เปน็ วฒั นธรรมในบางสังคม ซึ่งมีมาเปน็ เวลายาวนาน เช่น การ

เออื้ เฟ้ือเผ่อื แผ่ มีการแบง่ ปันกนั ในสงั คมมาโดยตลอด จงึ ทำให้ผูท้ ไ่ี ด้ละเมิดลขิ สิทธิ์ไม่คิดว่าตนเองได้ กระทำความผดิ กลไกในการบังคบั ใช้กฎหมายที่ยงั ไมค่ ่อยมีประสทิ ธภิ าพเทา่ ท่คี วร และการหาตัวผูก้ ระทำ ความผดิ ก็ทำไดย้ ากเช่นกนั ข้นั ตอนที่ 2 การนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization : U) 1. ครใู ห้ผูเ้ รียนแลกเปลยี่ นเรียนรู้ โดยแบง่ ผูเ้ รยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ดำเนนิ กจิ กรรมเป็น รายกลุ่ม ศึกษาเนื้อหา ในหนังสือเรยี นรายวิชากฎหมายท่ีควรรคู้ โู่ ลกออนไลน์ สค 0200038 ระดบั มัธยมศึกษา ตอนต้น ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งผู้แทนนำเสนอต่อกลุ่มใหญ่ครูและผู้เรียนสรุปผลการเรียนรู้ร่วมกัน และใหผ้ ูเ้ รียนสรปุ ส่งิ ทไี่ ด้เรียนรู้ลงในสมดุ บนั ทึกผลการเรียนรขู้ องตน 2. ครูแนะนำแหล่งเรยี นร้ใู ห้กับผเู้ รียนเพ่ือใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง อาทิ หอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หน่วยงาน สถานศกึ ษาตา่ ง ๆ รวมท้ังการใชอ้ ินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เปน็ ต้น 3. ครดู ำเนนิ การทำหนา้ ทน่ี ำการอภปิ ราย โดยให้ผเู้ รยี นกลุ่มใหญ่รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ คิด วเิ คราะห์ อภิปราย และวิเคราะหใ์ ห้ข้อมลู เพ่ิมเติมในเนื้อหาหรือประเด็นทย่ี ังไมช่ ดั เจน ตามรายละเอียดทีผ่ ู้เรียนได้ แลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั หากผู้เรียนกลุ่มใหญ่หรือครูเหน็ ว่ายังไม่สมบูรณ์ มคี วามต้องการในการเรยี นร้เู พิม่ เติม ครจู ะช่วยเติมเตม็ ความรู้ใหก้ ับผู้เรยี น หลงั จากนน้ั ครูและผู้เรยี นสรุปสิง่ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ในภาพรวมท้งั หมดแลว้ ใหผ้ เู้ รยี น สรุปส่ิงทไี่ ด้เรียนรู้ลงในสมดุ บันทกึ การเรียนรู้ของตน หมายเหตุ : ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม ครูช้ีแจงบทบาทหน้าท่ีในการทำงานให้ผู้เรียนได้มีความรับผิดชอบร่วมกันใน การทำงาน ซึ่งมอบหมายให้ผู้เรียนดำเนินการแต่งตั้งประธานหรือผู้นำในการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการ มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในภารกิจต่างๆ รวมถึงการแต่งตั้งเลขานุการของกลุ่มเป็นผู้จดบันทึกและผู้รักษาเวลา เพ่ือปฏิบัติงานของกลุ่มใหญ่ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ และพิจารณาว่าสมาชิกลุ่มทุกคนควรมีความเข้าใจ ตรงกันว่า ตนมีบทบาทหน้าที่ท่ีจะต้องช่วยให้กลุ่มทำงานได้สำเร็จ ครูควรให้คำแนะนำถึงความสำคัญของการให้ สมาชิกทุกคนในกล่มุ มสี ่วนรว่ มในการอภิปรายอย่างทว่ั ถงึ ไม่ให้มีการผูกขาดการอภิปรายโดยผู้ใดผู้หน่ึง และควรมี การจำกดั เวลาของการอภปิ รายแตล่ ะประเด็น ในระหว่างการทำกิจกรรมของผู้เรียน ครูมีบทบาทในการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน คอย กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้โดยบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และเครอ่ื งมือประเมนิ การสังเกตแบบประมาณคา่ 4. ครูเปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นท้ังกลมุ่ ร่วมกนั สนทนา เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีทักษะในการฟงั พูด คิดวิเคราะห์ การ ทำงานรว่ มกับผู้อื่น การคิดสรา้ งสรรค์ ความรบั ผดิ ชอบ และการนำความรใู้ นเนื้อหามาใช้ โดยครบู ูรณาการเนื้อหา การเรียนรู้ มกี ารใชส้ ่ือเทคโนโลยีท่เี ป็นคลิปวิดีโอจาก youtubeและ TikTok ที่สัมพันธ์กับเน้อื หา ทั้งนี้ครเู ชือ่ มโยง

ส่ิงท่ไี ด้เรยี นร้ตู ามข้ันตอนท่ี 1 ในการนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติและประยุกต์ใช้ผา่ นคลิปวิดโี อ โดยครูเปดิ คลิปวดิ ีโอ เรอื่ ง “กฎหมายท่คี วรรู้คู่โลกออนไลน์ ” จาก https://www.youtube.com/watch?v=9-IE9SaW9xk ชว่ งเวลา 2.54 นาที หลังจากนัน้ ครดู ำเนินการ ดังนี้ (1) ครบู รรยายเนื้อหาตามใบความรู้สำหรับครู เร่อื ง“ความสำคญั และความจำเปน็ ของกฎหมาย ที่ควรรคู้ ่โู ลกออนไลน์” เพื่อใช้สำหรับประกอบกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง “ความสำคญั และความจำเปน็ ของ กฎหมายทคี่ วรรคู้ โู่ ลกออนไลน์” ในส่วนของผ้เู รยี นให้ศึกษาใบความรสู้ ำหรับผเู้ รยี น ประกอบการบรรยายของครู ตามใบความรู้สำหรับผเู้ รียน เร่ือง “ความสำคัญ และความจำเป็นของกฎหมายที่ควรรคู้ ูโ่ ลกออนไลน์” (2) ครูอธบิ าย เร่อื ง “กฎหมายลขิ สทิ ธิ์”พร้อมท้ังให้ผเู้ รียนได้แลกเปล่ยี นเรียนรู้ โดยใหผ้ เู้ รยี นต้ัง ประเด็นข้อสงสยั หรอื ส่งิ ท่ตี ้องการเรียนรู้ และเชื่อมโยงส่กู ารนำไปใช้ในชีวติ จริงของผ้เู รยี นต่อไป 5.ครูและผูเ้ รยี นอภิปรายและสรุปผลการเรยี นรูร้ ่วมกนั ข้นั ตอนท่ี 3 การสะท้อนความคดิ จากการเรยี นรู้ ( Reflection : R ) 2. แบง่ ผ้เู รียนออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คนใหผ้ ู้เรยี นแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาเน้ือหา โดยผูเ้ รียนแตล่ ะกลมุ่ วางแผนและดำเนินการเกยี่ วกับการทำรายงาน เร่ืองท่ี 1 ลิขสิทธิท์ ี่ควรรูแ้ ละประโยชน์ของลิขสิทธิ์ เร่ืองที่ 2 ข้ันตอนการแจง้ ขอ้ มูลลิขสทิ ธิ์ ประเภทของการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ เรือ่ งที่ 3 บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสทิ ธิแ์ ละขอ้ ควรรูห้ ากถกู ละเมิดลิขสิทธิ์ เรื่องที่ 4 กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิใ์ นโลกออนไลน์ 2. ให้ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ ตามข้อ 1 ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามใบกจิ กรรม เร่อื ง ลขิ สทิ ธทิ์ ่คี วรรแู้ ละประโยชนข์ อง ลขิ สทิ ธ์ิ ขั้นตอนการแจง้ ข้อมูลลขิ สิทธิ์ ประเภทของการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลขิ สทิ ธแิ์ ละ ข้อควรรู้หากถกู ละเมิดลิขสิทธ์ิ กรณศี กึ ษา : การละเมดิ ลิขสิทธ์ใิ นโลกออนไลน์ ทัง้ นี้ ครจู ะต้องกำกบั การปฏิบตั ิกจิ กรรมของผเู้ รยี นจนกิจกรรมแล้วเสรจ็ ตามใบกิจกรรมสำหรบั ครู เรอื่ ง “ลิขสทิ ธ์ิทคี่ วรรแู้ ละประโยชนข์ องลิขสิทธ์ิ ขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลขิ สิทธิ์ ประเภทของการละเมดิ ลิขสิทธิ์ บท กำหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธแ์ิ ละขอ้ ควรรูห้ ากถูกละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ กรณีศึกษา : การละเมดิ ลขิ สิทธ์ใิ นโลก ออนไลน์ 3. ใหผ้ ูเ้ รยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอ เรื่อง ลิขสทิ ธิ์ที่ควรรู้และประโยชนข์ องลขิ สิทธ์ิ ขั้นตอนการแจง้ ข้อมูล ลขิ สิทธิ์ ประเภทของการละเมิดลขิ สิทธิ์ บทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลิขสิทธแ์ิ ละข้อควรรหู้ ากถกู ละเมิดลขิ สิทธิ์ กรณศี ึกษา : การละเมดิ ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ ตามใบกจิ กรรมของผเู้ รยี น การนำเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื นำมาวเิ คราะห์เร่ืองลิขสิทธ์ทิ ี่ควรรแู้ ละประโยชนข์ องลขิ สทิ ธิ์ ข้นั ตอนการแจ้งข้อมูลลขิ สิทธิ์ ประเภทของการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ บทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิและข้อควรรู้หากถกู ละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ กรณศี ึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์ ในโลกออนไลน์

4. ครูใหผ้ เู้ รยี นสะท้อนความคดิ ในการเรยี นรู้ทีไ่ ด้จากการเรยี นรู้ จากขั้นตอนที่ 1 ถงึ ข้นั ตอนที่ 3 น้ี 5. ครูและผู้เรียนอภิปรายและสรปุ ผลการเรยี นร้รู ว่ มกัน ขั้นตอนท่ี 4 การติดตามประเมินและแก้ไข (Action : A) 1. ครูสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับเร่ืองท่ีได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้นี้โดยครูสุ่มผู้เรียนตามความ สมคั รใจ จำนวน 2 – 3 คน ใหต้ อบคำถามในประเดน็ ต่อไปน้ี ประเดน็ “ ท่านจะนำความรู้เร่ือง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสทิ ธิใ์ นโลกออนไลน์” แนวคำตอบ ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้เร่ือง ลิขสิทธ์ิท่ีควรรู้และประโยชน์ของ ลิขสิทธิ์ ขั้นตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ประเภทของการละเมิดลิขสิทธิ์ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธ์ิและ ขอ้ ควรรู้หากถูกละเมิดลิขสิทธ์ิ กรณีศึกษา : การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิในโลกออนไลน์ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริงได้ ดังนี้ เร่อื งของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ความหมาย ความสำคัญ และสาระสำคัญของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ การ กระทำความผิดเกี่ยวกบั พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ภัยคกุ ตามทางโลกออนไลน์ เรอ่ื งทค่ี วรรู้ลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของ ลขิ สทิ ธ์ิ ขนั้ ตอนการแจ้งข้อมูลลขิ สิทธ์ปิ ระเภทของการละเมิดลิขสิทธิ์ และบทกำหนดโทษจากการละเมดิ ลิขสิทธ์ิ 2. ครูและผเู้ รยี นอภิปรายและสรปุ ผลการเรยี นรรู้ ่วมกนั เรือ่ ง ลขิ สิทธทิ์ ่คี วรรแู้ ละประโยชนข์ องลขิ สิทธ์ิ ขนั้ ตอนการแจ้งขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ ประเภทของการละเมดิ ลิขสิทธิ์ บทกำหนดโทษจากการละเมิดลขิ สทิ ธิแ์ ละข้อควรรู้ หากถกู ละเมิดลิขสิทธ์ิ กรณศี ึกษา : การละเมิดลิขสิทธิใ์ นโลกออนไลน์ ซ่งึ จะทำให้ผเู้ รยี นเกิดความเขา้ ใจในกจิ กรรม การเรยี นรู้มากยิ่งขึน้ 3. ให้ผู้เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์และลิขสทิ ธใิ์ นโลกออนไลนท่ีควรรู้ จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที 4. ครแู ละผู้เรยี นสรุปภาพรวมสิง่ ทีไ่ ดเ้ รียนรูร้ ่วมกัน นอกจากน้ี ในตอนท้ายของการพบกลุ่ม หลังจากเสร็จส้ินขั้นตอนท่ี 3 ครูมอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วย ตนเอง รายละเอยี ดดังนี้ การมอบหมายงานใหเ้ รยี นรดู้ ้วยตนเอง 1. ครูช้ีแจงให้ผ้เู รียนทราบว่า ในการพบกลมุ่ แตล่ ะครั้งผู้เรยี นจะไดร้ ับมอบหมายงานให้ไปเรียนรู้ด้วยวิธี เรียนรดู้ ้วยตนเองในลกั ษณะที่ครูจะมอบหมายงานให้ผู้เรยี นไปศกึ ษา “หนังสือเรียนรายวชิ ากฎหมายทค่ี วรร้คู โู่ ลก ออนไลน์ สค0200038 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยให้ศึกษา เน้อื หาและปฏบิ ัติกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง รายละเอยี ดของเนื้อหา แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนท่ี 1 เนื้อหาการเรยี นรูต้ ามแผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั นี้ สว่ นที่ 2 เนือ้ หาการเรียนรูเ้ พิ่มเติมในหนังสอื เรียนเรยี นดังกล่าว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook