Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอเชียงกลาง

รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอเชียงกลาง

Description: รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอเชียงกลาง

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report) ประจำปงี บประมาณ 2564 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง อำเภอเชียงกลาง จงั หวดั นา่ น สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดนา่ น สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คำนำ ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ. 2561 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ แต่ละประเภท การศึกษาที่รัฐมนตรีวา่ การกระทวงศกึ ษาธิการประกาศกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี ประกอบกับ กฎกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดระบบหลักเกณฑ์และวิธกี ารประกันคุณภาพภายในสำหรับสถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษานอกระบบพ.ศ. 2555 ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบท่ี กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด2) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี 3) ดำเนินงานตามแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติกรประจำปี 4) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา5)จัดให้มีกรประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี 7) เสนอรายงานประเมินคุณภาพภายในต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หนว่ ยงานต้นสงั กัดและภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน8)นำผลการประเมินคณุ ภาพภายในมาเป็น ส่วนหนึง่ ของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและภาคีเครือข่าย9)จัดระบบ บริหารและสารสนเทศ10)ยดึ หลักการมีส่วนรว่ มของสถานศึกษาบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาภาคเี ครือข่ายและผรู้ ับบรกิ าร ในการนี้ เพื่อเป็นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงดังกล่าวข้างต้นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อำเภอเชียงกลาง จึงได้ดำเนนิ การแต่งต้งั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพื่อประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีร่วมกับผลการดำเนินของ สถานศึกษา และจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เจา้ หน้าที่ และผูท้ ่เี กยี่ วขอ้ ง เพือ่ ประเมนิ คณุ ภาพภายในและจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา พรอ้ มทง้ั ร่วมกนั เสนอแนว ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในปีถดั ไป ทั้งนี้คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องตามสภาพจริงของ สถานศกึ ษาเพอื่ ม่งุ สูก่ ารพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งยัง่ ยืน ลงช่อื (นายนิมติ ร หงสนนั ทน)์ ผอู้ ำนวยการกศน.อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ รกั ษาการในตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการกศน.อำเภอเชยี งกลาง วันท่ี 26 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

ข สารบญั หน้า ก คำนำ ข สารบัญ ง บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหาร 1 บทที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 1 1 • สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 3 • ทศิ ทางและผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 4 • โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา 7 • จำนวนผ้เู รยี น ผูร้ ับบริการ และจำนวนผ้จู ดั การเรียนรู้ 7 • จำนวนบคุ ลากร 8 • งบประมาณ 9 • กศน.ตำบล/ศูนย์การเรยี นรู้ชุมชน 10 • แหล่งเรียนรู้ 12 • ภาคเี ครือขา่ ย 14 • ภมู ิปญั ญา 20 • แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี 22 • รางวัล เกยี รติบตั ร การเชดิ ชูเกยี รตทิ ส่ี ถานศึกษาไดร้ ับ 26 • ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ท่ีผ่านมา • ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 27 จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณท่ีผา่ นมา • ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา จากผลการประเมินคณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน้ สังกัด ครั้งล่าสุด

ค สารบัญ (ต่อ) หน้า • ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา 27 จากผลการประเมินคุณภาพภายนอก ครั้งล่าสุด 31 • คา่ เปา้ หมายของสถานศึกษา 35 บทที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 36 • ผลการประเมินคุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา 68 ขนั้ พ้นื ฐาน 99 120 • ผลการประเมนิ คุณภาพการจัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 152 • ผลการประเมนิ คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย 153 • ผลการประเมนิ คุณภาพคุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา 156 บทที่ 3 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 157 • มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 159 • มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 160 • มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศัย ภาคผนวก 163 • ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่อื การประกนั คุณภาพ 167 ภายในของสถานศึกษา 168 • ค่าเป้าหมายเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตาม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา • คำสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา • คณะทำงาน

ง บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง หมู่ 11 บ้านสบกอน 2 ถนนอดุลย์เดชจรัส ตำบลเชียงกลาง อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 55160 โทรศัพท์ 0 54 71 8658 สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร มีการจดั การศึกษา 3 ประเภท ประกอบด้วย  การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน  การศึกษาตอ่ เนอื่ ง  การศึกษาตามอัธยาศยั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตั้งแต่วันที่ 25 ถึงวันที่ 26 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ซึ่งจากการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สามารถสรุป ได้ดังน้ี สถานศึกษามีผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม อย่ใู นระดบั ดเี ลิศ มคี ะแนนรวมเท่ากับ 85.73 คะแนน และเมอื่ พิจารณาผลการประเมนิ ตนเองตามประเภทการจดั การศึกษาของสถานศึกษา พบวา่ 1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษามีผลการประเมิน ตนเองอยู่ในระดับ ดเี ลิศ มีคะแนนรวมเทา่ กบั 82.07 คะแนน 2. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม มีคะแนนรวมเทา่ กบั 93.80 คะแนน 3. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดเี ลศิ มีคะแนนรวมเทา่ กบั 83.44 คะแนน ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยภาพรวมของสถานศึกษา จึงได้มีการกำหนดแนวทางเพื่อรักษาคุณภาพหรอื พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่สถานศกึ ษาคาดวา่ จะนำไปดำเนินการในปงี บประมาณถัดไป ดังนี้ 1 ) มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ให้มคี ่าเปา้ หมายสงู กว่ากำหนดให้ครบทุกรายวิชาและทกุ สาระการเรยี นรใู้ นแตล่ ะระดับ 2.การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด ระดับภาคและ ระดับประเทศ เพื่อส่งเสริมการแสวงความคิดเห็น การระดมสมองและการนำเสนอกระบวนการคิดวิเคราะห์ ด้วย กระบวนการกล่มุ ผา่ นชิ้นงาน โครงงานและการพฒั นานวัตกรรม

จ 2) มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 1. ด้านหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษาต้องมีการทบทวน หรือตรวจสอบ และประเมินการใช้ หลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่ืองทุกหลักสตู รหลงั การนำไปใชจ้ ดั กระบวนการเรียนรู้ มกี ารปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู ร การศึกษาต่อเนื่องให้สอดคล้องกับสภาพบรบิ ทในปัจจุบันให้ครบทุกหลักสูตรต้องมีการเสนอหลักสูตรการศึกษา ตอ่ เนอ่ื งแก่คณะกรรมการสถานศกึ ษาเพ่อื พิจารณาและเห็นชอบก่อนการนำไปใช้ 2. ด้านสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สถานศึกษาควรมีการทบทวน ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพของสื่อ เพื่อการพัฒนาให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในปัจจุบัน และมีสื่อสำหรับการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น ส่งเสริม วทิ ยากร เรียนรู้ด้านการสรา้ งและใชส้ อื่ ออนไลน์ 3) มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย การพัฒนาบุคลากร ด้านการใช้ สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คณะกรรมการการประเมินตนเองของสถานศึกษา หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า สถานศึกษาจะนำผลการประเมิน จากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาต่อไป ลงช่ือ (นายนิมติ ร หงสนันทน์) ประธานคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา วันที่ 26 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 ทั้งนี้ คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปน็ ที่เรียบร้อยแลว้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานศึกษาจะนำผลการประเมินจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปใช้ เปน็ ข้อมลู ในการกำหนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ ไป ลงชอ่ื (นายมนสั พลหลา้ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา วันที่ 26 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

1 บทท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา  สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ชอื่ สถานศึกษา : ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเชียงกลาง Chiang Klang District Center of the Non-Formal and Informal Education ท่ีอยู่ : หมู่ 11 บา้ นสบกอน 2 ถนนอดลุ ยเ์ ดชจรสั ตำบลเชยี งกลาง อำเภอเชียงกลาง จังหวดั นา่ น 55160 เบอร์โทรศัพท์ : 0 5471 8658 : โทรสาร 0 5471 8658 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] website : http://nan.nfe.go.th/chiangklang/facebook สงั กดั : สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั น่าน สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ  ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา “ เรียนรรู้ ว่ มกัน มงุ่ มนั่ พฒั นา สู่การศกึ ษาตลอดชีวิต น้อมนำเศรษฐกจิ พอเพียง ” วิสัยทัศน์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง มุ่งมั่นจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ประชาชนกล่มุ เป้าหมายใหเ้ ปน็ บคุ คลใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น และแสวงหาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเองสมความต้องการอย่างต่อเนื่อง เพือ่ นำไปส่สู ังคมแห่งการเรยี นรู้ บนพืน้ ฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ ของสถานศึกษา 1. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การตาม หลกั ธรรมาภบิ าล 2. จัดส่งเสริม สนับสนุนประสานงานด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับ ประชาชนในพื้นทีอ่ ยา่ งมีคณุ ภาพและทั่วถงึ 3. สร้างความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และทักษะการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถเรียนรู้ได้จากสื่อ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เพือ่ สนองตอบตามความต้องการการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 4. จัดส่งเสริมสนับสนุน ให้โอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดบริการ การศึกษาด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ครอบคลุม และทั่วถึง เพื่อให้ผู้เรียน ผู้รับบริการมีคุณภาพเป็นไปตาม มาตรฐานทก่ี ำหนด

2 5. สร้างความเข็มแข็งของชุมชนและภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดการศึกษาตามอัธยาศัยโดย บูรณาการ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ และภูมปิ ญั ญาสากลเข้าดว้ ยกัน 6. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับประชาชน กลุ่มเป้าหมายเพอื่ ให้มีคุณธรรม นำความรู้และมที ักษะการดำเนนิ ชีวติ บนพน้ื ฐาน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 7. เร่งรัดการบรหิ ารจัดการระบบประกนั คณุ ภาพใหเ้ กิดผลอยา่ งเป็นรูปธรรม อัตลกั ษณ์ วิถพี อเพยี ง

3 โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา กล่มุ งานอำนวยการ กลุ่มจดั การศึกษานอกระบบและ กลมุ่ ส่งเสริมสนบั สนนุ การศึกษาตามอธั ยาศัย ภาคีเครือขา่ ย - งานธุรการและสารบรรณ -งานสง่ เสริมการรหู้ นังสือ -งานส่งเสริมสนบั สนนุ ภาคี เครือขา่ ย - งานการศึกษานอกระบบ - งานการเงินและบญั ชี ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน - งานกิจการพิเศษ - งานพสั ดุ -งานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง *โครงการอนั เนือ่ งมาจาก - งานบุคลากร *งานการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชพี พระราชดำริ - งานอาคารสถานที่ *งานการศึกษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ *งานกิจกรรมลูกเสอื /ยวุ กาชาด - งานแผนงานและโครงการ *งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคม *งานปอ้ งกนั แก้ไขปัญหายาเสพตดิ - งานประชาสัมพันธ์ ชมุ ชน *งานส่งเสรมิ กจิ กรรมประชาธิปไตย - งานข้อมลู สารสนเทศ/ *งานการจดั การเรยี นรตู้ ามหลัก *งานสง่ เสรมิ การทำวิจยั ชุมชน การรายงาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง *งานสนบั สนนุ สง่ เสรมิ นโยบาย - งานควบคมุ ภายใน -งานการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัด/อำเภอฯ - งานนิเทศภายใน ตดิ ตาม *งานจัดพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ - ฯลฯ และประเมินผล และภูมิปญั ญาท้องถน่ิ -งานประกนั คณุ ภาพภายใน *งานจัดและพฒั นากศน.ตำบล สถานศกึ ษา *งานห้องสมดุ ประชาชน *งานการศึกษาเคล่ือนท่ี *งานบ้านหนงั สือชมุ ชน - งานพัฒนาหลักสูตรสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา -งานทะเบยี นและวัดผล -งานศนู ย์บริการให้คำปรึกษาแนะนำ -งานกจิ กรรมนกั ศึกษา

4  จำนวนผูเ้ รียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้จดั การเรยี นรู้ หลักสตู ร/ประเภท จำนวนผเู้ รยี น (คน) รวมจำนวน จำนวนผจู้ ัดการ ชาย หญงิ (คน) เรียนรู้ (คน) การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 34 110 144 11 - ระดับประถมศึกษา 136 108 244 11 - ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 237 114 351 11 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 407 332 739 33 รวมจำนวน (คน) - 30 52 1 การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 22 44 66 1 1. โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 1.1) 1 อำเภอ 1 อาชพี 5 25 30 5 -6 6 1 - การสานกระเปา๋ จากเส้นพลาสตกิ -6 6 1 - เกษตรผสมผสานโดยวธิ เี กษตร ธรรมชาติ -6 6 1 1.2) พัฒนาอาชีพระยะส้ัน (กลุ่มสนใจ) -6 6 1 - การทำโคมแปดเหลย่ี ม - 12 12 1 - การทำทีร่ องภาชนะจากผา้ - 14 14 2 - การทำดอกกุหลาบจากรบิ บ้นิ -8 8 1 - ขา้ วซี่ - 10 10 1 - การทำขา้ วแคบข้าวเกรียบ - 10 10 1 - การทำไข่เคม็ - การทำไขเ่ ค็มพอกดนิ สอพองใบเตย - การทำบวั ลอยเบญจรงค์ - การทำน้ำยาอเนกประสงค์ - การทำนำ้ ดมื่ สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1.3) ชัน้ เรียนวชิ าชีพ (31 ชั่วโมงข้ึนไป) - 12 12 1 - การเล้ียงจ้ิงหรดี 10 19 29 2 - การเลย้ี งไกไ่ ข่ - 15 15 1 - การทำไม้กวาดดอกหญ้า 11 - 11 1 - การทำฝา้ เพดาน 11 4 15 1 - ช่างทาสีอาคารเบ้ืองต้น 12 - 12 1 - ช่างปูน

5 หลักสตู ร/ประเภท จำนวนผู้เรียน (คน) รวมจำนวน จำนวนผู้จดั การ ชาย หญิง (คน) เรียนรู้ (คน) - ชา่ งทาสี 13 47 60 4 - ช่างเชือ่ ม 12 - 12 1 - การเลีย้ งไก่สามสายเลอื ด 9 15 24 2 - การทำไม้กวาดดอกหญ้าเพ่อื การ 36 24 60 4 พาณชิ ย์และอุตสาหกรรมในครวั เรือน - การเพาะเหด็ นางฟา้ ภูฐาน 10 5 15 1 - การเล้ยี งกบในบอ่ ซีเมนต์ 19 - 19 1 - การเยบ็ ผ้าคลมุ โต๊ะ 2 10 12 1 - การแปรรูปเมล็ดมะม่วงหิมพานตเ์ พื่อ 2 13 15 1 การพาณิชย์ 2. โครงการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญา 36 97 133 6 เศรษฐกิจพอเพียง - โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา 12 33 45 3 เศรษฐกจิ พอเพยี ง - โครงการสง่ เสรมิ การปลูกผกั สวนครัว 6 19 25 2 รอบรัว้ กนิ ได้ - โครงการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์โบกาฉิ 14 16 30 2 จากมลู สตั ว์ - โครงการส่งเสริมการปลูกผกั สวนครวั 10 5 15 1 ตามหลกั เกษตรธรรมชาติ 4 11 15 1 - โครงการทำนำ้ หมักชวี ภาพ - โครงการทำปยุ๋ หมักชวี ภาพแบบแหง้ - 15 15 1 จากเศษกิ่งไม้ และใบไม้แหง้ - โครงการปลกู กระชายขาว สู้ภยั โควดิ 16 74 90 3 และกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 3. โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คม และชุมชน - โครงการพฒั นาศักยภาพ อาสาสมคั รสง่ เสริมสุขภาพประจำตำบล

6 หลักสตู ร/ประเภท จำนวนผู้เรียน (คน) รวมจำนวน จำนวนผู้จดั การ ชาย หญงิ (คน) เรยี นรู้ (คน) 60 2 - โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ - 60 30 1 139 6 ชมุ ชน “ส่งเสริมสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต” 90 3 - โครงการวิถีชุมชนยุคใหม่ใส่ใจ 11 19 60 4 ส่งิ แวดลอ้ ม 50 1 15 1 - โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา 34 105 122 6 124 6 สังคมและชุมชน “สร้างจิตอาสาพัฒนา 15 1 สังคมและชมุ ชน” 52 3 - โครงการสร้างฝายมีชีวิต ป้องกัน 61 29 60 1 30 2 ปญั หาภัยแล้ง - โครงการหมู่บ้านสะอาด ชุมชนปลอดขยะ 25 35 ด้วยกิจกรรมการทำถังหมักรักษ์โลก(Green cone)และกจิ กรรมทำปุ๋ยหมักพชื สด - โครงการจัดทำแนวกนั ไฟป่า - โครงการสร้างคันหินผสมคอนกรีต 22 28 แบบข้ันบันไดเพื่อชุมชนบนพน้ื ที่สูง 12 3 4. โครงการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ - โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ 28 94 ชวี ติ ผู้สูงอายุ - โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการ 14 110 เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid -19) - โครงการส่งเสริมสุขอนามัยและวิธีการ 5 10 ดแู ลตนเอง - โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงในการ 9 43 แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เข้าสู่ชุมชน และกิจกรรมการ จัดทำเจลลา้ งมือผสมแอลกอฮอล์ -การทำแนวป้องกนั ไฟเพ่ือลดปญั หาหมอกควัน 48 12 -โครงการป้องกนั และลดความเส่ียงจากการใช้ 6 24 ยาเสพติดในชุมชน

7 หลกั สตู ร/ประเภท จำนวนผูเ้ รยี น (คน) รวมจำนวน จำนวนผจู้ ดั การ ชาย หญงิ (คน) เรียนรู้ (คน) 45 4 - โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ 19 36 10 1 ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 1,755 100 19) เข้าสู่ชุมชน และกิจกรรมการจัดทำสเปรย์ 167 15 แอลกอฮอล์ 120 15 63 15 -โครงการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัส 6 4 367 15 717 45 โควิด19เข้าสชู่ มุ ชน รวมจำนวน (คน) 562 1,193 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น 77 90 กจิ กรรม“วนั รักการอา่ น” 46 74 อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 30 33 หนว่ ยบรกิ ารเคลือ่ นท่(ี รถโมบาย) 132 235 รวมจำนวน (คน) 285 432 จำนวนบุคลากร ต่ำกวา่ ป.ตรี จำนวน (คน) รวมจำนวน - ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1 ประเภท/ตำแหน่ง - 1 - -1 - 1 ขา้ ราชการครู (ผบู้ ริหาร) 1- - ขา้ ราชการครู 1- - บคุ ลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ - 21 - 3 - ครอู าสาสมคั ร กศน. - 6- - 6 - ครู กศน. ตำบล - 41 - 5 - ครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” - 14 3 - 17 รวมจำนวน  งบประมาณ (ปงี บประมาณท่จี ัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง) - เงนิ งบประมาณ 1,723,295.95 บาท - เงนิ นอกงบประมาณ - บาท รวมจำนวนเงนิ 1,723,295.95 บาท

8  กศน.ตำบล/แขวง/ศนู ย์การเรียนชุมชน กศน.ตำบล/แขวง ทต่ี ั้ง ผู้ประสานงาน/ผู้รบั ผิดชอบ นางสาวลลิตา จิตอารี กศน. ตำบลเปือ หมทู่ ่ี 1 บ้านนาหนุน ตำบลเปือ นางสุรภี การะเกษ นางสาวชมพูนชุ อุ่นใจ อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน นางสาวมยรุ ี อานภุ าพ นางสาวปุณณิชญา มะรินทร์ กศน. ตำบลเชยี งกลาง หม่ทู ี่ 3 บ้านเจดยี ์ ตำบลเชียงกลาง นางสาวชชั ชวรยี ์ ฝีปากเพราะ อำเภอเชยี งกลาง จงั หวัดนา่ น ผูป้ ระสานงาน/ผู้รบั ผดิ ชอบ นายสาร อินต๊ะนัย กศน. ตำบลพระธาตุ หมู่ท่ี 8 บ้านพวงพยอม ตำบลพระธาตุ นางภิญญาพร จกั อะโน อำเภอเชยี งกลาง จงั หวดั น่าน นายพุฒิพงศ์ ไชยราช กศน. ตำบลพระพุทธบาท หมู่ที่ 4 บ้านแหน ตำบลพระพุทธบาท นางสาววิสุดา สรุ ยิ ะพรหม อำเภอเชียงกลาง จังหวดั นา่ น นางสาวสริ ินทร์ลดา ปะระมะ กศน. ตำบลเชียงคาน หมูท่ ี 2 บา้ นใหม่วังเคยี น ตำบลเชียงคาน อำเภอเชยี งกลาง จังหวัดน่าน กศน. ตำบลพญาแกว้ หมู่ท่ี 4 บ้านพญาแกว้ ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จงั หวัดนา่ น ศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาว ท่ตี ้ัง ไทยภูเขา ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาว หมู่ที่ 10 บา้ นหนองปลา ตำบลพระธาตุ ไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” อำเภอเชยี งกลาง จังหวดั นา่ น บ้านหนองปลา ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาว หม่ทู ่ี 8 บา้ นปางก้อ ตำบลเชียงกลาง ไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” อำเภอเชยี งกลาง จังหวดั นา่ น บา้ นปางก้อ ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาว หมทู่ ี่ 6 บ้านเกวต ตำบลพญาแก้ว ไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” อำเภอเชียงกลาง จงั หวัดนา่ น บ้านเกวต ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาว หมู่ที่ 6 บ้านหนอง ตำบลเชียงกลาง ไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” อำเภอเชยี งกลาง จงั หวดั นา่ น บ้านหนอง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาว หมู่ที่ 13 บ้านหว้ ยพา่ น ตำบลเปือ ไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” อำเภอเชยี งกลาง จงั หวดั น่าน บา้ นห้วยพา่ น

9  แหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ ด้าน ทอ่ี ย/ู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ ผรู้ ับผิดชอบ ศิลปกรรม หมู่ 1 ตำบลเปือ นายวโิ รจน์ ฝีปากเพราะ วัดหนองแดง ศาสนาและประเพณี 0890239846 นายธนติ คำวงศ์ เกษตรกรรม ปลอดภยั หมู่ 8 ตำบลเปอื นางบวั แกว้ ซอ้ นพุฒ พระธาตดุ อยแกว้ 0810253925 นายศรีทอน บญุ เกิด ศาสนาและประเพณี 14 หมู่ 10 บ้านกลาง ศนู ยเ์ รียนรปู้ รชั ญาของ เกษตรกรรม นายอนวุ ฒั น์ สลอี ่อน เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ตำบลเปอื ทฤษฎใี หม่ประจำตำบลเปือ การเพาะเห็ดโคนนอ้ ย 0985523639 นางกณั ตมิ าศ สุธีมากลุ เหด็ นางฟ้า หมู่ 1 ตำบลพระธาตุ พระธาตุดอนแกว้ 0810852212 ศาสนาและประเพณี ศูนย์เรียนรปู้ รัชญาของ 25 หมู่ 4 บ้านกลาง เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตร เกษตรกรรม ตำบลพระธาตุ ทฤษฎีใหม่ ประจำตำบลพระ 06 1298 4719 ธาตุ ศาสนาและประเพณี ศาสนาและประเพณี หมู่ 2 ตำบลเชยี งคาน พระธาตุจอมอนิ ทร์ 0810341556 เกษตรทฤษฎีใหม่ ศูนย์เรียนรปู้ รชั ญาของ หมอดินปยุ๋ หมกั 115 หมู่ 3 นายวรี ะชยั กูบกระบี่ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ตำบลเชยี งคาน ทฤษฎใี หมป่ ระจำตำบลเชียง พิธีกรรมความเชอื่ 09 0330 1205 คาน หมู่ 3 ตำบลเชยี งกลาง นายวิรตั น์ อ่นุ ใจ พระธาตุเจดีย์คาว 09 5126 6240 นายณัฐวุฒิ นลิ คง พระธาตจุ อมกติ ติ หมู่ 6 ตำบลพระพุทธบาท 0857124213 ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตร 33 หมู่ 3 บ้านวังทอง นายสายณั ห์ เทพสุคนธ์ ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลพระ ตำบลพระพุทธบาท พทุ ธบาท 08 1020 9033 ศาลเจ้าพ่อพญาไมย หม่1ู 3 ตำบลเชียงกลาง นายมานพ อนิ ทำ 08 1386 1009

10 แหลง่ เรยี นรู้ ดา้ น ท่ีอย/ู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ ผรู้ ับผิดชอบ กลุ่มทอผ้าบ้านเชียงโคม หตั ถกรรม 91 หมู่ 2 ตำบลเชยี งกลาง นางสจุ ริ า เทพอินทร์ กลุ่มทอผ้าบ้านศรอี ดุ ม หตั ถกรรม 09 7931 8598 นางสมเพยี ร เทพ อนิ ทร์ 156 หมู่ 1 ตำบลเชียงกลาง 08 6182 2913 กลุ่มทำขา้ วแคบ แปรรูปอาหาร 120 หมู่ 10 ตำบลเชยี งกลาง นางสมร มจนิ ะ 09 3270 7313 นางสาวบุญตมุ้ อนุ่ ใจ กลมุ่ ทำขา้ วซ่ี แปรรปู อาหาร เกษตรกรรม หมู่ 3 ตำบลเชยี งกลาง นางทบั ทมิ คำเคลื่อน ศูนย์เรียนรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ เกษตรกรรม 08 2187 4729 นางพนิ เวทำ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ นางสอน ธิยะศิริ ประจำตำบลเชยี งกลาง กศน.ตำบลเชยี งกลาง ตำบลเชียงกลาง เศรษฐกจิ พอเพียง 0861152841 สมนุ ไพรพื้นบา้ น แปรรูปสมนุ ไพร 78 หมู่ 1 ตำบลพญาแกว้ เกษตรกรรม 0979865765 ศนู ย์เรียนรูป้ รชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร 153 หมู่ 1ตำบลพญาแก้ว ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลพญา 0932622884 แกว้ กศน.ตำบลพญาแกว้ นางจรญิ ญา อินตะ๊ เม้า ตำบลพญาแก้ว 0922583396  ภาคเี ครอื ขา่ ย ดา้ น ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ ภาคเี ครือข่าย กิจกรรม กศน. 06 3187 9573 กจิ กรรมกศน. หมู่ 11 0 8196 14796 (กลุม่ องคก์ ร และหนว่ ยงาน) สง่ เสรมิ อาชีพ ตำบลเชียงกลาง 06 2549 2229 ทวี่ ่าการอำเภอเชียงกลาง สง่ เสริมอาชพี 0 5479 7162 หมู่ 11 ชมรมกำนนั ผู้ใหญ่บา้ นอำเภอเชยี งกลาง ตำบลเชียงกลาง สำนักงานเกษตรอำเภอเชียงกลาง หมู่ 11 ตำบลเชียงกลาง สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนอำเภอเชียงกลาง หมู่ 11 ตำบลเชยี งกลาง

11 ภาคเี ครอื ขา่ ย ดา้ น ท่อี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ (กลมุ่ องค์กร และหนว่ ยงาน) สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอเชียงกลาง สาธารณสุข หมู่ 11 0 5479 1101 ตำบลเชยี งกลาง โรงพยาบาลเชยี งกลาง สาธารณสุข 09 7918 4142 หมู่ 11 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลบ้านชี สขุ ภาพอนามัย ตำบลเชียงกลาง 0 5473 1758 หมู่ 7 บ้านชี โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลบ้านง้ิว สขุ ภาพอนามัย ตำบลเชียงกลาง 0 5479 7498 หมู่ 7 บ้านชี เทศบาลตำบลเชียงกลาง กจิ กรรม กศน. ตำบลเชยี งกลาง 0 5479 7102 แสงทอง รสี อร์ท ส่งเสริมการอา่ น 08 3707 0555 โรงเรียนเชยี งกลาง“ ประชาพัฒนา” กจิ กรรม กศน. หมู่ 10 080 1277 873 ตำบลเชียงกลาง โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเชียงคาน สุขภาพอนามัย หมู่ 5 ต.เชียงกลาง 0 5470 11061 กลุ่มพฒั นาบทบาทสตรี ตำบลเชียงคาน กิจกรรม กศน. 08 7911 4991 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ ตำบลเปือ สขุ ภาพอนามัย หมู่ 11 0 5479 7121 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ ตำบลบ้านสอ้ สุขภาพอนามัย ตำบลเชยี งกลาง 0 5479 7640 องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเปือ กจิ กรรม กศน. 0 5479 7497 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ ตำบลพระธาตุ สุขภาพอนามัย หมู่ 3 0 5471 8995 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลพระธาตุ กจิ กรรม กศน. ตำบลเชยี งคาน 0 5471 8992 กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรี ตำบลพระธาตุ กจิ กรรม กศน. ตำบลเชียงคาน 09 6725 9204 กลุ่มอาชพี บ้านกลาง สง่ เสริมอาชีพ 08 0296 6284 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลพระพุทธ สขุ ภาพอนามัย หมู่ 11 0 5479 7330 บาท ตำบลเปอื เทศบาลตำบลพระพุทธบาทเชยี งคาน กิจกรรม กศน. หมู่ 9 ตำบลเปือ 08 0123 0695 หมู่ 4 ตำบลเปือ กลุ่มอาชพี บา้ นป่าเลา สง่ เสริมอาชีพ 08 6186 4634 หมู่ 8 ตำบลพระธาตุ หมู่ 8 ตำบลพระธาตุ ตำบลพระธาตุ หมู่ 4 ตำบลพระธาตุ หมู่ 2 ตำบลพระพทุ ธบาท หมู่ 5 ตำบลพระพทุ ธบาท หมู่ 6 ตำบลพระพุทธบาท

12 ภาคเี ครือขา่ ย ดา้ น ทีอ่ ยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ (กลมุ่ องค์กร และหน่วยงาน) สิง่ แวดล้อม บ้านเกวต 0816734877 หนว่ ยจัดการตน้ นำ้ กอน ฝั่งซา้ ย หมู่ 6 ตำบลพญาแกว้ สุขภาพอนามัย 054694595 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพญาแก้ว การศึกษา หมู่ 2 0952896053 ตำบลพญาแก้ว 054730262 ศูนย์การเรยี นชุมชนธรรมชาติ บา้ นห้วยพ่าน สขุ ภาพอนามยั หมู่ 13 ต.เปอื 054718933 สถานบริการสาธารณสุขชมุ ชนบ้านผาน้ำย้อย ส่งเสริมการอ่าน หมู่ 5 ตำบลพญาแก้ว 0843785966 แสงทอง ทอ็ ปเมทลั ชที กิจกรรม กศน. 20หม1ู่ ต.พญาแก้ว 0956930324 องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล เชียงกลางพญาแก้ว โรงเรยี นบา้ นเกวต การศกึ ษา หมู่ 2 ตำบลพญาแก้ว หมู่ 6 ตำบลพญาแกว้  ภมู ปิ ญั ญา ที่อยู่ บุคคล ความรู้ ความสามารถ เบอร์โทรศพั ท์ (ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปญั ญา ผู้นำ) การถกั ไม้กวาดดอกหญ้า เลขท่ี 103 หมู่ 6 โทร 0638937610 นางพร บุญวนั ตำบลเชียงกลาง โทร 0938901972 การถกั ไม้กวาดดอกหญา้ เลขท่ี 76 หมู่ 6 นางสา บุญวนั ตำบลเชียงกลาง โทร - การถกั ไม้กวาดดอกหญา้ เลขที่ 60 หมู่ 8 โทร - นางคำ สตุ ๋า ตำบลเชียงกลาง โทร 0931240379 การสานฆอ้ งพร้าจากเส้น เลขที่ 2 หมู่ 1 โทร 0861822913 นายแสง ไชยโย พลาสตกิ ตำบลเชยี งคาน โทร 0979318598 การทำข้าวซี่ เลขท่ี 141 หม3ู่ โทร 0861152841 นางสาวบุญตุ้ม อนุ่ ใจ ตำบลเชยี งกลาง การทอผา้ เลขที่156 หมู่1 นางสมเพยี ร เทพอนิ ทร์ ตำบลเชียงกลาง การทอผา้ เลขที่ 91 หม2ู่ นางสุจิรา เทพอนิ ทร์ ตำบลเชยี งกลาง ดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี งและ เลขท3ี่ 9 หมู่1 นางทบั ทมิ คำเคลอื่ น เกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลเชยี งกลาง

13 บุคคล ความรู้ ความสามารถ ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ (ปราชญช์ าวบา้ น โทร 092 3838867 ภูมิปญั ญา ผูน้ ำ) - ดา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง เลขที่ 115 หมู่ 3 นายรงุ่ อรณุ ทมินเหมย เกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลเชยี งคาน โทร 081 0209033 - ดา้ นงานศิลปะ โทร 0861864634 นายสายณั ห์ เทพสุคนธ์ ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เลขที่ 33 หมู่ 3 ตำบลพระ โทร 0810852212 และเกษตรทฤษฎีใหม่ พทุ ธบาท โทร 0612984719 นางบวั ลอง นิลคง การทำข้าวแคบ เลขท่ี 21 หมูท่ ี่ 6 โทร - นางวรรณา ใจนอ้ ย ตำบลพระพุทธบาท โทร 08 61841318 การเล้ยี งจ้ิงหรดี เลขท่ี 25 หมทู่ ี่ 1 นายอนวุ ฒั น์ สลีออ่ น โทร 0817060977 การเพาะเห็ดโคมน้อย ตำบลพระธาตุ โทร 063 9671645 นายเหรียญ ใจปิง เลขท่ี 25 หมู่ 4 งานหัตกรรม จักสาน ตำบลพระธาตุ นางสาวรจนา คำยนั ต์ เครอ่ื งดนตรพี ืน้ เมอื ง 16 หมู่ 13 ตำบลเปือ การทำโคมแปดเหลีย่ ม 77 หมู่ 1ตำบลเปือ นางกานดา จิตอารี การทำทรี่ องเขียงจาก เลขท่ี 182/1 หมู่ 11 เศษผา้ ตำบลเปือ นายหาญ ใจน้อย หมอสขู่ วญั /อาจารยว์ ดั เลขท่ี 32 หมู่ /สบื ชะตา 3 ตำบลเปอื

14  แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี (ปีงบประมาณทีจ่ ดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง) โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม จำนวน พ้นื ที่ ระยะ งบ กิจกรรม เป้าหมาย เป้าหม เวลา ประมาณ าย 1.การจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 740 อำเภอ ต.ค.63 616,235 1.โครงการ 1. เพื่อจัดและสนับสนุน ประชาชน คน เชยี งกลาง - สนบั สนนุ การ การศึกษานอกระบบระดับ ทวั่ ไป จดั การ ศึกษา การ ศึกษาขั้นพื้นฐานให้ กับ ก.ย.64 ตั้งแต่อนบุ าล กลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด จนจบการ และขาดโอกาสทางการศึกษา 740 อำเภอ ต.ค. 96,880 ศึกษาขั้น โดยดำเนินการให้ผู้เรียน คน เชยี งกลาง 63 พน้ื ฐาน ได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือ - ตำราเรียน และค่าเล่าเรียน ก.ย.64 อย่างทั่วถึงและเพียงพอเพื่อ เพิ่มโอกาสในการรับการ ศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใชจ้ ่าย 2. เพื่อจัดการประเมิน เพื่อ เทียบระดับการ ศึกษาและ การเทียบโอนความรู้ และ ประสบการณ์ที่มีความ โปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบ ได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความ ต้อง การขอกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2. โครงการ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนต้อง นักศกึ ษา พัฒนาคุณ เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรม กศน.ระดับ ภาพผูเ้ รยี น พัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อ ประถมศึกษา ดำเนินกิจกรรมเสริมสร้าง ระดบั ความสามัคคีบำเพ็ญ มัธยมศกึ ษา

15 โครงการ/ วตั ถุประสงค์ กลุม่ จำนวน พ้ืนที่ ระยะ งบ กิจกรรม เปา้ หมาย เป้าหมาย เวลา ประมาณ ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ตอนตน้ ต.ค. 129,000 63 อ ย ่ า ง ต ่ อ เ น ื ่ อ ง แ ล ะ ระดับ - ก.ย.64 ส่งเสริมการปกครอง มัธยมศึกษา ต.ค. 134,220 ระบอบประชาธิปไตย ตอนปลาย 63 - อันมพี ระมหากษัตริย์ทรง ก.ย.64 เป็นประมุข 3. โครงการ 1.เพื่อลดอัตราการไม่รู้ ประชากรผู้ 236 คน ชมุ ชนในเขต ส่งเสริมการ หนังสือ หรือลืมหนังสือ ไมร่ ู้หนงั สือ/ พน้ื ที่อำเภอ ร้หู นังสือ ที่ไม่จบการศึกษาใน ลมื หนังสือใน เชียงกลาง ระดับประถมศึกษาและ พนื้ ท่ีอำเภอ ยังไม่รู้หนังสือให้สามารถ เชียงกลาง อ่าน เขียนภาษาไทยได้ คิดเลขเป็นเพื่ อเ ป็น พื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพชีวิตและ แสวงหาความรตู้ อ่ ไป 2.การจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง 1.โครงการจัด 1.สง่ เสรมิ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทั่วไป 498 คน ชมุ ชนในเขต การศึกษาเพื่อ ได้เรยี นรู้เกยี่ วกบั การ ศกึ ษา ในพื้นที่อำเภอ พ้นื ที่อำเภอ พัฒนาทักษะ เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต เชียงกลาง เชียงกลาง ชวี ิต 2.สง่ เสรมิ ให้กลุม่ เป้า 2. โครงการจัด หมายไดเ้ รยี นรเู้ กี่ยว การศึกษาเพ่ือ กับการศึกษาเพื่อพัฒนา พัฒนาสังคม พฒั นา สงั คมและชมุ ชน และชมุ ชน 3. โครงการการ 3.ส่งเสรมิ ให้กลุม่ เปา้ หมาย เร ี ยนร ู ้หลัก ดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ปร ั ชญาของ อยา่ งมีความสขุ สอด เศรษฐกจิ คล้องตามหลักปรัชญา พอเพียง ของเศรษฐกจิ พอเพียง

16 โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม จำนวน พ้นื ท่ี ระยะ งบ กจิ กรรม เป้าหมาย เปา้ หมาย เวลา ประมาณ 165,000 3.การจดั การศึกษาเพ่ือชุมชนในเขตภเู ขา - 1.กจิ กรรม 1. เพื่อจัดการศึกษาพื้นฐาน ประชาชน 330คน 5หมบู่ ้านคือ ต.ค. 63 -บ้านหนองปลา - การศึกษา ให้กับประชาชนตง้ั แต่ ระดับ 5หมู่บ้าน หมู่ 10 ก.ย.64 ตำบลพระธาตุ ตอ่ เนื่อง การสื่อสารภาษาไทยการส่ง -บ้านหนองปลา - บ้านหนอง หมู่ 6 การศกึ ษาเพื่อ เสริมการรู้หนังสือการศึกษา -บา้ นหนอง ตำบลเชียงกลาง -บ้านห้วยพา่ น ชุมชนในเขต ระดับประถมศึกษา การ -บ้านห้วยพา่ น หมู่ 13ตำบลเปอื - บ้านเกวต ภเู ขา ศึกษามัธยม ศึกษาตอนต้น -บา้ นเกวต หมู่ 6 ตำบลพญาแกว้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย -บ้านปางก้อ - บ้านปางก้อ หมู่ 8ตำบล 2. เพื่อจัดการศึกษาต่อเนื่อง เชยี งกลาง เช่นกิจ กรรม พัฒนาทักษะ ชีวิตกิจกรรม พัฒนา สังคม และชุมชนกิจกรรมเรียนรู้ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. เพื่อจัดการเรียน รู้ตาม อัธยาศยั ให้แกก่ ลุ่มเป้าหมาย เกิดการเรียนรู้ที่หลาก หลาย เช่นภูมิปัญญาท้องถิ่น การ จ ั ดบ ้ านหน ั งส ื อช ุ มชน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน และม ี ร ู ปแบบการจั ด กจิ กรรมน่าสนใจหลากหลาย 2. โครงการ 1.เพ่อื ฟืน้ ฟปู ่าต้นนำ้ ลำธาร ประชาชน 5 80 คน 5 หมู่บ้าน คือ ต.ค. -บา้ นหนองปลา 63 สร้างปา่ สรา้ ง 2เพื่อลดรายจ่าย สร้าง หม่บู า้ นคอื - บ้านหนอง - - บา้ นหว้ ยพา่ น ก.ย.64 รายได้ รายได้ให้แก่ชาวบ้านใน -บ้านหนองปลา - บ้านเกวต - บ้านปางกอ้ พื้นที่เป้าหมาย - บ้านหนอง 3.เพื่อสร้างจิตสานึกใน -บา้ นหว้ ยพา่ น การดูแลรักษาป่า - บา้ นเกวต 4.เพื่อสร้างชุมชนให้ -บ้านปางกอ้ เขม้ แข็ง

17 โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ จำนวน พ้นื ที่ ระยะ งบ กจิ กรรม เป้าหมาย เปา้ หม เวลา ประมาณ าย 4.การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 1.โครงการ เพื่อสง่ เสริมให้นกั ศกึ ษา น ั ก ศ ึ ก ษ า 12,000 หอ้ งสมุดประ ต.ค. 69,697บาท ส่งเสริมการ และประชาชนได้ใฝ่รู้ใฝ่ ก ศ น . แ ล ะ คน ชาชนอำเภอ 63 อา่ น เรยี นรักการอา่ นรักการ ประ ช า ช น เชยี งกลาง - เขยี น รักการคน้ ควา้ และมี ทั่วไป ชุมชนใน ก.ย.64 ความ คิดสรา้ งสรรค์ อำเภอ เชยี งกลาง 6 ตำบล 2.โครงการ เพื่อส่งเสริมกระบวนการ กศน.ตำบล 6 แหง่ อำเภอเชยี งกลาง ต.ค. 14,280บาท จัดสร้างแหลง่ เรยี นรู้ในการแก้ปัญหาและ 63 เรียนร้ชู มุ ชน พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและ - ในตำบล เสรมิ สร้างความ เข้มแขง็ ก.ย.64 ( จดั ซื้อส่ือ/ ให้กับชมุ ชนโดยมีแหลง่ หนงั สือพิมพ์ เรียนรู้ในชมุ ชนเปน็ กลไกใน สำหรบั กศน. การจัดการเรียนรู้ ตำบล ) 5.โครงการทนุ การศกึ ษาเดก็ สภาวะยากลำบากในเขตพน้ื ท่สี ูงภาคเหนอื 1.โครงการ เพอ่ื จัดสรรทนุ การศึกษา เดก็ สภาวะ 30 คน อำเภอเชยี งกลาง ต.ค. 150,000 ทนุ การศึกษา ให้แกน่ ักเรยี นทกุ ระดับที่ ยากลำบาก (คนละ 63 บาท เด็กสภาวะ ขาดปัจจัยสนบั สนนุ และ ในเขตพืน้ ท่ี 5,000 - ยากลำบากใน ประสบสภาวะยากลำบาก สูงอำเภอ บาท) ก.ย.64 เขตพน้ื ทส่ี ูง ในเขตพ้ืนทส่ี ูงให้ได้รับ เชยี งกลาง ภาคเหนือ โอกาสทางการศึกษาเพื่อ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตท่ีดี สามารถพ่ึงตนเองได้ และ เป็นพลเมืองทด่ี ีทีม่ ีคุณภาพ เพ่ือเปน็ กำลงั สำคัญในการ พฒั นาท้องถิ่น ชุมชนและ ประเทศชาติ

18 โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม จำนวน พื้นท่ี ระยะ งบ กจิ กรรม เป้าหมาย เปา้ หมาย เวลา ประมาณ 6.โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 1.กจิ กรรม 1. เพือ่ จัดการศึกษาอาชพี ประช าช น 29 คน ประชาชนในเขต ต.ค. 118,800 การศึกษาแบบ เพอ่ื การมีงานทำอยา่ ง ท ั ่ ว ไ ป ใ น พื้นทีอำเภอ 63 ชน้ั เรยี นวชิ าชพี ยง่ั ยืน ท่สี อดคล้องกบั พื้นที่อำเภอ เชียงกลาง - ศักยภาพของผรู้ ับบริการ เชยี งกลาง และพนื้ ที่ ตามกรอบการ ประช าช น จัดกิจกรรมศูนยฝ์ ึกอาชีพ ท ั ่ ว ไ ป ใ น ชมุ ชน พื้นที่อำเภอ 2.กจิ กรรม 2. เพ่ือส่งเสรมิ สนบั สนุน เชียงกลาง 144คน ประชาชนใน ก.ย.64 100,800 การศกึ ษา ให้ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ ประช าช น เขตพืน้ ที่ ต.ค. แบบพฒั นา ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ ท ั ่ ว ไ ป ใ น อำเภอเชยี ง 63 อาชีพระยะสนั้ การประกอบอาชพี ไปใช้ พื้นที่อำเภอ กลาง - ประโยชนใ์ นการประกอบ เชียงกลาง อาชีพท่ีสร้างรายได้ไดจ้ รงิ 3.กจิ กรรม 58 คน ประชาชนใน ก.ย.64 52,200 การศกึ ษา เขตพ้ืนท่ี ต.ค. อาชพี 1 อำเภอเชียง 63 อำเภอ1อาชพี กลาง - ก.ย.64 7.โครงการภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชพี 1.โครงการ เพ่ือฝึกทกั ษะการสื่อสารทาง ป ร ะ ช า ช น 24คน ชมุ ชนในเขต ต.ค. 63 28,800 ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษทั้งการฟงั พูด ทั่วไปในพื้นท่ี พ้นื ทอ่ี ำเภอเชียง - เพ่ือการสือ่ สาร อ่านและเขยี นดา้ นอาชพี อำเภอเชียง กลาง ก.ย.64 ดา้ นอาชพี กลาง 8.โครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทัลชุมชน โครงการสร้าง เพือ่ เป็นกลไกการขับเคลื่อน ประชาชน 120 คน ชมุ ชนในเขต ต.ค. 39,600 เครือข่าย นโยบายดจิ ิทลั เพ่อื ท่ัวไปใน พื้นท่ีอำเภอ 63 ดิจทิ ัลชุมชน เศรษฐกิจและสังคมฐาน พ้นื ท่ีอำเภอ เชยี งกลาง - ราก และสร้างโอกาส เชยี งกลาง ก.ย.64 ทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านเครอื ขา่ ยดิจทิ ลั ชมุ ชน

19 โครงการ/ วตั ถุประสงค์ กลมุ่ จำนวน พ้นื ที่ ระยะ งบ กจิ กรรม เป้าหมาย เป้าหมาย เวลา ประมาณ 9.โครงการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โครงการนเิ ทศ 1.เพื่อนิเทศ ติดตาม -กิจกรรม กศน. -กศน.ตำบล ธ.ค.63 ภายใน ประเมินผล รายงานผล กศน.ตำบล ตำบล 6 - สถานศกึ ษา การจัดการศึกษา น อก 6 แห่ง แห่ง -ห้องสมดุ ฯ ก.ย ระบบและการศึกษาตาม -กจิ กรรม ห้องสมุด – ชมุ ชนใน 64 อัธยาศยั ของสถานศึกษา ห้องสมดุ ประชาช พ้นื ท่ี 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน -กิจกรรมการ นจำนวน อำเภอ ครู กศน. และเครือข่าย จดั ศึกษาข้ัน 1 แห่ง เชยี งกลาง การศึกษาให้เป็นไปตาม พ้ืนฐาน มาตรฐานตามระบบ - กิจกรรม ประกันคุณภาพการศกึ ษา การ ศึกษา ต่อเนอ่ื ง

20 รางวัล เกียรติบัตร การเชิดชูเกียรติที่สถานศึกษาได้รับ (ตั้งแต่ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมิน ตนเอง ยอ้ นหลังไปไมเ่ กนิ 3 ปีงบประมาณ) รางวัล เกยี รติบัตร ด้าน/เร่ือง หนว่ ยงาน องค์กรที่มอบ การเชิดชูเกยี รตทิ ส่ี ถานศกึ ษาไดร้ ับ 1. กศน.อำเภอเชียงกลาง มีรอ้ ยละของผู้เข้า การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและ สอบสูงสุด (ระดับสถานศึกษา) ภาคเรียนที่ การศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนอื 2/2563 หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สูงสุดในเขตภาคเหนือ (ร้อยละ90.67) ลำดบั ที่ 3 2. กศน. อำเภอเชียงกลาง ได้รับการ ผลิตภัณฑ/์ บริการ สำนักงาน กศน. จงั หวัดน่าน คัดเลือกผลิตภัณฑ์/บริการ กศน. ดีเด่น สำนักงาน กศน.จังหวัดนา่ น ประจำปี 2564 ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 1 ประเภท อาหาร “ ขา้ วซ่สี มนุ ไพร ” 3. ห้องสมุดประชาชนอำเภอเชียงกลาง สง่ เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศัย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่าน ได้รับการคัดเลือกเป็น “ห้องสมุดชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2564” ของ สำนักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน (จังหวดั ละ 2 แห่ง) 4.ห้องสมุดประชาชนอำเภอเชียงกลาง สง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั สำนกั งาน กศน.จังหวัดนา่ น ได้รับเกียรติบัตร เป็นห้องสมุดประชาชน ตน้ แบบในการส่งเสริมการอ่าน ส่งเสริมการ รู้หนังสือ จาก สำนักงาน กศน.จังหวัดน่าน เมื่อวนั ท่ี 8 กันยายน 2564 5.กศน. อำเภอเชียงกลาง มีผลการคัดเลือก ผลงานวจิ ัย สำนักงาน กศน. จังหวดั น่าน ผลงานวิจัย สำนักงาน กศน.จังหวัดน่าน ประจำปี 2564 เรื่อง ความรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมการจัดการขยะในชุมชนบ้าน ห้วยพ่าน ต.เปือ อ.เชียงกลาง จ.น่าน อยู่ใน เกณฑ์ดีมาก

รางวลั เกยี รตบิ ัตร ด้าน/เรื่อง 21 การเชดิ ชเู กียรตทิ ่สี ถานศกึ ษาได้รบั ภาคีเครอื ขา่ ย 6. ห้องสมุดประชาชนอำเภอเชียงกลาง หนว่ ยงาน องคก์ รท่ีมอบ ได้รับเกียรติบัตร “สนับสนุนการ ดำเนินงานของชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชมรมกำนัน ผใู้ หญ่บ้าน อำเภอเชียงกลาง ประจำปี 2564” จาก อำเภอเชยี งกลาง ชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อำเภอเชียง กลาง เมื่อวนั ที่ 10 สงิ หาคม 2564

22  ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ท่ผี ่านมา 1. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ ท่ผี า่ นมา 1.1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบ 50 38.21 ดเี ลศิ ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 1.1 ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 10 8.00 ดเี ลศิ ที่ดีสอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา 1.2 ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพนื้ ฐานมีคุณธรรม จรยิ ธรรม 10 8.00 ดีเลิศ ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะทดี่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด 1.3 ผเู้ รียนการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความ 5 3.00 ดี คิดเห็นร่วมกับผอู้ น่ื 1.4 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการ 5 3.00 ดี สร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรอื นวตั กรรม 1.5 ผู้เรียนการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานมคี วามสามารถในการใช้ 4 3.40 ดีเลศิ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล 1.6 ผูเ้ รียนการศึกษาขนั้ พื้นฐานมีสขุ ภาวะทางกาย และ 4 3.20 ดีเลิศ สุนทรยี ภาพ 1.7 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการอ่าน 4 3.21 ดีเลิศ การเขยี น 1.8 ผูจ้ บการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานนำความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานท่ี 8 6.40 ดเี ลิศ ได้รับไปใช้ หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบ 20 16.44 ดีเลิศ ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั 2.1 การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบท 5 3.84 ดีเลศิ และความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน ท้องถิน่ 2.2 สอ่ื ท่เี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 5 4.20 ดเี ลิศ 2.3 ครมู คี วามรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ท่เี น้น 5 4.25 ดีเลศิ ผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งเป็น 5 4.15 ดีเลศิ ระบบ

23 มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของ 30 26.20 ดีเลิศ สถานศึกษา 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมสี ่วนรว่ ม 3 2.40 ดีเลิศ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 4 3.60 ดเี ลศิ 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3 3.00 ยอดเยีย่ ม 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ าร 3 3.00 ยอดเยย่ี ม จดั การ 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงาน 3 2.40 ดีเลิศ ของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั หิ น้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่ 3 2.40 ดเี ลิศ เป็นไปตามบทบาทท่กี ำหนด 3.7 การส่งเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยให้มีส่วนร่วมใน 3 3.00 ยอดเยย่ี ม การจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 5 4.00 ดเี ลศิ 3.9 การวจิ ัยเพอื่ การบริหารจดั การศกึ ษาสถานศกึ ษา 3 2.40 ดเี ลิศ รวม 100 80.85 ดเี ลศิ 1.2 ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนท่ไี ด้ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษาตอ่ เนือ่ ง 50 46 ยอดเย่ียม 1.1 ผเู้ รียนการศึกษาต่อเน่ืองมคี วามรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคณุ ธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การ 10 10 ยอดเยย่ี ม จบหลกั สูตร 1.2 ผ้จู บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งสามารถนำความร้ทู ี่ 20 20 ยอดเยี่ยม ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านยิ มรว่ มของสังคม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทีน่ ำความรู้ไปใช้จน 20 16 ดีเลิศ เห็นเป็นประจักษห์ รือตวั อย่างท่ดี ี

24 มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา น้ำหนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดบั คุณภาพ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศกึ ษา 20 15.20 ปานกลาง ต่อเน่ือง 2.1 หลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่องมีคุณภาพ 4 2.80 ดี 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมคี วามรู้ ความสามารถ 4 3.60 ยอดเย่ียม หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 4 2.40 ปานกลาง 2.3 ส่ือทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ 4 2.40 ปานกลาง 4 4.00 ยอดเย่ยี ม 2.4 การวดั และประเมินผลผูเ้ รียนการศกึ ษาต่อเนื่อง 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เนื่องท่มี ี 30 26.20 ดเี ลิศ คณุ ภาพ 3 2.40 ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของ 4 3.60 ดีเลิศ สถานศึกษา 3 3.00 ยอดเยีย่ ม 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมีสว่ นร่วม 3 3.00 ยอดเยย่ี ม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของ สถานศึกษา 3 2.40 ดีเลศิ 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อสนับสนุนการบรหิ าร 3 2.40 ดีเลิศ จัดการ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 3 3.00 ยอดเยี่ยม ของสถานศึกษา 3.6 การปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาท่ี 5 4.00 ดเี ลศิ เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด 3 2.40 ดีเลศิ 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยใหม้ สี ่วนรว่ มใน 100 87.40 ดเี ลศิ การจัดการศึกษา 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการ เรยี นรู้ 3.9 การวจิ ัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา รวม

25 1.3 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษาตาม 50 40 ดีเลศิ อธั ยาศัย 1.1 ผู้รบั บริการมีความรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ 50 40 ดเี ลิศ สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรม การศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 20 16.32 ดเี ลิศ 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 5 4.00 ดเี ลิศ 2.2 ผจู้ ัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรม 5 4.34 ดีเลิศ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ 5 4.00 ดีเลศิ จดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 2.4ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5 3.98 ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของ 30 26.20 ดีเลิศ สถานศึกษา 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ นน้ การมีส่วนรว่ ม 3 2.40 ดีเลศิ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 4 3.60 ดเี ลศิ 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3 3.00 ยอดเยยี่ ม 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือสนบั สนุนการบริหาร 3 3.00 ยอดเยย่ี ม จัดการ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 3 2.40 ดีเลิศ ของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่ 3 2.40 ดีเลศิ เป็นไปตามบทบาททกี่ ำหนด 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคเี ครือข่ายใหม้ ีสว่ นร่วมใน 3 3.00 ยอดเย่ียม การจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 5 4.00 ดีเลศิ 3.9 การวจิ ัยเพื่อการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา 3 2.40 ดีเลศิ รวม 100 82.52 ดีเลิศ

26  ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปงี บประมาณ ทผ่ี า่ นมา การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประเภทการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 1. สถานศึกษาต้องพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ัน พ้นื ฐานให้มีคา่ เปา้ หมายสงู กวา่ กำหนดใหค้ รบทกุ รายวชิ า และทกุ สาระการเรียนรูใ้ นแตล่ ะระดับ 2. พัฒนาบคุ ลากรดา้ นการจดั ทำและการพัฒนา ปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี อยา่ งน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถจัดทำวิจัยในระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษาอย่าง น้อยปลี ะ 1 เร่ือง เพอื่ นำผลการวิจยั ไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา ประเภทการศกึ ษาต่อเน่ือง 1. สถานศึกษาต้องมีการทบทวน หรือตรวจสอบและประเมนิ การใช้หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองทุกหลักสูตร หลังการนำไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ มีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องให้ สอดคล้องกับสภาพบริบทในปัจจุบันให้ครบทุกหลักสูตร และต้องมีการเสนอหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา เพ่ือพจิ ารณาและเห็นชอบก่อนการนำไปใช้ 2. สถานศึกษาควรมีการทบทวน ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของสื่อ เพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการ เรียนร้ใู นปจั จุบนั และมีสอ่ื สำหรับการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย เช่น สง่ เสริมวิทยากร เรียนรู้ด้านการสร้างและ ใชส้ อื่ ออนไลน์ 3. สถานศึกษาต้นสังกัด ควรจัดใหม้ ีการทบทวน ชีแ้ จง สรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกับการดำเนนิ งานตามแนวทาง การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง เป็นประจำทกุ ปี อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้ การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประเภทการศึกษาตามอธั ยาศยั 1. สถานศกึ ษาควรจดั กจิ กรรม/โครงการ เพอื่ การพฒั นาบุคลากรด้านการผลิตส่ือ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับปัจจบุ นั

27  ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา จากผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกดั ครัง้ ล่าสดุ 1. สถานศึกษาไมไ่ ด้รบั การประเมนิ คุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสงั กัด ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา จากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ครง้ั ลา่ สดุ การประเมินคณุ ภาพภายนอก ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศกึ ษาควรระบแุ นวทางในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนท่ีมผี ลสัมฤทธิ์ในรายวิชาที่ตำ่ กว่าค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนดไว้ และนำผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นในทุกดา้ นมาวเิ คราะห์ โดยใชเ้ ทคนิค SWOT เพ่อื หา จุดอ่อน ข้อเสนอแนะ หรือแนวทางการพัฒนาการศึกษา มีการกำหนดเกณฑ์การแปลผล เมื่อวัดและประเมินผล สามารถนำคะแนนที่ได้เทียบกับเกณฑ์สามารถบอกถึงคุณภาพของผู้เรียน และนำเสนอในรูปแบบตาราง ตัวเลข ค่าร้อยละ กราฟ แผนภาพ เป็นต้น เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นสถานศึกษาควรมีการนำเสนอ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนต่อผู้ที่เกี่ยวข้องหลากหลายช่องทาง เช่น การเสนอผ่านสื่อทางออนไลน์ เว็บไซต์ จดหมายข่าวของสถานศกึ ษา หรือสอื่ สง่ิ พิมพ์ตา่ ง ๆ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมในรายงานการประเมินผลตนเอง เก่ียวกับการจัดประสบการณ์ท่ี หลากหลายแก่ครูและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น จัดกิจกรรม PLC ของครูทุกเดือนหรือทุก สัปดาห์ หรืออาจเพิ่มวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลายระหว่างเพื่อนครู เช่น จัดกิจกรรม KM ภายใน สถานศึกษา เพื่อให้ครูผู้สอนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และป้อนกลับข้อมูล เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียน การสอนให้เกิดข้อเสนอแนะที่ครอบคลุมรอบด้านมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ควรระบุรายละเอียดของใบประกอบ วิชาชีพหรอื สำเร็จการศึกษาในสาขาท่ีเกีย่ วข้องและระบุภาระงานสอนเต็มเวลาของครูเพิ่มเติม ควรมีรายละเอียด ในการกำหนดปฏิทิน การนิเทศการสอนระหว่างเพื่อนครู การนิเทศในการจัดประสบการณ์จากผู้เกี่ยวข้อง หรือ จากหน่วยงานต้นสังกัดและมกี ารรายงานให้ผ้ทู ี่เกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายไดร้ ับทราบ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา 1. สถานศึกษาควรระบุแผนพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นไว้ในรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระบุวิธี การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบและมีการเขยี นผลสมั ฤทธิ์ของผูเ้ รยี นตามเป้าหมายการพัฒนาผ้เู รียน ควร ระบุการนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนไปพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น อีกทั้งควรระบุการนำเสนอผลการ ประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนเสนอตอ่ ผทู้ ีเ่ กย่ี วข้อง เช่น ชุมขน กรรมการสถานศกึ ษา ตน้ สังกดั เป็นตน้ 2. สถานศึกษาควรระบุ การนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ สูงขึ้น โดยเปรียบเทียบให้เห็นผลการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง ตัวเลข ค่าร้อยละ กราฟ แผนภูมิ เพือ่ ให้เห็นผลการดำเนินงานในรอบ 1-3 ปีการศึกษา เป็นตน้ และมีแนวทางรักษาผลการพัฒนาท่สี งู ขึน้ ไวอ้ ยา่ งไร

28 ประเมนิ คุณภาพภายนอก ประเภทการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนอื่ ง สถานศกึ ษาควรระบแุ นวทางและวิธกี ารพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นการศึกษาต่อเนื่อง ให้ครอบคลุมทั้งด้านการ พัฒนาอาชีพ การพัฒนาสังคมและชุมชน การพัฒนาทักษะชีวิต และการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยกำหนดเป้าหมายเชิงปริมาณ มีการกำหนดเกณฑ์การแปลผล เมื่อวัดและประเมินผล สามารถนำ คะแนนทีไ่ ด้เทียบกับเกณฑส์ ามารถบอกถึงคุณภาพของผูเ้ รียนได้อย่างชดั เจน นำเสนอในรปู แบบตาราง ตวั เลข ค่า ร้อยละ กราฟ แผนภาพ เปน็ ต้น และสถานศึกษาควรมีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนต่อผู้ท่ีเก่ียวข้อง หลายชอ่ งทาง เช่น การเสนอผา่ นสอ่ื ทางออนไลน์ เวบ็ ไซต์ จดหมายขา่ วของสถานศึกษา หรอื สอ่ื สง่ิ พิมพ์ต่าง ๆ มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เนื่อง สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมในรายงานการประเมินผลตนเอง เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ท่ี หลากหลายแก่วิทยากรและผู้ท่ีเกีย่ วข้อง ให้มีความชดั เจนมากย่งิ ข้ึน เช่น สถานศึกษาควรระบุ การทำแผนการจัด กิจกรรม การศึกษาต่อเนื่องของวิทยากร มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการวัดประเมินผล การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้อย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินมาพัฒนาจัดกระบวนการเรียนรู้ของวทิ ยากรอย่างไร อธิบายวิธีการ เผยแพร่ แลกเปลย่ี นเรยี นรูเ้ พอ่ื การพฒั นา และนำไปปรบั ปรุงคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 1.สถานศึกษาควรระบุแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นไวใ้ นรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระบุวิธี การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นระบบและมีการเขียนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตามเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน ควรระบกุ ารนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนไปพัฒนาดา้ นผลสัมฤทธใิ์ ห้สูงขึ้น อีกทง้ั ควรระบุการนำเสนอผลการ ประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนเสนอต่อผู้ที่เก่ยี วขอ้ ง เชน่ ชุมขน กรรมการสถานศกึ ษา ตน้ สงั กัด เปน็ ต้น 2. สถานศึกษาควรนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียนให้สูงขึ้น โดยเปรียบเทียบ ให้เห็นผลการดำเนินงาน ในรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวเลข ค่าร้อยละ ตาราง กราฟ แผนภูมิ เพื่อให้ เห็นผลการดำเนนิ งานในรอบ 1 – 3 ปีการศกึ ษา และมีแนวทางรักษาผลการพฒั นาทส่ี งู ขึน้ ไว้ด้วย ประเมินคุณภาพภายนอก ประเภทการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูร้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาควรระบุการกำหนดเป้าหมายความพึงพอใจของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้ ครอบคลุมทุกกิจกรรม พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การแปลผล เมื่อมีการวัดและประเมินผลแล้ว สามารถนำคะแนนที่ ได้ไปเทยี บกับเกณฑ์ ก็สามารถบอกไดว้ า่ คะแนนที่ได้เมอื่ เทียบกับเกณฑ์แลว้ มีคุณภาพระดบั ใด และควรระบุวธิ กี าร การนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้ในการพัฒนาการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพที่สูงขึ้น นำเสนอในรูปแบบตาราง ค่าร้อยละ กราฟ แผนภาพ เป็นต้น และสถานศึกษา ควรมีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผู้รับบริการต่อผู้ที่เกี่ยวข้องหลากหลายช่องทาง เช่น การเสนอผ่านสื่อ ทางออนไลน์ เว็บไซต์ จดหมายขา่ วของสถานศกึ ษา หรือส่อื สง่ิ พมิ พ์ต่าง ๆ

29 มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมในรายงานการประเมินผลตนเอง เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ท่ี หลากหลายแก่ผู้จัดกิจกรรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น สถานศึกษาควรระบุ การวางแผน การจัดกิจกรรม มีการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนสื่อ และเทคโนโลยี ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม และมี การแลกเปลี่ยนเรียนรูเ้ พ่อื การพฒั นา และนำไปปรับปรุงคณุ ภาพอย่างเปน็ ระบบ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 1.เมอ่ื สถานศึกษาได้เขียนตวั ชีวัดครบถ้วน ท้งั 5 ตัวช้วี ดั แลว้ เพ่ือให้ได้ผลการประเมินท่สี ูงข้ึน สถานศึกษา ควรมีหลักฐาน หรือข้อมูลแสดงผลการพัฒนาที่สูงขึ้นในช่วง 3 ปีการศึกษา และมีแนวทางรักษาผลการพัฒนาที่ สงู ขึ้นไวด้ ้วย 2. สถานศึกษาควรมีการระบุ ที่ตั้ง ประวัติสถานศึกษาโดยสังเขป โครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง บอกวิธีการประเมินหลักสูตรของสถานศึกษาให้ชัดเจน รวมทั้งเสนอการนำผลจากการ ประเมนิ ในปีทีแ่ ล้วมาใช้พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาอยา่ งไร ควรระบุข้อมลู พืน้ ฐานให้ครบถว้ น ควรมขี อ้ มูลสรุป การมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี ควรระบุแบบอย่างที่ดี (Best Practice) และหรือนวัตกรรม (Innovation) ในทุกมาตรฐาน ทั้งนี้ จากข้อมูลข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ได้จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในระยะเวลาที่ผ่านมา สถานศึกษาจึงได้นำมาวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญพร้อมทั้งนำข้อเสนอแนะ/ แนวทางการพัฒนาที่จัดลำดับไว้มาดำเนินงานในปีงบประมาณนี้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ี 1. ประเภทการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1.1 สถานศึกษาจะดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีความ หลากหลาย โดยสอดแทรกกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณธรรม ในเรื่องของความสามัคคี ความซอื่ สตั ย์ ความกตัญญู ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความมรี ะเบยี บวนิ ัย ยดึ แนวทางการดำเนนิ ชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข และจิตอาสา ส่งเสรมให้ผู้เรียนอยู่ในสังคม ชุมชนอย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณธรรม เป็นไปตามหลักสตู รและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคท์ ี่สอดคล้องกับพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา 1.2 สถานศึกษาจะดำเนินการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการการสอน โดยสอดแทรกความรูค้ ู่ คุณธรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษากำหนดอย่างต่อเนื่อง เน้นการวัดผล ประเมินผลเป็นรายบุคคล 1.3 สถานศึกษาจะดำเนินการ กำหนดแผนงาน โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ไว้ในแผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยยึดความสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ของประเทศ และหน่วยงานตน้ สังกัด เพ่ือส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลทเ่ี หมาะสม เพื่อการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง ชุมชนสังคม การสื่อสาร และการดำรงชีวิต นำระบบเทคโนโลยีเข้ามา บรหิ ารจดั การการเรียนรู้ เพ่ือสรา้ งโอกาสและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กบั ผู้เรยี นอย่างเหมาะสม

30 1.4 สถานศึกษาจะดำเนินการประเมินผลการทดสอบ ให้ทราบผลการเรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ สนใจใฝ่เรียนรู้ โดยเน้นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้พื้นฐานของผูเ้ รียนอยา่ งต่อเนื่องผา่ นใบงาน ชิ้นงาน ผลงานของผู้เรียน ตามกระบวนการหรือขั้นตอนที่กำหนดไวใ้ นแผนการสอนและการเข้าร่วม โครงการต่างๆ ตลอดจนนิเทศตดิ ตามผลผเู้ รียนอย่างต่อเน่อื ง 2. ประเภทการศึกษาต่อเนือ่ ง 2.1 สถานศึกษาจะดำเนินการทบทวน หรือตรวจสอบและประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทุก หลักสูตรหลังการนำไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ มีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องให้สอดคล้องกับสภาพบริบทในปัจจุบันให้ครบทุกหลักสูตร และต้องมีการเสนอหลักสูตร การศกึ ษาตอ่ เน่ืองแกค่ ณะกรรมการสถานศกึ ษา เพื่อพจิ ารณาและเหน็ ชอบกอ่ นการนำไปใช้ 2.2 สถานศกึ ษาจะดำเนนิ การทบทวน ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพของส่ือ เพ่ือพฒั นาใหส้ อดคล้องกับ การเรียนรู้ในปัจจบุ ัน และมีสื่อสำหรับการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย เช่น ส่งเสริมวทิ ยากร เรียนรู้ด้านการ สร้างและใช้สื่อออนไลน์ 2.3 สถานศึกษาจะดำเนินการให้มีการทบทวน ชี้แจง สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานตาม แนวทางการศึกษาต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ให้ครอบคลุมทั้งด้านการพัฒนา อาชีพ การพัฒนาสังคมและชุมชน การพัฒนาทักษะชีวิต และการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3. ประเภทการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3.1 สถานศึกษาจะดำเนินการพัฒนาบุคลากร ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีความรู้ ความสามารถ ในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 3.2 สถานศึกษาจะดำเนินการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบ กิจกรรมทห่ี ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ และเหมาะสมกับความตอ้ งการ ชว่ งวัยของผรู้ บั บรกิ าร 3.3 สถานศกึ ษาจะดำเนินการพฒั นา จดั หาส่ือ อปุ กรณ์ สนบั สนุนการอา่ น การจดั กจิ กรรมการศึกษาตาม อัธยาศยั ในรูปแบบตา่ งๆ

31 ค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษาเพอ่ื ใช้ในการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ตามที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง ได้กำหนด และประกาศ ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ เชียงกลาง เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ลงวันที่ 12 มนี าคม พ.ศ.2563 เพ่ือใชใ้ นการเทียบเคยี ง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกัน คณุ ภาพการศึกษา ไวน้ น้ั เพื่อเป็นการกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ตามแนวทางการประเมินคุณภาพ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงึ มีการกำหนดคา่ เปา้ หมายเก่ยี วกบั ผลลัพธ์ที่จะให้เกิดแก่ผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษาเฉพาะในประเด็นการพิจารณาที่สมควรจัดให้มีการกำหนด คา่ เปา้ หมาย สำหรบั ใชใ้ นการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ไว้ดังน้ี มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ประเด็นการพจิ ารณาที่1.1 ผ้เู รยี นการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทดี่ สี อดคล้องกับ หลกั สูตร สถานศึกษา ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษามีการกำหนดคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาบังคบั ท่ไี วเ้ ปน็ ค่าเป้าหมาย โดยกำหนดจาก  คะแนนเฉลย่ี ผลการสอบปลายภาคเรยี นของผูเ้ รยี น จำนวน 2 ภาคเรยี น หรือ  คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) จำนวน 2 ภาคเรยี น ดังน้ี ทั้งนี้ ในการกำหนดคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาบังคับ เพื่อเป็นค่าเป้าหมาย ให้สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายเฉพาะรายวิชาที่มีแผนการลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในปีที่ สถานศึกษาจัดทำรายงานการประเมินตนเอง โดยใช้คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียน จำนวน 2 ภาคเรียน หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) ที่มีอยู่ ครั้งล่าสุดของแต่ละรายวิชา มาเป็นข้อมูลสารสนเทศ หรือข้อมูลตั้งต้นในการกำหนดค่าคะแนน เป้าหมาย ดงั กลา่ ว

ระดบั /รายวิชา 32 ประถมศึกษา คะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน รายวชิ าบังคบั ท่ี เศรษฐกิจพอเพียง สถานศกึ ษากำหนดไว้เปน็ ค่าเปา้ หมาย(คะแนน) สขุ ศกึ ษา พลศึกษา ศลิ ปศึกษา 26.35 ทกั ษะการเรยี นรู้ 26.00 คณิตศาสตร์ 21.07 วทิ ยาศาสตร์ 19.72 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 22.93 ภาษาไทย 19.50 สงั คมศึกษา 15.50 ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง 23.00 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 20.00 ช่องทางการเขา้ สู่อาชีพ 28.00 ทักษะการประกอบอาชพี 20.25 พฒั นาอาชีพใหม้ ีอยูม่ ีกนิ 17.41 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 18.00 เศรษฐกจิ พอเพียง 20.17 สขุ ศึกษา พลศึกษา ศิลปศกึ ษา 14.63 ทักษะการเรียนรู้ 11.00 คณิตศาสตร์ 17.10 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจำวัน 11.92 ภาษาไทย 10.25 วิทยาศาสตร์ 19.71 สงั คมศึกษา 10.25 ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง 15.00 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 19.37 ชอ่ งทางการพฒั นาอาชพี 19.00 ทกั ษะการพัฒนาอาชีพ 11.12 พฒั นาอาชีพใหม้ ีความเข้มแข็ง 10.00 12.25 13.96

ระดับ/รายวชิ า 33 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายวชิ าบังคับที่ เศรษฐกจิ พอเพียง สถานศกึ ษากำหนดไว้เป็นค่าเป้าหมาย(คะแนน) สขุ ศึกษา พลศึกษา ศิลปศกึ ษา 13.78 ทกั ษะการเรยี นรู้ 23.66 คณติ ศาสตร์ 8.65 ภาษาองั กฤษเพื่อชีวิตและสงั คม 12.86 ภาษาไทย 13.9 วทิ ยาศาสตร์ 12.20 สังคมศึกษา 14.88 ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง 13.84 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 12.63 ช่องทางการขยายอาชพี 15.10 ทักษะการขยายอาชพี 15.39 พัฒนาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง 12.00 15.62 12.02 ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้นื ฐานมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และ คณุ ลกั ษณะที่ดี ตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ หรือเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านที่เกี่ยวข้องกับการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม หรือคุณลักษณะที่ดี จำนวน 14 คน ประเดน็ การพิจารณาที่ 1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อน่ื ค่าเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ คอื สถานศกึ ษาคาดวา่ จะมผี เู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานท่ีมีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้อย่าง ถกู ตอ้ ง สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลย่ี นความคิดเห็นร่วมกบั ผู้อื่นได้ จำนวน 182 คน ประเดน็ การพิจารณาที่ 1.4 ผูเ้ รียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชนิ้ งาน หรอื นวตั กรรม ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผูเ้ รยี นการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานที่สามารถสร้างโครงงาน ช้นิ งาน สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือสง่ิ ใหม่ท่สี ามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริง จำนวน 151 คน

34 ประเด็นการพจิ ารณาที่ 1.8 ผูจ้ บการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานนำความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานที่ไดร้ ับไปใช้ หรอื ประยุกต์ใช้ ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีจำนวนผู้จบการศึกษาตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้ หรือ ประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ การประกอบอาชพี หรือเพ่อื การศกึ ษาต่อในระดับทส่ี งู ข้ึน จำนวน 68 คน มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนื่อง ประเดน็ การพจิ ารณาที่1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่อื งทน่ี ำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเปน็ ประจักษ์หรือ ตัวอย่างทีด่ ี ค่าเป้าหมายท่กี ำหนดไว้ คอื สถานศกึ ษาคาดว่าจะมจี ำนวนผูจ้ บการศึกษา และหรือจำนวนกลุ่ม ผูจ้ บการศกึ ษาต่อเน่ือง ทมี่ ีผลการดำเนนิ งานทเ่ี ห็นเป็นประจักษ์ในพนื้ ท่ี หรอื เปน็ ตวั อย่างทดี่ ี จำนวน 12 คน ทั้งนี้ สถานศึกษาได้กำหนดค่าเป้าหมาย สำหรับใช้ในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เรียบร้อยแลว้

35 บทท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีการจัดการศกึ ษา 3 ประเภท ประกอบด้วย  การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน  การศึกษาต่อเนื่อง  การศึกษาตามอัธยาศยั ซ่งึ ไดม้ กี ารกำหนด และประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาไวแ้ ล้ว เม่ือวนั ที่ 12 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2563 จึงได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประกาศ ณ วนั ที่ 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ซ่งึ มผี ลการประเมินคุณภาพการศึกษา ดงั น้ี

ผลการประเมนิ คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (เฉพาะม มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐานทเี่ น้นผเู้ รยี น มาตรฐานการศกึ ษา/ ค่านำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงา ประเด็นการพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของ 50 ผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 10 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศ อัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง ได้ประเมิน 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นที่ดี อำเภอเชียงกลาง กำหนดค่าเป้าจากคะแน สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร การสอบปลายภาคเรียน 2 ภาคเรียนคือ สถานศกึ ษา ท่ี 2/2562 และ 1/2563 เพื่อเปรียบ คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาค 2/2563 และ 1/2564 มผี ลสัมฤทธิ์ทางก ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โ กำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แล การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับนโย จุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน

36 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และ นเป็นสำคญั ) าน ผลการดำเนนิ งานทเ่ี กดิ ขึน้ ผลการประเมินคณุ ภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานทเี่ กิดขึ้น จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คุณภาพ 39.03 ดีเลศิ ศึกษาตาม ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการ 8.10 ดเี ลศิ นคุณภาพ จัดกระบวน การเรียนรู้ที่ส่งเสริมสนับสนุน โดยกศน. ให้ผู้เรียนการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีผลสมั ฤทธิ์ นนเฉลี่ยผล ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร ภาคเรียน สถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ บเทียบกับ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง คเรียนท่ี ได้ดำเนินการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนท่ี การเรียนท่ี ลงทะเบียนเรียนในทุกระดับ เพื่อให้มี โดยมีการ ความรู้ความสามารถ มีทักษะตาม แผนปฏิบัติ จดุ มุ่งหมายท่กี ำหนดในหลกั สูตรการศึกษา ละวางแผน นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยบายและ พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาบังคับ น.ประจำปี ดงั นี้

มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนกั กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งา ประเด็นการพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา งบประมาณ 2564 โดยจัดการศึกษา เรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดขอ 2019 (COVID – 19) ของสำนักงาน ก หนว่ ยงานต้นสงั กดั

37 าน ผลการดำเนินงานท่เี กดิ ข้นึ ผลการประเมินคณุ ภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานท่เี กิดขนึ้ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง คะแนนทีไ่ ด้ ระดับ คุณภาพ าและการ - ภาคเรียนที่ 2/2563 มีรายวิชาบังคับ องเชื้อไวรัส จำนวน 14 วิชา ได้ผลคะแนนเฉลี่ย สูงกว่า กศน.และ ค่าเป้าจำนวน 11 วิชา คิดเป็นร้อยละ 78.58 ได้ผลคะแนนเฉลี่ย ต่ำกว่า ค่าเป้าหมาย จำนวน 3 วชิ า คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.42 - ภาคเรียนท่ี 1/2564 มีรายวิชาบังคับ จำนวน 14 วิชา ได้ผลคะแนนเฉล่ีย สงู กว่า ค่าเปา้ จำนวน 9 วชิ า คิดเป็นร้อย ละ 64.29 ได้ผลคะแนนเฉลี่ย ต่ำกว่า ค่าเป้าหมายจำนวน 5 วิชาคิดเป็นร้อยละ 35.71 เมอื่ คำนวณค่ารอ้ ยละเฉลยี่ ทม่ี ีคา่ สูง กว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด 2 ภาคเรียน จะ ได้ผลดงั นี้ 78.58+64.29 = 71.43 2 ส่งผลให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง ไดร้ ับเกียรตบิ ตั ร สถานศึกษาทีม่ ีร้อยละ

มาตรฐานการศึกษา/ คา่ นำ้ หนกั กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงา ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา

38 าน ผลการดำเนินงานท่เี กดิ ขึ้น ผลการประเมนิ คุณภาพ และร่องรอย หลกั ฐานทีเ่ กิดขึน้ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ คะแนนทไ่ี ด้ ระดับ คณุ ภาพ ผู้สอบผ่านเกณฑ์การวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนปลายภาคเรียนที่ 2/2563 ร้อยละ 86.99 และมีผลการเข้าสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ 2/2563 อันดับที่ 3 จาก สถาบันพัฒนากศน. ภาคเหนอื พบวา่ มคี า่ คะแนนเฉล่ียผลการ สอบปลายภาคเรียนในรายวิชาบังคับสูง กว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ตั้งแต่ร้อยละ 71.43 โดยมีคะแนนที่ได้จากการประเมิน คณุ ภาพ ที่ 8.10 คะแนน มีคุณภาพอยูใ่ น ระดบั ดีเลิศ ข้อมูล ร่องรอย หลักฐาน 1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. แผนปฏบิ ัติการประจำปี พ.ศ.2564 3. หลักสูตรสถานศึกษา 4. แผนการสอนของครู 5. แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา 6. แบบประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต 7. แบบประเมินคุณธรรม

มาตรฐานการศกึ ษา/ ค่าน้ำหนกั กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงา ประเด็นการพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม อธั ยาศัยอำเภอเชยี งกลาง มีกระบวนการด และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถาน ทส่ี ่งเสรมิ สนับสนุนให้ ผู้เรยี นการศึกษาข ศกึ ษากำหนด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณล ตามที่สถานศึกษากำหนด โดยใช้กระ PDCA มา ดำเนินการเริ่มจากการกำหน โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไว้ใน แผ คุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติงาน มีการ ปฐมนิเทศนักศึกษา กศน.ก่อนเปิด เพื่อชี้แจงให้ทราบถึง กระบวนการจัด การสอน ความรับผิดชอบต่อการเรียน

39 าน ผลการดำเนินงานที่เกิดขนึ้ ผลการประเมินคณุ ภาพ และร่องรอย หลกั ฐานท่เี กิดขนึ้ คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ คณุ ภาพ 8.ผลการประเมนิ คณุ ภาพนอกระบบระดับชาติ 9. คำส่งั 10.รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ 11.ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนน สอบปลายภาค กบั คา่ เปา้ หมาย ปี 2564 12. บันทึกรายงานการนิเทศ 13. เกยี รติบัตรรางวัล 14. ภาพกิจกรรม ศึกษาตาม ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการ 8.05 ดีเลศิ ดำเนินงาน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ข้ันพ้ืนฐาน จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะที่ดี ลักษณะที่ดี ตามท่ี สถานศึกษากำหนด พบว่าผู้เรียน ะบวนการ ที่เข้าร่วมกระบวนการจัดการเรียนรู้ นดแผนงาน ปีงบประมาณ 2564 ตามแผนงาน ผนพัฒนา โครงการที่กำหนดในภาคเรียนที่ 2/256 นประจำปี และ 1/2564 พบว่าสถานศึกษามีจำนวน ดภาคเรียน นักศึกษา 739 คนเมื่อดำเนินการประเมิน ดการเรียน คุณธรรม จริยธรรม ตามแบบประเมิน การวัดผล ทกี่ ศน.อำเภอเชียงกลาง กำหนดข้นึ พบว่า

มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งา ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา ประเมินผล การประเมินคุณธรรมของผ รายบุคคล โดยสังเกตจาก พฤติกรรมกา การเขา้ รว่ มกิจกรรมกับสถานศึกษา ชมุ ช งานตามที่มอบหมาย การเข้าสอบ การป ระเบียบวินัย แต่งกาย การมีน้ำใจต่อ เพอื่ นนักศกึ ษา เป็นต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศ อัธยาศัยอำเภอเชียงกลาง ได้กำหนดก ประเมินพฤติกรรมตามตัว บ่งชี้ในด้าน เพื่อพัฒนาตนเอง ด้านคุณธรรมเพื่อพ ทำงาน และด้านคุณธรรมเพื่อพัฒนาสัง แบบประเมนิ คุณธรรม คุณลกั ษณะอันพ และจริยธรรมที่สอดคล้อง ตามกรอบปร ประเมนิ 11 รายการ ในภาคเรียนท่ี 2/ 2 1/2564 นอกจากน้ียังได้จัดโครงการพัฒ ที่ส่งเสริมให้นกั ศึกษา กศน.มี คุณธรรม มกี ารดำเนินงานตามแผนงาน และโครงก ประเมินผล สรุปผล และรายงานผลการจ อย่างต่อเนื่อง โดยการ จัดโครงการที่ส