Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเตรียมสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรี

คู่มือเตรียมสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรี

Published by suanvang, 2021-07-18 14:27:21

Description: คู่มือเตรียมสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรี

Keywords: คู่มือเตรียมสอบ,นักธรรมตรี

Search

Read the Text Version

คำนำ ค่มู อื เตรยี มสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี เล่มน้ี จดั ทาขน้ึ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นได้อ่านสรุปเน้ือหา-แนวทางตอบปัญหาสนามหลวงทเ่ี คยออก สอบยอ้ นหลงั ๑๒ ปี (พ.ศ.๒๕๕๑-พ.ศ.๒๕๖๒) โดยคดั เลอื กเฉพาะเน้ือหา สาคญั ทเ่ี คยออกสอบ ซง่ึ ผเู้ รยี นควรศกึ ษาจากหนงั สอื เรยี นประกอบไปดว้ ย ภายในเล่มประกอบดว้ ย ๑) วชิ าเรยี งความแก้กระทธู้ รรม ๒) วชิ า ธรรมวภิ าค ๓) วชิ าพุทธประวตั ิ ๔) วชิ าศาสนพธิ ี และ ๕) วชิ าวนิ ยั มุข โดย ผูจ้ ดั ทาไดจ้ ดั ทาส่อื การสอนในระบบออนไลน์ไวด้ ้วย ผูส้ นใจทงั้ ท่เี ป็นผูส้ อน และผเู้ รยี นสามารถตดิ ตามไดท้ เ่ี พจ facebook กองธรรม โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิ ธรรม วดั พระธรรมกาย หรอื คน้ หาคาว่า เกง็ สอบธรรมสนามหลวง ทางช่อง youtube ขอขอบคุณผบู้ รหิ าร คณาจารย์ เจา้ หน้าท่ี โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ นทใ่ี หค้ าแนะนา พรอ้ มทงั้ ความ ช่วยเหลอื สนับสนุนในการจดั พมิ พห์ นังสอื เล่มน้ีจนสาเรจ็ เรยี บรอ้ ยด้วยดที ุก ประการ ขอน้อมอุทศิ บุญกุศลทงั้ หลายอนั จะเกิดขน้ึ แด่มหาปูชนียาจารย์ มารดาบดิ า คณุ ครอู ปุ ัชฌายอ์ าจารยแ์ ละผมู้ พี ระคุณทกุ ท่าน ขอขอบคณุ และอนุโมทนาบญุ กองธรรม โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ก

สำรบญั หน้ำ วิชำกระทู้ธรรม นักธรรมชนั้ ตรี ๑ ๑. ความสาคญั ของวชิ าเรยี งความแกก้ ระทธู้ รรม ๒. วธิ กี ารแต่งกระทธู้ รรม ๑ ๓. องคป์ ระกอบการเขยี นเรยี งความแกก้ ระทธู้ รรม ๘ ๔. ขอบขา่ ยพุทธศาสนสภุ าษติ ระดบั นกั ธรรมชนั้ ตรี ๑๖ ๕. ขอ้ ปฏบิ ตั แิ ละขอ้ หา้ มในการเขยี น ๒๗ ๖. กระทยู้ อดนยิ ม ๔๗ ๗. ตวั อยา่ งการเขยี นอธบิ ายหวั ขอ้ กระทธู้ รรม ๕๐ ๘. อธบิ ายพทุ ธภาษติ ทเ่ี คยออกสอบ สนามหลวง ๕๖ วิชำธรรมวิภำคและคิหิปฏิบตั ิ นักธรรมชนั้ ตรี ๖๐ ทุกะ หมวด ๒ ๖๔ ตกิ ะ หมวด ๓ จตกุ กะ หมวด ๔ ๖๔ ปัญจกะ หมวด ๕ ๗๒ ฉกั กะ หมวด ๖ ๘๘ สตั ตกะ หมวด ๗ ๑๐๑ อฏั ฐกะ หมวด ๘ ๑๑๑ นวกะ หมวด ๙ ๑๑๕ ทสกะ หมวด ๑๐ ๑๑๗ คหิ ปิ ฏบิ ตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ จตุกกะ คอื หมวด ๔ ๑๒๒ คหิ ปิ ฏบิ ตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ ปัญจกะ คอื หมวด ๕ ๑๒๔ คหิ ปิ ฏบิ ตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ ฉกั กะ คอื หมวด ๖ ๑๒๖ วิชำพทุ ธประวตั ิ นักธรรมชนั้ ตรี ๑๓๗ บทนา ๑๔๒ ปรเิ ฉทท่ี ๑ ชมพทู วปี และประชาชน ๑๕๖ ปรเิ ฉทท่ี ๒ สกั กชนบทและศากยวงศ์ ปรเิ ฉทท่ี ๓ พระสทิ ธตั ถราชกุมารประสตู ิ ๑๕๖ ปรเิ ฉทท่ี ๔ เสดจ็ ออกผนวช ๑๕๙ ๑๖๔ ข ๑๖๖ ๑๗๕

สำรบญั หน้ำ ปรเิ ฉทท่ี ๕ ตรสั รู้ ๑๗๙ ปรเิ ฉทท่ี ๖ ปฐมเทศนาและปฐมสาวก ๑๘๖ ปรเิ ฉทท่ี ๗ ประกาศพระศาสนา ๑๙๖ ปรเิ ฉทท่ี ๘ เสดจ็ กรุงราชคฤห์ ๒๐๑ ปรเิ ฉทท่ี ๙ พทุ ธกจิ ในมคธรฐั ๒๐๕ ปรเิ ฉทท่ี ๑๐ เสดจ็ สกั กชนบท ๒๐๘ ปรเิ ฉทท่ี ๑๑ เสดจ็ โกศลชนบท ๒๑๐ ปรเิ ฉทท่ี ๑๒ ปรนิ พิ พาน ๒๑๒ ปรเิ ฉทท่ี ๑๓ ถวายพระเพลงิ ๒๒๐ ปรเิ ฉทท่ี ๑๔ แบ่งพระบรมสารรี กิ ธาตุ ๒๒๒ ปรเิ ฉทท่ี ๑๕ ประเภทแหง่ สมั มาสมั พทุ ธเจดยี ์ ๒๒๔ ปรเิ ฉทท่ี ๑๖ สงั คายนา ๒๒๖ วิชำศำสนพิธี นักธรรมชนั้ ตรี ๒๒๗ หมวดท่ี ๑ กศุ ลพธิ ี หมวดท่ี ๒ บุญพธิ ี ๒๓๑ หมวดท่ี ๓ ทานพธิ ี ๒๓๙ หมวดท่ี ๔ ปกณิ กพธิ ี ๒๔๓ วิชำวินัย นักธรรมชนั้ ตรี ๒๔๖ กณั ฑท์ ่ี ๑ อุปสมั ปทา ๒๕๖ กณั ฑท์ ่ี ๒ พระวนิ ยั กณั ฑท์ ่ี ๓ สกิ ขาบท ๒๕๗ กณั ฑท์ ่ี ๔ ปาราชกิ ๒๖๒ กณั ฑท์ ่ี ๕ สงั ฆาทเิ สส ๒๗๒ กณั ฑท์ ่ี ๖ นิสสคั คยิ ปาจติ ตยี ์ ๒๗๕ กณั ฑท์ ่ี ๗ ปาจติ ตยี ์ ๒๘๔ กณั ฑท์ ่ี ๘ เสขยิ วตั ร ๒๙๖ กณั ฑท์ ่ี ๙ อธกิ รณสมถะ ๓๐๓ บนั ทึก ๓๑๗ ๓๒๖ ค ๓๓๒

กำรจดั สอบธรรมสนำมหลวง นักธรรมชนั้ ตรี ๑. กำหนดกำรสอบนักธรรม กาหนดการสอบนกั ธรรมในแต่ละวนั จะเรมิ่ ทาการสอบ เวลา ๑๓.๐๐ น. ทุกวนั ๆ ละ ๑ วชิ า ทวั่ ราชอาณาจกั ร วนั สอบธรรมสนามหลวง ประโยคนกั ธรรมชนั้ ตรี จะกาหนดตาม ปฏทิ นิ จนั ทรคติ ดงั ตารางท่ี ๑ ดงั น้ี ตำรำงที่ ๑ สรปุ วนั สอบธรรมสนามหลวง ประโยคนกั ธรรมชนั้ ตร๑ี ระดบั ชนั้ วนั สอบ วิชำ เวลำ นั ก ธ ร ร ม ชนั้ ตรี ขน้ึ ๙ ค่า เดอื น ๑๑ เรยี งความแกก้ ระทธู้ รรม ๓ ชวั่ โมง ขน้ึ ๑๐ ค่า เดอื น ๑๑ ธรรมะ ๓ ชวั่ โมง ขน้ึ ๑๑ ค่า เดอื น ๑๑ พุทธะ ๓ ชวั่ โมง ขน้ึ ๑๒ ค่า เดอื น ๑๑ วนิ ยั ๓ ชวั่ โมง ๒. เกณฑก์ ำรวดั ผลและประเมินผล เกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผลการสอบธรรม สนามหลวง ใช้การวดั ผลด้วยการ ตอบปัญหาแบบอตั นยั ผสู้ อบตอ้ งเขา้ สอบครบทุกวชิ าๆ ละ ๑๐๐ คะแนน รวม ๔๐๐ คะแนน โดยมเี กณฑก์ ารประเมนิ ผลว่า ผ่านกบั ไม่ผ่าน โดยกาหนดใหต้ อ้ งสอบไดค้ ะแนนรวม ๒๘๐ คะแนนขน้ึ ไป และตอ้ งไมม่ วี ชิ าใดไดค้ ะแนนต่ากว่า ๒๕ คะแนน ๓. กำรตรวจขอ้ สอบ การตรวจขอ้ สอบนักธรรมชนั้ ตรี จดั ตรวจขอ้ สอบนักธรรมในส่วนภูมภิ าคในเขต ปกครองคณะสงฆ์หนนัน้ ๆ โดยเจ้าคณะจงั หวดั ต่างๆ แต่งตงั้ พระภิกษุผู้เป็นครูสอนพระ ปรยิ ตั ธิ รรมเป็นกรรมการตรวจขอ้ สอบ โดยนิมนตก์ รรมการไปประชุมตรวจขอ้ สอบพรอ้ มกนั ณ สถานทซ่ี ่งึ คณะสงฆก์ าหนด โดยการกากบั ดูแลของเจา้ คณะภาคในเขตปกครองคณะสงฆ์ หนนนั้ ๆ การตรวจขอ้ สอบในปัจจุบนั ใชเ้ วลาอยา่ งน้อย ๕ วนั และเจา้ คณะภาคต่างๆ แจ้งผล การสอบนักธรรมชนั้ ตรไี ปยงั กองธรรมสนามหลวง เพ่อื ดาเนินการออกหนังสอื สาคญั แสดง วุฒกิ ารศกึ ษาตอ่ ไป กาหนดใหต้ รวจไดต้ งั้ แต่วนั แรม ๑ ค่า เดอื น ๑๑ และใหป้ ระกาศผลสอบ ๑ ๑สานกั งานแมก่ องธรรมสนามหลวง, เรื่องสอบธรรมของสนำมหลวงแผนกธรรม พ.ศ. ๒๕๕๖, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พส์ านกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาต,ิ ๒๕๕๖), หน้า ๙๕. ง

นักธรรมชนั้ ตรี ก่อนกาหนดการสง่ บญั ชรี ายช่อื ผขู้ อเขา้ สอบบาลสี นามหลวงประจาปี พรอ้ ม ทงั้ แจง้ เจา้ คณะปกครองเพอ่ื ทราบและตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๔. หลกั ฐำนแสดงวฒุ ิกำรศึกษำ หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศกึ ษา กองธรรมสนามหลวง กาหนดหนังสอื สาคญั อนั เป็น หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกธรรม สาหรบั มอบให้แก่ผู้สอบไล่ได้ นกั ธรรม เรยี กว่า ประกำศนียบตั ร ซง่ึ ออกใหโ้ ดยแมก่ องธรรมสนามหลวง และผอู้ านวยการ สานกั พระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ จ

กระทู้ธรรม นักธรรมชนั้ ตรี เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑ . ค ว า ม สา คั ญ ข อ ง วิ ช า เ รี ย ง ค ว า ม แ ก้ ก ร ะ ทู้ ธ ร ร ม เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 1

ความสาคญั ของวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม ๑.สง่ เสรมิ ความเจรญิ ทางดา้ นจนิ ตนาการ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี น ๒.ทาใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั ลาดบั ความคดิ สามารถถา่ ยทอดความ รสู้ กึ นกึ คดิ ของตนออกมาใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจตามตอ้ งการได้ ๓.รจู้ กั เลอื กถอ้ ยคาสานวนโวหารไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ๔.สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นไดถ้ กู ตอ้ งตามแบบทน่ี ยิ ม เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ประโยชน์ของวิชาเรียงความแก้กระท้ธู รรม ๑.ทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความซาบซง้ึ ในคณุ คา่ ของธรรม ๒.ทาใหผ้ ู้ เรยี นไดเ้ ขา้ ใจถงึ ผลเสยี กลา่ วคอื คณุ และโทษของ การปฏบิ ตั ติ ามและไมป่ ฏบิ ตั ติ ามธรรมะ ๓.ใหเ้ ขา้ ใจในชวี ติ และรจู้ กั แสวงหาความสขุ โดยมธี รรมะเป็น เครอ่ื งชแ้ี นวทาง ๔.ชว่ ยพฒั นาดา้ นจติ ใจของมนุษยใ์ หร้ จู้ กั ผดิ ชอบชวั่ ดี ละความ ชวั่ ประกอบความดี โดยพยายามงดเวน้ ความชวั่ โดยเดด็ ขาด เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 2

หลกั เกณฑใ์ นการแต่งกระท้ธู รรม มหี ลกั สาคญั ในการเขยี นเรยี งความแกก้ ระทธู้ รรม อยู่ ๓ ประการดว้ ยกนั คอื ๑. ตีความหมาย ๒. ขยายความให้ชดั เจน ๓. ตงั้ เกณฑอ์ ธิบาย เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑.ตีความหมาย ไดแ้ ก่ การใหค้ าจากดั ความของธรรมนนั้ วา่ มคี วามหมาย อยา่ งไร เชน่ พทุ ธภาษติ ทว่ี า่ “กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปก”ํ ผทู้ าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผทู้ าํ กรรมชวั ่ ย่อมได้ผลชวั่ ดงั นี้ กใ็ หค้ าจากดั ความคาวา่ “กรรมดี คอื อะไร” “กรรมชวั่ คอื อะไร” ในทน่ี ้ี กรรมดหี มายเอากศุ ลกรรมบถ กรรมชวั่ หมายถงึ อกุศลกรรมบถ ฯลฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 3

๒.ขยายความให้ชดั เจน ไดแ้ ก่ การขยายเน้อื ความของคาซง่ึ ไดใ้ หค้ วามหมายไวแ้ ลว้ คอื กุศลกรรมบถ และ อกุศลกรรมบถ วา่ มอี ยา่ งเทา่ ไร (อยา่ งละ ๑๐ ประการ) เป็นตน้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓.ตงั้ เกณฑอ์ ธิบาย ไดแ้ ก่ การวางโครงรา่ งทจ่ี ะอธบิ ายเน้ือความของเน้ือหาวา่ มี อะไรบา้ ง มผี ลดผี ลเสยี อยา่ งไร มขี อ้ เปรยี บเทยี บหรอื มตี วั อย่าง มาประกอบใหเ้ หน็ เด่นชดั ไดห้ รอื ไม่ และควรจะนบั ถงึ ผลกรรม นัน้ ๆ อย่างไร จงึ จะทาใหผ้ อู้ ่านผูฟ้ ังคล้อยตาม โดยเรยี งเป็น ลาดบั ขนั้ ตอนกอ่ นหลงั ไมส่ บั สนวกไปวนมา เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 4

๑.ข้อใดไมใ่ ช่ความสาคญั ของวิชาเรียงความแก้กระท้ธู รรม ก. สง่ เสรมิ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี น ข. รจู้ กั การจดั ลาดบั ความคดิ ค. รจู้ กั เลอื กถอ้ ยคาสานวนโวหารไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ง. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถอ่านไดถ้ กู ตอ้ ง เฉลย ง. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒.ประโยชน์ของวิชาเรียงความแก้กระท้ธู รรม ขอ้ ใดสาคญั ท่ีสดุ ก. ทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความซาบซง้ึ ในคุณคา่ ของธรรม ข. ทาใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ขา้ ใจถงึ ผลเสยี กลา่ วคอื คุณและโทษ ของการปฏบิ ตั ติ ามและไมป่ ฏบิ ตั ติ ามธรรมะ ค. ใหเ้ ขา้ ใจในชวี ติ และรจู้ กั แสวงหาความสขุ โดยมธี รรมะ เป็นเครอ่ื งชแ้ี นวทาง ง. ชว่ ยพฒั นาดา้ นจติ ใจของมนุษยใ์ หร้ จู้ กั ผดิ ชอบชวั่ ดี ละ ความชวั่ ประกอบความดี โดยพยายามงดเวน้ ความชวั่ โดยเดด็ ขาด เฉลย ง. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 5

๓.ข้อใดไม่ใช่หลกั เกณฑใ์ นการแต่งกระท้ธู รรม ก. ตคี วามหมาย ข. เขยี นใหถ้ กู ตอ้ ง ค. ขยายความใหช้ ดั เจน ง. ตงั้ เกณฑอ์ ธบิ าย เฉลย ข. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔.การตีความหมาย หมายถงึ อยา่ งไร ก. การใหค้ าจากดั ความ ข. การอธบิ ายเน้อื ความ ค. การเลอื กหวั ขอ้ กระทรู้ บั ง. การขยายเน้อื ความ เฉลย ก. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 6

๕.การขยายความให้ชดั เจน หมายถงึ อย่างไร ก. การใหค้ าจากดั ความ ข. การอธบิ ายเน้ือความ ค. การขยายเน้อื ความของคา ง. การเลอื กหวั ขอ้ กระทรู้ บั เฉลย ค. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๖.การตงั้ เกณฑอ์ ธิบาย หมายถึงอย่างไร ก. การใหค้ าจากดั ความ ข. การอธบิ ายเน้อื ความ ค. การวางโครงรา่ งทจ่ี ะอธบิ ายเน้อื ความ ง. การเลอื กหวั ขอ้ กระทรู้ บั เฉลย ค. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 7

๒ . วิ ธี ก า ร แ ต่ ง ก ร ะ ทู้ ธ ร ร ม เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) มีการแต่งกระท้ธู รรมอยู่ ๒ แบบ คือ ๑.แบบตงั้ วง คอื อธบิ ายความหมายของธรรมขอ้ นัน้ ๆ เสยี กอ่ นแลว้ จงึ ขยายความออกไป ๒.แบบตีวง คอื บรรยายเน้ือความไปก่อนแล้ว จงึ วกเขา้ หาความหมายของกระทูธ้ รรมนัน้ ส่วนมากผแู้ ต่งกระทู้ธรรม มกั จะนิยมแต่งแบบท่ี๑ คือ แบบตงั้ วง อธิบายความหมาย ภาษติ นนั้ ก่อนแลว้ จงึ ขยายความใหช้ ดั เจนต่อไป เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 8

ภาษาในการใช้ ๑.ใชภ้ าษาเขยี นทถ่ี กู ตอ้ ง มปี ระธาน มกี รยิ า มกี รรม ๒.ไมใ่ ชภ้ าษาตลาด ภาษาแสลง ๓.ไมใ่ ชภ้ าษาพน้ื เมอื ง หรอื ภาษาทอ้ งถนิ่ ๔.ไมใ่ ชภ้ าษาตา่ งประเทศ เชน่ ภาษาองั กฤษ เป็นตน้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) สานวนในการพรรณนา ใชส้ านวนแบบเทศนาโวหาร มหี ลกั การเขยี น ดงั น้ี ๑.ขอ้ ความทเ่ี ขยี นนนั้ จะตอ้ งมเี หตุผลใชเ้ ป็นหลกั ฐาน อา้ งองิ ได้ ๒.มอี ุทาหรณ์และหลกั คตธิ รรม ๓.ผเู้ ขยี นจะตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ วา่ ตนมลี กั ษณะและคุณสมบตั ิ พอเป็นทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 9

โวหารมี ๔ คือ ๑.พรรณนาโวหาร ไดแ้ ก่ การพรรณนาความ คอื เล่าเร่อื ง ท่ีได้เห็นมาแล้วด้วยความมุ่งหวังให้ไพเราะ เพลิดเพลิน บนั เทงิ ๒.บรรยายโวหาร ไดแ้ ก่ การอธบิ ายขอ้ ความทย่ี ่อซ่ึงยงั เคลอื บแคลงอยใู่ หแ้ จม่ แจง้ หรอื พสิ ดาร ๓.เทศนาโวหาร ได้แก่ การแต่งทานองการสอน คือ ชแ้ี จงหลกั ธรรมนนั้ ๔.สาธกโวหาร ได้แก่ การบรรยายข้อเปรยี บเทียบ คือ นาขอ้ อุปมาอุปไมยมาเทยี บเคยี ง เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หลกั ยอ่ ๆ ที่ควรจา เป็นเกณฑอ์ ธิบายในการแต่งกระทู้ ๑.วิเคราะห์ศพั ท์ คอื การแสดงความหมายของกระทตู้ งั้ แลว้ วางเคา้ โครงทจ่ี ะแต่งตอ่ ไป ๒.ขยายความ คอื การอธบิ ายใหก้ วา้ งออกไปตามแนวกระทตู้ ามเหตุ และผล ๓.เปรียบเทียบ คอื ยกขอ้ ความทต่ี รงขา้ มกนั มาเปรยี บเทยี บเพ่อื ให้ เหน็ ไดช้ ดั ในสงิ่ ทพ่ี ดู ไป ๔.ยกสภุ าษิตรบั คอื การนากระทสู้ ภุ าษติ มารบั มาอา้ ง ๕.ยกตวั อย่าง คอื ยกตวั อย่างธรรมะ หรือบุคคล สถานท่มี าเป็น ตวั อยา่ ง ๖.สรปุ ความ คอื ยอ่ ความทก่ี ล่าวมาแลว้ นัน้ ใหเ้ ขา้ ใจง่าย ก่อนทจ่ี ะ จบกระทู้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 10

๑.การแต่งกระท้ธู รรมมีอย่กู ่ีแบบ ก. ๒ แบบ ข. ๓ แบบ ค. ๔ แบบ ง. ๕ แบบ เฉลย ก. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒.การแต่งกระท้ธู รรมแบบตงั้ วง หมายความว่าอยา่ งไร ก. อธบิ ายความหมายของธรรมก่อนแลว้ จงึ ขยายความออกไป ข. บรรยายเน้อื ความก่อนแลว้ จงึ วกเขา้ หาความหมายของธรรม ค. อธบิ ายความหมายของธรรมก่อนแลว้ จงึ สรปุ ความหมายของธรรม ง. บรรยายเน้อื ความก่อนแลว้ จงึ สรุปความตามหวั ขอ้ ธรรม เฉลย ก. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 11

๓.การแต่งกระท้ธู รรมแบบตีวง หมายความว่าอย่างไร ก. อธบิ ายความหมายของธรรมก่อนแลว้ จงึ ขยายความออกไป ข. บรรยายเน้อื ความก่อนแลว้ จงึ วกเขา้ หาความหมายของธรรม ค. อธบิ ายความหมายของธรรมก่อนแลว้ จงึ สรปุ ความหมายของธรรม ง. บรรยายเน้อื ความก่อนแลว้ จงึ สรุปความตามหวั ขอ้ ธรรม เฉลย ข. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔.การใช้ภาษาข้อใด ไมค่ วรใช้ในการแต่งกระท้ธู รรม ก. ใชภ้ าษาเขยี น ข. ไมใ่ ชภ้ าษาตลาด ค. ใชภ้ าษาพน้ื เมอื ง ง. ไมใ่ ชภ้ าษาต่างประเทศ เฉลย ค. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 12

๕. โวหารในการแต่งกระทู้ มีก่ีอย่าง ก. ๒ อยา่ ง ข. ๓ อย่าง ค. ๔ อยา่ ง ง. ๕ อย่าง เฉลย ค. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๖.พรรณนาโวหาร มีหลกั การเขียนอย่างไร ก. การบรรยายขอ้ เปรยี บเทยี บ ข. การเลา่ เรอ่ื งทไ่ี ดเ้ หน็ มาแลว้ ดว้ ยความมงุ่ หวงั ใหไ้ พเราะ ค. การอธบิ ายขอ้ ความทย่ี อ่ ซง่ึ ยงั เคลอื บแคลงอยใู่ หแ้ จม่ แจง้ ง. การแต่งทานองการสอนชแ้ี จงหลกั ธรรม เฉลย ข. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 13

๗.บรรยายโวหาร มีหลกั การเขียนอย่างไร ก. การบรรยายขอ้ เปรยี บเทยี บ ข. การเล่าเรอ่ื งทไ่ี ดเ้ หน็ มาแลว้ ดว้ ยความมงุ่ หวงั ใหไ้ พเราะ ค. การอธบิ ายขอ้ ความทย่ี ่อซง่ึ ยงั เคลอื บแคลงอยใู่ หแ้ จม่ แจง้ ง. การแต่งทานองการสอนชแ้ี จงหลกั ธรรม เฉลย ค. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๘.เทศนาโวหาร มีหลกั การเขียนอย่างไร ก. การบรรยายขอ้ เปรยี บเทยี บ ข. การเลา่ เรอ่ื งทไ่ี ดเ้ หน็ มาแลว้ ดว้ ยความมงุ่ หวงั ใหไ้ พเราะ ค. การอธบิ ายขอ้ ความทย่ี ่อซง่ึ ยงั เคลอื บแคลงอยใู่ หแ้ จม่ แจง้ ง. การแต่งทานองการสอนชแ้ี จงหลกั ธรรม เฉลย ง. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 14

๙.สาธกโวหาร มีหลกั การเขียนอย่างไร ก. การบรรยายขอ้ เปรยี บเทยี บ ข. การเล่าเรอ่ื งทไ่ี ดเ้ หน็ มาแลว้ ดว้ ยความมงุ่ หวงั ใหไ้ พเราะ ค. การอธบิ ายขอ้ ความทย่ี อ่ ซง่ึ ยงั เคลอื บแคลงอยใู่ หแ้ จ่มแจง้ ง. การแต่งทานองการสอนชแ้ี จงหลกั ธรรม เฉลย ก. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๐.ข้อใดไม่ใช่หลกั เกณฑก์ ารอธิบายในการแต่งกระทู้ ก. วเิ คราะหศ์ พั ท์ ข. สรุปความ ค. ขยายความ ง. ยอ่ ความ เฉลย ง. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 15

๓ . อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ขี ย น เ รี ย ง ค ว า ม แ ก้ ก ร ะ ทู้ ธ ร ร ม เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) องคป์ ระกอบ บทความวิชาการ เรยี งความแก้กระท้ธู รรม ส่วนประกอบตอนต้น ชอ่ื เรอ่ื ง กระทตู้ งั้ บทคดั ยอ่ ส่วนประกอบ ความนา บดั น้ี.... ตอนกลาง เน้อื ความ อธบิ ายความ, คาเชอ่ื มกระทรู้ บั กระทรู้ บั , อธบิ ายความ ส่วนประกอบ บทสรปุ สรปุ ความ ตอนท้าย เอกสารอา้ งองิ กระทตู้ งั้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 16

๑) กระท้ตู งั้ คอื ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มา กอ่ นสาหรบั ใหแ้ ต่งแก้ เช่น สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร. สติเป็นธรรมเคร่อื งตื่นในโลก. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒) คานา คือ คาข้ึนต้นหรือคาช้ีแจงก่อนจะแต่ง ต่อไป กลา่ วคอื เมอ่ื ยกคาถาบทตงั้ ไวแ้ ลว้ เวลาจะแต่งตอ้ ง ขน้ึ อารมั ภบทก่อนวา่ บัดนี้ จักได้บรรยายขยายความตามธรรม ภาษิตท่ีได้ลิขิตไว้ ณ เบอื้ งต้น เพ่ือเป็นแนวทางแห่ง การประพฤติปฏิบตั ิของสาธชุ นผใู้ คร่ในธรรมสืบไป เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 17

๓) เนื้อเร่ืองของกระทู้ตงั้ ตอ้ งมเี น้ือหาสาระสาคญั ลาดบั เน้ือหาสาระให้ต่อเน่ืองกนั เป็นเหตุเป็ นผล โดย ข้ึนต้นด้วยคาว่า “อธิ บายความว่า” ก่อนจบการ อธิบายจะลงท้ายด้วยคาว่า “นี้สมด้วยธรรมภาษิ ต ที่มาใน (ใส่ท่มี าของธรรมภาษิตทน่ี ามารบั ) ว่า” เพ่อื รบั รองไวเ้ ป็นหลกั ฐาน เชน่ นี้ สมด้วยธรรมภาษิ ต ท่ีมาใน สังยุตตนิ กาย สคาถวรรค ว่า เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔) กระทู้รบั คือ ธรรมภาษิตท่ียกข้ึนมารบั รองให้ สมเหตุสมผลกบั กระทูต้ งั้ เพราะการแต่งเรยี งความนัน้ ตอ้ งมกี ระทรู้ บั อา้ งใหส้ มจรงิ กบั เน้ือความทไ่ี ดแ้ ต่งไป มใิ ช่ เขยี นไปแบบลอย ๆ เช่น สติมา สขุ เมธติ. คนมีสติ ย่อมได้รบั ความสขุ . เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 18

๕) เนื้ อเรื่องของกระทู้รับ คือ อธิบายเน้ือหา สาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั โดยขน้ึ ตน้ ดว้ ยคา วา่ “อธิบายความว่า” เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๖) บทสรปุ คอื การรวบรวมใจความสาคญั ของเร่อื ง ทไ่ี ด้อธบิ ายมาแต่ต้น โดยกล่าวสรุปลงสนั้ ๆ หรอื ย่อ ๆ ให้ได้ความหมายท่ีครอบคลุมถึงเน้ือหาท่ีกล่าวมาทงั้ กระทตู้ งั้ และกระทรู้ บั โดยขน้ึ ตน้ ดว้ ยคาว่า “สรปุ ความ ว่า” ก่อนจบการสรุปจะลงท้ายด้วยคาว่า “สมด้วย ธรรมภาษิ ตท่ีได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า” แล้วจึง เขยี นกระทตู้ งั้ พรอ้ มคาแปลอกี ครงั้ หน่ึง เช่น เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 19

สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบอื้ งต้นว่า สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร. สติ เป็ นธรรมเครื่องต่ืนในโลก. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๗) คาลงท้าย คอื ประโยคทเ่ี ป็นการจบการเขียน เรยี งความ จะใชค้ าว่า “มีนัยดงั ได้พรรณนามาด้วย ประการฉะนี้ ฯ” โดยใหเ้ ขยี นขน้ึ บรรทดั ใหมช่ ดิ เสน้ กนั้ หน้า เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 20

๘) จานวนกระทู้รับ คือ จานวนธรรมภาษิตท่ี จะต้องหามาเช่อื มกบั กระทู้ตงั้ สาหรบั ระดบั นักธรรม ชนั้ ตรี ให้ใช้ ๑ ธรรมภาษิต เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๙) จานวนหน้ าท่ี ต้องเขียน คือ การเขียน เรยี งความในกระดาษสอบสนามหลวง F14 เวน้ บรรทดั สาหรับระดับนักธรรมชนั้ ตรี ต้องเขียนอย่างน้อย ๒ หน้ากระดาษข้นึ ไป และห้ามใช้ดินสอหรือปากกาน้า หมึกสีแดงเขียนหรือขีดเส้นโดยเด็ดขาด ให้ใช้ปาก กาน้าหมกึ สนี ้าเงนิ หรอื สดี าเทา่ นนั้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 21

๑๐) การเขียนตวั เลขบอกจานวน หากต้องเขยี น ตวั เลขบอกจานวนขอ้ เช่น ๑)........ ๒)........ ๓)........ ใหใ้ ชต้ วั เลขไทย หา้ มเขยี นตวั เลขอารบคิ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑.กระท้ตู งั้ หมายความถึงข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. คาขน้ึ ตน้ หรอื คาชแ้ี จงก่อนจะแต่งต่อไป ค. ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มาก่อนสาหรบั ใหแ้ ตง่ แก้ ง. อธบิ ายเน้ือหาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ค. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 22

๒.คานา หมายความถงึ ข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. คาขน้ึ ตน้ หรอื คาชแ้ี จงก่อนจะแตง่ ต่อไป ค. ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มาก่อนสาหรบั ใหแ้ ต่งแก้ ง. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ข. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. เนื้อเรือ่ งของกระท้ตู งั้ หมายความถึงข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. อธบิ ายเน้ือหาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มาใหแ้ ก้ ค. ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มาก่อนสาหรบั ใหแ้ ต่งแก้ ง. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ข. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 23

๔. เนื้อเร่อื งของกระท้ตู งั้ ขึน้ ต้นด้วยคาว่าอะไร ก. บดั น้ี ข. อธบิ ายความวา่ ค. สรปุ ความวา่ ง. มนี ยั ดงั ไดพ้ รรณนามาดว้ ยประการฉะน้ี เฉลย ข. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๕.ก่อนจบการอธิบายกระท้ตู งั้ จะลงท้ายด้วยคาว่าอะไร ก. บดั น้จี กั ไดบ้ รรยายขยายความ ข. สมดว้ ยธรรมภาษติ ทไ่ี ดล้ ขิ ติ ไว้ ณ เบอ้ื งตน้ ค. น้สี มดว้ ยธรรมภาษติ ทม่ี าใน ง. มนี ยั ดงั ไดพ้ รรณนามาดว้ ยประการฉะน้ี เฉลย ค. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 24

๖. กระท้รู บั หมายความถึงข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มาใหแ้ ก้ ค. ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มาก่อนสาหรบั ใหแ้ ต่งแก้ ง. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ก. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ณุ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๗. เนื้อเรอ่ื งของกระท้รู บั หมายความถงึ ข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มาใหแ้ ก้ ค. ธรรมภาษติ ทเ่ี ป็นปัญหาทย่ี กขน้ึ มากอ่ นสาหรบั ใหแ้ ตง่ แก้ ง. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ง. เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอติคุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 25

๘. บทสรปุ หมายความถงึ ข้อใด ก. ธรรมภาษติ ทย่ี กขน้ึ มารบั รอง ข. ใจความสาคญั ของเน้ือหาทก่ี ล่าวมาทงั้ กระทตู้ งั้ และกระทรู้ บั ค. ธรรมภาษติ ท่เี ป็นปัญหาท่ยี กข้นึ มาก่อนสาหรบั ให้แต่งแก้ ง. อธบิ ายเน้อื หาสาระสาคญั ของธรรมภาษติ ทย่ี กมารบั เฉลย ข. เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปริยตั ิธรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 26

๔ . ข อ บ ข่ า ย พุ ท ธ ศ า ส น สุ ภ า ษิ ต ร ะ ดั บ นั ก ธ ร ร ม ชั้น ต รี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. อตั ตวรรค คือ หมวดตน ๑. อตตฺ า หเว ชิตํ เสยโฺ ย. ชนะตนนนั่ แหละ เป็นด.ี ข.ุ ธ. ๒๕/๒๙. (คำอำ่ น : อดั -ตำ, หะ-เว, ช-ิ ตงั , ไส-โย) คำวำ่ ชนะตน หมำยถงึ ชนะใจตนเอง ชนะกเิ ลสทห่ี ลอกใหโ้ ลภ ใหโ้ กรธ ใหห้ ลง เพรำะโดยธรรมดำ มนุษยเ์ รำแพก้ เิ ลสอยตู่ ลอดเวลำ กำรชนะภำยนอกนนั้ จงึ ถอื วำ่ เป็นชยั ชนะทไ่ี มป่ ระเสรฐิ อะไร เป็นแต่ เพยี งกำรชงิ ดชี งิ เด่นกนั ตำมกระแสโลกเท่ำนนั้ ชนะแลว้ กก็ ลบั แพไ้ ด้ ไมแ่ น่นอนแต่กำรชนะใจตวั เอง หรอื กำรชนะกเิ ลสทก่ี ลมุ้ รมุ จติ ใจได้ ถอื วำ่ เป็นชยั ชนะทป่ี ระเสรฐิ และเรำจะไดช้ อ่ื วำ่ เป็นผชู้ นะทแ่ี ทจ้ รงิ ไมต่ อ้ งกลบั มำแพอ้ กี ตอ่ ไป และจะไดร้ บั ควำมสขุ ทถ่ี ำวร เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 27

๒. อตตฺ า หิ กิร ททุ ทฺ โม. ไดย้ นิ วา่ ตนแล ฝึกไดย้ าก. ข.ุ ธ. ๒๕/๓๖. (คำอ่ำน : อดั -ตำ, ห,ิ ก-ิ ระ, ทุด-ทะ-โม) คำว่ำ กำรฝึกตน หมำยถงึ กำรฝึกจติ ฝึกใหม้ นั มนั่ คงอย่ใู นคุณ งำมควำมดี ฝึกใหม้ นั ไม่วอกแวกหวนั่ ไหวไปกบั สงิ่ ชวั่ ช้ำเลวทรำม ฝึกไม่ใหต้ กอย่ใู นอำนำจของกเิ ลส พระสมั มำสมั พุทธเจำ้ ตรสั ไวว้ ่ำ ตนเองน่ีแหละ ฝึกยำกนัก เพรำะธรรมชำตขิ องจติ เรำนนั้ มนั มปี กติ ไหลลงต่ำเหมอื นน้ำ ยนิ ดใี นสง่ิ ต่ำ ๆ อยรู่ ่ำไป ย่อมไหลตำมกเิ ลส จงึ ต้องคอยประคบั ประคองใจอยู่ตลอดเวลำ ไม่ใหไ้ หลลงส่ทู ่ตี ่ำ ด้วย หลกั ธรรมมำคอยยกใจใหส้ งู ขน้ึ อยตู่ ลอดเวลำ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. อตตฺ า สทุ นฺโต ปรุ ิสสสฺ โชติ. ตนทฝ่ี ึกดแี ลว้ เป็นแสงสวา่ งของบรุ ษุ . ส.ํ ส. ๑๕/๒๔๘. (คาํ อ่าน : อดั -ตา, ส-ุ ทนั -โต, ป-ุ ร-ิ สดั -สะ, โช-ต)ิ คำว่ำ กำรฝึกตน หมำยถึง กำรฝึกจติ ฝึกให้มนั มนั่ คงอยู่ในคุณ งำมควำมดี ฝึกใหม้ นั ไมว่ อกแวกหวนั่ ไหวไปกบั สงิ่ ชวั่ ช้ำเลวทรำม ฝึก ไม่ให้ตกอยู่ในอำนำจของกเิ ลส ตนท่ฝี ึกดแี ล้วน่ีแหละ จะนำพำเรำ ไปสหู่ นทำงแหง่ ควำมเจรญิ ประดุจแสงสวำ่ งทส่ี อ่ งทำงใหเ้ รำเดนิ เพอ่ื สำรวจตรวจตรำดูว่ำทำงไหนควรเดินทำงไหนไม่ควรเดิน และ สำมำรถเดนิ ไปไดอ้ ยำ่ งถกู ทำงและปลอดภยั อนั น้ีเป็นลกั ษณะของคน ทฝ่ี ึกตนจนเกดิ ปัญญำเป็นแสงสว่ำงทำทำงชวี ติ ย่อมนำพำชวี ติ ของ ตนเขำ้ สคู่ วำมเจรญิ รงุ่ เรอื งได้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 28

๒ . อปั ปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท. ๑.อปปฺ มาโท อมตปํ ท.ํ ความไมป่ ระมาท เป็นทางไมต่ าย. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๑๘. (คาํ อา่ น : อบั -ปะ-มา-โท, อะ-มะ-ตงั , ปะ-ทงั ) ควำมไมป่ ระมำท หมำยถงึ กำรมสี ตกิ ำกบั ตวั อยเู่ สมอ ไม่ว่ำจะคดิ จะพดู จะทำสง่ิ ใดๆ ไมย่ อมถลำลงไปในทำงทเ่ี สอ่ื ม และไม่ยอมพลำด โอกำสในกำรทำควำมดี คำว่ำ ทำงไม่ตำย หมำยถึง พระนิพพำน เพรำะไมต่ อ้ งไปสภู่ พทงั้ ๓ ภพใดภพหน่ึงอกี ต่อไปแลว้ บุคคลทไ่ี มล่ มุ่ หลงมวั เมำ ย่อมเหน็ ควำมจรงิ ของชวี ติ เหน็ สจั ธรรม สำมำรถเข้ำถงึ ธรรมได้ ย่อมได้ประโยชน์ทัง้ ๓ ประกำร คือประโยชน์ในโลกน้ี ประโยชน์ในโลกหน้ำ และประโยชน์อยำ่ งยง่ิ คอื พระนิพพำน เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒.อปปฺ มาทํ ปสสํ นฺติ. บณั ฑติ ยอ่ มสรรเสรญิ ความไมป่ ระมาท. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๑๙. (คาํ อ่าน : อบั -ปะ-มา-ทงั , ปะ-สงั -สนั -ต)ิ ควำมไมป่ ระมำท หมำยถงึ กำรมสี ตกิ ำกบั ตวั อยเู่ สมอ ไม่ว่ำจะคดิ จะพดู จะทำสง่ิ ใดๆ ไม่ยอมถลำลงไปในทำงท่ีเส่อื ม ผเู้ ป็นบณั ฑติ จงึ ไม่ลุ่มหลงมวั เมำในชีวิต ในวยั ในลำภ ในยศ ในคำสรรเสริญ ใน ควำมสุข เพรำะสงิ่ เหล่ำน้ีเป็นของไม่จรี งั ยงั่ ยนื มไี ด้กเ็ สอ่ื มไดเ้ ช่นกนั จงึ ไม่ยอมพลำดโอกำสในกำรทำควำมดี ตระหนักถงึ สง่ิ ทต่ี ้องทำ ถงึ กรรมท่ีต้องเว้น ใส่ใจสำนึกอยู่เสมอในหน้ำท่ี ไม่ปล่อยปละละเลย กระทำอย่ำงจรงิ จงั และดำเนินรุดหน้ำตลอดเวลำ ดงั นัน้ บัณฑติ จึง สรรเสรญิ วำ่ ควำมไมป่ ระมำทน่ีแหละคอื ทรพั ยอ์ นั ประเสรฐิ ทส่ี ดุ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 29

๓.อปปฺ มาเท ปโมทนฺติ. บณั ฑติ ยอ่ มบนั เทงิ ในความไมป่ ระมาท. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๑๘. (คาํ อา่ น : อบั -ปะ-มา-เท, ปะ-โม-ทนั -ต)ิ คำวำ่ บณั ฑติ คอื ผมู้ ปี ัญญำ มคี วำมเฉลยี วฉลำด รู้ประโยชน์และ มใิ ช่ประโยชน์ รู้ผดิ ชอบชวั่ ดี มองเหน็ ควำมไม่มสี ำระแก่นสำรของ ชวี ติ ดงั นัน้ บณั ฑติ จงึ มกั จะใช้ชวี ติ ด้วยควำมไม่ประมำท คอื ไม่ลุ่ม หลงมวั เมำในชวี ติ ในวยั ในลำภ ในยศ ในคำสรรเสรญิ ในควำมสุข เพรำะมองเหน็ แลว้ ว่ำ สงิ่ เหล่ำน้ีเป็นของไม่จรี งั ยงั่ ยืน มไี ดก้ เ็ ส่อื มได้ เช่นกนั จงึ พยำยำมปฏบิ ตั ติ ำมหนทำงทจ่ี ะนำพำตนไปสเู่ ส้นทำงแห่ง พระนิพพำน อนั เป็นเป้ำหมำยสูงสุดในพระพุทธศำสนำ ใช้เวลำให้ คุ้มค่ำท่ีสุด ไม่ประมำท ไม่ปล่อยเวลำให้ล่วงเลยไปโดยเปล่ ำ ประโยชน์ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. กมั มวรรค คือ หมวดกรรม. ๑.สกุ รํ สาธนุ า สาธ.ุ ความดี อนั คนดที าํ งา่ ย. ข.ุ อุ. ๒๕/ ๑๖๗. (คาํ อ่าน : ส-ุ กะ-รงั , สา-ท-ุ นา, สา-ท)ุ ควำมดี คือ กำรกระทำท่ีทำไปแล้วไม่ก่อโทษ ไม่สร้ำงควำม เดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ตนเองและผอู้ ่นื มแี ต่ประโยชน์ คอื เป็นทัง้ ประโยชน์ แก่ตนเอง ประโยชน์แก่ผอู้ ่นื เป็นไปเพ่อื ประโยชน์ในโลกน้ีดว้ ย เพ่อื ประโยชน์ในโลกหน้ำด้วย โดยธรรมดำบุคคลท่เี ป็นคนดี คอื ผู้ท่ที ำ ควำมดอี ย่เู ป็นประจำอย่แู ลว้ ย่อมสำมำรถทจ่ี ะทำควำมดีไดโ้ ดยง่ำย เพรำะเขำทำควำมดอี ย่ปู ระจำ ทำจนชนิ ทำจนเป็นนิสยั จิตใจยอ่ มจะ ยนิ ดใี นกำรสรำ้ งควำมดอี ยตู่ ลอด เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 30

๒. กเรยยฺ วากยฺ ํ อนุกมปฺ กานํ. ควรทาํ ตามถอ้ ยคาํ ของผเู้ อน็ ด.ู ข.ุ ชา. ทสก. ๒๕/ ๒๗๒. (คาํ อ่าน : กะ-ไร-ยะ, วาก-กะ-ยงั , อะ-นุ-กาํ -ปะ-กา-นงั ) คำว่ำ ผู้เอ็นดู หมำยถึง ผู้ท่ีมีควำมปรำรถนำดีต่อเรำ มีควำม สงสำรเรำ อยำกให้เรำพ้นจำกทุกข์ อยำกให้เรำได้ดี อยำกให้เรำ ประสบสง่ิ ทด่ี ี ประสบควำมสำเรจ็ และไมค่ ดิ รำ้ ยต่อเรำ เช่น พอ่ แม่ ท่ี มแี ต่ควำมรกั ควำมปรำรถนำดใี หก้ บั เรำอยำ่ งไม่มเี งอ่ื นไข ครอู ำจำรย์ ผู้ท่ีคอยอบรมสัง่ สอนวิชำให้เรำ อยำกให้เรำมีควำมรู้ มีควำม เจรญิ กำ้ วหน้ำ เป็นตน้ ดงั นนั้ กำรทำตำมคำแนะนำของบุคคลผเู้ อน็ ดู เหลำ่ นนั้ ยอ่ มจะกอ่ ประโยชน์ใหเ้ รำโดยแน่แท้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. อกตํ ทกุ ฺกฏํ เสยโฺ ย. ความชวั่ ไมท่ าํ เสยี เลยดกี วา่ . ข.ุ ธ. ๒๕/๕๖. (คาํ อา่ น : อะ-กะ-ตงั , ทกุ -กะ-ตงั , ไส-โย) ควำมชวั่ คอื สง่ิ ท่ที ำแล้วสร้ำงทุกขส์ ร้ำงโทษ ทำลำยประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมให้ฉิบหำยย่อยยบั ควำมชวั่ เปรียบ เหมือนส่ิงปฏิกูลโสโครก เพรำะเม่ือทำไปแล้วย่อมแปดเป้ื อน สิ่ง ปฏกิ ูลโสโครกนนั้ เม่อื แปดเป้ือนเรำแลว้ ยงั สำมำรถลำ้ งออกใหส้ ะอำด ได้ แต่ควำมชวั่ เม่อื ทำไปแลว้ จะแปดเป้ือนเรำไปอกี นำน ต้องชดใช้ ผลของมนั ใหห้ มดเทำ่ นนั้ จงึ จะหำย เมอ่ื รดู้ งั น้ีแลว้ พึงพจิ ำรณำเหน็ ว่ำ ควำมชวั่ จะสรำ้ งควำมฉิบหำยย่อยยบั ใหเ้ รำ ไม่มคี ุณประโยชน์อนั ใด เลย แลว้ อยำ่ ทำมนั เลยตลอดชวี ติ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 31

๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส. ๑.นตถฺ ิ ราคสโม อคคฺ ิ. ไฟเสมอดว้ ยราคะ ไมม่ .ี ข.ุ ธ. ๒๕- ๔๒, ๔๘. (คาํ อ่าน : นดั -ถ,ิ รา-คะ-สะ-โม, อกั -ค)ิ คำว่ำ ไฟ คอื สง่ิ ทร่ี อ้ นและมปี กตเิ ผำไหม้ มนั อย่ใู กลส้ งิ่ ใดมนั ก็ ไหมส้ ง่ิ นนั้ ใหว้ อดวำยไป แตไ่ ฟธรรมดำสำมญั นนั้ พอมนั ไหมจ้ นเหลอื แต่เถำ้ มนั กม็ อดดบั ไปเอง สว่ นไฟ คอื รำคะ อนั ไดแ้ ก่ ควำมกำหนดั กลดั กลุม้ นัน้ มนั เผำไหมส้ รรพสตั วม์ ำนักต่อนัก มนั เผำไหมจ้ ติ ใจเรำ มำหลำยภพหลำยชำติ ไมย่ อมดบั สกั ที กำรทจ่ี ะดบั ไฟคอื รำคะเสยี ได้ นัน้ ตอ้ งอำศยั กำรเจรญิ อสุภกรรมฐำนและมรณสตมิ ำดบั จงึ จะทำให้ ไฟคอื รำคะเบำบำงลง และสำมำรถดบั ไปในทส่ี ดุ ได้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒.โลโภ ธมมฺ านํ ปริปนฺโถ. ความโลภเป็นอนั ตรายแหง่ ธรรมทงั้ หลาย. ส.ํ ส. ๑๕/ ๕๙. (คาํ อ่าน : โล-โพ, ทาํ -มา-นงั , ปะ-ร-ิ ปัน-โถ) คำวำ่ โลภะ คอื ควำมโลภ หมำยถงึ ควำมอยำกไดข้ อง ๆ ผอู้ ่ืนมำ ครอบครอง หรอื อยำกไดใ้ นทำงทผ่ี ดิ ทำนองคลองธรรม แลว้ แสวงหำ มำดว้ ยวธิ ที ผ่ี ดิ ศลี ธรรม ผดิ กฎหมำยบำ้ นเมอื ง คนทม่ี คี วำมโลภประจำ ใจ ย่อมจะสำมำรถทำควำมชวั่ ทุกอย่ำงได้อย่ำงง่ำยดำย เพยี งเพ่อื สนองควำมตอ้ งกำรของตนเอง ไมค่ ำนึงถงึ ควำมเดอื ดรอ้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั คนอ่นื หรอื แมแ้ ต่ควำมเดอื ดรอ้ นกบั ตนเอง ควำมโลภเป็นตวั ปิดกนั้ กำรบรรลธุ รรมขนั้ สงู คอื ตรำบใดทย่ี งั ถกู ควำมโลภครอบงำอยู่ ยอ่ มไม่ สำมำรถปฏบิ ตั ธิ รรมใหบ้ รรลุคุณธรรมขนั้ สงู ๆ ขน้ึ ไปได้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 32

๓. อิจฉา โลกสมฺ ิ ทชุ ฺชหา. ความอยากละไดย้ ากในโลก. ส.ํ ส. ๑๕/ ๖๑. (คาํ อ่าน : อดิ -ฉา, โล-กดั -สะ-ม,ิ ทุด-ชะ-หา) คำว่ำ ควำมอยำกในท่นี ้ี หมำยถึง ตณั หำ แปลว่ำ ควำมทะยำน อยำก มี ๓ ประกำร คือ ๑)กำมตณั หำ ควำมอยำกในอำรมณ์ท่นี ่ำ ปรำรถนำน่ำพอใจ ๒)ภวตณั หำ ควำมอยำกเป็นโน่นอยำกเป็นน่ี ๓) วิภวตัณหำ ควำมอยำกหลุดจำกสภำวะบำงอย่ำง ตัณหำทัง้ ๓ ประกำรน้ี เป็นสง่ิ ทเ่ี กำะตดิ อย่ใู นใจสรรพสตั ว์ทุกตวั ตนมำตงั้ แต่เกดิ ยำกนกั ทจ่ี ะสลดั ออกใหห้ มดจำกจติ จำกใจได้ กำรทจ่ี ะสลดั ตณั หำออก จำกใจไดห้ มดสน้ิ นัน้ ต้องใชก้ ำรเจรญิ วปิ ัสสนำภำวนำ ตำมแนวทำง สตปิ ัฏฐำน ๔ จงึ จะสำมำรถสลดั ตณั หำทงั้ ปวงใหห้ ลดุ จำกจติ ใจได้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๕. โกธวรรค คือ หมวดโกรธ. ๑. นตถฺ ิ โทสสโม กลิ. ความผดิ เสมอดว้ ยโทสะไมม่ .ี ข.ุ ธ. ๒๕/ ๔๒. (คาํ อ่าน : นดั -ถ,ิ โท-สะ-สะ-โม, กะ-ล)ิ คำว่ำ โทสะ หมำยถงึ ควำมโกรธ ควำมขดั เคอื ง บรรดำควำมผดิ ทงั้ หลำยทงั้ ปวง ท่ำนว่ำ ไม่มคี วำมผดิ ใดจะเสมอเหมอื นกบั โทสะได้ เพรำะโทสะ เป็นมูลเหตุใหค้ นทำควำมผดิ ไดน้ ำนัปกำร เช่น ทำรำ้ ย คนอ่นื ใหไ้ ดร้ บั ควำมเสยี หำยแกร่ ำ่ งกำยและทรพั ยส์ นิ บำงทอี ำจถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ เลยก็มี บำงทกี ็ทำให้เกดิ กำรทะเลำะววิ ำทกนั ทำให้ต้องมี เรอ่ื งมรี ำวไมจ่ บไมส่ น้ิ ดงั นนั้ ควำมผดิ หลำย ๆ อยำ่ ง มมี ลู เหตุมำจำก โทสะ หรอื โทสะทำใหม้ นุษยท์ ำควำมผดิ ไดห้ ลำยอยำ่ ง เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 33

๒.โกธาภิภโู ต กสุ ลํ ชหาติ. ผถู้ กู ความโกรธครอบงาํ ยอ่ มละกุศลเสยี . ข.ุ ชา.ทสก.๒๗/๒๘๖. (คาํ อ่าน : โก-ทา-พ-ิ พ-ู โต, กุ-สะ-ลงั , ชะ-หา-ต)ิ คำว่ำ โทสะ หมำยถึง ควำมโกรธ ควำมขดั เคอื ง คนท่มี กั โกรธ คอื คนท่มี คี วำมโกรธเป็นเจ้ำเรอื น ถูกควำมโกรธครอบงำจติ ใจ จะ เป็นผทู้ ม่ี จี ติ ใจเกรย้ี วกรำด มงุ่ แต่จะทำกรรมทเ่ี ป็นอกุศลฝ่ำยเดยี ว ไม่ นึกถงึ กำรทำกรรมฝ่ำยกุศล คอื คุณงำมควำมดี คนประเภทน้ี เม่อื อยู่ ในโลกน้ีกย็ อ่ มมแี ตท่ ุกข์ ไมส่ ำมำรถหำควำมสขุ ได้ เพรำะไฟโทสะเผำ ผลำญจติ ใจอย่ตู ลอดเวลำ จติ ใจทม่ี ุ่งแต่จะทำอกุศลกรรมเช่นน้ี ย่อม ละกุศลกรรมคอื กรรมฝ่ำยดเี สยี โดยปรยิ ำย เพรำะไมส่ ำมำรถระลึกถงึ กรรมฝ่ำยดี จติ ใจกย็ อ่ มเศรำ้ หมอง เดอื ดรอ้ น เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. โกธํ ฆตวฺ า น โสจติ. ฆา่ ความโกรธได้ ไมเ่ ศรา้ โศก. ส.ํ ส.๑๕/๕๗,๖๔. (คาํ อา่ น : โก-ทงั , คดั -ตะ-วา, นะ, โส-จะ-ต)ิ คำวำ่ โทสะ หมำยถงึ ควำมโกรธ ควำมขดั เคอื ง ควำมโกรธทำให้ จติ ใจเศรำ้ หมอง เมอ่ื โกรธแลว้ ยอ่ มรอ้ นรมุ่ กระวนกระวำย ไม่เป็นอนั หลบั ไม่เป็นอนั นอน คนทม่ี กั โกรธเป็นคนเจ้ำโทสะ บำงครัง้ อำจจะ หลงไปทำควำมผิด ทำสง่ิ ท่ีผิดกฎหมำยบ้ำนเมือง ย่อมทำให้เกิด ควำมเศรำ้ โศกเสยี ใจในภำยหลงั ได้ บุคคลฆำ่ ควำมโกรธเสยี ได้ ไม่มี ควำมโกรธครอบงำจติ ใจ กไ็ ม่ต้องไปทำตำมอำนำจของควำมโกรธ และไมต่ อ้ งมำเศรำ้ โศกเสยี ใจในภำยหลงั เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 34

๖. ขนั ติวรรค คือ หมวดอดทน ๑.ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกขฺ า. ขนั ติ คอื ความอดทน เป็นตบะอยา่ งยง่ิ . ข.ุ ธ.๒๕/ ๔๐. (คาํ อา่ น : ขนั -ต,ี ปะ-ระ-มงั , ตะ-โป, ต-ี ตกิ -ขา) คำว่ำ ขนั ติ คอื ควำมอดทน อำกำรทไ่ี มห่ วนั่ ไหว ทนอยู่ได้ ไมต่ ก อยใู่ นอำนำจของกเิ ลสทค่ี รอบงำจติ ใจ ขนั ตเิ ป็นตบะธรรมอยำ่ งยงิ่ คอื เป็นเคร่อื งเผำผลำญกเิ ลส เม่อื เกดิ กเิ ลส คอื ควำมโลภ ควำมโกรธ หรอื ควำมหลง ขนั ติจะเป็นตวั ท่ยี บั ยงั้ กิเลสไม่ให้ลุกลำม เม่อื กิเลส ลุกลำมไมไ่ ด้ กจ็ ะเบำบำงลง และเรำสำมำรถใชห้ ลกั ธรรมขอ้ อ่นื ๆ ท่ี เป็นปฏปิ ักษ์ต่อกเิ ลสตวั นนั้ ๆ มำทำลำยมนั เสยี ได้ ก็จะทำใหเ้ รำหลุด พน้ จำกอำนำจของกเิ ลสได้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒.ขนฺติพลา สมณพรฺ าหมฺ ณา. สมณพราหมณ์ มคี วามอดทนเป็นกาํ ลงั . องฺ. อฏฐก.๒๓/ ๒๒๗. (คาํ อา่ น : ขนั -ต-ิ พะ-ลา, สะ-มะ-นะ-พราม-มะ-นา) คำว่ำ ขนั ติ คอื ควำมอดทน อำกำรทไ่ี ม่หวนั่ ไหว สมณพรำหมณ์ หมำยถงึ ผทู้ ล่ี ะทำงโลกออกบวชเพอ่ื แสวงหำทำงหลุดพน้ จำกทุกขใ์ น วฏั สงสำร พยำยำมปฏบิ ตั ขิ ดั เกลำจติ ใจตน ใหพ้ น้ จำกควำมเป็ นทำส ของกิเลสตัณหำ ควำมอดทนเป็นคุณธรรมข้อหน่ึงท่ีช่วยให้สมณ พรำหมณ์สำมำรถอดทนอดกลนั้ ไม่ใหห้ ลงยนิ ดยี นิ รำ้ ยในกำมคุณคอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตำ หู จมกู ล้ิน กำย สำมำรถท่ี จะระงบั ยบั ยงั้ อำรมณ์ โลภ โกรธ หลง เอำไวไ้ ด้ และไมท่ ำตำมอำนำจ ของกเิ ลส เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 35

๗. จิตตวรรค คือ หมวดจิต ๑. จิตตฺ ํ คตุ ตฺ ํ สขุ าวห.ํ จติ ทค่ี ุม้ ครองแลว้ นําสขุ มาให.้ ข.ุ ธ. ๒๕/ ๑๙. (คาํ อา่ น : จดิ -ตงั , คุด-ตงั , ส-ุ ขา-วะ-หงั ) คำว่ำ จิตท่ีคุ้มครองดีแล้ว คือ จิตท่ีถูกรกั ษำคุ้มครองไว้ไม่ให้ หวนั่ ไหวไปตำมอำรมณ์ของโลก ในเมอ่ื ถูกอำรมณ์ต่ำง ๆ เหล่ำนนั้ มำ กระทบ ไม่ว่ำจะเป็ นอำรมณ์ท่ีน่ำปรำรถนำ หรืออำรมณ์ท่ีไม่น่ำ ปรำรถนำก็ตำม บุคคลมจี ิตอนั คุ้มครองดีแล้วย่อมไม่ยนิ ดียนิ ร้ำย เวลำตำเหน็ รูป หูได้ยนิ เสยี ง จมูกได้กลนิ่ ล้นิ ได้ล้มิ รส กำยถูกต้อง สมั ผสั ใจรบั รูธ้ รรมำรมณ์ จติ ย่อมจะเยอื กเยน็ เป็นสุข ไม่ซดั ส่ำยไป ตำมอำรมณ์ของโลกทไ่ี มม่ คี วำมแน่นอน เปลย่ี นแปรไปมำตลอดเวลำ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. จิตเฺ ตน นียติ โลโก. โลกอนั จติ ยอ่ มนําไป. ส.ํ ส. ๑๕/ ๕๔. (คาํ อา่ น : จดิ -เต-นะ, นี-ยะ-ต,ิ โล-โก) คำว่ำ โลก หมำยถึง สตั ว์โลกทงั้ หลำย ไม่ว่ำจะเป็นมนุษย์หรอื สตั ว์เดรจั ฉำนกต็ ำม ย่อมถูกจติ ชกั จูงไป จะทำดกี เ็ พรำะจิตชกั จูงให้ ทำ จะทำชวั่ กเ็ พรำะจติ ชกั จูงใหท้ ำ เม่อื ละจำกโลกน้ีไปแล้ว จะไปสู่ สุคติหรอื ทุคติ กจ็ ติ น่ีแหละเป็นตวั นำไป โบรำณท่ำนกล่ำวไว้ว่ำ จติ เป็นนำย กำยเป็นบ่ำว คอื ไม่ว่ำเรำจะทำอะไรก็แล้วแต่ เรำทำตำม อำนำจของจติ จติ เป็นตวั สงั่ กำร กำยเป็นผตู้ อบสนอง คอื ทำทุกอย่ำง ตำมทจ่ี ติ สงั่ จติ สงั่ ใหท้ ำดี กำยกท็ ำดี จติ สงั่ ให้ทำชวั่ กำยกท็ ำชวั่ เหตุ นนั้ ทำ่ นจงึ กลำ่ ววำ่ โลกอนั จติ ยอ่ มนำไป เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 36

๓. จิตตฺ ํ รกฺเขถ เมธาวี ผมู้ ปี ัญญาพงึ รกั ษาจติ . ส.ํ ส. ๑๕/ ๕๔. (คาํ อา่ น : จดิ -ตงั , รกั -เข-ถะ, เม-ทา-ว)ี คำวำ่ ผมู้ ปี ัญญำ หมำยถงึ ผทู้ ม่ี วี จิ ำรณญำณมองเหน็ สรรพสงิ่ ตำม ควำมเป็นจรงิ โดยประกำรทงั้ ปวง ผู้มปี ัญญำย่อมจะรู้ว่ำจิตนัน้ เป็น สภำพท่หี วนั่ ไหวโอนเอนไปตำมอำรมณ์ต่ำง ๆ ได้ง่ำย และมกั ไหล ไปส่ทู ่ตี ่ำเสมอ ผูม้ ปี ัญญำจงึ ตำมรกั ษำจติ ของตนเองอยู่เสมอ ไม่ให้ หวนั่ ไหวโอนเอนไปตำมอำรมณ์ท่นี ่ำปรำรถนำหรอื อำรมณ์ท่ีไม่น่ำ ปรำรถนำ เพอ่ื คุม้ ครองจติ ไมใ่ หต้ กเป็นทำสของกเิ ลสทค่ี อยบงกำรจติ อย่ตู ลอดเวลำ ไม่ใหโ้ กรธดว้ ยอำนำจของโทสะ ไม่ใหโ้ ลภดว้ ยอำนำจ ของโลภะ ไม่ใหห้ ลงดว้ ยอำนำจของโมหะ เม่อื คุม้ ครองจติ ได้ดเี ช่นน้ี ยอ่ มจะสำมำรถถงึ ทำงอนั เกษมคอื พระนิพพำนไดใ้ นทส่ี ดุ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๘. ชยวรรค คือ หมวดชนะ ๑. สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ. การใหธ้ รรมะ ชนะการใหท้ งั้ ปวง. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๖๓. (คาํ อา่ น : สบั -พะ-ทา-นงั , ทาํ -มะ-ทา-นงั , ช-ิ นา-ต)ิ คำว่ำ ทำน หมำยถงึ กำรให้ หรอื กำรสละใหด้ ว้ ยควำมยนิ ดี กำร ใหม้ อี ยู่ ๒ ประเภท คอื ๑) กำรใหว้ ตั ถุสง่ิ ของ เรยี กว่ำ อำมสิ ทำน ๒) กำรใหธ้ รรมะ เรยี กว่ำ ธรรมทำน โดยเฉพำะอย่ำงยง่ิ กค็ อื เพ่ือควำม พน้ ทุกข์ บรรดำกำรใหส้ องอยำ่ ง คอื กำรใหส้ ง่ิ ของ กบั กำรใหธ้ รรมะ นนั้ พระพทุ ธเจำ้ ทรงสรรเสรญิ วำ่ กำรใหธ้ รรมะ ประเสรฐิ ทส่ี ุด เพรำะ เป็นกำรให้ปัญญำ เป็นกำรให้สง่ิ ท่เี ลศิ ท่สี ุดในชวี ติ เป็นกำรดำเนิน ชวี ติ ให้ถูกต้องตำมหลกั ธรรมทำงพระพุทธศำสนำท่ีจะทำให้คนพ้น จำกควำมทุกขไ์ ด้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 37

๒. อสาธุํ สาธนุ า ชิเน. พงึ ชนะคนไมด่ ดี ว้ ยความด.ี ข.ุ ธ. ๒๕/ ๔๕. (คาํ อา่ น : อะ-สา-ทงุ , สา-ท-ุ นา, ช-ิ เน) คนไม่ดี คอื คนท่ตี กอยู่ภำยใต้อำนำจของกเิ ลส ถูกกเิ ลสบงกำร ทำกรรมชวั่ ตำมอำนำจสงั่ กำรของกเิ ลสอย่รู ่ำไป กำรเอำชนะคนไม่ดี ดว้ ยควำมไมด่ ี ยอ่ มไมม่ วี นั ทจ่ี ะชนะได้ ยง่ิ จะเป็นกำรพอกพนู ควำมไม่ ดใี หม้ ำกขน้ึ เท่ำนัน้ พระพุทธเจ้ำจงึ ทรงสอนใหเ้ อำชนะคนไม่ดดี ้วย ควำมดี คอื ใชห้ ลกั ธรรมแนะนำพร่ำสอน ใหร้ จู้ กั บำปบุญคุณโทษ รจู้ กั ประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ เม่ือคนเหล่ำนัน้ ได้รบั คำแนะนำท่ีดี อำจจะทำใหจ้ ติ ใจของเขำอ่อนโยนลงไดบ้ ้ำง แลว้ ละควำมชวั่ หันมำ ทำควำมดี สรำ้ งประโยชน์แก่ตวั เองและสงั คมไดไ้ มม่ ำกกน็ ้อย เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๙. ทานวรรค คือ หมวดทาน. ๑. ททํ มิตตฺ านิ คนฺถติ. ผใู้ ห้ ยอ่ มผกู ไมตรไี วไ้ ด.้ ส.ํ ส. ๑๕/ ๓๑๖. (คาํ อา่ น : ทะ-ทงั , มดิ -ตา-นิ, คนั -ถะ-ต)ิ ผูใ้ ห้ คอื ผู้ท่มี จี ติ ใจโอบอ้อมอำรี เอ้อื เฟ้ือเผ่ือแผ่ เสยี สละให้ปัน สงิ่ ของของตนเองแก่ผูอ้ ่นื ดว้ ยจติ ใจทบ่ี รสิ ุทธิ ์ ด้วยต้องกำรบุญกุศล หรอื ต้องกำรช่วยเหลอื บุคคลผมู้ คี วำมเอ้อื เฟ้ือเผ่อื แผ่ดงั กล่ำว ย่อม เป็นผทู้ ่บี ุคคลอ่นื เคำรพนับถอื โดยเฉพำะผูท้ ไ่ี ดร้ บั สง่ิ ของหรอื ไดร้ บั น้ำใจจำกเขำ ย่อมจะมคี วำมรกั มคี วำมนับถือในตวั เขำเป็นอันมำก กำรใหก้ ่อใหเ้ กดิ ควำมประทบั ใจทงั้ แก่ผใู้ หแ้ ละผรู้ บั ผู้ใหก้ ม็ คี วำมสุข ใจทไ่ี ดใ้ ห้ ผรู้ บั กม็ คี วำมประทบั ใจในตวั ผใู้ ห้ เพรำะฉะนัน้ กำรใหป้ ัน สง่ิ ของแกก่ นั และกนั จงึ เป็นกำรสรำ้ งมติ รภำพทด่ี ี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 38

๒. พาลา หเว นปปฺ สสํ นฺติ ทานํ. คนพาลเทา่ นนั้ ยอ่ มไมส่ รรเสรญิ ทาน. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๓๘. (คาํ อ่าน : พา-ลา, หะ-เว, นบั -ปะ-สงั -สนั -ต,ิ ทา-นงั ) คนพำล คอื ผทู้ ม่ี จี ติ ใจเศรำ้ หมอง ตกอย่ภู ำยใต้อำนำจของกเิ ลส เป็นผมู้ งุ่ ตดั ประโยชน์ทงั้ สองฝ่ำย คอื ตดั ประโยชน์ตนเองดว้ ย ทำลำย ประโยชน์ผอู้ ่นื ดว้ ย คนพำลเป็นคนโงเ่ ขลำเบำปัญญำ ไม่รู้จกั ว่ำอะไร เป็นประโยชน์ อะไรไมเ่ ป็นประโยชน์ เพรำะขำดธรรมเป็นหลกั ยดึ คน พำลเหล่ำนัน้ ย่อมไมส่ รรเสรญิ กำรบรจิ ำคใหท้ ำน โดยมองว่ำเป็ นกำร กระทำทส่ี ญู เปลำ่ ไรป้ ระโยชน์ ตรงกนั ขำ้ มกบั บณั ฑติ ผูม้ ปี ัญญำ มอง ทะลุปรุโปร่งว่ำอะไรเป็นประโยชน์ อะไรเป็นควำมเสอ่ื ม บณั ฑิตย่อม มองเหน็ ประโยชน์ของกำรสละใหป้ ันสง่ิ ของ และสรรเสรญิ กำรให้ทำน วำ่ เป็นสงิ่ ทค่ี วรทำ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๐. ทกุ ขวรรค คือ หมวดทกุ ข.์ ๑. ทุกขํ เสติ ปราชิโต. ผแู้ พ้ ยอ่ มอยเู่ ป็นทุกข.์ ส.ํ ส. ๑๕/ ๑๒๒. (คาํ อ่าน : ทกุ -ขงั , เส-ต,ิ ปะ-รา-ช-ิ โต) ควำมพ่ำยแพ้ คือ กำรถูกทำให้จำยอม ตัวอย่ำงกำรพ่ำยแพ้ ในทำงโลก เช่น กำรแพพ้ นัน กำรแพ้กฬี ำ กำรแพส้ งครำม เป็นต้น ในทำงคดโี ลกนนั้ ผทู้ พ่ี ่ำยแพด้ งั กล่ำวยอ่ มจะอยไู่ มเ่ ป็นสขุ คอื มคี วำม ทุกขเ์ พรำะพ่ำยแพ้ รสู้ กึ อบั อำย เสยี ศกั ดศิ ์ รี เป็นตน้ แต่ในทำงธรรม ควำมพ่ำยแพ้ หมำยถงึ แพต้ ่อกเิ ลส คอื ถูกกเิ ลสครอบงำสัง่ กำร จน ตอ้ งทำทุกสงิ่ ทุกอยำ่ งตำมอำนำจของกเิ ลส เป็นเหตุใหท้ ำผดิ ศลี ธรรม บำ้ ง ผดิ กฎหมำยบำ้ นเมอื งบำ้ ง เมอ่ื พ่ำยแพต้ ่อกเิ ลสเสยี แลว้ ยอ่ มจะ ถกู กเิ ลสครอบงำ และมแี ต่ควำมทกุ ขท์ ก่ี เิ ลสกอ่ ใหไ้ มม่ ที ส่ี น้ิ สดุ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 39

๒. สงฺขารา ปรมา ทกุ ฺขา. สงั ขาร เป็นทุกขอ์ ยา่ งยงิ่ . ข.ุ ธ. ๒๕/ ๔๒. (คาํ อ่าน : สงั -ขา-รา, ปะ-ระ-มา, ทกุ -ขา) สงั ขำร คอื สง่ิ ท่ปี ัจจยั ปรุงแต่งขน้ึ มำ มี ๒ อย่ำง คอื อุปำทนิ นก สงั ขำร สงั ขำรท่มี ใี จครอง และอนุปำทนิ นกสงั ขำร สงั ขำรท่ีไม่มใี จ ครอง คำว่ำ ทุกข์ แปลว่ำ สภำวะท่ที นอยู่ในสภำพเดมิ ไม่ได้ ต้องมี กำรเปลย่ี นแปลงเสมอ และสุดทำ้ ยกแ็ ตกสลำยไป สงั ขำรทุกประเภท ไมว่ ำ่ จะเป็นสงั ขำรทม่ี ใี จครอง เชน่ คน สตั ว์ หรอื สงั ขำรท่ไี มม่ ใี จครอง เช่น สง่ิ ของต่ำง ๆ บนโลกใบน้ี ทุกอยำ่ งลว้ นตกอย่ใู นสภำพเดยี วกนั คือ ทนอยู่ในสภำพเดิมไม่ได้ เปล่ียนแปลง และแตกสลำยในท่ีสุด อย่ำงเช่นมนุษยเ์ รำน้ี แรกเรมิ่ เกดิ ขน้ึ มำกอ็ ย่ำงหน่ึง โตขน้ึ เร่อื ย ๆ ก็ เปล่ยี นแปลงไปเร่อื ย ๆ และสุดท้ำยก็แตกสลำย คอื หมดลมหำยใจ ตำยไปในทส่ี ดุ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓ .อกิญจฺ นํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา. ทกุ ข์ ยอ่ มไมต่ กถงึ ผหู้ มดกงั วล. ข.ุ ธ. ๒๕/ ๔๔. (คาํ อ่าน : อะ-กนิ -จะ-นงั , นา-นุ-ปะ-ตนั -ต,ิ ทุก-ขา) ทุกข์ คอื สภำพท่ีทำให้เกิดควำมไม่สบำยกำยไม่สบำยใจ เป็น สภำพท่ีบีบคนั้ ให้สรรพสตั ว์ไม่มีควำมสุข มีควำมกระวนกระวำย เดอื ดเน้ือรอ้ นใจ สำเหตุทท่ี ำใหเ้ กดิ ควำมทุกอยำ่ งหน่ึงคอื ควำมกงั วล คอื ควำมห่วงหำอำวรณ์ ห่วงโน่นห่วงน่ี ห่วงตวั เอง ห่วงคนรอบขำ้ ง ห่วงทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง ห่วงญำติมติ ร หรอื อ่นื ๆ เม่อื มีควำมกงั วลมี ควำมหว่ งหำอำวรณ์อยอู่ ยำ่ งน้ี จงึ ทำใหค้ นเรำตอ้ งทุกข์อยรู่ ่ำไป หำก ตดั ควำมกงั วลดงั กลำ่ วน้ีลงเสยี ได้ ควำมทกุ ขย์ อ่ มจะไมม่ ี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 40

๑๑. ธมั มวรรค คือ หมวดธรรม. ๑. ธมโฺ ม รหโท อกททฺ โม. ธรรมเหมอื นหว้ งน้ําไมม่ ตี ม ข.ุ ชา.ฉกฺก. ๒๗/๒๐๒ (คาํ อา่ น : ทาํ -โม, ระ-หะ-โท, อะ-กดั -ทะ-โม) ธรรม หมำยถงึ กศุ ลธรรม คอื ธรรมฝ่ำยดี ไดแ้ ก่ หลกั ธรรมคำสอน ทพ่ี ระสมั มำสมั พทุ ธเจำ้ ไดต้ รสั สอนไวส้ ำหรบั กำรดำรงชวี ติ กุศลธรรม นนั้ ถำ้ เปรยี บกบั น้ำ กเ็ ปรยี บไดก้ บั น้ำทไ่ี มม่ โี คลนตมปนอยู่ เป็นน้ำท่ี ใสสะอำด สำมำรถนำมำด่ืมกินได้ นำไปใช้ประโยชน์อ่ืน ๆ ได้อีก มำกมำย กุศลธรรมสำมำรถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ กบั ชวี ติ ได้ ดงั นนั้ ควรเลอื กนำธรรมะเหล่ำนนั้ มำปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๒. ปกิณกวรรค คือ หมวดเบด็ เตลด็ . ๑. ตํ คณฺเหยยฺ ยทปณฺณก.ํ สงิ่ ใดไมผ่ ดิ พงึ ถอื เอาสง่ิ นัน้ . ข.ุ ชา.ฉกฺก. ๒๗/๒๐๒ (คาํ อ่าน : ตงั , คนั -ไห-ยะ, ยะ-ทะ-ปัน-นะ-กงั ) สงิ่ ทไ่ี มผ่ ดิ คอื สง่ิ ทท่ี ำแลว้ ไม่เกดิ ควำมเสยี หำย ทงั้ แก่ตนเองและ ผูอ้ ่นื ไม่ผดิ ศลี ธรรมอนั ดงี ำม ไม่ผดิ กฎหมำยบ้ำนเมอื ง ทำแล้วเป็น กำรก่อบุญกุศลให้พอกพูนยง่ิ ขน้ึ เรยี กว่ำ สุจรติ มี ๓ อย่ำง คอื ๑) กำยสุจรติ ควำมประพฤติดที ำงกำย ๒) วจสี ุจรติ ควำมประพฤติดี ทำงวำจำ ๓) มโนสุจรติ ควำมประพฤตดิ ที ำงใจ สจุ รติ ทงั้ ๓ ประกำร น้ี เป็นควำมดี เป็นสงิ่ ท่คี วรยดึ ถือปฏิบตั ิ เพรำะเป็นสงิ่ ท่กี ่อให้เกิด ประโยชน์ทงั้ ในโลกน้ีและโลกหน้ำ และเป็นไปเพ่อื ประโยชน์อย่ำงยง่ิ คอื พระนิพพำนดว้ ย เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 41

๑๓. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา. ๑. โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธ.ุ เปลง่ วาจางาม ยงั ประโยชน์ใหส้ าํ เรจ็ . ข.ุ ชา.เอก. ๒๗/๒๘ (คาํ อ่าน : โมก-โข, กนั -ละ-ยา-นิ-ยา, สา-ท)ุ คำวำ่ เปลง่ วำจำงำม หมำยถงึ กำรพดู แต่สงิ่ ทด่ี ี อนั หมำยถงึ วำจำ ท่เี ป็นวจสี ุจรติ ๔ ประกำร คอื ๑) พูดแต่คำท่ไี พเรำะอ่อนหวำน ๒) พดู แต่คำทเ่ี ป็นควำมจรงิ ๓) พดู แต่คำทม่ี สี ำรประโยชน์ และ ๔) พดู แต่คำทก่ี ่อใหเ้ กดิ ควำมสมคั รสมำนสำมคั คี คนทพ่ี ดู ดีมวี จไี พเพรำะ ยอ่ มใชว้ ำจำของตนเองทำประโยชน์ใหส้ ำเรจ็ ได้ ทงั้ ประโยชน์ตนเอง และประโยชน์สว่ นรวม ดงั นนั้ เมอ่ื จะพดู สงิ่ ใดออกไป พงึ พิจำรณำให้ ดเี สยี กอ่ นวำ่ ควรหรอื ไมค่ วร แลว้ จงึ พดู ออกไป เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๔. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา. ๑. ปญญฺ าย มคคฺ ํ อลโส น วินฺทติ. คนเกยี จครา้ น ยอ่ มไมพ่ บทาง ดว้ ยปัญญา ข.ุ ธ. ๒๕/๕๒ (คาํ อา่ น : ปัน-ยา-ยะ, มกั -คงั , อะ-ละ-โส, นะ, วนิ -ทะ-ต)ิ คำว่ำ ปัญญำ คอื ควำมรอบรู้ ปัญญำจะเกดิ ขน้ึ แก่บุคคลใด ๆ ได้ นัน้ เขำต้องเป็นผู้หมนั่ ประกอบควำมเพยี ร เช่น เพยี รในกำรศกึ ษำ เล่ำเรียน เพียรในกำรแสวงหำประสบกำรณ์ เข้ำหำผู้รู้ สอบถำม ปัญหำข้อสงสยั คนท่ีหมัน่ ศึกษำหำควำมรู้เช่นน้ี ย่อมจะเป็นผู้มี ปัญญำมำกข้ึนเร่ือย ๆ ผู้ท่ีไม่มีควำมขยันดังกล่ำว ย่อมเป็ นผู้ ปรำศจำกปัญญำ หรอื ปัญญำเกดิ ขน้ึ น้อยมำก เพรำะไมข่ วนขวำยใน กำรแสวงหำปัญญำดว้ ยวธิ ดี งั ทก่ี ล่ำวมำนนั่ เอง เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 42

๑๕. ปมาทวรรค คือ หมวดความประมาท. ๑. ปมาเทน น สวํ เส. ไมค่ วรสมคบดว้ ยความประมาท ข.ุ ธ. ๒๕/๓๗ (คาํ อา่ น : ปะ-มา-เท-นะ, นะ, สงั -วะ-เส) คำว่ำ ควำมประมำท คือ ควำมเลินเล่อ ลุ่มหลงมวั เมำ ตกอยู่ ภำยใตอ้ ำนำจของกเิ ลส เป็นเหตุใหข้ ำดสติ ขำดปัญญำในกำรดำเนิน ชวี ติ บุคคลผูต้ กอยู่ในควำมประมำทแลว้ ปัญญำของเขำจะมืดบอด สตขิ องเขำจะเลอื นหำย ทำใหท้ ำกำรงำนใด ๆ จะขำดควำมรอบคอบ เกดิ ควำมผดิ พลำดไดง้ ำ่ ย อกี ทงั้ ทำใหเ้ ขำหำ่ งจำกควำมเจรญิ เดนิ มุ่ง หน้ำส่คู วำมฉิบหำย เหมอื นคนตำยทไ่ี ม่สำมำรถสรำ้ งประโยชน์หรอื คุณงำมควำมดีใด ๆ ได้อีก ดงั นัน้ อย่ำสมคบด้วยควำมประมำท ควำมหมำยกค็ อื อยำ่ ประมำท นนั่ เอง เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๖. ปาปวรรค คือ หมวดบาป. ๑. ธมมฺ ํ เม ภณมานสสฺ น ปาปมปุ ลิมปฺ ติ. เมอ่ื เรากล่าวธรรมอยู่ บาปยอ่ มไมแ่ ปดเป้ือน ข.ุ ชา.สตฺตก. ๒๗/๒๒๔ (คาํ อ่าน :ทาํ -มงั , เม, พะ-นะ-มา-นดั -สะ, นะ, ปา-ปะ-ม-ุ ปะ-ลมิ -ปะ-ต)ิ คำว่ำ ธรรม คอื ควำมดี ธรรมชำตขิ องคนทก่ี ล่ำวธรรมะให้คนอ่นื ฟัง จติ ใจจะมปี ีตใิ นธรรม มคี วำมยนิ ดใี นธรรมท่กี ำลงั กล่ำวอยู่ และ คดิ ถึงแต่สง่ิ ท่ีเป็นสำระเน้ือหำแห่งธรรมท่จี ะต้องกล่ำว คนท่ีกล่ำว ธรรมอยู่ จิตจะไม่คิดเร่ืองท่ีเป็นบำปอกุศลเลย อกุศลจิตจึงไม่ได้ โอกำสเกดิ แทรกขน้ึ มำ สภำพจติ ของคนทก่ี ล่ำวธรรมแก่ผอู้ ่ืน จะเป็น จติ ทส่ี งู กว่ำปกตใิ นขณะนนั้ จติ จะเป็นกุศล บำปธรรมทงั้ หลำยทงั้ ปวง จงึ ไมส่ ำมำรถแปดเป้ือนจติ ของผกู้ ลำ่ วธรรมได้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 43

๑๗. ปคุ คลวรรค คือ หมวดบคุ คล. ๑. รกเฺ ขยยฺ านาคตํ ภย.ํ พงึ ป้องกนั ภยั ทย่ี งั มาไมถ่ งึ ข.ุ ชา.จตุกฺก. ๒๗/๑๓๖ (คาํ อา่ น : รกั -ไข-ยา-นา-คะ-ตงั , พะ-ยงั ) คำว่ำ ภยั คอื สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ นำควำมทุกขค์ วำมพนิ ำศมำให้ ทำ ใหเ้ กดิ ควำมกลวั ทำใหเ้ กดิ อนั ตรำยแก่ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ และจติ ใจ ภยั นัน้ มี ๒ อย่ำง คอื ๑) ภยั ภำยนอก เช่น อคั คภี ยั โจรภยั เป็นต้น ๒) ภยั ภำยใน ไดแ้ ก่ กเิ ลสตณั หำทค่ี อยรกุ รำนจติ ใจของเรำอยตู่ ลอดเวลำ เรำรจู้ กั ป้องกนั ภยั ล่วงหน้ำ ภยั ภำยนอกทย่ี งั ไม่เกดิ เรำกต็ ้องป้องกนั ดว้ ยควำมไมป่ ระมำท เชน่ ปิดประตูบำ้ นแน่นหนำเพ่อื ป้องกันโจรภยั เป็นต้น ภัยภำยในป้องกันด้วยกำรฝึกจิตให้เข้มแข็ง มีคุณธรรม พรอ้ มทจ่ี ะป้องกนั กเิ ลสตณั หำทงั้ หลำยทส่ี ำมำรถเกดิ ขน้ึ ไดต้ ลอดเวลำ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๘. ปญุ ญวรรค คือ หมวดบญุ . ๑. ปญุ ญฺ ํ โจเรหิ ทูหร.ํ บุญ อนั โจรนําไปไมไ่ ด.้ ส.ํ ส. ๑๕/๕๐ (คาํ อา่ น : ปนุ -ยงั , โจ-เร-ห,ิ ท-ู หะ-รงั ) คำว่ำ บุญ คอื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จำกกำรทำควำมดี มกี ำรใหท้ ำน รกั ษำ ศลี เจรญิ ภำวนำ เป็นต้น บุญนัน้ เป็นของเฉพำะตวั ผใู้ ดทำผนู้ ัน้ กไ็ ด้ ผู้ใดไม่ทำผู้นัน้ ก็ไม่ได้ บุญถือว่ำเป็นสมบตั ิท่ีมนั่ คงท่สี ุดของมนุษย์ และเป็นสมบตั ทิ ล่ี ้ำค่ำทส่ี ุดดว้ ยเช่นกนั สมบตั อิ ่ืน ๆ บรรดำมี อำจถูก โจรแยง่ ชงิ หรอื ขโมยไปเมอ่ื ใดกไ็ ด้ แต่บุญนนั้ โจรไมส่ ำมำรถขโมยไป ได้ ดงั นัน้ บุญจงึ ถอื ว่ำเป็นสมบตั ทิ ม่ี นั่ คงทส่ี ุด และเป็นของผกู้ ระทำ อยำ่ งแทจ้ รงิ เมอ่ื เรำยงั มชี วี ติ อยู่ บุญกเ็ ป็นของเรำ เม่ือตำยจำกโลกน้ี ไปแลว้ บญุ ทท่ี ำนนั้ กย็ งั เป็นของเรำอยนู่ นั่ เอง ไมเ่ ปลย่ี นแปลง เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ ากระทูธ้ รรม โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 44