Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 50 year proof 14 (2)

50 year proof 14 (2)

Published by nscras, 2017-10-31 04:37:50

Description: 50 year proof 14 (2)

Search

Read the Text Version

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดา ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล เปน็ นกั บรหิ าร เคยดำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ภาควชิ า คณบดี รองอธกิ ารบดี นายกสมาคมส่งเสรมิ การท่องเทยี่ วภาคเหนือ ซ่ึงแสดงถึงการเป็นผู้นำ� ทัง้ การบริหารและการบรกิ ารวชิ าการ ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พนู พล เป็นนกั วชิ าการทมี่ คี วามแน่วแน่ มจี ติ มงุ่ มนั่ ตงั้ ใจจะพฒั นาวชิ าภมู ศิ าสตร์ จงึ ทำ� ใหผ้ ลงานของทา่ นนนั้ สง่ ผลทงั้ ดา้ นปรมิ าณ คณุ ภาพจงึ นบั เปน็ บคุ คลตวั อยา่ งทช่ี าวมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมภ่ าคภมู ใิ จ เพราะเปน็ อาจารยท์ มี่ คี วามผูกพนั กบั สถาบัน จนกระทั่งวาระสุดทา้ ยของชีวติ ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พูนพล เปน็ บุคคลทม่ี มี นษุ ยสมั พันธ์ยอดเย่ยี มเป็นที่รักใคร่ของเพ่ือนฝูง เป็นที่เคารพของรุ่นน้อง เป็นปูชนียบุคคลของผู้ท่ีร่�ำเรียน ทางภมู ิศาสตร์ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของวงการภมู ศิ าสตร์ ใหค้ วามช่วยเหลือแกท่ ุกระดบั ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล ไดร้ บั ยศนายทหารชัน้ สูง คือ ยศพันเอกพเิ ศษ ซง่ึ นบั วา่ เปน็ ตำ� แหนง่ ทางการทหารระดบั สงู สำ� หรบั ผทู้ ม่ี ไิ ดร้ ำ�่ เรยี นทางวชิ าการทหารโดยตรง และได้นำ� เอาประสบการณ์ทางเทคนิคของทหารมาใช้ในงานวิชาการ เชน่ การท�ำแผนทจี่ ากรปู ถา่ ยทางอากาศ การสำ� รวจสภาพภมู ศิ าสตรท์ หาร ซงึ่ นบั วา่ ชว่ ยประโยชนใ์ หแ้ ก่วงการภมู ศิ าสตรภ์ าคพลเรือน ซึ่งทำ� ให้คนไทยไดร้ ้จู กั สภาพภูมศิ าสตรข์ องเมอื งไทยดีขึน้ สดุ ทา้ ย ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามจงรกั ภกั ดตี อ่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ไดด้ ำ� เนนิกจิ การทางด้านภมู ิศาสตร์ทลู เกล้าฯ ถวายหลายเร่ือง และในขณะเดียวกันก็ได้ด�ำเนินโครงการจัดทำ� หนงั สอื เรือ่ งราวเกี่ยวกับ Remote Sensing ทใี่ ชใ้ นการพัฒนาท้องถิน่ในภมู ภิ าคตา่ งๆ ของประเทศไทย และงานชนิ้ สดุ ทา้ ยในฐานะประธานคณะบรรณาธกิ ารหนังสอื เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ เนอ่ื งในพระชนมายุครบ ๓ รอบเร่ือง “จากหว้ งอวกาศสพู่ น้ื แผน่ ดินไทย” ท่ีได้ประมวลมาข้างต้นน้ี นับเป็นเคร่ืองพิสูจน์ว่าประเทศไทยได้สูญเสียบุคคลท่ีส�ำคัญที่สุดคนหน่ึงในทางภูมิศาสตร์ และคนไทยก็คงจะจดจ�ำโดยมิรู้ลืมในผลงานทางภูมิศาสตร์ ขอดวงวิญญาณของ พันเอก (พิเศษ) พูนพล ได้รับรู้และไปสู่ความสงบสุข ในสัมปรายภพเทอญ ๓.๒ ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ นายแพทยเ์ กษม วฒั นชยั อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยัเชยี งใหม่ ปจั จบุ นั องคมนตรี และนายกสภามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (๒๒ สงิ หาคม ๒๕๓๔) ในช่วงชีวติ ของพวกเราทุกคน ยอ่ มพบปะกับผูค้ นมากมาย ในฐานะต่างๆ กันแต่หากจะถามว่ามีใครบ้างที่ให้ความประทับใจและเป็นแบบอย่างแก่เราได้นั้น คงจะมี ไม่กค่ี น 97

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจนิ ดา ถา้ จะพดู ถงึ สถาบนั ครอบครวั และเครอื ญาติ โดยความใกลช้ ดิ และโดยสายเลอื ด ลูกๆ ยอ่ มมีคุณพ่อ คณุ แมเ่ ปน็ แบบอยา่ ง ในสถาบันศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาพุทธที่พวกเราเคารพนับถืออยู่ โดยหลักการแห่งศาสนาแล้วพระสงฆ์ทุกรูปย่อมปฏิบัติดีปฏิบัติชอบและเป็นแบบอย่าง แกฆ่ ราวาสทวั่ ไป อยา่ งไรกด็ ี หากจะถามพวกเราแตล่ ะคน กย็ อ่ มใหค้ �ำตอบไดว้ า่ มพี ระเถระ บางรปู ท่เี ราให้ความเคารพบชู าเปน็ อยา่ งยิ่ง ในส่วนของสถาบันการศึกษาทั่วๆ ไป การจะตอบค�ำถามน้ัน ย่อมดูท่ีครูบา อาจารยผ์ ใู้ หญ่ ทไ่ี ดพ้ สิ ูจน์ตนเองในชว่ งเวลาอันยาวนาน และมผี ลงานทางวชิ าการ รวมทงั้ วัตรปฏิบัติส่วนตัว เป็นท่ียอมรับนับถือให้เป็นแบบอย่างแก่เพ่ือนครูและนักศึกษาท่ัวไป ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจนิ ดา เปน็ ปูชนยี บุคคลตัวอยา่ ง เปน็ อาจารย์ ตวั อย่างของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผมคิดว่าคุณสมบัติของท่านอาจารย์พูนพลที่ปรากฏแก่สายตาของชาว มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ สามารถประมวลได้ ๓ ประการ ๑) ความเป็นนักการศึกษาและนักปราชญ์ ท่านอาจารย์พูนพลเป็น ผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาภมู ิศาสตรอ์ ย่างแทจ้ ริง อาจจะเรียกได้วา่ “ท่านเป็นผรู้ เิ ร่มิ สาขาวชิ านี้ ในประเทศไทย และพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง โดยอาศยั ความเป็นนกั การศกึ ษาตลอดชวี ิต ของทา่ น ไมว่ า่ จะมองจากฐานของคนทวั่ ไป หรอื ลกู ศษิ ยข์ องทา่ น เราสามารถเรยี กทา่ น ได้อย่างเตม็ ปากว่า ท่านเปน็ นกั ปราชญอ์ ย่างสมศักด์ิศรีแหง่ ความหมายนน้ั ” ๒) ความเป็นครู ชีวิตของท่านเป็นครูมาโดยตลอด “เป็นครูในความหมาย ท่ีแท้จริง ค้นคว้าหาความรู้อันสูงสุดมาส่ังสอนศิษย์ ให้ความเมตตากรุณาแก่ศิษย์ อย่างสม่�ำเสมอ สนับสนุนให้ศิษย์ได้เจริญก้าวหน้าในหน้าท่ีการงานและวิชาชีพ” เหลา่ นค้ี อื สงิ่ ท่ีอาจารย์พูนพลไดก้ ระทำ� ตลอดชวี ติ ของทา่ น ๓) ความเปน็ สภุ าพบรุ ษุ ทา่ นเปน็ สภุ าพบรุ ษุ ทง้ั ในชวี ติ สว่ นตวั และในชวี ติ การงาน บุคคลท่ไี ด้ติดต่อเสวนากับทา่ นยอ่ มเปน็ ประจกั ษพ์ ยานได้เปน็ อยา่ งดี พวกเราชาวมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอน้อมคารวะต่อนักการศึกษา นกั ปราชญ์ ครผู ยู้ ่ิงใหญ่ และสุภาพบุรุษท่านนี้มา ณ โอกาสน้ี ทา่ นจะเปน็ แบบอยา่ งแก่อนชุ นรุ่นหลงั สืบไป ๓.๓ คณาจารย์ นักศึกษา ข้าราชการ และเจา้ หน้าทภ่ี าควชิ าภูมิศาสตร์ นับเป็นการสูญเสียคร้ังยิ่งใหญ่ท่ีสุดของภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากการเสียชีวิตของศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล 98อาสนะจินดา เมอื่ วันท่ี ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๔

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา เป็นผู้ที่มีคุณค่าและ มีพระคุณอย่างมากต่อภาควิชาภูมิศาสตร์นานัปการ อาจารย์เป็นบุคคลหนึ่งในการก่อต้ัง ภาควชิ าภมู ศิ าสตรโ์ ดยเฉพาะในการรา่ งหลกั สตู รและกระบวนวชิ าตา่ งๆ ซง่ึ เปน็ การเปดิ สอนและใหป้ รญิ ญาในระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ แหง่ แรกของประเทศไทย กระบวนวชิ าทง้ั โดยการรา่ งและสอนของทา่ นเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ กระบวนวชิ าหลกั ของการนำ� บณั ฑติ ภมู ศิ าสตรส์ กู่ ารยอมรบั ทางวชิ าการของหนว่ ยงานตา่ งๆ ความยากลำ� บากและความกดดันในการหางานในระยะแรกๆ ของบณั ฑิตภมู ิศาสตรเ์ ป็นท่ีประจกั ษ์ท่ัวไป แตก่ ไ็ ด้ลดลงอย่างมากเม่ือผู้บริหารของหน่วยงาน กรม กองต่างๆ ทราบว่าบัณฑิตเหล่านั้นเป็น ลกู ศษิ ย์ของศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจินดา จากคณุ ลกั ษณะและบารมีเปน็ ทยี่ นื ยนั วา่ ชอ่ื เสยี งและเกยี รตคิ ณุ ของทา่ นนนั้ เปน็ ทยี่ อมรบั และรจู้ กั กนั ทว่ั ไปในวงวชิ าการและเป็นทีเ่ คารพนบั ถืออย่างแทจ้ ริง การยอมรับทางวิชาการของท่านไม่มีเพียงเฉพาะภายในประเทศเท่าน้ัน ท่านเป็นที่ยอมรับในระดับต่างประเทศอย่างมากเช่นกัน ดังจะเห็นจากการที่ท่านเป็น นักภูมิศาสตร์ไทยคนแรกท่ีได้รับเกียรติให้เขียนเร่ืองเก่ียวกับประเทศไทยลงในสารานุกรมEncyclopaedia Britannica ในปี ค.ศ.๑๙๗๔ (พ.ศ.๒๕๑๗) และในเวลาใกล้เคียงกับท่าน ยงั ไดร้ บั การขอรอ้ งใหเ้ ปน็ ผแู้ ทนนกั วชิ าการไทย เขยี นบทความรว่ มกบั นกั วชิ าการนานาชาติจากองคก์ าร UNESCO ในหวั ขอ้ เรอื่ ง “Topographic Mapping of Humid Tropical Asia”ยิ่งไปกว่านั้น ท่านยังได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทยท�ำการวิจัยเก่ียวกับเส้นทางภาคเหนือ พ.ศ.๒๕๑๒ ผลงานโดยเฉพาะบทคัดย่อได้พิมพ ์เผยแพรไ่ ปยงั ต่างประเทศอีกด้วย อาจกล่าวไดว้ ่าการวิจยั ในคร้ังนี้ของศาสตราจารยพ์ นั เอก(พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา มสี ว่ นอยา่ งยงิ่ ในการฝกึ ฝนทักษะการวิจยั และการส�ำรวจพื้นท่ีของท้ังคณาจารย์และนักศึกษาภาควิชาภูมิศาสตร์ในระยะเริ่มแรกเป็นอย่างมาก นอกจากงานวจิ ยั แลว้ ทา่ นยงั ไดเ้ ขยี นและผลติ หนงั สอื ต�ำราเรยี น ทง้ั ระดบั มธั ยมศกึ ษา และอดุ มศกึ ษาตลอดจนบทความทางวิชาการท่ีทรงคุณคา่ อีกเป็นจำ� นวนมาก ความสามารถเชิงวิชาการของท่านเป็นที่ประจักษ์เป็นอย่างดี โดยท่านได้รับ การวางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ให้รับผิดชอบงานด้านภูมิศาสตร์แผนท่ีและงานวิจัยเกี่ยวกับโครงการพัฒนาท้องถิ่นในภูมิภาคตา่ งๆ ของประเทศไทย ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา รับผิดชอบการสอนภูมิศาสตร์สาขาแผนท่ี รูปถ่ายทางอากาศ ทุกกระบวนวิชาในระยะแรก และแม้ว่าท่าน จะเกษียณอายุราชการแลว้ กต็ าม ท่านยังเมตตาชว่ ยเหลอื ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ โดยชว่ ยสอนในกระบวนวชิ าแผนทข่ี นั้ สงู ตราบจนกระทงั่ วาระสดุ ทา้ ยแหง่ ชวี ติ การสอนของทา่ น นอกจาก 99

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดา แนวคิดทฤษฎีในห้องเรียนแล้ว ท่านได้สอนในสภาพจริงโดยการน�ำนักศึกษาออกฝึก ภาคสนามและท่านจะตรวจเช็คทดสอบความรู้ ความสามารถของนักศึกษาทุกครั้ง เม่อื มโี อกาส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา เปน็ ผทู้ ฝ่ี กั ใฝค่ วามกา้ วหนา้ ในทางวชิ าการอยตู่ ลอดเวลาแมว้ า่ จะเกษยี ณอายรุ าชการ ทา่ นกย็ งั คน้ ควา้ ปรบั ตวั ใหท้ นั กบั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี มยั ใหม่ อาทิ การใชเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ พอื่ การเรยี น การสอน ท่านเรียนคอมพิวเตอร์ด้วยตัวเองจนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการก�ำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ ของสถานท่ีต่างๆ ตลอดจนต�ำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า และท่านยังมีความตั้งใจท่ีจะ เขียนต�ำราด้านน้ีอีกด้วย แต่เป็นที่น่าเสียดายที่เจตนารมณ์ของท่านยังไม่ทันบรรลุผล ท่านก็มาเสยี ชวี ติ เสียกอ่ น นอกจากผลงานทางวิชาการแล้ว ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจนิ ดา ยังรับต�ำแหน่งบรหิ ารท้งั ระดับมหาวทิ ยาลัย คณะ ภาควิชา และงานบริการ วิชาการ โดยดำ� รงตำ� แหนง่ รองอธิการบดีฝา่ ยบรหิ าร ระหว่าง พ.ศ.๒๕๑๕-๒๕๑๖ คณบดี คณะสังคมศาสตร์ ระหว่าง พ.ศ.๒๕๑๘-๒๕๒๒ เป็นผู้ก่อต้ังสมาคมภูมิศาสตร์แห่ง ประเทศไทยและได้รับเลือกให้ท�ำหน้าท่ีนายกสมาคมเป็นคนแรก ระหว่าง พ.ศ.๒๕๑๙- ๒๕๒๑ และเป็นกรรมการภูมศิ าสตรภ์ าคพื้นแปซฟิ กิ เปน็ ตน้ คณุ งามความดขี อง ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ทก่ี ลา่ ว มานย้ี งั ไมถ่ งึ ครงึ่ หนง่ึ ของความจรงิ ทที่ า่ นไดอ้ ทุ ศิ ใหก้ บั ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไม่ว่าดวงวิญญาณของท่านจะสถิตอยู่ ณ ท่ีใดก็ตาม ขอได้รับ การคารวะอย่างสูงสุดจากคณาจารย์ นักศึกษา ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของภาควิชา ภูมศิ าสตร์ ทุกคน ๓.๔ สมทวี ชัยนลิ พนั ธ์ุ ไลออนส-์ เพือ่ นนกั เรียนรว่ มรุ่น เมอื่ ศกึ ษารว่ มกนั เบอื้ งตน้ ท่ี ปรนิ สร์ อยแยลสว์ ทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขาเปน็ นกั เรยี น ท่เี รียนเก่ง เป็นยวุ ชนทหารรนุ่ แรกของสถาบัน เขาข้ามช้ันเพ่ือนร่วมร่นุ ไปจบมธั ยมปีที่ ๘ (แผนกวทิ ยาศาสตร์) เขาเข้าศึกษาต่อท่ีมหาวิทยาลัยประเทศฟิลิปปินส์ ผลส�ำเร็จข้ันปริญญาตร ี เป็นบัณฑิต เขาท�ำปริญญาโทต่อที่มหาวทิ ยาลัยชคิ าโก สหรัฐอเมรกิ า เขาเข้ารับราชการเป็นทหาร อาจารยผ์ สู้ อน สร้าง และพฒั นาคนเพอื่ สบื ทอด ความเป็นคนดี มคี ณุ ธรรม มีศักดิศ์ รี รับใช้บ้านเมอื งและประเทศชาตหิ ลากหลาย ไลออนส์ ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดา 100

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจินดา ผเู้ ขียนต�ำราภมู ิศาสตร์อนั ถกู ตอ้ งสอนนักเรียนชั้นประถมศกึ ษา ผู้ต่อสู้ด้านวิชาการทางภูมิศาสตร์ ความขัดแย้งด้านพรมแดนกับกัมพูชาเรื่องปราสาทเขาพระวิหาร ผู้บุกเบิก แนะน�ำคนทั่วโลกรู้จักประเทศไทยในหนังสือ เอนไซโครปเี ดีย บริชเตนนิกา ความเปน็ นักสังคมศาสตร์ทีจ่ ะหาผ้ใู ดเปรยี บไมไ่ ด้ เพราะ เคยเปน็ นายกสมาคมภูมศิ าสตร์แหง่ ประเทศไทย เคยเป็น นายกสมาคมนักเรียนเก่าปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เคยเป็น นายกสมาคมส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี วภาคเหนอื เคยเปน็ นายกสโมสรไลออนส์เชยี งใหม่ (โฮทส)์ เคยเป็น ผ้วู า่ การไลออนส์สากลภาค ๓๑๐ A เคยเป็น คณบดคี ณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เคยเปน็ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยพฒั นาวชิ าการทางภมู ศิ าสตรด์ ว้ ยความปราดเปรอื่ งสามารถใช้ขอ้ มลู หลักฐานทำ� ใหน้ ักวิชาการทั่วโลกแขนงน้ียอมรบั มากมาย เพ่ือนทกุ คนขอยกเขาเปน็ นกั ปราชญ์ คนหนึ่งของโลก ๓.๕ แจ่มจิตต์ เลาหวัฒน์ และ อศั ร์ศริพร ณ เชียงตุง (๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๕) “อาจารย์พูนพลกับงานทอ่ งเที่ยวภาคเหนอื ” เม่ือวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๑๑ หรือ ๒๓ ปีมาแล้ว องค์การส่งเสริม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือ อ.ส.ท. สมัยนั้นได้เปิดส�ำนักงานสาขาในประเทศ แหง่ แรกขน้ึ ทจี่ งั หวดั เชยี งใหม่ เพราะเหน็ วา่ เชยี งใหมม่ ที รพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ไมว่ า่ จะเป็นสภาพภมู ปิ ระเทศ สถานทท่ี ่องเทีย่ วที่สวยงาม ดินฟ้าอากาศท่เี หมาะสมแกก่ าร พักผ่อนหย่อนใจ มีขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงาม เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกทั้งโรงแรมที่พัก การคมนาคมขนส่ง สินค้าพื้นเมืองและ เรือ่ งอืน่ ๆ อีกมาก ส�ำนักงานองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยแห่งแรก ได้รับความอนเุ คราะหจ์ ากกลมุ่ หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั นติ บิ คุ คลอนสุ ารเชยี งใหม่ ใหใ้ ชส้ ถานทโี่ ดยไมค่ ดิ คา่ เชา่ตั้งอยู่เลขท่ี ๔๘ ถนนท่าแพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพราะต้องการสนับสนุนให้เชียงใหม่เป็นแหล่งท่องเที่ยวรองจากกรุงเทพฯ ด้วยเหตุดังกล่าวทางครอบครัวนี้จึงได้ริเร่ิมสร้างโรงแรมช้นั หนึ่งข้ึน เพ่ือเป็นการรองรบั การประชุม PATA Workshop ในเดอื นมกราคม๒๕๑๒ นน่ั กค็ ือ โรงแรมรนิ ค�ำ นเ่ี อง 101

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ตอ่ มาไดม้ กี ลมุ่ นกั ธรุ กจิ และนกั วชิ าการในจงั หวดั นี้ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี งรว่ มกนั ก่อตั้งชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภาคเหนือข้ึน ซึ่งต่อมาได้เปล่ียนชื่อเป็นสมาคมส่งเสริม การท่องเท่ียวภาคเหนือ โดยมี ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา เปน็ นายกสมาคมฯ คนแรก มกี รรมการผรู้ เิ รมิ่ เทา่ ทจ่ี ำ� ได้ คอื ศาสตราจารย์ หมอ่ มหลวงตยุ้ ชุมสาย เจ้าไชยสรุ วิ งศ์ ณ เชยี งใหม่ และครอบครวั คุณบวร-คณุ อุณณ์ ชุติมา หม่อมธาดา ขนุ ศึกเม็งราย คณุ บุญชัย (อัลเบริ ต์ ) เปเรรา่ คุณประยูร เลศิ จติ ติคณุ -คุณวสิ ทุ ธิ์ นิมานนั ท์ คุณชวน มุนกิ านนท์ คุณแสงเทยี น มหาวรรณ ผู้แทนคณุ กศุ ะ ปนั ยาระชนุ (World Travel Service) คุณชัยวัฒน์ อินทพันธุ์ คุณอมรา ชุติมา ฯลฯ รวมท้ังผู้เขียนท้ังสองอีกด้วย โดยได้รับการสนบั สนนุ จากคุณวิสทิ ธิ์ ศรีนาวา หวั หน้า อ.ส.ท. คนแรกของเชียงใหม่ การทจี่ งั หวดั เชยี งใหมไ่ ดม้ สี นามบนิ นานาชาตขิ นึ้ มาไดน้ น้ั กด็ ว้ ยแรงผลกั ดนั ของสมาคมฯ โดยมีอาจารย์พูนพล เป็นหัวเร่ียวหัวแรง เม่ือคราวประชุม PATA Workshop ปี ๒๕๑๒ ไดม้ ีมตใิ หเ้ ชยี งใหม่มสี นามบินนานาชาตขิ น้ึ ตอ่ มา PATA TASK FORCE ไดม้ าติดตามผลงานกย็ งั เปดิ ไมไ่ ด้ เพราะรัฐบาลยงั ไม่มีงบประมาณ ทางสมาคมฯ จงึ ทำ� การเรยี กรอ้ ง โดยทำ� รณรงค์ (Campaign) ในรปู แบบตา่ งๆ จนในทสี่ ดุ รฐั บาลไดย้ อมรบั จัดสรรงบประมาณให้เชียงใหม่มีสนามบินนานาชาติ เม่ือวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๒ ซึง่ กใ็ ช้เวลาถึง ๑๐ ปี กว่าจะไดส้ นามบนิ ฯ นม้ี า สมาคมฯ พยายามที่จะส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวอีกหลายด้านเพ่ือเป็นการ กระจายงานให้มีข้ึนตลอดปี เพ่ือเป็นการดึงนักท่องเที่ยวมาเชียงใหม่ให้ได้ทุกเดือน โดยมี การจัดงานเทศกาลเป็นประจ�ำข้ึน เช่น งานเชียงใหม่ในอดีตซึ่งจัดในวันสงกรานต์เป็นงาน สง่ เสรมิ ประเพณแี ละวฒั นธรรมอนั เกา่ แกข่ องลา้ นนา การฟอ้ นรำ� ตา่ งๆ การประกวดอาหาร พนื้ เมอื ง และการละเลน่ ตา่ งๆ โดยไดร้ บั ความเออื้ เฟอ้ื ใหใ้ ชส้ ถานทจ่ี ดั งานทศ่ี นู ยว์ ฒั นธรรม เชยี งใหม่ จากคณุ บวร-คณุ อณุ ณ์ ชตุ มิ า เรม่ิ ตง้ั แตส่ งกรานตป์ ี ๒๕๑๙ ตลอดมา จนถงึ ทกุ วนั น้ี ต่อจากนน้ั ในปลายปี ๒๕๑๙ สมาคมฯ ไดป้ รกึ ษากนั ว่าท�ำอย่างไรจงึ จะดึงดดู นักท่องเทยี่ ว ให้มาเชียงใหม่มากขึ้น งานไม้ดอกไม้ประดับก็เกิดขึ้นคร้ังแรกเม่ือวันมาฆบูชา เดือน กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๐ โดยทป่ี ระชมุ มมี ตใิ หใ้ ชส้ ปั ดาหแ์ รกของเดอื นกมุ ภาพนั ธข์ องทกุ ๆ ปี เป็นวันไม้ดอกไม้ประดับของเชียงใหม่ และได้เปิดตลาดนัดที่สวนบวกหาดเพ่ือขายพันธุ์ ไม้ดอกไม้ประดับเป็นการสนับสนุนโครงการดังกล่าวน้ี เพื่อทำ� ให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมือง ที่เตม็ ไปดว้ ยตน้ ไม้ ดอกไม้ ทส่ี วยงามเมอื่ ย่างเข้าฤดูหนาว กจิ กรรมนีท้ �ำรายไดใ้ หเ้ ชยี งใหม่ เปน็ จ�ำนวนมาก เพราะนกั ท่องเท่ียวท้ังคนไทยและต่างประเทศมาเปน็ จ�ำนวนมาก นอกจากนี้สมาคมฯ ยังได้จัดรายการ “เฮาฮักบ้านเฮา” โดยมีอาจารย์ พนู พล เปน็ วทิ ยากรพาเดก็ ๆ ไปชมวดั วาอารามตา่ งๆ สถานทสี่ ำ� คญั ตา่ งๆ โดยอาจารย์ เป็นผู้บรรยายเอง รวมท้ังเป็นวิทยากรในการอบรมมัคคุเทศก์ ของ ททท. ร่วมกับ 102

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมต่ ลอดมา ยงั มเี รอ่ื งราวทอี่ าจารยไ์ ดท้ ำ� ใหก้ บั การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วของภาคเหนืออกี มากมาย ถา้ เขยี นก็ไมร่ จู้ บส้ิน เป็นที่น่าเสียดายท่ีเราสูญเสียปูชนียบุคคล อย่างอาจารย์พูนพลไป ถึงแม้ ตัวท่านจะจากไป แต่ท่านก็ได้ท้ิงผลงานไว้ให้พวกเราอย่างมหาศาล ในโอกาสน้ีขอให ้ดวงวญิ ญาณของอาจารย์ท่ีรกั ของเราไปสสู่ คุ ตเิ ถดิ๔. ภาพประกอบคÓบรรยายชวี ิตและงาน ของศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา ภาพชวี ิตและงานของศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจนิ ดา ทค่ี ัดเลือกจากรปู ทีพ่ อหาไดส้ �ำหรับประกอบเรอ่ื งหรือเน้ือหาทอี่ ้างอิงถงึ สว่ นใหญ่ในตอน ๒ นี้ มีอาทิภาพชุดที่ ๑ ภาพรับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชาภมู ศิ าสตร์ ภาพถวายการบรรยายพเิ ศษแดส่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีทงั้ ทภ่ี าควชิ าภมู ศิ าสตรแ์ ละทบี่ า้ นพกั สว่ นตวั เกยี่ วกบั การใชโ้ ฟโตแกรมเมตตรกี บั งานการทำ�แผนที่ภาพร่วมฟังการบรรยายพิเศษของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ทรงพระราชทานแกน่ ักศึกษาปริญญาโทภาควิชาภมู ิศาสตร์ภาพชุดที่ ๒ ภาพการเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาแผนที่ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ภาพการพานกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรภี าควชิ าภมู ศิ าสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมร่ นุ่ แรกไปเรยี นในภาคสนามภาพชุดท่ี ๓ ภาพการเป็นสมาชิกนายกสโมสร ประธานเขต และผู้ว่าการไลออนส์สากล ภาค ๓๑๐ A ประเทศไทย (ต�ำแหน่งสูงสุด) ภาพการเป็นประธานคณะกรรมการดูแล วัดฝายหิน วัดประจ�ำมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพการเป็นประธานท่ีประชุมผู้ทรงคุณวุฒ ิทางประวัติศาสตร์ล้านนา เพ่ือถวายข้อมูลสืบค้นแด่สมเด็จพระสังฆราช “สมเด็จพระญาณสงั วร” วดั บวรนเิ วศวหิ าร ภาพการเป็นนายกสมาคมคนแรกของสมาคมสง่ เสรมิการท่องเท่ียวภาคเหนือ และเป็นผู้ผลักดนั ใหเ้ ชยี งใหมม่ ีสนามบินนานาชาติจนส�ำเร็จลุล่วงและภาพชุดท่ี ๔ ภาพชุดสุดท้ายภาพงานก่อตั้งมูลนิธิศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพลอาสนะจินดา จากคณาจารย์และศิษย์เก่า เน่ืองในวาระเกษียณอายุราชการ เพ่ือให้ทุนนักศึกษาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และภาพคู่ของอาจารย ์กับภรรยา 103

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจินดา ภาพชดุ ท่ี ๑รับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศกั ดิ์ สาขาภูมศิ าสตร์ ๒๕๒๖ถวายการบรรยายการใช้กลอ้ งทโี อโดไลท์ ถวายคำ� อธบิ ายการใชโ้ ฟโตแกรมเมตตรกี บั งานการทำ� แผนท่ีเพื่อการส�ำรวจและการท�ำแผนที่ ณ ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ ณ ภาควชิ าภูมศิ าสตร์ มกราคม ๒๕๒๑มกราคม ๒๕๒๑ 104

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดาศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีถวายงานทางวชิ าการแผนที่ และโฟโตแกรมเมตตรี ทรงบรรยาย พระราชทานคณาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีณ บ้านพกั สว่ นตวั เมือ่ ๘ มีนาคม ๒๕๓๒ ภมู ศิ าสตร์ เรอ่ื ง “ปญั หาปจั จบุ นั ภมู ศิ าสตรป์ ระเทศไทย” เม่อื ๓๐ สิงหาคม ๒๕๓๒ ถวายค�ำบรรยาย แดส่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ เสด็จฯ นำ� คณาจารย์และ นกั เรียนนายร้อยพระจลุ จอมเกลา้ ทัศนศึกษา อำ� เภอเชยี งแสน จังหวัดเชียงราย เม่ือวันท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ เตรียมงานรบั เสดจ็ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี อ�ำเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ 105

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ภาพชดุ ท่ี ๒ เมอื่ กลบั มาเปน็ ครูก็ต้องสอนศิษยต์ อ่ ไป ทีเ่ ห็นคอื ศิษย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รนุ่ แรก ๐๗จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั เปน็ แห่งแรกที่ไปสอนในฐานะอาจารย์พเิ ศษ ตอ่ มาไดแ้ ก่ ธรรมศาสตร์และวทิ ยาลัยครูจันทรเกษม พานกั ศึกษาภมู ิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เดินสำ� รวจสภาพป่าดอยอินทนนท์ ตุลาคม ๒๕๑๒กับศิษย์ภมู ศิ าสตร์ณ ดอยอ่างกา ส่วนหนงึ่ ของดอยอนิ ทนนท์ ตุลาคม ๒๕๑๒ 106

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดาภาพชดุ ที่ ๓ ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดากบั งานสมาคมสโมสร ไลออนส์สากล ไดเ้ ร่มิ จากการเปน็สมาชกิ -นายกสโมสร- ประธานเขต และผูว้ ่าการภาค ๓๐๑ A ประเทศไทย อันเป็น ต�ำแหน่งสูงสุด ศาสตราจารยพ์ นั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา เปน็ ประธานในท่ีประชุมผูท้ รงคุณวฒุ ทิ างประวตั ศิ าสตร์ ล้านนาไทยเพ่อื ถวายข้อมลู เก่ียวกบั การสืบค้นต้นฉบบั คาถา ชนิ บญั ชรฉบบั อกั ษรลา้ นนาจากทตี่ า่ งๆ ในจงั หวดั เชยี งใหม่ แด่เจา้ พระคุณสมเด็จพระญาณสังวรวดั บวรนเิ วศวหิ าร กรุงเทพมหานคร วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๓๐ ณ ห้องพระรว่ ง ตกึ ยุพราช โรงเรยี นยุพราชวิทยาลยัอาจารยเ์ ปน็ นายกสมาคมคนแรกของ สมาคมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วภาคเหนือ เป็นผ้ผู ลักดนั ใหเ้ ชียงใหม่มีสนามบนิ นานาชาติ และมกี ารส่งเสรมิ ธรุ กจิ การท่องเที่ยวของเชียงใหมอ่ กี หลายด้านโดยการรบั จดั งานเทศกาลตา่ งๆ ขน้ึ เช่น งานไมด้ อกไมป้ ระดับงานเชยี งใหมใ่ นอดีต ภาพนจี้ ากงานเชียงใหมใ่ นอดตี ซึง่ ไดร้ บัความเอ้อื เฟอื้ ให้ใชส้ ถานทีจ่ ัดงานทศี่ นู ยว์ ฒั นธรรมเชยี งใหม่จากคุณบวร-คณุ อณุ ณ์ ชตุ มิ า อาจารยไ์ ดร้ บั เกียรติให้เปน็ ประธานคณะกรรมการ ดูแลวดั ฝายหนิ วดั ประจ�ำมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 107

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ภาพชุดที่ ๔ กล่าวในงานกอ่ ตง้ั มูลนิธิฯ ซึ่งคณาจารย์ และศิษย์ภาควชิ า ภูมศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ร่วมกันก่อต้ังเป็นการ แสดงกตเวทติ า ในโอกาสทอ่ี าจารย์ เกษียณอายุราชการ เพอ่ื น�ำมาใช้เปน็ ทุน การศึกษาใหแ้ ก่ นักศกึ ษาภาควชิ า ภูมศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ท่ขี าดแคลนทนุ ทรัพย์ ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พนู พล และคณุ วลิ าวัณย์ อาสนะจินดา วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู วั ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๕ 108

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจินดา ๓ตอน บทส่งทา้ ย ขอคารวะสง่ ท้ายประวัตชิ ีวติ และงานของ ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ด้วยคำ� ประกาศเกียรติประวัตดิ เี ดน่ อันควรได้รับปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาวชิ าภมู ศิ าสตรค์ นแรก ของมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เม่ือวันท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๒๖ ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา เป็นบุคคลตัวอย่างที่มีเกียรติประวัติดีเด่นเป็นเย่ียมในเชิงวิชาการหลายสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็นการศึกษา การวิจัยการเผยแพร่ความรู้ในหลายรูปแบบ เพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาการอันจะยังประโยชน ์ใหก้ บั การเรยี นการสอนทงั้ ในระบบและนอกระบบโดยตรงทกุ ระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาจนถงึ ระดับอุดมศึกษา รวมทง้ั การประยกุ ต์ใช้ประโยชนว์ ชิ าท่ีถนัดและเชยี่ วชาญโดยเฉพาะในสาขาวิชาภูมิศาสตร์แผนท่ีในการพัฒนาประเทศท้ังโดยตรงและโดยอ้อม ชื่อเสียง ของศาสตราจารย์พูนพล จึงเป็นท่ีประจักษ์ ชัดเจนและรู้จักกันทั่วไปทั้งในประเทศและ นานาประเทศ บุคคลท่านน้ีได้รับการยกย่องและไว้วางใจให้รับผิดชอบทั้งในงานวิชาการด้านทหารเพ่ือความปลอดภัยของประเทศชาติ และวิชาการด้านพลเรือนในระดับสูงเสมอมาเป็น ระยะเวลายาวนานไม่น้อยกว่า ๕๐ ปี อาทิ ได้รับผิดชอบงานวิจัยปัญหาเขตแดน เขาพระวหิ าร (เอกสารลบั ) ใหแ้ กท่ างราชการส�ำนกั นายกรฐั มนตรี และโดยเฉพาะไดร้ บั เลอื กและเชิญเป็นท่ีปรึกษาทางวิชาการแผนที่ในการแก้คดีท่ีศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ(ศาลโลก) ทก่ี รุงเฮก กรณเี ขาพระวิหาร ๓ ครั้ง งานพิเศษทางวชิ าการด้านการทหารทไ่ี ม่อาจลืมในผลงานของท่านผู้นี้ได้ คือ งานส�ำรวจสภาพภูมิศาสตร์ทหารชุดแรกท่ัวประเทศไทย ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีกรมเสนาธิการทหารบก และผู้เช่ียวชาญทางทหารของสหรัฐอเมริกา ตลอดจนการจดั ทำ� แผนทภี่ มู ศิ าสตรช์ ดุ แรกของประเทศไทยเพอ่ื ใชใ้ นการประชมุ ทางวชิ าการแผนทก่ี ับองคก์ ารสหประชาชาตจิ ดั ขน้ึ ท่กี รงุ เทพฯ เป็นต้น 109

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ผลงานทางวชิ าการทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ กน่ กั การศกึ ษาทกุ ระดบั และแกส่ าธารณชนทว่ั ไป ในการศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรทู้ ง้ั ในระบบและนอกระบบนน้ั ไมอ่ าจจะเวน้ กลา่ วถงึ งานจดั ท�ำ สารานุกรมภูมิศาสตร์ประเทศไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน งานต�ำราเรียนภูมิศาสตร์- ประวตั ศิ าสตร์ และแผนทภ่ี มู ศิ าสตรส์ อดสคี รบตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตง้ั แตร่ ะดบั ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาพร้อมหนังสือคู่มือครบชุด (๓๕ เล่ม) งานเขียนสารานุกรม เอนไซโคพีเดียบริตันนิกา แห่งชิคาโกชุดปัจจุบัน เร่ือง THAILAND ตามท่ีได้รับเชิญ งานท่ีปรึกษาและรวบรวมข้อมูลทางวิชาการในโครงการขยายสนามบิน งานวิจัยเกี่ยวกับ เส้นทางภาคเหนือ งานวิจัย Topographic Mapping of Humid Tropical Asia ให้แก่ UNESCO งานวจิ ัย High Altitude Photogrammetry for Determination the True Figure of the Earth และโดยเฉพาะงานวจิ ยั ทางภูมศิ าสตรแ์ ผนทีร่ วม ๑๐ เรอ่ื ง ตามพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน และของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เกี่ยวกับโครงการพัฒนาท้องถ่ินในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยและงานเรียบเรียง ทางวชิ าการเก่ียวกบั ความรบั ผิดชอบของบุคคลในชาติต่อการรกั ษาเขตแดนของไทย นอกเหนือจากท่ีผลงานทางวิชาการได้ยืนยันอย่างแจ้งชัดในความเป็นเอตทัคคะ ทางวิชาการด้านภูมิศาสตร์แผนที่ของศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา แล้ว ผลงานเหล่านี้ยังแสดงถึงความส�ำเร็จในอาชีพอันเป็นแบบอย่างท่ีดี หรืออันสมควร ยกย่องเป็นบุคคลตัวอย่างในวิชาชีพดังกล่าว เพราะท่านผู้นี้ได้รับการเลือกต้ังเป็นนายก สมาคมภมู ศิ าสตรแ์ หง่ ประเทศไทยคนแรกและไดร้ บั ผดิ ชอบจดั ตง้ั สมาคมนโ้ี ดยการสนบั สนนุ ของสภาวิจัยแห่งชาติ ได้รับเชิญเป็นกรรมการทางวิชาการระดับชาติในประเทศและ ตา่ งประเทศมากมาย อาทิ กรรมการบรหิ ารคณะกรรมการการวจิ ยั แหง่ ชาติ สาขาวทิ ยาศาสตร์ กรรมการยอี อเดซแ่ี ละยอี อฟสิ กิ สแ์ หง่ ชาติ กรรมการสงั คมศาสตรฝ์ า่ ยการศกึ ษาสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการภูมิศาสตร์ทางมนุษยชาติ องค์การ Pacific Science Association Hawaii, U.S.A. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาการด�ำรงต�ำแหน่งทาง วิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และของกระทรวงศึกษาธิการ นายกสมาคมส่งเสริม การท่องเท่ียวภาคเหนือ ท่ีปรึกษาการวิจัยผังเมืองและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมของเทศบาล นครเชยี งใหม่ และผวู้ า่ การไลออนสส์ ากลภาค ๓๑๐ A ฯลฯ เปน็ ต้น ผลงานและเกียรติคุณในทางวิชาการ การบ�ำเพ็ญตนเย่ียงครูท่ีรักศิษย์และเป็น ที่พ่ึงของศิษย์เชิงวิชาการในลักษณะสหวิทยาการตลอดอายุการท�ำงานของท่านในสถาบัน ต่างๆ ท่ัวประเทศท้ังการทหารและพลเรือน ตลอดจนการเป็นท่ีพ่ึงและปฏิบัติตนอันเป็น ประโยชน์แก่สาธารณชน องค์การหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในประเทศและนานาประเทศ รวมทง้ั การทำ� งานศกึ ษา คน้ ควา้ วเิ คราะหว์ จิ ยั อยา่ งไมห่ ยดุ ยง้ั เพอื่ ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ อันจะเปน็ ผลต่อการพฒั นาประเทศไทยโดยสว่ นรวม ศาสตราจารย์ พันเอก (พเิ ศษ) พนู พล 110

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดาอาสนะจินดา จึงนับได้ว่าเป็นบุคคลที่สร้างเกียรติภูมิให้แก่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยตรง และสถาบันระดับอุดมศึกษาอ่ืนๆ ท่ัวประเทศ เป็นปูชนียบุคคลของศิษย์ และผู้บุกเบิกและริเร่ิมความเจริญให้กับสาขาวิชาเอกภูมิศาสตร์ของประเทศไทย และเป็นบุคคลตัวอย่างของประเทศชาติ ฉะนน้ั เมอื่ วันท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๒๖ ท่านจงึ ไดร้ ับเกียรติสูงสุดในสาขาวิชาภูมิศาสตร์ ได้รับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชาภูมิศาสตร์คนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคนแรก ของประเทศไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานโกศแปดเหลี่ยม ฉตั รเบญจาตั้งประดับเกยี รตยิ ศ ภาพถ่ายวนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๓๕ ณ พระวหิ ารวดั สวนดอกวรวิหาร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ เป็นองคป์ ระธานในพธิ ีพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์พนั เอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจินดา ณ เมรชุ วั่ คราว วดั สวนดอกวรวหิ าร จังหวดั เชียงใหม่ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๕ 111

ชีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส

ศาสตราจารย์เกยี รติคุณดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์



ชีวิตและงาน ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ Emeritus Professor Dr.Vanpen Surarerks ศาสตรเมธี สาขาวิทยาศาสตร์ ดา้ นภมู ิศาสตร์ปรญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวชิ าภมู ศิ าสตร์เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ช้นั สายสะพายสูงสดุ : มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผือก มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ประวตั แิ ละวฒุ ิการศกึ ษาในประเทศ 115 ศาสตราจารย์ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ เกิดวันอาทิตย์ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๒ ในครอบครัวทหารค่ายสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (ศนู ยส์ งครามพิเศษปัจจุบัน) จังหวัดลพบุรี เป็นลูกคนสุดท้อง (คนที่ ๗) ของพลตรี พิสณห์ และนางสิริวงศ์ (ทองหิรัญ) สุรฤกษ์ เรียนและจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีโรงเรียนสตรีประจ�ำจังหวัดลพบุรี (มัธยมศึกษาปีท่ี ๕) และโรงเรียนเขมะสิร ิอนุสสรณ์ (มัธยมศึกษาปีที่ ๘) กรุงเทพมหานคร ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ท่ีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ได้รับปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต และครุศาสตรบัณฑิต (อบ.คบ. ปี ๒๕๐๔ และ ๒๕๐๖ ตามลำ� ดับ) และได้รับคัดเลือกให้เป็นอาจารย์ที่คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ได้ลาออกต้ังแต่เริ่มแรกช่วงทดลองปฏิบัติราชการ เพ่ือไปบรรจุเป็นอาจารย์ใหม่ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามค�ำเชิญชวนของผู้แทนจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในช่วงเริ่มแรกหรือช่วงก่อตั้ง (บรรจุเข้ารับราชการเม่ือ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๗) โดยได้เดินทางพร้อมบิดามารดามากับขบวนรถไฟ เทย่ี วแรกทพ่ี านกั ศกึ ษากลมุ่ แรก ประมาณ ๓๐๐ คน มาเรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่(จากสถานีหัวล�ำโพงถึงสถานีเชียงใหม่) คร้ังน้ัน มีรองอธิการบดี ศาสตราจารย์ดร.บวั เรศ คำ� ทอง (อดตี อธกิ ารบดคี นท่ี ๔) และภรรยา ศาสตราจารยส์ มุ นา คำ� ทอง(อดตี หัวหน้าภาควชิ าภูมศิ าสตร์คนแรก) มารอรับที่สถานรี ถไฟเชียงใหม่* บทความน้ี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรศิ รา เจรญิ ปญั ญาเนตร จดั ทำ� ตน้ ฉบับ และ ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ ปรับแก้และเขียนเรียบเรยี งฉบับสมบูรณ์

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ วฒุ กิ ารศกึ ษาตา่ งประเทศ ศาสตราจารย์วันเพ็ญ ได้สอบชิงทุนรัฐบาลเยอรมัน คือ DAAD-Stipendium (Deutscher Akademische Austauschdienst) เมือ่ ปี ๒๕๑๓ ไปศึกษาตอ่ ณ มหาวิทยาลยั Justus Liebig-Universität Giessen ประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี จนสำ� เรจ็ การศกึ ษา ระดบั ปริญญาโท-Magister atrium-M.A. (Master of Arts) และปริญญาเอก-Dokters der Philosophie-Dr.phil. (Doctor of Philosophy) สาขาวิชาภูมิศาสตร์ และภมู ศิ าสตรก์ ารเกษตร (Geographie u. Agrargeographie) เมือ่ มีนาคม ๒๕๑๖ และธนั วาคม ๒๕๑๘ ตามลำ� ดบั (วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท : Landnutzung und Bodenerhaltung in Nordthailand-erläutert an Beispielen aus der Provinz Chiang Mai คอื การใชท้ ด่ี นิ และการอนรุ กั ษด์ นิ ในภาคเหนอื ของประเทศไทย ตัวอย่างจังหวดั เชยี งใหม่ และวิทยานิพนธป์ ริญญาเอก : Agrargeograph- ische und sozial-ökonomische Struktur in Nordthailand : unterbesonderer Berücksichtigung der Pachtverhältnisse คอื สภาพทางภมู ศิ าสตรก์ ารเกษตรและเศรษฐกจิ เกษตรในภาคเหนอื ของประเทศไทย : เน้นปญั หาการเช่านาของชาวนาไทย) คณุ วฒุ ิพิเศษ ศาสตราจารยว์ นั เพญ็ ไดร้ บั ประกาศนยี บตั รมคั คเุ ทศกร์ นุ่ ๒ ของคณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จัดอบรมให้การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยช่วงปิดภาคเรียน ฤดูร้อน ปี พ.ศ.๒๕๐๔ และ ปี พ.ศ.๒๕๔๘ เนื่องในมหาวโรกาสเจริญพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ขององค์พระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ทางมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (ครบรอบ ๑๐๒ ปีชาตกาล) ได้สรรหา และคัดเลือกให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ได้รับรางวัลศาสตรเมธี ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘ โดยไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ นกั ปราชญท์ ที่ ำ� คณุ ประโยชนแ์ กส่ งั คม ด้านวิชาการสาขาวิชาภูมิศาสตร์ และเข้ารับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตน- ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ เมษายน ๒๕๔๙ ณ ตกึ ชยั พฒั นา สวนจติ รลดา พระราชวังดุสิต ตำ� แหน่งทางวชิ าการ หลังจากจบปริญญาเอกจากประเทศเยอรมนี กลับมารับราชการต่อท่ีภาควิชา ภมู ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เม่ือธันวาคม ๒๕๑๘ ในปีถัดมาได้รับ การแตง่ ต้งั ให้ด�ำรงตำ� แหน่งผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ ตอ่ มาอีก ๓ ปเี ศษ ไดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์ เมอ่ื ๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๒๓ และไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ 116

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ เมื่อ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ และ หลังจากเกษียณอายุราชการ เม่ือ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๓ สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม ่มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ศาสตราจารย์วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น “ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สาขาวิชาภูมิศาสตร์” ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๔๓ (เม่ือ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๓) และเข้ารบั พระราชทานเกยี รตบิ ัตร จากสมเดจ็ พระเทพรัตน-ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๔ และอีก ๑๐ ปีต่อมา สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีมติให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาภมู ศิ าสตร์ ปีการศกึ ษา๒๕๕๔ (เม่ือ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔) และเข้ารับพระราชทานปริญญาดังกล่าว จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เม่อื ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕สาขาวชิ าทศี่ าสตราจารย์ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์มีความรู้ ความเชยี่ วชาญ และมผี ลงานวจิ ยั น�ำเสนอทัง้ ในฐานะผู้จดั ประธาน และผ้ปู ระสานงานการจดั การประชุม การเขา้ ร่วมประชุมสัมมนาและการบรรยายทางวิชาการทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ตลอดจน มีการพิมพ์ผลงานตำ� ราวิชาการและรายงานการวิจัยเชิงผสมผสานในฐานะหัวหน้าโครงการรวมท้ังบทความพเิ ศษตา่ งๆ ออกเผยแพร่แกผ่ ู้สนใจทั่วไป หัวข้อท่ีเน้นเป็นพิเศษเกี่ยวกับ (๑) ปัญหาและการจัดการการใช้น�้ำชลประทาน (ของรฐั และของราษฎร) ทมี่ ีประสิทธภิ าพในระดบั ไรน่ า (๒) ทรพั ยากรมนษุ ยก์ ับการพฒั นาพื้นที่ลุ่มน�้ำที่เหมาะสม : ปัญหากับการจัดการ (๓) วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจสังคมของ ชนบทยากจนมาก (ยากจนดักดาน) และภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของผู้ตกงาน และปัญหา การพัฒนาชนบท (๔) การพัฒนาพนื้ ท่ีอยา่ งยงั่ ยืน : วิเคราะห์เชิงภมู ศิ าสตร์การเกษตร และ (๕) ยุทธศาสตร์ทางเลือกใหม่ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมของคนจนในชนบทท่ีสูง (ที่อยู่อาศัยและทำ� กินของกลุ่มชาติพันธุ์) ชนบททั่วไปและชุมชนเมืองเป็นส�ำคัญ (๖) ทุจริตระดับรากหญ้ากับความล้มเหลวในการพัฒนาชนบทไทย บทความวชิ าการทีร่ วบรวมจากผลงานวจิ ัยในอดตี จนปัจจบุ ัน ประมาณ ๓๐ ปี และเป็นทม่ี าของงานวจิ ัยเรื่องใหมล่ า่ สุดในฐานะหัวหนา้ โครงการทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนนุ จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. เรอื่ ง“ยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในโครงการพัฒนาของรัฐระดับชุมชน”(พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖) เหล่าน้ีล้วนแล้วแต่เป็นฐานข้อมูลส�ำคัญที่ช่วยเสริมความสมบูรณ ์ใหก้ บั โครงการผลติ ต�ำราวชิ าการและบรกิ ารวชิ าการอน่ื ๆ เชงิ วเิ คราะหว์ จิ ยั ของผเู้ ขยี นดว้ ยดี ตลอดมา 117

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ ประสบการณแ์ ละตำ� แหนง่ ทางวิชาการ ทีศ่ าสตราจารย์ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ได้รับการแต่งตง้ั และได้รับเชญิ มมี ากมาย ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ สรุปโดยสังเขป ดังน้ี ในประเทศ อาทิ อนุกรรมการประเมนิ ผลโครงการสร้างงานในชนบท (กสป.1 ของ สำ� นกั นายกรฐั มนตรี พ.ศ.๒๕๒๓) และเปน็ หวั หนา้ โครงการวจิ ยั ประเมนิ ผลโครงการนี้ (กสช.) ท้ังระดับภาค (พ.ศ.๒๕๒๓) และระดับประเทศ (พ.ศ.๒๕๒๘) หัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๒๗) กรรมการ MAB (Man and Biosphere) แห่งประเทศไทยขององค์การ UNESCO ในความรับผิดชอบของกระทรวง ศึกษาธิการ (พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๒๘) ผู้ช�ำนาญการฝ่ายวิจัยและประเมินผลของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ตามมติ ค.ร.ม. (พ.ศ.๒๕๒๗-๒๕๒๘) อปุ นายกสมาคม ภมู ศิ าสตรแ์ หง่ ประเทศไทย (พ.ศ.๒๕๒๘-๒๕๓๑) อนกุ รรมการประสานงานโครงการเปลย่ี นแปลง ของโลก-IGBP (The International Geosphere-Biosphere Programme : A Study of Global Change) ระดบั ประเทศ ของสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ เพอื่ ประสานงาน และร่วมมือกับโครงการ IGBP ส�ำนักงานใหญ่ ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน และ ส�ำนักงานระหวา่ งประเทศ (ชว่ ง ๖ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๓๕-๒๕๔๐) อนกุ รรมการ ๒ ชดุ ในความร่วมมือของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กับกระทรวงมหาดไทย คือ ชุดแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับที่ดินท�ำกินของราษฎร และชุดแก้ไขปัญหาผลกระทบจากโครงการของรัฐ (พ.ศ.๒๕๓๗) กรรมการประจ�ำสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (๖ ปี ๓ วาระ ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๓๘-๒๕๔๔) ประธานผทู้ รงคณุ วฒุ กิ ลมุ่ สาขาวชิ าสงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตรข์ องบณั ฑิตวิทยาลัย ช่วง ๓ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๓ เพือ่ ตัดสนิ โครงร่างและงานวิจัยดีเด่นประจ�ำปีของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรรมการ เฉพาะกิจประเมินผลงานคณบดีและผู้อ�ำนวยการสถาบันกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปี ๒๕๔๒ ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมการพจิ ารณาคดั เลอื กนกั วจิ ยั ดเี ดน่ ประจำ� ปี ๒๕๔๘ และปี ๒๕๔๙ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและอาจารย์พิเศษ บรรยายในระดบั อดุ มศกึ ษาของสถาบนั ตา่ งๆ ในประเทศ และทปี่ รกึ ษา และกรรมการบรหิ าร มลู นธิ ศิ กึ ษาพฒั นาชนบท-FEDRA ตงั้ แตป่ ี ๒๕๒๕ จนปจั จบุ นั นอกจากน้ี ในปจั จบุ นั (ตง้ั แต่ ปลายปี ๒๕๔๙) อนุกรรมการฝ่ายวิจัย ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ-ป.ป.ช. และปี ๒๕๕๐-๒๕๕๑ เป็นบรรณาธกิ ารบริหารหนังสือวารสาร วิชาการ ป.ป.ช. ฉบับปฐมฤกษ์ (วารสารรายปี) และบรรณาธิการผู้ช่วยต่อมาทุกป ี จนปี ๒๕๕๕ ตง้ั แตป่ ลายปี ๒๕๕๑-๒๕๕๓ เปน็ กรรมการสภาวชิ าการมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 118

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ในฐานะผทู้ รงคณุ วฒุ กิ ลมุ่ สาขาวชิ าสงั คมศาสตร-์ มนษุ ยศาสตร์ และอนกุ รรมการสภาวชิ าการในกลมุ่ สาขาวชิ าทเ่ี ป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และตั้งแตป่ ี ๒๕๕๒-ปจั จบุ นั เปน็ กรรมการอำ� นวยการ(ในฐานะผทู้ รงคณุ วุฒิ) ประจำ� คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ในตา่ งประเทศ อาทิ กรรมการ The Scientific Committee on Geography of thePacific Science Association ประเทศออสเตรเลยี (ช่วง ๘ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๓๐)ศาสตราจารย์บรรยายพิเศษ ของมหาวิทยาลัย ๑๐ แห่งในประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา (U. of Wisconsin-Madison, California State U., Northern Illinois U., U. ofMinnesota, Colorado State U., Cornell U., Massachusetts U. at Amherst, Hawaii U. atManoa ใน U.S.A. และ U. of Western-Ontario กับ York U. ใน Canada) ระหว่าง ค.ศ.1986-1987 (พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐) ช่วงรับเชิญเป็น Visiting Fulbright Professorประจ�ำภาควชิ าสงั คมวิทยาและภาควิชาภูมศิ าสตร์ ณ University of Wisconsin-Madison,U.S.A. และรบั เชญิ เปน็ นักวิจัย (visiting research fellow and scholar) อาจารย์/วทิ ยากร บรรยายพิเศษในสถาบนั ตา่ งๆ และในการประชมุ ระหว่างประเทศ ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๒๒-๒๕๔๘ ทง้ั ในเอเชยี (จนี ญปี่ ุ่น สงิ คโปร์ ฮอ่ งกง ฟลิ ิปปนิ ส์ มาเลเซีย บงั กลาเทศ ศรีลงั กาสปป.ลาว) ยุโรป (เยอรมนี ออสเตรยี ฮงั การี อิตาลี องั กฤษ) และออสเตรเลยี ตลอดจน รับเชิญในโครงการฝึกอบรมเป็นที่ปรึกษาระยะสั้นของธนาคารโลก (World Bank)สหรฐั อเมรกิ า นอกจากนี้ ยังได้ไปศึกษาดูงานท้ังรายเด่ียวและน�ำคณะนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ไปทศั นศกึ ษาในอกี หลายประเทศ อาทิ เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวติ เซอร์แลนด์ ฝรงั่ เศสสเปน สปป.ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม และจนี เปน็ ตน้เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณช์ ้นั สายสะพายสูงสุดทีไ่ ดร้ ับ สาย ๔ เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์อนั เปน็ ท่ีเชดิ ชูย่งิ ชา้ งเผอื กชน้ั สงู สดุ “มหาปรมาภรณช์ ้างเผอื ก”-ม.ป.ช. (๕ ธันวาคม ๒๕๕๒) รบั ๑๐ เมษายน ๒๕๕๓ สาย ๓ เครื่องราชอิสรยิ าภรณอ์ นั มีเกยี รติยศยิง่ มงกฎุ ไทยชน้ั สูงสดุ “มหาวชิรมงกุฎ”-ม.ว.ม. (๕ ธันวาคม ๒๕๔๑) รบั ๗ เมษายน ๒๕๔๒ 119

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ กับมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ (พ.ศ.๒๕๐๗-ปัจจุบนั ) ชวี ิตและงานของอาจารย์วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ทผี่ กู พันกับมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ มาโดย ตลอดตง้ั แตเ่ รมิ่ เขา้ รบั ราชการ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ ซง่ึ เปน็ ปแี รกของการกอ่ ตงั้ และเรมิ่ เปดิ สอน เป็นทางการจนปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๖) ท่ีมหาวิทยาลัยจะมีอายุครบ ๕๐ ปี ครบวันคล้าย วันสถาปนามหาวิทยาลัย คือ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๗ นั้น สามารถแบง่ ออกได้เป็น ๔ ยุค หรือช่วงเวลา คอื ยุคแรก หรอื “ยุคบุกเบกิ ” ของมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ คือยุคที่ชาว มช. รุ่นแรกๆ รู้จักกันดี และเรียกขานกันจนทุกวันน้ี จนถึงปีที่สอบชิงทุนรัฐบาลเยอรมันได้ไป เรยี นตอ่ ปรญิ ญาโท-เอก ณ ประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี (พ.ศ.๒๕๑๓) ยคุ ทสี่ อง คอื ช่วงศึกษาต่อและกลับมารับราชการท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ.๒๕๑๙) จนถึงช่วง ได้รับเชิญจากมูลนิธิฟุลไบรท์ ไปสอนที่มหาวิทยาลัย Wisconsin-Madison สหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ.๒๕๒๙ ยคุ ท่สี าม คือ ช่วงสอนทีส่ หรฐั อเมรกิ า-แคนาดา และกลับมารบั ราชการต่อ (พ.ศ.๒๕๓๐) จนเกษียณอายุราชการ เม่ือ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๓ และยุคปัจจุบัน คือช่วงหลังเกษียณ (พ.ศ.๒๕๔๔-ปจั จุบนั ) ซ่งึ เป็นชว่ งรับเชญิ ท�ำงานวชิ าการ งานวจิ ัย และ งานพัฒนาสังคมตามความรู้และประสบการณ์ ความถนัด และความสนใจเป็นเหตุผล สำ� คญั ยคุ แรก/ ยคุ บุกเบกิ ของมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหมถ่ ึงกอ่ นไปศกึ ษาต่อ ต่างประเทศ (พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๑๓) ยุคแรกนี้เริ่มตั้งแต่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้รวบรวมนักวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ตลอดจนสาขาศึกษาศาสตร์และเกษตรศาสตร์ มาเตรียมงาน เปดิ สอน ๓ คณะแรกทร่ี ะบกุ อ่ นในปีแรกของการจัดตง้ั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลัย รัฐบาลแห่งแรกในส่วนภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ได้เปิดสอนคร้ังแรกในปีการศึกษา ๒๕๐๗ (มิถุนายน ๒๕๐๗) ซ่ึงอาจารย์ได้รับการเชิญชวนและทาบทามจากผู้แทนมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ (ศาสตราจารย์สุวัฒก์ นิยมค้า มาในนามศาสตราจารย์สุมนา ค�ำทอง หัวหน้า ภาควิชาภูมิศาสตร์คนแรก) ได้ตกลงใจ ยอมลาออกจากช่วงเป็นอาจารย์ใหม่ของ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อมาบรรจุเป็นอาจารย์ใหม่ ทดลองปฏิบัติ ราชการของมหาวิทยาลยั เชียงใหมแ่ ทนบรรจุ ต้ังแต่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๐๗ อาจารยไ์ ดโ้ ดยสาร มากบั ขบวนรถดว่ นกรงุ เทพฯ-เชยี งใหม่ ขบวนทน่ี ำ� นกั ศกึ ษาประมาณ ๓๐๐ คนแรกทสี่ อบผา่ น (สนามสอบกรงุ เทพฯ) คณุ พอ่ คณุ แมข่ องอาจารยก์ ม็ าสง่ ทเี่ ชยี งใหมด่ ว้ ย โดยมศี าสตราจารย์ 120

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ดร.บัวเรศ ค�ำทอง (รองอธิการบดีสมัยน้ัน) และภรรยา อาจารย์สุมนา (หัวหน้าภาควิชาภมู ศิ าสตร)์ มารอรบั ทส่ี ถานรี ถไฟเชยี งใหม่ (คณุ พอ่ คณุ แมข่ องอาจารยแ์ ยกไปพกั ในตวั เมอื งกบั ญาติทางคุณพ่อเจา้ ของโรงเลอ่ื ยทวีพรรณ คอื คณุ ทวรี กั พนายางกรู ) อาจารยไ์ ดเ้ ข้าพกั บา้ นเดียวกับเพือ่ นอาจารย์ (ทจ่ี บจากคณะอักษรศาสตร์ และคณะครุศาสตรจ์ ุฬาฯ รุ่นเดยี วกัน) คือ อาจารย์นวลศิริ (ผศ.ดร.นวลศิริ วงศท์ างสวสั ด์ิ ถงึ แกก่ รรม๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖) และอาจารย์นันทวรรณ (ศ.เกียรติคุณ ดร.นันทวรรณ ภู่สว่างชื่อเดิมสายจติ ต์ เหมนิ ทร)์ เป็นบา้ นหวั มมุ หลงั แรกใน ๓ หลงั เรียงกันตามแนวถนนไปเรือนรับรอง หรือที่รู้จักกันว่า “เกสต์เฮ้าส์” (Guesthouse) บ้านพักอยู่ตรงข้ามกับส�ำนักงานทรพั ยากรธรณี ภาค ๓ (ขอใชส้ ถานทใ่ี น มช.) บ้านพักหลงั แรกๆ นี้ ภายหลังไดร้ ้อื ถอน เพ่ือขยายพ้นื ทเ่ี ป็นอาคารเรยี นหมดแลว้ แตช่ าว มช. ยุคแรกๆ กย็ งั จ�ำไดด้ ี และเรยี กขานสืบกัน ตอ่ มาวา่ “บ้านสามสาว” (ซึง่ ก็จะคูก่ บั “บ้านห้าหนมุ่ ” ทม่ี ารุน่ แรก เช่นเดียวกบั สามสาวจบจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ รศ.ดร.การุณย์ กลั่นกล่ินรศ.ดร.พิมล เรียนวัฒนา รศ.ดร.จิตติ โอฬารรัตน์มณี รศ.ไพฑูรย์ ภักดี และ รศ.สมศักดิ์เอี่ยมศรีทอง บ้านพักอยู่ในหมู่บ้านฝายหิน) ซ่ึงทั้งสามสาวก็ได้ย้ายออกมาอยู่หมู่บ้าน อ่างแก้วทีส่ รา้ งเสร็จใหม่ ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ (อาจารย์วันเพญ็ อย่บู า้ นหลังเดยี วกับอาจารย์นยิ ดา พทุ ธวงศ์ นามสกลุ เดมิ “ไกรนาม” หลงั ท่ี ๓ บนลกู เนนิ ตดิ ถนนสายหนา้ ทางเขา้ หมบู่ า้ นมองเหน็ วิวอ่างแกว้ อยหู่ น้าบ้านพกั ) ช่วงแรกๆ อาจารย์ช่วยรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าภาควิชาภมู ศิ าสตรใ์ หเ้ ปน็ ผปู้ ระสานงานตดิ ตอ่ เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู จดั ท�ำหลกั สตู รสาขาวชิ าภมู ศิ าสตร์โดยเฉพาะข้อมูลจากศาสตราจารย์เกียรติคุณ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา ท่ีกรมแผนทท่ี หาร กรงุ เทพฯ ซ่ึงต่อมาในตน้ ปี ๒๕๐๙ (กุมภาพันธ์ ๒๕๐๙) ทา่ นอาจารย์ พูนพล อาสนะจินดาก็ได้โอนมารับราชการ ณ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (อ่านรายละเอยี ดในประวตั ิ “ชวี ติ และงานของศาสตราจารย์พนู พลอาสนะจินดา ในเล่มเดียวกนั ซึง่ อาจารยว์ ันเพญ็ เป็นผูเ้ รยี บเรยี ง)” นอกจากน้ี กไ็ ดช้ ว่ ยงานตรวจสอบหลักสูตรอื่นๆ ท่ีศาสตราจารย์เกียรติคุณแสง จันทร์งาม (คณะมนุษยศาสตร์)รับผดิ ชอบด�ำเนินการ และงานอ่ืนๆ ตามทผ่ี ูบ้ ริหารดำ� เนินการจดั ต้งั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่จะมอบหมาย หรอื ขอให้ช่วยเป็นพเิ ศษ ก่อนพูดถึงงานสอนและกิจกรรมต่างๆ ในยุคบุกเบิกของอาจารย์วันเพ็ญ อาจารย ์ขอแทรกพูดถึงงานวันสถาปนามหาวิทยาลัย หรือวันเปิดมหาวิทยาลัยเป็นทางการ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๐๘ ที่ในหลวงและพระราชินีเสด็จฯ มาทรงเป็น 121

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ องคป์ ระธาน อาจารยเ์ องกเ็ ปน็ ฝา่ ยตอ้ นรบั และไดอ้ ยใู่ นเหตกุ ารณท์ ไ่ี มค่ าดฝนั หลายประการ และที่ยังชัดเจนอยู่ในความทรงจ�ำท่ีเก่ียวกับพิธีเปิด คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายช่างไฟไปโดนปุ่ม (รายงานว่าไฟฟ้าช็อต) ท่ีท�ำให้ผ้าแพรคลุมป้ายเปิดก่อนพระราชพิธี และลอยขึ้นไปกับ ลูกโป่งใหญ่ที่ทางหัวหน้าส�ำนักงานอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ (เรือเอกสุกิจ เย็นทรวง อดีตอาจารยพ์ ิเศษ ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม)่ ไดน้ �ำมา มอบใหโ้ ดยเฉพาะ ทางเจา้ หนา้ ทแี่ ละอาจารยท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งตอ้ งเรง่ แกไ้ ขดว้ ยการใชผ้ า้ สไบสชี มพู สองผืนเล็กของนักศึกษาและสีทองผืนใหญ่ของเจ้าหน้าท่ีบรรณารักษ์ที่ติดกระเป๋ามาใน วนั นน้ั มาเยบ็ ตอ่ กนั คลมุ ปา้ ยชอื่ มหาวทิ ยาลยั แทนไดพ้ อดี และดำ� เนนิ การขอลกู โปง่ ใหมจ่ าก แหล่งเดิม เพียงแต่ได้ลูกที่เล็กกว่ามาใช้แทน เท่านั้น อาจารย์สังเกตเห็นว่าทุกอย่าง ท�ำกันอย่างโกลาหลและเร่งด่วน ขณะเดียวกัน ทางท่านรองอธิการบดีก็ได้ขอความกรุณา ท่านนายกรฐั มนตรขี ณะนน้ั คอื จอมพลถนอม กิตติขจร ไดก้ ราบบังคมทลู ในหลวงใหท้ รง พระกรุณาชะลอการเสด็จลงจากพระต�ำหนักภูพิงค์มาถึงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ช้าลงกว่า ก�ำหนดการเล็กน้อย พิธีการต่างๆ ที่เตรียมไว้ท่ีหน้าตึกและบนศาลาธรรมก็ส�ำเร็จลุล่วง ดว้ ยดใี นทส่ี ุด ส่วนตกึ ศาลาธรรมกใ็ ช้เปน็ ที่ประกอบพธิ ีการสำ� คญั ๆ ของมหาวทิ ยาลัยตั้งแต่ บัดน้นั จนปจั จบุ ัน รวมท้ังใชป้ ระกอบพธิ ีสมรสของอาจารยม์ หาวิทยาลัยเชยี งใหมค่ ่แู รกและ คู่เดียวเท่าน้ัน ในยุคบุกเบิก (พิธีสมรสระหว่างอาจารย์ศรีกาญจน์ สัจจพันธุ์ อาจารย์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ กับ อาจารย์เฉลิมเกียรติ สุจินดา อาจารย์ภาควิชา เศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์) ส่วนอีกกิจกรรมท่ีท�ำกันเฉพาะในยุคแรกๆ ช่วงส้ันๆ ไมก่ ี่ปตี ดิ ต่อกนั แล้วกส็ ญู หายไปอยา่ งน่าเสยี ดาย นน่ั ก็คอื กจิ กรรมนมิ นตพ์ ระสงฆผ์ ้ซู ่งึ เป็น ทีเ่ คารพ ศรัทธาของคณาจารยแ์ ละชาวเชียงใหมม่ าสนทนาธรรมหรือแสดงธรรมทุกวนั เสาร์ ท่ีศาลาธรรม อาจารย์วันเพ็ญมีส่วนได้ช่วยจัดพานดอกไม้ ธูป เทียน (งานจัดพานดอกไม้ เป็นงานที่อาจารย์วันเพ็ญได้มาเรียนรู้และฝึกฝนจากเพื่อนอาจารย์ท่ีมีประสบการณ์ คือ อาจารย์นวลศิริ วงศ์ทางสวัสด์ิ) ส่วนพระสงฆ์ท่ีชาวมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ศรัทธานิมนต์ มาดำ� เนนิ กจิ กรรม วนั เสารบ์ อ่ ยๆ หรอื มากทส่ี ดุ กค็ อื “พระวนิ ยั โกศล” สมยั นนั้ (จนั ทร์ กสุ โล หรอื พระพทุ ธพจนวราภรณ์ อดตี เจา้ อาวาสวดั เจดีย์หลวง รูปที่ ๗ พ.ศ.๒๕๓๕-๒๕๕๑) ดา้ นงานสอนในยคุ แรกนภี้ าควชิ าเปดิ สอนเฉพาะระดบั ปรญิ ญาตรี และวชิ าทอ่ี าจารย์ วันเพญ็ รับผิดชอบหลัก คือ วิชาบังคบั พืน้ ฐานวชิ าเอกภมู ศิ าสตร์ : การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร ธรรมชาติ (ปัจจุบันคือการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม) ซึ่งเป็นวิชาหน่ึงท่ีสาขาอ่ืนของคณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มนษุ ยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ฯลฯ นยิ มเลอื กเรยี นขา้ มคณะ การสอนวชิ านอ้ี าจารยว์ นั เพญ็ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การเรยี นการสอน ในภาคสนาม นกั ศกึ ษาทกุ รนุ่ จะไดอ้ อกไปเรยี นและดงู านในพน้ื ทท่ี ง้ั ในจงั หวดั เชยี งใหม่ และ 122

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์จงั หวดั ใกลเ้ คียง เชน่ ลำ� พนู ลำ� ปาง และพะเยา เปน็ ตน้ นอกจากน้นั อาจารย์ยงั ชว่ ยสอนวิชาบังคับพื้นฐานสาขาวิชาประวัติศาสตร์ของคณะมนุษยศาสตร์ร่วมกับอาจารย์พิเศษ ชาวต่างประเทศ คือ Miss Sharp จากสหรัฐอเมริกา (วิชาอารยธรรมตะวันตก) รับเชิญ เป็นอาจารย์พิเศษวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลปัจจุบันสอนวชิ าภมู ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ ) ชว่ ยสอนบางหวั ขอ้ ในวชิ าภมู ศิ าสตรก์ ายภาพ สอนแทนหวั หนา้ภาควชิ าบางครงั้ ส�ำหรบั วชิ าภมู ศิ าสตรก์ ารเมอื ง สว่ นในปหี ลงั ๆ กไ็ ดส้ อนเพม่ิ วชิ าภมู ศิ าสตร์พื้นฐานและวิชาเลือกอื่นๆ ในระดับชั้นปีที่ ๓ และปีที่ ๔ ซ่ึงจะได้พูดถึงในช่วงหลัง ส่วนห้องพักอาจารย์ภาคภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ อาศัยห้องช้ันสองปีกขวามือหรือ ทางตะวันออกของส�ำนักงานอธิการบดี และห้องสอนหรือห้องเรียนก็อาศัยห้องชั้นล่าง ของอาคารวิทยาลัย ๑ (ตึกคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ปัจจุบัน) ปีกทาง ตะวันตก ทางตะวันออกเป็น canteen หรือห้องอาหารกลางของอาจารย์และนักศึกษาส่วนชั้นสองและช้ันสามเป็นหอพักนักศึกษาหญิงและชาย แยกกันคนละชั้น ขึ้นบันไดคนละด้าน (หอพักหญิงปิดทางขึ้น และเวลาเยี่ยม ๒๐.๐๐ น. ส่วนหอพักชายเปิดตลอด๒๔ ชัว่ โมง) ด้วยในยคุ แรกทงั้ อาจารย์และนกั ศกึ ษามนี ้อย จึงรจู้ กั สนิทสนมกัน ไมม่ ีการแบง่ แยกครู-ลูกศิษย์ หรือแบ่งแยกคณะ ความสนิทสนมรักใคร่อาทรกันและกันยังมีต่อมาเป็น สายสัมพันธท์ แ่ี นน่ แฟน้ จนปัจจุบันไมเ่ สอื่ มคลาย สาเหตหุ น่ึงกด็ ว้ ยอายหุ รอื วัยของอาจารย์วนั เพญ็ กบั นกั ศกึ ษารุ่นแรกๆ ไมต่ า่ งกันมากนัก บางรายมวี ัยห่างกนั เพียง ๒-๓ ปี หรือเฉลยี่เพียง ๔-๕ ปี เพราะอาจารย์เองก็อยู่ในกลุ่มอาจารย์อายุน้อย และเกษียณอายุเป็นกลุ่มสุดท้าย ประกอบกับเชียงใหม่เม่ือ ๕๐ ปีที่แล้ว ยังขาดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกมากมายอาจารย์มหาวิทยาลัยท่ีมรี ถยนตส์ ว่ นตัวใชก้ ม็ เี พยี ง ๒-๓ ราย การเขา้ ไปหาซือ้ ของใช้จ�ำเปน็และข้าวปลาอาหารแห้งในตัวเมืองก็จะขอรถตู้ของคณะไปพร้อมๆ กัน สัปดาห์ละครั้ง สว่ นมากก็เปน็ ช่วงบ่ายวนั ศกุ ร์ โดยไปจ่ายท่ีตลาดตน้ ล�ำไยหรอื กาดวโรรส และถ้ามีอาจารย์คนใดเจ็บป่วยกะทันหัน ก็จ�ำเป็นต้องขอบริการจากอาจารย์ท่ีมีรถส่วนตัว แล้วแต่ติดต่ออาจารยท์ า่ นใดไดเ้ ร็ว กข็ อให้ช่วยพาไปส่งโรงพยาบาลสวนดอก (โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหมป่ จั จบุ นั ) ถา้ อาจารยท์ า่ นใดมธี รุ ะสว่ นตวั เขา้ เมอื ง (ประมาณ ๖ กม. จากมหาวทิ ยาลยั )และไม่มีท้ังรถจักรยานยนต์และรถยนต์ เช่นตัวอาจารย์ ต้องเดินไป-กลับ ระหว่างที่พัก (บ้านสามสาว/บ้านอ่างแก้ว) และหน้ามหาวิทยาลัย ก่อนจะต้องไปรอเรียกรถสองแถว หรอื รถแดง (หรือภายหลงั มรี ถเมล์เหลืองสาย ๓ ผ่านหน้า มช. อกี ประเภทหน่งึ ) นอกจากงานสอนแลว้ ตง้ั แตป่ แี รก อาจารยไ์ ดร้ บั มอบหมายใหท้ ำ� หนา้ ทผี่ ชู้ ว่ ยหวั หนา้ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย (พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๐๘) เป็นเลขานุการสโมสรข้าราชการ 123

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่สองสมัย (พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๐๘ และ พ.ศ.๒๕๐๙-๒๕๑๐) เป็น บรรณาธกิ ารหนงั สอื วารสาร “มช.ปรทิ รรศน”์ (พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๐๙) เปน็ อาจารยผ์ ปู้ กครอง หอหญงิ (พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๐๙) เปน็ หวั หนา้ งานพฒั นาสมรรถภาพบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั (พ.ศ.๒๕๐๙-๒๕๑๐) เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษานกั ศกึ ษาวชิ าเอกภมู ศิ าสตร์ (พ.ศ.๒๕๑๐-๒๕๑๓) และเป็นประธานฝ่ายกีฬาและงานประชาสัมพันธ์สโมสรข้าราชการมหาวิทยาลัย (พ.ศ.๒๕๑๑-๒๕๑๒) งานและกิจกรรมต่างๆ ดังกล่าวมีส่วนให้อาจารย์ได้รู้จัก ติดต่อ ประสานงาน รวบรวมข้อมูลจากบุคลากรหลากหลายสาขา ท้ังในและนอกมหาวิทยาลัย รวมทงั้ บคุ ลากรจากฝา่ ยสอ่ื ประชาสมั พนั ธต์ า่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื พมิ พ์ วทิ ยุ และโทรทศั น์ โดยเฉพาะนักข่าวของเมืองเชียงใหม่ กิจกรรมที่ศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ ค�ำทอง (อดตี รองอธิการบดแี ละอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่) มอบหมายให้อาจารยร์ ับผิดชอบ และตดิ ตามงานอยา่ งใกลช้ ดิ ทกุ วนั สดุ สปั ดาห์ คอื “งานเตน้ รำ� วนั ศกุ ร”์ เพอื่ ชว่ ยใหอ้ าจารย ์ ในมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ไดผ้ อ่ นคลายจากงานประจำ� เพราะสมยั นน้ั มที ใี่ หไ้ ปเทย่ี วพกั ผอ่ น ไดน้ อ้ ยมาก ดงั ทพี่ ดู ถงึ แลว้ งานเตน้ ร�ำนี้จัดท่ีเรือนรบั รอง หรอื Guesthouse โดยมีอาจารย์ อานนท์ อาภาภิรม (อดีตอาจารย์คณะสังคมศาสตร์) รับผิดชอบท�ำอาหารว่างเลี้ยงทุกคน ในงาน เพราะกวา่ งานจะเลิก กเ็ ขา้ วันใหม่หรอื ดกึ มาก ประมาณ ๒.๐๐ น. หรอื ๓.๐๐ น. ก็มี ท่สี ำ� คญั อาจารยใ์ นฐานะเลขานุการสโมสรข้าราชการ จะตอ้ งเชค็ ชือ่ อาจารย์ทุกคนท่มี า รว่ มงาน (หมายถงึ ตอ้ งเชค็ ชอ่ื วา่ ขาดใครบา้ ง) และรายการอาหารวา่ งวา่ คอื อะไร เพอื่ รายงาน ให้อาจารย์บัวเรศทราบก่อนวันงาน และหลังงานเต้นร�ำวันศุกร์เสมอ เช่นเดียวกับการ เขียนข่าว มช.ปริทรรศน์ อาจารย์วันเพ็ญจะต้องน�ำร่างต้นฉบับส่งอาจารย์บัวเรศตรวจเช็ค ทง้ั เลม่ กอ่ นพมิ พเ์ ผยแพร่ (สว่ นเรอ่ื งทเี่ ลา่ ลอื กนั โดง่ ดงั ทส่ี ดุ ของ Guesthouse คงจะไมม่ อี ะไร เกินเรื่องต่ืนเต้นเก่ียวกับผี Guesthouse โดยเฉพาะในหมู่คณาจารย์ที่เล่าว่าจะมีผีสาว นุ่งขาวห่มขาวผมยาวประบ่า ออกมาน่ังซ้อนท้ายผู้ที่ขี่รถจักรยานผ่านตอนคำ่� คืน ร้อนถึง อดีตอธิการบดีบัวเรศสมัยน้ัน ต้องออกมาเล่าสยบข่าวลือว่าเป็นเพียงตาฝาดไปกับ ลมพัดใบไม้ไหวเท่าน้ัน ไม่มีผีจริงจังอะไร แต่ข่าวลือก็คือข่าวลือ เพราะทุกคนก็ยังพูดถึง หรือเลา่ กนั ปากตอ่ ปาก ซึง่ คณาจารย์รนุ่ บกุ เบกิ ทราบดีทกุ คน) กิจกรรมที่อาจารย์ผู้ใหญ่ที่เป็นผู้บริหารสูงสุดของมหาวิทยาลัยสมัยน้ัน คือ ศาสตราจารย์ ดร.บวั เรศ คำ� ทอง และภรรยา (ศาสตราจารยส์ มุ นา คำ� ทอง) และศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย และภรรยา (อาจารย์เจริญพันธุ์ ชุมสาย ณ อยุธยา) ทั้งสอง ครอบครัวจะช่วยดูแลกลุ่มอาจารย์หนุ่มสาววัยรุ่น ซ่ึงมีอาจารย์วันเพ็ญรวมอยู่ด้วยนั้น โดยพาไปท่องเทีย่ วตามแหล่งธรรมชาตทิ ่ีอยหู่ ่างไกล หรอื ไปทำ� กิจกรรมนอกสถานท่ใี นช่วง สุดสัปดาห์ (เสาร์-อาทิตย์) ย่ิงกว่านั้น ครอบครัวอาจารย์บัวเรศมักจะท�ำหรือจัดหาขนม มาฝากบ่อยๆ สว่ นครอบครัวอาจารย์ตุ้ย และอาจารย์เจริญพันธุ์ ซึ่งช�ำนาญเรอื่ งท�ำอาหาร 124

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์และดูแล canteen ที่วิทยาลัย ๑ จะท�ำอาหารหรือขนมเลี้ยงอาจารย์หนุ่มสาวกลุ่มย่อยๆ อยู่เนืองๆ และยังเปิดโอกาสให้กลุ่มอาจารย์ รวมทั้งอาจารย์วันเพ็ญได้มีโอกาสเรียน ทำ� อาหารท่สี นใจกบั นอ้ งสาวของทา่ น คือ หมอ่ มหลวงเตบิ ชุมสาย ทเี่ ชญิ มาเป็นอาจารย์พเิ ศษของมหาวิทยาลยั กจิ กรรมสดุ ทา้ ย ในยคุ แรกทอี่ าจารยต์ อ้ งทำ� ทกุ เยน็ หลงั เลกิ งาน คอื การเลน่ กฬี า และการจัดแข่งกีฬาระหว่างสถาบัน เพราะอาจารย์มาจากครอบครัวนักกีฬา และอาจารย์เอง ก็เล่นกีฬาแบดมินตันมาต้ังแต่เด็ก หรือประมาณอายุ ๘-๙ ขวบ จึงลงแข่งให้ในนามของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กับสถาบันอ่ืนในจังหวัดเชียงใหม่และจากท่ีอื่น (เป็นท่ีมาของการทำ�สนามแบดมินตันไว้ในสโมสรข้าราชการ เพราะท้ังนายกฯ และเลขาฯ สโมสรชุดแรก คืออาจารย์ชัยวัฒน์ ปานพลอย และอาจารย์วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ต่างก็เป็นนักกีฬาแบดมินตันท้ังคู่) และเน่ืองมาจากการจัดแข่งขันกีฬาระหว่างสถาบันดังกล่าว อาจารย์ชัยวัฒน์และอาจารย์วนั เพ็ญจงึ ไดร้ บั การประสานจากวทิ ยาลยั แม่โจ้ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปจั จุบนั ) ใหม้ ีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพจัดเล้ียงสังสรรค์กันคนละปี ระหว่างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กับวิทยาลัยแม่โจ้ (เป็นที่น่าเสียดายท่ีสัมพันธไมตรีลักษณะน้ีท�ำได้ต่อเน่ืองอยู่ไม่กี่ปีก็เลิกราไป ด้วยเหตุผลหลายๆ ประการ และเหตุผลหน่ึงก็คือชุดผู้ร่วมจัดหรือผู้บริหารดำ� เนนิ การมีการเปลี่ยนแปลง ไม่ฝ่ายใดกฝ็ า่ ยหน่ึง) 125

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ ภาพชีวิตและงานยคุ แรก/ยุคบุกเบกิ ของ มหาวิทยาลัยเชียงใหมถ่ งึ กอ่ นไปศึกษาต่อต่างประเทศ (พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๑๓) รบั พระราชทานปริญญา ค.บ. (หลงั ปริญญา อ.บ.) จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั จากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ณ หอประชุมจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย เม่อื วนั ท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖ “ศาลาธรรม” อาคารประกอบพิธตี า่ งๆ บนั ไดทางขึ้นสร้างครอ่ มศิลาฤกษต์ ัง้ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 126

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์งานเลย้ี งวันเปดิ ภาคเรียนแรกณ เรอื นรับรอง ๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๐๗ จากซ้าย อาจารยเ์ ฉลิมเกียรติ สุจนิ ดา นพ.บุญสม มาร์ตนิ พ.ต.อ.นริ ันดร ชยั นาม (ผวู้ า่ ฯ เชยี งใหม)่ อาจารย์อุดม ศรโี ยธา พนั เอกพระยาศรวี ศิ าลวาจา (อธิการบดีคนแรก) อาจารยน์ ันทวรรณ เหมินทร์ อาจารย์วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์อาจารยน์ วลศริ ิ วงศ์ทางสวสั ด์ิและอาจารยอ์ านนท์ อาภาภริ มประเพณอี าจารย์ยุคแรกแต่งชดุ ไทยรับขบวนเสดจ็ ของในหลวง พระราชินี ผา่ นหน้ามหาวทิ ยาลัยข้ึนท่ีประทับบนพระตำ� หนกั ภพู งิ คราชนเิ วศน์ ตกึ คณะสังคมศาสตร์ สรา้ งปี ๒๕๐๗-๒๕๐๘เปิดเรยี นปีการศกึ ษา ๒๕๐๙ 127

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ หลงั ตกึ อธกิ ารบดี (สำ� นกั งานชัว่ คราว คณะสงั คมศาสตร)์ วนั ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๐๘ สามสาว : นวลศริ ิ วงศท์ างสวัสด์ิ นนั ทวรรณ เหมนิ ทร์ วันเพญ็ สุรฤกษ์ศาสตราจารยพ์ นู พล อาสนะจนิ ดา มุมพักผ่อนริมอา่ งแกว้กับอาจารย์ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ ยุคแรก : หนา้ บ้านพกัอาจารย์นวลศริ ิ วงศท์ างสวัสด์ิ หมู่บา้ นอ่างแก้วอาจารย์วนั เพญ็ สุรฤกษ์ และ ปี ๒๕๐๘อาจารย์ประหยัด ปานดี เลยี้ งปีเก่า-ปใี หม่ นกั ศกึ ษาภมู ศิ าสตร์ร่นุ แรก วันท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๐๘ แถวหน้าจากซา้ ย จรรยา ถิระวัฒน์ โชตินารถ แดงดีเลิศกรรณกิ าร์ พงษโ์ สภาวจิ ติ ร พชั รี เมฆารสธรรมกลุ อาจารย์นวลศิริ วงศท์ างสวัสด์ิ แถวหลังจากซา้ ย ศานติ มพี ันธุ์ อาจารย์วันเพญ็ สุรฤกษ์ คำ� นวณ ระติสุนทร ประมุข แก้วเนียม และเสน่ห์ ญาณสาร 128

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้คณะอาจารย์และนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ทัง้ หมด เขา้ เฝา้ ฯ เพื่อพระราชทานเลยี้ งอาหารเย็น ณ พระตำ� หนกั ภพู งิ คราชนเิ วศน์ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๙ กระแสพระราชด�ำรัสของในหลวงทีพ่ ระตำ� หนักภูพิงคราชนเิ วศน์ วนั ท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๙ (ตัดตอนจากบันทกึ ของนกั ศึกษารุ่น ๑ มช. ในหนงั สือประจ�ำปี ๒๕๐๙) .....“เรารู้สึกดีใจมากทไ่ี ดม้ โี อกาสต้อนรับนักศกึ ษาและคณะอาจารยข์ อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม”่ .....“ขอขอบใจที่นักศกึ ษาและคณะครไู ด้ชว่ ยเหลอื เราในกิจการตา่ งๆ แม้ มช. จะไดต้ ั้งเป็นทางการเพียงเวลาปเี ศษๆ น้ี ก็ได้ช่วยในกจิ การ ต้อนรับแขกบ้านแขกเมอื งและให้กำ� ลงั ใจมาตลอด” .....“ตราสัญลกั ษณช์ า้ งชคู บเพลงิ ของมหาวิทยาลัยนี้ เปรยี บเสมอื นเปน็ ประทีปส่องสว่างประจำ� ทางชีวติ ให้รงุ่ โรจน์ต่อไป” .....“มาทนี่ ่กี ข็ อใหถ้ อื ว่าเปน็ กนั เอง แลว้ ก็ใหเ้ ป็นไปตามสบาย เพ่อื ให้ ครกึ ครื้นสนกุ สนาน มกี ำ� ลังที่จะเรียนหนงั สอื ตอ่ ไป” ฯลฯ 129

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ยุคที่สอง : ยคุ ศึกษาตอ่ ปริญญาโท-เอกดว้ ยทุนรฐั บาลเยอรมัน (พ.ศ.๒๕๑๓-๒๕๑๘) และช่วงกลบั มารบั ราชการช่วงแรกหลังปริญญาเอก (พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๙) อาจารยส์ อบชงิ ทนุ รฐั บาลเยอรมนั ตามโครงการแลกเปลยี่ นทางการศกึ ษาหรอื DAAD (Deutscher Akademische Austauschdienst) ไดเ้ ปน็ ๑ ใน ๑๐ คนแรก หรอื ไมเ่ กนิ อนั ดบั ๓ ไปเพ่ิมพูนความรู้ระดับสูงหลังปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัย Justus Liebig-Universität Giessen, Germany โดยมีอาจารย์ท่ีปรึกษา (Doktor Vater หรือ supervisor) คือ Prof. Dr. Harald Uhlig หวั หน้าสถาบนั ภมู ศิ าสตร์ ซึ่งเป็นประธานนักภมู ิศาสตรข์ องยุโรป และเปน็ ผู้เชี่ยวชาญเร่ืองภูมิศาสตร์ประเทศไทย และด้วยผลการเรียนท่ีเข้าเกณฑ์ Prof.Dr. Uhlig จงึ ใหก้ ารสนับสนนุ การศกึ ษาต่อระดับปรญิ ญาโทและเอก โดยได้รับทุนสนับสนุนจากแผนก นกั ศกึ ษาตา่ งประเทศของมหาวทิ ยาลยั สำ� หรบั การเรยี นชว่ งสดุ ทา้ ย และการทำ� วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาโท และได้ทุน DAAD อีกครั้งหนึ่งส�ำหรบั การศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาเอก อาจารย์ เลือกวิชาเอกภูมิศาสตร์การเกษตร (Agrargeographie) และวิชาโทหรือวิชารองสองสาขา ตามกฎของมหาวทิ ยาลยั และอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาเหน็ ดว้ ย คอื ปฐพวี ทิ ยา (Bodenkunde) หรอื Soil Science และชาตพิ นั ธ์ุวทิ ยา (Ethnologie) ดว้ ยการเสนอวิทยานิพนธป์ รญิ ญาโทและ เอกตามทีร่ ะบแุ ล้วแต่ต้น ระบบการศึกษาในประเทศเยอรมนใี นชว่ งนน้ั นอกจากต้องเลือก วิชาโทสองวชิ าดังระบแุ ล้ว ทัง้ ๓ วชิ า (วชิ าเอก ๑ วิชาโท ๒ วชิ า) ต้องสอบผา่ นท้งั ๓ สาขา วชิ า สว่ นวทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาเอกสนบั สนนุ ใหก้ ลบั มาทำ� หรอื ลงสนามในบา้ นเกดิ และเลอื ก หวั ขอ้ ทเี่ ปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงกบั ประเทศของตน อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาตอ้ งมาตรวจในพนื้ ทห่ี รอื สนามวิทยานิพนธ์ (ภาษาเยอรมัน) เม่อื ผ่านการสอบป้องกันแล้ว ตอ้ งจดั พมิ พ์โดยโรงพมิ พ์ ตามจ�ำนวนท่ีจะแจกได้ครบทุกมหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี (ส�ำหรับอาจารย์วันเพ็ญ ทางอาจารย์ที่ปรึกษาขอให้ส่งจ�ำนวน ๒๐๐ เล่ม ในจ�ำนวนน้ีเป็นของอาจารย์ท่ีปรึกษา ๒๐ เลม่ เลม่ ขนาด pocket book หรอื ๖ × ๘ นวิ้ ปกออ่ น หนา ๔๒๔ หนา้ ) การจบปรญิ ญาเอก สาขาภูมิศาสตร์ในประเทศเยอรมนีที่ส�ำคัญอีกประการนอกจากการฟังบรรยายและร่วม สัมมนาครบตามหลักสูตรแล้ว จะต้องมีใบรับรองว่าได้ร่วมในวิชาภาคสนามต่างประเทศ ไมน่ อ้ ยกวา่ สองวชิ าหรอื สองประเทศนน่ั เอง กรณนี นี้ บั วา่ โชคดที อี่ าจารยไ์ ดเ้ รยี นวชิ าภาคสนาม ตา่ งประเทศเกนิ ๒ ประเทศ ในแถบทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ทเ่ี นน้ ประเทศฝรง่ั เศส อติ าลี และ สเปน และวิชาภาคสนามในประเทศเนเธอรแ์ ลนดแ์ ละเดนมาร์ก ระหวา่ งสองภาคฤดูรอ้ น ปัญหาอุปสรรคส�ำคัญในการศึกษา ณ ประเทศเยอรมนี ท่ีต้องเผชิญมากท่ีสุด คือ การใชภ้ าษาเยอรมนั ทงั้ อา่ น พดู และเขยี น ซงึ่ กวา่ จะพอใชภ้ าษาไดก้ เ็ ขา้ ไปปที สี่ ามแลว้ และ ในช่วงปีท่ีสองระหว่างศึกษาปริญญาโท ได้เจ็บหนักจนต้องเข้าโรงพยาบาลประมาณ 130

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์๓ เดอื นเต็ม ด้วยอาการทแ่ี พทยเ์ ยอรมนั ใช้คำ� ว่า “over work hard” เพราะอาจารยน์ อน วันละ ๒-๔ ชั่วโมงติดต่อกันหน่ึงเดือนเต็ม ทานอาหารไม่มีคุณภาพและผิดเวลา ที่ส�ำคัญร่างกายไม่รับอาหารและขาดแคลเซียมอย่างรุนแรง น�้ำหนักลดลง ๕-๖ กิโลกรัม เหลือประมาณ ๓๗ กิโลกรมั ความดนั โลหิตลดตำ�่ มากอยรู่ ะดบั ๖๐-๘๐ แตแ่ พทย์เยอรมนั ก็นับวา่ เกง่ ทเ่ี ชค็ รา่ งกายทกุ สว่ น และบำ� รงุ จนกลบั มามนี ำ�้ หนกั เทา่ เดมิ หรอื มากกวา่ คอื ประมาณ๔๒-๔๓ กโิ ลกรมั เม่ือออกจากโรงพยาบาล อาจารย์ได้ขึ้นเครื่องกลับเมืองไทยทันทีท่ีรู้ผลสอบผ่านและรับใบปริญญาท่ีแผนกทะเบียนของมหาวิทยาลัยแล้ว ซ่ึงอยู่ในช่วงใกล้คริสต์มาส พ.ศ.๒๕๑๘ และได้บินต่อจากกรุงเทพฯ มาเชียงใหม่ เพื่อเข้าร่วมประชุมงานจัดต้ังสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งแรกท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซ่ึงอาจารย์ท่ีปรึกษา Prof.Dr. Uhlig ได้รับเชิญมาเป็น องค์ปาฐก และได้ประกาศตัวลูกศิษย์ คืออาจารย์วันเพ็ญที่เพ่ิงจบปริญญาเอกกลับมา ในงานน้ี นักภูมิศาสตร์ที่มาร่วมประชุมท่ัวประเทศได้เลือกศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พนู พล อาสนะจินดา เปน็ นายกสมาคมคนแรก (พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๑) และวันรุ่งขึ้นผู้เขา้ รว่ มประชมุ รวมทั้ง Prof.Dr. Uhlig ได้ไปออกภาคสนามทีด่ อยอินทนนท์ ส่วนสมาคมกไ็ ดจ้ ดั ตั้งอย่างเป็นทางการ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ให้การสนับสนุนสมาคมภูมิศาสตรน์ ับแต่นั้นมา หลังจากงานประชุมสมาคมผ่านไปแล้ว และอาจารย์รายงานตัวกลับมารับราชการเรียบร้อยแล้ว กล่าวได้ว่า อาจารย์มีงานเข้าท้ังงานสอน งานวิจัย งานวิชาการอ่ืนๆ ในประเทศและต่างประเทศ ตอ่ เนอ่ื งตลอดช่วงเวลา ๑๐ ปี จนถงึ ปี พ.ศ.๒๕๒๙ ทีไ่ ดร้ บั ทนุ ฟลุ ไบรท์ เชญิ ไปสอนทีม่ หาวทิ ยาลยั Wisconsin-Madison สหรัฐอเมรกิ า ๑ ปีเต็ม นั่นคอืเดือนแรกที่รายงานตัวทางเลขานุการคณะสังคมศาสตร์ (รองศาสตราจารย์สมศักดิ์เก่ียวกิ่งแก้ว) ได้มาขอให้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) เก่ียวกับการจัดการ น�้ำชลประทาน โดยมี Prof. Coward จากมหาวิทยาลัย Cornell สหรัฐอเมริกา ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิฟอร์ด (Ford Foundation) พาคณะวิจัยท่ีเป็นเจ้าหน้าที่จาก กรมชลประทาน ๒ คน อาจารยจ์ ุฬาฯ ๓ คน และเชญิ อาจารย์จากมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ร่วมอีก ๓ คน ซึ่งหนง่ึ ในสามคน น่ันกค็ ืออาจารยว์ ันเพ็ญ สุรฤกษ์ ทเ่ี พ่ิงกลบั มารับราชการไดย้ งั ไมค่ รบเดือนดี การประชมุ ครง้ั นีใ้ ชเ้ วลารวม ๓ สปั ดาห์ ผลทตี่ ามมานอกจากจะสร้างมิตรภาพหรือมิตรไมตรีท่ีดีระหว่างนักวิจัยต่างสถาบันต่างสาขา และโดยเฉพาะนักวิจัย มากประสบการณ์ เช่น Prof. Coward ท่ีเช่ียวชาญและมีประสบการณ์เกี่ยวกับระบบชลประทานในประเทศ สปป.ลาว ประกอบกับอาจารย์เองก็พอมีประสบการณ์จากงาน ภาคสนามสำ� หรบั วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาเอกในพน้ื ทอี่ ำ� เภอสนั ปา่ ตอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ทเี่ ลอื กสองพ้ืนที่หรือหมู่บ้านท่ีได้รับน�้ำชลประทานราษฎร์หรือระบบเหมืองฝายที่มีอายุเกือบ 131

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ๗๐๐ ปใี นสมยั นนั้ และอกี สองหมบู่ า้ นทอ่ี ยใู่ นพนื้ ทไี่ ดร้ บั นำ้� ชลประทานหลวงหรอื ชลประทาน ของรัฐ และอาจารยอ์ าภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา จากสถาบนั วิจยั สงั คมจฬุ าฯ ที่ร่วมอย่ใู นทมี ก็มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานวิจัยในพื้นท่ีเหมืองฝายราษฎร์ของน้�ำแม่ออน เขตอ�ำเภอ สันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ การได้แลกเปล่ียนความรู้ในภาคสนามร่วมกันในคร้ังน้ีนับว่า ประสบความส�ำเร็จด้วยดี เปน็ ที่น่าพอใจของทงั้ Prof. Coward หวั หน้าทีม ผู้สนับสนุนทุน คอื มลู นธิ ฟิ อรด์ และผรู้ ว่ มประชมุ สมั มนาทกุ คน เพราะหลงั จากงานครงั้ น้ี โดยเฉพาะอาจารย์ ก็ได้ติดต่อประสานงานกับทั้งคณาจารย์จากจุฬาฯ ตัวแทนเจ้าหน้าที่กรมชลประทาน และ คณาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เองส่วนใหญ่มาจนทุกวันนี้ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง มลู นธิ ฟิ อรด์ ไดก้ ลายเปน็ แหลง่ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และทนุ อดุ หนนุ ใหอ้ าจารยใ์ นฐานะหวั หนา้ โครงการวจิ ยั เกยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การน้�ำชลประทานในไรน่ า ทง้ั ระบบของหลวงและระบบ เหมืองฝายของราษฎร์ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนทุนจัดพิมพ์ผลงานวิจัยฉบับ ภาษาไทย และฉบับแปลภาษาอังกฤษเพ่ือการเผยแพร่ การสนับสนุนทุนท่ีมีอย่างต่อเน่ือง แม้จะเป็นงานในระยะหลังหรือในยุคที่ ๓ ของอาจารย์เพื่อให้อยู่เขียนงานต�ำราเชิงวิจัย ภูมิศาสตร์การเกษตรต่อในสหรัฐอเมริกาช่วง ๓ เดือนสุดท้ายจนครบปีหลังจากทุนมูลนิธ ิ ฟุลไบรท์สอนที่มหาวิทยาลัย Wisconsin-Madison สิ้นสุดแลว้ (พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐) มลู นิธิ ฟอร์ดยังให้ทุนสนับสนุนอื่นๆ อีกมากมาย จนอาจารย์ยอมรับว่า “อาจารย์เป็นลูกสาว มูลนิธิฟอร์ด” (สมัยท่ี Prof.Dr. Geitner เป็นหัวหน้ามูลนิธิฟอร์ดท่ีเมืองไทย และกลับไป ประจ�ำอยู่ที่ส�ำนักงานใหญ่ที่กรุงนิวยอร์ค ก็ยังเชิญให้อาจารย์คร้ังรับทุนฟุลไบรท์ไปพูดท่ี นวิ ยอรค์ และอนมุ ัตทิ ุนใหเ้ ขียนต�ำราอย่ใู นสหรฐั อเมริกาตอ่ อกี ๓ เดอื น จนครบ ๑ ปีเตม็ ดังท่ีระบุแลว้ ) ส�ำหรับงานสอนท่ีอาจารย์ให้ความสำ� คัญเป็นพิเศษหลังจากจบปริญญาเอกกลับมา ในครง้ั นใ้ี นระดบั ปรญิ ญาตรี คอื การปรบั ปรงุ วธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ า “สมั มนาภมู ศิ าสตร”์ ใหเ้ ป็นการฝกึ ฝนนักศกึ ษาวิชาเอกภูมิศาสตร์ปสี ดุ ทา้ ย หรอื ปที ี่ ๔ ทำ� วิจยั ฉบบั ย่อ คือรู้จกั เลือกหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชามาศึกษาวิเคราะห์หรือวิจัยให้ครบทุกขั้นตอน เพ่ือให้ สามารถเสนอผลวจิ ยั ทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ กส่ งั คมอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ไดจ้ รงิ สว่ นนกั ศกึ ษาวชิ าเอก ปีที่ ๓ ก็ได้เตรียมความพร้อมในการเรียนทฤษฎีและวิธีวิจัยในวิชาภูมิศาสตร์เทคนิคและ วธิ กี ารศกึ ษาภูมิศาสตร์ ส่วนวิชาการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มกบั การออกภาคสนามอาจารยก์ ็ยงั กลับมารับผิดชอบให้ความส�ำคัญไม่แพ้กันส�ำหรับวิชาบังคับพื้นฐานปี ๑ เพราะเป็นเรื่อง ทท่ี กุ คนตอ้ งใหค้ วามตระหนกั และดแู ลรกั ษาปอ้ งกนั และอนรุ กั ษร์ ว่ มกนั เพอื่ ความยงั่ ยนื ของ ทรพั ยากรกายภาพและคณุ ภาพชวี ติ มนษุ ยไ์ ปพรอ้ มๆ กนั ขณะเดยี วกนั กเ็ ปดิ สอนวชิ าทศ่ี กึ ษา จบมาโดยเฉพาะ สำ� หรบั นักศกึ ษาปี ๓ และ ๔ คอื ภมู ิศาสตรก์ ารเกษตร ซงึ่ หลังจากสอน ได้ครบ ๑๐ ปี ก็ได้เขียนเป็นต�ำราซ่ึงเป็นงานของช่วงท่ี ๓ โดยใช้ผลวิจัยเป็นฐานส�ำคัญ ในการผลติ ตำ� ราเรอ่ื งนี้ นอกจากนน้ั กย็ งั มวี ชิ าสอนดา้ นภมู ศิ าสตรภ์ มู ภิ าคทร่ี ว่ มรบั ผดิ ชอบดว้ ย 132

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ งานสอนในระดับปริญญาโทภมู ิศาสตรท์ เี่ ปดิ สอนครั้งแรกในปีการศึกษา ๒๕๒๕ น้นัอาจารยเ์ องไดร้ บั มอบหมายจากคณบดคี ณะสงั คมศาสตรข์ ณะนนั้ คอื ศาสตราจารย์ พนั เอก(พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา ให้เป็นผู้จัดท�ำร่างหลักสูตรโครงการปริญญาโทของภาควิชาภูมิศาสตร์ ร่วมกับผู้เช่ียวชาญจากมูลนิธิฟุลไบรท์ (Prof.Dr. Maxfield, Northern IllinoisUniversity, U.S.A.) ที่มาในโครงการให้ความช่วยเหลือกับคณะสังคมศาสตร์ ตั้งแต่ปีแรก ที่อาจารย์จบปริญญาเอกกลับมา คือ ปี ๒๕๑๙ (ทางหัวหน้าภาควิชาเห็นว่ายังไม่พร้อมจะเปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาโท จงึ เกบ็ เรอ่ื งไวห้ ลายปี จนสมยั หวั หนา้ ภาควชิ าคนกอ่ นอาจารย์วันเพ็ญ คอื รองศาสตราจารยป์ ระหยดั ปานดี ได้น�ำร่างตน้ ฉบับมาปรบั ปรุงกนั ใหม่ให้ทันกับยุคสมัย ตามข้อทวงถามของศาสตราจารย์พนู พล อาสนะจินดา) แต่ไดม้ าเปดิ รับสมัครและเริ่มสอนกันสมัยที่อาจารย์ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ (พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๒๗) และวชิ าที่รบั ผิดชอบสอนในระดบั ปรญิ ญาโท คือ วชิ าทเ่ี รียนมาเปน็ วิชาเอก คอืภมู ิศาสตรก์ ารเกษตร และสอนวชิ าบงั คบั พื้นฐาน อาทิ เทคนคิ วิธวี ิจัยทางภูมศิ าสตร์ และภมู ศิ าสตรป์ ระเทศไทย รวมทงั้ การเปน็ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาและคมุ งานวทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโทในการสอนในระดับปริญญาโทน้ี ได้ให้ความส�ำคัญกับการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติใน ภาคสนาม และการใหค้ วามสำ� คญั กบั การเลอื กหวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธแ์ ละเทคนคิ วธิ วี จิ ยั ทจ่ี ะเปน็ประโยชน์แก่งานพัฒนาวิชาการของภาควิชาและการเพิ่มพูนความรู้กับประสบการณ์แก่นักศึกษาวิชาเอกภูมิศาสตร์ที่จะน�ำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตการท�ำงานต่อไป นอกจากน ้ียังส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างคณาจารย์กับนักศึกษาเป็นพิเศษ มีการเชิญวิทยากรที่เชี่ยวชาญและที่นักศึกษาสนใจมาบรรยายพิเศษ มีการแลกเปลี่ยนการพบปะสงั สรรคร์ ะหวา่ งนกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทภมู ศิ าสตรก์ บั สาขาวชิ าอน่ื เชน่ เศรษฐศาสตร์ โดยผลดั กนัเปน็ เจ้าภาพ เป็นท่ีน่าเสยี ดายทีก่ จิ กรรมดๆี เหล่านีเ้ ลกิ ราไปในระยะเวลาเพียงไม่ก่ีปี ต�ำแหน่งหน้าท่ีและงานที่อาจารย์รับผิดชอบในช่วงที่สองหรือช่วงหลังปริญญาเอก ซง่ึ มหี ลากหลายทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ นอกจากงานสอนและงานปรบั ปรงุ หลกั สตู รทงั้ ระดบั ปรญิ ญาตรแี ละเปดิ สอนใหมใ่ นระดบั ปรญิ ญาโท และงานวจิ ยั หรอื งานวชิ าการอนื่ ๆทเี่ กยี่ วขอ้ งกนั ดงั ทไี่ ดอ้ ธบิ ายไปบา้ งแลว้ สำ� หรบั งานในประเทศ โดยเฉพาะในชว่ ง ๒-๓ ปแี รกทก่ี ลบั มา (พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๑) อาจารยย์ งั ไดร้ บั แตง่ ตงั้ เปน็ กรรมการรว่ มคณะเกษตรศาสตร์กับคณะสงั คมศาสตร์ ท่ีเรยี กวา่ “Ag. Soc. Committee” ซง่ึ ได้รบั การสนบั สนุนจากมลู นิธิ ฟอร์ดในประเทศไทย ช่วงเดียวกันนี้ยังได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาวิชาเอกภูมิศาสตร์ กรรมการศูนย์วิจัยสังคม คณะสังคมศาสตร์ ประธานกรรมการวิชาการของ สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ผู้แทนส�ำรองคณะกรรมการภูมิศาสตร์ของส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ อนุกรรมการพิจารณาหลักสูตรวิชาภูมิศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของทบวงมหาวิทยาลัย (ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการ) และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 133

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท คณะสง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประเมนิ คณุ สมบตั แิ ละผลงานทางวชิ าการ คณะสงั คมศาสตร์ และกรรมการดำ� เนนิ งานบณั ฑติ วิทยาลัยชุดแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ท่ีมีศาสตราจารย์นายแพทย์กอสิน อมาตยกุล เปน็ ประธาน) ในช่วงแรกนี้ หรือในปีที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๒๑) ช่วงท่ีอาจารย์รักษาการหัวหน้าภาควิชา ภมู ศิ าสตร์ ไดช้ ว่ ยรา่ งแผนงานและท�ำรายละเอยี ดโครงการศกึ ษาดงู านส�ำหรบั หลกั สตู รเรง่ รดั ของมหาวทิ ยาลัย Puget Sound สหรัฐอเมรกิ า ไปศกึ ษานอกสถานที่ โดยไปใชช้ วี ิตร่วมกบั ชาวชนบทเกษตร และร่วมกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันและยามว่างสองเดือนเต็ม รวมทั้ง การรว่ มกจิ กรรมปลกู ขา้ ว (ในพน้ื ทห่ี มบู่ า้ นหนง่ึ ในสแ่ี หง่ ตวั อยา่ งในโครงการวจิ ยั ปรญิ ญาเอก ของอาจารย์ บา้ นมะขามหลวง ทา้ ยเหมืองแมแ่ ตง โครงการชลประทานหลวง เขตอ�ำเภอ สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่) นอกจากอาจารย์จะเข้าไปช่วยบรรยายและให้ข้อมูลเบื้องต้น ในพ้ืนท่ีแล้ว ยังเข้าไปเยี่ยมเยียน และร่วมในกิจกรรมส�ำคัญหรือกิจกรรมหลักๆ อย่าง สมำ่� เสมอ หรอื แมแ้ ตใ่ นยามวา่ งทคี่ ณะนกั ศกึ ษาและคณาจารยร์ ว่ มในกจิ กรรมดา้ นวฒั นธรรม ประเพณีพ้ืนบ้าน อาทิ งานบวชลูกแก้ว (บวชสามเณร) งานวัดท่ีมีการชกมวยไทยโชว์ การร่วมทำ� บุญตกั บาตรเช้าที่พระสงฆม์ าบณิ ฑบาต เปน็ ต้น ส�ำหรับงานในต่างประเทศช่วงแรกหลังจบปริญญาเอก คือในปีถัดมา (พ.ศ.๒๕๒๒) ทางมูลนิธิฟอร์ดผู้สนับสนุนทุนวิจัยด้านการจัดการน้�ำชลประทานดังอธิบายแล้วแต่แรก ได้ประสานงานติดต่อทางสถาบัน ISEAS (Institute of Southeast Asian Studies) ประเทศ Singapore ใหก้ ารสนบั สนนุ ทนุ และสถานทช่ี ว่ ง ๖ เดอื น เชญิ อาจารยเ์ ปน็ Visiting Research Fellow ไปเขียนสรุปรายงานผลการวิจัยท่ีดำ� เนินการในพ้ืนท่ีแอ่งเชียงใหม่ ประมาณเกือบ ๓ ปี เก่ียวกับปัญหาและการแก้ไขข้อขัดแย้งในการจัดการเรื่องน�้ำ และการใช้น�้ำเพื่อการ เพาะปลูกในไร่นาของระบบชลประทานหลวง และระบบชลประทานราษฎร์ ในหัวข้อ “Water Management Conflicts in Northern Thai Irrigation Systems” (พิมพ์เผยแพร่ ฉบับภาษาไทย-อังกฤษ ปี พ.ศ.๒๕๒๓) และทางมูลนิธิฟอร์ดยังได้สนับสนุนทุนดูงานต่อ ด้านการจัดการนำ้� ชลประทานท้ังของรัฐและราษฎร์ของประเทศฟิลิปปินส์อีก ๑ เดือนเต็ม โดยเชญิ เป็น Visiting Scholar ของสถาบัน IPC (Institute of Philippine Culture) Manila, Philippines อาจารย์ได้ไปบรรยายพิเศษผลการวิจัย แลกเปล่ียนความคิดเห็นกับเจ้าหน้าท่ี ของรัฐกระทรวงการชลประทาน ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิฟอร์ดประจ�ำประเทศฟิลิปปินส์ นอกจากได้มีโอกาสไปดูงานระบบชลประทานท่ีชาวบ้านหรือราษฎรบริหารงานได้ส�ำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังได้ไปดูงานและพบปะแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับผู้เช่ียวชาญ ของศนู ย์ข้าว (การเกษตรชลประทาน) ของฟิลปิ ปินส์ทีเ่ มอื ง Los Baños อกี ด้วย 134

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ในปีเดยี วกนั น้ี (พ.ศ.๒๕๒๒) สำ� หรับงานทมี่ หาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ อาจารย์กไ็ ดช้ ว่ ยปฏิบัติงานโครงการจัดต้ังสถาบันวิจัยสังคม และเป็นรองประธานกรรมการฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย ส่วนทางทบวงมหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังให้อาจารย์เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งให้เป็นกรรมการอ่านผลงาน เพ่ือขอต�ำแหน่งทางวิชาการ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ และในปีถัดมา (พ.ศ.๒๕๒๓) อาจารย ์ก็ได้รักษาการหัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์อีกครั้งหน่ึง เป็นอนุกรรมการประเมินผลสัดส่วนภาระงานรับผิดชอบที่เหมาะสมของอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ ก็ได้แต่งต้ังให้อาจารย์เป็นอนุกรรมการหนังสือแปลประจ�ำวิชาภูมิศาสตร์ และที่ส�ำคัญทางส�ำนักนายกรัฐมนตรีได้แต่งต้ังให้อาจารย์เป็นอนุกรรมการประเมินผลโครงการสร้างงาน ในชนบท (กสป.๑) งานนี้นับเป็นจุดเร่ิมต้นในการสร้างงานวิจัย/วิชาการและช่ือเสียงให้ อาจารย์ต่อๆ มาจนปัจจุบัน (จะได้พูดถึงต่อไป) นอกจากน้ี ทางประเทศออสเตรเลีย ได้แต่งต้ังให้อาจารย์เป็น Member of the Scientific Committee on Geography ของ The Pacific Science Association (จากการเสนอชื่อของศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ)พนู พล อาสนะจนิ ดา อดตี อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ คณบดีคณะสงั คมศาสตร์ และรองอธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เชยี งใหม)่ เปน็ เวลาตอ่ เน่ืองนานถงึ ๘ ปี คือถงึ ปี ๒๕๓๐ นอกจากงานในประเทศท่ีอาจารย์มีหน้าท่ีและรับผิดชอบหลากหลายแล้ว ส�ำหรับ ปีเดียวกัน (พ.ศ.๒๕๒๓) งานในต่างประเทศที่อาจารย์ได้รับเชิญจากผลส�ำเร็จในงานวิจัย เก่ยี วกับการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ� และระบบชลประทานเปน็ สำ� คญั นัน่ กค็ อื อาจารย์ได้รับทุนสนับสนุนคือ JSPS จากรัฐบาลญี่ปุ่น โดยมีหนังสือรับรองจาก เลขาธิการ คณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาตใิ นช่วงนัน้ (ศาสตราจารย์ ดร.สง่า สรรพศรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงานแห่งชาติ) เชิญเป็นผู้แทนประเทศไทย รว่ มประชมุ และเสนอบทความวชิ าการทไ่ี ดส้ รุปจากผลงานวิจยั เรือ่ ง Water ManagementConflicts in Northern Thai Irrigation Systems ใน The 24th International GeographicalCongress ณ กรงุ โตเกยี ว ประเทศญ่ีปนุ่ (ช่วงวันท่ี ๑-๕ กันยายน ๒๕๒๓) อยา่ งไรกต็ ามอาจารย์ได้รับทุนคร้ังน้ีนานถึงเดือนคร่ึง (ระหว่างสิงหาคม-กันยายน ๒๕๒๓) เพราะได้ครอบคลุมการร่วมประชุมและออกภาคสนามตลอดโครงการ (ตั้งแต่ช่วง Pre-Congressท่ีเมอื ง Nagano ระหว่าง ๒๕-๓๑ สิงหาคม ๒๕๒๓ เน้นเรอื่ ง Agricultural Productivityand World Food Supply ช่วง Congress ท่กี รุงโตเกยี วระบุแลว้ และช่วง Post Congressไดอ้ อกสนามทเ่ี กาะ Kyushu ระหว่าง ๖-๑๓ กนั ยายน ๒๕๒๓ เนน้ เรอื่ ง Agricultural LandUtilization of Saitobaru Hills, consisting of volcanic ashes ทดแทนโปรแกรมเดมิ ท่เี นน้เรอ่ื ง Volcanoes and Hot Springs เพราะเสน้ ทางประสบพายไุ ตฝ้ นุ่ แตก่ ไ็ ดศ้ กึ ษาแลกเปลยี่ นความคิดเห็นในกลุ่มนักวิชาการภูมิศาสตร์จากหลายมุมโลกที่มารวมอยู่ในกลุ่มเดียวกัน 135

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ส�ำหรับเมืองที่มีลักษณะเฉพาะโดดเด่นมากมาย เช่น เมือง Kagoshima ที่ถูกเศษหิน ดนิ ทราย และเถา้ ถา่ นภเู ขาไฟทบั ถมมากมาย และเมอื ง Kumamoto ทมี่ รี ปู รา่ งคลา้ ยปราสาท และรอบๆ เมอื งไดพ้ ฒั นาเป็นแหลง่ การเกษตรกา้ วหนา้ ท่ีผลติ เพื่อขาย หรอื truck farming เป็นต้น) และหลงั จากนน้ั อกี ประมาณ ๓ สปั ดาห์ อาจารยไ์ ดร้ บั เชิญเปน็ แขกของกรรมการ ภมู ิศาสตร์แหง่ ชาตญิ ป่ี นุ่ คือ Prof. Matsatoshi M. Yoshino ไปเย่ยี มชมและดงู านในสถาบนั ภูมิศาสตร์ต่างๆ โดยเฉพาะท่ีมหาวิทยาลัย Tsukuba แห่งเมือง Tsukuba เมืองศูนย์รวม วิทยาการสมัยใหม่และสถาบันวิจัยต่างๆ แทบทุกสาขาวิชาของญ่ีปุ่นในสมัยนั้น (ปัจจุบัน ได้พัฒนาก้าวหน้ามากย่ิงข้ึน จากที่อาจารย์ได้ไปประชุมอีกครั้งในปลายปี ๒๕๔๘) (มีข้อ น่าสังเกตและน่าสนใจ ส�ำหรับความก้าวหน้าทันสมัยของมหาวิทยาลัย Tsukuba เม่ือ เปรยี บเทยี บกบั มหาวทิ ยาลยั เกา่ แกท่ มี่ ชี อ่ื เสยี งทส่ี ดุ ของญปี่ นุ่ คอื มหาวทิ ยาลยั โตเกยี ว และ มหาวิทยาลยั เกยี วโต ในสมยั นั้น หรืออดีตมากกว่า ๓๐ ปี เพราะอาจารยไ์ ดพ้ บวา่ สมยั นน้ั มีนักศึกษาหญิงเรียนในระดับอุดมศึกษาน้อยมาก เช่นเดียวกับอาจารย์หญิงท่ีมีน้อยกว่า อาจารย์ชายมาก เช่นพบว่า มีอาจารย์หญิงท่ีจบ Ph.D. สอนที่มหาวิทยาลัยโตเกียวและ เกียวโตแห่งละเพียงคนเดียว นอกจากน้ี ยังได้รับค�ำบอกกล่าวจากนักศึกษาชายระดับ ปริญญาโทท่ีอาจารย์ไปบรรยายพิเศษเล่าว่า นักศึกษาหญิงที่เข้ามาเรียนและพบรักกับ นกั ศกึ ษาชายกจ็ ะนยิ มลาออกไปแตง่ งานกนั มากกวา่ เรยี นตอ่ จนจบ บางคนเลา่ วา่ นกั ศกึ ษา หญิงพยายามสอบเข้ามาเรียน เพ่ือให้ได้คู่ดีๆ ดังน้ัน จึงเป็นที่น่าชื่นชมส�ำหรับนักศึกษา ทสี่ อบเขา้ เรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั Tsukuba ไมว่ า่ จะเปน็ ในภาควชิ าภมู ศิ าสตรห์ รอื ภาควชิ าอน่ื ๆ กต็ าม จะพบวา่ มจี ำ� นวนนกั ศกึ ษาหญงิ มากกวา่ มหาวทิ ยาลยั สว่ นใหญใ่ นญป่ี นุ่ และเรมิ่ สงั เกต เหน็ ความทดั เทยี มกนั ของนกั ศกึ ษาหญงิ ชายท่ี Tsukuba University มากกวา่ มหาวทิ ยาลยั อนื่ ดังน้ัน ในช่วงที่อาจารย์แวะไปท่ีมหาวิทยาลัยนี้อีกคร้ัง เมื่อ ๖-๗ ปีท่ีผ่านมา ก็จะไม่พบ ลักษณะเดิมๆ อกี เลย คอื ปจั จบุ นั กม็ สี ภาพไมต่ า่ งจากมหาวทิ ยาลัยบ้านเรา น่นั เอง) ในปี ๒๕๒๓ เช่นกัน อาจารย์ยังได้รับเชิญในฐานะนักวิจัยด้านบริหารจัดการนำ�้ ใน ระบบชลประทานท่ีเปน็ ตวั แทนจากภูมภิ าคต่างๆ อาทิ อเมริกา ยโุ รป และเอเชีย โดยทุน สนับสนุนของธนาคารโลก (World Bank) และมี Prof.Dr. Coward (ซึ่งเคยมาจัดประชุม เชิงปฏิบัติการที่เชียงใหม่ ทอ่ี าจารยว์ ันเพ็ญร่วมด้วยเม่อื ตน้ ปี ๒๕๑๙) จาก มหาวิทยาลยั Cornell, U.S.A. เป็นผู้ด�ำเนินการจัดประชุม นักวิจัยและนักวิชาการชลประทานกลุ่มย่อย ท่ีมีประสบการณ์ และผลงานวจิ ยั ทเ่ี น้นระบบของราษฎรหรือประชาชนเป็นหลกั มาประชมุ แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และดูงานท่ีประเทศศรีลังกา กรุงโคลัมโบ อนรุ าชปรุ ะ และแคนดี้ เปน็ ตน้ ในชว่ งเวลาประมาณสองสปั ดาห์ หลงั จากกลบั มาจากศรลี งั กาแลว้ ในปลายปเี ดยี วกนั อาจารยก์ ไ็ ดเ้ ดนิ ทางกลบั ไปประเทศเยอรมนี ในฐานะ Visiting Scholar เปน็ ครงั้ แรกหลงั จาก เรยี นจบกลับมาแลว้ ซง่ึ ครบ ๕ ปีพอดี โดยไดร้ บั เชิญจากสถาบันภูมิศาสตรส์ ถานศกึ ษาเดมิ 136

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์คือ Geographisches Institut, Justus Liebig-Universität, Giessen ด้วยทุนของรัฐบาลเยอรมัน-DAAD เช่นเดิม (ทุนนี้สถาบันหรือมหาวิทยาลัยในเยอรมนีสามารถขอสนับสนุนเชิญนักเรียนทุนเดิมกลับไปท�ำกิจกรรมด้านวิชาการ เช่น สอนหรือท�ำวิจัยได้ เม่ือครบทุก๕ ปี ซ่ึงจนปัจจบุ ันอาจารยไ์ ดก้ ลับไปมาแลว้ รวม ๓ ครงั้ ครัง้ ละ ๓ เดอื น และสว่ นมากกไ็ ปบรรยายพเิ ศษ ดงู าน และเขยี นรายงานผลการวจิ ัยเรอ่ื งทเ่ี ตรียมข้อมลู ไว้พร้อมแลว้ ) ในช่วง ๓ เดอื น ระหวา่ งปลายปี พ.ศ.๒๕๒๓ ถงึ ต้นปี ๒๕๒๔ ทก่ี ลบั ไปท่สี ถาบนัศึกษาเดิมในประเทศเยอรมนี อาจารย์ได้รับเชิญเป็น Visiting Scholar ในช่วงสั้นๆ อีก ๒ ประเทศ คือ ทีส่ ถาบัน Institute of Oriental and African Studies and Departmentof Geography ที่ Bedfords College, University of London, United Kingdom และทส่ี ถาบนัGeographical Research Institute, Hungarian Academy of Science Budapest, Hungaryกจิ กรรมหลกั ทไ่ี ดร้ บั เชญิ คอื การไปบรรยายพเิ ศษ ทงั้ ทป่ี ระเทศองั กฤษและฮงั การี โดยเฉพาะที่ฮังการี Professor Enyedi ผู้อ�ำนวยการสถาบันที่เชิญได้รู้จักกับอาจารย์วันเพ็ญในการประชุมสหภาพภูมิศาสตร์โลกท่ีประเทศญ่ีปุ่น (พ.ศ.๒๕๒๓) ได้จัดโปรแกรมให้บรรยาย เกี่ยวกับการพัฒนาชนบทตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : อดีต-ปัจจุบัน และดูงานการเกษตรแบบคอมมูนที่มีสมาชิกทั้งเมืองร่วมกันผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพส่งออก ท้ังในและตา่ งประเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากงานประชมุ การดูงาน การบรรยาย การวิจยั และเขียนรายงานผลทอ่ี าจารย์ไดท้ ำ� ในแต่ละปี นอกจากงานสอนประจ�ำและสอนพเิ ศษตามท่ีไดร้ ับเชิญแล้ว อาจารย์ยงั ได้ผลติ สง่ิ พิมพ์ตา่ งๆ ซึง่ ในปีเดยี วกันน้ี (พ.ศ.๒๕๒๓) อาจารย์ไดผ้ ลิตตำ� ราประกอบการสอนวิชาอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ๓ เล่ม คือ (๑) การอนุรักษส์ ิง่ แวดล้อม (๒) ทรพั ยากร มนุษย์ และ(๓) ทรัพยากรดิน นอกจากนัน้ ก็ไดพ้ มิ พ์รายงานผลการวิจัยด้านชลประทานฉบบั ภาษาไทยและอังกฤษ ท่ีได้ไปใช้เวลาเขียนรายงานช่วง ๖ เดือน ในประเทศสิงคโปร์ในปีที่ผ่านมา ดังทร่ี ะบุแลว้ ในปี พ.ศ.๒๕๒๔ หลังจากกลับมาเมืองไทยแล้ว อาจารย์ได้รับมอบหมายจากส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ให้เป็นท่ีปรึกษาและศึกษาเกี่ยวกับการผลิตและการจา้ งงานนอกการเกษตรในชนบทภาคเหนอื ตอนลา่ งของประเทศไทย เปน็ การศกึ ษาเปรียบเทียบมูลเหตุและปัจจัยของความเจริญก้าวหน้าของกิจการและการจ้างงานนอกการเกษตรที่พัฒนาในเขตพ้ืนท่ีเจริญและพ้ืนท่ียากจน (ตัวอย่างศึกษาจังหวัดก�ำแพงเพชรและจงั หวดั สโุ ขทยั ) ทง้ั นเ้ี พอื่ หาลทู่ างพฒั นาและขยายงานนอกการเกษตรในพนื้ ทชี่ นบททวั่ ไปโดยเฉพาะในพื้นท่ีชนบทยากจน งานนี้ได้รับการอุปถัมภ์และวางแผนงานวิจัยร่วมกันของธนาคารโลกกับสภาพัฒน์ เพื่อน�ำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการก�ำหนดนโยบายและ แผนปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การพฒั นาชนบทแนวใหมใ่ นแผนพฒั นาฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๒๙) 137

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ นอกจากน้ี อาจารย์ยังได้มีโอกาสช่วยติดตามทุนสนับสนุนมูลนิธิศึกษาพัฒนาชนบท จากมลู นธิ ิ Brot für die Welt (Bread for the World) ประเทศเยอรมนี ทล่ี มื สง่ เงนิ ทนุ สนบั สนนุ ปีสุดทา้ ยมาให้ และไดเ้ ขยี นโครงรา่ งขอตอ่ ทุนใหอ้ กี ๑ ล้านบาท เพ่อื ใหม้ ูลนธิ ิศกึ ษาพัฒนา ชนบทมโี อกาสสานตอ่ งานพฒั นาชนบทเกษตรแกส่ มาชกิ ในหลายสบิ หมบู่ า้ นของ ๓ จงั หวดั พน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบขององคป์ ระธานมลู นธิ ิ คอื เชยี งใหม่ ลำ� พนู และแมฮ่ อ่ งสอน จากการชว่ ยงาน คร้ังน้ี องค์ประธานมูลนิธิ คือ พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) อดีตเจ้าอาวาส วดั ปา่ ดาราภริ มยแ์ ละเจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร จงึ ไดข้ อใหอ้ าจารยช์ ว่ ยงานในตำ� แหนง่ กรรมการบริหารของมูลนิธิ ตั้งแต่บัดน้ันจนปัจจุบันก็ยังช่วยงานน้ีอยู่อย่างต่อเน่ือง แม้องค์ประธานผู้ก่อตง้ั (ปี พ.ศ.๒๕๑๗) จะมรณภาพไปแลว้ ก็ตาม (พ.ศ.๒๕๕๑) งานของ มลู นธิ นิ บั วา่ มคี วามกา้ วหนา้ และไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากองคก์ รในประเทศ ระหวา่ งประเทศ และสว่ นบคุ คลทส่ี นใจรว่ มทำ� บญุ ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นพฒั นาการเกษตรกา้ วหนา้ ผลติ เมลด็ พนั ธ์ุ จ�ำหน่าย และจัดต้ังเป็นสหกรณ์การเกษตรช่วยจำ� หน่าย มีกองทุนเงินหมุนเวียนให้สมาชิก กูไ้ ปพัฒนาอาชพี มมี ูลนธิ ิเมตตานารีตัง้ คขู่ นานกันไปส่งเสริมใหแ้ มบ่ ้านและสตรีในหมบู่ า้ น มีงานอาชีพเสริม หรืออาชีพหลักท�ำด้านเย็บปักถักทอเป็นส�ำคัญ พร้อมแหล่งจ�ำหน่าย หรือตลาด มธี นาคารโค-กระบือใหผ้ ูใ้ จบญุ หรือผมู้ าบรจิ าค เพ่อื ต่อชวี ติ ได้ช่วยไถ่ ท้งั ชวี ิต วัวควายแล้ว ยังช่วยให้เกษตรกรยากจนได้แรงงานไปใช้พัฒนาอาชีพ โดยไม่ต้องลงทุน แต่ต้องดูแลรักษายามเจ็บป่วยและเลี้ยงดูจนชีวิตจะหาไม่ ยกเว้นลูกที่ตกมาใหม่ต้องแบ่ง คนละคร่ึง ระหว่างผู้เลี้ยงกับมูลนิธิ เพราะทางมูลนิธิก็จะได้น�ำไปบริจาคแก่เกษตรกร สมาชิกยากจนที่เข้าช่ือรอรับบริจาคตามลำ� ดับ นอกจากน้ี ทางมูลนิธิยังจัดตั้งสถานศึกษา ที่เรียกว่า “สถาบันเยาวสตรี” เรียนในหลักสูตร กศน. ระดับมัธยมปลาย (๒ ปี) ที่มีท้ัง สายวชิ าการและสายวชิ าชพี ใหเ้ ลอื ก ตวั อยา่ งโครงการทก่ี ลา่ วมาทง้ั หมดยงั ด�ำเนนิ การอยใู่ น ปัจจุบันอยา่ งต่อเน่ือง เชน่ เดียวกับท่ีอาจารย์กย็ งั เป็นกรรมการบริหารจนปจั จบุ นั ปถี ดั มา (พ.ศ.๒๕๒๕) ภาระงานสอนของอาจารยว์ นั เพญ็ นบั วา่ มคี วามเขม้ ขน้ มากขน้ึ เพราะเปน็ ปแี รกที่ภาควิชาภมู ิศาสตร์เปิดสอนระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวิชาภมู ิศาสตร์ เพราะ นอกจากจะสอนวิชาเอกระดับปริญญาตรีแล้ว ยังเป็นอาจารย์ประจ�ำบัณฑิตศึกษาของ ภาควิชาเพิ่มข้ึนด้วย ย่ิงกว่าน้ัน แม้อาจารย์จะรับเชิญไว้ล่วงหน้าแล้วว่าปีนี้จะไปท�ำงาน ที่ประเทศญ่ีปุ่นหน่ึงปีเต็ม แต่คณาจารย์ภาควิชาก็ยังลงมติเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้า ภาควิชา ๔ ปีเต็ม ดังนั้น ทางคณบดีคณะสังคมศาสตร์ (รองศาสตราจารย์โฉมเฉลา เรืองพงษ์ ปัจจุบันถึงแก่กรรม) จึงได้ขอร้องให้อาจารย์แจ้งทางรัฐบาลญ่ีปุ่นท่ีเชิญว่า ขอลดชว่ งรบั เชญิ เหลอื เพยี งครง่ึ ปี เพอื่ ไมใ่ หเ้ ปน็ ภาระแกอ่ าจารยท์ จี่ ะชว่ ยรกั ษาการแทนนาน และหนกั เกนิ ไป ทุนทร่ี บั เชญิ จากสถาบัน CSEAS (Center for Southeast Asian Studies) มหาวิทยาลัย Kyoto เมืองเกียวโต ประเทศญ่ีปุ่น ในฐานะ Visiting Research Fellow 138

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์เพ่ือร่วมวิจัยและแลกเปล่ียนความคิดเห็น เกี่ยวกับระบบการชลประทานของประเทศไทยกับคณะอาจารย์ทีส่ นใจด้านเดยี วกนั โดยเฉพาะกบั Prof. Kaida และ Prof. Takaya ของสถาบันเดียวกัน แม้จะอยู่ที่ญี่ปุ่นได้เพียง ๖ เดือน แต่อาจารย์ก็ได้ไปออกสนามศึกษา ระบบเหมืองฝายที่ชาวญ่ีปุ่นท�ำกันในอดีต และเก็บรักษาระบบไว้น�ำออกมาสาธิตเพื่อให้ความรู้และบทเรียนท่ีควรอนุรักษ์ของบรรพบุรุษในอดีตแก่ลูกหลานเป็นงานส�ำคัญประจ�ำปีท่คี นไทยน่าจะเอาเยย่ี งอย่างท่ีดีเชน่ คนญปี่ ุ่น ย่งิ กว่าน้ัน ในชว่ งเดยี วกันนีอ้ าจารยย์ งั ไดน้ �ำผลงานวิจัยด้านชลประทานท่ีท�ำมาทุกเร่ืองมาวิเคราะห์ภาพรวม เพ่ือให้เห็นถึงพัฒนาการของระบบชลประทานของราษฎร หรือที่รู้จักกันว่า “ระบบเหมืองฝาย” ท่ีมีมาไม่น้อยกว่า๗๐๐ ปี ตามจารึกใบลานเกย่ี วกบั มงั รายศาสตร์ทีพ่ บหลักฐานถึง ๗ ชดุ ซ่งึ ได้พูดถึงระบบเหมืองฝายตั้งแต่สมัยพญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา(พ.ศ.๑๘๓๙ แต่ตามต�ำนานโบราณล้านนาเล่าขานว่ามีระบบเหมืองฝายในอาณาจักรลา้ นนามานานกวา่ อีกเท่าตัว หรอื ประมาณ ๑,๔๐๐ ปี ใน Vanpen Surarerks, HistoricalDevelopment and Management of Irrigation Systems in Northern Thailand, 1968)และท่ีส�ำคัญอาจารย์ได้เป็นผู้เขียนร่วมกับ Prof. Kaida (Co-author) เร่ือง “Climate andAgricultural Land Use in Monsoon Asia,” edited by Prof.Dr. M. M. Yoshino และพมิ พ์เผยแพรโ่ ดย University of Tokyo Press (1984) นอกเหนอื จากน้ี อาจารย์ยังไดช้ ่วยบรรยายพิเศษเป็นคร้ังคราวเก่ียวกับงานวิจัยที่ท�ำด้านการพัฒนาและการบริหารจัดการระบบชลประทาน และการใชท้ ด่ี นิ ทางการเกษตรของไทย ใหน้ กั ศกึ ษาปรญิ ญาโทคณะเกษตรศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกียวโต และร่วมในพิธีกรรมต่างๆ ของชาวญี่ปุ่นที่มีการฉลองในรอบปีอาทิ พิธีฉลองผลผลิตข้าวใหม่ และพิธีอนุรักษ์ระบบเหมืองฝายประจ�ำปี และงานสุดท้ายก่อนกลับเมืองไทย คือการบรรยายผลงานวิจัยชลประทานให้คณาจารย์ของสถาบันและ ผสู้ นใจทัว่ ไป ต�ำแหน่งและงานอ่ืนในประเทศท่ีอาจารย์ได้รับแต่งตั้งในปีน้ี (พ.ศ.๒๕๒๕) ก็คือ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้เป็นกรรมการ MAB (Man and Biosphere)แหง่ ประเทศไทยขององคก์ าร UNESCO ทอ่ี ย่ใู นตำ� แหน่ง จนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๘ และได้เขยี นบทความทางวิชาการเรื่อง “ฝายพญาค�ำ”-ระบบชลประทานแบบดั้งเดิมของราษฎรเพื่อ ลงพมิ พใ์ นวารสารของอำ� เภอสารภี ทน่ี ายอำ� เภอขณะนนั้ ตดิ ตอ่ ขอมาโดยตรงเพอ่ื รว่ มฉลองอ�ำเภอสารภี มีอายุครบ ๑๐๐ ปี เพราะทราบดีว่าอาจารย์มีผลงานวิจัยเร่ืองนี้ที่ลงลึกใน รายละเอยี ดมากอ่ นแลว้ (วารสารมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ขอน�ำเรอ่ื งนไ้ี ปตพี มิ พ์อกี ครั้งในภายหลัง) นอกจากน้ัน อาจารยย์ ังไดเ้ ขยี นบทความทางวชิ าการเก่ียวกับ “การใช้ประโยชนว์ ชิ าภมู ศิ าสตรใ์ นโครงการพฒั นาชนบทภาคเหนอื ของประเทศ” เพอ่ื นำ� เสนอในการประชุมวิชาการประจ�ำปีของสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ที่จุฬาลงกรณ์ 139

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ มหาวิทยาลัย ส่วนอีกงานที่อาจารย์ได้ท�ำในปีนี้เช่นเดียวกัน คือการพิมพ์เผยแพร่รายงาน ผลการวิจัยท่ีรับผิดชอบร่วมกับรองศาสตราจารย์ ดร.ลือชัย จุลาสัย เร่ือง “Water Management and Employment in Northern Thai Irrigation System” โดยได้รับเชิญ จาก Prof.Dr. S.Hirashima, Gakuin University, Japan ดว้ ยทุนสนบั สนุนจาก ILO/ARTEP ประเภท กำ� หนดหวั เรือ่ ง ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๒๖ นับเป็นปีส�ำคัญของมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ในการเตรยี มการ ฉลองครบรอบ ๒๐ ปขี องการกอ่ ตงั้ มหาวทิ ยาลยั เพราะวนั เกดิ ตามกฎหมายของมหาวทิ ยาลยั คอื วนั ท่ี ๒๒ มกราคม ๒๕๐๗ เปน็ วนั ทมี่ หาวทิ ยาลยั มฐี านะเป็นนิติบุคคลโดยสมบรู ณ์ คอื วนั ถดั จากวนั ทพี่ ระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ (เลม่ ที่ ๘๑ ตอนที่ ๗ ลงวนั ท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๐๗ มาตรา ๒) และเปิดเรยี นวันแรกภาคแรกของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เมื่อวันท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๐๗ แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระนางเจา้ สิรกิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ เสด็จฯ เปดิ มหาวิทยาลัยเชียงใหมอ่ ยา่ งเป็นทางการ ในวันอาทิตย์ที่ ๒๔ มกราคม ของปีถัดมา (พ.ศ.๒๕๐๘) (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ครั้งเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ และสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ฯ โดยเสดจ็ มาในวนั นนั้ ดว้ ย) ในครงั้ นน้ั อาจารยก์ ไ็ ดม้ บี ทบาทรว่ มแรงแขง็ ขนั อยใู่ นฝา่ ยตอ้ นรบั ด้วย และได้มอบหมายหน้าท่ี หรือความรับผิดชอบเป็นกรรมการด�ำเนินงานจัดฉลอง ครบรอบ ๒๐ ปี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในฝ่ายจัดท�ำหนังสือที่ระลึก “ครบรอบ ๒๐ ปี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” โดยได้รับมอบหมายให้อยู่ในกองบรรณาธิการกลาง (จ�ำได้ว่า ในกองบรรณาธกิ ารนมี้ ศี าสตราจารย์ ดร.ภาณี เตชะเสน คณะเภสชั ศาสตร์ และศาสตราจารย์ เกยี รตคิ ณุ นายแพทยเ์ กษม วฒั นชยั องคมนตรี ปจั จบุ นั ) และรว่ มรบั ผดิ ชอบการคน้ หาขอ้ มลู และเขียนบรรยายในภาคท่ี ๔ หัวข้อ “มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมก่ บั การพฒั นาภาคเหนอื ” (ภาคอนื่ ๆ ในหนงั สอื เลม่ นี้ ประกอบดว้ ย ภาคที่ ๑ ประวัตมิ หาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ภาคที่ ๒ ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ต้ังแต่เปิดจนปัจจุบัน ภาคที่ ๓ สภาพปัจจุบันของ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และภาคที่ ๕ ขอ้ เขยี นรำ� ลกึ อดตี ) หนงั สอื ทรี่ ะลกึ เลม่ นน้ี บั วา่ มคี ณุ คา่ แก่การศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีมีนโยบายขยายการ ศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาสภู่ มู ภิ าค ตงั้ แตป่ ระมาณปี พ.ศ.๒๔๘๔ และการรณรงคข์ องประชาชน ชาวเหนือหรอื ท่ีรู้จกั กนั ว่า “ชาวลานนาไทย” เพ่อื จะมมี หาวิทยาลยั ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๙๓- ๒๔๙๙ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์คนเมืองได้รณรงค์อย่างต่อเน่ืองด้วยข้อความที่ว่า “ในภาคเหนอื เราต้องการมหาวทิ ยาลยั ” พิมพ์ลงในบัตรวงกลมสีแดงเข้ม แจกให้ติดรถยนต์ รถสามล้อ เกวียน กระเปา๋ เดินทาง ปากประตบู า้ น และในทุกทีท่ กุ แหง่ ซงึ่ จะเห็นได้ชัด และ จัดพิมพ์ข้อความเดียวกันลงบัตรแสตมป์สีแดงเข้ม เพื่อแลกให้ติดซองจดหมายคู่ไปกับ ดวงตราไปรษณีย์ หรอื ติดคู่กบั อากรแสตมป์ และที่อ่ืนๆ ตามแต่ผ้ใู ช้จะเห็นสมควร เป็นต้น 140

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ ไดร้ บั การสนองตอบจากฝา่ ยรฐั บาลตง้ั แตบ่ ดั นน้ั ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๔๙๙-๒๕๐๓โดยมอบให้กระทรวงศึกษาด�ำเนินการตามนโยบายขยายโอกาสทางการอุดมศึกษาไปสู่ภูมภิ าค โดยเนน้ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการอุดมศึกษากับการพฒั นาเศรษฐกิจ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่จึงถือก�ำเนิดมีกระบวนการด�ำเนินการก่อตั้งจนเร่ิมเปิดสอนในมิถุนายน ๒๕๐๗ ดังระบุแล้ว อาจารย์ก็ได้เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่กลุ่มหรือคณะแรก ท่ีได้รับ การเชญิ ชวนใหม้ าสอนประจ�ำในภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ หนง่ึ ในสามคณะแรกที่เปิดสอนในปี พ.ศ.๒๕๐๗ (ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ และมนษุ ยศาสตร์ ท้งั น้ียังไมน่ ับรวมคณะแพทยศาสตรท์ ม่ี มี ากอ่ นแลว้ และไดโ้ อนมาขน้ึ กบั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมใ่ นปถี ดั มา คอืปี พ.ศ.๒๕๐๘) ดงั ท่พี ดู ถึงตัง้ แต่ต้น นอกจากงานส�ำคัญดังกล่าวระดับมหาวิทยาลัยแล้ว อาจารย์ยังได้รับการแต่งต้ัง จากคณะสังคมศาสตร์ในงานเดียวกัน คือ ทางคณะได้มอบหมายให้อาจารย์เป็นประธาน ฝ่ายจดั นทิ รรศการของคณะเพอื่ รว่ มฉลองมหาวทิ ยาลัย ครบรอบ ๒๐ ปดี ว้ ยเชน่ กัน อย่างไรก็ตาม ในระยะเวลาเดียวกัน อาจารย์ยังได้รับการประสานงานจากกลุ่มคณาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอาชีวศึกษาแห่งกรุงเบอร์ลิน (Technical Hochschule, Berlin) ประเทศเยอรมนี เพ่ือเป็นเจ้าภาพให้การดูแล ประสานงานการมาเรียนนอกสถานท่ี และฝึกภาคสนามในช่วงที่อยู่เมืองไทยเป็นเวลา หนงึ่ เดอื นเตม็ ทเี่ ชยี งใหม่ และชว่ ยประสานงานการไปดงู านในภมู ภิ าคอนื่ ๆ ของประเทศดว้ ย (ในช่วงเตรียมงานต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น และทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เก็บตัวกองบรรณาธิการให้ท�ำงานด้านการจัดท�ำหนังสือท่ีระลึกได้อย่างเต็มท่ี คณบดีคณะสังคมศาสตร์ คือ อาจารย์โฉมเฉลา ที่พักอยู่ท่ีแฟลตอาจารย์โสดด้วยกัน หรือแฟลตฝายหนิ ก็ไดร้ บั โทรศพั ท์ทางไกลแต่เชา้ มืดของวันท่ี ๕ ธนั วาคม และรบี วิง่ ลงมาจากแฟลตช้ันบนเพื่อมาแจ้งข่าวร้ายที่สุดในชีวิตของอาจารย์ท่ีพักอยู่ห้องชั้นล่างว่า “คุณพ่อของอาจารย์ได้จากไปแล้ว นับเป็นการสูญเสียคร้ังย่ิงใหญ่ที่สุด ซึ่งอาจารย์ มช. รุ่นแรกๆทกุ คนทราบดวี า่ คณุ พอ่ กบั อาจารยร์ กั และผกู พนั กนั มากทสี่ ดุ และทา่ นเปน็ ผใู้ หร้ ายละเอยี ดเก่ียวกับดวงชะตาของมหาวิทยาลัยกับพระยาศรีวิศาลวาจา อธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยท่ีขอให้คุณพ่อของอาจารย์พยากรณ์ให้ รวมท้ังผู้บริหารระดับสูงคนอื่นๆโดยเฉพาะศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ ค�ำทอง อดีตอธิการบดี และภริยา อาจารย์สุมมาค�ำทอง และศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย ณ อยุธยา อดีตคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ซ่ึงต่างก็ให้ความนับถือคุณพ่อของอาจารย์ และติดต่อขอค�ำแนะน�ำจากท่านอยู่เนอื งๆ จนวาระสดุ ท้ายแหง่ ชีวิต) 141

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ สำ� หรบั ปที ี่ ๒๐ ของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (พ.ศ.๒๕๒๗) ตำ� ราทอ่ี าจารยไ์ ดม้ สี ว่ นรว่ ม เขียนกับ Prof.Dr. Yoshihiro Kaida เกี่ยวกับ Climate and Agricultural Land Use in Thailand ช่วงรับเชญิ อยู่ทีม่ หาวิทยาลยั Kyoto เมื่อปี ๒๕๒๕ และหนังสือครบรอบ ๒๐ ปี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมท่ ่ีร่วมเขียนและจดั ทำ� ในปี ๒๕๒๖ ตามลำ� ดบั ได้พิมพ์เผยแพร่ท่ัวไป และทส่ี ำ� คญั คอื ในปนี ้ี อาจารยไ์ ดร้ บั เชญิ จากอดตี ผจู้ ดั การใหญค่ นแรก (นายจำ� ลอง โตะ๊ ทอง) ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธ.ก.ส. ตามมติคณะรัฐมนตรี ที่ขอตัวจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้ไปช่วยงาน ณ ส�ำนักงานใหญ่ท่ีกรุงเทพฯ เป็นเวลา ๑ ปีเต็ม ในฐานะผู้ช�ำนาญการฝ่ายวิจัย และประเมินผลของธนาคารรับเงินเดือนระดับ ผู้บริหารข้ัน C11 (คุณจ�ำลอง โต๊ะทอง ได้มาติดต่อทาบทาม เชิญอาจารย์ด้วยตัวเอง ท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี ๒๕๒๕ ก่อนไปท�ำงานที่มหาวิทยาลัยเกียวโต ญ่ีปุ่น และท�ำหนังสือตามไปยืนยันค�ำเชิญที่ญ่ีปุ่นอีกครั้ง ก่อนขอมติ ค.ร.ม. เชิญในปีที่อาจารย์ พอจะไปได้ โดยเจรจาขอตัวไว้ ๒ ปี แต่อาจารย์ขอเป็นเพียงปีเดียว) ทั้งน้ีภายหลังจากท่ี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมอ่ นมุ ตั ใิ หอ้ าจารยล์ าออกจากตำ� แหนง่ หวั หนา้ ภาควชิ ากอ่ นกำ� หนดได้ ท�ำให้อาจารย์เป็นหัวหน้าภาคคนเดียวท่ีทำ� งานไม่ครบเทอม คือรับต�ำแหน่งส้ันท่ีสุดเพียง ปคี ร่ึง (พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๒๗) ช่วงการท�ำงานทีส่ ำ� นักงานใหญ่ ธ.ก.ส. กรุงเทพฯ ๑ ปีเต็ม (พ.ศ.๒๕๒๗-๒๕๒๘) น้ัน อาจารย์ได้กลับไปอยู่ที่บ้านกรุงเทพฯ ซึ่งเดินทางไปท�ำงานสะดวก ถ้ารถไม่ติดก็เพียง ครึ่งชั่วโมง แต่ส่วนใหญ่จะใช้เวลาสามเท่า คือเฉล่ียเที่ยวละชั่วโมงครึ่ง แม้จะออกแต่เช้า ประมาณ ๗.๐๐ น. และกลบั ออกจากท่ีท�ำงานหลงั ๑๙.๐๐ น. แทบทกุ วัน งานส�ำคัญคอื การวางแผนศกึ ษาวิเคราะห์วิจัยเพือ่ ปลอ่ ยสนิ เชอื่ เกษตรให้ชาวชนบททั่วไป และโดยเฉพาะ ชาวชนบทยากจนสามารถกู้เงิน ธ.ก.ส. ด้วยดอกเบ้ียต�่ำสุดท่ียอมรับได้ท้ังสองฝ่าย คือท้ัง ผู้ให้กู้และผู้กู้ กับค้นหาวิธีที่ดีท่ีสุดหรือเป็นไปได้ท่ีเกษตรกรผู้กู้สามารถช�ำระคืนได้ทั้งต้น และดอกโดยไมเ่ ดอื ดรอ้ น งานนท้ี างผจู้ ดั การใหญไ่ ดใ้ หอ้ สิ ระเตม็ ทใ่ี นการเลอื กพนกั งานของ ธ.ก.ส. มาเปน็ ทมี วิจัย พรอ้ มอำ� นวยความสะดวกเรอื่ งยานพาหนะ ค่าใช้จ่ายในการไปออก สนามทุกจังหวัดท่ีมีส�ำนักงาน ธ.ก.ส. ที่ได้เลือกเป็นตัวอย่างศึกษาครอบคลุมทุกภูมิภาค ทวั่ ประเทศ ยงิ่ กวา่ นี้ อาจารยย์ งั ไดร้ บั ความรว่ มมอื อยา่ งดมี าก จากผจู้ ดั การ ธ.ก.ส. ทกุ สาขา ในการให้สัมภาษณ์หรือให้ข้อมูลและพูดคุยอย่างเป็นกันเอง ไม่ว่าจะขอนัดทั้งในและนอก เวลาท�ำงาน เพราะบางคร้ังทีมวิจัยต้องขอพบปะพูดคุยในช่วงเวลากลางคืนถึง ๓-๔ ทุ่ม ตวั แทนระดบั บรหิ ารของ ธ.ก.ส. ทกุ แหง่ ยนิ ดี และสง่ิ สำ� คญั ทที่ มี วจิ ยั โดยเฉพาะตวั อาจารยเ์ อง หวั หนา้ โครงการรสู้ กึ ประทบั ใจมากทส่ี ดุ คอื ผจู้ ดั การหรอื ผแู้ ทนทกุ คนไดใ้ หข้ อ้ มลู รายละเอยี ด ท่ีเปน็ ปญั หา อุปสรรค และจุดอ่อนตา่ งๆ ทต่ี ้องการให้ทางส่วนกลาง หรอื ส�ำนกั งานใหญ่ แก้ไขหรือช่วยเหลือ ทั้งระยะเร่งด่วนหรือทันที และในระยะยาวอย่างต่อเน่ือง เร่ืองหน่ึง 142

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ท่ีอาจารย์จำ� ได้ดี คือ ความต้องการให้ส่วนกลางหรือสำ� นักงานใหญ่เข้าใจปัญหาท่ี ธ.ก.ส.สาขาต้องตอ่ สกู้ บั พ่อค้า/นักธรุ กจิ ท้องถิ่น หรอื ตัวแทนบริษทั ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศที่ ธ.ก.ส. ต้องแข่งขันในการขายสินค้าจ�ำเป็นประเภทเดียวกันให้เกษตรกรในท้องถ่ิน เพราะในช่วงน้ันปัญหาหลักๆ คือ ธ.ก.ส. มีกฎเกณฑ์ให้ผู้กู้ช�ำระเงินคืนพร้อมดอกเบ้ีย ท้ังเป็นเงินสด (in cash) และเป็นสิ่งของ (in kind) โดยเฉพาะการชำ� ระคืนด้วยการซ้ือปุ๋ย และอุปกรณ์เคร่ืองทุ่นแรงทางการเกษตรจาก ธ.ก.ส. ในสัดส่วนร้อยละ ๗๐ : ๓๐ ซ่ึง ขอ้ เทจ็ จรงิ ทท่ี มี วจิ ยั ไดร้ บั ทราบจากการสมั ภาษณแ์ ละจากการหาขอ้ มลู ในสนามเองกต็ รงกนัคอื ผกู้ ทู้ กุ คนหรอื รอ้ ยละ ๑๐๐ ประสงคจ์ ะชำ� ระคนื ทง้ั ตน้ และดอกดว้ ยเงนิ สด ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์เพราะราคาปุ๋ยและอื่นๆ ท่ี ธ.ก.ส. ขายหรือบังคับขาย (ร้อยละ ๓๐ ของเงินช�ำระคืน)ล้วนแล้วแต่แพงกว่าราคาตลาดทั้งสิ้น กรณีนี้สร้างความอึดอัดไม่สบายใจให้ ธ.ก.ส. สาขาเปน็ อยา่ งมาก ซงึ่ ผู้จัดการสาขาสว่ นใหญ่เสนอวธิ ี หรือมาตรการแก้ไขตรงกัน หรือไมต่ า่ งกนัมากนัก คือ ส่วนกลางหรือส�ำนักงานใหญ่ต้องเร่งเพิ่มวงเงินให้ทางสาขาเพียงพอท่ีจะต่อสู้อยา่ งทนั การณก์ บั กลมุ่ พอ่ คา้ ทจี่ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ เกษตรแบบเดยี วกนั ทจี่ บั มอื รว่ มกนั ขายตดั ราคาหรือแม้แต่จะยอมขาดทุน เพราะมีกลุ่มนายทุนท้ังในและต่างประเทศหนุนหลังอย่างที่ระบุแล้วก็มีมิใช่น้อย มิฉะนั้น ส่วนกลางหรือส�ำนักงานใหญ่ก็ควรยอมท�ำตามค�ำร้องเรียน ของเกษตรกรผู้กู้ คือ ยกเลิกการช�ำระคืนด้วยการซ้ือสินค้าเกษตร (in kind) และให้เหลือ การชำ� ระคืนดว้ ยเงินสด (in cash) เพียงอย่างเดียว ในชว่ งทา้ ยของการทำ� งานที่ ธ.ก.ส. ไดร้ วบรวมขอ้ มลู ภาคสนามทง้ั หมดเปน็ ฐานขอ้ มลูประกอบการเขียนรายงานเสนอเป็นโครงการพร้อมแนวนโยบายและแผนปฏิบัติ วิธีและ ขั้นตอนการดำ� เนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ ทาง ธ.ก.ส. ได้มอบหมายไว้ให้รับผิดชอบโดยมอบข้อมูลที่เตรียมไว้ท้ังหมดให้ทาง ธ.ก.ส. สามารถน�ำไปด�ำเนินการต่อไปเองได ้การมอบงานพร้อมค�ำแนะน�ำให้ ธ.ก.ส. ได้ท�ำตอนปลายปี ๒๕๒๗ หลังจากได้กลับจาก การไปดูงานท่ปี ระเทศจนี (ระหวา่ ง ๒๕ ตุลาคม-๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗) เรียบร้อยแล้ว การไดร้ บั เชญิ ไปประเทศจนี ครงั้ แรกของอาจารย์ เนอื่ งจากทางคณะวจิ ยั และผบู้ รหิ ารจากสถาบนั วิจัย Remote Sensing, Academia Sinica กรุงปักกิง่ และมณฑลยูนนาน นำ� โดยProf. Chen Shupeng ท่ีไดม้ าเยยี่ มชมและดงู านภาควชิ าภูมศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่(ท่ีรับผิดชอบงานศูนย์ Remote Sensing ภาคเหนือ และมีการเรียนการสอนในสาขาวิชาด้านน้ี ในปลายปี ๒๕๒๖) ไดม้ าเชิญอาจารย์ไปเมืองจนี ด้วยวาจาเป็นครั้งแรก จากนน้ั ก็ได้มีหนังสือติดต่อกันอีกสองสามครั้ง (โดยเฉพาะการขอให้ทางอาจารย์เชิญ Professorsจากจนี ๒ คนมารว่ มประชมุ วชิ าการทางภมู ศิ าสตรค์ รงั้ ท่ี ๑ เรอื่ ง : วเิ คราะหภ์ มู ศิ าสตรภ์ มู ภิ าคเพอื่ การวางแผนพฒั นาประเทศทอี่ าจารยใ์ นฐานะหวั หนา้ ภาควชิ าเปน็ ประธานจดั ใหม้ ขี นึ้ ในเดือนมีนาคม ๒๕๒๗) และในเดอื นกรกฎาคม ๒๕๒๗ ทางผูอ้ �ำนวยการสถาบนั ภูมศิ าสตร์ 143

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ แหง่ Academia Sinica กรุงปกั ก่ิง คือ Prof. Zuo Dakang ไดม้ หี นงั สือเชญิ เปน็ ทางการให้ อาจารยไ์ ปดงู านและบรรยายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ตามสถาบนั ในเครอื ขา่ ยของ Academia Sinica (Chinese Academy of Science) เป็นเวลา ๓ สัปดาห์ (ระหว่าง ๒๕ ตุลาคม- ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๗) โดยมีโปรแกรมท่ีปักก่ิง (Beijing) เซี่ยงไฮ้ (Shanghai) คุณหมิง (Kunming) ซอื เหมา (Simao) สิบสองปันนา (Xishuangbanna) กวางโจว (Guangzhou) และ แวะเกาะฮ่องกง (Hong Kong) ก่อนกลับประเทศไทย ส�ำหรับการเดินทางไปจีนครั้งแรกน ี้ ได้มีผู้ช่วยศาสตราจารย์กวี วรกวิน (อดีตคณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ และอดตี นายกสมาคมภมู ศิ าสตรแ์ หง่ ประเทศไทย) จากภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒรว่ มเดนิ ทางไปดว้ ย ซง่ึ ทางสถาบนั ผเู้ ชญิ ไดช้ ว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายภายในประเทศจีนให้อาจารย์กวีร้อยละ ๔๐ ของทั้งหมด ส�ำหรับหัวข้อเร่ืองที่ อาจารยร์ ับเชญิ ใหบ้ รรยายพเิ ศษ รวม ๕ ครั้ง สองครัง้ แรกพดู ท่ีสถาบนั วจิ ัยทางภมู ิศาสตร์ กรงุ ปกั กงิ่ อกี สามครงั้ หลงั พดู ทภ่ี าควชิ าภมู ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั Sun Yat Sen เมอื งกวางโจว หัวข้อหลักๆ ท่ีบรรยายคือ (๑) ผลงานวจิ ยั ทางภมู ิศาสตร์ท่มี ีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศ เน้นเฉพาะงานวิจัยของนักภูมิศาสตร์ไทยในมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอดีต ปัจจุบัน และ แนวโน้มอนาคต (๒) การบริหารจัดการเรื่องน้�ำชลประทานกับการใช้ท่ีดินทางการเกษตร ของไทย และ (๓) ความเปน็ มาและการพฒั นาภาควชิ าภมู ศิ าสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ได้สรุปภาพรวมเก่ียวกับหลักสูตร/สาขาวิชาการเรียนการสอนและการพัฒนาและสนับสนุน การวจิ ยั ทางภมู ศิ าสตร์ นอกจากน้ี กไ็ ดม้ กี ารแนะนำ� ใหร้ จู้ กั เมอื งไทยโดยการบรรยายประกอบ สไลด์ชุดภูมิศาสตร์ประเทศไทย เสริมความรู้ตามความสนใจของกลุ่มผู้ฟัง ตลอดจนได้มี โอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีผู้บริหารระดับสูงของ Academia Sinica ด้านการส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติเชิงผสมผสานท่ีสนใจเป็นพิเศษ เก่ียวกับระบบฟารม์ พชื สวน และพืชไร่ของเขตร้อน และอาจารยไ์ ด้ชว่ ยประสานงานใหไ้ ด้ มาศึกษาดูงานแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับเจ้าหน้าที่นักวิจัยของไทยในเรื่องเดียวกัน ทั้งใน ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคใต้ในปีถัดมา สำ� หรบั รายละเอยี ดในการไปเมอื งจนี ครงั้ แรกนี้ (๑ ใน ๕ ครง้ั ) ไดส้ รา้ งความประทบั ใจ ที่ได้เรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์ใหม่ๆ มากมาย ดังท่ีอาจารย์ได้ถ่ายทอดไว้ท้ังหมด ในบทความเรอื่ ง “เมอ่ื นกั ภมู ศิ าสตรไ์ ทยไปเมอื งจนี ” (ตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารภมู ศิ าสตร์ ของสมาคมภมู ิศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย ๒ ฉบบั ติดต่อกนั คือ ฉบบั ที่ ๑ และฉบบั ที่ ๒ ปที ี่ ๑๐ เดอื นมนี าคม และกรกฎาคม ๒๕๒๘ ตามลำ� ดบั ) แตส่ ิ่งท่อี าจารยข์ อหยิบยกมาเล่าเปน็ เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ ท่ีอาจารย์จดจ�ำได้ดี เร่ืองแรก คือ ปีท่ีอาจารย์และอาจารย์กวีไปจีน คร้ังแรก ตุลาคม ๒๕๒๗ เป็นวาระส�ำคัญทร่ี ัฐบาล หรือประเทศจนี ก�ำลงั เตรยี มงานจะฉลอง ครบรอบ ๑๐ ปี หรือครบรอบทศวรรษแรกแห่งการเปิดประเทศในปีถัดไป (พ.ศ.๒๕๒๘) 144

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ครง้ั นน้ั อดตี นายกรฐั มนตรขี องไทย ฯพณฯ พลตรี ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช และอดตี รฐั มนตรีตา่ งประเทศ (และอดีตนายกรัฐมนตร)ี ฯพณฯ พลตรชี าตชิ าย ชุณหวณั ได้ไปรว่ มในพิธีด้วยซ่ึงจะจัดอย่างยิ่งใหญ่ บริเวณจัตุรัสเทียนอันหมิน (Tian An Men Square) กรุงปักก่ิง สว่ นเกร็ดเลก็ ๆ อกี เรอื่ งทพ่ี บทง้ั ทกี่ รุงปกั กงิ่ และเมอื งกวางโจว คอื คนจนี ในครง้ั น้นั จากการนดั ไปบรรยายพเิ ศษในชว่ งบา่ ย ถา้ เปน็ ทก่ี รงุ ปกั กง่ิ จะตอ้ งเรม่ิ งานบา่ ยสองโมง และเมอื งกวางโจวเร่ิมบ่ายสามโมง นั่นคือคนจนี ยงั มกี ารนอนพกั หลังอาหารกลางวัน ๑-๒ ช่ัวโมง ซึ่งไม่แน่ใจว่าปัจจุบัน ประเพณีวัฒนธรรมน้ีคนจีนยังถือปฏิบัติอยู่หรือไม่ และไม่ต่างจากอีกหลายประเทศท้ังในเอเชียและยุโรป โดยเฉพาะที่ประเทศสเปนที่อาจารย์มีประสบการณ์ ทุกคน จะเริ่มท�ำงานภาคบา่ ย ตอน ๓ โมงเยน็ ย่งิ กว่านัน้ ประเพณีรับประทานอาหารเชา้ -กลางวันและเยน็ จะสายกวา่ ประเทศอน่ื ๆ ดงั นน้ั การสงั่ ขา้ วหอ่ หรอื การหาอาหารไปออกภาคสนามเชา้นับเป็นส่ิงยากท่ีสุดหรือแทบจะเป็นไปไม่ได้ เพราะกว่าจะเปิดร้านขายก็เข้าไปประมาณ ๑๐ โมงเชา้ และพอกลบั จากสนามก็ตอ้ งรอถึง ๓-๔ ทุม่ จงึ จะมีร้านอาหารเปิดขายอาหารเย็น เป็นต้น ส่วนอีก ๒-๓ เรื่องท่ีปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปแทบหมดแล้ว หรือหมดแล้วเพราะได้ผ่านมาแล้วประมาณ ๓๐ ปี เรื่องแรกท่ีโด่งดังและเล่าขานกันมากคือการไม่ม ีหอ้ งสขุ าทม่ี ดิ ชดิ และการใชป้ ระโยชนข์ องเสยี จากรา่ งกายมนษุ ยเ์ ปน็ ปยุ๋ ธรรมชาตใิ นประเทศจนีเพราะอาจารยเ์ องตอ้ งกลบั ไปใชบ้ รกิ ารหอ้ งสขุ าของโรงแรมทพ่ี กั ชว่ งอาหารกลางวนั และเยน็เพราะห้องสุขาตามสถานท่ีท่ัวไป ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัย และอื่นๆ จะไม่มีห้องมิดชิด อย่างดีก็เป็นบานปิด-เปิดเตี้ยๆ เห็นหน้าทักทายกันได้ทุกคน และ สว่ นใหญก่ ห็ าน้�ำประเภทกดปมุ่ หรอื ราดท�ำความสะอาดยาก สว่ นอกี เรอ่ื งคอื การใชจ้ กั รยานเป็นพาหนะเดินทางส�ำคัญเตม็ ท้องถนน รถยนตห์ รอื รถเก๋งท่มี ีแลน่ ในทอ้ งถนนส่วนมากยงัเป็นรถที่ประกอบในเมอื งเซ่ียงไฮ้ และมีแล่นนบั คันได้ ผู้คนไมม่ ีวนิ ัยในการจราจร ตา่ งกข็ บัรถยนต์แล่นกลางถนน และบีบแตรไล่จักรยานโดยตลอด พอจะขบั สวนกันจึงจะเบนรถออกจากกนั นบั วา่ นา่ กลวั อนั ตรายมาก และมอี บุ ตั เิ หตใุ นทอ้ งถนนใหพ้ บเหน็ ไดท้ กุ วนั ชว่ งทด่ี งู านในประเทศจนี อกี ประการหนงึ่ คอื อปุ กรณก์ ลอ้ งถา่ ยรปู กลอ้ งสอ่ งทางไกลยงั เปน็ แบบดงั้ เดมิมใี ช้กนั นอ้ ยมาก นอกจากนกั ท่องเที่ยว ย่ิงกวา่ นนั้ ในปี ๒๕๒๗ รา้ นจ�ำหนา่ ยฟิล์มนอกจากจะหายากแล้ว หาได้เฉพาะตามแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญเท่านั้นท่ีพอหาซื้อได้ แต่ก็แพงมากและมีขายเฉพาะฟิล์มขาว-ด�ำ (แต่ในปีถัดมา ๒๕๒๘ เร่ืองฟิล์มสีเริ่มมีจ�ำหน่ายทั่วไปแต่อาจารย์ก็ถูกขโมยกล้องส่องทางไกลที่ทิ้งไว้ในรถแท็กซี่ท่ีรัฐบาลหรือเจ้าภาพจ้างมาเป็นพาหนะรบั -สง่ ชว่ งทอี่ ยใู่ นกรงุ ปกั กง่ิ เพราะเปน็ สงิ่ แปลกใหมส่ �ำหรบั ชาวบา้ นคนจนี สมยั นนั้ )เรอ่ื งค่าครองชีพหรือเงนิ เดือนของเจา้ หนา้ ท่ีหรืออาจารยค์ นจีน เม่ือ ๓๐ ปีทแ่ี ล้ว ต�่ำมากอาทิ เจ้าหน้าที่เกษตรของรัฐ ดูแลสวนไม้ผลที่ปักก่ิงได้เงินเดือนตำ�่ กว่า ๑,๐๐๐ บาท คือประมาณเดอื นละ ๘๐๐-๙๐๐ บาท (๗๘ หยวน หยวนละ ๑๐-๑๒ บาท) ส่วนแรงงานทเี่ ปน็คนสวน ไดป้ ระมาณคนละ ๗๐๐-๘๐๐ บาท/เดอื น และสงู สดุ คนละ ๑,๒๐๐-๑,๓๐๐ บาท/เดอื น 145

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ นับว่าน่าสนใจที่คนสวนใช้แรงงานมีโอกาสได้เงินเดือนสูงกว่าหัวหน้างาน เช่นเดียวกับที่ อาจารย์ได้พบว่าสมัยน้ันอาชีพชาวนาหรือเกษตรกรท่ีทำ� งานให้รัฐจะมีเงินเดือนสูงกว่าเป็น อาจารย์ในสถาบันของรัฐ เพราะถ้าจ�ำไม่ผิดเงินเดือนอาจารย์ได้แค่คนละ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท/เดือน (แต่ ๒๐ ปีหลังมาน้ี ในประเทศจีนเกิดเศรษฐีใหม่รุ่นหนุ่มสาวมากมาย ทเี่ ลกิ อาชพี ชาวนาหรอื เกษตรกรแตก่ ลบั มาใหค้ วามสนใจในการทำ� ธรุ กจิ สว่ นตวั คา้ ขายตา่ งๆ จากการเตบิ โตและการพฒั นาเศรษฐกจิ อย่างก้าวกระโดดของประเทศจีน นัน่ เอง) ส�ำหรับข้อคิดจากคนไทยในต่างแดนสิบสองปันนา เขตปกครองตนเองในมณฑล ยนู นาน (Sip Song Panna หรอื Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture) คอื การ ต้ังถิ่นฐานของคนไทยไม่ว่าท่ีไหนก็ตามจะตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้�ำ เพ่ือใช้ชีวิตอยู่กับท ี่ เปน็ หลกั แหลง่ ทำ� อาชพี หลกั ดา้ นการเกษตรปลกู ขา้ วและพชื ผกั สวนครวั ไวบ้ รโิ ภคและเหลอื ขาย หรือผลิตเพ่ือขายท้ังหมด น่ันคือคนไทยท่ีนี่อยู่ริมแม่น้�ำล้านช้าง หรือท่ีบ้านเราเรียกว่า แมน่ ำ�้ โขงน่นั เอง คนไทยในเขตนีเ้ ปน็ ไทลอื้ ซึ่งมีมากกว่า ๑ ใน ๓ หรอื ร้อยละ ๓๕.๔ ของ ประชากรในสบิ สองปนั นา การทำ� นา บรเิ วณทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� ทด่ี นิ ดี นำ�้ ดกี ไ็ มต่ า่ งจากบา้ นเรา คอื สามารถท�ำนาได้ถึงปีละ ๒-๓ คร้งั และย่งิ อยใู่ นพน้ื ท่นี �ำ้ ชลประทานท่วั ถงึ จะได้ผลผลติ ขา้ วเฉลย่ี ๙๖๐ กิโลกรัม/ไร่ และสูงสุดถึง ๒ เท่า คอื ๑,๙๒๐ กิโลกรัม/ไร่ ชาวนาจะปลกู ข้าวเหนียวไว้บริโภค และปลูกข้าวเจ้าไว้ขาย ในที่นาขนาดเล็ก หรือถือครองเฉลี่ยรายละ ๔.๘ ไร่ ไม่ต่างจากชาวนาไทยในภาคเหนือ และก็เช่นเดียวกับลักษณะบ้านอยู่อาศัยเป็น เรือนไทยยกพ้ืน ช้นั บนมีหอ้ ง ๒-๓ ห้อง ตรงกลางเปดิ โลง่ แบบไทยเหนอื แต่การแต่งกาย ของผู้หญิงจะคล้ายกับไทใหญ่หรือพม่า คือ สวมผ้าซิ่นยาวคาดเข็มขัดเงิน สวมเส้ือตัวส้ัน เกล้ามวยสูงแบบผู้หญิงเหนือหรือสาวพม่า แต่การแต่งกายของผู้ชายจะเหมือนชาวเหนือ ท่ีสวมเส้ือและกางเกงสีน�้ำเงิน หรือเส้ือม่อฮ่อมและกางเกงเตี่ยวสะดอ สุดท้ายคือภาษา กใ็ ชภ้ าษาและอกั ษรแบบเดยี วกบั ไทยลา้ นนา (ชดุ เกา่ ) และอกั ษรชดุ ใหมท่ เี่ รยี กวา่ “ไทยเตอ่ หง” ซึ่งเรียนรู้หรืออ่านเขียนได้ง่ายกว่า แต่เด็กไทยรุ่นใหม่ถูกบังคับให้เรียนแต่ภาษาจีน ดังน้ัน ภาษาไทยจะใชส้ ่อื สารกันในครอบครัวหรอื ในบา้ น เท่าน้ัน ต้นปี ๒๕๒๘ หลงั จากกลับจากประเทศจีน และสง่ งานใหท้ าง ธ.ก.ส. เรียบรอ้ ยแล้ว ก็ได้กลับมารายงานตัวสอนต่อตามเดิมท่ีภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีน ี้ งานสว่ นใหญอ่ ยใู่ นประเทศ ยกเวน้ ในชว่ งปลายปไี ดพ้ าคณะนกั ภมู ศิ าสตรร์ ะดบั ผบู้ รหิ ารจาก สถาบันต่างๆ ในประเทศรวมทั้งหมด ๑๐ คนกลับไปประเทศจีนอีกครั้งหน่ึงในช่วงส้ันๆ ๒ สปั ดาห์ (๑๒-๒๗ กนั ยายน ๒๕๒๘) สำ� หรบั งานในประเทศปนี คี้ อื ทางสำ� นกั งานคณะกรรมการการวจิ ยั แหง่ ชาตไิ ดแ้ ตง่ ตงั้ ให้เป็นอนกุ รรมการจดั การสมั มนาภูมิศาสตร์แหง่ ชาติ ครง้ั ที่ ๔ และที่สำ� คญั ไดช้ ่วยทำ� งาน วิจัยให้รัฐบาลเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการสร้างงานในชนบทเป็นครั้งท่ีสอง (โดยการ 146


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook