๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์เสนอชอ่ื ของศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแก้ว อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยัธรรมศาสตร์ และอดตี หัวหนา้ โครงการประเมนิ ผล กสช. ปีแรก ระดับประเทศ พ.ศ.๒๕๒๓)ซึ่งครั้งน้ีทางส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือเชิญ (ท่ี นร.กสช. ๗๓๒ ลงวันท่ี๑๗ เมษายน ๒๕๒๘) ใหเ้ ปน็ ผปู้ ระสานงานการประเมนิ ผลโครงการ กสช. ภาพรวมปี ๒๕๒๘ระดบั ประเทศ ย่ิงกวา่ นน้ั อาจารยย์ งั ได้รบั มอบหมายโดยตรงจากอดีตนายกฯ พลเอกเปรมติณสูลานนท์ ให้ถือหนังสือที่ท่านลงนามไปขอสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลเร่ืองประเด็นปญั หาการทจุ รติ ในโครงการ กสช. ของทกุ จงั หวดั ทว่ั ประเทศ ยกเวน้ เฉพาะกรงุ เทพมหานครทไี่ มม่ ีโครงการ กสช. อาจารย์ได้ท�ำงานร่วมกบั ผู้ชว่ ยวิจัย คือ รองศาสตราจารย์ ดร.ศศิเพญ็พวงสายใจ อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ (ปจั จบุ นั คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ไปสมทบศึกษาและรวบรวมข้อมูลประกอบในพ้ืนที่ตัวอย่างศึกษา กับคณะผู้ประเมินผล ๔ ภาค ของ ๔ มหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (รบั ผดิ ชอบภาคเหนอื จงั หวดั พษิ ณโุ ลก และเชยี งใหม)่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (รบั ผดิ ชอบภาคกลาง จงั หวดั อยุธยา กาญจนบรุ ี และชลบุรี) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (รบั ผิดชอบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์(รับผิดชอบภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช) จากนั้น อาจารย์กับอาจารย์ศศิเพ็ญ ได้ออก ภาคสนามเพ่ือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม รวมท้ังการไปสังเกตการณ์โครงการ กสช. ที่จะส่ง เขา้ ประกวด กสช. ดเี ดน่ ประจ�ำปี ๒๕๒๘ ในพ้นื ทจ่ี งั หวดั เชียงใหม่ ตลอดจนไดจ้ ัดท�ำและรวบรวมแบบส�ำรวจข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอ�ำเภอเฉพาะพนื้ ทตี่ วั อยา่ งศกึ ษาในการประเมนิ ผล กสช. ปี ๒๕๒๘ สว่ นนโยบาย กสช. ไดร้ วบรวมตงั้ แตเ่ ร่มิ โครงการปี พ.ศ.๒๕๒๓ จนปัจจุบนั ปี ๒๕๒๘ จากทางสำ� นักงานเลขานกุ าร กสช.ทั้งหมดนี้ อาจารย์ได้ใช้เวลาศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล ตลอดจนเขียนรายงานต้งั แตเ่ ดอื นเมษายนถงึ สิงหาคม รวมเวลาศึกษาและจัดทำ� รายงานเรง่ ดว่ นระยะสนั้ ประมาณ๕ เดือนเต็ม โดยส่งรายงานฉบับภาษาไทยให้ทางส�ำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดพิมพ์เผยแพร่ต่อไปเมื่อ ๑ กันยายน ๒๕๒๘ (งานนี้อาจารย์ได้จัดท�ำเป็นฉบับภาษาองั กฤษ และพมิ พเ์ ผยแพรใ่ นเดอื นกรกฎาคม ๒๕๒๙) สำ� หรบั ผลงานวจิ ยั เรอ่ื งนไี้ ดส้ รา้ งแรงบันดาลใจให้อาจารย์น�ำไปเป็นส่วนส�ำคัญ หรือเป็นที่มาของบทความทางวิชาการ จากผลการวิจัยเก่ียวกับการทุจริตระดับรากหญ้า (พ.ศ.๒๕๕๒) และรายงานการวิจัยเร่ืองยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในโครงการพฒั นาของรฐั ระดบั ชมุ ชน ทท่ี ำ�ในช่วง ๓ ปีปจั จบุ นั (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖) ในชว่ งเดยี วกบั ทช่ี ว่ ยงานประเมนิ ผลโครงการ กสช. ไดร้ บั การประสานงานตดิ ตอ่ จากรองศาสตราจารย์ทัศนีย์ อนมาน อดีตอาจารย์ประจ�ำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ปัจจุบันถึงแก่กรรม) ให้สถาบัน ITC ประเทศเนเธอร์แลนด์เชิญเป็น 147
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ ผู้ประสานงานโครงการศึกษาภาคสนามของสถาบัน “International Institute for Aerial Survey and Earth Sciences-ITC” ที่จังหวัดเชียงใหม่ประมาณ ๑ เดือน (๑๓ เมษายน- ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๒๘) ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ การออกภาคสนามบรเิ วณพน้ื ทล่ี มุ่ นำ�้ แมส่ า อำ� เภอ แม่รมิ จังหวดั เชยี งใหม่ นอกจากน้ัน กเ็ ปน็ งานประจำ� ของภาควชิ า คอื คณะสังคมศาสตร ์ ได้แต่งตั้งให้เป็นกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาประจ�ำสาขาวิชาภูมิศาสตร์ และ งานของสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย คือ นายกสมาคม คนที่ ๔ ศาสตราจารย ์ ดร.มนู วัลยะเพ็ชร์ (อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร) ได้เชิญชวนให้ อาจารย์ได้ช่วยงานสมาคม ๓ ปี (พ.ศ.๒๕๒๘-๒๕๓๑) ในฐานะอุปนายกของสมาคม ส�ำหรับงานในตา่ งประเทศชว่ งปลายปี ๒๕๒๘ คือระหวา่ งวันท่ี ๑๒-๒๗ กันยายน ๒๕๒๘ อาจารย์ได้พาคณะนักภูมิศาสตร์ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในกรุงเทพฯ กับเชยี งใหม่ รวม ๑๐ คน ตามท่ีได้รบั เชญิ เปน็ ครง้ั ทส่ี องจากสถาบันภูมศิ าสตร์ Academia Sinica ของรัฐบาลจีนที่ปักก่ิง (ครั้งน้ีทางจีนขอให้อาจารย์เลือกเชิญผู้แทนคณาจารย์ ทางภูมิศาสตร์เอง ซ่ึงอาจารย์ก็ได้รับความร่วมมือจากอาจารย์นักภูมิศาสตร์แถวหน้า ของไทยขณะน้นั คอื ศาสตราจารย์พนั เอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา อดีตนายกสมาคม ภูมิศาสตร์คนแรก จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ วิทยารัฐ อดีตนายกสมาคมภูมิศาสตร์คนที่สอง จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร ศาสตราจารย์ ดร.มนู วัลยะเพ็ชร์ อดีตนายกสมาคมภูมิศาสตร์คนท่ีส่ี จากมหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย พงศ์ประยูร จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ทัศนีย์ อนมาน จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน นอกจากนี้ก็เป็นอาจารย์ผู้แทนอีก ๒ คนจากมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร คอื ผู้ชว่ ยศาสตราจารยก์ วี วรกวิน และผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ น้อม งามวิสัย จากมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตก�ำแพงแสน คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธินี ทองสะอาด และจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คือ รองศาสตราจารย์ ดร.เสน่ห์ ญาณสาร อดีตหวั หน้าภาควิชาภูมศิ าสตร์ และรองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ ซึง่ เพ่งิ เรยี นจบ Ph.D. กลับมาจากสหรัฐอเมริกา) อาจารย์ได้ขอให้อาจารย์พูนพลเป็นประธานกิตติมศักด์ิ ของกลุ่มที่ไปในคร้ังน้ี แม้ทางจีนจะเชิญอาจารย์ในฐานะหัวหน้าคณะก็ตาม และอาจารย์ พูนพลก็สร้างความภาคภูมิใจให้คณะของเราเป็นอย่างยิ่ง เพราะท่านได้เตรียมตัวเป็น อย่างดีในการแสดงปาฐกถาน�ำในสถาบันทางภูมิศาสตร์ต่างๆ เร่ืองประวัติความสัมพันธ์ ไทย-จนี และประวตั ภิ มู ศิ าสตรข์ องประเทศไทย เนน้ วชิ าแผนทแ่ี ละรโี มตเซน็ ซงิ ซงึ่ ทางผแู้ ทน คณาจารยอ์ าวโุ สและสมาชกิ ทกุ คนทร่ี ว่ มฟงั ฝา่ ยจนี ใหค้ วามนบั ถอื และสนใจฟงั เปน็ อยา่ งมาก รวมท้ังการบรรยายของนักภูมศิ าสตร์ไทยท่านอื่นๆ อาทิ ดร.มนู และ ดร.ประเสริฐ ส�ำหรับ เมอื งทที่ างจนี จดั ใหไ้ ปศกึ ษาดงู านครง้ั นน้ี อกจากทป่ี กั กงิ่ แลว้ กไ็ ดแ้ กเ่ มอื งทางประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรมสำ� คญั ทไี่ ดช้ อื่ วา่ เมอื งแหง่ เสน้ ทางแพรไหม คอื ซอี าน (Xian) เมอื งหลวงของมณฑล 148
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์เสฉวน คอื เฉนิ ตู (Chengdu) ท่ีมีระบบชลประทานขนาดใหญก่ ้ันแม่นำ้� Ming Jiang ที่มีประวัตอิ นั ยาวนาน หรือสรา้ งครง้ั แรกสมยั จกั รพรรดิ Li Ping ราชวงศ์ Han ประมาณ ๒๕๐B.C. (ก่อนครสิ ตกาล) ทนี่ า่ สนใจอีกประการของเมืองเฉินตู คือ ความอุดมสมบูรณข์ องดนิและนำ�้ มีส่วนพัฒนาการเกษตรอย่างมากท้ังข้าวและพืชผักต่างๆ แต่ระบบคอมมูนเดิมก็ได้มีการพัฒนาเป็น “Solidarity Village” คอื มลี กั ษณะเป็นหมูบ่ า้ นรวมพลงั ประกอบกจิ กรรมหลากหลาย ท้ังด้านเกษตรและอุตสาหกรรมท่ีชาวนาส่วนใหญ่ก็เปล่ียนไปเป็นแรงงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดย่อมต่างๆ ของหมู่บ้าน ส่วนผู้น�ำหมู่บ้านท่ีมีโอกาสไปดูงาน จัดเป็นผู้หญิงเก่งและแกร่งน่าช่ืนชมเป็นอย่างมาก ดูแลแรงงานชายส่วนใหญ่ได้อย่างมีระเบยี บวนิ ยั และเขม้ งวด อาจารยจ์ ำ� ไดว้ า่ แรงงานไมม่ วี นั หยดุ เลย และถา้ หยดุ กถ็ กู หกั คา่ แรง(คนไทยอาจจะรู้สึกว่าด้านมนุษยธรรมอาจน้อยไปหน่อย ที่ไม่มีความเมตตาต่อผู้ลาหยุดเพราะเจ็บปว่ ยหรืออืน่ ๆ) คณะนกั ภมู ศิ าสตรข์ องเราออกจากเฉนิ ตูก็ไดไ้ ปลอ่ งเรอื ตามล�ำน�้ำลีเจียง (Lijiang) ชมทัศนียภาพเมืองกุ้ยหลิน (Guilin) ท่ีเป็นบริเวณภูเขาหินปูน (Karst)ล้อมรอบ สวยงามมากและเปลี่ยนสีไปตามมุมหักเหของแสงอาทิตย์ตามช่วงเวลาที่ เปลย่ี นไป (คลา้ ยๆ กับบรเิ วณ Grand Canyon ในสหรัฐอเมรกิ า) จากน้ีคณะของเรากม็ ุ่งสู่เมอื งสดุ ทา้ ยในประเทศจนี คอื กวางโจว (Guangzhou) โดยเปน็ แขกของสถาบันภูมศิ าสตร์ท่ีอาจารย์เคยมาบรรยายในท่ีที่ผ่านมา คราวน้ีก็เป็นการบรรยายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเป็นคณะสุดท้าย คณะนักภูมิศาสตร์ ๑๐ คนก็เดินทางออกจากกวางโจวไปเกาะฮ่องกง โดยรถไฟ และข้นึ เครอ่ื งการบนิ ไทยกลับกรงุ เทพฯ และเชียงใหม่ ตามลำ� ดับ ก่อนสิ้นปี ๒๕๒๘ คือปลายเดือนพฤศจิกายน อาจารย์ได้ต้อนรับคณะผู้บริหาร จาก Academia Sinica ด้านการสำ� รวจทรพั ยากรธรรมชาติ ๕ คน นำ� โดย Professor ZhangYoushi ที่ได้ขอให้ช่วยจัดโครงการดูงานในประเทศไทยให้ ครั้งท่ีได้ไปพบกันที่กรุงปักก่ิง ปที ีแ่ ล้ว สำ� หรบั ในภาคเหนือ หรือทเ่ี ชียงใหม่ อาจารย์ได้ประสานงานกบั ทางองคป์ ระธานโครงการหลวง คือ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ท่ีได้เสด็จมาบรรยายน�ำด้วยพระองค์เอง และนักวิชาการของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ท่เี ก่ยี วขอ้ ง รวม ๗ คน ประกอบดว้ ย อาจารย ์ผู้เช่ียวชาญเร่ืองดินและการใช้ที่ดิน (ดร.จิตติ ปิ่นทอง และรองศาสตราจารย์ประหยัดปานด)ี ด้านระบบเกษตร (ดร.เมธี เอกะสิงห์) ดา้ น Remote Sensing (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.พงษอ์ นิ ทร์ รกั อรยิ ะธรรม) นกั วชิ าการอนรุ กั ษว์ ิทยาด้านดนิ และน้�ำ จากโครงการลุ่มน้�ำแม่สา (คุณสมยศ กิจค้า) ด้านสื่อสารมวลชน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรินทร์ เทมวรรธน์)พาคณะนักวิจัยข้ึนไปดูงาน และพักค้างคืนที่โครงการหลวงอ่างขาง อ�ำเภอฝาง และ ประสานงานกบั ทางสำ� นกั งานชลประทานท่ี ๑ จดั โครงการไปดงู านระบบชลประทานแมแ่ ฝกโครงการชลประทานของรัฐแห่งแรกในภาคเหนือ และในเชียงใหม่ (พ.ศ.๒๔๗๖) ที่เป็นโครงการประเภทเข่อื นหรอื ฝายทดน้�ำ (Diversion Dam หรือ Weir) ทส่ี ่งน้�ำเพือ่ พัฒนาการเกษตร และดูงานโครงการชลประทานแม่งัดสมบูรณ์ชล โครงการประเภทเข่ือนเก็บกักน�้ำ 149
๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ (Storage Dam) ทเี่ พงิ่ สรา้ งเสรจ็ และเปดิ ดำ� เนนิ การในปนี นั้ (พ.ศ.๒๕๒๘) แตพ่ ระบาทสมเดจ็ - พระเจา้ อยู่หวั ไดเ้ สดจ็ มาเปิดเป็นทางการในเดอื นกุมภาพนั ธ์ของปถี ดั มา (พ.ศ.๒๕๒๙) ต้นปี ๒๕๒๙ ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง “พัฒนาการทางประวัติความเป็นมาและ การจัดการเกี่ยวกับระบบการชลประทานในภาคเหนือของประเทศไทย” ของอาจารย์ท่ีได้ ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบการชลประทานราษฎร์ หรือระบบเหมืองฝายกับระบบ การชลประทานหลวง หรือชลประทานของรัฐ เพื่อหารูปแบบการจัดการเรื่องน�้ำเพ่ือ พัฒนาการเกษตรท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้เวลาศึกษาอย่างต่อเน่ืองในช่วงเวลา ประมาณ ๑๐ ปี และทางผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วารนิ ทร์ วงศห์ าญเชาว์) สนับสนนุ การพิมพ์เผยแพร่ฉบบั ภาษาไทยตง้ั แต่ ต้นปี พ.ศ.๒๕๒๘ นัน้ ทางมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมไ่ ดม้ ีประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ มนี าคม ๒๕๒๙ ว่า โครงการวิจัยเรื่องนี้ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็นโครงการวิจัยดีเด่นประจ�ำปี ๒๕๒๘ ของกลมุ่ สาขาวชิ าสงั คมศาสตร์ โดยไดร้ บั รางวลั ๑๐,๐๐๐ บาท จากคณะกรรมการ ส่งเสริมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เม่ือวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๒๙ (นับเป็นกลุ่มสาขาเดียวที่มี โครงการวิจัยผ่านการพิจารณาว่าเป็นโครงการวิจัยดีเด่น ส�ำหรับการประกาศให้รางวัล คณาจารยเ์ สนอผลงานในกลมุ่ สาขาวชิ าตา่ งๆ ในปแี รก และเปน็ เพยี งปเี ดยี วทม่ี หาวทิ ยาลยั มีการด�ำเนินการเช่นน้ี) หนังสือข่าวสารของมหาวิทยาลัยและหนังสือพิมพ์ของเชียงใหม่ คือ แนวหน้า และไทยนิวส์ก็ได้ลงรูปและแสดงความยินดีด้วยส�ำหรับเหตุการณ์ครั้งน้ัน ซ่ึงก็เป็นเวลาใกล้เคียงกับท่ีรายงานการวิจัยฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษได้พิมพ์เผยแพร่ โดยทนุ สนบั สนนุ ของมลู นธิ ฟิ อรด์ ประเทศไทย (The Ford Foundation, Thailand, Feb. 1986) ในชว่ งเดยี วกนั น้ี ทางสำ� นกั งานเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรไี ดม้ อบรายงานฉบบั ภาษาไทยเรอื่ ง การวเิ คราะหผ์ ลและประเมนิ ผลโครงการสรา้ งงานในชนบทของประเทศ พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๒๘ ท่ีอาจารย์ได้สง่ เม่อื ๙ กันยายน ๒๕๒๘ ใหโ้ รงพมิ พ์ครุ ุสภา ลาดพรา้ ว พมิ พ์ออกเผยแพร่ ตน้ ปี ๒๕๒๙ และในกลางปี ๒๕๒๙ (กรกฎาคม ๒๕๒๙) อาจารยก์ ไ็ ดจ้ ดั พมิ พ์ฉบบั แปลเปน็ ภาษาอังกฤษออกเผยแพร่เช่นเดียวกัน คือ Thai Governmental Rural Development Programs-An Anlysis and Evaluation of the Rural Job Creation Programs in Thailand 1980-1985 (printed by Charoen wit Press Co. Ltd., Bangkok, July 1986) งานวิจัยฉบบั ภาษาอังกฤษที่ได้เผยแพร่ในปีนี้ นับเป็นคุณูปการแต่อาจารย์ที่ได้ใช้ประโยชน์ ทั้งโดยตรง และโดยอ้อมส�ำหรับช่วงท่ีได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษสอนช่วง ๑ ปีเต็ม หรือ ๒ ภาค การศึกษาในสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี ๒๕๒๙-๒๕๓๐ แตก่ ่อนไปอเมริกาทางมหาวทิ ยาลัย เชียงใหม่ได้มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกรรมการโครงการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (เข้าใจว่าเป็นการเฉลิมพระเกียรติ ทที่ รงครองราชย์ครบ ๔๐ ปี) 150
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ภาพชีวิตและงานยุคทีส่ องช่วงศกึ ษาต่อ ปรญิ ญาโท-เอก ดว้ ยทุนรัฐบาลเยอรมนั (พ.ศ.๒๕๑๓-๒๕๑๘) และช่วงกลบั มารับราชการช่วงแรกหลงั ปริญญาเอก (พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๙)การเดนิ ทางไปศกึ ษาต่อปรญิ ญาโท-เอก ณ ประเทศเยอรมนี (พ.ศ.๒๕๑๓)กบั ศาสตราจารยพ์ นู พล กับคุณพอ่ คุณแม่ทีส่ นามบินดอนเมอื ง และภรรยา ท่ีสถานี ๙ สงิ หาคม รถไฟเชยี งใหม่ ๒๖ กรกฎาคม 151 กบั คุณพอ่ คณุ แม่ พี่ๆ ญาตพิ ่นี ้อง และหลานๆ ท่สี นามบนิ ดอนเมอื ง ๙ สิงหาคม
๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ หนา้ ตกึ สถาบนั ภมู ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั Justus Liebig-Universitat Giessen เยอรมนีกับเพอื่ นนักศึกษาปริญญาโท ภมู ิศาสตร์ (Kamla) กบั Prof.Dr. Uhlig๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๑๔ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา (Dr.Vater) และกบั เอกอคั รราชทูตไทยและภรรยา Prof.Dr. Scholzและนายธานินทร์ มุกดาประกร ผ้ชู ่วยอาจารย์นกั เรยี นทนุ เยอรมัน วนั ปยิ มหาราช ทปี่ รึกษาณ ศาลาไทย เมอื ง Bad Homburg๒๓ ตลุ าคม ๒๕๑๔ ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๔ กับ Prof.Dr. 152 H. Uhlig และ Prof.Dr. U. Freitag ในงานเลย้ี งวนั เกิด ทบี่ า้ น Prof. Uhlig ๑ มนี าคม ๒๕๑๕
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ชว่ งกลบั มารบั ราชการหลงั ปรญิ ญาเอก (พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๙) JSPS ประเทศญป่ี นุ่ สนบั สนนุ ทุน ให้เปน็ ผ้แู ทนไทยไปประชุม สหภาพภูมิศาสตรโ์ ลก-IGU Pre-Congress-Nagano, Congress-Tokyo, Post-Congress-เกาะ Kyushu ๒๕ สงิ หาคม-๑๓ กนั ยายน ๒๕๒๓Post-Congress-Kyushu กับครอบครวั Prof. Asanoเมือง Mito ๖-๑๓ กนั ยายน ๒๕๒๓ Pre-Congress-Nagano ๒๕-๓๑ สิงหาคม ๒๕๒๓Congress-Tokyo ๑-๕ กนั ยายน ๒๕๒๓ 153
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ รฐั บาลญป่ี นุ่ เชญิ เปน็ Visiting Research Fellow ที่สถาบัน Center for Southeast Asian Studies-CSEAS เมอื งเกียวโต ๖ เดือน ปี ๒๕๒๕ แปลงนาชลประทาน-concrete farm ditch รบั น้ำ� จาก “Narasu”-Pond เมือง Okamoto ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๒๕ Ritsurin Park สรา้ งมาประมาณ ๓๕๐ ปี (พนื้ ที่ ๐.๗๕ ตารางกโิ ลเมตร) ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๒๕ศาลเจ้าโอชดิ าเตะ - “Oshidate” หมบู่ ้านชาวนารบั น�ำ้ ชลประทาน “กิยอน” - Gion ชานเมอื งเกียวโต ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๖ และบ้านผใู้ หญ่บา้ น (ตระกูลน้เี ปน็ ผใู้ หญ่บ้านสบื ตอ่ มาราว ๓๐๐ ป)ี154
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ชว่ งไดร้ บั เชญิ จากรฐั บาลจนีสถาบันภูมศิ าสตร์ Academia Sinica (Chinese Academy of Science)๒๕ ตลุ าคม-๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ และ ๑๒-๒๗ กันยายน ๒๕๒๘ กับ Prof.Dr. Yoen และอาจารยก์ วี วรกวิน กำ� แพงเมอื งจนี กรงุ ปกั กิ่ง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๒๗ตลาดผลไม้รมิ ทางเดนิ หน้า Dingling Tomb,กรุงปกั กง่ิ ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๒๗กบั หญงิ สาวชาวนาไทย เชยี งร่งุ สิบสองปันนา สัมภาษณ์ครอบครัวเกษตรกรชาวนา และแปลงผกั ขา้ งทาง๕ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ ไปสนามบนิ เซยี่ งไฮ้ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ เย่ียมชมวดั ไทย เมอื งเชียงรุ่ง (ไม่มพี ระจำ� พรรษา ตง้ั แตย่ คุ ปฏวิ ตั ิ วฒั นธรรม) ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗ 155
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ ตลาดขา้ งทาง เมือง Kunming (เส้นทางไปป่าหิน) ๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๗กบั คณาจารยภ์ าควิชาธรณีวทิ ยา บริเวณปา่ หิน-Stone Forest กับศาสตราจารย์พูนพล อาสนะจนิ ดาเมอื ง Kunming ๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ ศาสตราจารย์ประเสริฐ วิทยารฐั และผแู้ ทนฝ่ายตอ้ นรับ หน้า Feishuang Hall เมืองซีอาน ๑๗ กันยายน ๒๕๒๘คณะนักภมู ศิ าสตร์ไทย ๑๐ คน ในโครงการแลกเปลย่ี นทางวิชาการ กับหวั หนา้ หมบู่ ้าน Mrs.Jin ใน Solidarity Villageของสถาบันภมู ิศาสตร์ Academia Sinica, กรุงปกั กงิ่ (หมู่บ้านลกั ษณะใหม่นี้พฒั นามาจากระบบคอมมนู เดิม)๑๘ กนั ยายน ๒๕๒๘ เมืองเฉินต-ู Chengdu ๒๑ กันยายน ๒๕๒๘156
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์กับศาสตราจารย์พูนพล และฝา่ ยตอ้ นรับในเรือลอ่ งแม่น้ำ� Lijiang ๒๓ กันยายน ๒๕๒๘ ทิวทศั นเ์ มืองก้ยุ หลนิ -Guilin ทเ่ี ปน็ หนิ ปูน (ลอ่ งเรือในแม่น�้ำ Ligiang ระหว่างทา่ เรอื Yangdi-Hua Shan-Xing Ping และขนึ้ เรอื ท่ี Yang Shuo) ๒๓ กนั ยายน ๒๕๒๘ หมอ่ มเจ้าภศี เดช รชั นี องค์ประธานมูลนธิ ิโครงการหลวง เปน็ เจ้าภาพตอ้ นรับนักวิชาการและผู้บรหิ ารระดับสูงของจีนดา้ นการส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติ น�ำโดย Prof.Dr. Zhang Youshi ณ โครงการหลวงอ่างขาง ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๒๘รบั รางวัลวิจัยดเี ดน่ ของมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ประจ�ำปี ๒๕๒๘ อภปิ รายผลการวจิ ัยดเี ด่นสาขาสงั คมศาสตร์ เรื่อง “พัฒนาการทางประวตั ิความเป็นมาและการจดั การ ณ ห้องประชุม โรงแรมเชียงใหมอ่ อคดิเกี่ยวกบั ระบบชลประทานในภาคเหนอื ของประเทศไทย”จากอธกิ ารบดี ศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ าวุธ ศรีศกุ รี ๘ มีนาคม ๒๕๒๙ ๗ เมษายน ๒๕๒๙ 157
๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ ยคุ ทสี่ าม : ช่วงไปสอนทสี่ หรัฐอเมริกาและแคนาดา (พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐) และกลับมารบั ราชการตอ่ ช่วงหลัง จนครบเกษียณอายุราชการ (พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๔๓) ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐ ชว่ งทอี่ าจารยไ์ ดร้ บั เชญิ ในฐานะเปน็ Visiting Fulbright Professor ประจำ� ภาควชิ าสงั คมวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั Wisconsin-Madison ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากท่ี Prof. Middleton จากมหาวิทยาลัย Wisconsin ได้มา เป็นแขกของคณะสังคมศาสตร์และได้เชิญอาจารย์ไว้ด้วยวาจา ก่อนจะกลับไปทำ� เรื่องเชิญ ดว้ ยทนุ ของมลู นธิ ฟิ ลุ ไบรทข์ องสำ� นกั งานใหญท่ ส่ี หรฐั อเมรกิ า โชคดที ผี่ ใู้ หท้ นุ แจง้ ผา่ นมาทาง มลู นธิ ฟิ ลุ ไบรทท์ กี่ รงุ เทพฯ ในวนั ทอี่ าจารยก์ ไ็ ดร้ บั เชญิ จากศาสตราจารย์ ดร.อาณตั ิ อาภาภริ ม ประธาน TDRI ทีข่ อเชิญอาจารยไ์ ปช่วยงานประมาณ ๒ ปี เพ่ือรบั ผิดชอบทำ� โครงการวิจัย ชลประทานที่อาจารย์ ดร.อานัติเอง แจ้งว่ามีงบประมาณจะด�ำเนินการอยู่สูงถึง ๒๐ ล้านบาท แต่อาจารย์ตัดสินใจรับทุนฟุลไบรท์ไปสอนที่อเมริกา เพราะนอกจากจะรับเชิญ ไวก้ อ่ นแลว้ กเ็ พราะอาจารยย์ งั ไม่เคยมีประสบการณ์ในอเมริกา เน่ืองจากช่วงเรียนตอ่ และ ออกภาคสนามในต่างประเทศ ก็อยใู่ นทวปี ยโุ รปเท่าน้นั หรอื เมือ่ เรียนจบกลับมากม็ ีโอกาส ไปประชุมต่างประเทศเฉพาะในทวีปเอเชยี เปน็ สว่ นใหญ่ ทปี่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ า อาจารยร์ บั ผดิ ชอบงานสอนระดบั ปรญิ ญาโท-เอก วชิ าทส่ี อน ระดับปริญญาโท คือ Socio Economic Change in Less Developed Areas : Rural Development in Rice Growing Societies เป็นวิชาทน่ี ักศึกษาเรียนร่วมขา้ มสาขาวิชาของ สงั คมวทิ ยา เศรษฐศาสตร์ และการใชท้ ด่ี นิ สว่ นระดบั ปรญิ ญาเอก เปน็ การสอนวชิ าสมั มนา ร่วมกันเป็นทีมอาจารย์ มี Prof. Middleton เป็นหัวหน้าทีมรวม ๓ คน วิชาท่ีสอน คือ Research : Sociology of Economic Change Trainee ในภาคเรยี นแรก สว่ นภาคเรยี นทสี่ อง สอนนักศึกษาปริญญาโท-เอก ภาควิชาภูมิศาสตร์ท่ีสนใจจะมาท�ำวิจัยในประเทศไทย (ตามโปรแกรมเดิมภาคเรียนท่ีสองจะไปสอนที่ภาควิชาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัย Cornell แตต่ ้องยกเลิกไป เพราะผ้เู ชิญ Prof. Coward ติดภารกิจปฏบิ ตั ิราชการอยู่ในต่างประเทศ) อย่างไรก็ตาม นอกจากช่วงเวลาท่ีสอนประจ�ำแล้ว อาจารย์ได้รับเชิญไปบรรยายพิเศษ ณ สถาบนั ต่างๆ ทางภมู ิศาสตร์ สงั คมวทิ ยา เกษตรเศรษฐศาสตร์ประยกุ ต์ เศรษฐศาสตร ์ สง่ิ แวดลอ้ ม โครงการและสถาบนั ดา้ นไทยศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั อกี ๙ แหง่ ในสหรฐั อเมรกิ า ๗ แห่ง คือ U. of Northern Illinois, Cornell U., U. of Massachusetts at Amherst, Minnesota U., Colorado State U., California State U. and Hawaii U. at Manoa และใน แคนาดา ๒ แหง่ คือ U. of Western Ontario และ York U. 158
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ยง่ิ กวา่ น้ี อาจารย์ยงั ได้รบั เกียรตเิ ป็นผ้แู ทน Visiting Fulbright Professor โซนเอเชยีร่วมกับผู้แทนจากโซนอเมริกาใต้และโซนแอฟริการวม ๓ คนไปวิพากษ์การบรรยายของ องค์ปาฐกท่ีปรึกษาประธานาธบิ ดี Reagan ในหวั ขอ้ “Conference on Hunger, Poverty,International Development at the California State U. at Longbeach” และไดร้ ับเชญิ รว่ มวิพากษ์ในทุกบทความท่ีเสนอในท่ีประชุม รวมทั้งสรุปภาพรวมในวาระปิดประชุมด้วย ส่วนอีกงานท่ีอาจารย์ได้รับการประสานงานและเชิญจากกรรมการสมาคมภูมิศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาที่เป็นประธานกลุ่มสาขาการพัฒนาชนบท ขอให้เข้าร่วมการประชุมประจำ� ปีของนกั ภมู ิศาสตร์อเมรกิ นั คอื 1987-Annual Meeting of the Association of AmericanGeographers (AAG) ที่เมือง Portland รัฐ Oregon โดยเฉพาะได้รับเชิญให้เป็นผู้ดำ� เนินรายการในห้องประชุมท่ีนักภูมิศาสตร์อเมริกันเสนอผลงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาของประเทศในโลกที่สาม ซ่ึงก็พบว่าปีน้ันมีผู้เสนอผลงานวิจัยเกี่ยวกับเมืองไทย ๒ คน หรือ ๒ เรือ่ ง สำ� หรับเมือง Portland นับว่ามชี อื่ เสียงเป็นที่รู้จักในดา้ นทีม่ ีสวนกุหลาบที่สวยงามและเป็นเมืองท่ีมีการเกษตรก้าวหน้าและผลิตด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเพื่อการส่งออกอาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ยุคแรกๆ ก็มีจบ Ph.D. จากรัฐ Oregon, U.S.A. ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ (ศาสตราจารย์ดร.สุขมุ อัศเวศน์) สำ� หรบั สงิ่ ประทบั ใจในการไปอเมรกิ าและแคนาดาครงั้ นี้ คอื การไปชมสถานทต่ี า่ งๆกบั ญาตพิ ่นี อ้ ง เพือ่ นรุน่ พี่ และลกู ศิษย์ มช. รุน่ แรกๆ รวมทัง้ ฝ่ายเจา้ ภาพท่ีเชิญไปบรรยายพเิ ศษต่างๆ เร่มิ ต้นดว้ ยงาน World Expo ท่ีแคนาดา ในปลายปี ๒๕๒๙ ทิวทัศนท์ ่ีสวยงามตามธรรมชาตขิ องน�ำ้ ตกไนแอกร่า (Niagara Fall) จากฝั่งแคนาดา ซึ่งยอมรับกนั เป็นสากลว่าความงามของน้�ำตกนี้อยู่ฝั่งสหรัฐอเมริกา จึงต้องดูจากฝั่งตรงข้าม บริเวณทิวทัศน์ของหนิ ปนู อนั กว้างใหญไ่ พศาลของ Grand Canyon จากการกระทำ� ของนำ�้ (แมน่ ำ�้ Colorado)ที่มียอดแหลมสูงต่�ำสุดลูกหูลูกตา และเปล่ียนสีไปตามมุมหักเหของแสงอาทิตย์ไปเดินหรือนัง่ รถหยุดชมตามจดุ ตา่ งๆ (หรือจะนงั่ เครอ่ื งบินชม) ได้ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึน้ จนพระอาทิตย์ตกดนิ และได้ไปเยยี่ มชมเขอื่ นผลิตไฟฟ้าจากพลงั นำ�้ Hoover Dam ในรัฐ Arizona ดว้ ยกันสิง่ ประทับใจตอ่ ไปคือ เมืองกาสิโนทถ่ี ูกกฎหมายของสหรัฐอเมรกิ าหรือ Las Vegas ในรัฐNevada ท่มี ีชือ่ เสียงและโด่งดงั ไปท่ัวโลกวา่ เปน็ เมอื งทไ่ี ม่เคยมีกลางวนั ไม่ว่าจะเป็นโรงแรมที่พัก และบริเวณบ่อนใหญ่ต่างก็มีการพนันประเภทต่างๆ ให้เล่นได้ ห้องอาหารของ บ่อนกลางก็มีอาหารเสิร์ฟให้สมาชิกท่ีเข้าไปเล่นหรือดูก็ตามหารับประทานได้ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง ส�ำหรับเมืองใหญ่ เช่น Washington D.C. ก็ได้ไปเย่ียมชมท�ำเนียบขาว (White House) บ้านเกดิ George Washington ที่ Mt. Vernon G. Washington และ LincolnMemorial สถาบัน Smithsonian (National Museum of Natural History) Congress Library 159
๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ และธนาคารโลก (World Bank) เปน็ ตน้ และท่ี New York City ไดไ้ ปเยย่ี มชมตกึ แฝด World Trade (ข้ึนไปชมเมืองจากดาดฟ้าเหนือช้ันท่ี ๑๐๗ ตึกนี้ได้ถูกเคร่ืองบินพุ่งชน คือถูกถล่ม โดยกล่มุ มุสลมิ อลั กอรอ์ ดิ ะ หรือกลุ่มของบินลาเด็น เม่อื ๑๑ กันยายน ๒๕๔๔ เวลาท้องถิ่น ๐๘.๓๐ น. หรือเวลาประมาณ ๒ ทมุ่ เศษในประเทศไทย จ�ำไดว้ า่ เหตกุ ารณค์ รง้ั นนั้ มคี นไทย ทที่ �ำงานอยใู่ นตึกเสยี ชีวิต ประมาณ ๒-๓ คน) อาจารย์ยงั พบวา่ เมอื งนห้ี าสิ่งแวดลอ้ มทาง ธรรมชาติแทบไม่พบ เพราะเป็นเสมือนป่าคอนกรีตทั้งเมือง นับเป็นเอกลักษณ์ที่สวยงาม ไปอีกแบบหน่ึง ที่นี่อาจารย์ได้เป็นแขกรับเชิญของมูลนิธิฟอร์ด (The Ford Foundation) ณ ส�ำนกั งานใหญ่ สำ� หรบั ท่ีรฐั California โดยเฉพาะท่เี มือง L.A. (Los Angeles) ดนิ แดน ท่ีคนเอเชีย รวมท้ังคนไทยไปตั้งรกรากหรือท�ำมาหากินกันมาก จนมีย่านคนไทย ร้านค้า มีป้ายภาษาไทย อาหารไทยและผลไม้ไทย จากทุกภูมิภาคหาทานได้ท่ีน่ี เพียงแต่ราคา แพงกว่าหลายเท่า แม้แต่ดนตรีและนักร้องไทยก็มาขับกล่อมถึงที่น่ีเช่นกัน และโรงถ่าย ภาพยนตร์ Hollywood ได้เขา้ ไปฟงั บรรยายสรุปและดูการแสดงการถา่ ยท�ำภาพยนตร์สน้ั ท่ี ผเู้ ข้าชมในห้องประชมุ (Universal Studio) อาสาสมคั รร่วมเลน่ ด้วย ทกุ ฉากเลน่ อย่บู นเวที ไม่ว่าจะเป็นฉากข่ีม้าไล่ยิง ฉากพายเรือในสระ และฉากตกน�้ำของพระเอกนางเอก ฯลฯ จากน้ันราว ๒๐-๓๐ นาทีก็ตัดต่อมาฉายให้ผู้เข้าชมทุกคนดูเหมือนเหตุการณ์เกิดใน ภูมปิ ระเทศจรงิ และไดไ้ ปนงั่ รถรางชมโรงถ่าย (Guided Glamour Tram Tour) และมตี ัวอยา่ ง ผ่านมาให้ดู เช่น เร่ืองบัญญัติ ๑๐ ประการ คิงคอง ฯลฯ ผู้น่ังรถรางชมจะรู้สึกร่วม อยูใ่ นเหตุการณ์จรงิ ดว้ ยทัง้ หมด (ข้อสงั เกตประการหนึ่งใน Los Angeles, CA. คอื ทุกถนน จะพบรา้ นอาหารไทยเปดิ ใหบ้ รกิ าร) และทเี่ มอื งใกลๆ้ กนั คอื ที่ San Diago สถานทไ่ี ปเยย่ี มชม ท่อี าจารย์จ�ำได้ดี คอื Sea World (อาทิ Seal and Otter Show, Penguin Encounter และ City Streets ท่ีแสดงโดย American Motors Corporation ฯลฯ) และตอ่ ไปทีเ่ มือง Monterey ไดช้ มยา่ นอยอู่ าศยั ของดารา Hollywood และพิพธิ ภัณฑส์ ตั วน์ ้�ำขนาดใหญ่ คือ Monterey Aquarium สว่ นทรี่ ฐั Oregon โดยเฉพาะเมอื ง Portland ทอ่ี าจารยร์ สู้ กึ ประทบั ใจมากสำ� หรบั ความสวยงามของสวนกุหลาบและการเกษตรก้าวหน้า ดังท่ีได้อธิบายแล้ว นอกจากน้ัน อาจารย์ยังมีความประทับใจกับการได้ไปเย่ียมชม Lloyd-Dene Farms Processing Plant ทีม่ ีหอ้ งจำ� หนา่ ยการแปรรปู ผลติ ผลต่างๆ เช่น ห้องขายผลติ ภณั ฑ์ Jam ประเภทต่างๆ จาก ผลติ ผลของโครงการและโรงงานโดยตรง นอกจากน้ี อาจารยก์ ย็ งั ประทบั ใจ Cypress Gardens ท่ีเมือง Tampa ใน รฐั Florida และ Foster Botanic Garden กบั ไร่สบั ปะรดที่กวา้ งใหญ่ ไพศาลสดุ ลกู หลู กู ตาทเ่ี มอื ง Honolulu มลรฐั Hawaii สำ� หรบั ตวั อยา่ งสดุ ทา้ ยทอี่ าจารยส์ นใจ ขอไปดูงานและประทับใจ คือการได้ไปเย่ียมชมฟาร์มเกษตรต่างๆ ในอเมริกา ในรัฐ Wisconsin และ Illinois รวม ๕ ฟาร์ม ซง่ึ ลว้ นแล้วแต่เป็นฟาร์มที่ทันสมยั เนื้อทปี่ ระมาณ มากกวา่ ๑,๐๐๐-๓,๐๐๐ ไร่ และแตล่ ะฟาร์มไมว่ ่าจะเป็นฟารม์ เกษตรพชื เช่น ขา้ ว ข้าวโพด ถวั่ เหลอื ง เกษตรสตั ว์ เชน่ หมู ววั นม-วัวเนอ้ื จะมเี จ้าของฟาร์มหรอื ผูป้ ระกอบการแห่งละ 160
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์๒-๓ คนเท่านนั้ ซงึ่ ถา้ ไม่เป็นคนในครอบครัวกัน เช่น พ่อ-ลกู พี่-น้อง กจ็ ะเปน็ เพื่อนสนิท ทเี่ คยรว่ มงานกนั มานาน หรอื อพยพจากยโุ รปมาตง้ั ถน่ิ ฐานอยดู่ ว้ ยกนั การผลติ ใชเ้ ทคโนโลยีข้ันสูง จ�ำหน่ายท้ังในประเทศและส่งออก และที่ส�ำคัญอีกประการคือรัฐจะย่ืนมือเข้ามา ช่วยเหลือค้�ำจุนไม่ให้เกษตรกรต้องขาดทุนหรือจ�ำหน่ายแข่งขันกับต่างชาติไม่ได้ ส�ำหรับผลผลติ ประเภทเดียวกนั เช่น การช่วยเหลอื ออกกฎหมาย Farm Act หรอื Farm Bill ช่วยในชว่ งทอ่ี าจารยเ์ ดนิ ทางไปสอนทอี่ เมรกิ าปี ๒๕๒๙-๒๕๓๐ ทำ� ใหเ้ กษตรกรอเมรกิ นั ขายขา้ ว แข่งกบั ชาติในเอเชีย โดยเฉพาะประเทศไทยไดอ้ ยา่ งดี เพราะรฐั บาลชว่ ยจ่ายสว่ นต่างรับซอื้ผลติ ผลทเ่ี กษตรกรไมข่ าดทนุ แลว้ ยงั ขายผลติ ผลทรี่ บั ซอื้ ไวต้ �่ำกวา่ หรอื ตดั ราคาชาตทิ ข่ี ายขา้ วรายใหญใ่ นตลาดโลกไดอ้ ยา่ งดี เพราะยงั มนี โยบายใหช้ าตทิ สี่ ง่ั ซอื้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งจา่ ยทนั ที คอืขายเชอ่ื ได้ ตา่ งจากชาตเิ ลก็ ๆ อยา่ งไทยทขี่ ายผลติ ผลแลว้ ตอ้ งไดเ้ งนิ ทนั ที เพราะเราไมม่ เี งนิกองทุนส�ำรองช่วยเกษตรกรได้มากอยา่ งสหรัฐอเมริกา หลงั สนิ้ สดุ ภาระการสอนสองภาคเรยี นแลว้ ยงั เหลอื เวลาทไ่ี ดล้ าราชการมา ๑ ปเี ตม็อีกประมาณ ๓ เดือน อาจารย์จึงได้ขอทุนอยู่ต่อจนครบวันลา เพ่ือใช้เวลารวบรวมข้อมูลและเริ่มงานเขียนต�ำราภูมิศาสตร์การเกษตรท่ีได้วางแผนไว้ ปรากฏว่าอาจารย์โชคดีท่ีมี สองทนุ แจ้งว่าสนใจจะใหท้ ุนคือ มูลนิธิฟอร์ด และมูลนิธิ Rockefeller แตอ่ าจารยต์ ดั สนิ ใจ รับทุนจากมูลนิธิฟอร์ดเพราะได้แจ้งให้ทุนสนับสนุนมาก่อน พร้อมกันก็ได้รีบตอบขอบคุณและแจ้งไม่รับทุนของมูลนิธิ Rockefeller งานเขียนต�ำราวิชาภูมิศาสตร์การเกษตร เชิงวิเคราะห์ ที่เร่ิมเขียนท่ีอเมริกาคร้ังน้ี ตั้งใจจะใช้ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเป็นฐานข้อมูล เชิงวิเคราะห์และเป็นตัวอย่างประกอบการเขียนเรียบเรียง (งานนี้ได้ใช้เวลาผลิตทั้งหมดประมาณ ๘ ปี โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ วเปน็ ผพู้ มิ พเ์ ผยแพรง่ านต�ำราชดุ น้ี ๒ เลม่ ในปี ๒๕๓๘โดยพมิ พ์ออกจ�ำหนา่ ยรวม ๑,๐๐๐ เล่ม) อาจารย์กลับเมืองไทยต้นเดือนกันยายน ๒๕๓๐ รับผิดชอบงานสอนเดิมต่อท้ังปริญญาตรีและปริญญาโท และได้ช่วยเป็นกรรมการร่างโครงการเปิดสอนหลักสูตร ปรญิ ญาโท สาขาการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตใิ หค้ ณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่และในปีถัดมา (พ.ศ.๒๕๓๑) ได้รับแตง่ ตง้ั จากมหาวิทยาลัยเชยี งใหมใ่ ห้เปน็ ประธานบรหิ ารหลกั สตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ประจำ� สาขาวชิ าภมู ศิ าสตร์ และไดร้ บั เชญิ เปน็ ผปู้ ระสานงานบรรยายพิเศษ และจัดโครงการศึกษานอกสถานที่ให้กับนักศึกษาปริญญาตรีและปริญญาโทของ ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัย Hong Kong โดยเน้นด้านการพัฒนาชนบทของไทย ทงั้ จากภาครัฐและองค์กรเอกชน หรอื NGO เป็นสำ� คัญ ในปีเดียวกันนี้ (พ.ศ.๒๕๓๑) อาจารย์ยังได้รับเชิญไปร่วมงานในต่างประเทศอีก สองงานหรอื สองประเทศ งานแรกในกลางเดอื นเมษายน คอื งานทก่ี ลมุ่ นกั วชิ าการทไี่ ดร้ บั ทนุสนับสนุนจากประเทศ Canada ตดิ ตอ่ ขอเชิญใหช้ ว่ ยน�ำตัวอยา่ งการแก้ปัญหาความยากจน 161
๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ ที่อาจารย์มีประสบการณ์จากประเทศไทยไปถ่ายทอดเป็นตัวอย่างให้ประเทศบังกลาเทศ ซง่ึ ทกุ คนทราบดวี า่ เปน็ ประเทศยากจนมากในทวปี เอเชยี หรอื ในโลกกว็ า่ ได้ เพราะในชว่ งนน้ั รายได้เฉล่ียรายหัวของชาวบังกลาเทศเทียบได้กับรายได้เฉลี่ยพ้ืนท่ียากจนมากท่ีสุดใน ภาคอีสานของไทย คือประมาณไม่ก่ีพันบาทต่อคนต่อปี หรือเพียง ๓-๔ พันบาทเท่าน้ัน ถา้ จำ� ไม่ผดิ (บทความที่อาจารยเ์ สนอสำ� หรบั The International Symposium on the Impact of Riverbank Erosion, Flood Hazard and Problem of Population Displacement at Dhaka, Bangladesh, April 11-14th, 1988 คือ “Thailand’s Rural Income Diversification and Job Creation Programs”) ช่วงออกสนามท่ีบริเวณริมฝั่งแม่น�้ำที่เช่ือมต่อระหว่าง คงคา-ยมนา-พรหมบตุ ร ของบังกลาเทศ (ทส่ี ูงจากทอ้ งน�ำ้ ๒๐-๓๐ เมตร แตจ่ ะถูกนำ�้ ทว่ ม ทุกปีช่วงฤดูน้�ำหลาก แต่ละบ้านริมฝั่งน�้ำจะพบว่ามีเปลนอนช่วงน�้ำท่วมถักแขวนอยู่บนข่ือ ใตห้ ลงั คา และจากการสมั ภาษณช์ าวบงั กลาเทศบรเิ วณนนั้ จะอาศยั มะพรา้ วทป่ี ลกู ไวส้ ว่ นใหญ่ เป็นอาหารหลักช่วงน้�ำท่วม) ระยะน้ันเป็นช่วงมีการสไตรท์ ต้องเดินผ่านรถบรรทุกสัตว์ มากมายเปน็ ระยะทางหลายร้อยเมตร ตกดึกคนื นัน้ ก่อนกลบั ไทย จึงมอี าการลมพษิ คอ่ ยๆ ขึ้นท่ัวตัว และอาการหนักขึ้นเร่ือยๆ ทางผู้จัดประชุมโทรแจ้งให้แพทย์และรถโรงพยาบาล มารับจากสนามบิน กลับไปเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลในเมือง Dhaka แต่อาจารย ์ ขอกลับไปเข้าโรงพยาบาลในไทย โดยทางสายการบินไทยรับดูแลและติดต่อโรงพยาบาล เปาโลและทางบ้านให้รับทราบเหตุการณ์ท่ีเกิดกับอาจารย์ล่วงหน้า (สันนิษฐานว่า โรคลมพิษยักษ์ หรือ Giant Erticalia ท่ีทางโรงพยาบาลเปาโลแจ้งน่าจะติดเช้ือมาจากช่วง ดูงานสนามดังกล่าว เพราะหาสาเหตุอ่ืนไม่พบ แพทย์แจ้งว่าโรคน้ีร้ายแรงถึงข้ันเป็นตาย ไดเ้ ทา่ กนั ประมาทไมไ่ ด้ และเมอื่ อาการปลอดภยั แลว้ จงึ สง่ ตวั มาอยใู่ นความดแู ลของแพทย์ ที่เชียงใหม่ต่อ) หลังจากพักฟื้นแล้วอาจารย์ก็ถูกขอร้องแกมบังคับจากผู้แทน FAO ในกรุงเทพฯ ทตี่ ดิ ตอ่ ขอเชิญเปน็ ตัวแทนนักวจิ ยั ไทย (จากการเสนอชอ่ื ของ ม.ร.ว. ดร.อคนิ รพีพัฒน์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ๑ ใน ๗ ประเทศของเอเชีย (India, Indonesia, Nepal, Pakistan, Philippines, Malaysia and Thailand) เขา้ ร่วมประชมุ “Asian Seminar on Community Participation and the Management and Sustainability of Development Projects” ท่ีกรงุ Kuala Lumpur ประเทศ Malaysia จดั โดยความรว่ มมือของ APDC-The Asian and Pacific Development Centre, EDI-Economic Development Institute of the World Bank และ UNCRD-The United Nations Children’s Fund ระหว่าง July 4-9, 1988 ทางผูจ้ ดั ขอให้ผแู้ ทนแต่ละชาติ เสนอผลงานวิจัยในประเทศของตนคนละ ๒ เรอื่ งที่เกย่ี วกบั การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในงานพฒั นาของภาครฐั และของภาคเอกชน หรอื ประชาสงั คม คอื GO และ NGO และเชิญผวู้ พิ ากษอ์ ีกประเทศละคน ส�ำหรบั อาจารย์ซ่ึงได้รบั เชิญในชว่ งสน้ั มากจึงได้รับการยกเว้นให้เสนอผลงานก่อนและส่งรายงานผลวิจัยตามหลังได้ อาจารย์ ได้เสนอเรื่อง “Issues and Experiences in the Use of Community Participation by 162
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์Government and Private Organizations in Rural Development Programs in Thailand”(ตัวอย่างงานของรัฐบาล อาจารย์สรุปจากผลการวิจัยเกี่ยวกับโครงการสร้างงานชนบทระหวา่ งปี ๒๕๒๓-๒๕๒๘ และตวั อยา่ งงานของ NGO สรปุ จากงานพฒั นาชนบทของมลู นธิ ิศกึ ษาพฒั นาชนบท ทอ่ี าจารยเ์ ปน็ กรรมการบรหิ าร และชว่ ยตดิ ตามผลความกา้ วหนา้ ในเชงิวเิ คราะหว์ จิ ยั มาโดยตลอดตงั้ แต่ ปี ๒๕๒๕) ผลงานวจิ ยั ของทงั้ ๗ ชาตใิ นเอเชยี นท้ี าง APDCกรุง Kuala Lumpur ได้พิมพ์เผยแพร่ในปีต่อมา (พ.ศ.๒๕๓๒) ในช่ือเร่ือง “CommunityParticipation in Project Management, The Asian Experience” และบทของอาจารยใ์ ห้ชื่อว่า “Community Participation in Government and NGO Programmes for RuralDevelopment in Thailand” (บทที่ ๙) อย่างไรก็ตาม อาจารย์ตั้งข้อสังเกตว่าการประชุม คราวน้ันได้สร้างมิตรภาพระหว่างประเทศในอาเซียนได้อย่างดี และประทับใจที่สุดจากการไปศึกษานอกสถานที่เมืองมะละกา ซึ่งเคยเป็นดินแดนของไทยมาก่อน และปัจจุบันก็ยังมีคนไทยตกค้างอยู่ในเมืองนี้ส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงสามารถพูดคุยภาษาไทยและพบเห็นวฒั นธรรมไทยที่ยังคงมอี ย่ใู หเ้ หน็ ได้ทวั่ ไปในเมอื งนี้ ปี ๒๕๓๒ นับว่ามีความสำ� คญั สำ� หรบั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ คณะสงั คมศาสตร ์ภาควิชาภมู ิศาสตร์ และอาจารย์เป็นอยา่ งมาก เพราะตั้งแต่ชว่ งตน้ ปี สมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มอบหมายให้คุณหญิงอารยา พิบูลย์นครินทร์ โทรประสานงานลงมาที่บ้านพักในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอให้อาจารย์ไปเข้าเฝ้า พรอ้ มศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจินดา ณ พระต�ำหนักภูพงิ คราชนเิ วศน์ซง่ึ อาจารยไ์ ดข้ อพระราชทานอนญุ าตพาอาจารย์ ดร.พงษอ์ นิ ทร์ รกั อรยิ ะธรรม ไปเขา้ เฝา้ ดว้ ย(อดตี รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั The Nations ปจั จบุ นั )เนอื่ งจากเปน็ อาจารยท์ ส่ี อนทางดา้ น GIS-Geographic Information System ทที่ รงสนพระทยัเปน็ การสว่ นพระองค์ เพราะครงั้ นน้ั ทรงปรารภกบั อาจารยว์ า่ ใครไ่ ดท้ บทวนวชิ า Photogrammetryที่อาจารย์พนู พล เคยถวายการบรรยายมาก่อน ส่วนอีกเรือ่ งคอื ใคร่ได้เสด็จฯ ไปทรงดูดาว ที่หอดูดาวของภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เชิงดอยสุเทพ อาจารย์ได้ถวาย ค�ำแนะน�ำให้เสด็จทรงพระอักษรทบทวนกับอาจารย์พูนพลท่ีบ้านพักส่วนตัวของอาจารย์และไดป้ ระสานกบั รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ รกั ษา สนุ ทรธรรม อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าฟสิ กิ ส์(อดตี คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร)์ และศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ กษม วฒั นชยั (อดตี อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ องคมนตรปี จั จบุ นั ) ซงึ่ การเสดจ็ ไปทอดพระเนตรหอดดู าวและฟงั การบรรยายสรปุ โดยอาจารย์ ดร.บญุ รกั ษาในวนั รงุ่ ขน้ึ จากนน้ั ไดม้ กี �ำหนดการสำ� หรบั การเสดจ็ ฯมาเยี่ยมชมกิจการวิจัยของภาควิชาภูมิศาสตร์และภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่และงานวิจัยทางแผนท่ี ณ บ้านพักศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจินดา ในวนั พธุ ที่ ๘ มนี าคม ๒๕๓๒ (เฉพาะทภ่ี าควชิ าภมู ศิ าสตร์ อาจารยไ์ ดน้ �ำเสดจ็ ทอดพระเนตร 163
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ กิจการโครงการศึกษาวิจัยร่วมระหว่างประเทศของภาควิชาภูมิศาสตร์ คือ โครงการท�ำ แผนทภี่ มู นิ เิ วศวทิ ยาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ Geo-Ecological Mapping Project โปรแกรม ILWIS ทท่ี างภาควชิ าไดร้ บั มอบจากประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ พรอ้ มกบั ทร่ี ฐั บาลเนเธอรแ์ ลนดไ์ ดจ้ ดั สง่ ไปถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อีก ๑ เคร่ือง) บรรยายโดยผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ดร.พงษอ์ นิ ทร์ รกั อรยิ ะธรรม (รายการนหี้ ลงั ทรงตดิ ตอ่ ประสานงานผา่ นมาทางอาจารยด์ ว้ ย ทรงสนพระทัยจะได้เรียนรู้การใช้โปรแกรมน้ีจากทางภาควิชาภูมิศาสตร์ของเรา) จากนั้น อาจารย์ได้ตามเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรและทบทวนงานวิจัยทางแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ ดังระบุแล้วท่ีบ้านพักอาจารย์พูนพล และได้ร่วมโต๊ะเสวยการถวายเลี้ยงพระสุธารสจาก ครอบครวั อาจารยพ์ นู พล (ในโอกาสนท้ี างครอบครวั ของอาจารยม์ คี ณุ แม่ พสี่ าว กบั ครอบครวั ได้ร่วมเข้าเฝ้าท่ีบ้านอาจารย์พูนพล และทรงมีพระมหากรุณาธิคุณให้ครอบครัวอาจารย์ มโี อกาสรว่ มฉายพระรปู และคุณแม่ไดถ้ วายเงินสมทบทนุ มูลนธิ ิสายใจไทย) จากนนั้ ในวนั ท่ี ๒๘ สิงหาคม ปีเดียวกัน (ตอนสายของวันท่ีเสด็จถึงเชียงใหม่ ตรงกับวันที่มหาวิทยาลัย เชียงใหม่จัดงานแสดงมทุ ติ าจติ ฉลองอายุครบ ๘๐ ปี ของศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตยุ้ ชุมสาย อดีตคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ณ ศาลาธรรม อาจารย์จึงได้กราบบังคมทูลให้ ทรงทราบ และนบั เป็นพระมหากรุณาธิคณุ แก่ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตยุ้ ที่ทรงตกลง พระทยั มารว่ มงานและมอบชอ่ ดอกไมอ้ วยพรวนั เกดิ กบั ทง้ั ทรงมพี ระราชปฏสิ นั ถารเปน็ การ ส่วนตัว ณ ศาลาธรรม อาจารย์ได้ถือโอกาสถวายพระราชประวัติสมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ ตามข้อมูลท่ีทางคุณหญิงอารยา พิบูลย์นครินทร์ รวบรวมส่งมาให้ โดยท่ีทาง พระองค์ท่านทรงยินดีให้อาจารย์เขียนต้นฉบับคร้ังแรกถวาย จากน้ันได้ทรงนัดหมายให้ อาจารย์ไปเข้าเฝ้า ณ ที่ประทับแรมส�ำนักงานชลประทานที่ ๑ เพ่ือปรึกษาเรื่องงานสอน นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาภูมิศาสตร์ในวันที่ ๓๐ สิงหาคม) อาจารย์ได้รับ พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพฯ อีกครั้งหน่ึง ท่ีได้เสด็จฯ มาทรงบรรยายพิเศษ ในวิชาที่อาจารย์สอนประจ�ำภาคเรียน คือ วิชา “วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันภูมิศาสตร์ ประเทศไทย” ๓ ช่ัวโมงแก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร ์ ในสองวันต่อมา คือ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๓๒ ณ ห้องสารสนเทศ ส�ำนักงานอธิการบดี (ผู้บริหารมหาวิทยาลัย น�ำโดยอธิการบดี ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.เกษม วัฒนชัย ถวายเล้ียงพระสุธารสช่วงพักสอนครึ่งเวลา ในช่วงนั้นได้สนทนากันถึงเรื่องกรณีปราสาท พระวิหาร ที่เป็นกรณีไทยต้องสญู เสยี ตัวปราสาทพระวิหารใหป้ ระเทศกมั พชู า จนเป็นที่มา ของโครงการเสด็จออกภาคสนาม ณ บริเวณเขาพระวิหารในปลายปีเดียวกัน วันรุ่งขึ้น จากทรงบรรยาย คือ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๒ ครอบครัวศาสตราจารย์พูนพล จัดเลี้ยง พระกระยาหารกลางวันถวายท่บี ้านพกั สว่ นตวั อาจารยเ์ องกไ็ ด้รับเชิญใหร้ ว่ มโตะ๊ เสวยด้วย) 164
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ อยา่ งไรกต็ าม กอ่ นทอี่ าจารยจ์ ะไดร้ บั โอกาสตามเสดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ไปออกภาคสนามภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื หรอื อสี าน โดยมเี ปา้ หมายสำ� คญั ทป่ี ราสาทเขาพระวหิ ารทจ่ี ังหวัดศรีสะเกษในกลางเดอื นพฤศจกิ ายน อาจารย์ได้รับมอบหมายจากทัง้ ฝ่ายเลขาและองคป์ ระธานมลู นิธศิ กึ ษาพฒั นาชนบท-FEDRA ใหเ้ ป็นผู้จัดท�ำและเป็นบรรณาธิการหนังสือที่ระลึกครบรอบ ๗๒ ปี ของพระเทพกวี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ (จนั ทร์ กุสโล อดตี ล่าสุดคอื พระพทุ ธพจนวราภรณ์ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงรปู ท่ี ๗) ซง่ึ อาจารยเ์ ปน็ กรรมการบรหิ ารของมลู นธิ นิ ม้ี าตง้ั แตป่ ี ๒๕๒๕ ตลอดจนชว่ ยวางรากฐานการรวบรวมขอ้ มลู และเขยี นรายงานความกา้ วหนา้ เชงิ วเิ คราะหว์ จิ ยั และสว่ นทา้ ยของหนงั สอื อาจารยไ์ ดน้ ำ� บทความประวตั แิ ละผลงานของมลู นธิ ิภาษาองั กฤษท่เี ขยี นให้ทาง APDC, EDI และ UNCRD หลงั จากไดเ้ สนอ ในการประชุมที่กรุง Kuala Lumpur ตามที่ระบุแล้วแต่แรก มาพิมพ์ไว้ด้วย (หนังสือเล่มน้ีอาจารยต์ ง้ั ราคาขายไวเ้ ลม่ ละ ๕๐ บาท เพอื่ น�ำเงนิ รายไดท้ ง้ั หมดเขา้ เปน็ กองทนุ พฒั นาของมูลนิธิ) เพ่ือเผยแพร่งานมูลนิธิให้เป็นที่รู้จักท้ังในประเทศ และระหว่างประเทศ โดยทาง โรงพิมพ์กลางเวียง เชยี งใหม่ ไดจ้ ดั พิมพ์ถวายโดยไม่คดิ มูลค่า พอถึงช่วงกลางเดือนพฤศจกิ ายน อาจารยแ์ ละศาสตราจารย์ พนั เอก (พิเศษ) พูนพลอาสนะจินดา ก็ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ไปออกภาคสนามท่ีภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จงั หวัดนครราชสมี า สุรินทร์ ศรีสะเกษ และบรุ ีรัมย์ เป้าหมายส�ำคญัคอื บรเิ วณปราสาทพระวหิ าร จงั หวดั ศรสี ะเกษ (เดมิ ทางกระทรวงการตา่ งประเทศ ไมอ่ นญุ าตใหน้ ำ� เสดจ็ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ขน้ึ ไปทตี่ วั ปราสาท ซงึ่ เปน็ พนื้ ทข่ี องประเทศกมั พชู าตามค�ำตัดสินของศาลโลกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ สมัยรัฐบาลอดีตนายกฯ จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ แตด่ ้วยความสามารถในการเจรจา ของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อดตี ประธาน กปร.และดร.สมิทธิ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ท่ีเชี่ยวชาญท้ังภาษาฝรั่งเศสและภาษาเขมรกับทหารเขมร ผู้มีหน้าท่ีดูแลตัวปราสาทได้ส�ำเร็จ) เขตอ�ำเภอกันทรลักษ ์และตอนเย็นเสด็จฯ เย่ียมราษฎรท่ีบริเวณปรางค์กู่ และท่ีศรีสะเกษยังได้แวะเย่ียมชม ปราสาทสระก�ำแพงใหญ่ (๑๔ พฤศจิกายน) และในวันรุ่งข้ึนอาจารย์ได้ตามเสด็จไปศึกษาบรเิ วณกลมุ่ ปราสาทตาเมอื น เช่น ตาเมอื นธม ตาเมอื นโตด๊ ในจังหวัดสุรินทร์ และปราสาทเมืองต่�ำในจังหวัดบุรีรัมย์ นอกจากนี้ ก็ยังได้ตามเสด็จไปศึกษาบริเวณปราสาทหินพิมายจังหวัดนครราชสมี า กอ่ นกลับพระนคร และเดินทางกลับเชยี งใหม่พรอ้ มกบั อาจารยพ์ ูนพล ภายในเดือนเดียวกันสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ไดพ้ ระราชทานพระราชานุญาตให้ตามไปสมทบกับขบวนเสด็จฯ ทรงน�ำคณาจารย์และนักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าทศั นศกึ ษาภาคเหนอื ตอนบน (ระหวา่ งวนั ที่ ๒๕-๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒) ทจ่ี งั หวดั เชยี งรายกับอาจารย์พูนพล และมีอาจารย์สรัสวดี อ๋องสกุล (ศาสตราจารย์ ดร.สรัสวดี อ๋องสกุลปจั จบุ นั ) ขอติดตามไปดว้ ย (ศาสตราจารยพ์ นู พล อาสนะจนิ ดา อาจารยส์ รัสวดี อ๋องสกุล 165
๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ และนายสมยศ กิจค้า ผู้อ�ำนวยการศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าอาเซียน-แคนาดา กรมป่าไม้ เป็นนักวิชาการ ๓ ท่านที่ร่วมเขียนบทความในหนังสือเอกสาร “ล้านนา” ของกอง ประวตั ศิ าสตรโ์ รงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ จดั พมิ พใ์ นวโรกาสออกภาคสนามดงั กลา่ ว โดยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ มอบหมายใหอ้ าจารยว์ นั เพญ็ เสนอผเู้ ขยี นทเี่ หมาะสมให)้ เรา ๓ คนออกเดนิ ทางไปลว่ งหนา้ หนง่ึ วนั เนอื่ งจากอาจารยพ์ นู พลไปเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รว่ มเปน็ วทิ ยากรบรรยายในพน้ื ที่ โดยเฉพาะไปกำ� หนดจดุ ตง้ั กลอ้ งทลี่ านทอดพระเนตรสภาพ ภูมิประเทศสามเหล่ียมทองค�ำ วัดพระธาตุภูข้าว อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ บรรยายเกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นท่ีรอยต่อสามประเทศ (สหภาพเมียนมาร์-สปป. ลาว-ประเทศไทย) แลว้ คณะของเราไดล้ ว่ งหนา้ ไปรอรบั เสดจ็ ฯ ทจี่ ดุ แบง่ เขตแดนไทย-สหภาพ เมยี นมาร์ “เหนอื สดุ ยอดในสยาม” (The Northern Most Point of Thailand) และสภาพทวั่ ไป สองฝั่งแม่น�้ำสาย ที่อาจารย์พูนพลได้ร่วมบรรยายด้วยเช่นกัน และจากท่ีนี่คณะของเราได้ แยกกบั ขบวนเสดจ็ ฯ กลบั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมก่ อ่ น สำ� หรบั อาจารยไ์ ดร้ บั การประสานและ เชอ้ื เชญิ ใหไ้ ปรว่ มชว่ ยเตรยี มความพรอ้ มรบั ขบวนเสดจ็ ตอ่ ทสี่ ถาบนั วจิ ยั ชาวเขา (ทน่ี ค่ี ณุ หญงิ สมศรี กันทะมาลา อธิบดีกรมพัฒนาชุมชนได้มาร่วมรับเสด็จกับทางผู้อำ� นวยการสถาบัน คือ คุณวนัช พฤกษะศรี) ในบ่ายวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน และวันต่อมา สมเด็จพระเทพ- รตั นราชสดุ าฯ ได้เสด็จกลับพระนคร งานอ่ืนท่ีคณะสังคมมอบหมายให้อาจารย์รับผิดชอบในปี ๒๕๓๒ คือ การเป็น กรรมการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการพิจารณาความด ี ความชอบประจ�ำปขี องคณาจารยค์ ณะสังคมศาสตร์ สำ� หรับปถี ดั มา (พ.ศ.๒๕๓๓) นอกจากงานสอนนกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรีและปริญญาโท ตามปกติแล้ว ในช่วงต้นภาคเรียนแรก (ระหว่าง ๑๑-๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๓) อาจารย์ได้มี โอกาสกลับไปสหรัฐอเมริกาเป็นคร้ังท่ีสอง ด้วยทางธนาคารโลก คือ Dr.Gloria Davis, Division Chief, Environment Division, Asia Region ซึ่งเป็น Staff ของ World Bank กรุง Washington D.C. ส่งหนังสือเชิญให้ไปร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการกับชาวเอเชีย คนอน่ื ๆ รวมทงั้ หมด ๑๒ คน (ประกอบดว้ ยผูแ้ ทนประเทศ ศรลี งั กา อนิ เดยี บงั กลาเทศ ญี่ปุ่น จีน และไทย) ในเรื่องเก่ียวกับ “Resettlement in Asia” จัดเป็นการประชุมเชิง ปฏบิ ตั กิ ารสำ� หรบั การฝกึ อบรมเปน็ ทปี่ รกึ ษาระยะสนั้ ของธนาคารโลกทเี่ รยี กวา่ “World Bank Short-Term Consultant” การไปฝึกอบรมระยะส้ันๆ กับชาติต่างๆ ในลักษณะปฏิบัติจริง และการดูงานที่เป็นประโยชน์แก่งานโดยตรง (ที่เมือง Baltimore) นับว่าได้สร้างเสริม ประสบการณ์ตรงใหอ้ าจารยน์ ำ� กลบั มาประยกุ ต์ใชก้ บั ทั้งงานวจิ ัยและงานสอนไดอ้ ย่างดี ในปีเดยี วกัน (พ.ศ.๒๕๓๓-๒๕๓๔) อาจารย์ไดร้ ับเชญิ จากส�ำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ (เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติขณะน้ัน คือ ดร.อภิรัต อรุณินท์) 166
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์เป็นคณะอนุกรรมการจัดท�ำหนังสือท่ีระลึกทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ๓๖ พรรษา (๒ เมษายน ๒๕๓๔)โดยมีศาสตราจารย์ ดร.สง่า สรรพศรี รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละการพลังงาน เป็นประธาน งานนี้อาจารย์วนั เพญ็ (รองศาสตราจารย์ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ขณะน้ัน) อยู่ในคณะบรรณาธิการ ๙ คน ที่มีศาสตราจารย์ พันเอก (พิเศษ) พูนพล อาสนะจนิ ดา เปน็ ประธานและอยใู่ นคณะผเู้ ขยี นรว่ มกบั อาจารยพ์ นู พล รวม ๒๘ คน ซง่ึ เปน็นกั วชิ าการทางภมู ศิ าสตรส์ ว่ นใหญแ่ ละทกุ สาขาวชิ าทเี่ กยี่ วขอ้ งจดั ทำ� หรอื ผลติ หนงั สอื แผนท่ีAt Last เลม่ แรกของประเทศไทย โดยใชช้ ื่อวา่ “จากหว้ งอวกาศส่พู นื้ แผ่นดินไทย” หรอื“Thailand from Space” งานนเ้ี สรจ็ สมบรู ณใ์ นตน้ ปี ๒๕๓๔ และพมิ พเ์ ผยแพรค่ รง้ั แรกเมอ่ืเมษายน ๒๕๓๔ (จำ� นวน ๒,๐๐๐ เลม่ ) อยา่ งไรกด็ ี กอ่ นงานสำ� คญั ชนิ้ นจี้ ะเสรจ็ อยา่ งสมบรู ณ์ประธานคณะบรรณาธกิ าร คอื อาจารย์พูนพลได้ลม้ เจ็บอยา่ งกะทันหนั ด้วยโรคหวั ใจ ตั้งแต่ปลายปี ๒๕๓๓ (อาจารย์ถกู นำ� ตวั เขา้ ห้อง ICU และท�ำ EKG ท่ีโรงพยาบาลลานนา ตงั้ แต่๖ ธนั วาคม ๒๕๓๓ อาจารย์พูนพลใหท้ างครอบครัวแจ้งใหอ้ าจารย์วนั เพ็ญรบั ทราบเพอื่ ไปประชุมแทนท่ีสภาวิจัยและแจ้งให้ ดร.สุวิทย์ วิบูลย์เศรษฐ์ อดีตรองเลขาธิการสภาวิจัยช่วงนน้ั ซง่ึ ทำ� หน้าทเ่ี ลขานุการคณะอนกุ รรมการจัดท�ำหนงั สอื ฯ รับทราบ วนั ที่ ๙ ธันวาคมอาจารยจ์ งึ ไปรบั งานในขณะทอ่ี าจารย์พนู พลยังใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจ แตย่ า้ ยออกมาอยหู่ อ้ งตรงข้ามกับ ICU งานหลักทอี่ าจารยพ์ ูนพลมอบหมายคอื “การเขยี นบทเฉลิมพระเกยี รตวิ า่ควรรวบรวมจากหลายฝา่ ยเขา้ ด้วยกนั จงึ จะสมบูรณ์ และควรมภี าพประกอบด้วย ในคืนนั้นอาจารยว์ นั เพญ็ กไ็ ดน้ �ำความกราบบงั คมทลู ใหส้ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทรงทราบเรอ่ื งอาจารย์พูนพลไม่สบายทางโทรศัพท์ และทางสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ ไดท้ รงมรี ับส่งัให้อาจารย์วันเพ็ญน�ำแจกันดอกไม้มาพระราชทานอาจารย์พูนพลในเช้าวันรุ่งข้ึน อาจารย์พนู พลไดจ้ ดบนั ทกึ ดว้ ยลายมอื ไวว้ า่ “เปน็ ดอกออนซเี ดยี มสเี หลอื ง ทนี่ �ำมาขายจากกรงุ เทพฯซ่ึงไม่มีท่ีเชียงใหม่” อาจารย์วันเพ็ญเลือกดอกสีเหลือง เพราะเป็นสีวันเกิดของอาจารย์พูนพล ภรรยาอาจารย์ คอื คณุ วลิ าวัณย์ เอาพานมารบั และตัง้ ไว้ทหี่ วั นอน ช่วงปลายเดอื นธันวาคมทางโรงพยาบาลลานนาให้อาจารย์กลับมาพักฟื้นดูอาการท่ีบ้าน แต่อาจารย์กลบั ทรุดหนักลงอีก อาจารย์วันเพ็ญจงึ ไดป้ ระสานกับทางศาสตราจารย์ นพ.เกษม วฒั นชยัอธิการบดีช่วงนั้นได้ช่วยตรวจให้ที่คลินิก และคร้ังนั้นได้ตกลงใจจะส่งตัวอาจารย์เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่มีคณะแพทย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจอันดับต้นของประเทศ ตั้งแต่วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๓๔ พบว่าอาจารย์พูนพลเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอื ด และคณะแพทยล์ งความเหน็ ใหเ้ สย่ี งทำ� การผา่ ตดั ในวนั ท่ี ๒๙ มกราคม และในเชา้วนั ที่ ๖ กุมภาพนั ธ์ อาจารย์ก็อาการทรดุ หนักและจากไปดว้ ยอาการสงบของบา่ ยวนั น้นั เองสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ เสด็จฯ เป็นการส่วนพระองคท์ ี่โรงพยาบาลวชริ พยาบาลเป็นครงั้ แรก เพอื่ มาเคารพและรดนำ�้ ศพอาจารยพ์ นู พลเปน็ คนแรก กอ่ นจะทรงอนญุ าตใหท้ กุ คน 167
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ ได้มีโอกาสรดน้�ำอ�ำลาอาจารย์ด้วยที่กรุงเทพฯ ก่อนจะเคล่ือนศพมาท�ำพิธีต่อที่จังหวัด เชียงใหม่ โดยพระองคท์ า่ น เสดจ็ ฯ มาเป็นองคป์ ระธานในพธิ พี ระราชทานเพลงิ ศพ ณ เมรุ ชั่วคราว วัดสวนดอกวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ ในวันเสาร์ท่ี ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ หรือ อีกหน่ึงปีต่อมา) ส�ำหรับบทเฉลิมพระเกียรติฯ ท่ีอาจารย์ได้รับมอบหมายให้ท�ำแทน ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ทรี่ ะบแุ ลว้ นน้ั ไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ ล้นเกล้าฯ จากองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตรวจแก้เนื้อหารายละเอียดให้ท้ังหมด ก่อนจะมีพระราชานุญาตให้ลงพิมพ์เป็นบทน�ำในหนังสือจากห้วงอวกาศสู่พ้ืนแผ่นดินไทย (ประกอบดว้ ยเนอื้ หา ๑๖ บท คือ ลกั ษณะภูมิประเทศ ธรณวี ทิ ยา อุทกศาสตร์ สมุทรศาสตร์ ทรัพยากรน�้ำปา่ ไม้ การใช้ท่ดี ิน การเกษตร การประมง สภาพแวดล้อม ผงั เมอื ง โบราณคดี อุตุนิยมวิทยา การแก้ไขแผนท่ี การอา่ นภาพสามมิติ และสารสนเทศภูมิศาสตร)์ ในช่วงปดิ ภาคเรียนฤดูร้อนปี ๒๕๓๔ (๒๐ มีนาคม-๑๘ มถิ ุนายน) อาจารย์ไดร้ ับทุน นกั เรยี นเกา่ เยอรมนั จาก DAAD ตามคำ� เชญิ ของ Prof.Dr. U. Scholz จากภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัย Justus Liebig-Universität Giessen ท่ีอาจารย์เรียนจบปริญญาโทและเอก เพ่ือไปบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และใช้เวลาและสถานที่ เขียนต�ำรา ภูมิศาสตร์การเกษตรเชิงวิเคราะห์ หลังจากที่ได้เริ่มเขียนมาต้ังแต่ช่วง ๓ เดือนหลังจาก สอนเสร็จในสหรฐั อเมรกิ า เมื่อปี ๒๕๓๐ ก่อนกลบั ประเทศไทย และช่วงท่ีกลับมาแลว้ ก็มี กิจกรรมมากมาย นอกจากการสอนประจ�ำ ท้ังงานในประเทศและต่างประเทศ อาจารย์ จงึ ใช้เวลาส่วนใหญ่ช่วงปดิ ภาคฤดรู ้อนประมาณ ๓ เดือนสานตอ่ ซง่ึ ถ้าอยใู่ นประเทศกย็ าก จะหาเวลาทจ่ี ะท�ำอยา่ งต่อเนอื่ งได้ ทำ� ให้การเขียนตำ� ราวิชาการชดุ นี้ (๒ เลม่ ) กว่าจะเสร็จ สมบูรณ์ และพมิ พอ์ อกเผยแพร่กเ็ น่ินนานจนถึงปี ๒๕๓๘ รวมเวลาเกือบ ๘ ปีเตม็ ตอ่ มาในปี ๒๕๓๕ หลงั จากทท่ี างสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ โดยเลขาธกิ าร คือ ดร.สุวิทย์ วบิ ลู ยเ์ ศรษฐ์ ไดข้ อให้ช่วยประสานและรว่ มเป็นกรรมการจัดการประชมุ ของ IGBP-International Geosphere Biosphere Programme (ส�ำนักงานใหญ่ หรือ The IGBP Secretariat อยู่ทีก่ รุง Stockholm ประเทศ Sweden) ท่เี ชยี งใหม่ และน�ำผเู้ ขา้ รว่ มประชุม จากประเทศสมาชิกต่างๆ ออกภาคสนามแล้ว อาจารย์ก็ได้รับเชิญและแต่งตั้งเป็น อนุกรรมการประสานงานโครงการเปล่ียนแปลงของโลกระดบั ประเทศ คือ “National Committee Thai-IGBP : A Study of Global Change” ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๕-๒๕๔๐ และในปลายปแี รกนัน้ เอง (ระหวา่ ง ๑-๕ ธนั วาคม ๒๕๓๕) อาจารย์ก็ไดร้ ับเชญิ เป็นตวั แทน รว่ มกบั ประธานอนกุ รรมการ IGBP-Thailand (ดร.ทวีศกั ดิ์ ปยิ ะกาญจน์ อดีตศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ) ไปประชมุ IGBP on Global Change ๓ แห่งท่ีกรุง Tokyo ประเทศญ่ีปุ่น ต่อเน่ืองกัน คือ สองวันแรกเป็นการประชุม IGBP- Symposium-Asia Symposium on Global Environmental Change (จัดที่ Auditorium of Science Council of Japan, Center for Global Environmental และประชุมที่กระทรวง 168
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์การต่างประเทศในวันถัดมาที่เน้นนโยบายของรัฐในเรื่องน้ี ส่วนอีกสองวันหลังได้บรรยายร่วมกับประธานของไทยตามหัวข้อที่ได้รับเชญิ คอื The Role of IGBP-Thailand-A-Part ofCountry Report ในการประชุม Asia-Pacific Seminar on Global Change ResearchCooperation (จัดที่ Science and Technology Agency, Research DevelopmentCooperation of Japan, Tokyo) (บทความทอ่ี าจารยบ์ รรยายได้ลงพิมพเ์ ผยแพรใ่ นวารสารภูมิศาสตรข์ องสมาคมภูมศิ าสตร์แหง่ ประเทศไทย ปีท่ี ๑๘ ฉบบั ที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖) ส�ำหรับงานพิเศษในประเทศที่มหาวิทยาลัยมอบหมายให้ท�ำในปลายปีเดียวกัน (พ.ศ.๒๕๓๕) คอื กรรมการดำ� เนนิ การจดั การสมั มนาทางวชิ าการเรอ่ื ง “ศลิ ปะสถาปตั ยกรรมล้านนา : สภาพปัญหาและแนวทางอนุรักษ์” และน�ำอภิปรายกลุ่ม จ�ำได้มีนักวิชาการ จากพพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร สถาบนั การศกึ ษาทเี่ กย่ี วขอ้ งและผสู้ นใจมากมายมาประชมุ และอภปิ รายถกเถยี งกนั เชิงวิชาการหลากหลายประเดน็ ที่วดั เจดยี ์หลวงวรวิหารรวมทั้งแนวทางการบูรณะเจดีย์หลวงใหม่ เหมาะสม และถูกต้องมากน้อยเพียงใดในเชิงวชิ าการ แตก่ ม็ เี หตกุ ารณก์ ลมุ่ คณาจารย์ นกั อนรุ กั ษเ์ ดนิ ขบวนประทว้ งผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยัเกิดขึ้นในช่วงน้ัน ในเร่ืองที่มหาวิทยาลัยให้ตัดต้นสักผืนป่าสุดท้าย ในบริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัย หรือบริเวณศาลาอ่างแก้วและศาลาธรรม เพ่ือสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ โดยไมฟ่ ังความเหน็ และขอ้ คัดค้านท่กี ลมุ่ คณาจารย์ได้รวบรวมความเห็นมาเสนอผู้บริหาร ปรากฏว่าคณาจารย์กลุ่มนี้ได้ไปคัดเลือกเทปบันทึกแสดงความเห็นของอาจารย์ วันเพ็ญท่ีมีตัวแทนอาจารย์จากภาควิชาส่ือสารมวลชนมาขอสัมภาษณ์ความเห็นค้าน ดว้ ยเหตผุ ลดา้ นทำ� เลไมเ่ หมาะสม และยงั เปน็ การทำ� ลายปา่ สกั ธรรมชาตทิ ม่ี คี ณุ คา่ มหาศาลต่อมนุษยชาติ ไมเ่ ฉพาะชาว มช. หรอื ชาวเชียงใหมเ่ ทา่ นน้ั ด้วยเหตผุ ลน้ตี วั แทนคณาจารย์กลุ่มประท้วงจึงมาเชิญให้อาจารย์ออกไปจากงานประชุมที่วัดเจดีย์หลวง ไปเป็นตัวแทน กลมุ่ ประชมุ กบั กลมุ่ ผบู้ รหิ ารของมหาวทิ ยาลยั ทไ่ี ดม้ โี อกาสฟงั เทปสมั ภาษณอ์ าจารยล์ ว่ งหนา้แล้ว โดยต่อมา (ปี พ.ศ.๒๕๓๖) อาจารย์ก็ได้รับการแต่งต้ังจากมหาวิทยาลัย ให้เป็น ๑ ใน ๖ ของตัวแทนกลุ่มผู้ประท้วง หรือคัดค้านที่เลือกส่งชื่อมาเป็น “กรรมการพิจารณาหาขอ้ ยตุ ใิ นการก�ำหนดสถานที่กอ่ สรา้ งหอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่” ในคราวนั้นท้ังสองฝ่ายต่างเตรียมข้อมูลมาหักล้างกันอย่างเต็มท่ี และได้ออกสนามร่วมกันเพ่ือไปดู สถานที่จริงตามท่ีตัวแทนฝ่ายคัดค้านเสนอ และอาจารย์ได้เสนอว่าท�ำเลดีที่สุดท่ีจะเชื่อมหน่วยงานวิชาการของมหาวิทยาลัยทางกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือที่เรียกกันว่า “ฝงั่ สวนดอก” กับฝ่ังทางกลุ่มสังคมศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี หรอื ที่เรยี กกันว่า“ฝง่ั สวนสตั ว”์ เขา้ ดว้ ยกนั เพราะอยตู่ รงกลาง และมขี นาดพนื้ ทที่ ใี่ หญโ่ ต กวา้ งขวางสงา่ งามแม้ปจั จุบันจราจรจะคับคัง่ มากกว่าเดมิ กต็ าม 169
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ สรุปวา่ ในปี ๒๕๓๖ อาจารยม์ ีงานพิเศษทัง้ ในและต่างประเทศ ส�ำหรับในประเทศ ทางมหาวิทยาลัยนเรศวร ได้เชิญให้ไปร่วมกับผู้แทนอาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการในต�ำแหน่งอาจารย์ของ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร (เพราะมกี ารฟอ้ งรอ้ งกนั วา่ ไมไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรมของผสู้ มคั รวา่ ถา้ จะ ใช้กรรมการเฉพาะของมหาวิทยาลัยนเรศวรเท่านั้น) นอกจากน้ี มีงานส�ำคัญที่ได้รับการ ทาบทามจากผแู้ ทนของเลขาธกิ ารส�ำนกั งานปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมสมยั นน้ั (ดร.สทุ ธพิ ร จิระพันธุ์) ว่าทางองคมนตรีผู้ดูแล ส�ำนักงาน กปร.-ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ ประสานงานดำ� เนนิ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ ได้มีความยนิ ดใี หม้ าเชญิ อาจารย์ เป็น “อนุกรรมการอ�ำนวยการและคณะท�ำงานด�ำเนินโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำ แมอ่ าวอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ร”ิ โดยเปน็ ตวั แทนมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมใ่ นฐานะหวั หนา้ ฝา่ ยวิจยั เพ่อื การติดตามและประเมนิ ผล เปน็ โครงการ ๕ ปี ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๓๖-๒๕๔๐ (กปร. เข้ามารับผดิ ชอบโครงการน้เี พราะราษฎรในพ้นื ท่ศี กึ ษา หรอื พื้นท่ี ส.ป.ก. ได้ไปถวาย ฎกี าขอพระราชทานความชว่ ยเหลอื เนอื่ งดว้ ยเปน็ พนื้ ทแ่ี หง้ แลง้ ขาดแคลนนำ�้ ทำ� การเกษตร และน�้ำบริโภค เพราะอยู่ในเขตอับลมและอับฝน มีปริมาณน้�ำฝนเฉล่ียต่�ำกว่า ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร/ปี หรือเฉล่ียควบ ๓๐ ปีต่�ำกว่าพื้นที่อ่ืนของประเทศ) นับเป็นโครงการหลวง และรัฐบาลสนับสนุนทุนโครงการแรกท่ีให้ความส�ำคัญกับการเชิญนักวิชาการ/นักวิจัยของ มหาวิทยาลัยด�ำเนินงานศึกษาวิจัยประเภทติดตามและประเมินผลรายปี เพื่อน�ำผลไป ปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานพฒั นากายภาพและสงั คมของลมุ่ น�้ำแมอ่ าวทวี่ างแผนไวท้ งั้ ระยะสนั้ รายปี และระยะยาว ๓-๕ ปี (เป้าหมายสำ� คัญเพ่ือจัดท่ีดินทำ� กินให้ราษฎรในพื้นท่ีตามกฎเกณฑ์ ของ ส.ป.ก. และถ้าอยู่ในเขตรับน้�ำชลประทานจะได้รายละ ๕ ไร่ นอกเขตชลประทาน รายละ ๑๐ ไร่) อาจารยไ์ ดเ้ ชญิ นักวชิ าการทเี่ ปน็ นกั วิจยั สาขาตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง มารว่ มเปน็ คณะทำ� งาน และประสานกบั นกั วชิ าการทเ่ี ปน็ อนกุ รรมการจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ของรฐั อาทิ ดา้ นปา่ ไม้ ชลประทาน พฒั นาทดี่ นิ พฒั นาการเกษตร (ขอ้ สงั เกตสำ� หรบั งานวจิ ยั ประเมนิ ผล ครั้งนี้ อาจารย์ต้องเผชญิ กับบุคคล และเรือ่ งราวของการทจุ รติ ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ จากผ้นู �ำ และผู้มีอิทธิพลในท้องที่และท้องถิ่น บุคคลจากภายนอกแทบทุกภูมิภาค โดยเฉพาะ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือด้วยกันเองท่ีเข้ามาบุกรุกจับจองเปิด พ้ืนท่ีถางป่าอันอุดมสมบูรณ์ และป่าเสื่อมโทรมปลูกพืชไร่และพืชสวนในพื้นท่ีท่ีมีแหล่งน้�ำ ธรรมชาติ รวมท้ังแหล่งน�้ำที่ทางกรมชลประทาน ส�ำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท และ กรมทรัพยากรธรณีพัฒนาไว้ บุคลากรเหล่าน้ีจะอ้างเอกสารสิทธิ์ทับซ้อนกับท่ีป่าสงวนและ ป่าอนุรักษ์ของชาติหลายรายก็เข้ามาปักหมุดหลักฐานคู่กับหมุดของรัฐที่ด�ำเนินการ โดยสำ� นกั งานปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรม-ส.ป.ก.) อาจารยเ์ องกย็ งั อยใู่ นคณะทำ� งานชดุ เลก็ ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีป่าไม้ ชลประทาน ส.ป.ก.จังหวัด และเจ้าหน้าท่ีรัฐในท้องท่ีระดับอ�ำเภอ วางแผนการจดั การเรอื่ งการใชท้ ด่ี นิ ท่เี หมาะสม และเสนอแนะผูม้ ีอ�ำนาจระดับบนถอนหมดุ 170
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ของผู้เข้ามาจับจองโดยผิดกฎหมาย เป็นต้น ขณะเดียวกันก็ด�ำเนินงานวิจัย ประเมินผล อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และชว่ ยคณะกรรมการดำ� เนนิ การโดยเฉพาะการประชมุ ใหญช่ แี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิภาพรวมของโครงการพัฒนาลุ่มน�ำ้ แม่อาวใหก้ ลมุ่ เจ้าหน้าทรี่ ฐั ระดบั อำ� เภอ ต�ำบล หม่บู ้านทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง และประชุมช้ีแจงกลุ่มประชาชนรากหญ้าจากทุกพ้ืนท่ีท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ เดยี วกนั รายงานการวจิ ยั ประเมนิ ผลทอี่ าจารยแ์ ละคณะเสนอสำ� นกั งาน กปร. เพยี งสองชดุคอื ชุดแรก ประเมนิ ผลงานพัฒนาตามงบปี ๒๕๓๖ เม่ือปี ๒๕๓๘ และประเมินผลงานพฒั นาตามงบปี ๒๕๓๗ เมื่อตน้ ปี ๒๕๔๑ น่ันกค็ อื จากโครงการพฒั นา ๕ ปี อาจารยแ์ ละคณะรับผดิ ชอบอยเู่ พยี ง ๓ ปีแรก ก็ขอลาออกเป็นทางการกอ่ นก�ำหนด ๒ ปี แมจ้ ะยงั ช่วยอยู่บ้างอย่างไม่เป็นทางการ แต่จะไม่รับผิดชอบเสนอรายงานผลการวิจัยเพ่ิมจากสองฉบับแรกพรอ้ ม video บนั ทกึ ขอ้ มลู การท�ำงานของโครงการใหโ้ ดยละเอยี ดสองชดุ (เหตผุ ลส�ำคญัทีอ่ อกก่อนก�ำหนด เพราะคณะวจิ ยั พิจารณาถึงการนำ� ผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์เปน็ สำ� คญัและความร่วมมือกันของคณะกรรมการทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับจากบนลงล่าง และการดูแลเร่ืองปัญหาการทุจริตรวมท้ังผลประโยชน์ทับซ้อนจะน้อยลงจากระยะเร่ิมต้นเป็นสำ� คัญ) ส่วนงานในต่างประเทศ คือ อาจารย์ได้รับเชิญจากผู้แทน IGBP-Australia (Dr.WillSteffen ภายหลงั ได้เปน็ เลขาธกิ าร IGBP ทสี่ �ำนักงานใหญก่ รงุ Stockholm ประเทศสวีเดน)เข้าร่วมประชุม Land Use and Land Cover in Australia : Living with Global Change ที่กรงุ Canberra, Australia (ระหวา่ ง ๒๐-๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๖ ประชมุ ๒๑-๒๒ ตลุ าคม ดงู าน ๒๓ ตุลาคม และ ๒๔-๒๕ ตุลาคม ดงู านที่ Sydney และเดินทางกลบั ไทย) ซ่งึ ในการไป Australia คร้ังนี้ นบั เป็นโอกาสดที ีไ่ ด้พบและเปน็ แขกของ Prof.Dr. Gerard Ward อดีตประธาน Scientific Committee on Geography of the Pacific Science Association, Australia ท่ีอาจารยไ์ ดร้ ่วมเป็นกรรมการดว้ ยคนหน่งึ ระหว่างปี ๒๕๒๓-๒๕๓๐ และมกี ารติดตอ่ ประสานงานทางวิชาการด้วยกันมาโดยตลอดในช่วงระยะเวลานน้ั และในระยะหลังๆรวมทงั้ เปน็ แขกสว่ นตวั ของศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแกว้ ทไี่ ดร้ บั เชญิ ไปเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ อยู่ทคี่ ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั Canberra, Australia ในช่วงเวลานนั้ เชน่ กัน ส�ำหรับปีต่อมา (พ.ศ.๒๕๓๗) นอกจากรับผิดชอบงานวิจัยเป็นคณะให้ทาง กปร. อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดงั กลา่ วแลว้ อาจารยย์ งั มงี านพเิ ศษเขา้ มาทง้ั งานในประเทศมากมายและงานในตา่ งประเทศ งานในประเทศท่เี ก่ียวข้องกับการเรยี นการสอนของภาควิชาภูมิศาสตร์ คือเปน็ กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รบณั ฑติ ศกึ ษา และอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาทวั่ ไปของนกั ศกึ ษาบณั ฑติศกึ ษาของภาควชิ า สว่ นงานตามค�ำสง่ั ของคณะสังคมศาสตร์ คอื การเป็นกรรมการพัฒนาวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ อนุกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการในต�ำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ กรรมการอ�ำนวยการจัดกิจกรรมครบรอบ ๓๐ ปีคณะสังคมศาสตร์ 171
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ และกิจกรรมของมหาวิทยาลัยส�ำหรับภาควิชาภูมิศาสตร์ท่ีร่วมกับคณะสังคมศาสตร์และ คณะแต่งตั้งให้เป็นนักวิจัยอาวุโสของกองทุนสนับสนุนงานวิจัย-สกว. (The Thailand Research Fund) นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ในความร่วมมอื กับกระทรวงมหาดไทย ยงั ไดแ้ ตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ คณะทำ� งานรา่ งหลกั สตู รสาขาวชิ ารว่ มภมู ภิ าคศกึ ษาของบณั ฑติ วทิ ยาลยั และร่วมเป็นคณะอนุกรรมการเพ่ือแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับที่ดินท�ำกินของราษฎรและ คณะอนุกรรมการ เพื่อแก้ไขปัญหาผลกระทบจากโครงการของรัฐ และได้จัดโครงการ พาเจา้ หนา้ ท่ีระดบั สูงจากศรีลงั กาในโครงการ The Southern Province Rural Development Project, Sri Lanka ไปศึกษาดูงานระบบชลประทานของราษฎรและป่าชุมชนในจังหวัด เชียงใหม่ และจัดโครงการให้คณาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาปริญญาตร-ี โทภมู ิศาสตร์ จากภาควิชา ภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัย Hong Kong ดูงานด้านภูมิศาสตร์วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ สังคมของชนบทและเมือง และปัญหากลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนส่วนน้อยในเชียงใหม่ (ก่อนจะไปศึกษาดงู านต่อทอี่ ตุ รดติ ถ์ และกรุงเทพฯ) ส่วนงานท่ีท�ำร่วมกับนักวิชาการต่างประเทศและร่วมประชุมท้ังในและ ต่างประเทศในปีเดียวกนั นี้ คอื ทางทบวงมหาวิทยาลยั ได้ร่วมมือกับ Chinese Academy of Sciences, Guangzhou Branch, P.R. China ได้มอบหมายให้อาจารย์วันเพ็ญเป็น Co-organizer and Co-chairman of the First and the Second Sino-Thai Symposium on Management and Exploitation of River Valleys at Guangzhou, P.R. of China ช่วงต้นปี (Feb. 28-Mar. 8, 1994) and at Chiang Mai-Chiang Rai, Thailand ชว่ งปลายปี (Nov. 15-24, 1994) หลังการประชุมทั้งสองครั้งอาจารย์ได้ผลิตเอกสารการประชุมเพ่ือ เผยแพร่ด้วย และในเดอื นธันวาคมปเี ดียวกนั อาจารย์ได้รบั เชญิ เป็นผู้แทนนักวชิ าการและ นกั วจิ ยั ไทยเสนอ Country Report ในการประชมุ ระหวา่ งประเทศดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คม เศรษฐกิจ : Socio-economic Research Agenda for Global Change จัดโดย The Institute of Environmental Research จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ในปถี ดั มา (พ.ศ.๒๕๓๘) งานพเิ ศษในประเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ งานบรรยายทางวชิ าการ และบรกิ ารชมุ ชน เรม่ิ ดว้ ยการไดร้ บั เชญิ จากเจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร (พระพทุ ธพจน- วราภรณ-์ จันทร์ กสุ โล) เปน็ กรรมการอปุ ถมั ภ์ งานสมโภชพระธาตุเจดีย์หลวง ๖๐๐ ปี เป็น วทิ ยากรบรรยายพเิ ศษหวั ขอ้ “สถานภาพประชากรและเศรษฐกจิ สงั คมกบั การจดั การลมุ่ นำ�้ ” ให้เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ๒ ร่นุ ในโครงการฝึกอบรม/ดงู านตามหลักสูตรการปลกู พชื ทดแทนการปศสุ ตั ว์ การดูแลน้ำ� การพังทลายของช้ันดิน ท่ีด�ำเนินการโดยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การจัดโครงการศึกษาดูงานระบบชลประทานราษฎรเ์ หมอื งฝายแม่แจม่ อำ� เภอฮอด จังหวดั เชยี งใหม่ และปา่ ชุมชนท่งุ ยาว อ�ำเภอเมือง จังหวดั ลำ� พนู และบรรยายหัวข้อ “การจัดการ 172
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์น�้ำชลประทานราษฎร์ในระบบเหมืองฝายกับการพัฒนาเกษตรชลประทานและป่าชุมชนของไทย” ให้แก่คณะนักวิชาการเกษตรลาว ในความร่วมมือของโครงการ The Lao-Australian Upland Agricultural Development Project (นำ� โดย Mr. Peter Hoare ผเู้ ชยี่ วชาญด้านเกษตรและแหล่งน้�ำของ Australia) นอกจากนี้ ก็เป็นการน�ำเสนอผลรายงานการวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำแม่อาวอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริให้ ผู้เก่ียวข้องและตัวแทนผู้สนับสนุนทุน และการบรรยายพิเศษประจ�ำปีให้นักศึกษา ปริญญาโท ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร โดยเฉพาะเก่ียวกับประเด็นปัญหาวิจัยท่ีน่าสนใจและการท�ำวจิ ยั ทมี่ คี ณุ ภาพ เปน็ ตน้ สำ� หรบั งานบรกิ ารวชิ าการในตา่ งประเทศ อาจารยไ์ ด้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุม The IX General Assembly of SCOPE and its InternationalSymposium on “Asian Paddy Field” : their environmental, historical, cultural andeconomical aspects under various physical conditions จัดทก่ี รงุ Tokyo ประเทศญี่ปุน่(May 28-June 3, 1995) โดยอาจารยไ์ ดบ้ รรยายในหวั ขอ้ “Irrigation Systems Managementfor Rice Cultivation in Thailand” สว่ นงานทคี่ ณะสงั คมศาสตรม์ อบหมายใหอ้ าจารยร์ บั ผดิ ชอบนอกจากการสอนในปนี ี้คือ กรรมการและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทกรรมการวชิ าการปรญิ ญาตรี ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ และประธานคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รบัณฑิตศึกษาประจ�ำสาขาวิชาภูมิศาสตร์ และงานให้บริการ สถาบันการศึกษาอื่น คือกรรมการประจำ� สถาบันเอเชียตะวนั ออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่เชื้อเชิญมาให้เปน็ ติดตอ่ กนั ๓ วาระ วาระละ ๒ ปี รวม ๖ ปี (ระหว่างปี ๒๕๓๘-๒๕๔๔) ตั้งแต่กลางปี ๒๕๓๙ รวม ๓ ปี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ก็ได้แต่งต้ังให้อาจารย์เป็นกรรมการวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย โดยเป็นประธานผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และได้ร่วมตัดสินคัดเลือกโครงร่างและงานวิจัยดีเด่น และตัดสินอาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษาประจ�ำปี นอกจากน้ันมหาวิทยาลัยยังได้แต่งตั้งให้อาจารย์เป็นประธานคณะกรรมการประมวลความรอบรู้ของ คณะสงั คมศาสตรต์ ดิ ตอ่ กนั สองปี (พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๐) อยา่ งไรกต็ าม ในปี ๒๕๓๙ อาจารย์ ยังให้บริการทางวิชาการกับบุคลากรและหน่วยงาน/องค์กรต่างประเทศอีกด้วย อาท ิการบรรยายและร่วมอภิปรายเก่ียวกับระบบชลประทานหลวงและระบบชลประทานราษฎร์กับการพัฒนาชนบทเกษตรไทยในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ให้กับเจ้าหน้าที่รัฐบาล ระดับสูงของรัฐ Andhra Pradesh ประเทศอนิ เดีย สมาชกิ ของ Andhra Pradesh BorewellIrrigation Schemes (APWELL Project) น�ำมาโดย Dr. Caslos D. Isles ผู้เชี่ยวชาญ ดา้ นชลประทานชาวฟลิ ปิ ปนิ สท์ เี่ คยรจู้ กั ในการประชมุ และดงู านรว่ มกนั หลายครง้ั ในประเทศต่างๆ อีกงานหนึ่งท่ีส�ำคัญคือ การได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การจัดการ 173
๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ ทรพั ยากรลมุ่ นำ้� ทเ่ี หมาะสมในลา้ นนา” (Appropriate Watershed Resources Management in Lanna) ในการประชุมวิชาการระหว่างประเทศ-The 6th International Conference on Thai Studies (การจดั ประชมุ ของ The School of Oriental and African Studies-SOAS กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ) ที่เชยี งใหม่ เมือ่ ปลายปี ๒๕๓๙ ผลงานวิจัยด้านระบบชลประทานท่ีอาจารย์ได้รวบรวมไว้ตั้งแต่ปี ๒๕๑๙ ได้น�ำมา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและเพมิ่ เตมิ ใหส้ มบรู ณ์ ไดร้ บั การประสานงานและตดิ ตอ่ ขอไปลงพมิ พเ์ ผยแพร่ ในหนังสือ “State and Community in Local Resources Management : The Asian Experience” โดยมี Dr. S. Hirashima และ Dr. W. Gooneratre เปน็ บรรณาธิการงานวจิ ยั ที่น�ำลงพิมพ์ในหนังสือเล่มน้ี ๑ ใน ๗ บท คือ เร่ืองของอาจารย์ชื่อ “Traditional Community Irrigation in Thailand : A Survey of Customary Rules and Regulations” ส่วนอีก ๖ บท เป็นเรือ่ งของนกั วิจัยญ่ีป่นุ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อนิ โดนีเซยี และอินเดยี จัดพิมพ์โดย Har-Anand Publication, New Delhi, India, 1996 ตน้ ปตี อ่ มา (พ.ศ.๒๕๔๐) อาจารยม์ งี านพเิ ศษในตา่ งประเทศ คอื ไดร้ บั เชญิ จากหวั หนา้ ภาควิชาภูมศิ าสตร์ Hong Kong Baptist University (Prof.Dr. D.P. Fitzgerald) ไปบรรยาย พิเศษให้นักศึกษา คณาจารย์ท่ีสนใจ สองหัวข้อ คือ “The Role of Thailand in the Development of the Mae Kong River Basin” และ “Thailand’s Rural Development : Past Strategies and the Current Eight National Economic and Social Development Plan” หลังจากน้ัน อาจารย์ได้เป็นประธานคณะกรรมการจัดการประชุมสัมมนาทาง วชิ าการระหวา่ งประเทศไทย-ลาว เรอ่ื ง “การพฒั นาเศรษฐกจิ กบั การจดั การทรพั ยากร ลุ่มน�้ำโขง” (Thai-Lao International Conference on Economic Development and Management of MeKong Watershed Resources) ทีเ่ ป็นโครงการความร่วมมอื ระหว่าง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อาจารย์ได้สอนวิชาบังคับพ้ืนฐานระดับมหาบัณฑิต คือ ปัญหา ปัจจุบันลุ่มน้�ำโขงในโครงการภูมิภาคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย และคณะกรรมการรว่ มมอื ลาว-ไทย ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชน ลาว-สปป.ลาว โดยได้รับทุนสนับสนุนหลักจากกรมวิเทศสหการ (และทุนสนับสนุนจาก ธนาคารกรงุ เทพ จ�ำกดั มหาชน การทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทย-ททท. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ� กดั มหาชน บรษิ ทั เอม ดี เอก็ ซ์ จ�ำกดั มหาชน Pacific Transportation Co. Ltd. และ K.D. Classic Gold Creation Co. Ltd.) นอกจากน้ี ยังมีสถาบันและส่วนบุคคลทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศร่วมให้การสนับสนุน ท�ำให้การประชุมท้ังในประเทศท่ีเชียงใหม่ (๑๖-๒๐ มนี าคม ๒๕๔๐) และท่เี วียงจนั ทนแ์ ละหลวงพระบาง สปป.ลาว (๒๐-๒๓ มนี าคม ๒๕๔๐) ท่ีน่าสนใจและน่าสังเกตในช่วงน้ันจะพบว่าสภาพทางกายภาพและทรัพยากรธรรมชาติและ สังคมวัฒนธรรมของ สปป.ลาว ยังอยู่ในสภาพท่ีเป็นชนบทท่ีอุดมสมบูรณ์และอนุรักษ์ 174
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ประเพณีวัฒนธรรมด้ังเดิมไว้ได้มากและดีกว่าฝั่งไทยมาก โดยเฉพาะวิถีชีวิตชาวเมืองท่ียังเรียบง่ายและเป็นธรรมชาติ ในขณะท่ีคนไทยดูจะหลงเหลือให้พบเห็นได้น้อย (ที่น่าสนใจอีกประการ คือ นอกจากผู้แทนฝ่ายไทยและลาวเข้าร่วมประชุมเสนอรายงานต่างๆทเี่ กย่ี วขอ้ งรวมประมาณ ๔๐ คนแลว้ ยงั มผี สู้ นใจทง้ั นกั วชิ าการ คณาจารยจ์ ากสถาบนั ตา่ งๆเจ้าหน้าท่ีภาครัฐและเอกชนท่ีเก่ียวข้อง พ่อค้า/นักธุรกิจ ตัวแทนบริษัทท่ีไปลงทุนในสปป.ลาว อีกไม่น้อยกว่า ๗๐ คน และสื่อมวลชนต่างแสดงความสนใจขอเข้าร่วมประชุมในไทย และออกภาคสนามในลาวโดยมี ฯพณฯ ดร.อาสา สารสิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศเปน็ ประธานฝา่ ยไทยเปิดการประชมุ และ ฯพณฯ เพ้า บณุ ณะผล(Phao Bounnaphol) หัวหนา้ คณะผู้แทนฝ่ายลาว ทีน่ ำ� คณะในรฐั บาลลาวมารวม ๑๐ คน)รายละเอยี ดจากการประชมุ ในครง้ั นี้ อาจารยไ์ ดเ้ ปน็ บรรณาธกิ ารรวบรวมบทความทน่ี ำ� เสนอ(รวม ๙ ตอน ตอน ๑ บทน�ำ : มิตรภาพไทย-ลาว ตอน ๒ : พลวัตทางการเมืองและการช่วยเหลือต่างประเทศในภูมิภาคลุ่มน้�ำโขง ตอน ๓ : ลู่ทางความร่วมมือและโอกาสการลงทุนไทย-ลาว ในภูมิภาคลุ่มน้�ำโขง ตอน ๔ : ลักษณะทางกายภาพลุ่มน้�ำโขงกับความเหมาะสมในการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ตอน ๕ : ศกั ยภาพของทรพั ยากรทางเศรษฐกจิในพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำโขงกับการพัฒนาแบบย่ังยืน ตอน ๖ : ศักยภาพการลงทุนของนักธุรกิจไทย-ลาวในภูมิภาคลุ่มน้�ำโขง ตอน ๗ : อนาคตธุรกิจการท่องเที่ยวในภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงและข้อควรตระหนักทางสังคม ตอน ๘ : นโยบายและแนวทางการพัฒนาศักยภาพของบคุ ลากรเพือ่ รองรบั การเติบโตทางเศรษฐกจิ ของลาวในปจั จุบัน ตอน ๙ : สรุปผลการประชุมและแนวทางความช่วยเหลือในอนาคตไทย-ลาว) จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นหนังสือช่ือ“ไทย-ลาว การจัดการทรัพยากรลุ่มน้�ำโขง” (Thai-Lao Watershed ResourcesManagement) ในปถี ดั มา (กนั ยายน ๒๕๔๑) แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี ในปลายปี ๒๕๔๐ อาจารยก์ ไ็ ด้ช่วยบรรยายพิเศษหัวข้อ “Thailand as a Hydraulic Society : Agricultural IrrigationSystems Development and Management” ให้กับคณาจารย์ และนักศึกษาในโครงการInternational Cooperative Workshop/Learning Project 6 ประเทศ (U.S.A., Japan, Vietnam,Lao PDR., Kamphuchea and Thailand) ทมี่ คี วามรว่ มมอื กบั โครงการภมู ภิ าคศกึ ษา บณั ฑติวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อนต้นปี ๒๕๔๑ ประมาณ ๓ เดือน (มีนาคม-มิถุนายน)อาจารย์ได้รับอนุมัติจากทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้โอกาสได้กลับไปสถาบันเดิมท่ีจบปริญญาโท-เอก ประเทศเยอรมนี ด้วยทุนรัฐบาลเยอรมัน DAAD ตามเดิมเช่นกัน คือได ้รับเชิญเป็น Visiting Fellow ของ Institute of Geography, Justus Liebig-UniversitätGiessen, 1998 เพือ่ ใช้เวลาคน้ ควา้ และเขียนรายงานการวิจยั กบั บรรยายพิเศษให้นักศึกษาปรญิ ญาโท สถาบันภูมิศาสตร์ ทั้งท่ี University of Bonn กรงุ Bonn (รบั เชิญจากหัวหน้า 175
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ภาควิชา Prof.Dr. Ehlers) และท่ี Giessen (สถาบันเจ้าภาพเชิญ) ในช่วงท่ีอยู่ในเยอรมนี อาจารยไ์ ดร้ บั เชญิ ใหเ้ ขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการประจ�ำปขี องนกั ภมู ศิ าสตรเ์ ยอรมนั ทที่ างสถาบนั ภมู ิศาสตร์ท่ี Giessen ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดประชมุ ครัง้ นี้ นอกจากน้ี อาจารยย์ ังได้ หาโอกาสไปเย่ยี มและขอพบผอู้ ำ� นวยการมูลนธิ ิ “Brot für die Welt” (Bread for the World) คอื Dr. Gundert ทเ่ี มอื ง Stuttgart เพื่อนำ� โครงการของมลู นธิ ศิ ึกษาพฒั นาชนบท-FEDRA ท่ีอาจารย์เป็นกรรมการบริหาร ไปขอทุนสนับสนุนอีกครั้งส�ำหรับปีงบ ๒๕๔๒ (มูลนิธินี้ เคยใหท้ นุ สนับสนนุ FEDRA ตัง้ แต่ยคุ เร่ิมตน้ ตดิ ตอ่ กนั ๖ ปี และ ครง้ั ท่ี ๒ อกี ปีเตม็ และ คร้งั นเ้ี ป็นครงั้ ที่ ๓ สองคร้งั หลงั อาจารย์วนั เพญ็ เป็นผู้จดั ทำ� โครงการพัฒนาเสนอขอทุนโดย ได้รับงบ ๑ ล้านบาท และ ๑.๕ ล้านบาท ตามลำ� ดับ) ส่วนงานพเิ ศษในประเทศกอ่ นไป และหลงั จากกลบั มาสอนตอ่ ในปี ๒๕๔๑ กม็ อี กี มากมาย ทง้ั งานทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ เนอื่ งมาจาก ปีก่อนๆ รวมท้ังการได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการภาควิชาภูมิศาสตร์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางการวิจัยของมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธริ าช เปน็ อ.ก.ม. วสิ ามญั ท�ำหน้าท่ปี ระเมนิ ผลงานทางวิชาการสาขาวชิ าภูมศิ าสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย เป็นท่ีปรึกษาคณะท�ำงานศึกษาการใช้ทรัพยากรป่าไม้ในเขตอ�ำเภอ จอมทองของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เชยี งใหม่ (เนน้ ปญั หาการใชท้ ดี่ นิ ในพนื้ ทปี่ า่ ของชาวไทยภเู ขา บนพนื้ ทส่ี งู ทม่ี ผี ลกระทบกบั การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ของคนไทยในพน้ื ทร่ี าบลมุ่ น้�ำ) และไดช้ ว่ ย จัดทีมนักวิจัยทางสังคมวิทยาและประวัติศาสตร์ตามท่ีอธิบดีกรมป่าไม้คนใหม่ประสานมา (ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี) เพื่อประชุมปรึกษาหารือเพื่อหาลู่ทางด�ำเนินการปรับรูปแบบ การท�ำงานในการแกไ้ ขปัญหาการอยอู่ าศัยและทำ� กินของชมุ ชนในพน้ื ที่ป่าไม้ ให้สอดคลอ้ ง กับมตขิ อง ค.ร.ม. คอื ตามนโยบายและแผนงานของรัฐนนั่ เอง ต้นเดือนตุลาคม ๒๕๔๑ อาจารย์ได้รับเชิญจาก Prof.Dr. M.M. Yoshino (อดีต รองประธานสหภาพภูมิศาสตร์โลก) ให้ไปประชุมปรึกษาหารือท�ำโครงร่างการวิจัยระหว่าง ประเทศที่เมือง Kyoto ประเทศญ่ีปุ่น ที่ Prof. Yoshino จะเป็นประธานต่อไปในหัวข้อ “Environmental Change and the Impact on the Rice Producing Societies in Monsoon Asia” และอาจารย์ในฐานะตัวแทนจากประเทศไทยได้เลือกเสนอโครงร่างหัวข้อส�ำหรับ ประเทศไทย คอื “Rice Growing Societies and Impact on Environmental Change in Thailand” อยา่ งไรกด็ ี เมอ่ื กลบั จากประเทศญป่ี นุ่ อาจารยก์ ต็ อ้ งเรง่ เตรยี มตวั เปน็ วทิ ยากร บรรยายพเิ ศษ (ในอกี สองสามวนั ถดั มา) ใหก้ ารประชมุ ใหญส่ ามญั และประชมุ วชิ าการประจำ� ปี ๒๕๔๑ ของสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัย แหง่ ชาติ และภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (ทต่ี ง้ั ของสมาคมฯ ตามทปี่ ฏบิ ตั งิ าน ของนายกสมาคมชว่ งนน้ั -ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นวลศริ ิ วงศท์ างสวสั ด)์ิ ทจ่ี งั หวดั นา่ น หวั ขอ้ บรรยาย คอื “บทบาทของประเทศไทยในภมู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขง : วเิ คราะหป์ ญั หาทรพั ยากร 176
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์มนุษย์กับการจัดการทรัพยากรลุ่มน้�ำ” (ข้อสังเกตจากการออกภาคสนาม คือ ไทยและลาวยังไม่สามารถหาข้อยุติเส้นแบ่งเขตแดนทางบกหรือแผ่นดินได้อย่างถูกต้องชัดเจนเพราะต่างก็เอาธงมาปักเขตแดนที่ล�้ำเข้าไปในแผ่นดินของแต่ละฝ่ายจนทุกวันนี้) ในเดือน ถัดมา (พฤศจกิ ายน) ก็ไดไ้ ปบรรยายในหวั ขอ้ เดยี วกนั เพียงแต่เน้นการวิเคราะห์ตามแนวคดิทางภูมิศาสตร์ให้นักศึกษาปริญญาโททุกสาขาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตามที่ได้มาขอเชญิ ไวต้ ้งั แต่กลางปี ๒๕๔๑ เดือนสดุ ท้ายของปี ๒๕๔๑ อาจารยก์ ็ได้ไปวิพากษก์ ารเสนอรายงานการวิจัยน�ำร่องของหวั หนา้ โครงการภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน่ ในงานของเมธวี จิ ยั อาวโุ สสกว. (ส�ำนกั งานกองทุนสนบั สนุนงานวจิ ัย) ใน หัวขอ้ “การศึกษาสภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของครัวเรือนที่จนดักดาน” และ “ครัวเรือนที่มีคนตกงานเน่ืองจากปัญหาเศรษฐกิจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ตลอดจนช่วยจัดทำ� บทสรุปการวิพากษ์ส่งให้คณะผู้วิจัยเพื่อปรับปรุงให้สมบูรณ์ต่อไป และขณะเดียวกัน อาจารย์เองก็ต้องรับเป็นหัวหน้าโครงการ มาทำ� งานวจิ ยั สองเรอ่ื งนี้ในภาคเหนือตอ่ ไป ส่วนงานท่ีแทรกเข้ามาอย่างเร่งด่วนท่ีสุดในช่วง ๔-๖ เดือนสุดท้ายของปี ๒๕๔๑ คอื โครงการวจิ ัยสนาม เรอ่ื ง “People’s Irrigation System : Its Existence, Impact andSolution from Kok-Ing-Nan Water Diversion Project” ที่มีเป้าหมายศึกษาผลกระทบ จากโครงการพฒั นาการชลประทาน กก-องิ -น่าน ของกรมชลประทานวา่ มีความเหมาะสมและมีการยอมรับของประชากรที่จะได้รับผลโดยตรงในอนาคตมากน้อยเพียงใด เป็นงานส่วนหนึ่งที่ทาง TESCO Ltd. และ JICA มาขอให้ช่วย เพ่ือส่งรายงานดังกล่าวให้ทางกรมชลประทานต่อไป โดยอาจารยไ์ ดท้ ำ� เสรจ็ ส้นิ และสง่ รายงานในตน้ ปี ๒๕๔๒ (มกราคม๒๕๔๒) ดังนั้น งานพิเศษของอาจารย์ในปถี ัดมา (พ.ศ.๒๕๔๒) จึงเนน้ การท�ำงานวิจยั ท้ังสองเรื่องข้างต้น และสรุปรายงานการวิจัยที่เร่ิมวางแผนและลงสนามรวบรวมข้อมูลมาเดิม (พ.ศ.๒๕๓๖-๒๕๔๐) และเพ่ิมเติมใหม่ (พ.ศ.๒๕๔๑) คือ การรับท�ำโครงการวิจัยในฐานะตัวแทนภาควิชาภูมิศาสตร์ในสาขาสังคมศาสตร์ตามแผนงานวิจัยเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคม/ปัญหามลพิษ และเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม ด้วยทุนอุดหนุนการวิจัยประจ�ำปีของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ให้คณะต่างๆโดยตรง โครงการนไ้ี ด้มาในระยะเวลากระชั้นชดิ หรือเรง่ ดว่ นมากทกี่ รรมการวชิ าการประจ�ำสาขาต้องช่วยดำ� เนินการให้ทันการณ์ใช้งบ อาจารย์วันเพ็ญจึงได้ตกลงใจนำ� ข้อมูลการวิจัยการติดตามผลและการประเมินผลโครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน�้ำแม่อาวอันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำริ จงั หวดั ลำ� พูน (ระยะเวลา ๕ ปี : พ.ศ.๒๕๓๖-๒๕๔๐) ซึ่งอาจารยล์ าออกก่อนกำ� หนดดงั อธิบายแลว้ แต่ได้รวบรวมขอ้ มูลไว้แล้วจนถงึ ปี ๒๕๔๐ จึงเห็นวา่ ควรนำ� งานนี้มา 177
๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ สานตอ่ ใหค้ รบ ๕ ปี ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายมาจากทาง กปร. เดมิ และออกสนามเกบ็ รวบรวม เพิ่มเติมข้อมูลในช่วงหลังให้ครบถ้วน ก็น่าจะตรงตามเป้าหมายของการวิจัย เพื่อเสนอ แนวทางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการจัดการพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำท่ีเหมาะสมได้อย่างสมบูรณ์ เหมาะสม และทนั เวลา ดว้ ยความพรอ้ มของฐานข้อมลู เดมิ น่ันคอื การด�ำเนนิ โครงการวิจัย เร่ือง “ทรัพยากรมนุษย์กับพื้นท่ีลุ่มน้�ำในภาคเหนือของประเทศไทย : ปัญหากับการ จดั การ” ได้เสร็จสมบูรณแ์ ละพมิ พเ์ ผยแพร่ในปี ๒๕๔๒ (สงิ หาคม ๒๕๔๒) อย่างไรก็ตาม ในช่วงท้ายของการพิมพ์และท�ำรูปเล่มงานวิจัยข้างต้น ทางภาควิชา ภมู ศิ าสตรก์ ไ็ ดแ้ ตง่ ตง้ั ใหอ้ าจารยท์ �ำหนา้ ทอี่ าจารยท์ ปี่ รกึ ษาทวั่ ไปของนกั ศกึ ษาบณั ฑติ ศกึ ษา ของภาควิชาประจ�ำปีการศกึ ษา ๒๕๔๒ และมหาวิทยาลัยเชียงใหมโ่ ดยความเห็นชอบของ ทบวงมหาวทิ ยาลยั แต่งตง้ั ใหอ้ าจารยเ์ ป็น กรรมการชุดเฉพาะกจิ ประเมินผลงานคณบดี และผอู้ ำ� นวยการสถาบนั กลมุ่ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (อาจารยไ์ ดร้ บั เลอื ก เปน็ ตัวแทนอาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒติ ่างสาขาหนึ่งคน อกี ๒ คนเป็นตัวแทนผทู้ รงคณุ วฒุ สิ าขา ตรงของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และอกี ๒ คนเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ติ วั แทนสาขาจากตา่ งสถาบนั ทรี่ ว่ มกนั ทำ� งานรวบรวมขอ้ มลู ในเชงิ ลกึ จากคณาจารยก์ ลมุ่ ตา่ งๆ ของแตล่ ะคณะวชิ าทจ่ี ะได้ รับการประเมิน ตลอดจนข้อมลู เอกสารต่างๆ และอื่นๆ เพ่อื นำ� มารว่ มประชุมเชิงวเิ คราะห์ และประเมนิ หลายครง้ั กอ่ นสรปุ ผลเปน็ คะแนนลบั หลงั การเปดิ โอกาสใหผ้ ถู้ กู ประเมนิ ไดช้ แ้ี จง ตอบทุกประเด็นค�ำถามจากคณะกรรมการ จัดได้ว่าเป็นการประเมินคุณภาพและผลงาน ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของมหาวทิ ยาลยั ทยี่ ตุ ธิ รรมมากทสี่ ดุ งานหนงึ่ ) นอกจากนี้ กเ็ ปน็ งานบรกิ าร ทางวชิ าการทเี่ ปน็ วทิ ยากรบรรยายพเิ ศษใหค้ ณะอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาจากญปี่ นุ่ (มหาวทิ ยาลยั กิวชู) แขกของโครงการภูมิภาคศึกษา ณ คณะสังคมศาสตร์ หัวข้อ “Thailand and Its Natural Resources and Environment : Problems Management and Development” และรับเชิญจากปฏิรูปท่ีดินจังหวัดล�ำพูน บรรยายพิเศษให้แก่เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานสนาม จากทุกหน่วยงานของโครงการ หัวข้อ “โครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มนำ�้ แม่อาวอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำรจิ งั หวัดลำ� พูน (หลังแผนแม่บท ๕ ปแี รก) : ส�ำเร็จหรือลม้ เหลว” และ “น�ำการ สรุปปัญหาและแนวทางแก้ไขปรับปรุงของการสัมมนากลุ่มย่อยของเจ้าหน้าท่ี ๖ กลุ่ม ตามแผนงานหลกั ” ณ สำ� นกั งานโครงการจังหวัดล�ำพนู ส�ำหรับงานวิจัยสองโครงการท่ีอาจารย์รับเป็นหัวหน้าโครงการในภาคเหนือของ เมธีวิจัยอาวุโสตั้งแต่ปลายปี ๒๕๔๑ (ใช้พื้นที่ศึกษาเดียวกันใน ๔ จังหวัด คือ เชียงใหม่- พะเยา-อุตรดิตถ์-ก�ำแพงเพชร) คือเร่ือง “วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือน ยากจนดกั ดานในภาคเหนอื ” และเรอ่ื ง “วกิ ฤตเศรษฐกจิ ของผตู้ กงานทก่ี ลบั สภู่ มู ลิ ำ� เนา ในภาคเหนือ” เป้าหมายส�ำคัญเพ่ือค้นหาและท�ำความเข้าใจถึงสาเหตุของความยากจน ดกั ดานในภาคเหนอื ท่มี ีมาในอดีตอันยาวนานจนปัจจบุ ันตามกรอบแนวคดิ ใหมด่ า้ นตัวชี้วดั 178
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ความยากจน ท่ีพิจารณาความยากจนในแง่ของการขาดทางเลือกและโอกาสในด้านต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยพิจารณาร่วมกับสมการที่ก�ำหนดความยากจนดกั ดานดว้ ยเสน้ ความยากจนดา้ นอาหารเปน็ หลกั ทงั้ นเี้ พอื่ เสนอแนวทางแกไ้ ขและลดปญั หาความยากจนดักดานที่มีประสิทธิภาพและตรงเป้าหมายส�ำหรับเร่ืองแรก ส่วนการวิจัยเรื่องหลงั เปน็ การเสรมิ ขอ้ มลู เรอื่ งแรกใหส้ มบรู ณม์ ากขนึ้ โดยศกึ ษาถงึ สภาพทแี่ ทจ้ รงิ ของผตู้ กงานกับการเป็นภาระครอบครัวของเขาในภูมิล�ำเนา อันเป็นผลมาจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ของประเทศตัง้ แต่กลางปี ๒๕๔๐ เพ่อื ใหส้ ามารถเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข ลดหรอื บรรเทาและป้องกันปัญหาการตกงานและว่างงานของคนชนบทภาคเหนือได้ตรงเป้าหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพเชน่ กนั รายงานการวจิ ยั เรอื่ งแรกใชเ้ วลาสองปเี ตม็ พมิ พเ์ ผยแพรป่ ลายปี ๒๕๔๓และเรอ่ื งทส่ี องเสรจ็ และพมิ พ์เผยแพรใ่ นอกี สามเดอื นเศษหรือตน้ ปี ๒๕๔๔ ปีสุดท้ายในราชการ (พ.ศ.๒๕๔๓) อาจารย์ได้ทุ่มเทก�ำลังกายก�ำลังใจเตรียมงานประชมุ ถวายสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เนอ่ื งดว้ ยอาจารยไ์ ดร้ บั การประสานงานจากรองศาสตราจารย์ศรีศักด์ิ วัลลิโภดม และการเชิญเป็นทางการจากศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ ผู้อ�ำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) ใหเ้ ป็นประธานประชมุ ปรึกษาหารือกับนักวชิ าการสาขาตา่ งๆ ท่ที างศนู ย์เชิญมาร่วมงานเพ่ือสนองพระราชปรารภของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม- ราชกุมารี ที่ทรงสนพระทัยใคร่ให้ทางศูนย์ได้จัดประชุมท่ีมีเนื้อหาสาระทางภูมิศาสตร์กับวัฒนธรรมผสมผสานกัน ดังที่เคยมีพระราชด�ำรัสว่า “---การต้ังถิ่นฐานที่ท�ำมาหากิน และสิ่งก่อสร้างทางถาวรวัตถุของมนุษย์ ไม่ว่าจะอดีตหรือปัจจุบันจะมีความเก่ียวข้องกับสภาพภูมิศาสตร์ ดิน น้�ำ และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ การศึกษาหรือความรู้ในด้านนี้จงึ เปน็ ประโยชนต์ อ่ ความเขา้ ใจสถานะและความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย”์ (ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุคุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ) อาจารย์จึงเป็นผู้เสนอช่ือหัวข้อการประชุมท่ีน่าจะเหมาะสมตามคำ� ขอใหแ้ นะนำ� ของทปี่ ระชมุ คณะดำ� เนนิ การวา่ “ภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ ไทย” ซงึ่ เปน็ ทพ่ี อใจและยอมรบั ของผรู้ ว่ มดำ� เนนิ การ นอกจากนี้ อาจารยไ์ ดเ้ สนอใหจ้ ดั หวั ขอ้ ทจ่ี ะน�ำเสนอในการประชุมสัมมนาทางวิชาการครงั้ นใี้ ห้ครบ ๖ ภาคภมู ศิ าสตร์ และไดช้ ่วยกนั กำ� หนดหวั ขอ้ และนกั วชิ าการ/นกั วจิ ยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ จ่ี ะรบั ผดิ ชอบบรรยายและเขยี นรายงานสง่ เพอื่ จดั พมิ พเ์ ปน็เอกสารเผยแพรใ่ นโอกาสตอ่ ไปได้ เฉพาะนกั ภมู ศิ าสตรท์ อี่ าจารยเ์ สนอใหม้ ารว่ มเปน็ วทิ ยากรบรรยายดังกล่าว คือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ วิทยารัฐ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กว ีวรกวิน (ท้ังสองท่านเป็นอดีตนายกสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร) พันเอกพยนต์ ทิมเจริญ (นายทหารภูมิศาสตร์แผนท่ีจากกรมแผนท่ีทหาร) และนักประวัติศาสตร์ คือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นันทวรรณ 179
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ภู่สว่าง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) และได้เสนอนักวิชาการ/นักวิจัยชาวญี่ปุ่น ผู้ทรงคุณวุฒ ิ และเชี่ยวชาญเรื่องเมืองไทยอีกสองท่าน คือ Prof. Emeritus Dr. M.M. Yoshino (อดีต รองประธานสหภาพภูมิศาสตร์โลก) ด้านภูมิศาสตร์กายภาพ (Climatology) และ Prof.Dr. H. Fukui ด้านนิเวศวิทยาเกษตร (Agroecology) จากมหาวิทยาลัย Tsukuba และมหาวิทยาลยั Kyoto (Center for Southeast Asian Studies) ตามล�ำดับ งานประชุม สัมมนาทางวิชาการคร้ังนี้ ทางผู้จัดมีจุดประสงค์หลักจะถวายเป็นของขวัญในวาระ คล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (๒ เมษายน ๒๕๔๓) แตก่ ล็ ่าช้ามาถึงครึ่งปีหลงั ของปี ๒๕๔๓ (๑๒-๑๔ กนั ยายน ๒๕๔๓) แม้กระนนั้ ก็ได้ ทรงมีพระเมตตาเสด็จมาทรงเป็นองค์ประธานและองค์ปาฐกถานำ� หัวข้อ “ภูมิศาสตร์กับ วิถีชีวิตไทย” ต่อจากนั้นอาจารย์ก็ได้บรรยายประกอบ PowerPoint ต่อในหัวข้อ “ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย : สังคมน�้ำกับการวิเคราะห์เชิงพื้นที่” และหัวข้อท่ีสอง ที่อาจารย์บรรยายต่อในคร่ึงบ่าย (หลังร่วมโต๊ะเสวยพระกระยาหารกลางวัน ที่ศูนย์ฯ) คือ “วิถีชีวิตลุ่มน�้ำ: ชุมชนเหมืองฝายในภาคเหนือของประเทศไทย” นับเป็นความซาบซึ้ง ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ ที่ทรงอยู่ประทับฟังอย่างสนพระทัยทั้งสองหัวข้อ และทางคุณหญิงไขศรีได้น�ำค�ำชมจากพระองค์ท่านมาถ่ายทอดต่อให้ได้ฟังในการประชุม วันรุ่งขึ้นนั่นเอง ยิ่งกว่านั้น พระองค์ท่านยังทรงจ�ำได้ว่าอาจารย์จะเกษียณอายุราชการ ในเดือนนั้น จึงรับสั่งถามว่าอาจารย์จะท�ำอะไรต่อไปหลังเกษียณแล้ว อาจารย์จึงได้ กราบทูลว่า ทางภาควิชายังเชิญให้สอนวิชาเฉพาะส�ำหรับนักศึกษาปริญญาโทต่อ และ นอกจากนนั้ ยงั มงี านทีต่ อ้ งรับผดิ ชอบตอ่ อีกหลายเรื่อง คือยงั พอมีท�ำงานต่อไป ทางศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ได้มอบเอกสารต้นฉบับการสัมมนาวิชาการเรื่อง “ภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ ไทย” ครงั้ นใี้ หท้ างบรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ จำ� กดั (มหาชน) รับผิดชอบจัดพิมพ์เผยแพร่ และมอบให้ผู้บรรยายทุกคนปรับปรุง แก้ไข และตรวจสอบ เช็ครายงานของตนเองอีกครั้งหน่ึง (๕๓๔ หน้า) งานแก้ไขตรวจเช็คครั้งน้ีใช้เวลาประมาณ สองปี จึงเสร็จสมบูรณ์ (มีนาคม ๒๕๔๕) และนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้น อกี ครง้ั หนงึ่ ทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารไี ดท้ รงไวว้ างพระราชหฤทยั มอบให้อาจารยไ์ ด้ตรวจเชค็ ต้นฉบบั ของพระองคท์ ่าน ก่อนที่ทางศูนย์ฯ จะส่งใหท้ างบรษิ ัท อมรินทร์ฯ ด�ำเนินการจดั พิมพต์ อ่ ไป (ข้อสังเกตสำ� หรบั ปีพิมพห์ นงั สอื นร้ี ะบุไวว้ ่า “มีนาคม ๒๕๔๕” แต่ผู้บรรยาย/ผู้เขียนทุกคน รวมท้ังอาจารย์ด้วยได้รับหนังสือน้ีโดยตรงจาก ศนู ยม์ านุษยวิทยาสิรินธร เดือนมีนาคม ๒๕๔๖ คอื อีกหนึง่ ปตี ่อมา) 180
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ภาพชีวติ และงานยคุ ทส่ี ามช่วงสอนที่สหรฐั อเมริกา และแคนาดา (พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐) และกลบั มารับราชการตอ่ ช่วงหลัง จนครบเกษยี ณอายรุ าชการ (พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๔๓)ชว่ งสอนท่ีสหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา (พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๓๐) Expo 86 เมือง Vancouver, Canada ๓๐ กันยายน ๒๕๒๙ Niagara Falls ฝั่ง Canada ๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๙หน้าตึกเรยี นภายในมหาวิทยาลัย Wisconsin Madison, U.S.A.๕ มกราคม ๒๕๓๐ และ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๐ สวนพฤกษศาสตร์ ตน้ Cypress เมอื ง Tampa U.S.A. ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๐ 181
๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ดงู าน Dairy Farm เขตเมอื ง Madison ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๐Farm Restaurant รับเชญิ เลยี้ งอาหารกลางวันจาก Prof. Youngชานเมอื ง Madison ๒๘ เมษายน ๒๕๓๐ Multnomah Falls, Columbia ดูงาน Hoover Dam รัฐ Arizona, U.S.A. ดูงาน ไรส่ ับปะรด OAHURiver Gorge, Portland, Oregon ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๐ เมอื ง Honolulu, Hawaii, U.S.A. ๒ กนั ยายน ๒๕๓๐ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๐ Grand Canyon รัฐ Arizona, U.S.A. ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๐182
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ชว่ งกลับมารบั ราชการตอ่ จนครบเกษียณอายุราชการ (พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๔๓)การประชมุ และเสนอผลงานในฐานะผแู้ ทนนกั วจิ ยั ไทย ใน ASIAN Seminar on CommunityParticipation รบั เชญิ จาก APDC และ EDI ณ กรงุ Kuala Lampur, Malaysia 4-9 July, 1988และดงู านและประชมุ ที่อ่ืนๆ : Philippines, 1987; Bangladesh, 1988ผ้แู ทน ๗ ประเทศทร่ี ว่ มประชุม คอื India, Indonesia, Nepal, Pakistan, Philippines, Malaysia และ Thailand ณ ห้องประชุมตึก APDC ๔-๙ กรกฎาคม ๒๕๓๑ผู้แทนที่รว่ มประชมุ หนา้ ตกึ ประชุม-APDC ดงู านที่เมืองกับผแู้ ทนไทย หนา้ ตึกท่ีทำ� การของรัฐบาล Malaccaเมอื ง Malacca นั่งสามล้อ หน้ามหาวิทยาลยั Dhaka, Bangladesh ครั้งไปประชมุ ระหว่างประเทศเกีย่ วกับ ปญั หาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม และความยากจน ๑๓ เมษายน ๒๕๓๑ (1988) ชว่ งดงู านที่ประเทศ Philippines กรุง Manila : นง่ั เกวียน 183 ไปทานอาหารกลางวนั ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๓๐ และไปดูงานท่ี Sarao Motors Inc. Jeepney ๑๘ ตุลาคม ๒๕๓๐ (1987)
๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ทรงงานทมี่ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ภาควชิ าภูมิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ และบา้ นพักส่วนตวั ศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พนู พล อาสนะจนิ ดา ปี ๒๕๓๒-๒๕๓๓ และปี ๒๕๓๔เสด็จทรงงานทำ� แผนที่ภูมนิ เิ วศวทิ ยา เสดจ็ ทรงงานวิจยั ทางแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์กบั ศาสตราจารยพ์ ูนพลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม ILWIS และฉายพระรปู กับครอบครัวศาสตราจารยพ์ ูนพล และครอบครัวทีห่ ้อง GIS ภาควิชาภูมศิ าสตร์ อาจารยว์ ันเพ็ญ ๘ มีนาคม ๒๕๓๒๘ มีนาคม ๒๕๓๒เสดจ็ ฯ ส่วนพระองค์มาทรงบรรยายพเิ ศษทีม่ หาวิทยาลัย ทรงบรรยายหัวขอ้ “ปญั หาปัจจุบันภมู ิศาสตรป์ ระเทศไทย”เชียงใหม่ รบั เสด็จท่ีทา่ อากาศยานทหารอากาศ เชียงใหม่ จากผลงานวิจยั สว่ นพระองค์ ณ หอ้ งสารสนเทศ ตกึ อธกิ ารบดี๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๒ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๓๒184
๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ หน้า “อโรคยาศาล” ประสาทเมืองโต๊ด จังหวดั สรุ ินทร์ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ เสดจ็ ฯ นำ� คณะนกั เรียนนายร้อยฯ รบั ฟังการบรรยายพเิ ศษของศาสตราจารย์ พนั เอก (พเิ ศษ) พูนพล อาสนะจินดา ณ วัดพระธาตุภูข้าว อำ� เภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ทรงฉายพระรปู กับนกั ศกึ ษาและคณาจารย์ภาควิชาภมู ิศาสตร์ ตามเสดจ็ ฯ ไปทัศนศกึ ษา “ปราสาทพระวิหาร”ท่รี ับฟงั การบรรยาย ๓๐ สิงหาคม ๒๕๓๒ อ�ำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรสี ะเกษ ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ 185
๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ เสด็จฯ เปิดศูนยศ์ กึ ษาพฒั นาของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ชนบท พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) ประธานมูลนธิ ิ ศาสตราจารยพ์ ูนพล นำ� คณะตดิ ตามไปเตรียมงาน รบั เสดจ็ ฯ ณ วัดป่าดาราภิรมย์ รับเสดจ็ ฯ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ และ จังหวัดเชยี งใหม่ คณะนกั เรยี นนายร้อยพระจุลจอมเกล้า บนลานวดั ๔ มีนาคม ๒๕๓๖ พระธาตภุ ขู ้าว ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๒เชา้ วันรับเสด็จสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ เสด็จฯ งานเลี้ยงฉลอง เนื่องในวโรกาสและคณะนกั เรยี นนายร้อยฯ วดั พระธาตภุ ขู า้ ว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ทลู เกล้าฯ ถวายปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรดษุ ฎี(เห็นบริเวณรอยต่อ ๓ ประเทศ พมา่ -ลาว-ไทย)๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ บณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาวิชาภมู ศิ าสตร์ ณ หอ้ งสนั ก�ำแพง โรงแรมรนิ ค�ำ ๒๕ มกราคม ๒๕๓๓การรบั เชญิ ไปร่วมประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารกบั นกั วชิ าการเอเชียรวม ๑๒ คน (๖ ชาติ :ศรลี งั กา อินเดยี บังกลาเทศญปี่ ุ่น จนี และไทย) เรอื่ ง“Resettlement in Asia”เพอ่ื ฝกึ อบรมเปน็ ทปี่ รกึ ษาระยะสนั้ของธนาคารโลก “World BankShort-Term Consultant”๑๑-๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๓นำ� นกั ศึกษาปรญิ ญาโทไปทศั นศกึ ษา จงั หวดั เชยี งราย ดูแปลงทดลองปลูก Prof.Dr. Schonhals ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณกาแฟอราบกิ า้ ของกรมวชิ าการเกษตร สองข้างทางบนดอยตุง ๕ มกราคม หัวหนา้ สถาบนั ปฐพีศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั๒๕๓๔ Giessen เยอรมนี ผสู้ อนและสอบปรญิ ญาโท-เอก 186 อาจารยว์ นั เพญ็ ไปเยย่ี มเมอ่ื ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๓๔
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ดูงานโครงการอสี านเขยี วกับศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแกว้ งานเล้ยี ง Prof.Dr. Murai ท่กี รงุ โตเกยี วหวั หนา้ โครงการประเมินผล ชาวบา้ นต้องใชน้ ำ้� โยก กลบั จากเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษทีส่ ถาบัน AIT ประเทศไทยในชว่ งฤดูแล้ง จังหวัดขอนแกน่ ๒ เมษายน ๒๕๓๕ กับ ดร.ทวศี ักดิ์ ปยิ ะกาญจน์ประธาน IGBP ไทย และ ดร.สุวทิ ย์ วิบลู ย์เศรษฐ์ เลขาฯ สภาวิจัย ประชมุ ท่ี กระทรวงการ ตา่ งประเทศญปี่ ุน่ เกยี่ วกับ Asia-Pacific Network for Global Change Research๓-๔ ธนั วาคม ๒๕๓๕คณะนกั วิจัยจากกวางโจว มาประชมุ ปรึกษาการร่วมท�ำวิจัย กับ Prof.Dr. Huang Yang ผนู้ ำ� คณะนักวจิ ยั จากกวางโจวกับคณะวิจยั ไทย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ณ สวนสมเด็จยา่ ฯ ณ จดุ แบง่ เขตแดนไทย-พมา่ อำ� เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งรายสถาบันราชภัฏเชยี งราย ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๓๕ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๓๕ 187
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ กปร. สนบั สนุนทนุ วจิ ยั โครงการพฒั นาลุม่ น�ำ้ แม่อาวอันเน่อื งมาจากพระราชดÓริ อÓเภอปา่ ซาง จงั หวดั ลÓพนู ปี ๒๕๓๖-๒๕๔๐อาจารยว์ นั เพ็ญหวั หน้าโครงการน�ำทมี นักวจิ ัยจากมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ไปส�ำรวจเบื้องต้นเพอ่ื วางแผนงานวจิ ัย และดูงานครอบครัวอพยพ ในพ้ืนทโ่ี ครงการฯ ปี ๒๕๓๖พืน้ ท่ปี ่าสงวนแหง่ ชาติทม่ี สี ภาพสมบรู ณ์ ประชุมคณะวจิ ัยถกู ผมู้ อี ิทธพิ ลบุกรกุ ปกั หมุดจบั จอง และนกั ศกึ ษาท่เี ปน็โดยไมม่ ีสทิ ธ์ิ (บรเิ วณเชงิ ดอย พนกั งานสมั ภาษณ์วัดม่อนจอมธรรม) กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ กอ่ นสมั ภาษณ์ ประชากรเป้าหมาย ปี ๒๕๓๗ประมงจงั หวดั ปลอ่ ยพนั ธปุ์ ลาในอา่ งเก็บนำ�้ Prof.Dr. U. Scholz นำ� นักศึกษาภูมศิ าสตรเ์ ยอรมันแมว่ งั ส้าน พน้ื ทโ่ี ครงการฯ ปี ๒๕๓๗ จากมหาวทิ ยาลัย Giessen มาเย่ยี มทเี่ ชยี งใหม่ ปี ๒๕๓๖ 188
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ ชว่ งประชมุ Land Use and Land Coverin Australia : Living with Global Changeกรุง Canberra และทศั นศึกษาทีเ่ มอื ง Sydney, Australia ๒๐-๒๕ ตลุ าคม ๒๕๓๖ การประชมุ Workshop To Develop Methodologies on the Study on Documentation of Landuse and Landcover Changes ๒๑-๒๕ มนี าคม ๒๕๓๗ ศาสตราจารย์ ดร.สง่า สรรพศรี ประธานการประชมุ ณ โรงแรม Chiang Mai Hills ตดิ ตอ่ ประสานการดงู านภาคสนามให้คณะประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการ ณ หน่วยจดั การต้นน�ำ้ ขนุ วาง กิง่ อำ� เภอแม่วาง และแปลงไมด้ อก บ้านแม้วขนุ กลาง พ้นื ทดี่ แู ลของโครงการหลวง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชยี งใหม่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๓๗ 189
๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ กจิ กรรมอน่ื ๆ ในประเทศจีน (พ.ศ.๒๕๓๗) สปป.ลาว (พ.ศ.๒๕๓๙) และ ทัศนศึกษาท่เี กาะชวา บาหลี ประเทศอินโดนเี ซีย ช่วงมาฆบูชา ๒-๓ มนี าคม ๒๕๓๙โบโรพุทโธ-Borobudur เมอื ง Yogjakarta ประเทศอินโดนีเซีย ๓ มนี าคม ๒๕๓๙ เปน็ ประธานจดั งาน เกษยี ณอายรุ าชการ อาจารย์ มช. รุ่นแรก ๘ คน ณ ห้องสนั พระเนตร โรงแรมโลตสั ปางสวนแกว้ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๘ระบำ� พ้ืนเมอื ง Barong Barong และรำ� Kirisบาหลี อนิ โดนีเซยี ๒ มนี าคม ๒๕๓๙เดก็ อนุบาล ช่วงประชมุ กับนกั วจิ ัยภมู ศิ าสตร์ ท่เี มอื ง Ghuang Zhou กบั อาจารย์สุมาลี เทพสวุ รรณประเทศจีน ๕ มีนาคม ๒๕๓๗ หนา้ วดั พระธาตหุ ลวงกรงุ เวียงจันทน์ สปป.ลาว ครง้ั ไปเตรียมการจดั ประชมุ 190 ระหว่างประเทศไทย-ลาว ปี ๒๕๓๙
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์การประชมุ Thai-Lao International Conference on Economic Development and Management of MeKong Watershed Resources, JC Lao-Thai, Chiang Mai-Luang Phra Bang-Vientiane 17-22 March, 1997การประชุมในไทย ฯพณฯ ดร.สุบนิ ปิน่ ขยนั ท่เี ชียงใหม่ ฯพณฯ ดร.อาสา สารสนิ และ ฯพณฯ ดร.เพา้ บณุ ณะผล วนั เปิดประชมุ ฯ ณ โรงแรมโลตสั ปางสวนแกว้ ๑๗ มนี าคม ๒๕๔๐ ๑๗-๑๙ มนี าคม ๒๕๔๐ หน้าวัดเชียงทอง หลวงพระบาง สปป.ลาว ลอ่ งเรือชมภูมทิ ัศน์แม่น�ำ้ โขง หลวงพระบาง๒๑ มนี าคม ๒๕๔๐ และกบั อาจารย์ทัศนีย์ อนมาน ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๐ชาวนาเกบ็ วชั พชื แปลงเกษตรทา่ งอ่ น โครงการตามพระราชดำ� ริ คณะผ้รู ่วมประชมุ ไทย-ลาว กบั เจ้าหนา้ ทีล่ าวริมฝ่งั แม่น้ำ� โขงในความชว่ ยเหลอื ของไทย กรงุ เวยี งจนั ทน์ ๒๒ มนี าคม ๒๕๔๐ เวยี งจนั ทน์ กอ่ นเดนิ ทางกลบั ประเทศไทย ๒๓ มนี าคม ๒๕๔๐ 191
๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ การประชุมภูมิศาสตรแ์ ห่งชาติ ท่จี ังหวดั น่าน ตลุ าคม ๒๕๔๑กบั ก�ำนันวลิ าส สรุ ฤกษ์ (พี่ชาย) ด่านห้วยโก๋น จังหวดั นา่ น พ.อ.พยนต์ ทิมเจรญิ บรรยายเขตแดนไทย-ลาวทใี่ ชส้ ันปนั นำ้�เตรียมงานเปิดห้องสมุด และกบั รองศาสตราจารยว์ รรณศิริ เดชะคปุ ต์ อดีตนายกสมาคมภมู ิศาสตร์ฯเฉลมิ ราชกมุ ารี จังหวัดลพบุรี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๑๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๐ นÓนักศกึ ษาปริญญาโทภมู ิภาคศึกษา ไปศกึ ษานอกสถานที่ ณ ประเทศกมั พูชา ๒๖-๓๑ มกราคม ๒๕๔๓ทศั นศึกษาอทุ ยานแห่งชาตดิ อยภูคา จงั หวดั น่าน๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๑ ลอ่ งเรอื ในทะเลสาบเขมร ลุ่มน�้ำโขง เขตเมืองเสยี มเรยี บ ๒๗ มกราคม ๒๕๔๓ปราสาทบายนในเขตนครธม จังหวดั เสียมเรียบ ปราสาทตาพรหม นครธม ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓๒๘ มกราคม ๒๕๔๓ 192
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ออกสนามกบั นักศกึ ษา ริมสระน้ำ�ภมู ศิ าสตร์วชิ าอนุรกั ษ์ หนา้ ปราสาทนครวัด จงั หวดั เสียมเรียบ สิง่ แวดลอ้ ม กับทาง ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓ ปา่ ไมเ้ ขตเชียงใหม่ น�ำคณะวิจยั วเิ คราะหส์ ภาพเศรษฐกิจสังคม ครัวเรอื นยากจนดักดานภาคเหนอื ออกสนามที่ น�้ำตกนางนอน จงั หวัดพะเยา และสมั ภาษณ์พอ่ หลวงมนสั ปา่ อมก๋อย กรรมการโครงการไทย-UN ระดบั ท้องถิ่น อำ� เภอจุน จังหวดั พะเยา ๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๓๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๓ เตรียมข้อมูลประชมุ วถิ ีชวี“ิตภไมู ทิศยา”สตถรวก์ าับย สมเด็จพระเทพรตั น- ราหชัวสหดุ นาฯา้ เหสมัมอืภงาฝษาณย์ ตน้ แกว้ อดีตและ ปัจจบุ จันังหอว�ำัดเเภชอียแงมใหร่ ิมม่๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๓น�ำนักศกึ ษาปริญญาตรภี ูมศิ าสตร์การเกษตรไปศกึ ษานอกสถานท่ี การทำ� เกษตรสวนลำ� ไย อำ� เภอจอมทอง จังหวดั เชียงใหม่ (คดั คุณภาพและบรรจผุ ลิตผลเพอ่ื เตรียมสง่ จำ� หนา่ ย เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๔๓) 193
๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ ยุคปัจจบุ ัน : ชว่ งหลงั เกษียณ (พ.ศ.๒๕๔๔-ปจั จบุ นั ) ขณะน้ีอาจารย์ได้เกษียณอายุราชการมาแล้ว ๑๒ ปีเศษ ซ่ึงในช่วงนี้อาจารย์ก็ยังได้ ท�ำงานด้านวิชาการตามเดิม จะต่างไปจากเดิมก็เฉพาะไม่ได้สอนประจำ� อย่างท่ีท�ำในช่วง รบั ราชการ แตเ่ ฉพาะในชว่ ง ๓ ปแี รกหลงั เกษยี ณอายรุ าชการ ทางภาควชิ าภมู ศิ าสตรย์ งั เชญิ สอนวิชาเฉพาะส�ำหรับปริญญาโท โดยเฉพาะวิชา “ภูมิศาสตร์การเกษตร” และวิชาบังคับ พืน้ ฐานคอื “ปัญหาปัจจบุ ันลุม่ น�้ำโขง” ของโครงการภูมิภาคศึกษา บณั ฑิตวิทยาลัย (วชิ านี้มี นกั ศกึ ษาต่างชาตมิ าลงทะเบยี นเรียนดว้ ย สว่ นใหญเ่ ป็นนักศกึ ษาในเอเชยี โดยเฉพาะญปี่ นุ่ ลาว จีน และกัมพูชา วิชาน้ีอาจารย์จะน�ำนักศึกษาและอาจารย์ในโครงการภูมิภาคศึกษา และอาจารยจ์ ากคณะอนื่ ทส่ี นใจขอรว่ มไปศกึ ษานอกสถานทป่ี ระเทศสมาชกิ ภมู ภิ าคลมุ่ นำ้� โขง ปีละประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศ สปป.ลาว ๒๙-๓๑ มกราคม ๒๕๔๒ กมั พชู า ๒๖-๓๑ มกราคม ๒๕๔๓ เวยี ดนาม ๑๙-๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ จีน (บริเวณสิบสองปนั นา) ๗-๑๐ ธนั วาคม ๒๕๔๕ และไทย (บริเวณชายแดนลุ่มน�้ำโขง จังหวัดเชียงราย เขตแดนไทย-สปป.ลาว และไทย-พม่า) ๙-๑๑ มกราคม ๒๕๔๗ ยกเว้นเพียงสหภาพเมียนมาร์ เพราะในช่วงนั้น เป็นเรื่องยากที่จะขอความร่วมมือประสานงานกับนักวิชาการ/คณาจารย์ หรือสถาบัน การศกึ ษาในประเทศพม่า เพ่อื ขอให้เปน็ เจา้ ภาพตอ้ นรับและนำ� ทัศนศึกษาในพื้นทเ่ี ช่นท่ีได้ ทำ� กบั ประเทศในภมู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขงอนื่ ๆ (พมา่ หรอื สหภาพเมยี นมารร์ ะยะนน้ั ยงั อยใู่ นชว่ งปดิ ประเทศ) นอกจากน้ัน ก็เป็นการรับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษบรรยายให้นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เน้นคุณภาพ ประชากรเกษตรกับการพัฒนาและความส�ำคัญของประชากรกับ (ปัญหา) การเกษตร (วิชา : การวิเคราะห์ภาวะประชากรในการพัฒนาทางการเกษตร) และการเลือกประเด็น ปญั หาการวจิ ัยดา้ นสง่ เสรมิ การเกษตรทน่ี า่ สนใจ และการผลติ ผลงานวิจัยดา้ นน้ีทม่ี ีคุณภาพ (วิชา : สัมมนาวิธีวิจัยด้านงานส่งเสริมทางการเกษตร) และบรรยายพิเศษในสถาบันอ่ืนๆ และในงานประชุม ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ แต่โดยเฉพาะการสอนพิเศษให้ คณะเกษตรศาสตรน์ ัน้ อาจารยท์ ำ� เป็นประจำ� และต่อเนื่องมาต้ังแต่ยงั อย่ใู นราชการจนหลัง เกษียณอายุราชการนานกว่า ๑๐ ปี เพิ่งจะหยุดสอนมาได้เป็นปีที่ ๓ (ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔) เท่านน้ั ในวันพระราชทานปริญญาบัตรคร้ังท่ี ๓๕ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (๑๘ มกราคม ๒๕๔๔) อาจารย์ได้รบั เกียรติ สงู สดุ อกี ครง้ั หลงั จากไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯ เปน็ ศาสตราจารยเ์ มอ่ื ปี ๒๕๓๕ คอื สภามหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ได้อนุมัติให้อาจารย์ได้รับเกียรติบัตรเป็น “ศาสตราจารย์เกียรติคุณสาขาวิชา ภูมศิ าสตร์” ในวันนั้น จากนัน้ กไ็ ดพ้ ิมพเ์ ผยแพร่ผลงานการวิจัยเกย่ี วกบั วกิ ฤตเศรษฐกจิ ของ ผตู้ กงานทกี่ ลบั สภู่ มู ลิ ำ� เนาในภาคเหนอื ทเ่ี รม่ิ มาตง้ั แตต่ น้ ปี ๒๕๔๒ ดงั ทรี่ ะบแุ ลว้ นอกจากนนั้ 194
๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์กเ็ ปน็ งานสอนและบรรยายพิเศษตา่ งๆ ทงั้ ที่เป็นงานตอ่ เนอ่ื งและงานใหม่ รวมทั้งงานช่วยตรวจเชค็ และตดิ ตามตน้ ฉบบั เอกสารการสมั มนาภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ ไทยทบี่ รษิ ทั อมรนิ ทรฯ์รับผดิ ชอบจัดพมิ พใ์ ห้ศูนย์มานษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธรในปี ๒๕๔๕ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ มาเสร็จสมบรู ณ์เผยแพรจ่ �ำหน่ายได้ในตน้ ปี ๒๕๔๖ ดงั ระบแุ ล้วเช่นกนั นอกจากน้ี ต้ังแต่ปี ๒๕๔๕ อาจารย์ได้จัดเตรียมส�ำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นฐานและหาทีมหรือคณะวิจัยที่จะสามารถร่วมโครงการท่ีจะเสนอขอทุน สนับสนุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมของคนจนในพ้ืนที่ภาคเหนือเป็นส�ำคญั ตอ่ ไป กลางปี ๒๕๔๖ อาจารย์ในฐานะหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ เรอื่ ง “ยทุ ธศาสตรข์ องรฐั กบั การแกไ้ ขปญั หาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ” ส่วนผู้ท่ีเห็นความส�ำคัญของงานวิจัยเรื่องน้ี และใหก้ ารสนบั สนนุ ตลอดจนมบี ทบาทในการเลอื กพน้ื ทตี่ วั อยา่ งศกึ ษาในชนบทบนพน้ื ทสี่ งู คอืศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ดร.สนั ทดั โรจนสนุ ทร หวั หนา้ ฝา่ ยวจิ ยั มลู นธิ โิ ครงการหลวงและประธานกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ ในระยะน้ัน โดยมีข้อเสนอแนะให้ศึกษาประชากรกลุ่มชาตพิ ันธ์ุบนพืน้ ท่สี ูงเปน็ สว่ นหนึง่ ของโครงการ เพ่อื สนองพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ -พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีพระราชประสงค์ให้แก้ไขปัญหาความยากจนของชาวไทยภูเขา หรือกลุ่มชาติพันธุ์บนพ้ืนท่ีสูงได้ภายใน ๓๐ ปี ซ่ึงปรากฏอยู่ในนโยบายและแผนงานของ โครงการหลวงต้ังแต่ระยะแรก (โครงการหลวงก�ำเนิดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๒ และได้ปรับแผนงานเป็นมูลนิธิ ในปี ๒๕๓๕ ท้ังน้ีเพ่ือว่าทางรัฐบาลจะมีงบพัฒนาประจ�ำปีมาสมทบได้ตลอดไป และทางผู้รับผิดชอบโครงการหรือองค์ประธานผู้แทนในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว คือ หม่อมเจา้ ภีศเดช รชั นี กบั ผู้บริหารโครงการหลวงใหส้ ามารถดำ� เนินงานสนองพระราชดำ� ริได้บรรลเุ ปา้ หมายในทีส่ ุด) อยา่ งไรกต็ าม งานวจิ ยั เรื่องนย้ี ังได้เลือกพื้นท่ีศึกษาในชนบททั่วไป และชมุ ชนเมอื ง รวมเป็น ๓ ลกั ษณะพ้ืนที่ศกึ ษา (ในจังหวดั เชยี งใหม่ล�ำพูน และพะเยา) และเป็นการวิจัยท่ีน�ำเสนอยุทธศาสตร์ทางเลือกใหม่ เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน เออ้ื โอกาสใหป้ ระชากรเป้าหมายยากจนมสี ่วนแกไ้ ขปญั หาของตนและชุมชนอย่างจรงิ จัง โดยการวิเคราะห์จากโครงการพฒั นาของรัฐทางสงั คมและเศรษฐกจิ ทัง้ ในอดตีและปัจจุบันท่ีด�ำเนินการอยู่ และมเี ป้าหมายเช่นเดียวกับโครงการวิจัยเปน็ สำ� คัญ อาจารย์และคณะวิจัยได้อุทิศตัวท้ังกำ� ลังใจ ก�ำลังกาย ทุ่มเทให้กับงานวิจัยสนามคร้ังนี้อย่างเต็มท่ีตลอดปีนี้ และตอ่ เน่อื งไปจนสนิ้ ปี ๒๕๔๘ จึงสามารถสรปุ ผลไดเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ พิมพเ์ ผยแพร่และทางส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้จัดประชุมใหญ่ท่ีเชียงใหม่ให้อาจารย์และคณะวิจัยได้น�ำเสนอและเผยแพร่ผลงานให้นักวิชาการและผู้สนใจท่ัวไป รวมท้ังส่ือมวลชนรบั ฟงั และสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ อ่ ไป (จดั ประชมุ ทโี่ รงแรมเชยี งใหมอ่ อคดิ เมอื่ วนั ท่ี๒๑ มนี าคม ๒๕๔๙ มีผ้เู ข้ารว่ มประชมุ ทง้ั หมดประมาณ ๓๐๐ คน) 195
๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ ในปี ๒๕๔๗ อาจารย์ได้ผลิตต�ำราภูมิศาสตร์การเกษตรเชิงวิเคราะห์เล่มใหม่หรือ ชุดท่ี ๒ เรื่อง “มุมมองทางภูมิศาสตร์กับความยั่งยืนของการเกษตรไทย” ซึ่งส่วนหน่ึง ได้ปรับปรุงตัดตอนจากต�ำราชุดแรก (๒ เล่ม เร่ือง “ภูมิศาสตร์การเกษตรเชิงวิเคราะห์” ท่โี รงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว พมิ พ์เผยแพร่ ต้งั แตป่ ลายปี ๒๕๓๘) อีกสว่ นหนงึ่ นำ� ข้อเขียน เป็นตำ� ราเรยี นใหท้ างส�ำนกั พมิ พ์ไทยวัฒนาพานิช ท่ตี ิดตอ่ ขอมาระหว่างปี ๒๕๔๔-๒๕๔๕ แต่ได้พิจารณาว่าการเขียนของอาจารย์ไม่เหมาะสำ� หรับเป็นต�ำราเรียนเฉพาะของเด็กและ เยาวชนในระดบั มธั ยมศกึ ษาเทา่ นนั้ แตน่ า่ จะไดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นวงกวา้ งกวา่ สำ� หรบั นกั วชิ าการ นักวิจัย และผู้สนใจทั่วไป เพราะเป็นต�ำราในแนววิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทางภูมิศาสตร ์ กายภาพ สงั คม วัฒนธรรม เศรษฐกจิ และการเมอื ง หรอื นโยบายของรฐั ที่เน้นการพฒั นา ด้านการเกษตรเป็นส�ำคัญ และอาจารย์มุ่งหวังท่ีจะแสดงแง่มุมของปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ทุกด้านดังกล่าวว่าต่างก็มีอิทธิพลต่อกันและต่อ ความยั่งยืนของอาชีพหลักและเสริมด้าน การเกษตรของไทย และการพฒั นาความกา้ วหนา้ ของธรุ กจิ เกษตรของ ๖ ภมู ภิ าคภมู ศิ าสตร์ ใหส้ ามารถแข่งขันในเวทกี ารคา้ โลกไดอ้ ยา่ งยั่งยนื ตลอดไป อย่างไรกต็ าม อาจารยต์ ้องเรง่ สรปุ ปิดรายงานผลการวิจยั เกย่ี วกับยทุ ธศาสตรข์ องรฐั ในการแก้ไขปัญหาความยากจนท่ีระบุแล้วในปลายปี ๒๕๔๘ (ตุลาคม) เพราะได้รับเชิญ เขา้ รว่ มประชมุ “Tsukuba Asian Seminar on Agricultural Education-TASAE in 2005” ในฐานะผแู้ ทนประเทศไทย (๑ ใน ๘ ประเทศในเอเชียแปซฟิ ิก : Afghanistan, Australia, Cambodia, India, Japan, Korea, Philippines และ Thailand) ตงั้ แต่ตน้ ปี ๒๕๔๘ จาก ท่ีปรึกษาของฝ่ายเลขานุการจัดการประชุมประจำ� ปีของ TASAE (Dr. Masayoshi Satoh, Professor of Irrigation and Water Management Engineering ซ่ึงไดม้ โี อกาสอา่ นและศึกษา งานเขยี นดา้ นการบรหิ ารจดั การระบบนำ้� ชลประทานของอาจารยม์ ากอ่ น) ในปลายปเี ดยี วกนั (๘-๑๔ พฤศจิกายน) ในหัวข้อท่ีทางญ่ีปุ่น (Prof. Satoh) แสดงความสนใจมาโดยตรง เกี่ยวกับประสบการณ์และภูมิปัญญาของราษฎรในการจัดการเร่ืองน�้ำชลประทานของไทย มาต้ังแต่อดีต คือ “Muang Fai Communities in Northern Thailand : People’s Experiences and Wisdom in Irrigation Management” บทความทางวชิ าการทน่ี ำ� เสนอ คร้ังนี้ ทาง TASAE University of Tsukuba ได้น�ำไปพิมพ์เผยแพร่ใน Journal of Developments in Sustainable Agriculture ในปีถัดไป (Vol.1 No.1 2006. ISSN 1880-3016) ส�ำหรบั ปี ๒๕๔๘ อาจารย์ได้รับเกียรติสงู สุดทางวชิ าการอีกครงั้ หนึ่ง หลังจากไดร้ ับ โปรดเกลา้ ฯ เปน็ ศาสตราจารย์ (พ.ศ.๒๕๓๕) และศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ แลว้ (พ.ศ.๒๕๔๔) คือได้รับการยกย่องเป็นปราชญ์ผู้ท�ำคุณประโยชน์แก่สังคมด้านภูมิศาสตร์ ให้ได้รับรางวัล ศาสตรเมธี สาขาวิทยาศาสตรด์ า้ นภูมศิ าสตร์ ประจ�ำปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘ ของมลู นธิ ิ 196
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362