Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 50 year proof 14 (2)

50 year proof 14 (2)

Published by nscras, 2017-10-31 04:37:50

Description: 50 year proof 14 (2)

Search

Read the Text Version

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สุนทรเภสัชคณาจารย์ส่วนใหญ่ท่ีมาสอนตอนน้ัน นอกจากนักสังคมวิทยาหรือนักมานุษยวิทยาฝร่ัง จากโครงการฟลุ ไบรท์ เชน่ Donald O. Cowgill, Charles F. Keyes และ Jack M. Potterอาจารย์ไทยท่ีสอนส่วนมากยังคงเป็นอาจารย์ท่ีมาจากสาขาวิชาอื่น ในคณะสังคมศาสตร์ และจากต่างคณะแรกตั้งคือมนุษยศาสตร์ (สอนวิชาภาษาอังกฤษ) และวิทยาศาสตร์ (สอนสถติ แิ ละคณติ ศาสตร์) ทา่ นเล่าว่าในชว่ งน้ันภาควิชาสังคมวิทยาฯ เอง มี ดร.บรรพต วีระสยั ซ่งึ สำ� เรจ็ การศึกษาระดับปริญญาเอกทางสังคมวิทยาจาก University of California-Berkeley ด�ำรงต�ำแหน่งเปน็ หวั หน้าภาควชิ าฯ อาจารยป์ ระเสริฐ พันธชาติ จบปรญิ ญาโทมานุษยวิทยาจาก University of Michigan (ย้ายมาจากกรมพัฒนาชุมชน) อาจารย์เกษม บุรกสกิ ร จบปรญิ ญาโทสงั คมวิทยาจาก University of Texas at Turzon ยา้ ยมาจากสภาวิจัยแห่งชาติ ผู้ซึ่งจะมีบทบาทอย่างส�ำคัญในการก่อตั้งสถาบันวิจัยสังคมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในเวลาต่อมา๒๓ และที่เหลือเป็นกลุ่มอาจารย์จบใหม่ บัณฑิตรุ่นแรกจากภาควิชาสังคมวทิ ยาฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เอง คอื อไุ รวรรณ ตนั กมิ ยง (ตอนน้นั กำ� ลังศกึ ษาต่อ ท่ีลอนดอน) ขวัญใจ ไทยทอง และนฤจร อิทธิจีระจรัส (ซ่ึงขณะนั้นท�ำงานใกล้ชิดกับ นายธนาคารนกั มานษุ ยวทิ ยาสมคั รเลน่ ไกรศรี นมิ มานเหมนิ ท์) หลังจากที่ ดร.บรรพต วีระสัย ยา้ ยไปสอนหนังสือที่มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง คณบดีคณะสงั คมศาสตรจ์ ึงแตง่ ตัง้ ให้ สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั ซึ่งมดี กี รเี ป็นนกั มานุษยวิทยาจากองั กฤษและมีความอาวุโสทางวิชาการมากกว่า ขึ้นเป็นหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาฯ แทน ช่วงท่ีท่านเป็นหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาฯ คือระหว่างปี ๒๕๑๕-๒๕๑๖ อาจารย์สุเทพเล่าว่า มีอาจารยท์ ีเ่ ข้ามาท�ำงานในช่วงนน้ั อาทิ อาจารยไ์ ทพศี รีนวิ ตั ิ ภักดีกลุ ซงึ่ จบอาชญาวทิ ยา จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า และฉลาดชาย รมติ านนท์ ลกู ศิษยก์ น้ กุฏขิ อง Lauriston Sharp จากมหาวทิ ยาลัยคอร์แนล๒๔๒๓ ความเป็นมาของสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มจากการริเริ่มของกลุ่มคณาจารย์ในคณะ สงั คมศาสตร์ (โดยเฉพาะอาจารยเ์ กษม บรุ กสกิ ร ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วถงึ ขา้ งตน้ ) ภายใตก้ ลมุ่ “งานวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร”์ ในปี ๒๕๑๖ กระทั่งในปี ๒๕๑๙ มหาวิทยาลัยได้อนุมัติให้จัดต้ังเป็นศูนย์ภายในคณะใช้ช่ือว่า “ศูนย์วิจัย สังคมศาสตร์” การด�ำเนินงานของศูนย์ได้รับเงินสนับสนุนจากคณะสังคมศาสตร์และมูลนิธิ โครงการความ รว่ มมือตา่ งๆ ท้งั จากภายในประเทศและต่างประเทศ ตอ่ มาเม่อื มภี าระงาน โครงการ และบคุ ลากรเพมิ่ มากขึ้น คณะสังคมศาสตร์จึงได้เสนอขอจัดต้ังสถาบันวิจัยสังคม ให้มีสถานะเทียบเท่ากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยระดับ คณะ จนไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หม้ ี “โครงการจดั ตงั้ สถาบนั วจิ ยั สงั คม” เปน็ โครงการใหมใ่ นแผนพฒั นาการศกึ ษา ระยะที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๒๔) จนในปี ๒๕๒๖ ไดม้ ปี ระกาศทบวงมหาวทิ ยาลยั ยกฐานะโครงการจดั ตง้ั สถาบนั วจิ ยั สงั คม ขึ้นเปน็ “สถาบันวิจัยสงั คม มหาวิทยาลัยเชยี งใหม”่ ด�ำเนินงานด้านการวจิ ัยมาตราบจนกระทงั่ ปจั จบุ นั๒๔ สว่ น อานันท์ กาญจนพันธ์ุ ท่เี วลาน้ันกำ� ลังศึกษาอยใู่ นระดบั ปริญญาโทท่ี Cornell University เชน่ กนั เข้าท�ำงาน เป็นอาจารย์ประจำ� ในปี ๒๕๑๙ ซึ่งเป็นชว่ งเวลาทีอ่ าจารย์สุเทพ ได้เดินทางกลบั ไทยเพือ่ ทำ� งานวจิ ยั ภาคสนาม และไดร้ ายงานตวั กลบั เขา้ ทำ� งานในคณะสงั คมศาสตรแ์ ละมสี ว่ นอยา่ งสำ� คญั ในการตดั สนิ ใจรบั อานนั ท์ ผทู้ เ่ี วลานน้ั ยงั มีดกี รีเป็นมหาบณั ฑิตด้านประวัตศิ าสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เขา้ ท�ำงานในภาควชิ าสงั คมวทิ ยาฯ 247

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสชั ทว่าหลังจากสอนหนังสือได้เพียง ๒ ปี บรรยากาศของวงการมานุษยวิทยาระดับ นานาชาตภิ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของรฐั บาลอเมรกิ นั ทย่ี งั คงแผก่ ระจายไปโดยทว่ั ทงั้ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในที่สุดได้ผลักดันให้ สุเทพ สุนทรเภสัช ตัดสินใจ ออกเดินทางศึกษาตอ่ อีกครงั้ หนึง่ “พอมาเป็นหวั หน้าภาควชิ าสังคมวทิ ยาฯ มี visiting scholar โครงการ ฟุลไบรท์ คือ Jack M. Potter เขาก็ให้นั่งในห้องเดียวกับผม วันหน่ึงเขาก็ พูดว่า สุเทพ ท�ำไมไม่คิดไปท�ำปริญญาเอก ผมก็บอก ผมจบอังกฤษมาต้ัง ๑๐ กว่าปีแล้ว ไม่ได้คิดแล้ว Jack Potter ก็บอกไม่ได้หรอกคุณต้องไป พยายามจะขอทุนฟุลไบรท์ ให้ ทีนี้ นฤจร จบแล้วก็ได้ทนุ ไปอย่ฮู าร์วารด์ ๑ ป ี พอไปอยู่สักพักก็เป็นทีบี ก็ลากลับมา มาพักรักษาตัวอยู่ Jack M. Potter มากบั ภรรยาเขา (คอื Sulamith Potter) เปน็ นกั เรยี น Ph.D. มาหาทท่ี ำ� งานวจิ ยั ภาคสนาม ก็เลอื กบา้ นกู่แดง (สารภี เชยี งใหม)่ นฤจรเป็นผชู้ ว่ ยวิจยั ก็สนิทกับ Jack M. Potter มาก กโ็ อเคจะเอาไปเรยี นเบริ ์คเล่ย์ พอตอนหลังมาพูดกบั ผม จะมี Berkeley-Chiang Mai สุเทพคุณต้องไป เพราะเป็นหัวหน้าภาค ถ้าคุณไม่ไปโครงการน้ีก็คงเป็นไปไม่ได้ ในท่ีสุด ราวๆ ปี ๒๕๑๖ เป็น หัวหนา้ ภาควิชาฯ ได้ ๒ ปี กไ็ ปเรียนต่อ ...” (จากซา้ ย) นฤจร อิทธิจีระจรัส อไุ รวรรณ ตันกิมยง ประดิษฐ์ วิชยั ดษิ ฐ ประอรนชุ จันทรสมบรู ณ์ สุเทพ สนุ ทรเภสัช ไทพศี รนี ิวัติ ภักดีกลุ เกษม บุรกสิกร สนุ ทรี ศลี พพิ ัฒน์ และสวุ ทิ ย์ รุ่งวิสยั ถา่ ยภาพร่วมกบั นกั ศกึ ษาสงั คมวิทยาฯ รุน่ ๑๑ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๔ 248

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสัช (จากซา้ ย) Professor Lauriston Sharp สุเทพ สุนทรเภสชั และ สมหมาย เปรมจิตต์ ราวๆ ปี ๒๕๑๖ สุเทพ สุนทรเภสัช ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบิร์คเล่ย์ เมื่อตอนอายุได้ ๓๙ ปี เวลาและประสบการณ์การท�ำงานเป็นนักมานุษยวิทยาอาชีพมากว่า ๑๐ ปี นี่เองที่จะกลายเป็นเง่ือนไขเชิงสังคมวิทยาท่ีเกี่ยวข้องอย่างส�ำคัญ กบั การผลติ ผลงานวทิ ยานพิ นธอ์ นั โดง่ ดงั ดา้ น “มสุ ลมิ ศกึ ษา” ในเวลาตอ่ มา (ดงั จะไดอ้ ภปิ รายขยายความข้างหน้า) เมอื่ กลบั ไปศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอก การทส่ี เุ ทพเคยทำ� งานเปน็ นกั มานษุ ยวทิ ยาอาชพี อยา่ งตอ่ เนอื่ งยาวนานในโครงการวจิ ยั ระดบั นานาชาติ หรอื จะเรยี กวา่ ระดบั การเมอื งโลกกว็ า่ ได้ (ดงั ทท่ี า่ นกลา่ วถงึ อยา่ งตรงไปตรงมาขา้ งตน้ ) อกี ทง้ั มดี กี รมี หาบณั ฑติ มานษุ ยวทิ ยาจากลอนดอนตดิ ตวั ไปดว้ ยแลว้ ปแี รกทเ่ี บริ ค์ เลย่ ์ จงึ เปน็ การทมุ่ เทเวลาใหก้ บั การพฒั นาหวั ขอ้การท�ำวจิ ัยวทิ ยานิพนธ์ ภายใต้การดูแลใหค้ �ำปรึกษาของศาสตราจารย์ Herbert P. Phillipsซ่ึงสุเทพ สุนทรเภสัช เคยรู้จักและร่วมงานมาก่อนแล้วในฐานะ “ท่ีปรึกษา” ของโครงการARPA๒๕ กระนัน้ กต็ ามทา่ นเลา่ ว่า ได้เลือกเรียนวิชาตา่ งๆ กบั อาจารย์ผูเ้ ชยี่ วชาญทางดา้ นพัฒนาการ การเปล่ียนแปลงไปสู่สังคมเมือง ที่คาดว่าจะน�ำแนวคิดมาใช้ในการพัฒนา โครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ ทแี่ ตเ่ ดมิ ทา่ นวาดหวงั วา่ จะเปน็ เรอ่ื งของ “เมอื งตอนใน” (an inland-city)ของรฐั จารตี ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตภ้ าคพน้ื ทวปี คอื เมอื งพรา้ ว (หวั เมอื งหนงึ่ ในรฐั ลา้ นนา๒๕ หากสนใจประเด็นอันสลับซับซ้อนเก่ียวกับนักมานุษยวิทยา ประเทศไทย และการเมืองโลกยุคสงครามเย็นน้ี ดู Eric Wakin. Anthropology Goes to War : Professional Ethics and Counterinsurgency in Thailand. Madison. University of Wisconsin : Center for Southeast Asian Studies Monograph Number 7. 1992. โดยเฉพาะบทที่ ๔. 249

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สนุ ทรเภสัช ปจั จบุ นั เปน็ อำ� เภอหนง่ึ ขน้ึ กบั จงั หวดั เชยี งใหม)่ นอกเหนอื จาก Jack M. Potter ผเู้ ขยี นหนงั สอื เรื่อง โครงสร้างสังคมของชาวนาไทย อันโด่งดังจากการศึกษาหมู่บ้านแห่งหนึ่งแถบ ชานเมืองของเชียงใหม่ (คือในอ�ำเภอสารภี)๒๖ และศาสตราจารย์ Herbert Philips นักมานุษยวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านไทยศึกษา นามระบือ บรรดาอาจารย์นักมานุษยวิทยาท่ี สุเทพ สุนทรเภสัช ได้ร่�ำเรียนด้วยที่เบิร์คเล่ย์ มีอาทิ George M. Foster ซ่ึงสอนวิชา Comparative Peasant Society, Burton Benedict สอน Plural Societies และ Williams Shack ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ น Political Anthropology อยา่ งไรก็ตามเมอ่ื ถงึ ข้นั ต้องสอบหวั ข้อโครง รา่ งวทิ ยานพิ นธ์ สเุ ทพตอ้ งเลอื กกรรมการนอกภาควชิ ามานษุ ยวทิ ยาอกี ทา่ นหนง่ึ มาท�ำหนา้ ท่ี สอบควบคมุ ดูแล และนกั วชิ าการท่านนัน้ คอื Robert Reeds ซ่ึงเป็นอาจารยจ์ ากภาควิชา ภมู ศิ าสตร์ จากเมอื งพร้าวสูบ่ า้ นฮอ่ : วา่ ด้วยเร่อื งเลา่ ของ “มานุษยวิทยามุสลิม” หาก อตั ลกั ษณศ์ าสนาอสิ ลามในเมอื งเชยี งใหม่ คอื งานศกึ ษาบกุ เบกิ ทางดา้ นมสุ ลมิ ศกึ ษาหรอื “มานุษยวทิ ยามสุ ลมิ ” เลม่ แรกในแวดวงสังคมศาสตร์ไทย กำ� เนดิ ของ “ต�ำนาน” หรืองานเขียนเล่มน้ีก็มีที่มาท่ีไปคล้ายด่ังนิยายที่จะเริ่มต้นด้วยจุดหักเหของเหตุการณ ์ อะไรบางอย่าง จากนั้นมักเต็มไปด้วยความวุ่นวายและเหตุบังเอิญ กระท่ัง “จบลง” หรือคลคี่ ลายไปกบั อารมณ์ของ “ผ้อู า่ น” ทอ่ี าจเตม็ ไปด้วยความอ่มิ เอม ผดิ หวงั ค้างคาใจ หรอื ไดแ้ รงบนั ดาลใจต่อไป เร่ิมจาก “เรื่องเล่า” การสอบป้องกันหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ก่อนท่ีท่านจะได้รับ อนุมัติให้เดินทางกลับมาท�ำงานวิจัยภาคสนามในประเทศไทย อาจารย์สุเทพเล่าให้ฟัง หลายครั้งว่า ในช่วงระหว่างท่ีท่านเรียนปีหน่ึงอยู่ท่ีเบิร์คเล่ย์ อาจารย์ท่ีปรึกษาของท่านคือ Herbert P. Phillips นักมานุษยวิทยาผู้เชี่ยวชาญทางด้านไทยศึกษา เป็น Big Professor จึงมักต้องเดินทางไปมาระหว่างประเทศไทยกับเบิร์คเล่ย์เพ่ือทำ� งานวิจัยและให้ค�ำปรึกษา ต่อโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลอเมริกัน แม้แต่การสอบป้องกัน หัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ของสุเทพ ท่าน (คือ Herbert P. Phillips) ก็ต้องมอบหมายให้ Jack M. Potter ท�ำหน้าที่แทน อาจารย์สุเทพเล่าว่า ท่านต้ังใจอย่างย่ิงท่ีจะท�ำวิจัยท่ี เมอื งพรา้ ว “พรา้ ว” คอื ดนิ แดนมหศั จรรยท์ นี่ า่ คน้ หาความหมายยง่ิ ในสายตาของทา่ น อยา่ งไร ก็ตาม แม้จะเตรียมการมาดีแค่ไหนอย่างไรในการสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ อะไรก็เกิดข้ึน ได้เสมอ ๒๖ ดู Jack M. Potter. Thai Peasant Social Structure. University of Chicago Press. 1976. 250

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั เปน็ ไปได้วา่ ในเวลานัน้ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประเทศไทย หรือไทยศึกษา (ThaiStudies) ของนักสงั คมศาสตร์อเมรกิ นั จะยังคงมอี ย่อู ย่างจำ� กดั ยงั ไม่ตอ้ งกลา่ วถงึ กรรมการสอบหวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธข์ องอาจารยส์ เุ ทพในเวลานน้ั (คอื ราวๆ ปี ๒๕๑๗-๒๕๑๘) ทสี่ ว่ นใหญ่ไม่ได้เช่ียวชาญเรื่องไทยศึกษา ท่านเล่าส้ันๆ แต่ฟังเข้าใจได้ว่า ไม่มีกรรมการท่านใดเลย ที่จะมีความรู้ หรือความเข้าใจท่ีจะช่วยให้พวกเขาสามารถจินตนาการถึง “เมืองพร้าว” ของท่านได้ เหตุฉะน้ันเม่ือ Jack M. Potter (ประธานกรรมการสอบโดยพฤตินัย) ซ่ึงเพ่ิง เดินทางกลับจากเชียงใหม่ หลังเสร็จสิ้นโครงการวิจัยภาคสนามในอ�ำเภอสารภี ได้ยุและ เสนอในท่ีประชุมกรรมการโครงร่างหัวข้อวิทยานิพนธ์ว่า พื้นท่ีศึกษาของสุเทพ น่าจะเป็น “เมืองเชียงใหม”่ (Chiang Mai City) ไมใ่ ชเ่ มืองพร้าว เพราะเมืองพรา้ วเวลานนั้ (ตามที่ Potterเขา้ ใจ) แทบทจี่ ะไมม่ อี ะไรทบ่ี ง่ บอกวา่ มี “ความเปน็ เมอื ง” แตอ่ ยา่ งใด อาจารย์สุเทพเล่าถึงบรรยากาศในท่ีประชุมสอบตอนนน้ั วา่ หลงั จากท่ไี ดย้ นิ คำ� วา่ “เมืองเชยี งใหม”่ จากปากของJack M. Potter กรรมการสว่ นใหญ่ ซง่ึ พาลนกึ ไปถงึ เมอื งใหญ่ เชน่ Chicago หรอื New Yorkพ้ืนท่ีศึกษาในโครงร่างหัวข้อวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของท่านจึงมีอันต้องถูกเปลี่ยนจาก “เมืองพรา้ ว” มาเปน็ “เมืองเชยี งใหม่” แต่การศึกษาเชียงใหมท่ ้ังเมืองคงจะเป็นเร่อื งท่ีเปน็ ไปไดย้ ากในทางมานษุ ยวทิ ยา กรรมการจงึ ลงความเหน็ ตรงกนั วา่ นา่ จะมงุ่ เนน้ ศกึ ษาเรอ่ื งของผู้คนหลากหลายกลุ่มท่ีอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองเชียงใหม่ แต่ทว่าเร่ืองก็ยัง ไม่ไปไกลไปถงึ “บ้านฮ่อ” หลงั หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธไ์ ดร้ บั อนมุ ตั ิ อาจารยส์ เุ ทพไดร้ บั ทนุ คา่ เดนิ ทางเพอ่ื ทำ� งานวจิ ยัภาคสนามจ�ำนวนหนง่ึ จาก Robert H. Lowie Travel Grant ที่ Jack M. Potter เป็นธรุ ะจดั หาให้ (และต๋ัวเคร่ืองบินขากลับจากส�ำนักงานของโครงการฟุลไบรท์ในประเทศไทยท่ีเข้าใจผิดคิดว่าอาจารย์สุเทพเรียนจบแล้ว!) ระหว่างทางบินกลับไทยท่านเล่าว่าได้วางแผนแวะเยี่ยมขอค�ำปรกึ ษาจากอาจารยเ์ ก่าทีส่ ำ� นกั วชิ า SOAS และจะอาศัยเวลาเก็บข้อมูลประวัตศิ าสตร์ของเชียงใหม่จากการวิจัยเอกสารในห้องสมุด British Public Record Office ซ่ึงมีแผนก ทรี่ วบรวมเอกสารตา่ งๆ ของเจา้ หนา้ ทอี่ าณานคิ มทสี่ ง่ ตรงมาจากสำ� นกั งานสถานกงสลุ องั กฤษในเชียงใหม่ แผนการดังกล่าวสะท้อนถึง “วุฒิภาวะทางปัญญา” ของสุเทพ สุนทรเภสัช อดตี นกั เรยี นมานษุ ยวทิ ยาองั กฤษจากลอนดอนผมู้ ากไปดว้ ยประสบการณบ์ ทบาทการท�ำงานเป็นนักมานุษยวิทยาอาชีพก่อนหน้านั้น ที่ด�ำเนินมาอย่างยาวนานกว่า ๑๐ ปี (ดังท่ีได้ กลา่ วไปแลว้ ) ระหวา่ งทพี่ ำ� นกั อยใู่ นกรงุ ลอนดอนราวๆ ๒ เดอื น โดยอาศยั เงนิ ทนุ สนบั สนนุ ทไ่ี ดร้ บัจาก British Council อาจารยส์ ุเทพเล่าวา่ ที่ SOAS ท่านไดม้ โี อกาสพบและขอคำ� ปรึกษากบัAbner Cohen นกั มานษุ ยวทิ ยาองั กฤษผ้โู ดง่ ดังจากหนงั สือ Urban Ethnicity (1974) หรือ“ชาติพันธุ์สัมพันธ์ในเมือง” ท่ีเพิ่งตีพิมพ์ออกใหม่ก่อนหน้าน้ันเพียงราวๆ ๑ ปี หนังสือ 251

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สนุ ทรเภสชั ทบี่ รรณาธกิ ารโดย Abner Cohen เล่มนี้ (และงานที่เขาเขียนอีกหลายชิ้น) สรา้ งคณุ ปู การ อย่างมากตอ่ การศึกษาเร่ืองชาตพิ ันธส์ุ มั พนั ธ์ พหุวฒั นธรรม กิจกรรมเศรษฐกจิ การคา้ และ การเดนิ ทางตั้งถ่ินฐานในสังคมเมืองของกลุ่มชาติพนั ธุ์ มมุ มองเชงิ มานษุ ยวทิ ยาดังกล่าวให้ ความส�ำคัญกับมิติวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์การต้ังถิ่นฐาน การปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ ผา่ นระบบสงั คม เศรษฐกจิ การคา้ และการสรา้ งชมุ ชนทางศาสนา หรอื ศาสนสถานของชมุ ชน ผู้อพยพในบริบทของสังคมเมือง อันเป็นส่วนหน่ึงของพัฒนาการของการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ สังคมเมือง จากลอนดอน อาจารย์สุเทพหวนคืนสู่เชียงใหม่ พกพางานเขียนเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สมั พนั ธใ์ นเมอื งของ Abner Cohen และความสนใจทม่ี ตี อ่ ประวตั ศิ าสตรก์ ารคา้ การตง้ั ถนิ่ ฐาน ของชาวมุสลิมปากีสถานและ “พ่อค้าทางไกล” (long-distance traders) ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น ชาวมุสลิมจากยูนนาน ที่มีปฏิสัมพันธ์เข้ามาท�ำการค้าอย่างยาวนานในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ตอนบน ที่ท่านรวบรวมค้นคว้าได้มาจากเอกสารรายงานของเจ้าหน้าท่ี อาณานิคมอังกฤษ อาจารย์เล่าว่าหลังกลับถึงเชียงใหม่ได้รายงานตัวกลับเข้าท�ำงานใน คณะสังคมศาสตรค์ วบคู่ไปกบั การท�ำงานวิจยั ภาคสนาม ซึ่งบดิ าของมานุษยวทิ ยาสมัยใหม่ คือ B. Malinowski ถอื เป็น “งานศลิ ปะ” อย่างหนง่ึ เป็นทักษะความสามารถที่สอนกนั ตรงๆ ไมไ่ ด้ ทวา่ นกั เรยี นมานษุ ยวทิ ยาสามารถพฒั นาขน้ึ มาจากการท�ำงาน การใชช้ วี ติ รว่ มกบั ผคู้ น จริงๆ ใน “สนาม” ทงั้ อาศยั ภาษา ความสัมพันธ์ ความศรัทธาบารมตี า่ งๆ ที่สรา้ งขนึ้ จาก ประสบการณ์งานสนาม ซึ่งถือเป็นสิ่งที่สุเทพ สุนทรเภสัช ได้เคยลองผิดลองถูกส่ังสม พัฒนาข้ึนมาก่อนหน้าน้ันบ้างแล้ว อย่างน้อยก็ ๑๐ ปี ในฐานะนักวิจัยในโครงการ ระดบั นานาชาติ (จากคอรแ์ นล) ผเู้ ชย่ี วชาญของกรมพฒั นาชมุ ชน และนกั มานษุ ยวทิ ยาอาชพี ของโครงการ ARPA อาจารยส์ เุ ทพเขยี นเลา่ ไวใ้ นบทน�ำหนงั สอื Islamic Identity in Chiang Mai City (2013) ว่าท่าน “เข้าถึง” ประวัติศาสตร์และชุมชนของชาวมุสลิมยูนนานได้อย่างไร ท่านสามารถ ทำ� ความรจู้ กั สรา้ งความคนุ้ เคยจนถงึ ขนั้ ไวเ้ นอื้ เชอื่ ใจกนั ระหวา่ งนกั มานษุ ยวทิ ยากบั “อหิ มา่ ม” หรือผู้น�ำในชุมชนศาสนาของชาวมุสลิมในเมืองเชียงใหม่ กระทั่งเขียนประวัติศาสตร์ การตง้ั ถน่ิ ฐานของชาวมสุ ลมิ หลากหลายกลมุ่ ขนึ้ มาได้ ทง้ั ยงั ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ กระบวนการทางสงั คม ต่างๆ (เช่นการแต่งงานกับสาวพื้นเมือง การสร้างมัสยิดแห่งแรก การค้าและการส่งเสริม ดา้ นการศกึ ษาของลกู หลาน) ทช่ี ว่ ยใหเ้ ราเขา้ ใจการปรบั ตวั กระทง่ั กลนื กลายมาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสังคม “คนเมือง” ในเชียงใหม่ได้อย่างลึกซึ้งในระดับท่ีเรียกว่าแม้แต่ลูกหลานของ ชาวยนู นานมสุ ลมิ รนุ่ หลงั เอง เชน่ สชุ าติ เศรษฐมาลนิ ี กไ็ มเ่ คยไดย้ นิ ไดฟ้ งั จากบรรพชน หรอื อาจไมเ่ คยคิดฝนั วา่ จะมคี วามเป็นมาเช่นนน้ั ในถน่ิ ที่ทค่ี ดิ ว่าคือบา้ นเกดิ เมืองนอนของตน 252

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสชั “ในฐานะชาวยนู นานมสุ ลมิ ทเี่ ตบิ โตมาในชมุ ชนแหง่ นี้ (หมายถงึ “ชมุ ชน บ้านฮ่อ” ของเชียงใหม่)๒๗ ข้าพเจ้าจ�ำได้ว่าประวัติศาสตร์ท้องถิ่นท่ีว่า (เคย) เป็นเรื่องที่ไม่ได้รับการบอกกล่าว และข้าพเจ้ารู้สึกประหลาดใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ลูกหลานของชาวยูนนานมุสลิมในปัจจุบันแทบไม่เคยรับรู้ความเป็นมา ของตนและบรรพชนผู้อพยพมาจากยูนนานก็ไม่เคยเล่าเรื่องราวเหล่าน้ี ใหค้ นรนุ่ หลงั ฟงั กระทง่ั ในปี ๒๕๔๐ เมอื่ มสั ยดิ บา้ นฮอ่ ของชมุ ชนชาวจนี มสุ ลมิ ท่ีใหญท่ ่ีสดุ ในเมอื งเชยี งใหม่ จะจัดงานฉลองครบรอบ ๘๐ ปกี ารกอ่ ตง้ั มัสยดิ แหง่ น้ี ในฐานะนกั วิชาการและเลขาธกิ ารของมสั ยดิ ขา้ พเจา้ ไดร้ ับการรอ้ งขอ ใหจ้ ัดท�ำหนังสอื แนะน�ำชุมชนของพวกเราแก่แขกมติ รทจี่ ะมารว่ มงาน หนง่ึ ใน หลายเรอ่ื งทขี่ า้ พเจา้ คดั เลอื กมาจากงานศกึ ษาของสเุ ทพ เพอื่ จะบรรยายใหเ้ หน็ ถึงความยากล�ำบากในยูนนานก่อนที่บรรพชนจะอพยพลงมาต้ังถิ่นฐาน ในประเทศไทยคือเรื่องการลุกฮือของชาวมุสลิมในยูนนานระหว่างปี ๒๔๑๐ ถงึ ปี ๒๔๒๖ ... หลังจากท่ไี ดเ้ ห็นหนังสือแนะน�ำฯ เล่มนน้ั กรรมการสว่ นหนึ่ง ของมสั ยิด ผู้ซงึ่ อพยพมาจากพม่า ไดม้ าพบขา้ พเจา้ และตำ� หนติ ิตงิ วา่ เหตุใด จงึ ตอ้ งหยบิ ยกเรอ่ื งราวเหลา่ นข้ี น้ึ มาบอกกลา่ วแกส่ าธารณชนอกี ในเมอ่ื ทกุ วนั นี้ พวกเราก็ได้ตั้งหลักปักฐาน ได้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทยอย่างสันติแล้ว” (Suchart 2013 : 210-211)๒๘ ในระดับนานาชาติเป็นที่ยอมรับกันว่า วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของสุเทพ สุนทรเภสัช คืองานศึกษาบุกเบิกด้าน “มานุษยวิทยามุสลิม” ในประเทศไทย คือ MasterPiece หายาก! แมห้ ลงั จากนนั้ จะมงี านศกึ ษาเกยี่ วกบั เรอื่ งดงั กลา่ วนอี้ อกมาอกี สองสามเรอื่ งสำ� คญั เช่น Merchant and Migrants : Ethnicity and Trade among Yunnanese Chinesein Southeast Asia ของ Ann Maxwell Hills (1998) และ “The Transformation of ChineseMuslims Identities in Northern Thailand” (2010) ผลงานวทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาเอกของสชุ าติ เศรษฐมาลินี และสุชาติเองกไ็ ดว้ พิ ากษแ์ ละสรุปคุณปู การจากงานศกึ ษาของอาจารย์ ๒๗ เดิมตั้งอย่แู ถบบริเวณเชงิ สะพานนวรัฐฝง่ั ตะวนั ตกของน้�ำแม่ปิง มสั ยิดแห่งแรกกอ่ ตง้ั ขนึ้ ราวๆ ปี ๒๔๖๐ ใกล้กับ วัดอุปคุตพม่า (ปัจจุบันคือพุทธสถานเชียงใหม่) แม้ต่อมาการขยายตัวของเมืองเชียงใหม่และจำ� นวนประชากร ท่ีเพ่ิมมากขึ้น ท�ำให้ชาวมุสลิมต้องขยับขยายชุมชนมาต้ังบ้านเรือนอยู่ทางด้านตะวันออกของน้�ำแม่ปิง (คือ ย่านชุมชนวัดเกตในปัจจุบัน) “มัสยิดบ้านฮ่อ” ของชาวมุสลิมยูนนานแห่งน้ียังคงด�ำรงอยู่คู่กับสังคมคนเมือง เชียงใหม่ตราบจนปัจจบุ นั๒๘ แปลโดยผเู้ ขยี นบทความนี้ จาก Suchart Setthamalinee. “Suthep Soonthornpasuch : The Pioneer of Chinese Muslim Studies in Thailand” (2013). อ้างแล้ว. 253

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสัช สุเทพต่อแวดวงมุสลิมศกึ ษาไว้บา้ งแล้ว๒๙ ผมจะไมก่ ลา่ วซำ�้ อกี ในทน่ี ้ี ทว่าจะต้งั ข้อสงั เกตวา่ งานศึกษารุ่นหลังเหล่าน้ี (แม้รายละเอียด ประเด็นปัญหาที่เกิดต่างยุคสมัย เป้าหมาย ของการศึกษา และการตีความจะแตกต่างกัน) นอกจากจะด�ำเนินรอยตามประวัติศาสตร ์ การตั้งถิ่นฐานของชาวมุสลิมในภาคเหนือของไทยท่ีสุเทพเขียนข้ึนไว้ ค�ำอธิบายเชิงทฤษฎี ก็ยังคงด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกัน คือการมุ่งเน้นบทบาทของศาสนาความเช่ือกับการ น�ำเสนออัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ หรือการประกอบสร้างตัวตนข้ึนใหม่ (ผ่านระบบการจัด องค์กรทางสงั คมการเมือง) ของชาวมุสลมิ ในโลกสมัยใหม่ หรือกระบวนการทสี่ ุเทพ เรียกว่า Retribalisation หรือ “การร้ือฟื้นหรือการกลับคืนมาของลักษณะทางชาติพันธุ์” แนวคิด ดงั กล่าวนเ้ี ริ่มเปน็ ที่สนใจกันมากข้นึ ในแวดวงมานุษยวทิ ยาต้นทศวรรษ ๑๙๗๐ โดยเฉพาะ ที่ปรากฏผ่านงานเขียนของ Abner Cohen ท่ีอาจารย์สุเทพเล่าว่าท่านได้มีโอกาสพบปะ ขอคำ� ปรกึ ษาท่ี SOAS ระหว่างทางแวะพักจากเบริ ์คเล่ย์มาเชียงใหม่นั่นเอง ปัจจบุ นั แนวคิด ดังกล่าวและการศึกษาวิจัยในทิศทางเดียวกันน้ี ยังคงเป็นที่นิยมและได้รับความสนใจกัน อยา่ งมากในกลมุ่ นักมานุษยวิทยาและนักวิชาการที่สนใจศกึ ษาประเดน็ ปญั หาเรอ่ื ง “ชมุ ชน คนพลัดถ่ิน” (Diaspora) หรือ “ชาติพันธุ์สัมพันธ์ในระดับข้ามชาติ” ทั้งน้ีโดยอาจปรากฏ ผ่านงานศึกษาที่ประยุกต์ใช้มโนทัศน์เรื่อง Neo-traditionalism หรือ New Ethnicity ของ Stuart Hall วทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาเอกของสเุ ทพ สนุ ทรเภสชั ทยี่ อมรบั กนั อยา่ งกวา้ งขวางวา่ คืองานบุกเบิกทางด้านมุสลิมศึกษา หรือมานุษยวิทยามุสลิมเล่มแรกๆ ของไทย ส�ำหรับ ผมแล้วจึงยังอาจอ่านได้อกี อย่างหน่งึ วา่ คอื งานตน้ แบบของ Diasporic Studies ทีเ่ ขียนขน้ึ โดยนักมานุษยวิทยาไทย บทสง่ ทา้ ย หลังส�ำเร็จการศึกษาจากเบิร์คเล่ย์ในปี ๒๕๒๐ อาจารย์สุเทพกลับมาท�ำงานสอน หนงั สอื ควบคไู่ ปกบั งานบรหิ ารและการทำ� วจิ ยั ทา่ นชว่ ยงานคณะสงั คมศาสตรด์ ำ� รงตำ� แหนง่ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการอยสู่ มยั หนง่ึ (คอื ชว่ งเดยี วกบั ทคี่ ณะสงั คมศาสตรไ์ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากมลู นธิ ฟิ อรด์ และไดส้ ง่ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ อไุ รวรรณ ตนั กมิ ยง และไชยวฒั น์ รงุ่ เรอื งศรี ๓ อาจารย์จากภาควิชาสังคมวิทยาฯ ศึกษาต่อปริญญาเอกท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา กระทง่ั สำ� เรจ็ การศกึ ษากลบั มากนั ในชว่ งราวๆ ปี ๒๕๒๘-๒๕๒๙) อาจารยเ์ ลา่ วา่ ชว่ งนน้ั เอง กระแสประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ก�ำลังตื่นตัวในหมู่นักวิชาการอาจารย์ในวิทยาลัยครู (มหาวิทยาลัยราชภัฏในปัจจุบัน) ท่านจึงมีโอกาสร่วมงานกับนักวิชาการกัลยาณมิตร เช่น ๒๙ ดู Suchart Setthamalinee (2013). เพ่งิ อ้าง. 254

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัชชยันต์ วรรธนะภูติ ศรีศักร วัลลิโภดม และอคิน รพีพัฒน์ ออกเดินสายอบรมให้ความรู ้เก่ียวกับการทำ� งานวิจัยภาคสนามเชิงมานุษยวิทยาในหมู่ครู ซ่ึงในเวลานั้นกล่าวได้ว่ายังคงเขา้ ใจกนั ในแวดวงจำ� กดั ในสว่ นของงานวจิ ยั นอกจากการเดนิ ทางเสนองานบทความวชิ าการ ในตา่ งประเทศ เชน่ ญ่ปี ่นุ ท่านยังได้พยายามสานต่อปณธิ านเดิมทีเ่ คยต้งั ใจไว้คือการศกึ ษา“พัฒนาการของเมืองเชียงใหม่” กระทั่งรับทุนวิจัยของโฟล์คสวาเก้น ประเทศเยอรมัน ตะวนั ตก (ขณะนน้ั ) หาโอกาสเดนิ ทางกลบั ไปคน้ ควา้ เอกสารทห่ี อจดหมายเหตใุ นกรงุ ลอนดอนอีกคร้ังหนึ่ง โดยเฉพาะเอกสารการเข้ามาของอังกฤษแถบเมืองน่าน ล�ำปาง การท�ำอุตสาหกรรมป่าไม้ ผลงานจากโครงการวิจัยดังกล่าวน�ำเสนอผ่านบทความที่อาจารย์เสนอในเวทีประชุมสัมมนาวิชาการที่มหาวิทยาลัยพายัพเร่ือง “การเปล่ียนแปลงทางสังคม และการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : ผลกระทบการขยายอิทธิพลของมหาอ�ำนาจอาณานิคมตะวันตก (พ.ศ.๒๓๙๓-๒๔๗๕)” ต่อมาตีพิมพ์ในหนังสือรวมบทความวิชาการเล่มแรกของท่าน มานุษยวิทยากับประวัติศาสตร์ (๒๕๔๐) จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ ์เมอื งโบราณ บารมีทางวิชาการและการเป็นคนเก่าแก่ของมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ยงั ส่งผลให้ท่านตอ้ งจบั พลัดจบั ผลูไปรบั ตำ� แหน่งคณบดคี ณะวจิ ิตรศิลป์อยถู่ ึง ๓ ปี (คอื ระหวา่ งปี ๒๕๒๘-๒๕๓๑) อาจารยส์ ุเทพเลา่ ว่า “ตอนน้ัน ราวๆ ปี ๒๕๒๘ คณะวิจิตรศิลป์ซึ่งเป็นคณะใหม่ได้รับการ จดั ตง้ั ขึน้ มาแลว้ ๒-๓ ปี (คอื จัดต้ังเปน็ คณะในปี ๒๕๒๕ และเร่มิ รบั นกั ศกึ ษา รุน่ แรกในปกี ารศึกษา ๒๕๒๖) แต่ยงั ไม่มีคณบดี ... ในเวลาเดียวกันตอนน้ัน วาระของผู้อ�ำนวยการของสถาบันวิจัยสังคม หมดเทอมพอดี พวกคณบดี หนุ่มๆ พวกทันตแพทย์ เภสัชก็มาล็อบบ้ีกับผมว่า อาจารย์สุเทพเป็นนะ ... กว็ งิ่ มาหาผม ทนี ว้ี จิ ติ รศลิ ปด์ นั ไมม่ คี ณบดี วนั นนั้ ตอนเชา้ จะเขา้ ทปี่ ระชมุ คณบดี คณะเล็กๆ ต่างๆ ก็สนับสนุนกันหมดว่าจะให้ผมเป็น ผู้อ�ำนวยการของ สถาบันวิจัยสังคม ผมก็รับปากพวกนี้เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าคณบดี (คณะสงั คมศาสตร)์ โทรมาตอนเชา้ วา่ พวกวจิ ติ รศลิ ปเ์ ขาตอ้ งการใหผ้ มไปเปน็ คณบดีเพราะว่าเขาไม่มีใครเลย คุณคิดดูสิแย่งกันไม่ให้คนน้ันเป็นคนนี้เป็น สารพัด ในที่สดุ กบ็ อก (อาจารย์สเุ ทพ) เปน็ เถอะ ช่วยผมหนอ่ ย ผมก็บอกว่าน่ี ก�ำลังจะไปเป็น candidate ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยสังคม ท่านก็บอก คุณไม่ต้องห่วงหรอก ใครก็เป็นได้ มีคนเยอะแยะ ผมก็เลยเสียเวลาไปอยู ่ วิจิตรศลิ ป์ ๓ ปี ...” 255

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสัช หลังออกจากต�ำแหน่งผู้บริหาร คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ อาจารย์กลับมาท�ำงานสอน หนังสือทคี่ ณะ ระหวา่ งน้ีท่านได้รับทุนจากรัฐบาลเนเธอรแ์ ลนด์ เขา้ ร่วมโปรแกรมการอบรม พเิ ศษนานาชาตเิ ก่ียวกับการพฒั นาและความยตุ ิธรรมทางสงั คม (สิทธมิ นุษยชน) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ความเป็นนานาชาตใิ นตัวท่านดำ� เนนิ มาและดำ� เนนิ ไปอย่างต่อเนื่อง อยา่ งไรกต็ ามในช่วง ๕ ปีสดุ ทา้ ยกอ่ นเกษยี ณอายรุ าชการ ทา่ นได้กลบั มาทุ่มเทเวลาใหก้ บั งานสอนหนังสือท่ีภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (อันเป็นช่วงเวลาท่ีผมได้มีโอกาส ร่�ำเรยี นกบั ทา่ น ดังทไ่ี ด้กลา่ วไปในตอนตน้ เรือ่ ง) และในตอนนั้นเอง ภาควชิ าสงั คมวิทยาฯ ได้ริเร่ิมเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโทสาขาวิชาการพัฒนาสังคม และรับนักศึกษารุ่นแรก ในปีการศึกษา ๒๕๓๓ ช่วงนี้เองอาจารย์สุเทพได้แปลและเรียบเรียงหนังสือแนวคิดทฤษฎี สังคมวิทยาและทฤษฎีมานษุ ยวิทยารว่ มสมัยออกมา ๒ เลม่ ส�ำคัญ๓๐ เพื่อทีจ่ ะใชป้ ระกอบ การเรยี นการสอนในหลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษาดงั กล่าว กระทง่ั ในปี ๒๕๓๗ สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั กไ็ ดเ้ กษยี ณอายรุ าชการ จากคณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แน่นอนว่าชีวิตวิชาการของท่านยังไม่ได้จบลงแค่น้ัน ทว่าผมก็คง ไมส่ ามารถกลา่ วตอ่ ไดใ้ นบทความสนั้ ๆ นี้ กอ่ นจบบทสนทนาบา่ ยวนั หนง่ึ ทบ่ี า้ นของอาจารย์ ผมได้ขอให้ท่านในฐานะนักมานุษยวิทยาไทยรุ่นบุกเบิกช่วยทบทวนและกล่าวถึงสถานะ ของมานุษยวทิ ยาในประเทศไทย ท่านกล่าวไว้อยา่ งทา้ ทายน่าคิดว่า “คอื ในเมอื งไทย ตอนท่ผี มจบกลับมา เรายังไม่สามารถที่จะประกาศตวั ได้อย่างชัดแจ้ง คือสถานะของมานุษยวิทยามันยังค่อนข้างจะเป็น ศาสตรป์ ระยกุ ต์ มากกวา่ จะเปน็ วชิ าของมนั เอง ... การทเ่ี ปน็ สาขาสงั คมวทิ ยา และมานุษยวิทยา(รวมกัน)อยู่ มันยังคาบลูกคาบดอก ... ในท่ีสุดแล้ว มานุษยวิทยาท่ีแท้จริงมันก็ยังไม่ได้พัฒนามาในลักษณะท่ีมันควรจะเป็น สังคมวิทยา ซึ่งในเมืองนอกเขาก็มีความเข้มแข็งและมีลักษณะเฉพาะของเขา ในเมอื งไทยมนั กไ็ ม่ไดเ้ กิดขน้ึ ๓๐ คอื ทฤษฎมี านษุ ยวทิ ยาปจั จบุ นั ความรพู้ นื้ ฐานทฤษฎที างสงั คมและวฒั นธรรม. เชยี งใหม่ : คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ๒๕๓๓. และทฤษฎสี งั คมวทิ ยารว่ มสมยั พน้ื ฐานแนวความคดิ ทฤษฎที างสงั คมและ วฒั นธรรม. เชยี งใหม่ : คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. ๒๕๓๕. นอกจากนใ้ี นช่วง ๒-๓ ปีทผ่ี ่านมา อาจารย์สุเทพยังได้แปลเรียบเรียงต�ำราแนวคิดทฤษฎีชาติพันธุ์สัมพันธ์ ให้กับหลักสูตรชาติพันธุ์ศึกษา ที่เพิ่ง จะเร่ิมเปิดรับนักศึกษาได้ ๓ รุ่น ในคณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ อีกดว้ ย (ดู สเุ ทพ สุนทรเภสัช. ทฤษฎีชาติพนั ธส์ุ มั พันธ์ : รวมบทความทางทฤษฎเี ก่ยี วกบั อัตลกั ษณ์ เช้ือชาติ กลุ่มชาติพนั ธ์ุ การจดั การองคก์ ร ความสมั พนั ธ์ และรฐั ประชาชาต.ิ เชยี งใหม่ : ศนู ยศ์ กึ ษาชาตพิ นั ธแ์ุ ละการพฒั นา มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ๒๕๕๕.) 256

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สนุ ทรเภสชั มานุษยวิทยาบังเอิญเป็นสาขาท่ีไปเกี่ยวพันกับศาสนา ชาติพันธุ์ต่างๆ กเ็ รมิ่ จะมตี ัวตนข้นึ มา แต่มันก็ยังมีสงั คมสงเคราะห์อะไรเข้ามา ซง่ึ ผมไม่พอใจ ในแง่ทีม่ นั กไ็ มเ่ ป็นอะไรของมนั สักอย่าง ถา้ เป็นไปไดเ้ รานา่ จะสร้างวิชาท่เี ป็น มานุษยวิทยาแท้ๆ หรือสังคมวิทยาแท้ๆ หรือว่ามันอาจจะเป็นไปได้ว่า สงั คมวทิ ยา มานุษยวิทยาแท้ๆ โดยสิ่งแวดล้อมของเมอื งไทยมนั เป็นไปไม่ได้ การจะมาเปน็ discipline ในทางอดุ มการณ์ มนั เปน็ ไปไมไ่ ด้ ไมส่ อดคลอ้ งกนั ?” ในวาระครบรอบ ๕๐ ปี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผมจึงขอจบบทความวา่ ดว้ ย “ชวี ติ และงานของผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั ” อาจารยอ์ าวโุ สของภาควิชาสงั คมวิทยาฯ นกั มานุษยวทิ ยารนุ่ บกุ เบกิ ของไทยไว้แตเ่ พียงเท่านี้ 257

ชีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.อไุ รวรรณ ตนั กมิ ยง



ชวี ติ และงานดร.อุไรวรผชู้ร่วณยศตาสันตกราิมจายรงย์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ชวี ประวัติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตนั กมิ ยง เกดิ เมอื่ วนั ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายนพ.ศ.๒๔๙๐ ท่ีต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง เป็นบุตรคนสุดท้อง ของนายผดุง กับนางเปรมจินต์ วฒั นะภูติ บดิ าของท่านเปน็ ข้าราชการการรถไฟแห่งประเทศไทย ในวัยเด็กจึงต้องติดตามครอบครัวย้ายไปตามจังหวัดต่างๆ เมอื่ ถงึ วยั ศกึ ษาจงึ ไดป้ กั หลกั ใชช้ วี ติ อยใู่ นกรงุ เทพฯ กระทง่ั เรยี นจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจากโรงเรียนสตรีวิทยา อาจารย์อุไรวรรณเลือกมาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (เลือกเป็นอันดับหนึ่ง) ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ ซึ่งเป็นปีที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดการเรียนการสอนเป็นปีแรก จึงถือเป็นบัณฑิตสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยาร่นุ แรกของมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เปน็ คณะทอ่ี ไุ รวรรณเลอื กเขา้ มาเรยี น ซงึ่ ในชว่ งเวลานนั้ วชิ าสงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา เป็นวิชาเรียนใหม่ส�ำหรับสังคมไทย นักศึกษาหลายคน รวมทั้งอุไรวรรณ ไม่มีความรู้มาก่อนว่าเป็นวิชาที่ว่าด้วยเร่ืองอะไร และเหตุผลสำ� คญั อกี ประการหนง่ึ คอื ยงั ไมม่ มี หาวทิ ยาลยั แหง่ ใดในประเทศทเี่ ปดิ สอนวชิ านี้โดยตรง การสอนมักแฝงอยู่ในคณะซ่ึงเกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสังคมอ่ืนๆ เช่นแฝงอยู่ในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แฝงอยู่ใน คณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เปน็ ตน้ การเลือกเรยี นวชิ าสงั คมวิทยาผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าพร นาคบลั ลังก์ เขียนและเรยี บเรียง 261

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตันกมิ ยง และมานษุ ยวทิ ยาจงึ นบั เปน็ การบกุ เบกิ ศาสตรน์ ใ้ี หก้ บั ตวั อไุ รวรรณ ซงึ่ เปน็ บคุ ลกิ เฉพาะตวั ท่ี ชอบทำ� งานที่ทา้ ทายอย่แู ลว้ ในปี ๒๕๐๗ นนั้ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เปดิ รบั นกั ศึกษาเพยี ง ๑๒๕ คน กระจายอยู่ ใน ๓ คณะคือ คณะวทิ ยาศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ และคณะมนษุ ยศาสตร์ ในปีแรกน้นั คณะสังคมศาสตร์ มีการเปิดสอนเพียง ๓ ภาควิชาคือ ภาควิชาภูมิศาสตร์ ภาควิชา เศรษฐศาสตร์ และภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา ซงึ่ เปน็ ภาควชิ าใหม่ มหาวทิ ยาลยั จงึ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากมลู นธิ ริ อ็ คกเ้ี ฟลเลอร์ โดยการสนบั สนนุ อาจารยช์ าวตา่ งประเทศ ให้มาสอนในภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นเวลา ๓ ปี ในปีการศึกษาแรกน้ัน นักศกึ ษาในภาควิชานี้ มเี พียง ๑๔ คน (น้อยที่สุดเมอ่ื เปรียบเทียบกับภาควชิ าอื่น) ซง่ึ ตอ้ ง เรียนวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นภาษาอังกฤษ ในการเรียนวิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยานั้น มีการออกศึกษาภาคสนาม การเก็บข้อมูล ด้วยวิธีการสัมภาษณ ์ สังเกต และจดบันทึก เป็นวิธีการที่ได้รับการฝึกอบรมจากอาจารย์ทั้งที่เป็นชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแรงจูงใจให้อุไรวรรณ กลายมาเป็นนักวิจัยท่ีมี ความสามารถอยา่ งหาตัวจบั ยากในเวลาตอ่ มา พ.ศ.๒๕๐๗: นกั ศึกษาภาควชิ าสังคมวิทยา-มานษุ ยวิทยารนุ่ แรก จำ� นวน ๑๔ คน อาจารยอ์ ไุ รวรรณ คือ คนที่ ๓ นับจากขวามอื (แถวหน้า) 262

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตนั กิมยง ในระหว่าง ๔ ปี ของการศึกษาในภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา งานวิจัย เริ่มซมึ ซับเข้าไปในวิญญาณของนักศกึ ษาทัง้ ๑๔ คน ทีละนอ้ ย ที่ไม่รู้จักวา่ วิจยั คอื อะไร?วจิ ยั ทำ� อยา่ งไร? วจิ ยั ทำ� ไปทำ� ไม? คำ� ถามเหลา่ นเ้ี รม่ิ หมดไปและกลายเปน็ พฤตกิ รรมทต่ี ดิ ตวัมาจนส�ำเร็จการศึกษาและท�ำงานในท่ีสุด อุไรวรรณเป็น ๑ ใน ๑๔ คนที่น�ำความรู้จาก การเรยี นมาใช้ในการทำ� งานอย่างคุ้มค่ามากทีส่ ดุ คนหนึง่ในฐานะนักสอนหนงั สือ เมื่อจบการศึกษา อุไรวรรณได้รับบรรจุเป็นอาจารย์สอนในภาควิชาที่ได้เรียนมา และสอนหนังสืออยู่ ๗ ปี จึงได้รับทุนให้ไปศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) เป็นเวลา ๒ ปี เมื่อเรียนจบปริญญาโทแล้ว กลับมาสอนหนังสือในภาควิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา อีกครั้ง ช่วงระหว่างเวลาน้ันอาจารย์อุไรวรรณ ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็น “ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย”์ ตลอดจนไดร้ บั ทนุ จากมลู นธิ ฟิ อรด์ เพอ่ื ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอกทม่ี หาวทิ ยาลยั คอรเ์ นลล์ (Cornell University) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า หลงั จากสำ� เรจ็ การศกึ ษาได้เป็นผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตนั กิมยง แลว้ จงึ กลับมาสอนและพัฒนาภาควิชาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ทงั้ ในเรอ่ื งการพฒั นานักศึกษาและหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทั้งในระดับภาควิชาและคณะ อาทิ เป็นหน่ึง ในผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการติดต่อขอทุนจากมูลนิธิฟอร์ด จ�ำนวน ๑ ล้านเหรียญสหรัฐ มาสนับสนุนด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้ดอกเบี้ยจากเงินฝากดังกล่าว นอกจากน้ี ความเป็นผู้มี วิสัยทัศน์กว้างไกลของอาจารย์ อไุ รวรรณ เกย่ี วกบั การเปดิ พน้ื ที่ ทางวิชาการข้ามพรมแดนน้ัน ยังแผ่ขยายมาถึงกลุ่มนักศึกษา ปริญญาตรี ด้วยการผลักดัน ให้นักศึกษาไทยได้มีโอกาส ไปท�ำงานเก็บข้อมูลภาคสนาม ด้านการพัฒนาสังคมและด้าน ม า นุ ษ ย วิ ท ย า ที่ ป ร ะ เ ท ศ จี น เป็นกลุ่มแรกของภาควิชาฯ ในปี ๒๕๔๐ 263

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตันกิมยง ในฐานะนักวจิ ัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตันกิมยง ได้รับทุนวิจัยระดับชาติและนานาชาติ หลายทนุ เพื่อท�ำวจิ ยั ทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศจนี และลาว ซ่ึงมผี ลงาน หลากหลาย ทเ่ี ดน่ ๆ ทอี่ าจารยอ์ ไุ รวรรณไดท้ ำ� วจิ ยั ในเมอื งไทย ไดแ้ ก่ เรอื่ งเกยี่ วกบั ปา่ ชมุ ชน การจดั การนำ้� การชลประทาน การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ทงั้ ในแงข่ องการปฏริ ปู นโยบายและ การสรา้ งเครือข่าย รวมท้ังการใชเ้ ครอื่ งมือในการพฒั นาและการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ทงั้ นแี้ หลง่ ทนุ ของงานวจิ ยั ดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ รฐั บาลไทย รฐั บาลสหรฐั ฯ มลู นธิ ฟิ อรด์ ธนาคารโลก ADB, DANCED, GTZ, IFAD, ISPAN, UNDCP, USAID, Winrock International Inc. ฯลฯ นอกจากนน้ั อาจารย์อุไรวรรณ ยังมงี านวจิ ยั เร่อื งเกีย่ วกับผู้หญิงและการพัฒนา โดยไดร้ ับ ทุนจาก World Bank, USAID และ YMCA เป็นตน้ อาจารย์อุไรวรรณ ได้ขยายพื้นที่ศึกษาวิจัยไปยังประเทศเพ่ือนบ้าน โดยมีการ แลกเปล่ียนความรู้ในด้านการจัดการป่าไม้และลุ่มน�้ำระหว่างจีนและไทย การจัดท�ำแผนที่ การเปลยี่ นแปลงการถอื ครองทดี่ นิ ในลมุ่ แมน่ ำ�้ โขงในเขตประเทศไทย จนี และลาว ตลอดจน การวิจัยเพื่อการพัฒนาพ้ืนที่ภูเขา และการประเมินโครงการน�ำร่องวนศาสตร์ชุมชน (Social Forestry) ในพนื้ ทล่ี มุ่ น�้ำแยงซีตอนบน รวมท้ังการจดั การระบบนิเวศบนพ้ืนทีส่ ูงของ มณฑลยูนนานร่วมกับชุมชนท้องถ่ิน โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์ มูลนิธิฟอร์ด รัฐบาลจีน และ GEFF-UNDP ตามล�ำดับ ส�ำหรับรัฐบาลลาว ก็ได้ร่วมกับ แหล่งทุนต่างชาตทิ ั้งจาก เนเธอรแ์ ลนด์ สวเี ดน สหรัฐอเมริกา และญปี่ ุ่น ในการให้ทุนแก่ อาจารยอ์ ไุ รวรรณ เพอื่ ศกึ ษาเกยี่ วกบั การจดั การพนื้ ทลี่ มุ่ นำ�้ แบบมสี ว่ นรว่ มและวจิ ยั เกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงการเพาะปลกู ในหลวงพระบาง รวมทง้ั ศกึ ษาเกย่ี วกบั การพฒั นาระบบนเิ วศ ตลอดจนการวิจัยเพ่อื วางแผนการใช้ท่ดี ินและการจัดการป่าไมโ้ ดยชุมชนมีส่วนร่วมด้วย อาจารยอ์ ุไรวรรณถ่ายภาพร่วมกับนักวจิ ัยชาวจนี ในโครงการวนศาสตร์ชมุ ชน มณฑลยูนนาน 264

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงานของคณาจารยอ์ าวุโส ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตันกมิ ยง 265

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตันกิมยง ในฐานะนักฝึกอบรมแลกเปลีย่ นความรู้ อาจารย์อุไรวรรณ ตันกิมยง ช�ำนาญในการลงพ้ืนที่เพ่ือปฏิบัติจริง จึงสามารถเป็น หัวหน้าคณะท�ำงาน ระดับอินเตอร์ฯ ในการจัดองค์กรการอบรมปฏิบัติการส�ำหรับสมาชิก ในประเทศเพอื่ นบา้ นหลายประเทศ เพื่อการจัดทำ� แผนและการท�ำงานภาคสนาม อาจารย์ ให้การฝึกอบรมวิเคราะห์พื้นท่ีเฉพาะส�ำหรับการวางแผนการจัดการป่าไม้ระดับใหญ่และ ระดบั ยอ่ ยกบั การพฒั นาชมุ ชนและชนบท ทง้ั นกี้ เ็ นอื่ งจากผลงานของอาจารยเ์ ปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ แก่ Doner หรือผู้ให้การสนับสนุนด้านการเงินท้ังหลาย อาทิ ADB มูลนิธิฟอร์ด สถาบัน ภูมิศาสตร์ยูนนาน องค์กรที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้�ำ ท้ังในประเทศอินโดนีเซีย บงั กลาเทศ เวยี ดนาม กมั พชู า และฟลิ ปิ ปนิ สท์ ย่ี อมรบั ในความสามารถระดบั อนิ เตอรฯ์ ของ อาจารย์ จึงได้เชิญอาจารย์เป็นผู้ให้การอบรมโดยเฉพาะเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ท่ีดิน แบบมีส่วนรว่ ม (Participatory Land-use Planning, PLP) ท่ีอาจารยเ์ ปน็ รุน่ แรกๆ ท่ีได้ริเรม่ิ นำ� เอาระเบยี บวธิ ดี งั กลา่ วมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาบนพนื้ ทส่ี งู และการอนรุ กั ษพ์ นื้ ทลี่ มุ่ นำ้� ๒๕๔๑: โครงการการจดั การทรพั ยากรป่าไมแ้ ละทด่ี ิน โดยร่วมกับสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ใหก้ ารฝกึ อบรมการจดั การและการคุม้ ครองทรพั ยากรโดยประชาชน 266

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตันกมิ ยงในฐานะนักบริหาร & นกั ให้คÓปรึกษา ด้วยความสามารถทางวิชาการและประสบการณ์ภาคสนามดังกล่าวข้างต้น อาจารย์อุไรวรรณ ตันกิมยง จึงได้รับการแต่งต้ังจากหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ใหม้ าดำ� รงตำ� แหนง่ ประธานหลกั สตู รปรญิ ญาโท สาขาการพฒั นาสงั คม นอกจากนน้ั อาจารยอ์ ไุ รวรรณ ยงั ไดร้ บั เชญิ จากผอู้ ำ� นวยการบัณฑิตศึกษาสถาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้มาด�ำรงต�ำแหน่งประธานโครงการ บัณฑิตศึกษา สาขาการจัดการมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม เพื่อเปิดหลักสูตรภาคพิเศษ ณ จงั หวัดพะเยา ซง่ึ หลังจากนั้นกไ็ ดข้ ยายฐานการศึกษาสจู่ ังหวัดเชียงราย ตามล�ำดบั อาจารย์อไุ รวรรณ นำ� กลมุ่ นกั ศกึ ษาปริญญาโท สาขาการจดั การมนุษยก์ บั สงิ่ แวดล้อม ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ (MEM พะเยารุน่ ๑) ไปทศั นศึกษาประเทศจนี อาจารย์อุไรวรรณ ได้ร่วมเป็นกรรมการและในฐานะผู้ช�ำนาญการด้านการจัดการชลประทานและแหล่งน�้ำจึงมีส่วนในการแนะแนวทางการกระจายอำ� นาจการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำแบบผสมผสาน (IWRM) แก่ส�ำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้�ำธรรมชาติ(ONWRC) ซงึ่ ขณะนนั้ อยใู่ นความดแู ลของสำ� นกั นายกรฐั มนตรแี หง่ ประเทศไทย ยงิ่ ไปกวา่ นน้ัอาจารย์อไุ รวรรณ ยงั ไดร้ ับเลอื กเปน็ กรรมการและท่ปี รึกษาในหลายองค์กรนานาชาติ อาทิ 267

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตนั กมิ ยง องค์กร CGIAR-FAO ของสหประชาชาติที่เป็นท้ังผู้น�ำวิจัยทางด้านการเกษตรฯ สถาบัน การจดั การนำ�้ นานาชาติ (IWMI) สถาบนั วจิ ยั เกษตรนานาชาตทิ เ่ี นน้ ศกึ ษาขา้ วสาลแี ละขา้ วโพด (CIMMYT) แตท่ ถ่ี อื วา่ เปน็ เกยี รตสิ ำ� หรบั ประเทศไทยคอื การทอี่ าจารยไ์ ดร้ บั เลอื กเปน็ กรรมการ อ�ำนวยการของศูนยก์ ารวิจยั วนเกษตรนานาชาติ (ICRAF) ซงึ่ มีทีท่ ำ� การต้ังอยู่ ณ ประเทศ เคนยา ทวีปแอฟริกา และด้วยความสามารถและผลงานของอาจารย์อุไรวรรณที่ปรากฏ อาจารย์จึงไดร้ ับเลือกใหเ้ ปน็ รองประธานของคณะกรรมการดงั กล่าวในวาระทีส่ อง อาจารย์ และ Dr.David Thomas ได้ร่วมกันผลักดันจนกระทั่งได้มีการกระจายการตั้งศูนย์การวิจัย วนเกษตรนานาชาตไิ ปยังประเทศจนี เวียดนาม และไทย อาจารย์อไุ รวรรณมคี วามสามารถ ในการจดั การ โดยการมสี ว่ นรว่ มในการกำ� หนดแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ การจดั หาเงนิ ทนุ ไปจนถึงการได้เป็นท่ีปรึกษาร่วมกับคณะท�ำงานด้านเทคนิคและฝึกอบรมปฏิบัติการ รวมถึงการออกภาคสนามในพื้นท่ีป่าในหุบเขาท้องถิ่นในประเทศไทยหลายสิบโครงการ โดยผู้เขา้ อบรมมีทัง้ ชาวเอเชีย แอฟรกิ า และอเมริกาใต้ แม้ว่าการท�ำงานของอาจารย์อุไรวรรณจะออกแนวอินเตอร์ เดินทางไปทั่วโลก แทบทุกภมู ิภาค ทำ� งานกับฝรัง่ มังคา่ แขก จนี ลาว ฯลฯ แต่อาจารยก์ ไ็ มล่ ืมงานสอนหนงั สอื ซึ่งก็คืองานหลัก โดยอาจารย์ได้น�ำเอาความรู้และประสบการณ์แปลกใหม่มาเล่าสู่กันฟัง เป็นกรณศี ึกษาที่น่าสนใจอย่างไมร่ ูจ้ บ ในฐานะนกั ศกึ ษาเก่าดีเด่น จากผลงานของ ดร.อไุ รวรรณ ตันกมิ ยง อนั เปน็ ท่ปี ระจกั ษ์ดงั ทีไ่ ดก้ ล่าวถึงข้างตน้ นนั้ เปน็ เพยี งบางเรอื่ งบางงานเทา่ นนั้ แตด่ ว้ ยคณุ คา่ ของผลงาน อาจารยอ์ ไุ รวรรณ จงึ ไดร้ บั เลอื ก ให้เปน็ นักศกึ ษาเกา่ ดเี ด่นของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ประจำ� ปี ๒๕๓๗ ในฐานะนกั เล่าเรื่องทอ่ี ย่ใู นความทรงจ�ำ ดร.อุไรวรรณ ตันกิมยง ได้สร้างคุณูปการไว้หลายแห่งและมีเพื่อนร่วมอุดมการณ์ ในหลายพ้ืนที่ ซ่ึงนอกจากความสามารถในเชิงวิชาการแล้ว อาจารย์ยังเป็นคนคุยสนุก นำ� เอาประสบการณ์หน้าสิ่วหนา้ ขวานมาเลา่ เป็นเร่อื งข�ำขันได้ อาทิ การข้ึนเครอ่ื งบนิ ผิดล�ำ ผิดวัน หรือเกือบตกเคร่ืองบิน เธอจึงเป็นคนท่ีมีเพื่อนแวดล้อมมากมาย ดังจะเห็นได้ จากสารแสดงความเสียใจที่หล่ังไหลมาทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เม่ือได้รับทราบถึงข่าว การจากไปของอาจารย์อุไรวรรณ โดยสารฉบับล่าสุดท่ีมิได้รวมอยู่ในหนังสืออนุสรณ ์ งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์อุไรวรรณ มาจากหน่วยงานในมณฑลยูนนานที่ม ี ผู้ถือสารแสดงความเสียใจ โดยมีเน้ือหาที่กล่าวถึงโครงการที่อาจารย์อุไรวรรณ มีส่วนช่วย 268

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตนั กิมยงในด้านวิชาการ ท้งั งานวจิ ยั และพัฒนา ทางมณฑลยูนนานจึงไดม้ อบเหรียญเพื่อเปน็ เกียรติและเป็นท่ีจดจ�ำในฐานะผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศท่ีประสบความส�ำเร็จในการร่วมงาน กับรัฐบาลมณฑลยูนนาน ซึ่งก่อนหน้านี้อาจารย์อุไรวรรณ ก็เคยได้รับรางวัล “Friendshipwith Yunnan Award” จาก People Government Yunnan ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนจีน หนึ่งในสารแสดงความเสียใจต่อการจากไปของ ดร.อุไรวรรณ เป็นบทกวีของสหาย ๒ ท่านของอาจารย์ น่ันคือ Dr.Maruja Salas และ Dr.Timmi Tillmann ที่สรุปความเป็น อไุ รวรรณ ตันกมิ ยง ได้อย่างกระชบั ในหวั เร่อื งว่า “The Magic of Time” ดงั น้ี “When we met Uraivan we felt the magic of time, every moment embraced everything, the past the present and the future. Her small appearance bursted in a gigantic energy of worldwide commitment with the survival of mountain peoples. Her strong tendency for accuracy and her analytical thinking made her an inspiring Professor of Social Sciences, a figure similar to the respected hundred glaciers of the World’s Roof Top which give rise to the three major rivers Yangtse, Mekong And Salween. Her thoughts will flow endless, like the major Asian rivers.” 269

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ ตันกมิ ยง และคุณจีรนันท์ พิตรปรีชา เกลอรุ่นน้องของพี่ติ๊ด ก็ได้แปลงบทกวีดังกล่าวเป็น ภาษาไทย ในช่ือ “รอยเวลา-น่าอัศจรรย์” เพื่ออ่านในงานพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ อไุ รวรรณ เมอ่ื วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ยามพบมิตรชดิ ใกล้ อไุ รวรรณ กาลเวลานา่ อศั จรรย์ พลนั ปรากฏ อดีต ปจั จุบัน อนาคต ทั้งมวลทง้ั หมด.. มารวมกัน รา่ งเลก็ ติด๊ -แต่แรงฤทธ์มิ หาศาล สรา้ งผลงาน ฝากไวใ้ นโลกกว้าง เพอ่ื ผองชน บนเขาสูง เบิกทุ่งทาง ยงิ่ รกรา้ ง สงู ช้ัน ด้ันด้นไป เปลง่ ปญั ญา เฉียบคม สมศกั ดิ์ศรี อาจารย์ดี มีวิชา มามอบให้ ศิษย์เรยี นรู้ ร่วมแรงฝันบนั ดาลใจ สังคมศาสตร์ จุดคบไฟ ใหส้ อ่ งทาง รา่ งเล็ก ย่ิงใหญ่ แผไ่ พศาล ดจุ ธารน้�ำแข็งบนหลังคาโลก ต้นธารแม่น้ำ� สามสาย แยงซี แมโ่ ขง สาละวิน สายธารความคดิ อาจารย์ติด๊ อไุ รวรรณ จกั ลึกไหลอยใู่ นนจิ นิรันดร์ ดุจสายน้ำ� สำ� คัญ แห่งแผ่นดินถ่นิ บูรพา “จากแม่น้�ำใสเย็น-เปน็ ไอหมอก เป็นระลอกคลืน่ เมฆ-เสกฝอยฝน สูธ่ ารารินไหล-เป็นสายชล ทอค่าคน ธารชวี ิต จิตวิญญาณ” 270

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อไุ รวรรณ ตนั กมิ ยงผลงานตีพิมพ์สำ� คญั องค์กรสังคมในระบบชลประทานเหมืองฝายและการระดมทรัพยากรเปรียบเทียบระหวา่ งชมุ ชนบนทสี่ งู และชมุ ชนพนื้ ราบในภาคเหนอื ของประเทศไทย (๒๕๒๘), สงั คมวทิ ยาในงานชลประทาน (๒๕๓๐), เฮาบ่ยะของสู สูบ่ยะของเฮา: ความเข้มแข็งของวัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคเหนือ (๒๕๓๒), การวางแผนการใช้ท่ีดินแบบมีส่วนร่วม เคร่ืองมือสำ� หรับงานพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (๒๕๓๗), Natural resource utilization and management in Mae Khan Basin: intermediate zone crisis (1988), Participatory land use planning : a method of implementing natural resource management (1994) สภุ าพร นาคบลั ลงั ก์ รวบรวม เกบ็ ความ จากเอกสารและการสมั ภาษณส์ หายบางทา่ น ของอาจารยอ์ ไุ รวรรณ อาทิ อาจารยอ์ าภา ศิริวงศ์ ดร.เสน่ห์ ญาณสาร Dr.David Thomas(ผ่านทาง ดร.จรุ ีรตั น์ โทมสั ) Dr.Maruja Salas และ คุณจรี นันท์ พติ รปรชี า ฯลฯ 271

ชีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส

อาจารย์ฉลาดชาย รมติ านนท์



ชีวิตและงานฉลาดชาย รมิตาอนาจนารทย์์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ชวี ประวัตโิ ดยสังเขป อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์ เกิดเมื่อวันท่ี ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๕ท่านส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชารัฐศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ จากน้ันได้ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ณ ศูนย์การศึกษาทางด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ไดร้ บั ปริญญาโทสาขามานษุ ยวิทยา (Master of Arts in Cultural Anthropology) ในปี พ.ศ.๒๕๑๖ หลงั กลบั มาจากสหรัฐอเมริกา อาจารย์ฉลาดชายเลือกที่จะมาท�ำงานใช้ชีวิตเป็นอาจารย์ประจ�ำอย่ทู ี่ภาควิชาสงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ การเลือกมาอยทู่ จี่ งั หวดั เชยี งใหม่ ไมว่ า่ จะดว้ ยเหตผุ ลทเี่ คยใชช้ วี ติ บางสว่ นอยภู่ ธู รมากอ่ น หรอือทิ ธพิ ลของวชิ ามานษุ ยวทิ ยาทศ่ี กึ ษาในสหรฐั อเมรกิ า หรอื อทิ ธพิ ลสว่ นตวั อนื่ ใดก็ตาม เพราะในขณะน้ันกระแสของการอพยพออกจากกรุงเทพฯ เพ่ิงจะค่อยๆเร่ิมก่อตัวขึ้นอย่างช้าๆ หลังเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงทางการเมืองเม่ือวันท ่ี๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ซ่ึงก็ช่วยตอกย้�ำและท�ำให้อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์ ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ เรียบเรียง* (ดัดแปลงเพิ่มเติมจากบทบรรณาธิการหนังสือ อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้: รวมบทความ เนอ่ื งในวาระครบรอบ ๖๐ ปี ฉลาดชาย รมติ านนท.์ กรงุ เทพฯ. ศลิ ปวฒั นธรรมฉบบั พเิ ศษ ๒๕๔๙. การตีพิมพ์ครั้งนี้ วสันต์ ปัญญาแก้ว และเสาวรีย์ ชัยวรรณ เพ่ิมเติมข้อมูลในส่วนของชีวประวัติ ดเรรยี .อบาเรนยี นั งทเน์ ้ือกาหญาใจหนมพ่ ันใสธภ่)์ุ าพประกอบ ผลงานตพี มิ พส์ ำ� คญั โดยไดร้ ับอนุญาตจากศาสตราจารย์ 275

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส อาจารยฉ์ ลาดชาย รมติ านนท์ ฉลาดชาย รมติ านนท์ ในวยั หน่มุ กับครอบครัวและเพอ่ื นๆ ที่แมสซา-ชเู ซตส์ สหรฐั อเมรกิ า (ปี ๒๕๑๔) อาจารย์ฉลาดชาย รมติ านนท์ (แถวนั่งคนที่ ๔ จากซา้ ย) ถา่ ยภาพร่วมกบั นักศึกษาภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและ มานุษยวิทยา รุ่นรหสั ๑๕ และคณาจารยใ์ นภาควชิ าฯ คือ ผศ.ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช อาจารย์เกษม บุรกสกิ ร และผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ร่งุ เรืองศรี (แถวนัง่ คนท่ี ๕, ๖, ๗ จากซา้ ยตามลำ� ดบั ) 276

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์มั่นใจย่ิงข้ึนกับการเลือกใช้ชีวิตการท�ำงานด้านวิชาการในมหาวิทยาลัยชายขอบ (ของสงั คมไทยในเวลานัน้ ) นบั จากชว่ งตน้ ทศวรรษ ๒๕๒๐ อาจารยฉ์ ลาดชาย ไดม้ งุ่ ศกึ ษาใหค้ วามสนใจในปญั หาของผู้คน ชุมชนในชนบทภาคเหนือมากขึ้น และสร้างงานเขียนชิ้นส�ำคัญคือ ผีเจ้านาย (ตพี มิ พค์ รงั้ แรก พ.ศ.๒๕๒๘) ซงึ่ มงุ่ อธบิ ายความคดิ ความเชอ่ื ของชาวบา้ นในเรอื่ งการนบั ถอื ผีของชาวลา้ นนา ในทศวรรษตอ่ มาอาจารย์ฉลาดชายได้ขยายปรมิ ณฑลของความรไู้ ปสู่เร่อื งของชาวบา้ น กลุม่ ชาตพิ นั ธก์ุ ับการจดั การทรัพยากรป่า กระท่งั กลายเป็นทม่ี าของงานเขียนเร่ือง “ป่าไม้สังคมกับการพัฒนาชนบท” ก่อนท่ีจะตกผลึกเป็นแนวคิด “ป่าชุมชน” ในปี พ.ศ.๒๕๒๗ ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หลังรับ ภาระงานดา้ นบรหิ ารตอ่ มา อาจารยฉ์ ลาดชายไดม้ สี ว่ นรว่ มอยา่ งส�ำคญั ในการผลกั ดนั กอ่ ตงั้“ศนู ยส์ ตรศี กึ ษา” คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ซง่ึ ถอื เปน็ แหง่ แรกในประเทศไทยในปี พ.ศ.๒๕๒๙ จากน้ันนับจากต้นทศวรรษ ๒๕๓๐ ท่านได้ทุ่มเทพลังอย่างมากในการศึกษาเรียนรู้เก่ียวกับแนวคิดและการวิจัยด้านสตรีศึกษา ในฐานะอาจารย์ของคณะสังคมศาสตร์ ท่านท�ำงานสอนหนังสือกระท่ังเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ.๒๕๔๔ กว่า ๓ ทศวรรษ อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์ ท�ำงานในต�ำแหน่งอาจารย์ประจ�ำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ควบคู่ไปกับการท�ำงานวิชาการให้กับศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันแม้จะเกษียณอายุราชการแล้ว แต่ อาจารย์ฉลาดชายยังคงทำ� งานวิชาการอยู่อย่างต่อเน่ือง และยังท�ำงานเป็นอาจารย์พิเศษ ในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสตรีศึกษา (ซึ่งยกเปล่ียนฐานะจากศูนย์สตรีศึกษา ในปี พ.ศ.๒๕๕๒) คณะสังคมศาสตร์ ใหค้ �ำปรกึ ษาทางวิชาการทง้ั แกน่ ักศกึ ษาและอาจารย์ นกั วชิ าการรนุ่ เยาวว์ ยั กวา่ ทส่ี นใจศกึ ษาประเดน็ ปญั หาทางสงั คมตา่ งๆ โดยเฉพาะทเี่ กย่ี วขอ้ งพวั พนั ไปกบั กลมุ่ ผู้หญิง กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ และสามัญชนคนชายขอบในสงั คมไทย กฬี าโปรด ของอาจารยฉ์ ลาดชาย คอื “ตเี ทนนสิ ” (ภาพน้ี ถ่ายเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๔๑) 277

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์ คณุ ูปการทางวชิ าการและสังคม อาจารยฉ์ ลาดชาย รมติ านนท์ เรมิ่ งานวชิ าการทางมานษุ ยวทิ ยาแนวโครงสรา้ ง-หนา้ ที่ นิยม โดยสอนวิชาสังคมวิทยาการเมืองและเขียนหนังสือเชิงทฤษฎี มีการสอนทฤษฎี Marxism ทฤษฎกี ารพฒั นา neo-Marxist สงั คมศาสตรแ์ นววพิ ากษ-์ เศรษฐศาสตร์การเมือง ซึ่งถือว่าเป็นเร่ืองใหม่ในการศึกษาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในสมัยนั้น การสอนของ อาจารยฉ์ ลาดชายเนน้ ไปทกี่ ารพยายามตงั้ คำ� ถามกบั ระบบและแนวทางการสอนนเ้ี องทนี่ ำ� พา อาจารยไ์ ปสูก่ ารท�ำงานวิจัย (ทจ่ี ะกลา่ วตอ่ ไปข้างหนา้ ) ในลักษณะทต่ี ั้งค�ำถามกับระบบและ โครงสร้างของสังคมไทยในเวลาต่อมา การที่อาจารย์ฉลาดชายได้มาอยู่ที่มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ซึ่งในขณะนั้นถูกมองว่าเป็นเมืองที่อยู่ชายขอบ ห่างไกลความเจริญทั้งในแง่ของ การพฒั นาและอำ� นาจ ความหา่ งไกลจากการพฒั นานเ้ี องทำ� ใหอ้ าจารยฉ์ ลาดชายไดม้ โี อกาส เรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ ของผคู้ นทอี่ ยชู่ ายขอบทถ่ี กู มองวา่ ไรซ้ ง่ึ อ�ำนาจ ซง่ึ ไดเ้ ปดิ พน้ื ทคี่ วามรชู้ ดุ ใหมๆ่ ที่แตกต่างจากความรู้กระแสหลักในสังคมที่เน้นการพัฒนาแบบสมัยใหม่ และยังเป็น แรงผลักดันประการหน่ึงให้อาจารย์ฉลาดชายสนใจศึกษาเรียนรู้จากคนกลุ่มต่างๆ กระทั่ง กอ่ รปู ก่อรา่ งข้นึ มาเปน็ ความรู้ใหมใ่ นแนวสงั คมศาสตร์วพิ ากษ์ ซง่ึ เปดิ มิติใหม่ๆ ใหอ้ าจารย์ ฉลาดชายได้มองสงั คมและวัฒนธรรมไทยอย่างวพิ ากษว์ จิ ารณม์ ากขนึ้ ช่วงต้นทศวรรษ ๒๕๒๐ อาจารย์ฉลาดชายเร่ิมท�ำงานวิจัยภาคสนามอย่างจริงจัง โดยไดท้ ำ� งานร่วมกบั ศาสตราจารย์อานันท์ กาญจนพันธุ์ ซงึ่ เวลาน้ันเพง่ิ เรียนจบปริญญาโท กลับมาจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล และเข้ามาเป็นอาจารย์ท่ีภาควิชาสังคมวิทยาฯ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ และนักวิชาการทา่ นอนื่ ๆ งานวิจัยภาคสนามเรม่ิ จากการเขา้ รว่ มอยู่ ในเครือขา่ ยการวิจยั เกย่ี วกับกระบวนการมสี ่วนรว่ มของชาวบา้ นในการพัฒนาชนบท ซึ่งถอื เป็นความพยายามคร้ังแรกๆ ในสังคมไทย เพ่ือเรียนรู้และผลักดันความคิดเกี่ยวกับการ มสี ่วนรว่ มของประชาชนในการพัฒนา (ฉลาดชาย วิระดา และอานันท,์ ๒๕๒๕) การร่วม วิจัยคร้ังน้ีถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ช่วยชักน�ำให้อาจารย์ฉลาดชายหันมาสนใจปัญหาการพัฒนา ชนบทมากขึ้น จนกลายเป็นประเด็นส�ำคัญท่ีใช้เวลาทุ่มเทศึกษาในเวลาต่อมา แต่ก็ยังคง เป็นการศกึ ษาทม่ี องจากมุมของคนขา้ งนอก หรอื มมุ มองของนกั วชิ าการเปน็ หลัก การหันมาให้ความส�ำคัญกับความคิดของคนในสังคมเองเริ่มก่อตัวขึ้นในช่วงหลัง ของทศวรรษที่ ๒๕๒๐ เม่ืออาจารย์ฉลาดชายได้หันมาศึกษาวิจัยทางมานุษยวิทยาอย่าง จริงจัง เพราะสนใจความคิดความเช่ือของชาวบ้านภาคเหนือท่ียังคงนับถือผีต่างๆ อย่าง เหนยี วแนน่ แมจ้ ะมชี วี ติ อยทู่ า่ มกลางการพฒั นาใหท้ นั สมยั อยา่ งเขม้ ขน้ กต็ าม โดยรว่ มทำ� งาน กบั อาจารยอ์ านนั ทอ์ กี ครง้ั (หลงั กลบั มาจากการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอก) โดยไดศ้ กึ ษา เกี่ยวกับเรื่องพิธีกรรมและความเช่ือในสังคมล้านนา (ได้รับทุนสนับสนุนจาก Toyota 278

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส อาจารยฉ์ ลาดชาย รมิตานนท์Foundation) ศกึ ษาความเช่อื เรื่องผกี ะ ปแู่ สะยา่ แสะ ผเี จ้านาย ผมี ด ผเี ม็ง ในท่ีสุดได้กลายมาเปน็ ผลงานวจิ ยั ซ่งึ ตีพิมพ์ครง้ั แรกเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ เร่ือง ผีเจ้านาย โดยเปน็ การศึกษาชีวิตคนชายขอบ เกี่ยวกับความคิดความเช่ือของชาวบ้านภาคเหนือที่ยังคงนับถือผีต่างๆอยา่ งเหนยี วแนน่ ทา่ มกลางกระแสการพฒั นาใหท้ นั สมยั จากการตง้ั คำ� ถามกบั ทฤษฎตี ะวนั ตกที่เคยร�่ำเรียนมาเพราะไม่สามารถอธิบายความคิดท่ีซับซ้อนของชาวบ้านได้ ขณะเดียวกัน ก็พบว่ายังมีชุดความรู้อีกหลายอย่างในสังคมชายขอบที่คนภายนอกไม่เข้าใจ เพราะม ีหลักคิดท่ีแตกต่างกันอย่างหลากหลายทั้งท่ีขัดแย้งกันเอง และทั้งมีพลังในการผลิตซ�้ำ ขึ้นมาใหม่ เพื่อปรับใช้กับบริบทใหม่ จากน้ันมาอาจารย์ฉลาดชายยังได้ร่วมวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมความเช่ืออีกหลายเรื่อง รวมทั้งเรื่องของภูมิปัญญาในการรักษาพยาบาลแบบ พ้ืนบ้าน หรือหมอเมือง (ฉลาดชายและอานันท์, ๒๕๓๓) ประสบการณ์ท่ีได้เรียนรู้จาก การวิจัยด้านวัฒนธรรมความเช่ือเหล่านี้ได้สอนให้อาจารย์ฉลาดชายเริ่มต้ังค�ำถาม กับการพัฒนาชนบทมากขึ้นตามไปด้วย และในช่วงเวลา (พ.ศ.๒๕๒๗) นี้เองอาจารย์ ฉลาดชายได้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยาด้วยงานวิจัยในช่วงต่อมาอาจารย์ฉลาดชายตั้งค�ำถามและวิพากษ์วิจารณ์การพัฒนาช น บ ท อ ย ่ า ง จ ริ ง จั ง ม า ก ขึ้ น โดยได้ขยับพื้นที่การศึกษาวิจัยออกไปสู่พ้ืนที่ป่า พื้นท่ีท่ีม ีชาวบ้านและกลุ่มชาติพันธุ์ เดินทางส�ำรวจชวี ิตวัฒนธรรมของชาวไทอาหม อสั สัม ประเทศอนิ เดียจ�ำนวนมากต้องพึ่งพิงอาศัย (ปี ๒๕๒๘) จากซ้ายมืออาจารยฉ์ ลาดชาย อาจารย์วิระดา สมสวสั ดิ์ และอาจารย์นฤจร อทิ ธจิ ีระจรัส(ฉลาดชาย รมิตานนท.์ ๒๕๒๘. ป่าไม้สังคมกบั การพัฒนาชนบท. กรงุ เทพฯ: โครงการศึกษานโยบายสาธารณะสมาคมสังคมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย) ในงานวจิ ยั เรอ่ื งปา่ ไมส้ งั คมกบั การพฒั นา อาจารยฉ์ ลาดชายไดต้ ง้ั คำ� ถามกบั นโยบายป่าไม้ซึ่งไม่สามารถรักษาป่าไว้ได้ แต่ไม่ยอมทบทวนตัวนโยบายว่าสร้างผลกระทบเชิงลบอย่างไรบ้าง กลับหันมาโทษคนท่ีอยู่ในป่าว่าเป็นต้นเหตุของการท�ำลายป่า ซ่ึงงานช้ินน ้ีได้มองทรัพยากรแตกต่างไปจากท่ีรัฐพยายามมองคือ รัฐมองป่าไม้เป็นเพียงวัตถุ แต่งาน ของอาจารย์ฉลาดชายชี้ให้เห็นว่าทรัพยากรป่าไม้เป็นเร่ืองสิทธิและอ�ำนาจในการควบคุม และครอบครองทรพั ยากร งานช้นิ นี้จึงสร้างความส่นั สะเทือนให้กบั ผ้มู อี �ำนาจในภาครัฐ 279

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส อาจารยฉ์ ลาดชาย รมติ านนท์ อาจารยฉ์ ลาดชายเม่ือคร้ังเย่ียมเยอื น เมอื งพะโค ประเทศพม่า (เมษายน ปี ๒๕๓๐) อาจารย์ฉลาดชายถือเป็นนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์คนแรกๆ ที่ลอดกรอบของ ความรู้ออกมาจากสาขาวิชาเพ่ือร่วมศึกษาในแบบข้ามสาขาวิชาระหว่างสังคมศาสตร์และ นเิ วศวทิ ยาปา่ ไม้ ซง่ึ เคยถกู ผกู ขาดอยเู่ ฉพาะในแวดวงของวชิ าวนศาสตร์ ผลจากการทบทวน และศึกษาการจัดการป่าไม้ อาจารย์ฉลาดชายจึงถือได้ว่าเป็นนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ คนแรกๆ ทบี่ กุ เบิกการศกึ ษาวิจัยแบบขา้ มสาขา/สหวิทยาการ และการทำ� งานเชงิ บรู ณาการ โดยอาจารย์ฉลาดชายเสนอให้ปรับนโยบายในการจัดการป่าไม้ใหม่ ในแนวทางที่เรียกว่า ป่าไม้สังคมที่สนับสนุนให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในป่ามีส่วนร่วมในการจัดการมากขึ้น รู้ถึง ป่าชุมชน ซึ่งจะชว่ ยใหก้ ารรกั ษาปา่ และการพฒั นาชนบทเดินไปดว้ ยกนั ได้ แทนทจี่ ะมองว่า เป็นคู่ตรงข้ามเหมอื นเชน่ ท่ผี ่านมา หลังจากนั้นมา อาจารย์ฉลาดชายได้ร่วมกับเพ่ือนนักวิชาการจับงานวิจัยเก่ียวกับ วัฒนธรรมของคนชายขอบในพ้ืนท่ีป่ามาอีกอย่างต่อเนื่อง ตลอดช่วงทศวรรษ ๒๕๓๐ จากเรอ่ื งววิ ฒั นาการของการบกุ เบกิ ทด่ี นิ ทำ� กนิ ในเขตปา่ (เจมิ ศกั ดิ์ ปน่ิ ทอง บ.ก. ๒๕๓๕) ในกรณีของภาคเหนือตอนล่างจนกระท่ังถึงการศึกษาป่าชุมชนในภาคเหนือ (เสน่ห ์ จามรกิ และยศ สันตสมบัติ บ.ก. ๒๕๓๖) ซึ่งเป็นโครงการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมสี ่วนรว่ ม ทพี่ ยายามเรยี นรแู้ ละพฒั นาศกั ยภาพของคนชายขอบในการจดั การปา่ จนสามารถประมวล ข้ึนมาเป็นองค์ความรู้เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในมิติทางวัฒนธรรม ซ่ึงต่อมา 280

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส อาจารย์ฉลาดชาย รมติ านนท์ ระหว่างเดนิ ทางเยย่ี มชมตลาดและชมิ อาหารท่ีจงั หวัดเลย (กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐)กลายเป็นพื้นฐานความรู้ในการร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พร้อมท้ังกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อผ่านพระราชบัญญัติดังกล่าว และส่งผลกระทบเป็นลกู โซ่ไปสกู่ ารเคลอื่ นไหวทางสังคมในหลายรูปแบบตามมา เชน่ สิทธชิ มุ ชน สทิ ธคิ วามเป็นพลเมือง สทิ ธิของคนพ้นื เมือง ฯลฯ ประสบการณ์ในงานวิจัยช่วงน้ีเองถือเป็นจุดเปล่ียนที่ส�ำคัญของการวิจัยทางสงั คมศาสตร์ จากทเ่ี คยถกู มองวา่ เปน็ เพยี งการศกึ ษาเพอ่ื ประดบั ปญั ญาเทา่ นน้ั กลายมาเปน็พลงั ทางปญั ญาของสงั คมทม่ี สี ว่ นในการขบั เคลอ่ื นในเชงิ นโยบาย ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั สาระของงานวจิ ยั ยงั ชใี้ หเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนวา่ คนชายขอบไมไ่ ดอ้ ยชู่ ายขอบของความรู้ หากมที ง้ั พลงั ความคดิและภมู ปิ ญั ญาในการจดั การทรพั ยากร ซงึ่ สามารถนำ� มาปรบั ใชเ้ ปน็ ทางเลอื กในการพฒั นาได้แมใ้ นบรบิ ทของกระบวนการเปลยี่ นแปลงภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตนใ์ นปัจจบุ ัน ในช่วง ๑๐ กว่าปีหลัง อาจารย์ฉลาดชายได้ทุ่มเทพลังอย่างมากให้กับการศึกษา เรียนรู้เกี่ยวกับสตรีศึกษา มีส่วนร่วมและเป็นก�ำลังส�ำคัญในการผลักดัน พัฒนาโครงการ สตรีศึกษาให้เป็นที่รู้จักและยอมรับจนภายหลังได้เกิดเป็นศูนย์สตรีศึกษา (พ.ศ.๒๕๒๙) และบุกเบิกหลักสูตรบัณฑิตศึกษาด้านสตรีศึกษาข้ึนในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแห่งแรก ในประเทศไทย จากการทุ่มเทให้กับการสอนด้านสตรีศึกษาอย่างเอาจริงเอาจัง อาจารย ์ฉลาดชายไดพ้ ยายามเขยี นตำ� ราประกอบคำ� สอน เพราะเปน็ เรอ่ื งใหมม่ ากสำ� หรับสังคมไทยแตก่ ็ไม่ได้มีการพมิ พเ์ ผยแพร่ในวงกวา้ ง แมว้ า่ จะไม่ได้วจิ ัยในประเด็นของสตรีศึกษามากนกันอกจากจะวิจัยเกี่ยวกับชีวิตในการผลิตของผู้หญิงในกลุ่มชาติพันธุ์บนที่สูง (ฉลาดชาย และวิระดา, ๒๕๓๑) แต่อาจารย์ฉลาดชายมีส่วนอย่างส�ำคัญในการควบคุมงานวิจัยและ 281

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส อาจารย์ฉลาดชาย รมติ านนท์ วิทยานิพนธ์ด้านสตรีศึกษาจ�ำนวนมาก ซ่ึงช่วยปูพ้ืนฐานการวิจัยด้านสตรีศึกษาให้พัฒนา ไปในมิตเิ ชงิ วพิ ากษ์ทีห่ ลากหลายมากข้นึ แมว้ า่ ในชว่ งหลงั ๆ อาจารยฉ์ ลาดชายไมไ่ ดล้ งมอื วจิ ยั ภาคสนามดว้ ยตนเองอยา่ งเตม็ ที่ แตจ่ ากประสบการณท์ ไ่ี ดส้ ง่ั สมมาตลอดเกอื บ ๓๐ ปี ไดช้ ว่ ยใหอ้ าจารยส์ ามารถปรบั บทบาท มาเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้สังคม ด้วยภาษาท่ีเข้าถึงคนส่วนใหญ่ได้มากข้ึน ผ่านการเขียน บทความในหนังสือพิมพ์หลายฉบับ ข้อคิดส่วนหนึ่งยังคงเก่ียวพันกับปัญหาการพัฒนา ในชนบท ทยี่ งั ดน้ิ ไมห่ ลดุ จากโครงสรา้ งของความยากจน ซงึ่ แสดงถงึ ความหว่ งใยของอาจารย์ ต่อคนชายขอบในชนบทอย่างต่อเน่ือง ขณะเดียวกันอาจารย์จะเน้นถึงความเชื่อมโยงของ ปัญหาดังกล่าวว่าเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมการเมือง แต่ข้อคิดส่วนใหญ่จะเป็นมุมมองเชิง วพิ ากษเ์ กยี่ วกบั ความสมั พนั ธข์ องชายหญงิ มากขนึ้ (ดเู พม่ิ เตมิ ใน วริ ะดา สมสวสั ด์ิ บ.ก. พลวตั สังคม ผ่านสายตานักวิชาการไทย: หกสบิ ปี ฉลาดชาย รมติ านนท.์ เชยี งใหม:่ โรงพิมพม์ ่ิงเมอื ง, ๒๕๔๕.) ตลอดชีวิตวิชาการของอาจารย์ ฉลาดชาย รมิตานนท์ กล่าวได้ว่าท่าน คือ “นักวิชาการเพื่อสังคม” โดยผ่าน งานสอน งานวิจัย และการท�ำงาน ในฐานะนักวิชาการ ท่านได้ทุ่มเท แรงใจแรงกายในการศึกษาท�ำความ เขา้ ใจปญั หาของชาวบา้ น ผคู้ นในชนบท และร่วมเคล่ือนไหวผลักดันให้มีการ แก้ไขเปล่ียนแปลงชีวิตความเป็นอยู ่ ของผู้คนเหล่านั้นอย่างเป็นธรรม ในฐานะนักมานุษยวิทยาท่านได้สร้างผลงานการเขียน อันทรงอิทธพิ ลยิง่ คอื ผเี จา้ นาย (๒๕๒๗) เพ่อื พยายามอธบิ ายและทำ� ความเขา้ ใจในเร่ือง การนบั ถอื ผใี นชวี ติ วฒั นธรรมของชาวลา้ นนา ในทางสงั คมผลงานวชิ าการจากการวจิ ยั ทที่ า่ น ได้ท่มุ เทเวลาทำ� การศึกษาร่วมกบั เพอ่ื นอาจารย์ มิตรสหายทางวิชาการ (โดยเฉพาะอานนั ท์ กาญจนพันธ์ุ) และกลา่ วได้วา่ ไดส้ รา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ข้นึ ในสงั คมไทยคือแนวคดิ “ปา่ ชุมชน” กระท่ังกลายเป็นวาทกรรมที่แพร่หลายในแวดวงการพัฒนาและวิชาการด้านสังคมศาสตร ์ ในปัจจุบัน ท่ีส�ำคัญแนวคิดและความรู้เกี่ยวกับ “ป่าชุมชน” ได้กลายเป็นพื้นฐานความรู ้ ในการร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน และกระตุ้นให้เกิดขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมเพ่ือ แสวงหาความเป็นธรรมใหช้ าวชนบทในบรบิ ทของการพัฒนา 282

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส อาจารยฉ์ ลาดชาย รมิตานนท์ ผลงานตพี มิ พ์ท่สี ำ� คญั ของ อาจารยฉ์ ลาดชาย รมติ านนท์เลา่ เรอ่ื งเบอื้ งต้นสตรศี ึกษา สตรนี ยิ ม. เชยี งใหม่: วนิดาการพมิ พ์. ๒๕๕๕.ข้อเขียนว่าด้วย หญิง-ชาย. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม.่ ๒๕๔๕.น้�ำพริกล้านนา. กรุงเทพฯ: ครัวบา้ นและสวน. ๒๕๔๕.มนษุ ย:์ วัฒนธรรม อ�ำนาจและส่งิ แวดลอ้ ม. เชียงใหม่: คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. ๒๕๔๓.พิธีกรรมและความเชื่อล้านนา: การผลิตใหม่ของอ�ำนาจทางศีลธรรม. พะเยา: สภาวฒั นธรรมอำ� เภอเมอื งพะเยา. สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารอำ� เภอเมอื งพะเยา. ๒๕๔๑. (เขยี นรว่ มกบั อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์)ุวิถคี นกบั ป่า ต้นกำ� เนดิ ชีวติ ใน บวชปา่ : ภูมปิ ญั ญาในการฟน้ื ฟธู รรมชาต.ิ เชยี งใหม่: โครงการบวชปา่ ชุมชน ๕๐ ล้านต้น. ๒๕๓๙.ป่าชุมชนภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. ๒๕๓๖. (เขียนร่วมกับ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ และสัณฐิตา กาญจนพนั ธ์)ุพัฒนาการศาสตร์มาร์กซิสต์ว่าด้วยสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: กองบรรณาธิการวารสาร เศรษฐศาสตร์การเมอื ง. ๒๕๒๙ (แปลเรียบเรยี ง)แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. ๒๕๒๘. (แปลและเรียบเรยี ง ร่วมกบั นภา วนิ ิจฉัยกุล และอานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์)ป่าไม้สังคมกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: โครงการศึกษานโยบายสาธารณะ สมาคมสังคมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย. ๒๕๒๘.ผเี จ้านาย. เชยี งใหม:่ ศนู ย์หนงั สอื เชียงใหม่. ๒๕๒๘.มานษุ ยวทิ ยากับการศกึ ษาการเมือง. เชยี งใหม:่ ศูนย์หนงั สอื เชียงใหม.่ ๒๕๒๘. 283

ชีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส

ศาสตราจารย์เกยี รติคณุดร.อานันท์ กาญจนพนั ธ์ุ



ชีวติ และงานดร.อานศนั าสทต์รกาจาาญรยจเ์ กนยี พรตนั ิคุณธุ์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่บทน�ำTo thai peasants and their struggle for justice and a better life for alland to my parents for their devotion to the education of their children คอื ค�ำอทุ ิศท่ศี าสตราจารย์ ดร.อานันท์ กาญจนพนั ธุ์ จดจารึกไว้บนปกในของวิทยานิพนธ์ท่ีเสนอต่อมหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) เพื่อ รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขามานุษยวิทยาในปี พ.ศ.๒๕๒๗ หลายคน ทเ่ี คยหยบิ งานสำ� คญั เลม่ นขี้ นึ้ มาอา่ น (ไมว่ า่ จะอา่ นผา่ นๆ หรอื อา่ นอยา่ งเอาเปน็เอาตาย) อาจเปดิ ผา่ นเลยไป ทว่าสำ� หรับผมแล้ว ค�ำอุทิศส้ันๆ แตก่ ินความลึกซ้ึงข้างต้น สะท้อนตัวตนความเป็นคนสามัญของศาสตราจารย์ ดร.อานันท์ได้เป็นอย่างดี หลังส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางมานุษยวิทยาจากประเทศสหรฐั อเมรกิ า ตลอดเวลาของการอทุ ศิ ชวี ติ ใหก้ บั งานสอนหนงั สอื และงานวชิ าการทางด้านสังคมศาสตร์ในเมืองไทย เท่าที่ผมรับรู้และเข้าใจ ศาสตราจารย์ดร.อานนั ท์ดำ� เนนิ ชวี ติ เปน็ ปัญญาชนสาธารณะ และเป็นนักมานษุ ยวทิ ยาตดิ ดนิอย่างคงเส้นคงวา๑ ในบรรดาลูกศิษย์ลูกหา เพ่ือนร่วมงาน หรือมิตรสหาย วสันต์ ปญั ญาแกว้ : ผู้เขียน* ตีพิมพ์ครั้งแรก “ชีวิตวิชาการของอานันท์ กาญจนพันธุ์” วารสารสังคมศาสตร์ ปีท่ี ๒๐ ฉบับท่ี ๒/๒๕๕๑. ๑ ปัจจุบัน กับต�ำแหน่งศาสตราจารย์ทางด้านมานุษยวิทยาและที่ปรึกษาทางวิชาการระดับสูงต่างๆ ที่ท่านได้รับและด�ำรงอยู่ นอกจากชีวิตงานสอน (ท่ียังคงปฏิบัติอย่างสม่�ำเสมอ) ศาสตราจารย์ 287

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ ทางวิชาการ ไม่ว่าใครที่ได้มีโอกาสสนทนากับอาจารย์ จะรู้ว่านอกจากข้อถกเถียงหนักๆ ทางวิชาการท่ีอาจารย์จะพูดถึงวิพากษ์วิจารณ์อย่างเอาจริงเอาจัง ท่านยังมักสอดแทรก เร่อื งราวเกีย่ วกับ “บ้าน” ของทา่ นให้เราทา่ นไดย้ นิ ได้ฟงั อยูเ่ ปน็ ประจำ� ผมเริ่มรู้จักอานันท์ กาญจนพันธุ์ เม่ือราวๆ ๒๐ ปีก่อน ขณะเริ่มต้นชีวิตนักศึกษา ในภาควชิ าทอี่ าจารย์สอนหนงั สอื อยู่ ศาสตราจารย์ ดร.อานันท์นี่เองทเ่ี ปดิ โลกให้ผมได้รู้จกั กบั ชาว Bushman ในทวปี อาฟริกา ผา่ นภาพยนตรส์ ารคดที ่อี อกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ SBS ทที่ า่ นอตุ สา่ หบ์ นั ทกึ เทปกลบั มาจากประเทศออสเตรเลยี และใชเ้ ปน็ สอื่ การสอนในวชิ า มานุษยวิทยาเบื้องต้น๒ และศาสตราจารย์ ดร.อานันท์อีกน่ันแหละที่แนะน�ำ (ผ่านวิชา มานุษยวิทยาเศรษฐกิจท่ีท่านสอนตอนปีส่ี คือราวๆ ปลายปี ๒๕๓๖) ให้ผมได้รู้จักกับ Bronislaw Malinowski สิทธิชุมชน ความหมายทางสังคมของการเล่นแชร์ ตลาดมืด รวมจนไปถึง “ของหน้าหมู่” และ Kula Ring หรือระบบการแลกเปลี่ยนผ่านของก�ำนัล สัญลกั ษณข์ องชาวเกาะโทรเบียนด์ (Trobriand Islanders) ท่ี Malinowski ศึกษาและอาศัย ใชช้ วี ิตรว่ มอยู่ด้วยนานหลายป๓ี ดร.อานนั ทย์ งั อาจตอ้ งรบั คำ� เชญิ ออกเดนิ ทาง (จากเชยี งใหม)่ แทบทกุ สปั ดาห์ เพอื่ ไปเสนอผลงานประชมุ สมั มนา ที่นั่นท่ีนี่ ตามที่ต่างๆ ท้ังในและต่างประเทศ น่ียังไม่ต้องกล่าวถึงการเดินทางไปเย่ียมนักศึกษา (นานาชาติ) ท่ีท่านดูแลในพื้นที่ตามประเทศต่างๆ ในแถบภูมิภาคลุ่มน้�ำโขง แต่ผู้คนรอบข้างทั้งลูกศิษย์ลูกหาและ เพื่อนร่วมงาน น่าจะยังคงเห็นตรงกันว่า ท่านก็ยังคงเป็น “อาจารย์อานันท์” ของนักศึกษา ประชาชน และ “อานนั ท์” ของมติ รสหาย ไม่กลายเป็นอืน่ . ๒ ปัจจุบันภาพยนตร์สารคดีทางมานุษยวิทยาเร่ืองนี้ ยังคงถูกใช้เป็นส่ือการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีของ ภาควิชาสงั คมวิทยาและมานุษยวทิ ยา มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. ๓ เป็นที่รู้กันว่า เหตุท่ีต้องติดอยู่ท่ีเกาะน้ันหลายปี จน Malinowski สามารถเรียนรู้ภาษาของชาวเกาะเหล่าน้ีได ้ และใช้เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการศึกษาระบบเศรษฐกิจและสังคมของชาวเกาะแปซิฟิกเหล่าน้ัน ส่วนหน่ึง เป็นเพราะในช่วงเวลาน้ันเองสงครามโลกครั้งที่หน่ึงได้อุบัติข้ึน และในฐานะพลเมืองของโปแลนด์ ซ่ึงเวลาน้ัน ประกาศเปน็ อรกิ บั เครอื จกั รภพองั กฤษ (ซง่ึ ขณะนนั้ ถอื เปน็ เจา้ อาณานคิ มทต่ี ง้ั ตนปกครองบรรดาชาวเกาะแปซฟิ กิ รวมจนถึง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) Malinowski จึงเลือกท่ีจะถูกควบคุมให้อยู่ในหมู่เกาะดังกล่าว เพื่อ ที่จะได้ใช้เวลาพยายามศึกษาทำ� ความเข้าใจชีวิตทางสังคมของชาวเกาะโทรเบียนด์ อย่างไรก็ตาม เร่ืองร้ายๆ กลบั กลายเป็นดี เมอ่ื Malinowski คน้ พบวา่ การได้ใชช้ วี ิตตดิ เกาะอยรู่ ว่ มปะปนกับชนพนื้ เมอื งเหล่านนั้ กระทงั่ สามารถเรียนรู้ภาษาพ้ืนถิ่นได้อย่างเข้าใจ อันที่จริงเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่อการศึกษาสังคมและวัฒนธรรม ของ “คนพื้นเมือง” (the natives) ต่อมา Malinowski จึงได้เสนอวิธีการศึกษาที่รู้จักกันในนาม Participant Observation และสถาปนาใหก้ ารทำ� งานวจิ ยั ภาคสนาม (doing fieldwork) กลายเปน็ “พธิ กี รรมเปลย่ี น” ทน่ี กั ศกึ ษา ทางด้านมานุษยวิทยาต้องเข้าร่วม เป็น “วชิ าบงั คับ” ของหลักสตู รมานุษยวทิ ยาท่เี ริ่มเปดิ สอนในมหาวทิ ยาลัย ชั้นน�ำของอังกฤษราวๆ ต้นศตวรรษท่ี ๒๐ กระทั่งเป็นท่ียอมรับกันในประวัติศาสตร์สาขามานุษยวิทยาว่า Malinowski นีเ่ องคอื “เจ้าพอ่ ” ผทู้ �ำลายลา้ งระบอบ “มานษุ ยวทิ ยาบนหอคอยงาชา้ ง” (armchair anthropology) ทกี่ อ่ นหนา้ นน้ั ทรงอทิ ธพิ ลยงิ่ ในแวดวงมานษุ ยวทิ ยาสงั คมองั กฤษ และสถาปนามานษุ ยวทิ ยาสมยั ใหม่ ทเ่ี นน้ การ ท�ำงานวิจัยภาคสนามอย่างเข้มข้นยาวนานและการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างเป็นระบบ ผ่านภาษา ของชนพ้นื เมือง หรอื กลมุ่ วฒั นธรรมน้นั ๆ ขึน้ มาแทนที่. 288

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.อานันท์ กาญจนพนั ธ์ุ บทความเกือบทั้งหมดท่ตี พี มิ พ์อยูใ่ นวารสารสงั คมศาสตร์ฉบับพิเศษ ข้ามพรมแดนความรู้แห่งสังคมศาสตร์ไทย: ๖๐ ปี อานันท์ กาญจนพันธุ์๔ ซ่ึงเขียนโดยนักวิชาการ และกัลยาณมิตรของศาสตราจารย์ ดร.อานันท์ ได้สรุป ทบทวน หรือกล่าวถึงงานและ ชีวิตวิชาการของท่านไว้ไม่น้อยแล้ว ในบทความนี้ ผมอยากจะลองเสนอภาพบางส่วน เกย่ี วกบั ‘อานันท์ กาญจนพนั ธุ์’ ทีย่ ังอาจขาดหายไปในงานเขยี นเหลา่ นนั้ ผมจะลองเสนอใหม้ อง ‘อานนั ท์ กาญจนพนั ธ’์ุ ในฐานะนกั มานษุ ยวทิ ยาอาชพี ทผี่ า่ นการฝกึ ฝนและรำ่� เรยี นมาอยา่ งเครง่ ครดั ตามธรรมเนยี มการศกึ ษาแบบตะวนั ตก ทวา่ เมอ่ื สำ� เรจ็ การศกึ ษากลบั มายงั“บ้านเกิด” ต้องด้ินรนและผจญกับชีวิตอาจารย์มหาวิทยาลัยท่ีต้องท�ำท้ังงานสอนหนังสือ และงานวิจัยควบคู่กันไปภายใต้บริบทวิชาการของสังคมไทย ซ่ึงผมเห็นว่าเป็นเงื่อนไข เชิงโครงสร้างที่เราจะต้องใส่ใจและถือเป็นเง่ือนไขส�ำคัญในการพยายามส่องสะท้อนประวัตศิ าสตรข์ องความคิดและชีวิตของนกั มานุษยวิทยาในประเทศไทยมานุษยวิทยาวา่ ดว้ ยนักมานษุ ยวทิ ยาในประเทศไทย Craig Reynolds นักประวัติศาสตร์สังคมซ่ึงสนใจความเคล่ือนไหวของความคิดและบทบาทของปญั ญาชนในสงั คมไทยและในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตโ้ ดยรวม ไดพ้ ยายามชใี้ ห้เห็นในบทความส�ำคัญยิ่งของท่าน๕ ว่า อานันท์ กาญจนพันธุ์ คือนักมานุษยวิทยา ที่ผ่าน การฝึกฝน ร่�ำเรียนและอ่านต�ำราทางมานุษยวิทยาตามแบบตะวันตกมาอย่างเป็นระบบ(professional anthropologist) แมว้ ่าสนามของการศึกษาในงานวจิ ัยระดบั ปริญญาเอกของทา่ นนน้ั จะเปน็ หมู่บา้ นแหง่ หน่งึ ในจงั หวดั เชยี งใหม่ ไม่ใชช่ มุ ชนหรือหมู่บ้านของชนพื้นเมอื งตา่ งวฒั นธรรมอนั ไกลโพน้ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยสภาพแวดลอ้ มทางนเิ วศวทิ ยา วฒั นธรรม ประเพณีและภาษาทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความเปน็ อนื่ การศกึ ษาเชงิ มานษุ ยวทิ ยาแบบทอ่ี านนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุถอื ปฏบิ ัติตลอดมาน้ัน กลา่ วอกี นัยหนง่ึ กค็ อื มานษุ ยวทิ ยาสมยั ใหม่ (modern anthropology)ท่ีท้ายที่สุดแล้ว ต้องท�ำให้เร่ืองท่ีศึกษาน้ัน “กลายเป็นอื่น” (ดังที่ผมจะได้ขยายความ ในส่วนต่อๆ ไป) สถานะของ ‘นักมานุษยวทิ ยาอาชีพ’ ดงั กล่าว ตา่ งไปจากบรรดา ‘นกั มานุษยวทิ ยาสมคั รเล่น’ (self-taught anthropologists) ซึง่ ก่อตัวข้นึ และมีมากอ่ นหนา้ ยคุ สมัยทางวชิ าการของศาสตราจารย์ ดร.อานันท์ (อย่างน้อยก็ราวๆ คร่ึงศตวรรษ คือนับจากปี ๒๔๗๕ เป็นต้นมา) ผลงานการเขียนหลายเรื่องของบรรดา ‘นักมานุษยวิทยาสมัครเล่น’ ๔ ยกเวน้ บทความของ ปิ่นแกว้ เหลอื งอรา่ มศรี และจกั รกรชิ สงั ขมณ.ี ๕ ตพี มิ พใ์ นวารสารสงั คมศาสตรฉ์ บบั พเิ ศษ ขา้ มพรมแดนความรแู้ หง่ สงั คมศาสตรไ์ ทย: ๖๐ ปี อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ปที ่ี ๒๐ ฉบับที่ ๒/๒๕๕๑. 289

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.อานันท์ กาญจนพนั ธ์ุ ในประเทศไทย (เช่น พระยาอนุมานราชธน บญุ ช่วย ศรสี วสั ด์ิ และ จติ ร ภมู ศิ กั ด)์ิ ๖ เหลา่ น้ัน อาจเรียกอย่างล�ำลองได้ว่าคือส่วนหน่ึงของงานชาติพันธุ์นิพนธ์ (ethnography) ดังท่ี พัฒนา กิตติอาษา พยายามชี้ให้เห็นผ่านการทบทวนค้นย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมว่าด้วยการเดินทางและการจารึกจดจ�ำของชนช้ันน�ำสยามยุคสร้างชาติและ การคุกคามของลัทธิอาณานิคมตะวันตก (ดูบทความของพัฒนา ในวารสารสังคมศาสตร ์ ฉบับพิเศษ ดังกล่าวด้วย) โดยอาศัยหลักเกณฑ์หลายข้อ พัฒนา ได้ลองจัดประเภทให้กับ งานประวัติศาสตร์นิพนธ์และชาติพันธุ์นิพนธ์เหล่านั้นออกเป็น (๑) งานชาติพันธุ์นิพนธ์ แบบราชการ (๒) งานชาติพนั ธน์ุ ิพนธแ์ บบตารางคมู่ อื (๓) งานชาติพันธุน์ พิ นธแ์ บบบนั ทกึ การเดินทาง (๔) งานชาติพันธุ์นิพนธ์แบบบันทึกความทรงจ�ำหรือชีวประวัติ และ (๕) งานชาติพันธ์นุ ิพนธ์ทอ้ งถิ่นนยิ ม พัฒนาเสนอวา่ จารตี งานชาตพิ นั ธน์ุ พิ นธเ์ หลา่ นค้ี อื สายธาร ของ ‘มานษุ ยวทิ ยาไทย’ ทม่ี มี ากอ่ นหนา้ ‘มานุษยวิทยาอาชีพ’ ซึ่งเข้าใจกันว่าถูกน�ำเข้ามา เผยแพรส่ แู่ วดวงสงั คมศาสตรไ์ ทยอยา่ งเปน็ จรงิ เปน็ จงั นบั จากชว่ งหลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง ผ่านโครงการศึกษาบางชันอันโด่งดัง ภายใต้การน�ำของกลุ่มนักมานุษยวิทยาอเมริกันจาก Cornell University ที่ศาสตราจารย์ ดร.อานันท์ข้ามน�้ำข้ามทะเลไปร่�ำเรียนและฝึกฝนวิชา ความร้อู ยู่ราวๆ แปดปีนัน่ เอง ‘มานษุ ยวิทยาไทย’ ท่ีมีมากอ่ นหน้า ‘มานุษยวิทยาฝรงั่ ’ (ในประเทศไทย) ในสายตา ของพฒั นา จงึ มีอะไรหลายอย่างทค่ี ลา้ ยคลึงกับ ‘มานุษยวทิ ยาสมคั รเลน่ ’ หรอื หากจะเรียก ให้ตรงกว่านั้นก็คือ “มานุษยวิทยาแบบคาดเดา” (speculative anthropology) และผลงาน การเขียนเชิงชาติพันธุ์นิพนธ์เหล่านั้น หากจะถือตามหลักเกณฑ์ของมานุษยวิทยาสมัยใหม่ อย่างเคร่งครัด๗ เอาเข้าจริงก็เป็นได้แค่เพียง Proto-Ethnography ไม่ใช่ Ethnography ‘มานุษยวิทยาไทย’ ในงานเขียนของพัฒนาจึงไม่ใช่ ‘มานุษยวิทยาในประเทศไทย’ ที่ Craig Reynolds พยายามวาดภาพใหเ้ หน็ และใชเ้ ปน็ ตวั กำ� หนดบรบิ ทเพอ่ื ทำ� ความเข้าใจ ตัวตนและผลงานของ ‘อานันท์ กาญจนพนั ธุ์ นกั มานุษยวทิ ยาอาชพี ’ ในขณะท่ี อรรถจักร์ สัตยานุรักษ๘์ เสนอมมุ มองท่ีกว้างออกไปกวา่ ด้วยการพยายามจะ “อา่ นอานนั ท์” ในฐานะ ‘ปัญญาชนไทย’ ในบริบทประวัติศาสตร์วิชาการและเศรษฐกิจการเมือง อย่างไรก็ตาม ๖ คือ (๑) งานเขียนชุด ประเพณีเก่ียวกับชีวิต ของ พระยาอนุมานราชธน (๒) งานเขียนเก่ียวกับชนชาติต่างๆ ของ บุญช่วยศรีสวัสด์ิ ท่ีตีพิมพ์อยู่ในหนังสือเร่ือง “ชาวเขาในประเทศไทย” “สามสิบชาติในเชียงราย” และ “สิบสองปันนา” และ (๓) งานเขยี นเชิงนริ ุกติศาสตรข์ องจิตร ภมู ิศกั ด์ิ เร่ือง “ความเปน็ มาของค�ำ สยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาต”ิ . ๗ เป็นที่เข้าใจกันว่า ปัจจุบันมีงานศึกษาและกลุ่มนักมานุษยวิทยาท่ีเรียกตัวเอง หรือถูกเรียกว่า “มานุษยวิทยา หลังสมัยใหม่” (postmodern anthropology) ด้วย จุดยืนของมานุษยวิทยาหลังสมัยใหม่ แน่นอนว่าแตกต่าง ออกไปจากมานุษยวทิ ยาสมยั ใหม่อยมู่ าก (ดู Clifford and Marcus 1986 และ Footnote ๙ ข้างหนา้ ). ๘ ดบู ทความของอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ ในวารสารสงั คมศาสตรฉ์ บบั พเิ ศษ ปีที่ ๒๐ ฉบบั ที่ ๒/๒๕๕๑. 290

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพนั ธ์ุนา่ เสยี ดายวา่ การพยายามเสนอภาพในแนวกวา้ งแบบนน้ั กลบั ไมไ่ ดช้ ว่ ยใหเ้ ราเหน็ ต�ำแหนง่แห่งที่และตัวตนของอานันท์ กาญจนพันธุ์ ผู้เป็นทั้งนักมานุษยวิทยาและปัญญาชนไทย ไดช้ ดั เจนนกั ‘มานุษยวิทยาในประเทศไทย’ ตามนิยามความหมายที่ Craig Reynolds ใช้เป็น ตัวก�ำหนดและท�ำความเข้าใจประวัติศาสตร์ของมานุษยวิทยาในประเทศไทยน้ัน คือมานุษยวิทยาที่เน้นการทำ� งานวจิ ยั ภาคสนามเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (ethnographic studies)ซึ่งต่างไปจากการเขียนงานเชิงชาติพันธุ์นิพนธ์ของปราชญ์หรือชนชั้นน�ำสยามท่ีพัฒนา กล่าวถึงอยู่มาก อันที่จริงการท�ำงานเพื่อเขียนงานชาติพันธุ์นิพนธ์ดังกล่าวเหล่านั้น อาจเทยี บไดก้ บั สง่ิ ทเี่ รยี กกนั ในแวดวงมานษุ ยวทิ ยาปจั จบุ นั วา่ เปน็ “มานษุ ยวทิ ยาบนหอคอยงาชา้ ง” (armchair anthropology) หรอื “มานษุ ยวิทยาแบบคาดเดา” กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ‘มานุษยวิทยาอาชีพ’ ท่ี Craig Reynolds กล่าวถึงก็คือมานษุ ยวิทยาสมยั ใหม่ ที่ Malinowski สถาปนาขน้ึ มาในชว่ งต้นศตวรรษท่ี ๒๐ นัน่ เอง มานษุ ยวทิ ยาสมัยใหมท่ ่ีวา่ นี้นอกจากจะเนน้ การทำ� งานวิจยั ภาคสนามอยา่ งเขม้ ข้นของผู้เรียน การได้ “ไปอยู่ท่นี ่นั ” ในพน้ื ที่ทศ่ี กึ ษาอนั หา่ งไกล (จากบ้านเกดิ ) อยา่ งยาวนานน้ันโดยรากฐานก็เพื่อที่ว่าบรรดานักมานุษยวิทยา “บวชใหม่” เหล่าน้ันจะได้ใช้เวลาเรียนรู้ปรบั ตัว สรา้ งสายสมั พนั ธก์ บั คนพนื้ ถิน่ ตลอดจนหดั เรียนรภู้ าษาของผ้คู นกลมุ่ ชนในท้องถ่นิเหล่านั้น เพ่ือท่ีจะพูดและใช้ภาษาของท้องถ่ินนั้น ควบคู่ไปกับการสังเกตการณ์อย่างม ีสว่ นรว่ ม และเทคนคิ วธิ กี ารวจิ ยั ตา่ งๆ (เชน่ การสำ� รวจครวั เรอื น การทำ� แผนท่ี การสมั ภาษณ์ชีวประวัติ การรวบรวมประวัติศาสตร์บอกเล่า รวมไปถึงการใช้ “ล่าม” หรือผู้ช่วยนักวิจัย ทเี่ ปน็ คนในทอ้ งถน่ิ นน้ั ๆ) ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และตคี วามทำ� ความเขา้ ใจเรอื่ งราวตา่ งๆอยา่ งเปน็ ระบบ กระทง่ั นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งทฤษฎหี รอื ค�ำอธบิ ายในเรอื่ งนนั้ ๆ อยา่ งเปน็ วชิ าการ การทำ� งานวจิ ยั ภาคสนามขา้ งตน้ ตา่ งออกไปจากการทำ� งานของบรรดานกั มานษุ ยวทิ ยาบนหอคอยงาช้างยุคอาณานิคมปลายศตวรรษท่ี ๑๙ อย่างสิ้นเชิง ท่ีมักจะอาศัยข้อมูล จากบันทึกของนักเดินทาง หมอสอนศาสนา หรือไม่ก็เป็น “เรื่องเล่า” ที่ได้ยินได้ฟังมาอีกหลายทอด ในการศึกษาท�ำความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ ของชนพ้ืนเมือง หรือ “คนอื่นๆ” (the Others) ผ่านตรรกะความคิด หรือทฤษฎีท่ีตนยึดถืออยู่ ซึ่งในเวลาน้ันก็คือทฤษฎีววิ ฒั นาการสงั คม อนั เปน็ ตน้ ตอของแนวคดิ เกยี่ วกบั เชอ้ื ชาติ หรอื Racism ของ ‘มานษุ ยวทิ ยาอาณานิคม’ (Colonial Anthropology) ทีต่ ่อมาถกู แทนท่ดี ว้ ย Ethnicity โดยนักมานุษยวิทยาสมยั ใหม่ (และ Cultural Identity ของมานษุ ยวิทยาหลงั สมยั ใหม่) จะโดยรตู้ วั หรอื ไม่ก็ตามบรรดานกั มานษุ ยวทิ ยาทง้ั ไทยและเทศจ�ำนวนไมน่ อ้ ยทป่ี จั จบุ นั ยงั ท�ำงานศกึ ษาวจิ ยั เกย่ี วกบั 291

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์ เร่ือง ethnicities, ethnic identities, หรือ ethnic studies กล่าวอยา่ งถงึ ที่สุด จงึ ยังคงสบื ต่อ และด�ำเนนิ รอยตามธรรมเนียมการศกึ ษาทม่ี ีมาแตส่ มยั ‘มานษุ ยวิทยาอาณานคิ ม’๙ งานศกึ ษาในแนวมานษุ ยวทิ ยาเศรษฐกิจของศาสตราจารย์ ดร.อานนั ท์ ซงึ่ เปน็ เรอื่ ง เกี่ยวกับการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบตลาดบางส่วนของการท�ำนาในสังคมภาคเหนือของ ประเทศไทยนั้น โดยรากฐานเชิงวิธีวิทยา ผมเห็นว่าก็ด�ำเนินไปในแนวทางเดียวกันกับ มานุษยวิทยาสมัยใหม่ (ดังกล่าวข้างต้น) ทว่าก็อาจหลีกไม่พ้นที่จะตกอยู่ภายใต้อิทธิพล ของธรรมเนียมการศึกษาแบบมานุษยวิทยาอาณานิคมโดยไม่รู้ตัว แม้ว่าศาสตราจารย์ ดร.อานันท์จะไม่ได้มีท่าทีที่จะมองว่าชาวนาภาคเหนือเหล่าน้ันในฐานะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ หน่ึง (ดู Anan 1984: 8-12, และ อานันท์ ๒๕๔๕) อย่างไรก็ตาม ผมเสนอใหล้ อง “อ่าน” อานันท์ กาญจนพนั ธุ์ ในฐานะนักมานษุ ยวิทยาอาชีพ (ในทำ� นองเดยี วกับ Craig Reynolds) ผ้ซู ึ่งกล่าวในเชิงอุปมาอปุ ไมย ไดต้ ดั สินใจละทงิ้ ถนิ่ ฐานออกเดินทางจากบา้ นเกิดเมอื งนอน ข้ามน�้ำข้ามทะเลไปศึกษาร�่ำเรียนอ่านต�ำรากับปรมาจารย์ต่างแดน กระทั่งได้รับการฝึกฝน และเขา้ รว่ มพธิ ีกรรมของศาสตรส์ าขามานุษยวทิ ยามาอยา่ งเคร่งครัด เม่ือไดผ้ า่ น “พิธีกรรม เปลี่ยนสถานภาพ” (rite of passage) นัน้ มาแลว้ อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์ (ซง่ึ กไ็ มต่ ่างไปจาก เพื่อนร่วมรุ่นคนอ่ืนๆ ท่ีเข้าร่วม “พิธีกรรม” ดังกล่าวในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน เช่น ชยันต ์ วรรธนะภตู ิ และอไุ รวรรณ ตนั กมิ ยง) จงึ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั คนื สู่ “บา้ นเกดิ ” พรอ้ มกบั สถานภาพ ใหม่ คอื นกั มานษุ ยวทิ ยาอาชพี การกลบั คนื สสู่ งั คมชมุ ชนเดมิ พรอ้ มกบั สถานะใหมท่ ไ่ี ดต้ ดิ ตวั มาน้นั ท�ำใหเ้ ราต้องมองชีวิตวชิ าการของอานันท์ กาญจนพนั ธุ์ ในบรบิ ทสงั คมวชิ าการไทย ในเชิงปฏิสัมพนั ธ์อย่างเป็นพลวัต การลองอ่าน อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ในแนวนีซ้ ่งึ คล้ายๆ กันกับท่ี พัฒนา กิตติอาษา เสนอไว้อย่างน่าสนใจว่าเป็น “มานุษยวิทยาแบบคนมองคน” จ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องอาศัยความเข้าใจที่เรามีต่อประสบการณ์ อารมณ์ความรู้สึก ความนึกคดิ ของศาสตราจารย์ ดร.อานนั ท์ ในส่วนต่อจากน้ี ผมจะอาศยั “เรือ่ งเล่า” ทไี่ ด้มา จากการพดู คยุ สมั ภาษณใ์ นตอนบา่ ยของวนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๒ ทหี่ อ้ งทำ� งานของทา่ น ๙ ดู Footnote ๓ และนับตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา โดยเฉพาะหลังการตีพิมพ์หนังสือสำ� คัญสองเล่ม คอื Writing Culture และ Anthropology as Cultural Critique ในปเี ดียวกันคือ 1986 ในแวดวงมานุษยวทิ ยาและ สงั คมศาสตร์โดยรวม ไดม้ กี ารถกเถยี งวิพากษว์ จิ ารณ์ ตั้งคำ� ถามกนั อยา่ งกวา้ งขวางถงึ วธิ วี ิทยาและ “ความเปน็ ศาสตร”์ ของมานษุ ยวทิ ยาสมยั ใหมท่ ี่ Malinowski สถาปนาขนึ้ มากระทงั่ บางสว่ น (เขา้ ใจผดิ ) และละทง้ิ ธรรมเนยี ม การทำ� งานวจิ ยั ภาคสนามอยา่ งเขม้ ขน้ ดงั กลา่ วไป ในจำ� นวนนม้ี อี ยไู่ มน่ อ้ ยทห่ี นั หนา้ เขา้ สมาทานทงั้ ความคดิ และ วิธีการของ วัฒนธรรมศึกษา (Cultural Studies) สายหน่ึงที่มีแนวโน้มจะไม่เน้นเร่ืองของคนท่ีมีเนื้อหนังมังสา ทว่าสนใจให้ความส�ำคัญกับการวิเคราะห์ศึกษาส่ิงที่เรียกว่า “ตัวบท” ผ่านสื่อสมัยใหม่ หรือ “ภาพตัวแทน” (representations) ตา่ งๆ อยา่ งไรกต็ ามตอ่ มากม็ อี กี จ�ำนวนไมน่ อ้ ยทยี่ งั คงตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของธรรมเนยี ม การศึกษาวจิ ัยภาคสนามอยา่ งเขม้ ขน้ ของมานุษยวิทยา (เพราะเห็นวา่ น่คี อื รากฐานและตัวตนของมานษุ ยวทิ ยา ทแี่ ตกตา่ งไปจากสาขาวชิ าอน่ื ๆ) กระทง่ั นำ� ไปสกู่ ารพยายามประนปี ระนอม และคดิ คน้ ตอ่ ยอดวธิ กี ารศกึ ษา หรอื การทำ� งานภาคสนามในบรบิ ทของสงั คมยคุ หลงั สมยั ใหม่ กระทง่ั บางสว่ นกลายมาเปน็ มานษุ ยวทิ ยาหลงั สมยั ใหม่ ขณะที่อีกไม่น้อยยังคงพอใจกับการเป็นมานุษยวิทยาสมัยใหม่ (ดู มานุษยวิทยาปะทะวัฒนธรรมศึกษา ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสริ ินธร ๒๕๕๒, Marcus and Fischer 1999 เป็นต้น). 292

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ(และนี่คือมานุษยวิทยาว่าด้วยนักมานุษยวิทยาในประเทศไทย) เพื่อน�ำเสนอให้เห็นกระบวนการเปลยี่ นผา่ นดงั กลา่ ว เรม่ิ จาก (๑) สงั เขปชวี ประวตั ขิ องศาสตราจารย์ ดร.อานนั ท์ตามด้วย (๒) หนทางสู่มานุษยวิทยาอาชีพ: จากหมู่เกาะโทรเบียนด์ ถึงหมู่บ้าน สันโป่ง และ (๓) บทสง่ ทา้ ย: เมอ่ื นกั มานุษยวทิ ยากลับคนื สู่ “บ้านเกดิ ” โดยจะพยายามสรุปและชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ตำ� แหนง่ แหง่ ทขี่ องอานนั ท์ กาญจนพนั ธใ์ุ นบรบิ ทปจั จบุ นั ของ ‘มานษุ ยวทิ ยาในประเทศไทย’ ในตอนท้ายชวี ประวัติโดยสงั เขปศาสตราจารย์ ดร.อานนั ท์ เปน็ ลกู ข้าราชการป่าไม้ เกิดเม่อื วนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๔๙๐ทน่ี ครสวรรค์ นบั ตงั้ แตเ่ กดิ ชวี ติ ในวยั เดก็ ของทา่ นตอ้ งระหกระเหนิ ตดิ สอยหอ้ ยตามครอบครวั(ซ่ึงอาจารย์มองว่าเป็นครอบครัวของข้าราชการชั้นผู้น้อย แม่มีลูกหลายคนท่ีต้องรับภาระ สง่ เสียเล้ียงด)ู ท่ีต้องเดนิ ทางโยกยา้ ย “บา้ น” ไปตามต�ำแหน่งหน้าท่ีการงานของพอ่ บอ่ ยๆอาจารยเ์ ลา่ วา่ นอกจากทต่ี ราด เคยมี “บา้ น” อยทู่ ส่ี กลนคร ตอนนนั้ อายไุ มก่ ขี่ วบ โตอยทู่ นี่ นั่หลายปี ดว้ ยเหตนุ จี้ งึ มเี พอ่ื นเปน็ “คนญวน” หรอื คนเวยี ดนาม จากสกลนครอาจารยถ์ กู ยา้ ยมาอยู่ที่ศรีราชา กระท่ังน้าชายของท่านคือพันเอกเกษม นันทกิจ ซึ่งเรียนจบทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มาจากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปสก้ิน กลับมารับราชการเป็นอาจารย ์สอนหนงั สอื ในโรงเรยี นนายรอ้ ยจปร. จงึ อาสารบั ทา่ นมาเลย้ี งดู (เพอ่ื จะไดแ้ บ่งเบาภาระของ พี่สาวท่ีต้องรับภาระเล้ียงดูส่งเสียบุตรเรยี นหนังสือหลายคน) และช่วยสง่ เสยีใหศ้ าสตราจารย์ ดร.อานนั ทย์ า้ ยมาเรยี นทโี่ รงเรยี นประจำ� เซนตค์ าเบรยี ล อนั เปน็จุ ด เ ริ่ ม ต ้ น ข อ ง ชี วิ ต นั ก เ รี ย น มั ธ ย ม ในกรงุ เทพฯ ของอาจารย์ที่เซนต์คาเบรียลน่ีเอง กล่าวได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของเส้นทางสายมานษุ ยวทิ ยาของอานนั ท์ นกั เรยี นมธั ยมสายวทิ ยาศาสตรท์ อี่ ยากเอาดที างดา้ นวิศวกรรมชลประทาน ทว่าสอบไม่ติดต ้ อ ง หั น เ ห ชี วิ ต ม า เ รี ย น รั ฐ ศ า ส ต ร ์ ท่ธี รรมศาสตร์ อานันท์ กาญจนพันธุ์ กับเพอื่ นๆ สมัยเปน็ นกั เรยี น เซนตค์ าเบรียล 293

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.อานนั ท์ กาญจนพันธ์ุ “ตอนที่อยู่กับน้า… แกสอนผมให้เป็นคนอ่านหนังสือ เขาจะให้สตางค์ ไปซ้ือหนังสือ ผมจะไปวังบูรพาไปซ้ือหนังสือ แล้วผมก็สร้างห้องสมุดที่บ้าน ในสวน นา้ ผมกจ็ ะซอ้ื นยิ ายมาให้ สว่ นผมกจ็ ะซอื้ หนงั สอื สารคดปี ระวตั ศิ าสตร์ มาอา่ น อนั น้ีมนั หล่อหลอมผม แตผ่ มดนั ไปเรียนสายวิทยาศาสตร์ ความจรงิ แล้วหนังสือที่ผมอ่านส่วนใหญ่เป็นหนังสือสารคดีและประวัติศาสตร์ และ อีกอันหน่ึงเป็นพวกนิยายการต่อสู้ของคนที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จนกระทั่ง ตอนอยู่ ม.ศ. ๕ ผมถึงได้ (เป็นหน่ึงในทีมตัวแทนของโรงเรียน) ไปแข่ง ตอบปญั หาภาษาองั กฤษ ผมกไ็ ดค้ วามรู้จากท่อี ่านเร่ืองทว่ั ๆ ไป […] พอไป ตอบคำ� ถามภาษาองั กฤษผมก็เลยรู้เร่ือง เพราะอ่านมาเยอะไง เลยตอบชนะ (โรงเรียน) อัสสัมฯ […] เป็นปีแรกที่เซนต์คาเบรียลตอบปัญหาภาษาอังกฤษ ในประเทศไทยชนะอัสสัมฯ คณุ ก็รูว้ า่ อสั สัมฯ มนั เก่งขนาดไหน” ทว่าจุดเปล่ียนส�ำคัญอยู่ที่ตอนอายุ ๑๕ (ตอนเป็นนักเรียนชั้น ม.ศ. ๒) อาจารย์ เล่าวา่ ราวๆ ปี ๒๕๐๕ ไดม้ ีโอกาสเดินทางข้นึ มาเชียงใหมเ่ ปน็ ครง้ั แรก ตอนนั้น… “นา้ ผมเขารู้จักกบั A. B. Griswold ท่เี ป็นคนสง่ เขาเรยี น แล้ว (ต่อมา) กส็ ง่ ผมเรยี นดว้ ย เปน็ นกั ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ เขาสนใจเกยี่ วกบั ศลิ ปะเชยี งใหม่ สุโขทัย อยธุ ยา เปน็ กลุ่มเดยี วกับอาจารย์ไกรศรี นมิ มานเหมินทร์ เขารจู้ กั กัน เขาเลยชวนน้าผมขึ้นไป อาจารย์ไกรศรี แกก็จัดเดินทางขึ้นไปดอยอินทนนท์ น้าผมกเ็ ลยหว้ิ ผมขึน้ ไปดว้ ย ตอนนัน้ ผมกอ็ ายุ ๑๕ […] แต่ที่มันแปลกใจก็คือ ได้เห็นวัฒนธรรมต่างๆ ท่ีมันติดตาเลย ตอนท่ขี ้ึนไปกัน ไป ๒๐ คนแต่มีลูกหาบประมาณ ๕๐ ถึง ๖๐ คน แล้วพอต่ืน มากลางคืนผมเห็นคนกะเหรี่ยง มันไม่มีเส้ือ แล้วมันหนาว ตอนน้ันเดือน พฤศจกิ ายน จำ� ไดห้ นาวมาก ผมกส็ งสยั มนั ไมม่ เี สอ้ื มนั อยไู่ ดย้ งั ไง เพราะขนาด เราใส่เสื้อกันหนาว แล้วยังหนาวอยู่เลย แต่น่ีมันไม่มีเส้ือมันนอนอยู่ได้ไง ปรากฏว่ามันนอนอยู่ข้างกองไฟ… ต้นไม้ทั้งต้น เค้าจุดแดงโล่แล้วก็นอน พลิกไปพลกิ มาอยู่หนา้ กองไฟก็อยู่ได้ อนั นีก้ ต็ ิดตา […] ก่อนจะข้ึนถึงดอยอินทนนท์ (ใช้เวลา) ๕ วัน ผ่านหมู่บ้านต่างๆ มี กะเหร่ียง มีม้ง มอี ะไร นานๆ กจ็ ะเจอหมู่บา้ นหน่งึ คอื มนั ไมใ่ ช่แค่ธรรมชาติ แต่มันมีคนอยู่ทน่ี ่ัน ผมก็แปลกใจว่าท�ำไมมีคนอยู่ เพราะเรามาจากกรุงเทพฯ เราไม่เคยเหน็ แบบนี้ ถึงแมผ้ มจะเคยอยู่ชนบทอยู่นาอยสู่ วนอยู่ทะเล เพราะ 294

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ ดร.อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ตอนเด็กๆ ผมอยู่จังหวัดตราดอยู่กับป่าชายเลน มันก็มันไม่เหมือนกับอยู่ บนดอย มนั ก็แปลกใจ” ความสนใจเร่ืองประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม จึงถูกปลูกฝังมาต้ังแต่ตอนน้ัน ส่วนหน่ึงเพราะได้ใกล้ชิดกับนักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักมานุษยวิทยาสมัครเล่น เช่น ไกรศร ีนมิ มานเหมนิ ทร์ สป่ี ที ธี่ รรมศาสตรข์ องศาสตราจารย์ ดร.อานนั ท์ จงึ แทบไมม่ อี ะไรทน่ี า่ ใสใ่ จเป็นพิเศษ แม้ว่าอาจารย์จะถูกจัดให้เป็นกลุ่มนักศึกษาหัวกะทิตอนปีหนึ่ง มีเพ่ือนร่วมห้องเชน่ เสรี วงศม์ ณฑา ไดใ้ กล้ชดิ กับเพือ่ นนักศกึ ษาร่นุ พที่ ่โี ดง่ ดงั อยา่ ง วทิ ยากร เชยี งกลุ หรือ รงั สรรค์ ธนะพรพนั ธ์ุ แตโ่ ดยทว่ั ไปรฐั ศาสตรศ์ กึ ษาของทา่ นกเ็ ปน็ แบบ “ผา่ นมาแลว้ กผ็ า่ นไป”ยังไม่มีอะไรท่ีเรียกว่ามานุษยวิทยาในสายตาของอานันท์ แม้ว่าจะเคยฟังการอภิปรายของพัทยา สายหู นกั มานษุ ยวิทยาสงั คมองั กฤษ (รุน่ แรก) ในประเทศไทย ที่มักไดร้ บั เชิญใหม้ าบรรยายท่ีธรรมศาสตร์ อาจารย์เล่าวา่ “ชอบฟงั อาจารยพ์ ทั ยา สายหู ทำ� ไมถึงเกง่ อยา่ งนัน้พูดเก่งมาก แต่เราไม่รู้ว่าที่แกพูดมันเรื่องอะไร แต่รู้สึกว่ามันท�ำให้เข้าใจสังคมไทยอะไร ตา่ งๆ ดี แต่ตอนน้นั ก็ไม่รู้จักวา่ มนั เป็น มานุษยวิทยา…” จุดหักเหของชีวิตจริงๆ ท่ีจะน�ำไปสู่วิชาประวัติศาสตร์ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานของอานนั ทท์ ที่ อดผา่ นไปสศู่ าสตรม์ านษุ ยวทิ ยานนั้ คอื ตอนทที่ า่ นเรยี นรฐั ศาสตรอ์ ยปู่ สี ามจะขนึ้ปีสี่ เม่ือพันเอกเกษม นันทกิจ น้าชายของท่านถูกอดีตนักเรียนนายร้อย ซึ่งเป็นลูกศิษย์ วางระเบดิ สังหารจนเสยี ชวี ิต “นา้ ผม … เสยี ชวี ิตไปตอนผมอยู่ปี ๓ ปลายปี (ลูกศิษย์คนหนงึ่ ) มนั เอา ของขวญั ระเบดิ มาใหพ้ อเปดิ มนั กร็ ะเบดิ บา้ นกพ็ งั พนิ าศกเ็ ปน็ เรอ่ื งกนั ตอนหลงั ก็ถูกจบั คอื นา้ ผมเปน็ คนเข้มงวดกวดขัน แลว้ มันหาวา่ เปน็ ภัยทางอากาศ คือ นง่ั อยบู่ นตกึ สงู แลว้ คอยมองดวู า่ นกั เรยี นเคา้ จะใหแ้ ตม้ …ทนี นี้ กั เรยี นมนั คงเก ก็ให้แต้มมันจนกระท่ังมันเกือบจะหมดแต้ม น้าผมก็ให้แต้มสุดท้าย จนมัน ถกู ไลอ่ อกจากโรงเรยี นนายร้อย … กต็ ก ก็เปน็ แค่นายสิบ มันกแ็ คน้ สง่ ระเบิด มาระเบดิ นา้ ผมจนเสยี ชวี ติ ตอนนา้ ผมเสยี ชวี ติ A. B. Griswold๑๐ กค็ ลา้ ยๆ กบั อยากดแู ลผม สนบั สนุนผมทางการศึกษาตอ่ ไป เคา้ ก็เลยถามว่า (จะ) ใหผ้ ม๑๐ Alexander Brown Griswold นกั ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ลกู ชายเศรษฐแี หง่ เมอื งบาลตมิ อร์ รู้จักกับพันเอกเกษม นันทกิจ น้าชายของอานันท์ กาญจนพันธุ์ ก่อนหน้านั้นนานแล้ว คล้ายๆ กับ ไกรศร ี นมิ มานเหมนิ ทร์ Griswold เปน็ ลูกเศรษฐีที่สนใจประวตั ิศาสตร์ศิลปะและวัฒนธรรมของล้านนา ตั้งมลู นิธทิ ่ีมุ่ง สนับสนุนการศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะโดยเฉพาะ Griswold จึงมีเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับ นกั วชิ าการและกลมุ่ นกั ศกึ ษาทนุ ซง่ึ สว่ นใหญเ่ รยี นประวตั ศิ าสตรอ์ ยทู่ ่ี Cornell University ทซ่ี งึ่ (ตอนนน้ั ) เขาจะสง่ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ให้เข้าไปศึกษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโททางดา้ น Southeast Asian History. 295

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ ไปเรียนเมืองนอกตอ่ แตว่ ่าใหไ้ ปเรียนวิชาประวัติศาสตรก์ ับอาจารยท์ ่เี ขารจู้ กั ที่ Cornell University กส็ ง่ ผมไป…” ปี ๒๕๑๓ ท่ี Ithaca ศาสตราจารย์ ดร.อานันท์เข้าศึกษาต่อในฐานะนักศึกษา ปริญญาโทด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท่ีซ่ึงท่านได้มีโอกาสร�่ำเรียนกับ นักประวัติศาสตร์ที่เชี่ยวชาญเรื่องไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายคน ไม่ว่าจะเป็น David K. Wyatt อาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธร์ ะดับปริญญาโทของท่าน Oliver W. Wolters นักประวัติศาสตร์ความคิดผู้ที่ทั้งปลูกฝังความรู้และวิธีการทางประวัติศาสตร์ อีกทั้งยุยง สง่ เสรมิ ใหอ้ านนั ท์ หนั มาสนใจศกึ ษาวชิ าทางดา้ นมานษุ ยวทิ ยามากขน้ึ กระทงั่ ไดไ้ ปนงั่ เรยี น (เช่น วชิ า Ethnology of Mainland Southeast Asia) กับ A. Thomas Kirsch นักมานุษยวทิ ยา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพุทธศาสนาในสังคมไทย ผู้ซ่ึงต่อมาจะรับเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา วทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาเอกของทา่ น ศาสตราจารย์ ดร.อานนั ทเ์ ลา่ วา่ A. Thomas Kirsch ซง่ึ เป็นนักมานุษยวทิ ยานเ่ี องท่แี นะน�ำให้ทา่ นไดอ้ ่านงานของ Clifford Geertz, Max Weber, Emile Durkheim รวมจนไปถึงนักมานุษยวิทยาสายโครงสร้างนิยมชาวฝรั่งเศส เช่น Claude Levi-Strauss ต้งั แตย่ ังเป็นนักเรียนประวตั ศิ าสตรท์ ่ี Ithaca และที่ Ithaca นเ่ี องทศ่ี าสตราจารย์ ดร.อานันท์ ไดร้ ูจ้ ักกับนกั ศึกษารนุ่ พช่ี าวอเมริกัน ชอ่ื Craig Reynolds ผซู้ ง่ึ ตอ่ มาจะกลายเปน็ นกั ประวตั ศิ าสตรส์ งั คมทผี่ ลติ ผลงานส�ำคญั ทง้ั ท่ี เปน็ งานเขียนและงานแปล (จากภาษาไทยเป็นภาษาองั กฤษ) หลายเร่ืองเกี่ยวกบั สงั คมไทย และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (ดู Reynolds 2006 และ เรย์โนลดส์ 2550 เปน็ ตน้ ) ขณะนัน้ Craig Reynolds ก�ำลังเรียนและเขียนงานศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความคิดของ พุทธศาสนาในประเทศไทยอยู่กับ A. Thomas Kirsch และ David Wyatt ความสัมพันธ์ ระหวา่ ง อานนั ท์ กาญจนพันธุ์ กับ Craig Reynolds ทง้ั ในฐานะเพื่อนนักศกึ ษาท่ี Cornell และนักวิชาการที่สนใจทางด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษานั้น น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เริม่ จากการที่ (๑) ท้ังคู่ ไดร้ �่ำเรยี นประวัตศิ าสตร์ความคิดและได้รับแรงบนั ดาลใจอยา่ งมาก จากนกั ประวตั ศิ าสตรแ์ หวกแนวคนเดยี วกันคอื O. W. Wolters (๒) ท้ังคู่ท�ำงานวิจัยภายใต้ การควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มเดียวกัน กล่าวคือขณะที่ Craig Reynolds ท�ำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทกับ A. Thomas Kirsch และปริญญาเอกเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความคิดของพระและปัญญาชนในสังคมไทยกับ David K. Wyatt อานันท์ กาญจนพันธุ์ เขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความคิดว่าด้วย ประวตั ศิ าสตร์นพิ นธข์ องพระในลา้ นนากับ David K. Wyatt (ดู อานันท์ ๒๕๒๗: ๒๓-๔๗ และ Anan 1976) และปริญญาเอกด้านมานุษยวทิ ยาภายใต้การควบคมุ ของ A. Thomas Kirsch 296


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook