Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 50 year proof 14 (2)

50 year proof 14 (2)

Published by nscras, 2017-10-31 04:37:50

Description: 50 year proof 14 (2)

Search

Read the Text Version

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ส�ำหรับการเข้ารับพระราชทานรางวัลคร้ังน้ีได้เลื่อนมาจากปี ๒๕๔๗ เน่ืองจากทางคณะกรรมการมูลนิธิประสงค์ให้ศาสตรเมธีทุกสาขาหรือทุกคนที่ได้สรรหา ไว้แลว้ ไดเ้ ขา้ รับพระราชทานรางวลั ในปมี หามงคลทอ่ี งคอ์ ุปถมั ภ์ คือ สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๕๐ พรรษา และครบรอบ ๑๐๒ ปีชาตกาลศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (เข้ารับพระราชทานรางวัลศาสตรเมธี จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๔๙ณ อาคารชยั พฒั นา สวนจติ รลดา) นอกจากน้ี ในชว่ งปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมไ่ ดเ้ ชญิ เปน็ กรรมการทปี่ รกึ ษาการคดั เลอื กนักวิจยั ดีเด่นของมหาวิทยาลยั สองปีติดต่อกัน เพอ่ื เขา้ รับรางวลั ในงานประชุมวิชาการประจ�ำปขี องมหาวิทยาลยั (ในช่วงปลายปี ๒๕๔๙ จนปัจจบุ ัน) อาจารย์ได้รบั เชญิเป็นอนุกรรมการฝ่ายวิจัยของส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แหง่ ชาติ-ป.ป.ช. ซึ่งมีกำ� หนดการไปประชุม ณ ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ทก่ี รงุ เทพฯ ประมาณทุก ๓ สัปดาห์ งานพเิ ศษที่อาจารย์ช่วยรับผดิ ชอบ คอื การเป็นประธานคณะทำ� งานตรวจสอบทางวิชาการโครงการวิจัยท่ีได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทก�ำหนดเรื่องประจ�ำปี โดยที่อนุกรรมการฝา่ ยวิจยั คนใดไดร้ ับการเสนอชอ่ื หรือเชิญให้เปน็ ประธานจะต้องจัดทำ� โครงรา่ งการวิจัยให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระตามนโยบายและเป้าหมายของศูนย์วิจัยที่บริหาร หรือด�ำเนินการโดยคณะอนุกรรมการฝ่ายวิจัย และประธานร่วมกับคณะท�ำงานผู้ทรงคุณวุฒิ ในสาขาทเ่ี ก่ียวข้องกบั หัวข้อโครงการวจิ ยั ทไ่ี ดร้ บั ทุนอุดหนนุ ตอ้ งช่วยรับผิดชอบตรวจสอบการด�ำเนินการวิจัยทุกข้ันตอนตามเกณฑ์และพันธสัญญากับทางส�ำนักงาน ป.ป.ช. จนสนิ้ สดุ โครงการ และผา่ นความเหน็ ชอบของคณะอนกุ รรมการฝา่ ยวจิ ยั และสำ� นกั งาน ป.ป.ช.ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๐ จนถงึ ปจั จบุ นั (พ.ศ.๒๕๕๖) ทจี่ รงิ แลว้ มโี ครงการวจิ ยั ทที่ างคณะอนกุ รรมการฝา่ ยวจิ ยั มอบหมายใหอ้ าจารยเ์ ปน็ ประธานคณะท�ำงานตรวจสอบทางวชิ าการและทป่ี รกึ ษาของคณะทำ� งาน คอื เปน็ ประธาน ๖ เร่ือง ในช่วง ๖ ปี แต่ทค่ี ณะวจิ ัยมาปอ้ งกนั โครงร่าง งานวิจัยผ่านเพียง ๓ เร่ือง ตามล�ำดับ คือ (๑) การวิเคราะห์เปรียบเทียบการเลือกใช้สื่อประชาสัมพันธ์ในงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตของสำ� นักงาน ป.ป.ช. ที่เหมาะสม(๒) ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในวงการธุรกิจเอกชนไทยกับแนวทางแก้ไขและป้องกัน (เสรจ็ สมบรู ณใ์ นปลายปี ๒๕๕๔) (๓) การปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวินยั ของเด็กและเยาวชนในพ้ืนทสี่ ามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ : ปตั ตานี ยะลา และนราธิวาส (เสร็จสมบูรณ์ในปลายปี ๒๕๕๕) และทำ� หน้าทเ่ี ป็นทีป่ รกึ ษาของคณะท�ำงาน คือ (๔) โครงการส่งเสริม และสนบั สนนุ มาตรการลงโทษทางสังคม (อย่รู ะหว่างด�ำเนินการปลายปี ๒๕๕๖) (ข้อสงั เกตงานวจิ ยั ท้ัง ๔ เรอื่ งที่มสี ว่ นดแู ลรับผิดชอบทั้งในฐานะประธานหรอื ทีป่ รกึ ษา ลว้ นแล้วแต่มี 197

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ การขยายระยะเวลาท�ำวิจัยประมาณ ๑-๒ ปีทุกเร่ือง และโดยเฉพาะเรื่องแรกที่รายงาน น�ำสง่ ได้พิจารณาวา่ ไม่สมบรู ณ์ เพราะมีอุปสรรคและข้อขดั ข้องมากมาย โดยเฉพาะการเก็บ ขอ้ มูลมาวิเคราะห์ยงั ไมค่ รบถ้วน จงึ ต้องยุตไิ ปกอ่ นปดิ โครงการอย่างน่าเสยี ดาย) งานพเิ ศษอกี อยา่ งทที่ างคณะอนกุ รรมการฝา่ ยวจิ ยั ไดม้ อบหมายใหอ้ าจารยร์ บั ผดิ ชอบ คือ การเป็นบรรณาธิการบริหารหนังสือวารสารวิชาการ ป.ป.ช. ฉบับแรก ในปี ๒๕๕๐ (ปีท่ี ๑ ฉบบั ที่ ๑ เดือนมกราคม ๑๕๕๑) และหลงั จากน้นั อาจารย์ก็เป็นผูช้ ่วยบรรณาธกิ าร มาทุกปี คืออยู่ในกองบรรณาธิการติดต่อกัน ๕ ปี (มกราคม ๒๕๕๐-มกราคม ๒๕๕๕) นอกจากนนั้ อาจารยไ์ ดร้ ว่ มกบั กองบรรณาธกิ ารวางเกณฑม์ าตรฐานรปู เลม่ เนอื้ หา บทความ ตลอดจนออกแบบปก การเลอื กส�ำนกั พิมพ์คุณภาพ และจะใหค้ วามส�ำคัญกับการตรวจเชค็ ภาษาของต้นฉบบั เป็นอย่างมาก เป็นต้น ในช่วงเดยี วกับทที่ �ำงานใหท้ างส�ำนักงาน ป.ป.ช. ที่ส�ำนกั งานใหญก่ รงุ เทพมหานคร ปี ๒๕๕๐ ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นท่ีสูง (องค์การมหาชน) โดยผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ สถาบัน (รองศาสตราจารย์ ดร.พิทยา สรวมศิริ) ได้มาติดต่อขอให้ช่วยรับท�ำโครงการวิจัย เร่ือง “ผลกระทบของการเคล่ือนย้ายสู่ชุมชนเมืองของเยาวชนชาวเขาต่อสภาพ เศรษฐกิจและสังคมของชุมชนบนพ้ืนที่สูง” ในชุดโครงการย่อยท่ี ๑ ภายใต้ชุดโครงการ ศึกษาเชิงนโยบายแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอ้ มบนพื้นทสี่ ูง ประจ�ำ ปีงบประมาณ ๒๕๕๑ ระยะเวลาศกึ ษาปีเศษ ต้งั แตป่ ลายปี ๒๕๕๐ เปน็ การวิจัยเบอ้ื งตน้ เพอื่ เสนอขอ้ มลู พน้ื ฐานในการจดั ทำ� โครงการวจิ ยั ตอ่ เนอื่ งฉบบั สมบรู ณเ์ กยี่ วกบั “ยทุ ธศาสตร์ การปอ้ งกนั ผลกระทบจากการเคลอื่ นยา้ ยของเยาวชนชาตพิ นั ธเ์ุ ขา้ สตู่ วั เมอื งกบั อนาคตของ ชุมชนบนพ้ืนท่ีสูง” (เยาวชนกลุ่มชาติพันธุ์ ๕ เผ่าส�ำคัญบนพ้ืนท่ีสูง จังหวัดเชียงใหม่ คือ ลาหหู่ รอื มเู ซอ ลซี ูหรอื ลีซอ อาขา่ หรอื อกี ้อ ม้งหรอื แมว้ และกะเหร่ยี ง) ผลการศึกษาครงั้ นี้ นับว่าน่าสนใจท่ีพบว่า เยาวชนชาติพันธุ์เคล่ือนย้ายสู่ชุมชนเมือง ด้วยปัจจัยดึงดูด พ่อแม ่ จะเปน็ พลงั ขบั เคลอื่ นสำ� คญั ทสี่ ดุ รว่ มกบั ความตอ้ งการของลกู ทตี่ อ้ งเรยี นใหไ้ ดป้ รญิ ญาสงู สดุ เท่าท่ีจะท�ำได้ ส่วนปัญหายากจนของครอบครัว ก็ผลักดันให้ลูกลงมาหางานท�ำในตัวเมือง ประกอบกบั ปัจจัยดงึ ดดู ของเมอื ง ด้านการมงี านทำ� และรายได้ดีกวา่ เปน็ ต้น รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์เร่ืองน้ีพิมพ์เผยแพร่ในปลายปี ๒๕๕๑ อย่างไรก็ดี อาจารย์ไม่สามารถ รับงานวิจัยทำ� ต่อเนื่องตามท่ีระบุ เพราะทางสถาบันวิจัยและพัฒนาบนพื้นท่ีสูงให้งบมาทำ� ในชว่ งเวลาทจ่ี �ำกดั หรอื สนั้ เกนิ ไป คอื เหลอื เวลาทตี่ อ้ งท�ำใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในเวลาเพยี งครงึ่ ปเี ศษ เทา่ นนั้ อาจารยจ์ งึ ตอ้ งขอไมร่ บั ทนุ เพราะเกรงวา่ ผลงานจะออกมาไมส่ มบรู ณต์ ามทวี่ างแผน โครงการไวอ้ ย่างดแี ล้ว กลางปี ๒๕๕๑ ทางส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้ติดต่อประสานงาน มาเพ่ือแจ้งว่าได้สรุปผลงานวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนจากทางส�ำนักงาน (วช.) ลงตีพิมพ ์ 198

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ในหนังสือท�ำเนียบผลการวิจัยของส�ำนักงานออกเผยแพร่สู่สาธารณชนเป็นประจำ� ปี และเรอ่ื งของอาจารยท์ สี่ ง่ รายงานการวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเ์ มอื่ ปลายปี ๒๕๔๘ และประชมุ เผยแพร่ผลงานเมื่อต้นปี ๒๕๔๙ เร่ือง “ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ” ครั้งน้ีได้จัดพิมพ์ฉบับย่อลงในหนังสือท�ำเนียบผลการวิจัยกลุ่ม การพฒั นาสงั คมและวฒั นธรรม ปีท่ี ๑๕ พ.ศ.๒๕๕๐ (เผยแพรเ่ ดือนสิงหาคม ๒๕๕๑) และสรปุ ยอ่ ผลการวจิ ยั เรอื่ งเดยี วกนั น้ี (ฉบบั ภาษาไทยและองั กฤษ) กไ็ ดล้ งพมิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารภูมศิ าสตร์ของสมาคมภมู ศิ าสตรแ์ ห่งประเทศไทย ปีที่ ๓๑ ฉบับท่ี ๑ เดือนเมษายน ๒๕๕๐ดว้ ยเช่นกนั ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ระยะเวลา ๓ ปี อาจารย์ได้รับเชิญและแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นกรรมการสภาวชิ าการมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ในฐานะผู้ทรงคณุ วุฒิกลมุ่วิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และเป็นอนุกรรมการของกลุ่มวิชา เพื่อกลั่นกรอง งานวิชาการเฉพาะด้าน ก่อนน�ำไปเสนอในสภาวิชาการ ซึ่งจะท�ำหน้าที่กล่ันกรองงาน ด้านวิชาการให้สภามหาวิทยาลัยโดยตรง เพื่อให้สภามหาวิทยาลัยทำ� งานบริหารด้านอื่นๆได้มากขึ้น และรวดเร็วขึน้ ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๒ จนปัจจุบนั อาจารยก์ ไ็ ด้รบั เชิญและแตง่ ต้ังจากคณะสังคมศาสตร์เป็นกรรมการอ�ำนวยการประจ�ำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ อกี ต�ำแหนง่ หน่ึง ในฐานะตวั แทนผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๑ ใน ๓ คน ของกรรมการชดุ นี้ ชว่ งกลางปี ๒๕๕๒ อาจารยไ์ ดต้ กลงใจขอเสนอรายงานเรอ่ื ง “ทจุ รติ ระดบั รากหญา้กบั ความลม้ เหลวในการพฒั นาชนบทไทย” (Corruption at the Grassroots Level andthe Failure of Thai Rural Development) ในการประชุมระหว่างประเทศท่ีส�ำนักงานป.ป.ช. เป็นเจ้าภาพร่วมกับธนาคารโลก (The Conference of Evidence-Based Anti-Corruption Commission-NACC in Collaboration with the World Bank ระหว่างวันท่ี๕-๖ มถิ นุ ายน ณ โรงแรมสยามซติ )ี้ ทจ่ี รงิ แล้ว ถา้ พูดถงึ การทุจรติ ท่ที างสำ� นักงาน ป.ป.ช. มีส่วนด�ำเนินการเป็นการป้องกันและปราบปรามบุคคลหรือเจ้าหน้าที่รัฐระดับบนหรือ ระดบั สงู จะมกี แ็ ตง่ านของอาจารยท์ ม่ี าท�ำงานกบั ป.ป.ช. ดา้ นวจิ ยั และมปี ระสบการณท์ เี่ นน้การลงสัมผัสบุคคลหรือพ้ืนท่ีระดับล่างหรือรากหญ้าโดยตรง แต่การตัดสินใจร่วมเสนอ ผลงานในเวลากระชั้นชิดก่อนเร่ิมประชุม จึงขอท�ำเป็น PowerPoint ส่งให้คณะเตรียมการ จัดประชุมก่อน ส่วนรายงานฉบับเต็มจะส่งให้ทันการจัดพิมพ์หนังสือเอกสารการประชุม ซึ่งตัวแทนอนุกรรมการฝ่ายวิจัยจะจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นวารสารวิชาการฉบับพิเศษต่อไป แต่งานเขียนในเรื่องเดียวกันน้ีก็ได้น�ำลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ ป.ป.ช. ปีท่ี ๓ ฉบบั ที่ ๑ เดือนมกราคม ๒๕๕๓ (สำ� หรบั PowerPoint ท่ไี ด้เสนอในครง้ั น้ี ไดน้ �ำมาปรบั ปรงุและเสนอในการประชุมและการเรียนการสอนระดับมหาบัณฑิตที่เชิญมาเป็นคร้ังคราวในช่วงปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔) 199

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์ จากการเสนอรายงานเก่ียวกับการทุจริตระดับรากหญ้าของอาจารย์ในการประชุม เม่ือกลางปี ๒๕๕๒ ส่งผลให้ผู้เข้าประชุมหลายส่วนและส่วนบุคคลให้ความสนใจติดต่อ สอบถามภายหลัง โดยเฉพาะผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัย ซึ่งเป็นอนุกรรมการฝ่ายวิจัยได้ขอ อนุญาตน�ำเรื่องนี้มาต่อยอดเป็นโครงการวิจัย นอกจากนั้น ท้ังประธานและอนุกรรมการ ฝ่ายวิจัยหลายคนก็ประสงค์จะได้จัดประชุมในพ้ืนท่ีและดูงานเก่ียวกับเร่ืองน้ี อาจารย์จึงได้ เสนอตัวช่วยจัดโครงการประชุม “การส�ำรวจ/วิจัยภาคสนามเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล เบ้อื งตน้ ในพืน้ ที่ชุมชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ณ จงั หวัดเชยี งใหม่ และจงั หวัดล�ำพนู ” (การประชุมของคณะอนกุ รรมการฝา่ ยวจิ ัยคร้ังนี้ มีผู้ลงทะเบยี นมาประชุมทง้ั หมด ๒๓ คน โดยมีศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแกว้ กรรมการ ป.ป.ช. และประธานอนุกรรมการฝ่ายวจิ ัย เปน็ ประธานการประชุม ระหว่าง ๑๓-๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๒) อาจารย์ไดเ้ ชิญตวั แทนชมุ ชน เมอื งระดบั กรรมการชมุ ชนจนถงึ ระดบั นายกเทศมนตรตี ำ� บล และตวั แทนชมุ ชนชนบท ทเ่ี ปน็ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญในรายงานที่อาจารย์น�ำเสนอเก่ียวกับการทุจริตระดับรากหญ้าในจังหวัด เชียงใหม่และล�ำพูน มาให้ข้อมูลแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้มาร่วมประชุมจาก ป.ป.ช. ซ่ึงประธานการประชุมได้พูดถึงเป้าหมายที่มาประชุมในฐานะนักวิชาการที่ต้องการมา เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการของหน่วยงานภาครัฐในระดับท้องถิ่น ซ่ึงเกี่ยวโยงกับ การใช้งบประมาณว่ามีการด�ำเนินการอย่างไร มีปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานเพ่ือให้ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และประโยชน์ขององค์กรท่ีต้องการอย่างไรบ้าง ท้ังน้ีเพื่อให้มี องค์ความรู้ที่จะน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และไม่ให้เกิดความสูญเสียจากการปฏิบัติที่ไม่ ถูกต้อง และเพ่ือให้เกิดการปรับปรุงวิธีการท�ำงานให้ดีท่ีสุด พร้อมกันนี้ก็ได้จัดโครงการ การดงู านชมุ ชนแออดั ของเมอื งทีม่ ขี ้อมลู การทุจรติ บา้ นจดั สรร เออื้ อาทร ชมุ ชนชนบททมี่ ี ปญั หาทจุ รติ โครงการขดุ แรแ่ ละขนแรเ่ ถอื่ นบรเิ วณเหมอื งแรร่ า้ ง และพนื้ ทมี่ ปี ญั หาทจุ รติ อน่ื ๆ (ศนู ยว์ จิ ยั สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ไดส้ รปุ ผลการสำ� รวจ/วจิ ยั สนาม ครง้ั น้ี เมอ่ื ๓ มกราคม ๒๕๕๓) ดว้ ยเหตผุ ลดังกลา่ วข้างตน้ สง่ ผลใหอ้ าจารยไ์ ด้รบั มอบหมายตามมตขิ องคณะอนกุ รรมการ ฝ่ายวิจัยเป็นเอกฉันท์ให้รับผิดชอบโครงการวิจัยท่ีปรับปรุงให้สมบูรณ์จากรายงานเดิม แรกทีเดยี วอาจารย์จะชว่ ยในฐานะทปี่ รึกษาของโครงการ แตเ่ น่อื งจากผู้แทนทงั้ ชุมชนเมือง และชุมชนชนบท ยังมีประสบการณ์น้อยหรือไม่มีในเชิงวิเคราะห์วิจัย จึงขอให้อาจารย ์ รับผิดชอบโครงการท่ีอาจารย์ช่วยร่างให้ทั้งหมดเอง กลุ่มพวกเขายินดีสนับสนุนช่วยเหลือ หาขอ้ มูลประสานงานการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ และอืน่ ๆ ตามถนัด สำ� หรับโครงการวิจยั เรอ่ื ง “ยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในโครงการพัฒนาของรัฐระดับ ชุมชน” (ตัวอย่างชุมชนชนบทในจังหวัดล�ำพูน ชุมชนเมืองในจังหวัดเชียงใหม่ และชุมชน ชนบท-เมือง ในเขตชานเมืองเชียงใหม่) ซึ่งทางส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ให้ทุนอุดหนุน การวิจัยประเภทก�ำหนดเร่ืองประจ�ำปี ๒๕๕๓ (เดิม ก�ำหนดระยะเวลา ๒ ปี และได้ ขยายเวลาออกไปอกี คร่ึงปี คอื ใชเ้ วลา ๒ ปี ๖ เดอื น ระหว่าง ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๕๓-๑๘ 200

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์เมษายน ๒๕๕๖) การศกึ ษาวจิ ยั เปน็ คณะเรอ่ื งนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอื่ นำ� เสนอยทุ ธศาสตร์การมีส่วนร่วมของประชากรเป้าหมายในการป้องกัน ต่อต้าน และปราบปรามการทุจริต ภาครัฐระดับชุมชน ใช้วิธีการวิเคราะห์ด้วย TOWS Matrix จากโครงการจัดกิจกรรม และโครงการพัฒนาของรัฐระดับชุมชน สรุปเป็นโมเดลยุทธศาสตร์การปรับเปล่ียนพฤติกรรมยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐระดับชุมชน และยุทธศาสตร์ขยายผล โดยเน้นประชากร กลมุ่ เดก็ เลก็ และเยาวชน เปน็ เปา้ หมายสำ� คญั ทสี่ ดุ เปน็ อนั ดบั แรก ในงานปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการทุจริต ด้วยกรอบแนวคิดด้านหลักธรรมทางพุทธศาสนาเป็นอันดับแรกและส�ำคัญที่สุดเช่นกัน งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยท่ีอาจารย์ได้ทุ่มเทกำ� ลังใจ ก�ำลังกาย และสติปัญญา ทุกๆ อย่าง จนส�ำเร็จเป็นรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เสนอทางส�ำนักงาน ป.ป.ช. ผสู้ นบั สนนุ ทนุ ไดใ้ นปจั จบุ นั (ตลุ าคม ๒๕๕๖) นบั เปน็ งานวจิ ยั ทอี่ าจารยใ์ ชเ้ วลายาวนานทสี่ ดุอกี งานหนึ่งถงึ ๓ ปีเต็ม แต่อาจารยก์ ร็ สู้ กึ วา่ คมุ้ ถา้ ผูร้ บั ผิดชอบและเกี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ย ไมว่ ่าจะเป็นบุคคล หรือนิติบุคคล ให้ความสนใจน�ำยุทธศาสตร์น้ีไปปรับใช้ประโยชน์ในทุก ภูมิทั่วประเทศต่อไป เพราะเป็นงานท่ีมีความส�ำคัญต่ออนาคตของเด็กและเยาวชน และประเทศชาติมากท่ีสุด ถ้าปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันจะลดน้อยถอยลงหรือเหลือน้อยที่สุดเมอ่ื ประชากรในชาตริ จู้ กั ละอายแกใ่ จ และเกรงกลวั ตอ่ บาป ไมก่ ลา้ ทำ� ผดิ ทำ� ชว่ั หรอื กอ่ ปญั หาทุจริต นั่นเองข้อความสง่ ทา้ ย ความมุ่งมั่นและอุทิศตัวให้กับงานตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งงานกิจกรรมและงานบริการท่ีอาจารย์รักและสนใจในรอบ ๕๐ ปี มาพร้อมๆ กับการก่อตั้งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คือ ตั้งแต่ปี ๒๕๐๗ จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงอาจารย์ยังไม่ได้หยุดพัก การทำ� งานหนกั ทตี่ อ้ งทมุ่ เทแรงกาย แรงใจ และสตปิ ญั ญาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แมจ้ ะเปน็ ชว่ งทคี่ วรพกั ผอ่ นหาความสขุ ใหช้ วี ติ ในระยะเวลาหลงั เกษยี ณอายรุ าชการมานานประมาณ ๑๓ ปแี ลว้กต็ าม นับวา่ อาจารยไ์ ด้ใช้เวลาอยา่ งคมุ้ คา่ ตลอดชีวิตอย่างไม่รจู้ กั เหน็ดเหน่ือย และคงจะใช้ชีวติ เชน่ นี้ตอ่ ๆ ไป ตราบเท่าทรี่ ่างกายและจิตใจยงั เอ้ืออยู่ งานที่อาจารย์รักและภูมิใจในยุคบุกเบิกของมหาวิทยาลัย คือการได้เป็นนักกีฬาตัวแทนคณาจารย์ มหาวทิ ยาลัยแขง่ ขันแบดมนิ ตนั เด่ียวและค่ผู สม และการเปน็ เลขานุการสโมสรข้าราชการมหาวิทยาลัยสองสมัยติดต่อกัน และเป็นบรรณาธิการหนังสือข่าวสารมหาวิทยาลยั “มช.ปริทรรศน”์ 201

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ ความภมู ใิ จในยคุ เรยี นตอ่ ปรญิ ญาโท-เอก คอื การสอบชงิ ทนุ รฐั บาลเยอรมนั (DAAD) ไปเรียนต่อ ๗ ปี ด้วยภาษาเยอรมันที่เพิ่งเร่ิมศึกษาภาษาก่อนจะสอบชิงทุนได้ประมาณ ไมเ่ กนิ สองปใี นประเทศ และศกึ ษาตอ่ อกี หนึ่งปใี นประเทศเยอรมนี และเปน็ นกั ศกึ ษาสาขา วชิ าเอกภมู ศิ าสตร์คนแรกของไทย และ ๑ ใน ๒ คนของนกั ศกึ ษาตา่ งชาติ ตลอดจนมโี อกาส ได้ไปศึกษาระยะส้ันนอกประเทศเยอรมนีไม่น้อยกว่าสองประเทศ (ตามเกณฑ์) จึงจะม ี สิทธิสมัครสอบจบปริญญาเอก อาจารย์เลือกวิชาภูมิศาสตร์ภูมิภาคในประเทศแถบทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนียน : ฝรง่ั เศส สเปน อติ าลี และในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ และสามารถเขียน วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเป็นภาษาเยอรมันเกี่ยวกับปัญหาการเช่านาของชาวนาไทย ในภาคเหนือมากกว่า ๕๐๐ หน้าพิมพ์ ท่ีเผยแพร่ในห้องสมุดกลางของทุกมหาวิทยาลัย ในเยอรมนี ความภูมิใจในงานที่มีโอกาสได้รับผิดชอบจนมีช่ือเสียงเป็นท่ียอมรับท้ังในประเทศ และระหว่างประเทศจนปัจจุบัน คือ การได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิฟอร์ด ประเทศไทย ใหร้ เิ รม่ิ อยา่ งจรงิ จงั ในการเปน็ หวั หนา้ โครงการท�ำวจิ ยั สนามเกยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การปญั หา ข้อขัดแย้ง และการพัฒนาการใช้น�้ำชลประทานระดับไร่นาเปรียบเทียบ ระบบชลประทาน ราษฎร์ หรือระบบเหมืองฝาย (ที่มีมานานกว่า ๗๐๐ ปี ในอาณาจักรล้านนา) กับระบบ ชลประทานของรัฐหรือชลประทานหลวง (ท่ีเริ่มแห่งแรกสำ� หรับชลประทานเพื่อการเกษตร ในแอ่งเชียงใหม่ ต้ังแต่ปี ๒๔๗๖) งานวิจัยเรื่องน้ีท่ีอาจารย์คลุกคลีอยู่กับเกษตรกรในแอ่ง เชียงใหม่นานถึง ๓ ปี และเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอยู่เสมอๆ เป็นระยะๆ เพื่อปรับปรุงข้อมูล ตามทไี่ ดร้ บั เชญิ จากทงั้ ในประเทศและสว่ นใหญใ่ นตา่ งประเทศ ทง้ั ในเอเชยี ยโุ รป และอเมรกิ า และกเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ ทสี่ ง่ ผลใหอ้ าจารยเ์ ปน็ นกั วจิ ยั คนเดยี วของทง้ั มหาวทิ ยาลยั ทไี่ ดร้ บั รางวลั จากคณะกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส�ำหรับงานวิจัย (ฉบับภาษาไทย) เร่ือง “พัฒนาการทางประวัติความเป็นมาและการจัดการเก่ียวกับระบบการชลประทาน ในภาคเหนือของประเทศไทย”-Historical Development and Management of Irrigation Systems in Northern Thailand, 1986 ในกลมุ่ สาขาสงั คมศาสตรว์ า่ “เปน็ โครงการ วจิ ยั ดีเด่นประจำ� ปี ๒๕๒๘” (งานนมี้ ลู นิธิฟอร์ดสนับสนนุ ทุนและจดั หาสถานท่ีในสิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ ให้อาจารย์ได้ไปรวบรวมผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และประชุมแลกเปล่ียน ความคดิ เห็นในรอบ ๑๐ ปี รวมท้งั ทุนจาก Center for Southeast Asian Studies-CSEAS ของมหาวทิ ยาลยั เกยี วโต ประเทศญปี่ นุ่ ทเี่ ชญิ ใหไ้ ปแลกเปลย่ี นความรดู้ า้ นนกี้ บั ศาสตราจารย์ ดา้ นวศิ วกรรมชลประทานของสถาบนั กอ่ นสรปุ จบ) งานวจิ ยั เรอ่ื งนส้ี ำ� หรบั ฉบบั แปลไดพ้ บวา่ มีผ้อู า้ งอิงในต่างประเทศมากมาย และก็เปน็ สว่ นส�ำคัญใหอ้ าจารย์ไดร้ บั เชญิ ไปรว่ มประชุม สอนหรือบรรยายพิเศษท้ังในประเทศ และต่างประเทศ ตลอดจนได้รับเชิญไปแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ กบั นกั วจิ ยั ผเู้ ชยี่ วชาญของธนาคารโลกของมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ในสหรฐั อเมรกิ า 202

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ชว่ งทเี่ ปน็ Visiting Fulbright Professor ท่ี University of Wisconsin-Madison ทสี่ ำ� นกั งานใหญ่มูลนิธิฟอร์ดที่ New York City และที่ส�ำนักงานใหญ่ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ช่วงไปร่วมประชุมอบรมเป็นท่ีปรึกษาระยะส้ัน รวมทั้งการประชุมเชิงปฏิบัติการท้ังที่สาธารณรฐั ประชาชนจีน ญ่ปี นุ่ เยอรมนี และประเทศอ่นื ๆ อีกหลายครง้ั เปน็ ต้น ความภาคภูมิใจในการได้รับความไว้วางใจจากภาครัฐที่ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยอ่ืนเป็นอนุกรรมการประเมินผลโครงการสร้างงานชนบท สมยั อดตี นายกฯ พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ ทงั้ ทเี่ ปน็ หวั หนา้ โครงการระดบั ภาค (ภาคเหนอื )และเปน็ หวั หนา้ โครงการระดบั ประเทศวเิ คราะหใ์ นภาพรวม โดยนายกรฐั มนตรมี หี นงั สอืมอบหมายเป็นการเฉพาะให้ศึกษาวิจัยรวบรวมข้อมูลปัญหาการทุจริตในโครงการ สรา้ งงานในชนบท ซง่ึ เปน็ ทม่ี าของการสง่ั สมประสบการณค์ วามรเู้ รอ่ื งทจุ รติ ระดบั รากหญา้ อนั เปน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาวจิ ยั เพม่ิ เตมิ ใหท้ างส�ำนกั งาน ป.ป.ช. เรอื่ งลา่ สดุ ทไ่ี ดน้ ำ� เสนอโมเดลยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในโครงการพฒั นาของรฐั ระดบัชุมชน ปจั จบุ ัน (ตลุ าคม ๒๕๕๖) ในฐานะทเ่ี ปน็ อนุกรรมการฝ่ายวิจัย สำ� นกั งาน ป.ป.ช.องค์กรอิสระ และหัวหน้าโครงการวิจัยท่ีให้ความส�ำคัญสูงสุดแก่กลุ่มเด็กเล็กและเยาวชนเปน็ ประชากรเปา้ หมายกลมุ่ แรก ดว้ ยยทุ ธศาสตรก์ ารปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมตามกรอบแนวคดิทเี่ นน้ ดา้ นหลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนาเปน็ อนั ดบั แรกเชน่ กนั นอกจากนนั้ ผลการวจิ ยั จากเรอื่ งยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมที่สร้างความภูมิใจมากที่สุด คือ ได้เสนอนโยบายเพิ่มการจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุให้ทั่วถึง ให้กับรัฐบาลอดีตนายกฯนายอภสิ ทิ ธิ์ เวชชาชวี ะ คอื ใหจ้ า่ ยในอตั รา ๕๐๐ บาท/คน/เดอื น (แทน ๓๐๐ บาท/คน/เดอื นท่รี วมจ่ายทุก ๖ เดอื น ๑,๘๐๐ บาท/คน และไดไ้ ม่ท่ัวถึง) ตง้ั แตต่ ้นปี ๒๕๕๐ และขอให้จา่ ยเปน็ รายเดอื น ดว้ ยแนวคดิ ของความกตญั ญรู คู้ ณุ ตอ่ ผสู้ งู อายทุ เี่ ปน็ พอ่ แมห่ รอื บพุ การี เพราะผูส้ งู อายหุ ลายคนช่วยเหลอื ตนเองไมไ่ ด้ และไรท้ ่พี ่งึ พิงและท่ไี ดก้ ็ไม่เพยี งพอเล้ียงชพี นอกจากน้ัน ก็เป็นความภูมิใจที่ได้อุทิศตัวท�ำงานให้มูลนิธิศึกษาพัฒนาชนบท-FEDRA (Foundation for Education and Development of Rural Areas) ท่ใี หค้ วาม ไว้วางใจเปน็ กรรมการบริหารมาโดยตลอดตง้ั แต่ปี ๒๕๒๕ จนปจั จุบัน แมอ้ งค์ประธานผู้ก่อตั้งมาต้ังแต่ปี ๒๕๑๗ (พระพุทธพจนวราภรณ์-จันทร์ กุสโล อดีตเจ้าอาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร รปู ท่ี ๗) จะมรณภาพไปตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๑ แลว้ กต็ าม ไดช้ ว่ ยวางแนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าเชิงวิจัย และช่วยเขียนโครงร่างแผนงานขอทุนจากมูลนิธ ิท้ังต่างประเทศและในประเทศ และได้น�ำรายงานชีวิตและงานขององค์ประธานที่ ประสบผลส�ำเร็จฉบับแปลไปเผยแพร่ในการประชุมระหว่างประเทศในโอกาสท่ีเหมาะสมตา่ งๆ จนเกดิ การยอมรบั และสนใจท่วั ไป 203

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ สุดท้าย รู้สึกภูมิใจและดีใจที่ผลงานซ่ึงท�ำมาตลอดชีวิตได้รับการยอมรับและยกย่อง ทางวิชาการ จนไดร้ ับโปรดเกลา้ ฯ เปน็ “ศาสตราจารย”์ (พ.ศ.๒๕๓๕) ไดร้ บั พระราชทาน เกยี รตบิ ตั รเปน็ “ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ” (พ.ศ.๒๕๔๔) เปน็ “ศาสตรเมธี ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์” ของมูลนิธิหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (พ.ศ.๒๕๔๘) และได้รับ พระราชทาน “ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์” (พ.ศ.๒๕๕๕) ตามลำ� ดบั ขอส่งท้ายประวัติชีวิตและงานของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ครบรอบ ๕๐ ปี ด้วยคำ� ประกาศเกยี รตคิ ุณของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ในพธิ ีพระราชทาน ปริญญาบัตร คร้ังที่ ๔๖ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี เม่ือวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕ ส�ำหรับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด ิ์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ ดังนี้ “ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ ส�ำเร็จการศึกษา อักษรศาสตรบัณฑิตและครุศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Arts และปริญญาเอก Doktor der Philosophie จากมหาวิทยาลัย Justus Liebig-Universität Giessen ประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ เม่อื วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เคยด�ำรงต�ำแหน่ง หัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ อุปนายกสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย หัวหน้าโครงการวิจัยและประสานงานการประเมินผลโครงการสร้างงาน ในชนบทภาพรวมระดับประเทศ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี Visiting Fulbright Professor มหาวทิ ยาลยั Wisconsin Madison สหรัฐอเมรกิ า และกรรมการ สภาวชิ าการมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นอกจากนี้ ยงั เปน็ กรรมการในองคก์ รและ หน่วยงานอีกมากแห่งด้วยกัน เช่น กรรมการ Man and Biosphere (MAB) แห่งประเทศไทยขององคก์ าร UNESCO และกรรมการ National Committee Thai-IGBP (International Geosphere Biosphere Programme) : A Study of Global Change เป็นต้น ปัจจบุ ันด�ำรงต�ำแหนง่ กรรมการบรหิ ารมลู นิธิศึกษา พัฒนาชนบท กรรมการอ�ำนวยการประจ�ำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม่ และอนกุ รรมการฝา่ ยวจิ ยั สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ มคี วามมงุ่ มั่นที่จะพฒั นา และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาชีพ การศึกษา สิ่งแวดล้อม และ ท้องถิน่ ของเกษตรกรทีย่ ากจนในชนบทใหอ้ ยู่ดีกินดี มีความรู้ ความสามารถ 204

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพ็ญ สุรฤกษ์ท่ีจะปรับปรุงแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนของตน มีการรวมกลุ่มกันทำ� งานช่วยเหลือพ่ึงพาซึ่งกันและกัน และมีจิตส�ำนึกในการพิทักษ์ทรัพยากรและผลประโยชน์ของคนในชุมชนร่วมกัน รวมทั้งรู้จักด�ำเนินชีวิตให้ถูกต้องตามหลกั คำ� สอนในทางพระพทุ ธศาสนา ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ กรรมการบรหิ ารมลู นธิ ศิ กึ ษาพฒั นาชนบท (FEDRA) และดว้ ยความเปน็ คนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมประกอบกับเป็นผู้ที่มีความซ่ือสัตย์สุจริตต่อหน้าที่และสังคม มีความมุ่งมั่นท่ีจะแก้ไขปัญหาทุจริตของสังคมโดยรวม จนได้รับความไว้วางใจ และแต่งตั้งให้เปน็ อนุกรรมการฝา่ ยวิจยั ส�ำนกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ปัจจุบันได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการกำ� หนดแนวทางและโครงร่างการวิจัยของสำ� นักงาน ป.ป.ช. นอกจากนี้ ยังท�ำหน้าท่ีหัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง “ยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในโครงการพัฒนาของรัฐระดับชุมชน” โดยเน้นถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และวินัยให้กลุ่มประชากรเป้าหมาย ๕ กลุ่ม คือ (๑)กลมุ่ เดก็ และเยาวชน (๒) ขา้ ราชการ (๓) นกั การเมอื ง (๔) พอ่ คา้ /นกั ธรุ กจิ และ(๕) ประชาชนทัว่ ไป ผลงานท่ีแสดงให้เห็นถึงความสำ� เร็จในสาขาวิชาชีพ คือ เป็นผู้จัดและผู้ประสานงานการจัดการประชุมวิชาการ การเข้าร่วมประชุมสัมมนาและการบรรยายทางวชิ าการ ทงั้ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ ตลอดจนมกี ารตพี มิ พ์ผลงานต�ำราวิชาการและรายงานการวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการ รวมทั้งบทความพิเศษต่างๆ ออกเผยแพร่แก่ผู้สนใจท่ัวไป หัวข้อที่สนใจศึกษาได้แก่(๑) ปัญหาและการจัดการการใช้น�้ำชลประทานของรัฐและของราษฎรท่ีมีประสทิ ธิภาพในระดบั ไรน่ า (๒) ปญั หากบั การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์กบั การพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน�้ำท่ีเหมาะสม (๓) การวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจสังคมของชนบทยากจน (ชนบททส่ี งู ชนบททวั่ ไป และชมุ ชนเมอื ง) ภาวะวกิ ฤตเศรษฐกจิของผ้ตู กงานและการพฒั นาชนบท (๔) การพฒั นาพืน้ ที่อยา่ งยั่งยืน เนน้ การวิเคราะห์เชิงภูมิศาสตร์การเกษตร (๕) ยุทธศาสตร์ของรฐั กับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีสว่ นร่วมในภาคเหนือ (๖) ผลกระทบของการเคลื่อนยา้ ยสู่ชุมชนเมืองของเยาวชนชาติพันธุ์ต่อสภาพเศรษฐกิจและสังคมของชนบทพื้นท่ีสูง และ (๗) การทุจริตระดับรากหญ้ากับความล้มเหลวในการพัฒนาชนบทไทย นอกจากจะเป็นฐานข้อมูลส�ำคัญท่ีช่วยเสริมความสมบูรณ์ให้กับโครงการผลติ ตำ� ราวชิ าการเชงิ วเิ คราะห์วจิ ยั แลว้ ภาครฐั ยังนำ� แนวคดิ ไปบรรจุไว้ในนโยบายภาครัฐและน�ำไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะ 205

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.วันเพญ็ สรุ ฤกษ์ ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมคุณภาพสังคมครอบครัวด้านกตัญญูรู้คุณด้วยการ เสนอให้โครงการเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ เป็นโครงการพัฒนาตามนโยบายของ รัฐบาล ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ และการที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ให้ความส�ำคัญกับ ยทุ ธศาสตร์ด้านการป้องกันการทุจริตระดบั ชุมชนหรอื รากหญ้า เป็นตน้ และ จากผลงานดีเด่นประจักษ์ชัดและเปน็ ที่ยอมรับท้งั ในประเทศและต่างประเทศ ได้รับการคัดเลือกจากมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้เป็น ศาสตรเมธี สาขาวชิ าภมู ศิ าสตรค์ นแรกของประเทศ และไดเ้ ขา้ รบั พระราชทาน รางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากน้ี ยังได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นสาขาสังคมศาสตร์ด้านการพัฒนาและการ จดั การระบบนำ�้ ชลประทานระดบั ไรน่ าจากคณะกรรมการสง่ เสรมิ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ตลอดจนได้รับเชิญเข้ารับการฝึกอบรมเป็นท่ีปรึกษาระยะส้ัน ของธนาคารโลก ซ่งึ กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์แกว่ งการวิชาการเป็นอยา่ งมาก โดยเหตุท่ี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ เป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถจนประสบความส�ำเร็จในสาขาวิชาชีพอย่างดีเย่ียม เป็นที่ปรากฏและยอมรับในวงวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ตลอดจนเป็นผู้มีส่วนสำ� คัญยิ่งในการท�ำคุณประโยชน์และช่ือเสียงอย่างมาก ให้แก่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วยเกียรติคุณและผลงานดีเด่นดังกล่าว สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงมีมติให้ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตตมิ ศกั ด์ิ สาขาวชิ าภูมศิ าสตร์ เพื่อเปน็ เกียรติประวัติสืบไป” 206

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ ภาพชวี ติ และงานยุคปัจจบุ นั : ชว่ งหลงั เกษียณ (พ.ศ.๒๕๔๔-ปัจจบุ ัน) การรับเกยี รตบิ ตั ร “ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ สาขาวชิ าภมู ศิ าสตร”์ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๔ก่อนเกษียณอายุราชการได้รว่ มเปน็ ประธานจดั ประชมุ“ภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ ไทย” ถวายสมเดจ็ พระเทพรตั น-ราชสดุ าฯ เนือ่ งในวนั คลา้ ยวนั เฉลิมพระชนมพรรษาณ ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธร กรุงเทพฯ๑๒ กันยายน ๒๕๔๓ อธกิ ารบดี ดร.นพิ นธ์ ตุวานนท์ มอบช่อดอกไมใ้ นงานเลย้ี ง แสดงความยนิ ดี ที่ศาลาธรรม ๑๙ มกราคม ๒๕๔๔คณบดีคณะสังคมฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กบั รองศาสตราจารยป์ ระหยดั สายวเิ ชยี รดร.พงษ์อินทร์ รกั อรยิ ะธรรม หัวหน้าภาควิชา และรองศาสตราจารยว์ ราภา คุณาพรภูมิศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เสนห่ ์ ญาณสารและรองศาสตราจารย์พูนทรพั ย์ ตยิ ายน กรรมการในพิธีพระราชทานปริญญา ปี ๒๕๔๔รว่ มแสดงความยนิ ดี ๑๘ มกราคม ๒๕๔๔ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๔ 207

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ นÓนกั ศกึ ษาปริญญาโทภูมภิ าคศกึ ษา วชิ าปญั หาปจั จบุ ันลุ่มน้�ำโขง ไปศึกษานอกสถานที่ ณ ประเทศเวียดนาม ๑๙-๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔หนา้ สำ� นกั งาน Song Hou State Farm เมอื ง Can Tho และฟงั การบรรยายในสำ� นกั งาน กอ่ นลงพนื้ ท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๔คุณโยธิน จนั ทวี และคุณวิชยั กิจมี บ้านริมทะเลจากป่าไมเ้ ขตทร่ี ่วมเดนิ ทาง ซอ้ื Cherry เมือง Hatienจากรถเขน็ ขา้ งทางไป Cong Xuyen ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ชาวประมง Mr.Nhin ก�ำลงั ใหอ้ าหารปลา Catfish ในกระชัง อาชีพนี้เรม่ิ มีมาตงั้ แต่ ปี ๒๕๐๓ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๔หน้าบา้ นชาวประมงน้�ำจดื ทีเ่ ลยี้ งปลาในกระชงั นักศกึ ษาปรญิ ญาตรภี มู ิศาสตร์เกษตรเมอื ง Chau Doc ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ไปทศั นศึกษาสวนสม้ ธนาธร แปลง ๒ : สวนบ้านลาน อ�ำเภอฝาง จงั หวดั เชียงใหม่ ท่าเทยี บเรือจีนที่ขนสินคา้ มาซือ้ ขายแลกเปลยี่ นกับไทย ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๔๔ ริมแม่น�้ำโขง อ�ำเภอเชยี งแสน จังหวดั เชยี งราย สนิ คา้ ไทยท่ีจนี นิยมซ้ือไปขายคือ ลำ� ไยสด กระทงิ แดง ขาไกแ่ ชแ่ ขง็ รองเทา้ แตะ และผงชรู ส และสนิ คา้ จีนที่ไทย นำ� เข้า คือ โปแตสเซียม เห็ดหอม ไฟแช็ก ฯลฯ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ 208

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วนั เพญ็ สุรฤกษ์นÓนกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทภมู ภิ าคศกึ ษา วชิ าปญั หาปจั จบุ นั ลมุ่ นำ�้ โขง ไปศกึ ษานอกสถานที่ ณ ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี : สบิ สองปนั นา ๗-๑๐ ธนั วาคม ๒๕๔๕ สาวไทลื้อ เจ้าหนา้ ท่ี สวนพฤกษศาสตร์ เมอื งลนุ สบิ สองปันนานำ� ชมสวนพฤกษศาสตร์ ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๕ เมอื งลนุ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๕เจ้าหน้าท่ไี ทล้ือรอ้ งเพลงใหต้ น้ ถัว่ ภเู อ่อชา Plantation ของรัฐในเขตเมืองไฮ (Meng Hai)เตน้ ระบำ� ในสวนพฤกษศาสตร์ สิบสองปันนา ยูนนาน ๙ ธันวาคม ๒๕๔๕เมืองลุน ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๕สะพานข้ามแม่น�้ำลา้ นชา้ ง (แม่น้�ำโขง) เล้ยี งอาหารเพล แสดงความยินดีกบั องค์ประธานมลู นิธิศึกษาเมอื งเชียงรงุ่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๕ พฒั นาชนบท และเจา้ อาวาสวัดเจดยี ห์ ลวง ทไี่ ดร้ บั สมณศกั ดิ์เปน็ ชนั้ รองสมเด็จ ท่ี “พระพทุ ธพจนวราภรณ์”-จนั ทร์ กุสโล ท่ีบา้ นอาจารยว์ นั เพ็ญ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๕ 209

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วันเพ็ญ สุรฤกษ์ การไปทศั นศึกษากับคณะนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมร่ นุ่ แรก (รนุ่ เขา้ ปี พ.ศ.๒๕๐๗) ประเทศกรีซ : เอเธนส์-เดลฟี-คาลมั บากา้ ระหว่างวันท่ี ๑๖-๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ทพี่ กั ทานกาแฟขา้ งทาง เชา้ วันแรก บริเวณศูนยก์ ลางโลก ตามนยิ ายกรกี โบราณ เมือง Delphiเมอื ง Delphi : อาจารยว์ นั เพ็ญ สุรฤกษ์ ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔สรุ ยิ า วรี ะวงศ์ อาภา ศิรวิ งค์ ณ อยธุ ยา และสพุ ชั รา ชยั ประภา ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ณ อารามแมช่ ี คือ St.Stephan ซงึ่ ตั้งเรียงราย หน้าอาราม St.Stephan กรงุ Athensอยบู่ นยอดเขา เสมอื นแขวนหอ้ ยอยกู่ ลางอากาศ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔กรุง Athens ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ ในสนามกีฬา โอลมิ ปกิ คร้ังท่ี ๓ย่าน Shopping กลางกรุง Athens ปี ค.ศ.2004๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ คอื Spiros Louis Olympic Stadium 210 ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ในรา้ นขายผ้าฉลปุ ักลายสวยงามมาก ยา่ น Shopping อาหารเย็นทคี่ ณะของเรารบั ผดิ ชอบเองกลางกรุง Athens ๑๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ ยา่ นการค้ากลางกรุง Athens ๑๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ยา่ นการค้าริมฝั่งทะเล Aegean เกาะ Hydra ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔กบั สรุ ยิ า วีระวงศ์ สพุ ชั รา ชยั ประภา และขวญั ใจ ไทยทอง ริมฝ่ังทะเล Aegeanเกาะ Hydra ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ 211

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์พิไลศรี ศรีเพญ็ และน้องสาว อาจารย์วันเพญ็ สุรฤกษ์ วันเพญ็ แกล้วทนง บ้านบนเกาะ Hydra อ่าวซาโรนคิขวัญใจ ไทยทอง สุพชั รา ชยั ประภา สุริยา วีระวงศ์ และอาภา ศิรวิ งศ์ ณ อยธุ ยา กรุง Athens ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔รมิ ฝง่ั ทะเล Aegean เกาะ Hydra ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ บ้านบนเกาะ Aegena เปดิ หนา้ บา้ นขายผลไม้ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ หน้าโรงแรม Miranda บนเกาะ Aegena ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ทางเดนิ แคบๆ ระหว่างบ้านบนเกาะ Aegena หน้าบา้ นบนเกาะ Aegena๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ 212

หน้าโบสถ์ ๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงานเกาะ Aegena๒๐ กุมภาพนั ธ์ ของคณาจารย์อาวุโส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์ ๒๕๕๔ บริเวณวิหารเทพ Poseidon แหลม Sonion ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ วหิ ารเทพ Poseidon แหลม Sonion สรา้ งดว้ ยหนิ ออ่ น อายุมากกว่า ๒,๐๐๐ ปี ชาวกรกี ขอพรออกทะเล โดยสวสั ดภิ าพ และทำ� หน้าท่ีเสมือนประภาคาร ใหน้ กั เดนิ เรือสกู่ รุงเอเธนส์ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ชมรมศิษย์เก่าภมู ิศาสตร์ จดั งาน “ก้าวยา่ งสู่ ๕๐ ปภี ูมิศาสตร์” ๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ถา่ ยกบั อาจารยแ์ ละศิษยเ์ ก่ารหัส ๑๑ 213

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.วันเพ็ญ สรุ ฤกษ์ เข้ารับพระราชทานปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กิตติมศักด์ิ สาขาวชิ าภูมศิ าสตร์ ณ หอประชมุ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ และมหาวทิ ยาลยั เลย้ี งแสดงความยนิ ดี ณ ศาลาธรรม วันพฤหสั บดที ี่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕นายกสภามหาวิทยาลัย พี่สาว (นางมัทนา อตุ ตมะโยธิน)ศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ กษม วฒั นชยั องคมนตรี รองศาสตราจารย์ ดร.กมล งามสมสุขแสดงความยินดี ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕ อาจารย์ชยกฤต มา้ ล�ำพอง และกติ ตพิ จน์ เชอื้ วิโรจน์ รว่ มยินดี ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕214

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วันเพญ็ สุรฤกษ์งานเล้ียงขอบคณุ คณาจารย์และศษิ ยภ์ ูมศิ าสตรท์ ่ีรว่ มแสดงความยนิ ดี ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ ๑๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕ ทีบ่ ้านเช้าวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ กบั อาจารยส์ มบรู ณ์ สุทธนะ และพชั นี วรปรีชา ที่ภาควชิ าภูมิศาสตร์กับคณาจารย์และเจา้ หน้าทีภ่ าควชิ าภมู ศิ าสตร์ และคณะสงั คมศาสตร์กับคณาจารย์ ศษิ ย์ และเจา้ หน้าที่ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ และคณะสังคมศาสตร์ กบั หวั หนา้ ภาควชิ าภูมิศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อจั ฉรา วัฒนภิญโญ 215

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.วนั เพญ็ สรุ ฤกษ์ 216

รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจิตต์



ชวี ติ และงานสมหมารยองศเปาสรตมราจจิตารตย์์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ชวี ประวัตโิ ดยสังเขป อาจารยส์ มหมาย เปรมจติ ต์ เกดิ เมอื่ วนั ที่ ๑๔ มถิ นุ ายน ๒๔๗๕ และเตบิ โตในครอบครวั ชาวนาทอี่ ำ� เภออำ� นาจเจรญิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี (ปจั จบุ นั คอื จงั หวดัอำ� นาจเจรญิ ) เรียนหนังสอื ในระดับประถมศึกษาที่โรงเรยี นประจำ� หมู่บ้านจนจบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ (ประมาณปี พ.ศ.๒๔๘๘) หลงั จากนั้นอาจารยส์ มหมายไม่ได้ศึกษาต่อ เน่ืองจากคุณตา (นักปราชญ์ประจ�ำหมู่บ้าน) อยากให้ท่านบวช แต่ก็ไม่ได้บวชในทันที ท่านยังคงอยู่ที่หมู่บ้านช่วยพ่อแม่ท�ำนา กระทั่งอายุได ้๑๗ ปีจึงบวช ระหว่างที่บวชอยู่น้ันท่านได้เรียนรู้ท้ังพระธรรม ภาษาบาลี และ วชิ าทางชา่ ง (ไม)้ หลงั จากนน้ั พ.ศ.๒๔๙๔ ไดเ้ ดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพฯ เพอื่ ศกึ ษาตอ่ท่ีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยอาศัยอยู่ที่วัดราชบูรณะ กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.๒๕๐๔ อาจารยส์ มหมายเรยี นจบเปรียญ ๙ และปรญิ ญาตรี หลกั สตู รมหาวิทยาลัยอุดมศึกษา และต่อมาได้รับทุนจากกระทรวงการศาสนา ประเทศ ศรลี งั กา ไปศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาทก่ี รงุ โคลมั โบ (พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๕) หลงั จากนนั้ชวี ติ การทำ� งานของอาจารยส์ มหมาย จงึ เรมิ่ ขนึ้ ดว้ ยการไดร้ บั บรรจเุ ขา้ เปน็ อาจารย์สอนภาษาบาลีและพระพุทธศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ อาจารย์สมหมาย เล่าถึงบรรยากาศการใช้ชีวิตช่วงท่ีเข้ามารับต�ำแหน่งอาจารย์ที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปีแรกท่ีเปิดการเรียน เสาวรีย์ ชัยวรรณ สัมภาษณ์, และวสนั ต์ ปญั ญาแก้ว เรยี บเรียง 219

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจติ ต์ การสอนว่า ท่านต้องน่ังรถเมล์จากบ้านพัก แถวๆ ประตูท่าแพ เดินทางมาสอนหนังสือ ในมหาวิทยาลัยซ่ึงต้ังอยู่เชิงดอยสุเทพทุกวัน รถเมล์จะว่ิงช่วงกลางวันจากประตูท่าแพ (ผา่ นถนนสุเทพ) มาสุดสายทเ่ี ชงิ ดอย บรเิ วณวดั ฝายหนิ ซ่ึงในขณะนั้นบริเวณดังกลา่ วยงั คง เป็นปา่ ทึบ และอกี เสน้ ทางหนงึ่ ที่มรี ถเมล์วง่ิ ผา่ น คอื ถนนสายหว้ ยแก้ว โดยในเวลากลางวัน รถจะวง่ิ มาถงึ ถนนหว้ ยแกว้ แตห่ ลงั ๖ โมงเย็น รถเมลจ์ ะวง่ิ มาถงึ แคบ่ รเิ วณประตูชา้ งเผอื ก อาจารย์สมหมายพักอยู่ในบ้านเช่าบริเวณประตูท่าแพได้เพียงช่ัวคราว จากน้ันจึงย้าย ออกมาพกั บา้ นเพอ่ื นซงึ่ อยบู่ รเิ วณทางดา้ นตะวนั ตกของประตคู ณะเกษตรศาสตรใ์ นปจั จบุ นั เม่ือคร้ังที่ท่านเข้ามาท�ำงานสอน ราวๆ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๗ (ซึ่งเป็นช่วงที่ มหาวทิ ยาลยั เรม่ิ เปดิ ดำ� เนนิ การเรยี นการสอนเปน็ ครง้ั แรก) ในเวลานนั้ ยงั มเี พยี ง ๓ คณะเกา่ แก่ คือคณะมนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ โดยอาจารย์สมหมาย รับหน้าทสี่ อนวชิ าภาษาบาลีและวชิ าพระพทุ ธศาสนา ใหก้ บั คณะมนษุ ยศาสตร์ การท�ำงาน ในมหาวิทยาลัยท่ีต้ังอยู่บนเชิงดอยสุเทพยุคบุกเบิก คณะต่างๆ ยังไม่มีตึกส�ำนักของตน ท้งั อาจารยแ์ ละเจา้ หน้าทจ่ี ึงต้องน่ังท�ำงานรวมกนั ท่ีตกึ หน้า (บริเวณส�ำนกั งานมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมใ่ นปัจจบุ ัน) เมอ่ื ถึงเวลาสอนกจ็ ะเดนิ ไปสอนกนั ตามคณะตา่ งๆ ของตน นอกจาก ภาระงานสอนแล้วเนื่องจากในขณะนั้นเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยยังมีจำ� นวนน้อย อาจารย์ แตล่ ะคนยงั ตอ้ งท�ำหน้าทีอ่ ืน่ ๆ ด้วย เช่น ทำ� งานในตำ� แหนง่ หวั หน้ากองคลงั ส่วนอาจารย์ สมหมายน้ันได้รับภาระงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย เม่ือแขกจากต่างประเทศ มาเยยี่ มมหาวทิ ยาลยั อาจารยจ์ ะทำ� หนา้ ทพ่ี าชาวตา่ งประเทศเหลา่ นนั้ เทย่ี วชมสถานทตี่ า่ งๆ ทั่วมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นศาลาธรรม ศูนย์วิจัยชาวเขา ซ่ึงสังกัดกรมประชาสงเคราะห์ (ปจั จบุ นั ปดิ ทำ� การและยา้ ยออกจากมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมไ่ ปแลว้ ) จากหนา้ ทนี่ เ้ี องทำ� ใหท้ า่ น ไดม้ โี อกาสฝกึ ใชภ้ าษาองั กฤษมาโดยตลอด นอกจากนอี้ าจารยส์ มหมายยงั เคยทำ� งานในฝา่ ย กจิ การนักศกึ ษาอกี ด้วย โดยจดั กิจกรรมออกคา่ ย จัดงานทอดกฐิน และพานักศึกษาไปชว่ ย เดินขบวนแหก่ ฐนิ ในตัวเมอื งเชยี งใหม่ อาจารยส์ มหมายสอนหนงั สอื อยทู่ ค่ี ณะมนษุ ยศาสตรไ์ ด้ ๕ ปี กระทงั่ ถงึ ปี พ.ศ.๒๕๑๒ อาจารยจ์ งึ ลาไปศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโททมี่ หาวทิ ยาลยั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดยแรกเรม่ิ เลอื กเรยี น สาขาวชิ าปรัชญา โดยในเทอมแรกมี ๓ วิชาท่เี รยี นคอื วิชาปรัชญา ๒ วิชา และวชิ าเลือกอกี ๑ วิชา อาจารย์สมหมายจึงเลือกเรียนวิชามานุษยวิทยา อาจารย์เล่าว่าหลังจากท่ีได้เรียน วชิ ามานุษยวิทยาแล้ว รูส้ กึ ว่าเป็นวิชาที่ถูกกบั นิสยั ของตวั เอง เพราะเป็นวิชาท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การศึกษามนุษย์ ไม่ใช่ปรัชญาที่เป็นนามธรรม ได้ศึกษาคน ซึ่งในฐานะที่เคยบวชเรียน มาก่อน อาจารย์เห็นว่าตัวเองมีพื้นฐานเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนอยู่มาก ดังนั้นเม่ือเรียนจบ เทอมแรก จงึ ขอเปลย่ี นวชิ าเอกมาเรยี นทางดา้ นมานษุ ยวทิ ยา ใชเ้ วลา ๒ ปจี งึ สำ� เรจ็ การศกึ ษา ระดับปริญญาโทสาขามานุษยวิทยา โดยอาจารย์ได้เขียนวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับเรื่อง 220

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจิตต์ ร่วมงานรับปรญิ ญาบตั รของ Swarthmore College ประเทศสหรฐั อเมริกา ปี พ.ศ.๒๕๓๖เครอื่ งเคลือบเครือ่ งปน้ั ดนิ เผาสมยั สโุ ขทยั (หรอื ราวๆ ๕๐๐ ปีทีแ่ ล้ว) แตเ่ ดนิ ทางไกลไปพบทีห่ ลมุ ฝงั ศพเมืองคาตะการ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ หลังส�ำเร็จการศึกษาจากฟิลิปปินส์ อาจารย์สมหมายได้เดินทางกลับมาท�ำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่อีกครั้งในปี พ.ศ.๒๕๑๔ แต่ย้ายมาเป็นอาจารย์มานุษยวิทยา ท่ีภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ โดยอาจารย์ได้สอนวิชาสังคมวิทยาเบอ้ื งตน้ มานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม ในขณะนนั้ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาฯ มอี าจารย ์เกษม บรุ กสกิ ร เป็นหัวหน้าภาควิชา และในช่วงเวลานี้เองที่อาจารย์สมหมายได้มีโอกาส ร่วมงานกับ Charles F. Keyes นักมานุษยวิทยาอเมริกันซ่ึงได้รับทุนจากมูลนิธิฟุลไบรท ์เข้ามาท�ำงานวิจัยและช่วยสอนหนังสือให้กับภาควิชาสังคมวิทยาฯ (ระหว่างเดือนตุลาคม๒๕๑๕ ถงึ เดือนมิถุนายน ๒๕๑๗) และร่วมกนั นำ� นกั ศกึ ษาสงั คมวทิ ยาฯ รนุ่ นัน้ ท่เี รียนวิชาระเบียบวธิ วี ิจัยออกทำ� งานภาคสนามแถบแม่สะเรยี ง แมโ่ ถ ในจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน คณะสงั คมศาสตร์ ชว่ งนน้ั ประกอบดว้ ย ๕ ภาควชิ าคอื ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาฯ ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ ภาควชิ าบญั ชี และบรหิ ารธรุ กจิ ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ และภาควชิ ารฐั ศาสตร์ คณบดีของคณะสังคมศาสตรใ์ นเวลานั้นคอื ดร.นพิ นธ์ ศศธิ ร ในภาควชิ าสังคมวทิ ยาฯ มีคณาจารย์ประกอบไปด้วย อาจารย์ฐิติพร วินิจฉัยกุล อาจารย์อุไรวรรณ ตันกิมยง อาจารย์ขวัญใจ ไทยทอง และอาจารย์อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ และอาจารยไ์ ชยวฒั น์ รงุ่ เรอื งศรี ซึ่งอาจารย์ 221

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจิตต์ สมหมายได้ใช้ห้องท�ำงานเดียวกัน ส�ำหรับหลักสูตรการเรียนการสอนของภาควิชา สังคมวทิ ยาฯ ในช่วงนน้ั ไมน่ ่าจะตา่ งจากสมยั น้มี ากนัก การเรียนการสอนชว่ ง ๒ ปีแรกเป็น การเรียนแบบสหวิทยาการที่เข้มข้นมาก เช่น วิชาสถิติ คณิตศาสตร์ ที่ต้องเรียนหลายตัว มีนักศึกษาบางคนสอบไม่ผ่านหลายครั้งจนต้องพ้นสภาพนักศึกษาออกไป ในฐานะ นกั มานษุ ยวทิ ยา อาจารยส์ มหมายทำ� งานสอนหนงั สอื ควบคไู่ ปกบั การทำ� งานวจิ ยั ดา้ นภาษา วรรณกรรมล้านนา โดยเฉพาะท่านเป็นผู้บุกเบิกและเริ่มสำ� รวจคัมภีร์ใบลานใน ๘ จังหวัด ภาคเหนอื ตอนบน ซง่ึ เปน็ โครงการระยะยาว ท่เี รม่ิ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๖ โดยการสนบั สนุน ของสยามสมาคม และมูลนิธิโตโยต้า ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างน้ีท่านยังได้ร่วมงานกับ นักมานุษยวิทยาอเมริกันเช่น Charles F. Keyes (ระหว่างปี ๒๕๑๕-๒๕๑๗) และ Donald K. Swearer จนในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ไดร้ บั ตำ� แหนง่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ชว่ งปลาย ของโครงการส�ำรวจคัมภีร์ใบลานฯ ท่ีสิ้นสุด ในปี พ.ศ.๒๕๒๔ ท่านยังได้รับภาระท�ำงาน บ ริ ห า ร ด� ำ ร ง ต� ำ แ ห น ่ ง หั ว ห น ้ า ภ า ค วิ ช า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ระหว่างป ี พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๒๕ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ท่านจึงไดร้ บั ต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ และ ท�ำงานปริวรรตคัมภีร์ใบลานอย่างต่อเน่ือง ให้กับสถาบันวิจัยสังคม (ซ่ึงเดิมคือหน่วย วจิ ยั สงั คม ทเ่ี รมิ่ กอ่ ตง้ั ขน้ึ ในคณะสงั คมศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๔ จึงได้รับอนุมัติให้ จัดต้ังขึ้นเป็นสถาบันสังคมของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ โดยแรกเร่ิมได้ย้ายไปท�ำการ ณ ตกึ สำ� นกั สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมหลงั เกา่ กระทง่ั ตอ่ มาไดย้ า้ ยมาทต่ี กึ สถาบนั วจิ ยั สงั คมใหม่ ในปจั จุบัน) ด้วยความเชยี่ วชาญของทา่ น ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๒ ทา่ นไดท้ ำ� งานเป็น นักวิจัยร่วม โครงการ “Knowing Our Neighbors” และแปลหนังสือเร่ือง “In Search of Southeast Asia” เป็นภาษาลาวร่วมกับนักวิจัยลาว เป็นที่ปรึกษาโครงการแปลมหากาพย์ เรอื่ ง “ทา้ วฮ่งุ -ขนุ เจือง” จากภาษาลาวโบราณเป็นภาษาลาวปจั จบุ ัน โดยทนุ มูลนิธโิ ตโยตา้ ประเทศญป่ี นุ่ (ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๒) เปน็ ทป่ี รกึ ษาอาวโุ สประจำ� สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ และเป็นผแู้ ปลขอ้ มลู ภาษาไทยเกี่ยวกบั ล้านนาคดี เปน็ ภาษาองั กฤษ ส�ำหรับสถาบันวิจัยสังคม ในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ท่านได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา สงั คมวทิ ยา-มานษุ ยวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๔๔-๒๕๕๑ 222

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจติ ต์หลังเกษยี ณอายุราชการ อาจารย์สมหมาย ยังไดท้ �ำงานและรบั เปน็ ท่ีปรกึ ษาอาวโุ สประจ�ำสถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และเปน็ ผแู้ ปลขอ้ มลู ภาษาไทยเกย่ี วกบั ลา้ นนาคดีเปน็ ภาษาอังกฤษสำ� หรับสถาบันวจิ ัยสังคม ปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๗) อาจารย์สมหมาย เปรมจิตต์ อายุได้ ๘๒ ปีแล้ว ทว่าท่าน ยงั คงทำ� งานวชิ าการทที่ า่ นรกั และอทุ ศิ เวลามาทงั้ ชวี ติ เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษประจำ� มหาวทิ ยาลยัมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา (วดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร) สอนหนงั สอื ใหพ้ ระนกั ศกึ ษาทงั้ ในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา และเปน็ รองประธานสาขาสงั คมวทิ ยา มหาวทิ ยาลยัมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา นอกจากนย้ี งั รบั ตำ� แหนง่ บรรณาธกิ ารวารสารปญั ญาของมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนาคุณปู การทางวชิ าการและสงั คม สมหมาย เปรมจิตต์ คือ “นักมานุษยวิทยาหายาก” ชนิดท่ีเรียกว่าไม่น่าจะหาได้ อีกแล้วในแวดวงสังคมศาสตร์ไทย ท่านน่าจะเป็นนักมานุษยวิทยาไทยคนแรกที่เคย บวชเรยี นเปน็ เณรพระมากอ่ น และมคี วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ ภาษาบาลีและส�ำเร็จการศึกษาด้านเปรียญธรรมขั้นสูงสุด ท่านยังเป็นผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญด้าน ภาษาล้านนา ที่เรียกว่า อักษรธรรม/ตัวธรรม และการอ่านคัมภีร์ใบลาน ระดับนานาชาตินอกจากไดท้ �ำงานรว่ มกบั นกั วิชาการตา่ งประเทศคนส�ำคัญ อาทิ Charles F. Keyes และDonald K. Swearer ทา่ นยงั มักไดร้ ับเชญิ ใหบ้ รรยายวชิ าการในมหาวทิ ยาลัยตา่ งประเทศ Charles F. Keyes นกั มานษุ ยวทิ ยาอเมรกิ นั ซงึ่ ไดร้ บั ทนุ จากมลู นธิ ฟิ ลุ ไบรทม์ าท�ำวจิ ยัและสอนหนังสอื ท่ีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหวา่ งเดอื นตลุ าคม ๒๕๑๕ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๑๗ เล่าว่าเมื่อคร้ังท่ีท่านมานั่งท�ำงานประจ�ำอยู่ในภาควิชา สังคมวิทยาฯ น้ัน “เพ่ือนวิชาการที่ข้าพเจ้าใกล้ชิดมากท่ีสุดก็คือ สมหมาย เปรมจิตต ์เราเดินทางท�ำงานวิจัยภาคสนามด้วยกันหลายคร้ังท้ังในภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ข้าพเจ้ายังรู้สึกประทับใจอย่างยิ่งที่ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จะมีอาจารย์เป็นผู้ท่ีเคยบวชเรียนเป็นพระภิกษุ มีความรู้ข้ันสูงสุดในการศึกษาภาษาบาล ีและอีกทง้ั ยังผา่ นการฝกึ ฝนอบรมเป็นนักมานษุ ยวทิ ยาจากมหาวิทยาลยั ในฟลิ ปิ ปินส์ ความสัมพันธ์ระหว่างเราในฐานะเพื่อนร่วมงาน น�ำไปสู่การท�ำงานวิจัยในโครงการศกึ ษาพทุ ธศาสนาของชาวบา้ นผา่ นคมั ภรี ใ์ บลานของชาวลา้ นนา ... เมอ่ื ครงั้ ทข่ี า้ พเจา้ กบั เจน(ผู้เป็นภรรยา) ท�ำงานวิจัยภาคสนามในแม่สะเรียง ช่วงปี ๒๕๑๐-๒๕๑๑ ก่อนหน้านี้นั้นข้าพเจ้าได้มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับประเพณีการจารึกค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาผ่าน 223

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส รองศาสตราจารย์สมหมาย เปรมจิตต์ ตัวอักษรธรรมลงบนคัมภีร์ใบลาน ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของพิธีกรรมทางศาสนาของชาวล้านนา โดยเฉพาะจากเจา้ คณุ ธรรม ซง่ึ ขณะนน้ั เปน็ เจา้ คณะอ�ำเภอของแมส่ ะเรยี ง ดว้ ยการชว่ ยเหลอื จากทา่ น ขา้ พเจา้ ไดค้ น้ ควา้ และคน้ พบบรรดาคมั ภรี ใ์ บลานอนั เกา่ แกข่ องลา้ นนาจ�ำนวนมาก ทถ่ี กู เกบ็ ไวใ้ นถำ�้ ใกลก้ บั แมน่ ำ้� สาละวนิ ขา้ พเจา้ ไดศ้ กึ ษาคมั ภรี ใ์ บลานเหลา่ นน้ั เพอ่ื จะทำ� ความ เขา้ ใจพทุ ธศาสนาของชาวลา้ นนา ทวา่ กเ็ ปน็ ไปอยา่ งจ�ำกดั กระทงั่ ขา้ พเจ้าไดพ้ บและรจู้ กั กบั สมหมาย เปรมจติ ต์ คนนนี้ เ่ี อง ขา้ พเจา้ จงึ สามารถทจ่ี ะอา่ นและศกึ ษาคมั ภรี ใ์ บลานเหลา่ นนั้ ไดอ้ ย่างลึกซง้ึ จริงจงั (...)”๑ อาจารยส์ มหมาย คอื นกั มานษุ ยวทิ ยาดา้ นลา้ นนาคดศี กึ ษายคุ บกุ เบกิ ทา่ นคอื ผรู้ เิ รม่ิ โครงการส�ำรวจคัมภีร์ใบลานตามวัดส�ำคัญต่างๆ ท่ัวพ้ืนที่ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนบน โครงการศึกษาน้ีเป็นโครงการระยะยาว ดำ� เนินงานระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๑๖ ถงึ พ.ศ.๒๕๒๔ โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสยามสมาคมและมลู นธิ โิ ตโยตา้ ประเทศญป่ี นุ่ โครงการดงั กลา่ ว ถอื เปน็ ทม่ี าของคลงั ขอ้ มลู เอกสารจากใบลานทจ่ี ารกึ ผา่ นอกั ษรธรรมลา้ นนา ซงึ่ ถกู ถา่ ยสำ� เนา ลงบนเอกสารไมโครฟิล์ม เกบ็ รักษาและเปิดใหบ้ ริการแก่นกั ศกึ ษา นกั วิชาการ ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศที่สนใจค้นคว้าศึกษาทางด้านล้านนาคดี ท่ีสถาบันวิจัยสังคม มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ (ในปจั จุบนั ) จดุ เรมิ่ ต้นของการทำ� “โครงการส�ำรวจ อนรุ กั ษ์ และปรวิ รรตคมั ภรี ใ์ บลาน” ซึ่งจารกึ ผ่านอักษรธรรมล้านนาของอาจารย์สมหมาย มาจากความบังเอิญท่ีท่านได้พบเห็นตู้เก็บ เอกสาร (ซงึ่ กอ่ นหนา้ นเ้ี คยอยทู่ คี่ ณะมนษุ ยศาสตร)์ ในหอ้ งสมดุ คณะสงั คมศาสตร์ ซงึ่ ขา้ งใน เต็มไปด้วยเอกสารคัมภีร์ใบลาน (เข้าใจว่า ดร.ฮันท์ เพนส์ เป็นผู้รวบรวมไว้ก่อนภายใต้ โครงการ “ศูนย์วิจัยลานนาไทย” ของคณะสงั คมศาสตร์ ทกี่ ่อต้ังขน้ึ กอ่ นหนา้ นน้ั ไมก่ ีป่ -ี บ.ก.) พอเปดิ อา่ น เนอื่ งจากจารกึ ดว้ ยอกั ษรธรรมลา้ นนา ซงึ่ เปน็ อกั ษรเดยี วกนั กบั “ตวั ธรรม” ทใ่ี ช้ อย่างแพร่หลายในอาณาจักรล้านช้าง ซ่ึงในอดีตมีหลวงพระบางเป็นศูนย์กลาง อาจารย์ สมหมายเคยบวชเรยี นศกึ ษามาอยา่ งแตกฉาน (ทา่ นวา่ เคยอา่ นเทศนม์ หาชาติ เมอื่ ครง้ั ทย่ี งั อยู่อุบลราชธานี) ก็อ่านได้อย่างเขา้ ใจ เอกสารคมั ภรี ใ์ บลานทีพ่ บมปี ระมาณ ๒๐๐ กวา่ เลม่ เนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ กฎหมาย ท่านจึงมีความคิดอยากจะท�ำโครงการ ปรวิ รรตคมั ภรี ใ์ บลานเหลา่ นข้ี น้ึ มา จงึ ไดเ้ สนอโครงการตอ่ คณบดคี ณะสงั คมศาสตรใ์ นขณะนนั้ คือ ดร.นิพนธ์ ศศิธร หลังจากนั้นโครงการก็ได้รับการอนุมัติในปี พ.ศ.๒๕๑๖ อาจารย ์ สมหมายจงึ ไดเ้ รม่ิ ตน้ ทำ� งานวจิ ยั ภาคสนาม ออกเดนิ ทางวจิ ยั สำ� รวจคมั ภรี ใ์ บลานจากวดั ตา่ งๆ ในจังหวัดเชยี งใหม่ โดยมีผชู้ ่วยวิจัยท่สี ามารถอา่ นอักษรธรรมลา้ นนาติดตามไปดว้ ย ๑ แปลจากบางตอนของ “Interview with Charles F. Keyes” ทศี่ าสตราจารย์ Charles F. Keyes ไดใ้ หส้ มั ภาษณ ์ กับ ผศ.ดร.ป่ินแก้ว เหลอื งอร่ามศรี (ดูเพ่มิ เตมิ ในบทสะท้อนความทรงจ�ำของ Charles F. Keyes ในตอนที่ ๔ ของหนงั สอื เล่มนี้) 224

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารย์อาวุโส รองศาสตราจารยส์ มหมาย เปรมจติ ต์ โครงการส�ำรวจ อนุรักษ์ และปริวรรตคัมภีร์ใบลาน ด�ำเนินงานเร่ือยมากระท่ังในปีพ.ศ.๒๕๑๘ จงึ ได้รบั เงินอดุ หนุนจากสยามสมาคม ใหจ้ ัดซอื้ อุปกรณ์และจา้ งเจา้ หนา้ ท่ีวิจยัที่มีความรู้ในอักษรธรรมล้านนามาช่วยกันอ่าน เพื่อจัดจ�ำแนกหมวดหมู่ แปลและปริวรรตกระทง่ั มลู นธิ โิ ตโยตา้ ไดใ้ หเ้ งนิ ทนุ สนบั สนนุ โครงการตอ่ เปน็ เวลา ๓ ปี (ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๒๑-๒๕๒๓) โครงการดงั กลา่ วจงึ ดำ� เนินต่อมาจนถงึ ปี พ.ศ.๒๕๒๔ ก็สิน้ สดุ โครงการ กว่า ๖ ปที ่ีท�ำงานโครงการวิจัยส�ำรวจคัมภีร์ใบลานน้ี ท�ำให้โครงการศึกษาภายใต้การนำ� ของอาจารย ์สมหมาย สามารถจัดเก็บรวบรวมเอกสารคัมภีร์ใบลานจากวัดต่างๆ ในเชียงใหม่ และ จัดจ�ำแนกข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะการใช้เคร่ืองมือท่ีทันสมัย คือเครื่องถ่าย ไมโครฟิล์ม จากประเทศญี่ปุ่น (ในเวลานั้นน่าจะเป็นเครื่องเดียวที่มีอยู่ในประเทศไทย) จากจังหวัดเชียงใหม่ โครงการฯ ได้ขยายพ้ืนที่ศึกษา โดยท�ำการส�ำรวจท่ัว ๘ จังหวัด ภาคเหนือกว่า ๕๐๐ วดั ทส่ี �ำคัญๆ ปัจจุบันเอกสารไมโครฟิลม์ ท่บี ันทึกคมั ภีร์ใบลานลา้ นนาอันทรงคุณค่า ได้เก็บรักษาไว้และเปิดบริการให้นักวิชาการ นักปราชญ์ นักศึกษารุ่นหลัง ที่สนใจศึกษา ได้ค้นคว้าท่ีสถาบนั วิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ อาจารยส์ มหมาย เปรมจิตต์ และอาจารยไ์ ชยวัฒน์ ร่งุ เรืองศรี รบั เสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จทรงงาน “โครงการสำ� รวจ อนรุ กั ษ์ และปริวรรต คมั ภีร์ใบลาน” ปี พ.ศ.๒๕๑๘ 225

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส รองศาสตราจารยส์ มหมาย เปรมจติ ต์ อาจารย์สมหมาย และ อาจารยไ์ ชยวฒั น์ รุ่งเรอื งศรี (ลงพน้ื ท่ีภาคสนามที่อ�ำเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ราวๆ ปี พ.ศ.๒๕๑๙) นอกจากโครงการปริวรรตคมั ภีร์ใบลาน อาจารย์สมหมาย ยังได้ทำ� งานวจิ ยั โครงการ อ่นื ๆ อีก เชน่ ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๒๖-๒๕๒๗ ท่านไดร้ ่วมงานกับอาจารย์รนุ่ น้องคอื ผศ.ดร. ไชยวัฒน์ รุ่งเรืองศรี ท�ำวิจัยเร่ืองหัตถกรรม จักสานส่ิงทอในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัด ล�ำพูน โดยได้รับทุนจาก International Development Regional Centre (IDC) อาจารย์ สมหมายทำ� งานเปน็ อาจารย์ประจำ� อยทู่ ภ่ี าควิชาสังคมวิทยาฯ จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๕๓๕ จงึ เกษยี ณอายรุ าชการ จากนน้ั ทา่ นไดร้ บั ทนุ มลู นธิ ฟิ ลุ ไบรท์ ใหเ้ ดนิ ทางไปสอนวชิ าพระพทุ ธ- ศาสนาทเี่ มอื งฟลิ าเดเฟยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า เปน็ เวลา ๑ ปี หลงั เดนิ ทางกลบั จากประเทศ สหรัฐอเมริกา อาจารย์ ดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ ซึ่งขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการ สถาบันวิจัยสังคม ได้เชิญอาจารย์สมหมายเป็นท่ีปรึกษาของสถาบันวิจัยสังคม ท่านจึงได้ ท�ำงานวิจัยด้านภาษาและล้านนาคดีศึกษาต่อ กระท่ังอาจารย์ได้ย้ายไปสอนหนังสือ ให้กบั มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย (วิทยาเขตล้านนา) ในปัจจุบนั ตลอดชีวิตวิชาการของท่าน อาจารย์สมหมายได้ทุ่มเทท�ำงานด้านล้านนาคดีศึกษา ผ่านการอ่านและปริวรรตคัมภีร์ใบลานซึ่งจารึกผ่านอักษรธรรมของล้านนา มีงานศึกษา เกี่ยวกับเร่ืองพระเวชสันดรชาดกในเชิงวิเคราะห์ทางสังคมวัฒนธรรม งานศึกษาประเพณี สิบสองเดอื นของลา้ นนา งานศกึ ษาเอกสารทางดา้ นพุทธศาสนาของล้านนา ประวตั ศิ าสตร์ ที่จารกึ ผ่านต�ำนาน อาทิ ตำ� นานวดั ปา่ แดง ตำ� นานจามเทวีวงศ์ โดยทา่ นไดพ้ ยายามตีพิมพ์ เผยแพรอ่ อกมาเปน็ เอกสารใหบ้ คุ คลทว่ั ไปสามารถอา่ นไดใ้ นวงกวา้ ง นอกจากนย้ี งั มงี านแปล หนงั สอื จากภาษาลาว (เชน่ หนงั สอื ประวตั ศิ าสตรล์ าว และทปี่ รกึ ษาโครงการแปลมหากาพย์ เรอ่ื ง “ท้าวฮุ่ง-ขนุ เจือง” จากภาษาลาวโบราณ) และงานแปลภาษาลา้ นนาเปน็ ภาษาอังกฤษ ท้ังเร่ืองของบุคคลส�ำคัญของทางเหนือ และประวัติศาสตร์ของกษัตริย์ ราชวงศ์มังราย รวมจนไปถึงเรื่องราวของวดั สำ� คัญต่างๆ อันเก่าแก่ในลา้ นนา 226

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส รองศาสตราจารยส์ มหมาย เปรมจิตต์ ผลงานตพี มิ พ์สำ� คญั ของ รองศาสตราจารยส์ มหมาย เปรมจิตต์The Lan Na Twelve-Month Traditions. (Co-written by Amphay Dore). Chiang Mai: Faculty of Social Sciences. Chiang Mai University. 1992.The Legend of Queen Cama: Bodhiramsi’s Camadevivamsa. (Translation and Commentary, Co-written by Donald K. Swearer). Albany, N.Y.: State University of New York Press. 1998.ประมวลรายช่ือคัมภีร์ใบลานและสมุดข่อย ในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ = A Catalogue of palm-leaf texts in wat libraries in Chiangmai (Thailand). เชยี งใหม่ : คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ ๒๕๑๗.กฎหมายลา้ นนา = Lanna custom la. เชยี งใหม่ : คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ ๒๕๑๘.ต�ำนานมูลศาสนา ฉบบั วัดปา่ แดง. เชยี งใหม่ : คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่, ๒๕๑๙.พระเจดีย์ในล้านนา : งานวิเคราะห์และอนุรักษ์ศิลปะและสถาปัตยกรรมล้านนา. เชยี งใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๒๖.อตั ถคมั ภรี ์แหง่ พทุ ธโฆษาจารยเ์ จ้า : กฎหมายล้านนา; พระเทพวสิ ทุ ธิเวที. เชยี งใหม่ : ส.ทรพั ยก์ ารพิมพ,์ ๒๕๓๕.ประวัติครูบาศรีวิชัย นักบญุ แหง่ ลา้ นนา. เชียงใหม่ : มง่ิ เมอื งการพิมพ.์ ๒๕๔๒.โครงการปริวรรต พระคัมภีร์ล้านนา : ปริวรรตและวิเคราะห์เนื้อหา ก�ำเนิดปฏิทิน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา. ๒๕๔๔.โครงการปรวิ รรต พระคัมภรี ล์ ้านนา : ปริวรรตและวิเคราะห์เนอ้ื หา กำ� เนิดวนั เก้ากอง. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา. ๒๕๔๕.เนื้อหา แนวคิดเร่ืองจักรวาลอินเดีย ฮินดู และพุทธ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา. ๒๕๔๖.โครงการปรวิ รรตพระคมั ภรี ล์ า้ นนา : ปรวิ รรตและวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาเรอ่ื ง “อาจารยส์ อนลกู ” “อานิสงส์ไมส้ ะหลี” และ “คา่ วต�ำนานครบู าศรวี ิชยั ปฏสิ ังขรณพ์ ระธาตุชอ่ แฮ” เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา. ๒๕๔๙. 227

ชีวติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.สุเทพ สุนทรเภสัช



ชีวิตและงาน ดร.สุเทผพูช้ ว่ สยนุศาทสตรรเาภจสารชั ย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่บทนำ� “ขา้ พเจา้ รู้สกึ เปน็ หนีบ้ ญุ คณุ ต่อ สุเทพ สนุ ทรเภสัช สำ� หรบั งานศึกษาบุกเบิกของท่านเรื่องชาวจีนมุสลิมในภาคเหนือของ ประเทศไทย. งานศึกษาอันย่ิงใหญ่ของท่านทั้งมีส่วนช่วยอย่าง ส�ำคัญและสร้างแรงบันดาลใจให้ข้าพเจ้าสามารถเดินหน้าต่อไปได้ ในการศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองน้ี. ข้าพเจ้าคงจะเลือกท�ำหัวข้อ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาเอกเรอ่ื งอน่ื ไปแลว้ หากไมไ่ ดค้ น้ พบงานเขยี น ทส่ี ำ� คญั ย่ิงของท่านเล่มน้ี.” สุชาติ เศรษฐมาลนิ ี (๒๕๕๖ : ๒๒๐)๑ Islamic Identity in Chiang Mai City : A Historical and StructuralComparison of Two Communities คืองานของสุเทพ สุนทรเภสัช ท่ีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี นักมานุษยวิทยาลูกหลานของ วสนั ต์ ปัญญาแกว้ ผเู้ ขียน๑ แปลจากยอ่ หนา้ สดุ ทา้ ยในบทความภาษาอังกฤษของ สุชาติ เศรษฐมาลินี “Suthep Soonthornpa- such : The Pioneer of Chinese Muslim Studies in Thailand” ตีพมิ พ์ใน Islamic Identity in Chiang Mai City. Center for Ethnic Studies and Development (CESD). Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University. 2013 : 208-222. 231

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สุนทรเภสชั ชาวยนู นานมสุ ลมิ ในเชยี งใหมเ่ องกลา่ วถงึ (ขา้ งตน้ )๒ งานศกึ ษาทมี่ ชี อื่ ภาษาไทยวา่ อตั ลกั ษณ์ ศาสนาอิสลามในเมืองเชียงใหม่ : การศึกษาเปรียบเทียบประวัติความเป็นมาและ โครงสร้างสังคมของชุมชนผู้อพยพชาวปากีสถานและยูนนานมุสลิม๓ นี้คือวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอกที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สุนทรเภสัช หรือ “อาจารย์สุเทพ” เสนอต่อภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย-เบิร์คเล่ย์ (University of California-Berkeley) ในปี พ.ศ.๒๕๒๐๔ หรือราวๆ ๓๗ ปที ่แี ลว้ เปน็ ทีย่ อมรบั กันในแวดวง มานุษยวิทยาระดับนานาชาติว่า งานเขียนเรื่องนี้ได้กลายมาเป็นผลงานประวัติศาสตร์ ว่าด้วยการต้ังถิ่นฐานของชาวมุสลิมหลากหลายกลุ่มในแถบภาคเหนือของประเทศไทย งานของสุเทพ สุนทรเภสัช ช่วยสร้างความเข้าใจที่เรามีต่อกระบวนการปรับตัวของชุมชน ชาวมุสลมิ กระทง่ั ลกู หลานของชาวมุสลิมเหล่าน้กี ลืนกลายมาเป็นสว่ นหน่ึงของ “คนเมือง” ๒ สชุ าติ เศรษฐมาลนิ ี เกดิ และเตบิ โตมาจาก “ชมุ ชนบา้ นฮอ่ ” แตเ่ ลก็ เรยี นหนงั สอื ทโี่ รงเรยี นจติ ภกั ดี ซง่ึ เปน็ โรงเรยี น ประจำ� ของชาวมสุ ลมิ ในเมอื งเชยี งใหม่ จากนนั้ ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา ท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อนท่ีจะเดินทางไปศึกษาต่อกระท่ังจบปริญญาเอกทางมานุษยวิทยาจาก มหาวิทยาลัยฮาวายอิ ในปี ๒๕๕๓. ปจั จบุ นั ท�ำงานสอนหนงั สอื อยู่ทม่ี หาวิทยาลัยพายพั เชียงใหม่. ๓ ดูฉบับย่อ “อัตลักษณ์ศาสนาอิสลามในเมืองเชียงใหม่” ใน สุเทพ สุนทรเภสัช. ชาติพันธุ์สัมพันธ์. กรุงเทพฯ. ส�ำนักพิมพ์เมอื งโบราณ. ๒๕๔๘ : ๑๒๘-๑๕๙. ๔ Suthep Soonthornpasuch. Islamic Identity in Chiang Mai City : A Historical and Structural Comparison of Two Communities. Unpublished Thesis. University of California-Berkeley. 1977. 232

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารย์อาวุโส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชัและสงั คมเมอื งเชยี งใหม่ Raymond Scupin นักมานุษยวทิ ยาผู้เชีย่ วชาญดา้ นมสุ ลมิ ศึกษา๕ ตง้ั ขอ้ สงั เกตไว้วา่ “ในตอนเร่ิมแรกผู้อพยพ (ชาวมุสลิม) ได้แต่งงานกับคนไทยท้องถิ่น และปรับตัวเข้ากับกระแสของสังคมในภาคเหนือ อย่างไรก็ตาม ตามที่สุเทพ ได้บรรยายไว้ในการศกึ ษาของเขา หลงั จากทศวรรษของปี ค.ศ.๑๙๗๐ ... ทั้ง ชาวปากีสถานและยูนนานมุสลิมได้เริ่มมีการแสดงออกทางอัตลักษณ์ ด้านศาสนาและชาติพันธุ์ให้เห็นว่าวัฒนธรรมของพวกเขาแตกต่างจาก เพ่ือนบ้านชาวเหนือซ่ึงนับถือศาสนาพุทธ วิทยานิพนธ์ของสุเทพต้องการ อธิบายถึงพัฒนาการดังกล่าว ...” (สคปู ิน, ๒๕๔๘ : ๒๖๔.) คงไม่เกินความจรงิ ไปมากนกั หากจะกล่าววา่ Islamic Identity in Chiang Mai Cityคอื ผลงานการเขยี นทเ่ี สมอื นกระจกสอ่ งสะทอ้ นตวั ตนของสเุ ทพ สนุ ทรเภสชั นกั มานษุ ยวทิ ยาผู้วางรากฐานให้กับมุสลิมศึกษา (Muslim Studies) หรือ “มานุษยวิทยามุสลิม” ในแวดวงสังคมศาสตร์ไทย เมื่อครั้งที่ยังเป็นนักศึกษาปริญญาตรีของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผมไดม้ โี อกาสรำ�่ เรยี นกบั อาจารยส์ เุ ทพในวชิ าทที่ า่ นเปดิ สอนตอนนน้ั(ราวๆ ปี ๒๕๓๔) คือ “สังคมและวัฒนธรรมล้านนาในภาคเหนือของประเทศไทย” และ ในวิชาน้ีเองที่ผมได้ยินได้ฟังเรื่องเล่าปรัมปรานิทานเกี่ยวกับจามเทวีวงศ์ ฤาษีวาสุเทพ ก�ำเนิดเมอื งเชียงใหม่ และตำ� นานอ่นื ๆ อีกมากมาย จนรวมไปถงึ เรอื่ ง “การผนวกล้านนา เขา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของสยาม”๖ เปน็ ครง้ั แรก! แมจ้ ะเตบิ โตมาบนแผน่ ดนิ ทว่ี า่ กนั วา่ เปน็ ศนู ยก์ ลางของอารยธรรมล้านนา ทว่าผมแทบไม่เคยได้ยินได้ฟังใครที่ไหนที่จะเล่าเร่ืองของอดีตและต�ำนานอันเกา่ แกข่ องลา้ นนาได้ลึกซึ้งและจบั ใจ จนจดจ�ำไดต้ ราบจนทกุ วนั นี้ อาจารยส์ เุ ทพน่ีเองท่ีกล่าวได้ว่า น่าจะเป็นผู้ช่วยจุดประกายสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่หลากหลายรุ่นให้สนใจใคร่รู้เก่ียวกับวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมในภาคเหนือ นอกจากจะถือเปน็ นักมานษุ ยวิทยารุน่ บกุ เบกิ ของประเทศ (ท่านคือนักเรียนไทยในอังกฤษท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิตสาขามานุษยวิทยาเป็นคนที่สองคอื ในปี พ.ศ.๒๕๐๖)๗ อาจารยส์ เุ ทพถอื เปน็ แบบอยา่ งของนกั มานษุ ยวทิ ยา ผผู้ า่ นการฝกึ ฝน๕ Raymond Scupin เป็นนักมานุษยวิทยาอเมริกันส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจาก University of California-Santa Barbara ในปี ๒๕๒๑ สนใจศึกษาชมุ ชนชาวมุสลมิ แถบอยธุ ยาในภาคกลางของประเทศไทย๖ ดู สุเทพ สุนทรเภสชั “การเปล่ียนแปลงทางสังคมและการเมอื งในภาคเหนอื ของประเทศไทย”. มานษุ ยวิทยากับ ประวตั ศิ าสตร์. กรุงเทพฯ. สำ� นกั พิมพ์เมืองโบราณ. ๒๕๔๐ : ๑๗๕-๑๙๘.๗ พทั ยา สายหู คอื คนแรกทศ่ี ึกษาวชิ ามานุษยวทิ ยาในอังกฤษ 233

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวุโส ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั อบรมจากสถาบันการศึกษาระดับสูงจากอังกฤษและสหรัฐอเมริกา มุ่งม่ันท�ำงานวิจัย เชงิ มานษุ ยวทิ ยามาอยา่ งตอ่ เนอื่ งยาวนานกวา่ ๓ ทศวรรษ ชวี ติ และงานของทา่ นกลา่ วอยา่ ง ถึงที่สุด คือส่วนหนึ่งของพัฒนาการของศาสตร์มานุษยวิทยาที่เพิ่งจะเร่ิมสถาปนาข้ึนมาใน สถาบนั อุดมศกึ ษาของไทย ในชว่ งต้นพุทธศตวรรษท่ี ๒๕ ผมขอสารภาพวา่ บารมที างวชิ าการของสเุ ทพ สนุ ทรเภสชั นกั มานษุ ยวทิ ยารนุ่ บกุ เบกิ ของไทย ท�ำให้การพยายามจะถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตและงาน คุณูปการจากงานเขียน ของท่าน ผ่านบทความขนาดส้ันๆ ท่ีก�ำลังท�ำอยู่น้ีเป็นเรื่องยากย่ิง หากจะมีงานศึกษา ทส่ี ามารถรวบรวมสงั เคราะหผ์ ลงานการศกึ ษา ตลอดจนชวี ประวตั หิ ลากหลายตอนของทา่ น งานชิ้นน้ันสมควรจะต้องเป็นโครงการวิจัย หรืองานวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกว่าด้วย “สังคมวิทยาความรู้ของมานุษยวิทยา” หรือ “มานุษยวิทยาว่าด้วยนักมานุษยวิทยา” ในประเทศไทยเล่มเขอื่ งๆ สกั เล่มหนึง่ อนึง่ ก่อนหน้านไ้ี ด้มงี านเขียนเก่ียวกับชีวิตและงานของสเุ ทพ สุนทรเภสชั ในฐานะ นกั มานษุ ยวิทยาร่นุ บุกเบิกของประเทศไทย เผยแพร่ออกมาแลว้ อย่างน้อย ๓ เรอื่ งคือ ๑. “ค�ำน�ำ โดยรองศาสตราจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม” ใน มานุษยวิทยากับ ประวตั ศิ าสตร์ หนงั สอื รวมบทความของอาจารยส์ เุ ทพ ทจี่ ดั พมิ พโ์ ดยสำ� นกั พมิ พเ์ มอื งโบราณ ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ๒. บทความสังคมวิทยาความรู้เก่ียวกับคุณูปการของสุเทพ สุนทรเภสัช ท่ีมีต่อ พฒั นาการของมานษุ ยวทิ ยาในประเทศไทยของ Raymond Scupin “The Emergence of Anthropology in Thailand : The Role of Suthep Soonthornpasuch”๘ ซ่ึงตีพิมพ์ใน Crossroads วารสารวิชาการดา้ นเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตศ้ ึกษา, ปที ่ี ๑๐ ฉบับที่ ๑ ๓. บทวจิ ารณง์ านเขยี นดา้ นมสุ ลมิ ศกึ ษาของอาจารยส์ เุ ทพ โดย สชุ าติ เศรษฐมาลนิ ี “Suthep Soonthornpasuch : The Pioneer of Chinese Muslim Studies in Thailand” ตพี มิ พใ์ นหนงั สือ Islamic Identity in Chiang Mai City (2013) ท่ศี นู ยช์ าตพิ ันธ์ศุ ึกษาและ การพฒั นา จดั พิมพ์ขน้ึ จากงานวิทยานิพนธ์ของทา่ น๙ ๘ แปลเป็นภาษาไทยในชื่อเรื่อง “พัฒนาการของมานุษยวิทยาในประเทศไทย : บทบาทของสุเทพ สุนทรเภสัช” ตพี มิ พ์รวมอยใู่ นหนงั สือ ชาตพิ ันธุ์สมั พนั ธ์. กรุงเทพฯ. ส�ำนกั พิมพ์เมอื งโบราณ. ๒๕๔๘ : ๒๕๑-๒๗๒. ๙ Suthep Soonthornpasuch. Islamic Identity in Chiang Mai City : A Historical and Structural Composition of Two Communities. Chiang Mai : Center for Ethnic Studies and Development (CESD). Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University. 2013. 234

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั บทความที่ท่านก�ำลังอ่านอยู่นี้ จึงเป็นงานเขียนเก่ียวกับชีวิตและงานของสุเทพ สุนทรเภสัช ในฐานะอาจารย์อาวุโสของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เสยี มากกวา่ และหากเปน็ งานวจิ ยั บทความนก้ี ค็ งเปน็ แคเ่ พยี ง “โครงร่าง” เทา่ นน้ั ๑๐ ชีวิตและงานของสุเทพ สุนทรเภสัช คือส่วนหน่ึงของประวัติศาสตร์ความคิดว่าด้วยนักมานุษยวิทยาไทย และถือเป็นส่วนส�ำคัญย่ิงของพัฒนาการของศาสตร์มานุษยวิทยา ในประเทศไทยชวี ติ นกั เรียนมานุษยวทิ ยา อาจารย์สุเทพ เกิดเมื่อวันที่ ๓๐พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๗ ทีเ่ ชียงใหม่ เม่ืออายุได้ ๕ ขวบ บดิ า คือ พนั โทสุวรรณ สุนทรเภสชัซึ่งเป็นนายแพทย์ทหารบก รับราชการในจังหวัดเชียงใหม่ (ขณะนั้น) ได้ย้ายไปประจ�ำกรมทหารท่ีจังหวัดลพบุรี ท่านจึงได้ย้ายจากเชียงใหม่ไปเข้าเรียนชั้นประถมและมัธยมท่ีลพบรุ ี กระท่ังเมื่อจบช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ก็ตอ้ งยา้ ยตามครอบครวั ซงึ่ มพี อ่ เปน็ ขา้ ราชการนายแพทยท์ หารบกเขา้ กรงุ เทพฯ โดยอาจารย์สุเทพได้เข้าศึกษาต่อช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ที่โรงเรียนอ�ำนวยศิลป์ พระนคร ก่อนท่ีจะ เข้าเรียนต่อท่ีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และจบการศกึ ษาในปี พ.ศ.๒๔๙๗ จากเตรยี มอดุ มศกึ ษา ทา่ นสอบผา่ นการคดั เลอื กเขา้ ไปศกึ ษาในคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเลือกเรียนใน “แผนกวิชาการทูตและ การตา่ งประเทศ” ขณะเดยี วกนั กส็ อบผา่ นการคดั เลอื กเขา้ เปน็ นกั ศกึ ษาสาขาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ ทมี่ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรด์ ว้ ย ดงั นนั้ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑ เมอื่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาอาจารย์สุเทพจึงได้ปริญญา ๒ ใบ เป็นท้ัง รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และสงั คมสงเคราะห์ศาสตรบณั ฑิต จากมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์๑๐ ขอ้ มลู และเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั อาจารยส์ เุ ทพในบทความนี้ สว่ นใหญม่ าจากการสมั ภาษณอ์ าจารย์ (ทบี่ า้ นของทา่ น) และประสบการณ์ส่วนตัวท่ีผมเองมีความสัมพันธ์ต่อท่านในฐานะลูกศิษย์ และอาจารย์รุ่นหลังท่ีเข้ามาท�ำงาน ในภาควิชาทท่ี ่านเคยสอน 235

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั หลังส�ำเร็จการศึกษา ท่านตัดสินใจเข้ารับราชการเป็นอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อาจารยส์ เุ ทพเลา่ วา่ อนั ทจี่ รงิ จะสมคั รเขา้ ทำ� งานดา้ นการทตู เพราะ อยากเดนิ ทางไปตา่ งประเทศ ทวา่ หลงั ไดร้ บั การทาบทามจากอาจารยเ์ กษม อทุ ยานนิ คณบดี คณะรัฐศาสตร์ ผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญทางด้านสังคมวิทยา ว่าเป็นอาจารย์ก็มีโอกาส ไปศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศเชน่ กนั ทา่ นจงึ ไดต้ ดั สนิ ใจเขา้ รบั ราชการเปน็ อาจารยใ์ นปี พ.ศ.๒๕๐๑ กระท่ังหลังจากสอนหนงั สืออยไู่ ดร้ าวๆ ๒ ปี ท่านจงึ ได้รบั ทุนจากมลู นิธิเอเชีย-ประเทศไทย เดนิ ทางไปศึกษาตอ่ ในสาขามานุษยวทิ ยา ตามที่คณบดีรัฐศาสตร์ เกษม อุทยานิน วางแผน ไว้ว่าจะให้กลับมาช่วยพัฒนาการเรียนการสอนทางด้านน้ีของประเทศไทย และนั่นคือ จุดเรม่ิ ตน้ ของชีวิตนักเรยี นมานษุ ยวิทยาของสเุ ทพ สุนทรเภสัช “ผมไม่ได้เตรียมการมาก่อน ไม่ได้เตรียมกายเตรียมใจอะไรที่จะเป็น อาจารย์ ทา่ นคณบดกี ม็ าชวน ... ชวู งศ์ ฉายะบตุ ร เปน็ รนุ่ เดยี วกบั ผม เขาสอบ ไดท้ ีห่ นึง่ ผมมคี ะแนนมาเปน็ ท่ีสอง ทีนค้ี ณบดที า่ นกเ็ ลยชวนว่า สเุ ทพ มาเปน็ อาจารยก์ นั ไหม ผมกบ็ อกวา่ ผมไมไ่ ดค้ ดิ จะเปน็ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั แตจ่ ะไป เรียนเมอื งนอก จะไปท�ำงานกระทรวงตา่ งประเทศ แต่ผมกร็ ับปากท่าน ... คอื ตอนนน้ั (...) เปน็ ยคุ ทอ่ี เมรกิ า ... พยายามทจี่ ะสนบั สนนุ ประเทศไทย ลาว เขมร เวียดนาม เริ่มมีการแทรกแซงของฝ่ายคอมมิวนิสต์ ทางรัฐบาล อเมรกิ นั ดว้ ยความช่วยเหลือขององค์กรตา่ งๆ กใ็ หท้ ุนสนับสนนุ เรอื่ งการวจิ ัย ... ท่สี �ำคัญคือขณะนั้นมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์และท่รี ัฐศาสตร์ จฬุ าฯ ก็เร่ิม ทจ่ี ะพัฒนาวิชาการความรเู้ กี่ยวกบั สงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ ช่วงน้ันมีโครงการวิจัยมหาวิทยาลัยคอร์แนล มาต้ังส�ำนักงานอยู่ใน ประเทศไทย มี Williams Skinner เป็นตัวต้งั ตวั ต.ี . แม้ Skinner เขาจะศึกษา สังคมจนี ในประเทศไทย [...] Skinner ได้จดั ประชุมรวบรวม องคค์ วามร้แู ละ ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชส้ งั คมศาสตรใ์ นประเทศไทยกพ็ มิ พอ์ อกมาเปน็ หนังสอื ซ่ึงเรยี กวา่ “สังคมศาสตรใ์ นประเทศไทย” [...] เจ้าคณุ อนมุ านราชธน ก็มีบทความเร่ืองความรู้และความสามารถในการใช้มานุษยวิทยาใน ประเทศไทย (ในหนังสือเล่มนี้) อันนี้ผมถือว่าเป็นการเร่ิมต้น คณบดีผมเอง ก็สอนสังคมวิทยา ผมมีความเชื่อว่าคณบดีผมและเจ้าคุณอนุมานราชธน ที่เป็นตัวตั้งตัวตี (ที่จะสร้างสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาใน มหาวิทยาลยั ไทย) ท่านกม็ าสอนเก่ยี วกบั ขนบธรรมเนียม ประเพณี เกย่ี วกบั มานุษยวิทยาในประเทศไทยให้พวกรัฐศาสตร์ จุฬาฯ [...] มูลนิธิเอเชียเขามี ขอ้ ก�ำหนดให้ทุน จะใหไ้ ปเรยี นตอ่ ท่ีสหรฐั อเมริกา ทางคณบดกี เ็ ลยตอ่ รองวา่ 236

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวิตและงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สุนทรเภสัช ขอทุนแต่จะส่ง สุเทพ สุนทรเภสชั กบั ชวู งศ์ ฉายะบุตร ไปเรียนในยุโรปไดไ้ หม นกั เรยี นทนุ มลู นธิ เิ อเชยี ทไ่ี ปองั กฤษรนุ่ แรกจงึ มผี ม เรยี นมานษุ ยวทิ ยา อาจารย์ ชูวงศ์ เรยี นการปกครองทอ้ งถนิ่ ...” อาจารย์สุเทพ เร่ิมต้นชีวิตนักเรียนมานุษยวิทยาของท่าน ภายใต้บรรยากาศท่ีฝรั่ง เรยี กวา่ “สงครามเยน็ ” (Cold War) ในยุคสมัยทีร่ ฐั บาลอเมรกิ นั ได้เขา้ มาใช้ประเทศไทยเป็นฐานทัพและดำ� เนินนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปฏิบัติการเชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องรฐั บาลอเมรกิ นั ดา้ นหนงึ่ ดำ� เนนิ การผา่ น “โครงการพฒั นา” โดยเฉพาะการสร้างถนน หนทาง “หมบู่ ้านพัฒนา” ตลอดจนการสนบั สนุนให้ทุนวจิ ัยและทนุ ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกาแก่บรรดานักคิด นักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัยของประเทศไทย ทว่า จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุเทพกลับออกเดินทางไกลเพ่ือไปศึกษาต่อ ที่อังกฤษ ที่มหาวิทยาลัยลอนดอน ซ่ึงมีปรัชญาและระบบการบริหารจัดการแยกเป็น “สำ� นกั วชิ า” หรือวิทยาเขตหลายแห่ง ท่สี ำ� นกั วชิ า School of Oriental and African Studies(SOAS) ท่านเล่าว่า ระหวา่ งที่เป็นนักศึกษาใหมใ่ นอังกฤษต้องไปเรยี นวิชาตา่ งๆ ที่ LondonSchool of Economics (เพราะที่ SOAS เปน็ ส�ำนักวิจยั ไม่มกี ระบวนวิชาเปิดสอน) จงึ ไดม้ ีโอกาสรำ�่ เรียนกับนักมานุษยวทิ ยาที่โดง่ ดังระดบั โลกหลายทา่ น อาทิ Edmund R. Leach,Michael Mendelson, หรือแม้แต่ นักมานษุ ยวิทยาอเมริกัน Michel Moerman ก็ไดพ้ บปะกันที่นั่นเป็นครั้งแรก Moerman นักมานุษยวิทยาอเมริกันซ่ึงเดินทางเข้ามาศึกษาวิจัยเร่ือง “การทำ� นาของชาวลอ้ื ทเ่ี ชยี งคำ� ”๑๑ ผเู้ ขยี นผลงานสรา้ งววิ าทะเกย่ี วกบั แนวคดิ เรอื่ งชาตพิ นั ธ์ุสัมพันธ์ (Ethnicity) อันโด่งดัง เร่ือง “Ethnic Identification in a Complex Civilization : Who Are the Lue?”๑๒ “เน่ืองจากผมไม่ได้เรียนมานุษยวิทยามาก่อน ก่อนที่จะเข้าหลักสูตร ปริญญาโทมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยก�ำหนดให้ต้องสอบเข้า เรียกว่า qualifying exam คือสอบเทียบความรู้ ทนี ้ี SOAS ไม่มีกระบวนวิชาทเ่ี ปิดสอน คือคอร์สใหญ่จะอยู่ท่ี London School of Economics ผมก็ไปเรียนวิชา ระดับปริญญาตรีท่ี LSE ตอนน้ันผมก็เรียน Southeast Asia, Political Anthropology, Economics, Anthropology of Religion […] ใช้เวลาปีหน่ึง ๑๑ ดู Michel Moerman. Agricultural Change and Peasant Choice in a Thai village. Berkeley. University of California Press. 1968.๑๒ ตีพิมพค์ รั้งแรกในวารสาร American Anthropologist. Volume 67. Issue 5, pages 1215-1230. October 1965. 237

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช จนสอบผา่ น “เกยี รตินิยมอันดับสองระดับบน” ปที ี่ ๒ ผมกเ็ รียนปริญญาโท ไดเ้ รยี นกบั หวั หนา้ ภาควชิ ามานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม และ Michael Mendelson (นักมานุษยวิทยาผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับพุทธศาสนาในพม่า) แกก็มาคุม วทิ ยานพิ นธข์ องผม ชว่ งนัน้ Michel Moerman เป็นนักศึกษาจากอเมรกิ ากม็ า ท�ำวิจัยที่ลอนดอน ผ่านโครงการ London-Cornell Project เป็นโครงการ ความร่วมมือระหว่างกัน มีช้ันเรียน มีนักศึกษาปริญญาเอก นักวิชาการ นักวิจัย ไปมาหาสู่กัน วันหนึ่ง Michel Moerman ก็มาแวะที่ SOAS พูดภาษาไทยส�ำเนียง “คนเมือง” มาพบ Michael Mendelson กับ Stuart Simmons ซ่ึงเป็นหัวหน้าภาควิชาภาษาไทย (สุลักษณ์ ศิวรักษ์ เคยไปช่วย เขาสอนที่แผนกวิชาภาษาไทย ที่นี)่ ตอนนนั้ Michel Moerman ก�ำลังทำ� วิจยั เรื่องการท�ำนาที่เชียงค�ำของชาวไทลื้อ เขาเสนอว่า คนล้ือพยายามรักษา ความเป็นลื้อโดยการไม่เป็นชาวนาไทย เพราะว่าถ้าเป็นชาวนาไทยก็จะถูก จัดกลุ่มให้เป็นไพร่ ... ชาวลื้อเก่งในเรื่องการปลูกข้าว เพราะฉะน้ันข้าวของ ชาวลื้อท่ีอาศัยน�้ำฝนเพียงไม่กี่เดือนก็จะได้ผลเต็มเม็ด ในขณะท่ีชาวนาไทย บนพ้ืนราบก็นาล่มอะไรบ้าง เพราะสมัยก่อนชลประทานไม่เจริญ ชาวล้ือ สามารถผลติ ขา้ วสว่ นเกนิ แลว้ บรรทกุ เกวยี นมาขายทว่ั ภาคเหนอื ไปถงึ อตุ รดติ ถ์ สโุ ขทัย เอาปลาแหง้ กลบั มาขาย ประเด็นของ Michel Moerman กค็ ือว่า การรกั ษาเอกลกั ษณข์ องชาวล้อื พบว่าระบบเครือญาติความสัมพันธ์ ความร่วมมือในการท�ำนา การใช้ควาย (เป็นกระบวนการทางสงั คม) ทสี่ ามารถรกั ษาความเปน็ ล้อื ไว้ได้ โดยการรกั ษา ระบบการท�ำนาไว้ เพราะวา่ ตอนหลังพบว่า เม่ือใหน้ ายทนุ เข้ามารบั จ้างไถนา ใช้แทรกเตอร์ คนเริ่มจะไม่ใช้ควาย ความรว่ มมือก็จางหาย ความเปน็ ลือ้ กจ็ ะ หายไปดว้ ย อนั นคี้ อื ประเดน็ ส�ำคญั Michel Moerman กเ็ ลยประทบั ใจวา่ ระบบ การปลูกข้าวมนั มีแง่มมุ ทน่ี ่าสนใจมากๆ ทนี ผ้ี มกำ� ลงั หาหวั ขอ้ ในการเขยี นวทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโทอยู่ ... Moerman กับ Stuart Simmons ก็เลยบอกว่า สุเทพ ท�ำไมคุณไม่ท�ำเรื่องการปลูกข้าว ในประเทศไทย ก็ไม่ได้ให้รายละเอียดกับผม ก็ไม่แน่ใจว่าปลูกข้าวมันจะมี ประเด็นอะไร ทีนี้ในช่วงน้ันผมเรียน ต้องอ่านหนังสือเกี่ยวกับ kinship คือ พูดงา่ ยๆ ว่า ระบบเครอื ญาติ เปน็ เร่ืองท่ที ุกคนต้องพดู ถึง ... มนั เปน็ หลักการ พื้นฐานในการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ต้องเร่ิมจากระบบเครือญาติ ถ้าคณุ หาโครงสรา้ งอันนี้ได้ คณุ กจ็ ะเข้าใจสังคม เศรษฐกิจ การเมือง 238

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ิตและงาน ของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช ไมม่ ากก็นอ้ ย Michel Moerman เปน็ ผู้ทีม่ สี ว่ นตอ่ การตดั สนิ ใจท่ีจะเขยี นวิทยานิพนธ์ปริญญาโท เรื่อง The Thai Family ซึง่ ต่อมาอาจารย์สเุ ทพไดเ้ สนอต่อ School of Orientaland African Studies มหาวิทยาลัยลอนดอน จนส�ำเร็จการศึกษา ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๖ “ตอนน้ันไม่มีความรู้สึกจะต่อปริญญาเอกอะไร ก็รีบกลับมาเมืองไทย มาสอนหนงั สอื อยใู่ นแผนกวชิ าสงั คม (คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั )”จากนักเรียนองั กฤษสูช่ วี ิตนักมานษุ ยวทิ ยาอาชีพ หลังจากเรียนจบเดินทางกลับเมืองไทยมีดีกรีเป็นนักมานุษยวิทยาจากเกาะอังกฤษซ่ึงเรียกว่าหาได้ยากยิ่ง (ในตอนน้ัน) ท่านได้มีโอกาสเข้าร่วมทำ� งานในโครงการวิจัยสำ� รวจชาวเขาของ Lauriston Sharp ในฐานะนักวิจัย สุเทพ สุนทรเภสัช ได้รับมอบหมายให ้ด�ำเนนิ การส�ำรวจหมบู่ า้ นชาวเขาในภาคเหนอื “ทนั ทีที่กลบั มาจากองั กฤษ อาจารยช์ าร์ป (Lauriston Sharp) อาจารย์ แฮงค์ (Lucien Hanks) นักมานุษยวิทยาอเมริกันท่ีเคยท�ำงานวิจัยใน ประเทศไทยผ่านโครงการศึกษาบางชัน๑๓ ก็กลับเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง มาศึกษา เรื่อง hill tribe ก็ต้องการนักวิจัยภาคสนามที่เป็นนักมานุษยวิทยา ตอนน้ัน อาจารย์พัทยา สายหู เขาไปช่วยกรมประชาสงเคราะห์ เป็นการท�ำงานวิจัย ส�ำรวจสภาพทางเศรษฐกจิ สังคมของชาวเขา ... โครงการวิจยั คอรแ์ นล ต้องการนักวจิ ัย ตามผมไปสอบ ผมไปสัมภาษณ์ ทางคอรแ์ นลกเ็ กดิ พอใจผมขน้ึ มา ไดง้ านสำ� รวจชาวเขา ทเ่ี ชยี งดาว มเู ซอ ลซี อ แม้ว ราวๆ ๖ เดือน เสร็จแล้วก็ย้ายไปที่แม่จัน (เชียงราย) ศึกษาอาข่า ... ตอนหลงั พวกแฮงค์ (Jane and Lucien Hanks) กศ็ กึ ษาตามล่มุ แม่น�ำ้ กก ... หนา้ ทผ่ี มคอื ลงหมบู่ า้ นเชา้ ถงึ เยน็ กลบั คา้ งคนื มาสมั ภาษณแ์ บบชว่ั คราว มาจากไหน ช่ืออะไร คือตอนนั้นเราไม่รู้ แต่ตอนหลังมารู้ว่า ภารกิจส�ำคัญ ทีเ่ ขาได้ทนุ มาคอื การส�ำรวจท�ำแผนท่ีตา่ งๆ ตอนนัน้ อเมรกิ าคิดว่าภาคเหนือ ของประเทศไทย (จะกลายเปน็ คอมมิวนิสต์) ... ทีนีผ้ มกเ็ บ่ือขึ้นมา ผมก็บอก ว่าผมอยากจะศึกษา คือผมจบมายังไม่ได้ท�ำงานวิจัยภาคสนามอะไรเลย ๑๓ สนใจเพม่ิ เตมิ ดู Change and Persistence in Thai Society : Essays in Honor of Lauriston Sharp. Edited by William Skinner and A. Thomas Kirsch. Ithaca. New York. Cornell University Press. 1975. 239

๕๐ชวี ติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สนุ ทรเภสชั อยากจะเลือกหม่บู า้ นสกั หมบู่ ้านหนง่ึ แล้วก็ศกึ ษาฝงั ตวั คือระหวา่ งทแ่ี ฮงค์อยู่ ท่ีแม่จัน ผมก็ไปอยู่ที่หมู่บ้านลีซอ ท่ีห้วยมะหินฝน อยู่เลยแม่จันไป เด๋ียวน ้ี กเ็ ปน็ นำ้� พุ รสี อรท์ สนามกอลฟ์ ไปละ่ ผมไปอยกู่ บั หมบู่ า้ นลซี อ ๒ เดอื น เขา้ ไป ศกึ ษา” หลังจากท่ีโครงการส�ำรวจชาวเขาน้ีเสร็จส้ิน อาจารย์สุเทพจึงรายงานตัวกลับเข้ามา ทำ� งานสอนวชิ ามานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม ในแผนกวชิ าสงั คมของคณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ระหวา่ งนเี้ องทา่ นไดเ้ ขา้ ไปชว่ ยงานรฐั บาลไทยในโครงการพฒั นาทม่ี เี ปา้ หมาย เชิงยุทธศาสตร์ท่ีจะปรับปรุงทั้งสภาพความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวบ้าน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้ด�ำเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบผู้น�ำตามจารีต ประเพณีในหมู่บ้านของจังหวัดอุบลราชธานี และสภาพเศรษฐกิจและสังคมของหมู่บ้าน ในเขตอ�ำเภอวานรนวิ าส จงั หวดั สกลนคร ในฐานะอาจารยม์ านษุ ยวทิ ยา สงั กดั แผนกวชิ าสงั คม อาจารยส์ เุ ทพทำ� งานวจิ ยั ใหก้ บั กรมพฒั นาชมุ ชน และไดผ้ ลติ ผลงานอนั สำ� คญั ยงิ่ เกย่ี วกบั สงั คมและวฒั นธรรมของชาวบา้ น ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ออกมาเลม่ หน่งึ ประมาณปีหนึ่ง (เสร็จส้ินโครงการ) อาจารย์แฮงค์ อาจารย์ชาร์ป ก็กลับไปอเมริกา ผมก็ต้องกลับไปรายงานตัวท่ีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ทีนี้ กรมพัฒนาชุมชน เพ่ิงตั้งขึ้นในกระทรวงมหาดไทย ก�ำลังจะเปิด “หมู่บ้าน พฒั นา” หมบู่ า้ นตวั อยา่ งทอี่ สี าน ทจ่ี งั หวดั อบุ ลราชธานี ทนี กี้ อ่ นทเี่ ขาจะเปดิ ตวั กจ็ า้ งผมไปทำ� การสำ� รวจ ผมกน็ งั่ รถของกรมพฒั นาชมุ ชน ไปตะลอนๆ ตระเวน ดหู มบู่ า้ น ... ในทสี่ ดุ ผมกไ็ ปเจอหมบู่ า้ นที่ (ในหนงั สอื สงั คมวทิ ยาของหมบู่ า้ น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) เรียกว่า “บ้านนาอัสดร”๑๔ กรมพัฒนาชุมชน ให้ผมศึกษา ลักษณะผู้น�ำตามจารีตประเพณี ... ผมเป็นหัวหน้าโครงการ ใชผ้ ู้ชว่ ยคนหนง่ึ ช่อื วสิ ุทธิ์ (ตอนหลงั เปน็ ผวู้ ่าราชการจังหวัดหนง่ึ ในภาคอสี าน) และนกั ศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ ประมาณ ๕-๖ คน เลือกหมบู่ ้านเสร็จ ก็เข้าไป อยูใ่ นหมูบ่ ้านช่วงภาคเรยี นฤดรู อ้ น ๑๔ คือบา้ นนาหมอม้า ปัจจุบนั อยู่ในจังหวดั มหาสารคาม 240

๕๐ ศ าม สสชังต.ครปม์ชี วี ติ และงาน ของคณาจารยอ์ าวุโส ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช ที่ผมเลือกหมู่บ้านน้ีก็คือว่า เขาบอกมีศาลปู่ตา ศักด์ิสิทธ์ิมาก ... มีพระในหมู่บ้านสร้างฝาย สร้างอะไรข้ึนมามีคนไปทุบ หาว่าท่านเป็นปอบ ใสผ่ า้ เหลอื งเดนิ ในทงุ่ นา คอื ฟงั ดแู ลว้ หมบู่ า้ นนน้ั มคี วามเชอื่ ดง้ั เดมิ แลว้ กม็ ผี นู้ �ำ (คอื ผใู้ หญบ่ ้าน) เปน็ คนหัวสมัยใหม่ เลือกแล้วกไ็ ดท้ ำ� ไดศ้ กึ ษาอย่างละเอยี ด ผมก็เจาะลึกเร่ืองผีปู่ตา คือตอนนั้นมันมีความรู้สึกว่า เราจะมาพูดเร่ืองเป็น พทุ ธไมเ่ ปน็ พุทธ ที่เราพูดกนั วา่ supernatural มันไม่ใชพ่ ุทธ แต่ผมก็ใช้มมุ มอง แบบมานษุ ยวทิ ยาวา่ เราจะตอ้ งศกึ ษาระบบศาสนาใหเ้ ปน็ ระบบเดยี วกนั เปน็ holistic approach ผมก็เลยมอง แม้แต่พระเองท่ีอยู่ในพุทธก็ไปขอหวยกับ ผปี ตู่ า ศาลผีปตู่ า ก็มีอิทธิพลต่อความเชือ่ เศรษฐกจิ ของหม่บู ้าน ...”๑๕ สังคมวิทยาของหมู่บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่อาจารย์สุเทพเขียน แปล และท�ำหน้าท่ีบรรณาธิการ รวบรวมบทความจากงานวิจัยและผลงานส�ำคัญของ นักมานุษยวิทยาไทย (คือพัทยา สายหู และอาจารย์สุเทพเอง) และนักมานุษยวิทยา นกั วิชาการต่างประเทศ อาทิ Williams J. Klausner, Thomas E. Lux, Charles F. Keyesและ Millard F. Long ท่ีเวลาน้ันต่างเข้ามาศึกษาวิจัยในภาคอีสาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ระบบสงั คม ความเช่ือและพุทธศาสนาของชาวบ้าน ครอบครัว ลกั ษณะทางชาตพิ ันธ์ุ และพัฒนาการทางเศรษฐกิจ น่าจะเป็นหนังสือวิชาการเล่มส�ำคัญที่สุดเล่มหนึ่ง (แม้กระทั่งปัจจุบัน) ท่ีให้ภาพเชิงพรรณนาและการพยายามท�ำความเข้าใจระบบสังคมและชีวิต ทางวฒั นธรรมของชาวบา้ นในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ของไทย๑๖ “ตอนนนั้ หมบู่ า้ นในอสี านจะเรม่ิ เปน็ พนื้ ทท่ี มี่ นี กั วชิ าการไปศกึ ษา มเี รอ่ื ง ผู้ก่อการร้าย มีการแทรกซึม (ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย) อะไร ต่างๆ สมัยจิตร ภูมิศักดิ์ ... มีงานศึกษาของ Charles F. Keyes เกี่ยวกับ Regionalism งานศกึ ษาของ A. Thomas Kirsch เรอ่ื งระบบความเชื่อศาสนา ของชาวผู้ไท๑๗ และงานศึกษาของ Robert B. Textor เร่ืองคนปั่นสามล้อ๑๕ ดูเพิม่ เติมใน สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช “ความเชอ่ื เร่อื ง ผปี ูต่ า ในหม่บู า้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ” ใน สงั คมวทิ ยา ของหมู่บ้านภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . กรงุ เทพฯ. แผนกวิชาสงั คม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ๒๕๑๑.๑๖ ดเู พมิ่ เตมิ ใน สงั คมวทิ ยาของหมบู่ า้ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (๒๕๑๑) และดู พฒั นา กติ ตอิ าษา. สวู่ ถิ อี สิ านใหม.่ กรงุ เทพฯ. วภิ าษา. ๒๕๕๗. ซึ่งตีพิมพ์หลงั จาก สงั คมวิทยาของหมบู่ ้านฯ (ท่สี ุเทพ สุนทรเภสัช บรรณาธิการ) เผยแพรเ่ ปน็ ครง้ั แรกกวา่ ๔๕ ปี เพือ่ เปรยี บเทียบดว้ ย.๑๗ “Phu Thai Religious Syncretism : A Case Study of Thai Religion and Society”. Unpublished Ph.D. Thesis. Harvard University. 1967. 241

๕๐ชวี ิตและงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารย์อาวโุ ส ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สุนทรเภสชั ชาวอสี านในกรงุ เทพฯ๑๘18... ความคดิ ของผมกค็ อื วา่ การทเี่ ราจะศกึ ษาสงั คมใด สงั คมหนง่ึ ใหเ้ ขา้ ใจโดยตลอด การศกึ ษาอสี านใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งแทจ้ รงิ จะตอ้ งเปน็ holistic จะต้องศึกษาการเมือง ศาสนา สังคม วัฒนธรรม ทีนี้ตอนนั้น ยังไม่มีใครศึกษาอย่างจริงจัง ผมก็เลยพยายามรวบรวมจากงานศึกษาท่ีมีอยู่ ตอนน้นั งานวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของ Charles F.Keyes๑๙ มีอิทธิพล กับผมมาก คือเขาศึกษา รู้เรื่องการเมืองดีมาก พูดถึงว่าใครต่ออะไรต่างๆ หนกั ไปทางการเมอื งมากเลย เพราะฉะนน้ั ผมกไ็ ดค้ วามคดิ จากพวกนแ้ี หละวา่ การทเี่ ราจะศกึ ษาอสี าน เรากค็ วรจะใชม้ มุ มองการศกึ ษาทางมานษุ ยวทิ ยาแบบ holistic ดูการเมือง เศรษฐกิจ สังคม จะเห็นว่าในหนังสือจะมีบทความของ Millard F. Long เกีย่ วกับเศรษฐกจิ พืน้ ฐาน๒๐ แลว้ กม็ นี กั ภูมิศาสตร์ทเี่ ขียนถึง ปริมาณฝนตก ความแห้งแล้ง สภาพทางภูมิศาสตร์ต่างๆ แล้วก็มีความเช่ือ ในทางเศรษฐกิจ ศาสนา แล้วก็มีการเมือง ความเป็นอีสาน แต่ (ตอนน้ัน) ไม่มีคนศึกษาศาสนาในระดับหมู่บ้าน พอดีมีบทความจากงานวิจัยของผม เร่ืองผีปู่ตา” นอกจากเรื่อง ผีปู่ตา ศาสนาและความเช่ือในภาคอิสาน สุเทพ สนใจ วถิ ชี วี ติ ของชาวมง้ โดยเฉพาะมง้ ขาว ทา่ นอา่ นรายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง การเกษตร ของม้งขาว (ต้ังแต่ช่วงท่ีท�ำวิจัยในโครงการของ Lauriston Sharp) ระหว่าง ท่ีกลับมาสอนหนังสือท่ีจุฬาฯ ท่านยังพยายามหาทางที่จะศึกษาวิจัยชาวม้ง ขาวต่อ และหวังว่าหลังจากท�ำงานวิจัยเรื่องชาวม้งเสร็จจะหาทางศึกษาต่อ ในระดับปรญิ ญาเอก “ผมเดินไปหาอาจารย์ไกรศรี นิมมานเหมินท์ (ทา่ นแนะนำ� ) บอกไปทาง เชียงราย ขึ้นไปบนภูต่างๆ ผมก็เดินเข้าไปเพื่อจะไปหาหมู่บ้าน เสร็จแล้ว ในทส่ี ดุ จะท�ำมหี มบู่ า้ นมง้ ขาวอยแู่ ถวๆ เลยดอยปยุ ไป ผมกต็ ดิ ตอ่ กบั ศนู ยว์ จิ ยั ชาวเขา (Peter Hinton ก็หาทนุ ) ในท่ีสดุ ผมก็ไดท้ นุ SEATO ให้ท�ำวิจัย แต่ว่า มีเง่ือนไขว่าระหว่างที่รับทุนต้องท�ำงานร่วมกับศูนย์วิจัยชาวเขา (ซึ่งตอนน้ัน ๑๘ From Peasant to Pedicab Driver. New Heaven. Yale University. Southeast Asia Studies. 1961. ๑๙ “Peasant and Nation : The Integration of a Thai Lao Village into the Thai National System”. Unpublished Ph.D. Thesis, Cornell University. Ithaca. New York. 1966. ๒๐ ดู “พฒั นาการทางเศรษฐกจิ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ” ใน สงั คมวทิ ยาของหมบู่ า้ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . สุเทพ สุนทรเภสัช (บรรณาธกิ าร). กรุงเทพฯ. แผนกวชิ าสงั คม คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ๒๕๑๑ 242

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี วี ติ และงานของคณาจารยอ์ าวุโส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สุนทรเภสัชมีนักมานุษยวิทยาจากออสเตรเลีย อาทิ Anthony Walker, Peter Hinton มาประจำ� อย)ู่ ผมกเ็ รยี นภาษา เตรยี มพรอ้ มเรยี บรอ้ ย กข็ ออนมุ ตั คิ ณบดี คณบดีเขาก็ไม่อนมุ ัติเพราะคิดว่าการที่ไปนงั่ ท�ำงานรว่ มกบั ศนู ย์วิจยั ชาวเขา คล้ายๆ กับว่าในท่ีสุดก็จะขโมยตัวผมไป ท่านกไ็ มใ่ หไ้ ป (แต่) ให้ผมไปท�ำวิจยั ทีห่ มบู่ า้ นเขมร ทจ่ี งั หวดั สรุ นิ ทร์ พอผมรอู้ ยา่ งนผี้ มกผ็ ดิ หวงั มากๆ ผมกเ็ ลยลาออก เพราะวา่ มันขดั กบั ความรูส้ ึกผม แล้วพอดีผมมาอยูจ่ ุฬาฯ ครบเวลาทใ่ี ช้ทุน ๒ เท่าผมลาออกไปอยูบ่ ริษัทเอสโซ่ ไปเป็นผู้ชว่ ย” เกิดอะไรข้ึนเมื่อนักมานุษยวิทยาคนที่ ๒ ของประเทศไทยลาออกจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไปเปน็ ผู้จัดการบรษิ ทั เอสโซ!่ “กเ็ ดอื ดรอ้ นสิ วนั หนงึ่ ผมไปรว่ มงานแตง่ งาน กล็ อื กนั ใหญ่ สเุ ทพ ลาออกจากจุฬาฯ ... คืออย่างนี้ พอผมลาออก วิลเลี่ยม คลาสเนอร์ (Williams J. Klausner) ซ่ึงก็เป็นผู้อ�ำนวยการมูลนิธิเอเชีย เขาก็เดือดร้อนมาก สุเทพ คณุ นะ คณบดขี อทนุ ให้ สง่ ใหไ้ ปเรยี นองั กฤษ จบองั กฤษ เปน็ นกั มานษุ ยวทิ ยาคนท่ี ๒ (ของประเทศ) แล้วคุณออกไปท�ำงานบริษัทเอสโซ่ แกก็บอกไม่ไดๆ้ผมกเ็ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ ผมเตรยี มตวั ทจี่ ะไปทำ� งานวจิ ยั ภาคสนาม (ในหมบู่ า้ นมง้ ขาว)เรียนภาษาเรียบร้อยแล้ว คณบดีกลับไม่อนุญาตให้ผมท�ำ แกก็ไม่ได้ๆ คือ ผมกอ็ ยากจะทำ� วจิ ยั ทำ� งานอยใู่ นมหาวทิ ยาลยั วลิ เลยี่ ม คลาสเนอร์ แกกบ็ อกจะจัดการให้ จากบริษัทเอสโซ่ ผมก็เข้าไปท�ำงานที่ ARPA เป็นโครงการ ของรัฐบาลอเมริกันกับรัฐบาลไทย ในโครงการนี้เขาจะจ้างพวกอาจารย์มหาวิทยาลัยต่างๆ มีศาสตราจารย์ นักวิชาการ จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอเมริกามารว่ มงาน เชน่ สแตนฟอรด์ คอร์แนล เต็มไปหมด ...” ในฐานะ “ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นชาวเขาในประเทศไทย” ของโครงการ Advanced ResearchProjects Agency (ARPA) ช่วงแรกท่านถูกส่งตัวไปท�ำงานภาคสนามแถบชายแดน เมืองกาญจน์ ตอนน้ันมีขบวนการของขุนส่า และกองก�ำลังของชนกลุ่มน้อยต่างๆ แถบชายแดนไทย-พม่าเคลื่อนไหวอยู่ในพื้นท่ีที่เรียกว่า “แดนกันชน” ระหว่างรัฐไทยกับคอมมวิ นสิ ตใ์ นพม่า “เขาส่งผมไปให้ดูสถานการณ์ ผมก็ไปดูรายงานท่ีเก่ียวกับภาคเหนือ ถ่อเรือเข้าไปแถวเมืองกาญจน์ นั่งรถไฟไปลงที่บ้านโพ นั่งเรือย้อนขึ้นไปถึงสงั ขละบรุ ี เขา้ ไปตามหมบู่ า้ นกะเหรยี่ ง ผมกลบั มาเขากถ็ ามวา่ เจอคอมมวิ นสิ ตไ์ หม 243

๕๐ชีวติ และงาน ศ าม สสชังต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวุโส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั ผมก็บอก เฮ้ย คอมมิวนิสต์อะไรท่ีไหน เขาก็หัวเราะ ผมก็เจอแต่กะเหรี่ยง ผมถงึ รจู้ กั ผมนง่ั เรอื ไปคยุ กบั พวกมอญ อสิ ลาม ไปถงึ เจา้ พอ่ อตุ ตมะ มศี าลอยู่ ตอนหลงั นำ้� ทว่ ม ผมไปนมสั การ ทศ่ี าลากลางบา้ น แลว้ กไ็ ปเยยี่ มกะเหรยี่ ง ...” เป็นเวลาเกือบทศวรรษ หลังส�ำเร็จการศึกษาด้านมานุษยวิทยาจากอังกฤษ (ในปี ๒๕๐๖) เร่ิมจากชีวิตสอนหนังสือควบคู่ไปกับการท�ำวิจัย ภายใต้สังกัดแผนกวิชาสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ระหว่างปี ๒๕๐๗-๒๕๑๑) และชีวิตนักมานุษยวิทยาอาชีพ ภายใตโ้ ครงการวจิ ยั ระดบั นานาชาตขิ องนกั มานษุ ยวทิ ยาอเมรกิ นั และโครงการความรว่ มมอื ระหว่างรัฐบาลอเมริกันและรัฐบาลไทย (คือ ARPA) สุเทพ สุนทรเภสัช ทุ่มเทเวลาให้กับ การท�ำงานวิจัยใช้ชีวิตเป็นนักมานุษยวิทยา เดินทางศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ “ชนกลุ่มน้อย” และชาวบา้ นในชนบทไทยทั้งในภาคเหนือและภาคอีสาน ผา่ นโครงการวิจัย ทสี่ ว่ นใหญ่ เปน็ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งทา่ นในฐานะนกั มานษุ ยวทิ ยาไทยกบั ฝรงั่ นกั วชิ าการ นกั มานษุ ยวทิ ยาตะวนั ตก นบั เปน็ เวลาหลายปที สี่ เุ ทพไดท้ ำ� งานวจิ ยั ในฐานะนกั มานษุ ยวทิ ยา อาชีพ และยังได้มีโอกาสเขียนรายงานเชิงชาติพันธุ์วรรณนาเกี่ยวกับชาวม้งและกะเหรี่ยง ในพื้นที่ภาคเหนือและอาณาบริเวณชายแดนไทย-พม่า คู่มือว่าด้วยชาวเขาเผ่าแม้ว คือ ปฐมบทส�ำคัญของเส้นทางการท�ำงานผลิตงานเขียนเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnography) ท่ีอาศัยข้อมูลจากการท�ำงานวิจัยเชิงมานุษยวิทยาของท่านอย่างแท้จริง และผลงานชิ้นนี้ กถ็ กู จัดพิมพ์เผยแพร่และใชใ้ นแวดวงราชการและความมน่ั คงของประเทศไทย๒๑ ราวๆ ปี ๒๕๑๔ เมื่อสถานการณ์ความขัดแย้งและการเมืองโลกในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้เริม่ เปล่ียนแปลงไป โครงการความช่วยเหลือตา่ งๆ ทรี่ ฐั บาลอเมริกันและ กลมุ่ ประเทศสมั พันธมิตรเคยสนับสนนุ เร่ิมถอนตัว หรอื ปรับเปลี่ยนยทุ ธศาสตรเ์ ชงิ นโยบาย ในที่สุด สุเทพ สุนทรเภสัช นักมานุษยวิทยาอาชีพจึงตัดสินใจกลับเข้ารับราชการ มาเป็น อาจารย์มหาวทิ ยาลยั อีกคร้ังหนง่ึ “รฐั บาลอเมรกิ นั ทำ� นายวา่ ประเทศไทยจะเปน็ สนามรบถดั จากเวยี ดนาม ถ้าเวียดนามแตก เพราะฉะน้ันจุดอ่อนของอเมริกันกับเวียดนามคือค่อนข้าง ไม่มีความรู้เก่ียวกับเวียดนามเลย เพราะฉะน้ันเข้าไปท้ังๆ ท่ีไม่รู้เร่ืองอะไร ก็เสียเปรียบมาก ถ้าประเทศไทยจะต้องอยู่ในสถานะสนามรบ ... ตอนที่ผม เข้าไปเขาบอก ๕ ปี ภาคเหนือของประเทศไทยท้ังหมดเลย อีสานจะเป็น ๒๑ สุเทพ สุนทรเภสชั . ค่มู ือว่าด้วยชาวเขาเผา่ แม้ว Meo Handbook (Thai Language Version). กรุงเทพฯ. ศูนยว์ จิ ัย และพัฒนาการทหารระหว่างไทย-สหรัฐ. ๒๕๑๓. ส่วนรายงานเก่ียวกับกะเหร่ียง อาจารย์สุเทพเล่าส่วนหน่ึง นอกจากจะมีนกั วิชาการฝรง่ั ศึกษาและให้ความสนใจกันอยา่ งมาก ความสลบั ซับซอ้ นภายในกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ทุ ่ีถูก เรยี กวา่ “กะเหรย่ี ง” เอง ทมี่ หี ลากหลายกลุม่ ภาษาย่อย รายงานของทา่ นจงึ “ไมผ่ ่านการพิจารณา” ให้ตีพิมพ์ 244

๕๐ ศ าม สสชงัต.ครปม์ชี ีวติ และงาน ของคณาจารย์อาวโุ ส ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ สนุ ทรเภสัช เขตสงครามคอมมิวนิสต์ เพราะฉะน้ันเขาท�ำวิจัย (ในโครงการ ARPA) specialization ของผมคือชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย... ก็สง่ ผมมา ทำ� งานรว่ มกบั ศนู ย์วจิ ยั ชาวเขา ขณะเดยี วกันโครงการ ก็พยายามจะตงั้ สำ� นกั งานมคี วามรว่ มมอื กบั คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (ระหวา่ ง ปี ๒๕๑๑-๒๕๑๓) ผมก็มามสี ำ� นักงานอย่ทู ค่ี ณะสังคมศาสตร์...”ชีวิตอาจารย์มหาวิทยาลยั ฤา ...ชีวติ นกั มานษุ ยวทิ ยาในประเทศไทย? “ผมโอนกลับเขา้ รับราชการท่ี คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ... แต่ว่าประมาณ ๒ ปีก่อนหน้าน้ัน ระหว่างสงคราม เวยี ดนามจะจบแลว้ เขาใหผ้ มกบั James Wood ซง่ึ เปน็ ผปู้ ระสานงานระหวา่ ง โครงการ ARPA กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้ึนมาท่ีเชียงใหม่ ผมมาช่วย มหาวิทยาลยั เชยี งใหมแ่ ละศนู ยว์ ิจัยชาวเขา (อบรมเจ้าหนา้ ทแี่ ละท�ำงานด้าน ศนู ยร์ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั กลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ) ขณะเดยี วกนั ศนู ยว์ จิ ยั ลา้ นนา (ในคณะสังคมศาสตร์) ก็เร่ิมตั้งตัว จนกระทั่งสงครามจะจบ ARPA ก็ใช้วิธ ี บบี ผม คลา้ ยๆ วา่ จะสง่ ผมไปทำ� วจิ ยั ในเวยี ดนาม ... มนั อนั ตราย เสย่ี งตายมาก ผมกล็ าออก” อาจารยส์ ุเทพเล่าตอ่ ว่า การท่ที ่านเปน็ เจา้ หนา้ ที่ของโครงการ ARPA หน้าที่หนึ่งคอืฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ห้องสมุดของศูนย์วิจัยชาวเขา แต่ห้องสมุดของ ARPA มีลักษณะพิเศษ ไม่ได้รวบรวมหนังสือในความหมายของห้องสมุด แต่เป็นการรวบรวมบทความ รายงาน การวจิ ยั ทงั้ หมดทเี่ กย่ี วกบั “ชาวเขา” และสงั คมวฒั นธรรมของภมู ภิ าคนี้ มเี อกสารละเอยี ดยบิเอกสารท่ีรวบรวมนี้จะเก็บไว้ที่ห้องสมุดของศูนย์วิจัยชาวเขา ๑ ชุด และอีก ๑ ชุด ท่คี ณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์สุเทพกับคณะสังคมศาสตร์ (หรือระหว่าง โครงการARPA กบั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม)่ ตง้ั แตแ่ รกเรมิ่ จงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งของความบงั เอญิ ทวา่ กอ่ เกดิ ขนึ้ในบรรยากาศของความขัดแย้งระหว่างอภิมหาอำ� นาจในยุคสงครามเย็น รัฐบาลอเมริกัน กับรัฐบาลไทยก�ำลัง “ร่วมกัน” ต่อสู้ขบวนการเคล่ือนไหวของพรรคคอมมิวนิสต์ ในนาม หรอื ผ่านส่งิ ท่ีเรียกวา่ “การพัฒนา” 245

๕๐ชีวิตและงาน ศ าม สสชงัต.ครปม์ ีของคณาจารยอ์ าวโุ ส ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช ในช่วงนนั้ คอื ราวๆ ปี ๒๕๑๓ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่กำ� ลงั จะเป็นเจา้ ภาพทอดกฐิน พระราชทาน ที่วัดพระสิงห์ อาจารย์เล่าว่าท่านจึงเสนอต่อคณบดีคณะสังคมศาสตร ์ (ตอนนั้น) คือ ดร.นิพนธ์ ศศิธร ว่าจะท�ำหนังสือแจกงานกฐินให้ ซ่ึงใช้แนวคิดเดียวกับ ทเ่ี คยทำ� ใน สงั คมวทิ ยาของหมบู่ า้ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื แตค่ ราวนจ้ี ะเปน็ เรอ่ื งของ “สังคมวิทยาของภาคเหนือ” ซึ่งในท่ีสุดก็กลายมาเป็น สังคมและวัฒนธรรมลานนาไทย หนังสือวิชาการภาษาไทยเล่มแรกท่ีรวบรวมบทความแปลจากงานวิจัยชิ้นส�ำคัญของ นักวิชาการฝร่ังที่เดินทางเข้ามาศึกษาสังคมภาคเหนือของไทยในช่วงเวลาก่อนหน้าน้ัน ผ่านโครงการ ARPA หรือโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลอเมริกัน น่ันเอง๒๒ หนังสือ สังคมและวัฒนธรรมลานนาไทย ที่อาจารย์สุเทพรับอาสาท�ำหน้าที่ บรรณาธิการ จัดพมิ พข์ ้ึนเพื่อแจกในงานกฐนิ พระราชทาน ณ วัดพระสงิ หว์ รมหาวหิ าร วนั ท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๓ นอกจากจะมี “ประวัติวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร” เน้ือหา ยงั ประกอบไปดว้ ยงานวิชาการสำ� คัญ ๖ เรอื่ งคอื ๑. “วฒั นธรรมทางการเมืองของจงั หวัดเชยี งใหม่” ของ คล้าค ดี แนร์ ๒. “เศรษฐกจิ การทำ� เม่ยี ง” ของ เอดเวริ ด์ แวน รอย ๓. “วดั บา้ นปิง ศนู ยก์ ลางสังคมหมู่บา้ นไทยล้อื ” ของ ไมเคิล มอรแ์ มน ๔. “คติเจด็ ประการของกู่แดง” ของ คอนราด คิงสฮ์ ิลล์ ๕. “ประชากรชาวเขาและชาวพ้ืนราบในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย” ของ ปีเตอร์ กุนสตดั เตอร์ และ ๖. “คำ� จารึกเก่ยี วกบั พระบรมธาตจุ อมทอง” ของ ฮันส์ เพนธ์ ตอ่ มาเมอ่ื หนงั สอื ทพ่ี มิ พแ์ จกในวนั พระราชทานผา้ กฐนิ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ขอรบั พระราชทานน�ำไปถวายพระสงฆจ์ ำ� พรรษา ณ วัดพระสงิ ห์ คงจะแจกจนหมดไป จงึ ไดม้ ีการ จดั พมิ พข์ นึ้ อกี (ในปเี ดยี วกนั นนั้ ) และในการพมิ พค์ รงั้ นไ้ี ดเ้ พม่ิ “บทนำ� : สงั คมและวฒั นธรรม ลานนาไทย” ของสุเทพ สุนทรเภสัช และบทสุดท้ายเร่อื ง “การท�ำไร่เลอ่ื นลอย : ปญั หาและ อนาคต” ของดักลาส ไมลส์ เข้ามาดว้ ย รวมท้งั หมดเปน็ ๘ บทส�ำคญั ในหนังสอื สงั คมและ วฒั นธรรมลานนาไทย ในปี ๒๕๑๔ ช่วงท่ีอาจารย์สุเทพกลับเข้ารับราชการเป็นอาจารย์อีกครั้งใน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะว่าไป ถือเป็นยุคก่อต้ังภาควิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาอย่างแท้จริง แม้ว่าจะได้เปิดด�ำเนินการเรียนการสอนมาได้ ๗ ปีแล้ว ๒๒ ดู สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั (บรรณาธกิ าร). สงั คมและวฒั นธรรมลานนาไทย. เชยี งใหม.่ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ๒๕๑๓. 246


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook