Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

Published by dlit_sm037, 2021-04-06 04:03:49

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การเมืองกับชีวิต กจิ กรรมที่ 2 วธิ สี อนโดยการจดั การเรยี นรแู้ บบร่วมมือ : เทคนิคค่คู ดิ เวลา 2 ช่วั โมง วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม 1. ครูนาข่าวหรือภาพขา่ วกิจกรรมทางการเมืองการปกครองของประเทศตา่ งๆ มาใหน้ ักเรยี น วเิ คราะหว์ ่า ขา่ วหรือภาพข่าวดังกลา่ วมผี ลตอ่ การดาเนินชีวติ ของประชาชนอยา่ งไร 2. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรียนเข้าใจถงึ อทิ ธพิ ลของระบอบการเมืองการปกครองทมี่ ีผลต่อการดาเนิน ชีวิตของประชาชน และระบอบการเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมีผลต่อการดาเนนิ ชีวิตของประชาชนชาวไทย 3. ครแู บง่ นกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน คละกันตามความสามารถ แตล่ ะกลุ่มแบ่งออกเป็นกลุม่ ย่อย กลุ่มละ 3 คน ให้แต่ละกลมุ่ ศึกษาความรู้และทาใบงานกลุ่มละ 1 ใบงาน ดงั นี้ - กลุ่มยอ่ ยที่ 1ทาใบงานท่ี 2.1 เร่ือง วเิ คราะหป์ ัญหาการเมืองไทย - กลุ่มยอ่ ยที่ 2ทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างประเทศ 4. นักเรยี นกลุ่มย่อยของแต่ละกลุม่ ผลัดกนั เลา่ ผลงานทก่ี ลมุ่ รับผดิ ชอบให้สมาชกิ อีกกลุ่มยอ่ ยฟัง และ ช่วยกันเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขผลงาน 5. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงานตอ่ ช้นั เรยี น โดยมีครเู ปน็ ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 6. ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ ปัญหาการเมืองที่สาคญั ของประเทศ และเสนอแนวทางแกไ้ ขกิจกรรมการเมือง การปกครองท่สี าคญั ท่ีนาไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่าง ประเทศ 7. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนบทความวิเคราะห์การเมืองการปกครองไทย และส่ง ครูผู้สอน จากน้นั ครเู ลือกกลุ่มทม่ี ีผลงานอยใู่ นเกณฑด์ ี นาไปติดป้ายนิเทศ  นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เรือ่ ง ระบอบการเมืองการปกครอง  ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น หน้าที่พลเมอื งฯ ม. 4-ม.6 2. ตวั อย่างส่ือประกอบการสอน 3. ตัวอย่างข่าว 4. ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง การเมืองการปกครอง 5. ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การใชอ้ านาจอธิปไตย 6. ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทย 7. ใบงานที่ 1.4 เรื่อง พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย 8. ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย 9. ใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง การประสานประโยชนร์ ่วมกันระหว่างประเทศ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ www.kullawat.net/civic/3.1.htm www.dopa.go.th/history/polith.htm 194

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น ประจาหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. หลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตยมีหลายประการ ยกเว้นข้อใด ก. อานาจสงู สุดในการปกครองประเทศเป็นของประชาชน ข.ประชาชนมสี ทิ ธิมอบอานาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกัน ค.รัฐบาลตอ้ งเคารพสิทธิ และเสรภี าพขน้ั พน้ื ฐานของประชาชน ง. รัฐบาลมสี ิทธิออกกฎหมายเพ่ือควบคมุ ความสงบของประเทศเม่ือมีการต่อต้าน 2. ข้อใดเปน็ หลกั การสาคญั ของระบอบเผด็จการ ก. ผูน้ าหรือกล่มุ ผูน้ ามีอานาจสงู สุดในการปกครองประเทศ ข. ประชาชนวิพากษ์วจิ ารณร์ ฐั บาลทีอ่ ยู่ในวาระได้หลายสมยั ค.ประชาชนวิพากษว์ จิ ารณ์การกระทาของรัฐบาลภายในขอบเขต ง. รฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายสูงสดุ ในการปกครองประเทศผา่ นความเห็นชอบของรัฐสภา 3. ระบอบเผด็จการทหาร มีลักษณะอย่างไร ก. ผูน้ าเป็นทหารที่มีอานาจในการปกครองประเทศ ข.ใชก้ ฎอัยการศึกเป็นกฎหมายในการปกครองประเทศ ค.มพี รรคการเมืองภายใต้การกากบั ของรัฐสภาเพียงพรรคเดยี ว ง. ควบคมุ กจิ กรรมทางการเมืองและการดาเนินชีวติ ของประชาชน 4. ระบอบเผด็จการแบบใด ท่เี ช่อื วา่ จะชว่ ยทาให้ชนช้ันกรรมาชีพเป็นอสิ ระจากการกดขี่ของนายทุน ก. ระบอบเผดจ็ การทหาร ข.ระบอบเผดจ็ การพลเรือน ค.ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต์ ง. ระบอบเผด็จการคอมมวิ นิสต์ 5. ระบอบเผด็จการแบบเบ็ดเสรจ็ หมายถงึ ข้อใด ก. ระบอบเผดจ็ การทหาร ข.ระบอบเผด็จการพลเรือน ค.ระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ ง. ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต์ 6. ประเทศทมี่ รี ปู แบบของรฐั เด่ียว คือประเทศใด ก. สิงคโปร์ ไทย ญ่ีปุ่น ข.รัสเซีย มาเลเซีย ญ่ปี ุ่น ค.ไทย จีน อินเดยี ง. ญี่ปุ่น สหรฐั อเมริกา สงิ คโปร์ 7. ลักษณะของสหพนั ธรัฐหรือรัฐรวม เปน็ อย่างไร ก. รฐั บาลทอ้ งถน่ิ มีอานาจในกจิ การทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม ข.รัฐบาลกลางมอบนโยบายการปกครองให้แต่ละท้องถ่ินดาเนินการ ค.รัฐบาลกลางเปน็ ผ้ใู ชอ้ านาจในกิจการทหาร การตา่ งประเทศ การคลงั ง. รัฐบาลท้องถิน่ มีความสาคัญต่อการบรหิ ารประเทศและแก้ปัญหาไดร้ วดเรว็ 8. อานาจหนา้ ที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีหลายประการ ยกเว้นขอ้ ใด ก. เสนอและพจิ ารณากฎหมาย ข.ควบคมุ การบริหารราชการแผ่นดิน ค.ควบคมุ การตรากฎหมายทข่ี ัดหรอื แยง้ ต่อรฐั ธรรมนูญ ง. ถอดถอนผูด้ ารงตาแหนง่ ท้ังทางการเมืองและข้าราชการประจา 195

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 9. ข้อใดกลา่ วถงึ อานาจหนา้ ที่ของสมาชกิ วฒุ ิสภาได้ถกู ต้อง ก. พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัติ ข.กลนั่ กรองงบประมาณแผ่นดนิ ค.เสนอกฎหมายทเี่ กี่ยวกบั ความม่ันคง ง. ควบคุมการบรหิ ารงานในหนว่ ยงานของรฐั 10. หน้าทใ่ี นการกาหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผ่นดิน คือใคร ก. คณะรัฐมนตรี ข.องคมนตรี ค.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. สมาชิกวุฒิสภา 11. หน่วยงานใดทเ่ี ปน็ องค์กรปกครองท้องถน่ิ รปู พเิ ศษ ก. เทศบาล ข.กรุงเทพมหานคร ค.องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ง. องค์การบริหารสว่ นตาบล 12. ศาลใดมีอานาจพจิ ารณาและวนิ จิ ฉัยคดีท่เี ก่ียวกับการเลือกตัง้ ก. ศาลฎกี า ข.ศาลช้นั ตน้ ค.ศาลปกครอง ง. ศาลรัฐธรรมนูญ 13. ศาลใดมีอานาจพจิ ารณา พิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เจ้าหน้าท่ีของรัฐกับเอกชน ก. ศาลยุตธิ รรม ข.ศาลทหาร ค.ศาลปกครอง ง. ศาลรฐั ธรรมนูญ 14. ขอ้ ใดกล่าวถึงฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริยไ์ ทยไม่ถูกตอ้ ง ก. ทรงเป็นตัวแทนปวงชนชาวไทยในการตดิ ต่อกับประมุขของตา่ งประเทศ ข.ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นท่เี คารพสักการะ ค.ทรงอยูใ่ ต้กฎหมายแต่อยเู่ หนือการเมือง ง. ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย 15. อิทธพิ ลของระบอบการเมืองการปกครองมผี ลต่อการดาเนนิ ชวี ิตของคนไทยอยา่ งไร ก. มกี ารรวมกลุ่มกันในดา้ นตา่ งๆ เพือ่ เรียกรอ้ งสิทธบิ างประการที่เป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวม ข.มีคา่ นิยมทเี่ ปลี่ยนแปลงทง้ั ในด้านดีและดา้ นไมด่ ีกระทบต่อการรวมพลงั สามัคคี ค.ประชาชนให้ความสาคญั ตอ่ ท้องถน่ิ มากกว่าส่วนรวมของประเทศ ง. ประชาชนมีความเบื่อหน่ายในการร่วมกจิ กรรมทางการเมือง 16. ข้อใดเป็นปัญหาทางการเมืองทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการพฒั นาประเทศ ก. การเปลย่ี นแปลงรัฐบาลบอ่ ยก่อนครบกาหนดวาระการดารงตาแหน่ง ข.ความคิดเห็นทางการเมอื งแตกตา่ งกนั ค.พรรคการเมอื งมีนโยบายต่างกัน ง. มีองคก์ รอิสระมากเกินไป 17. การท่ีประเทศไทยเปน็ สมาชกิ องค์การสหประชาชาติ มีผลดีอย่างไร ก. ได้รบั ความช่วยเหลือทางการเมืองการปกครอง ข.ประเทศไทยไดเ้ ปรียบประเทศอืน่ ในด้านเศรษฐกจิ ค.การเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมีความมั่นคง ง. มีสว่ นรว่ มในการสง่ เสริมสันติภาพและความมนั่ คงระหวา่ งประเทศ 196

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 18. ประเทศไทยมีส่วนสาคัญในฐานะประเทศร่วมก่อตง้ั องคก์ ารระหว่างประเทศหลายองค์กร ยกเวน้ ข้อใด ก. องค์การการค้าโลก ข.องค์การสหประชาชาติ ค.อาเซยี น ง. อาฟต้า 19. การท่ีประเทศไทยเขา้ เปน็ สมาชกิ ขององคก์ ารการค้าโลก มีผลดีอยา่ งไร ก. ประเทศอน่ื ให้ความสาคัญต่อสินค้าไทย ข.ระงบั ข้อพิพาททางการค้ากับประเทศเพ่ือนบ้าน ค.สามารถผลติ สนิ คา้ สง่ ไปจาหน่ายยงั ตา่ งประเทศไดม้ าก ง. มีการปรบั ปรุงมาตรฐานการผลิตสินค้าและบริการให้เป็นไปตามหลักสากลมากขึ้น 20. การท่ีประเทศไทยมีความขัดแยง้ ระหวา่ งรฐั บาลกับประชาชนน้อยกว่าประเทศอื่น เนื่องจากปจั จัย สาคัญในข้อใด ก. มสี ถาบันพระมหากษัตริย์เปน็ ศูนย์รวมแห่งความสามัคคขี องคนในชาติ ข.ทหารมีพลังอานาจในการประสานและยุตคิ วามขดั แย้ง ค.พรรคการเมืองเข้มแข็งในการรว่ มมอื กนั แก้ปญั หา ง. ประชาชนไม่สนใจการเมืองการปกครอง เฉลย 1. ง 2. ก 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ค 8. ง 9. ก 10. ก 11. ข 12. ก 13. ค 14. ค 15. ก 16. ก 17. ง 18. ข 19. ง 20. ก 197

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 หนา้ ทพี่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ระบอบการเมืองการปกครอง ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 เรื่อง ระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ เวลา 4 ช่ัวโมง  สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของไทย เป็นการปกครองที่มี หลกั การสาคัญในการใช้อานาจอธิปไตยเพ่ือประโยชน์สูงสุดของประชาชน โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวม จิตใจของปวงชน สง่ ผลตอ่ การพัฒนาประเทศในทุกด้าน  ตวั ชว้ี ดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวช้วี ดั ส 2.2 ม.4-6/3 วเิ คราะห์ความสาคญั และความจาเป็นทีต่ ้องธารงรกั ษาไว้ซง่ึ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข 2.2 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ได้ 2. อธิบายฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยได้ 3. วเิ คราะหค์ วามจาเปน็ ในการธารงรกั ษาไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ได้  สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข - รปู แบบของรัฐ - ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ์ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ -  สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการทางานกลมุ่ 4.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 198

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน  กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วธิ สี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมอื : เทคนิคการเรยี นรว่ มกัน, เทคนิคคู่คิด)  นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรือ่ ง ระบอบการเมอื งการปกครอง ช่ัวโมงที่ 1 1. ครูใหน้ ักเรยี นผลัดกนั เล่าความรู้เดิมเรือ่ ง ระบอบการปกครองแบบต่างๆ ได้แก่ - ระบอบเผด็จการ - ระบอบประชาธปิ ไตย 2. ครอู ธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจถงึ หลกั การสาคญั ของการปกครองระบอบเผด็จการและการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย 3. ครแู บง่ นักเรยี นเปน็ กลุม่ กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนขา้ งอ่อน และอ่อน 4. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาความรเู้ รอ่ื ง ลักษณะการเมืองการปกครอง จากหนงั สือเรยี น หรือ หนงั สอื คน้ คว้าเพิม่ เติม หรือแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศตามความเหมาะสม ในหัวข้อต่อไปน้ี 1) หลกั การของระบอบประชาธิปไตย 2) หลกั การของระบอบเผดจ็ การ 5. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มผลดั กันอภิปรายความรูท้ ไ่ี ด้ศึกษา จนมีความเขา้ ใจกระจา่ งชัดเจน 6. ครแู จกใบงานที่ 1.1 เร่อื ง การเมอื งการปกครอง แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุม่ แบง่ หน้าท่กี นั ทาใบงาน แตล่ ะหัวขอ้ ดังน้ี - สมาชกิ คนที่ 1 อ่านคาสั่ง คาถาม หรือประเด็นคาถาม แยกแยะประเด็นใหช้ ัดเจน - สมาชิกคนท่ี 2 ฟงั ข้นั ตอน รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคาถาม - สมาชิกคนท่ี 3 ตอบคาถาม หรอื คานวณหาคาตอบ - สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถกู ต้อง 7. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มจะหมุนเวียนเปล่ียนหนา้ ท่กี ันตอบคาถาม หรือประเด็นท่ีกาหนด จนครบ ทุกข้อ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบในใบงาน และช่วยกันสรปุ ความแตกต่างของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย กบั ระบอบเผดจ็ การ 199

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ชั่วโมงท่ี 2 1. ครูต้งั คาถามเพื่อเปน็ การตรวจสอบความรู้ของนักเรียน เชน่ - ประเทศทีเ่ ป็นเอกรัฐ หรอื รัฐเดีย่ ว ไดแ้ ก่ประเทศใดบา้ ง แนวคาตอบ ไทย สิงคโปร์ ญป่ี นุ่ สเปน - ประเทศทีเ่ ปน็ สหพันธรัฐ หรือรัฐรวม ไดแ้ กป่ ระเทศใดบ้าง แนวคาตอบ สหรัฐอเมริกา สหพนั ธรฐั รสั เซยี มาเลเซยี 2. ครูอธบิ ายให้นกั เรียนเข้าใจถึงความแตกต่างกนั ของรัฐเด่ียวหรือเอกรัฐ กบั สหพนั ธรัฐหรอื รฐั รวม และสรปุ ประเดน็ ดงั น้ี - รฐั เดี่ยวหรอื เอกรฐั เปน็ รฐั ทีม่ ีรฐั บาลกลางเพยี งรัฐเดยี ว ใช้อานาจอธปิ ไตยปกครองดินแดน ทัง้ หมด อาจมีการกระจายให้ทอ้ งถนิ่ ไดบ้ รหิ ารกิจการของท้องถน่ิ ตามท่รี ัฐบาลเหน็ สมควร - รฐั รวมหรอื สหพันธรฐั เปน็ รฐั ท่ีมรี ฐั บาลหลายระดับ คือ รฐั บาลกลาง และรฐั บาลท้องถ่นิ ของแตล่ ะมลรฐั 3. ครเู ชือ่ มโยงเข้าส่เู ร่ือง รปู แบบของรฐั ไทย ซงึ่ เป็นรฐั เดยี่ ว มีการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 4. นักเรียนกลุ่มเดมิ จากช่วั โมงท่ีแลว้ จบั คู่กนั เป็น 2 คู่ ชว่ ยกันศึกษาความรู้เรื่อง การใช้อานาจอธปิ ไตย จากหนงั สือเรียน แล้วชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง การใชอ้ านาจอธิปไตย 5. นกั เรียนแต่ละคู่ของกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานและอธบิ ายความรู้ในประเด็นสาคัญ ของคาตอบในแต่ละข้อ 6. ครแู ละนกั เรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน และสรปุ ประเดน็ สาคัญของการใช้อานาจอธิปไตย ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ช่ัวโมงที่ 3 1. ครใู ห้นักเรียนชมวดี ทิ ัศน์หรือภาพเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลปัจจบุ นั แล้วให้นักเรียนผลดั กันแสดงความประทบั ใจในพระราชกรณยี กิจของพระองค์ ครู อธิบายเชือ่ มโยงให้นักเรียนเข้าใจวา่ พระราชกรณียกิจดังกล่าวนัน้ จัดเปน็ บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ ไทยท่ปี ฏบิ ตั ติ ามฐานะและพระราชอานาจตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย 2. นักเรียนรวมกล่มุ กนั กลุ่มละ 4 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ศึกษาความรู้เรื่อง ฐานะและ พระราชอานาจของพระมหากษตั ริย์ จากหนังสอื เรยี น 3. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันทาใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริยไ์ ทย 4. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มผลดั กนั นาเสนอผลงานจากใบงาน แลว้ ให้กลุ่มทม่ี ีความคดิ เห็นต่างกันออกไป นาเสนอเพิ่มเติม โดยครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 5. ครมู อบหมายให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ คน้ ควา้ ความรเู้ กย่ี วกบั พระราชกรณียกจิ ทส่ี าคัญของ พระมหากษัตริย์ไทย และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย 200

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ชั่วโมงที่ 4 1. ครูสนทนาซกั ถามนักเรยี นถงึ ความพร้อมของนักเรียนแตล่ ะกลุม่ ท่ไี ปสบื ค้นหาความรเู้ กี่ยวกับ พระราชกรณยี กจิ สาคัญของพระมหากษตั รยิ ์ไทย และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่มผี ลต่อการพัฒนา ประเทศไทย วธิ กี ารสืบคน้ และการเบ่งหน้าทก่ี ันทางานของนักเรยี น 2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย 3. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มเสนอผลงานตอ่ ชั้นเรยี น ดังน้ี - กลุ่มท่ี 1 นาเสนอผลงาน กล่มุ ที่ 2 แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติม - กลุ่มท่ี 2 นาเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 3 แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ - กลุ่มที่ 3 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 4 แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม - กลมุ่ ที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุม่ ท่ี 5 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม - กลมุ่ ท่ี 5 นาเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 1 แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม 4. ครูและนกั เรียนช่วยกันอภิปรายความสาคญั และความจาเป็นท่ีตอ้ งรักษาไว้ซ่งึ การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข  การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมอื เกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง ระบอบ เรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง ระบอบการเมืองการ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การเมืองการปกครอง ปกครอง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานที่ 1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.3 ใบงานที่ 1.3 ตรวจใบงานท่ี 1.4 ใบงานท่ี 1.4 สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม  สอ่ื / แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม.4-ม.6 2. ตวั อยา่ งสอื่ ประกอบการสอน 3. ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การเมืองการปกครอง 4. ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง การใชอ้ านาจอธิปไตย 5. ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ไทย 6. ใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 201

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1. หอ้ งสมดุ 2. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ www.kullawat.net/civic/3.1.htm www.dopa.go.th/history/polith.htm th.wikipedia.org/wiki/ประชาธิปไตย ตัวอย่างสือ่ ประกอบการสอน 202

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ไปเยยี่ มเยยี นราษฎรในทอ้ งถ่ินตา่ งๆ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ตอ้ นรับพระราชอาคนั ตุกะ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ไปประกอบพธิ ีทางศาสนา ใบงานที่ 1.1 เร่ือง การเมืองการปกครอง คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนอธิบายข้อความท่ีกาหนดให้ 1. หลกั การสาคญั ของ 203 ระบอบประชาธิปไตย

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 2. หลกั การสาคญั ของ ระบอบเผด็จการ 3. รูปแบบของการ ปกครองระบอบ เผดจ็ การ 4. ความแตกตา่ งระหวา่ ง 204 ระบอบเผด็จการ คอมมิวนิสต์ กบั ระบอบเผด็จการทหาร

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 5. ความแตกต่างของ เอกรัฐกบั สหพนั ธรัฐ ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง การเมอื งการปกครอง 205

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนอธบิ ายข้อความที่กาหนดให้ 1. หลกั การสาคญั ของ 1. อานาจอธิปไตย เป็นอานาจที่มาจากประชาชน ระบอบประชาธิปไตย 2. ประชาชนมีสิทธิมอบอานาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกนั เอง โดยการออกเสียงเลือกต้ังประชาชนกล่มุ หนึ่งมาบริหารประเทศแทน 3. รัฐบาลเคารพสิทธิพืน้ ฐานของประชาชน 4. ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสมอกนั ในการท่ีจะได้รับบริการทุกชนิด ที่รั ฐจัดให้ แก่ ประชาชน 5. รัฐบาลถือกฎหมายและความเป็ นธรรมเป็ นบรรทัดฐานในการปกครอง 2. หลกั การสาคญั ของ 1. ผ้นู ามีอานาจสูงสุดในการปกครอง ระบอบเผดจ็ การ 2. การรักษาความมนั่ คงของผ้นู ามีความสาคัญกว่าการคุ้มครองสิทธิ เสรี ภาพของประชาชน 3. ผ้นู าสามารถอย่ใู นอานาจได้ตลอดชีวิต หรือเท่าที่ผ้รู ่ วมงานหรือ กองทัพสนบั สนุน 4. รัฐธรรมนูญเป็ นแค่เพียงรากฐานรองรับอานาจของผ้นู า 3. รูปแบบของการ 1. ระบอบเผดจ็ การทหาร คณะผ้นู าทหารเป็นผ้ใู ช้อานาจเผดจ็ การ ปกครองระบอบ ในการปกครองโดยตรงหรื อโดยอ้ อม เผดจ็ การ 2. ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต์ เน้นความสาคัญของผ้นู าว่า มีอานาจ เหนือประชาชนทั่วไป 3. ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์ มีพรรคคอมมิวนิสต์เพียงพรรคเดียว เป็นผ้ใู ช้อานาจเผดจ็ การปกครองประเทศ 4. ความแตกต่างระหวา่ ง ระบอบเผดจ็ การทหารจะควบคุมกิจการทางการเมืองของประชาชน ระบอบเผดจ็ การ เท่าน้ัน แต่ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์ จะใช้อานาจเผดจ็ การควบคุม คอมมิวนิสต์ กบั กิจกรรมและก2า0ร6ดาเนินชีวิตของประชาชนในทุกด้าน ท้ังด้านการเมือง ระบอบเผดจ็ การทหาร การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 5. ความแตกต่างของ เอกรัฐ คือ รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว ใช้อานาจอธิปไตยปกครอง เอกรัฐกบั สหพนั ธรัฐ ดินแดนทั้งหมด อาจมีการกระจายอานาจให้ท้องถ่ินได้ บริหารกิจการของ ท้องถิ่นได้ตามท่ีรัฐบาลเห็นสมควร สหพนั ธรัฐ คือ รัฐที่มีรัฐบาลสองระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาล ท้องถิ่นของแต่ละมลรัฐ รัฐบาลแต่ละระดบั จะใช้อานาจอธิปไตยปกครอง ตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด รัฐบาลกลางของสหพันธรัฐจะเป็นผ้ใู ช้อานาจ ในกิจการท่ีเก่ียวข้องหรื อกระทบกระเทือนต่ อประโยชน์ ส่ วนรวม ของชาติ ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง การใช้อานาจอธปิ ไตย คาช้ีแจง ให้นักเรียนนาหมายเลขหนา้ ขอ้ ความด้านล่างมาใส่ในกรอบคาท่ีกาหนดใหด้ ้านบน 207

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ที่มใี จความสัมพันธ์กัน รัฐสภา สภาผแู้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา คณะรัฐมนตรี ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง 1. ตรวจสอบการตรากฎหมายท่ีขดั หรอื แย้งต่อรฐั ธรรมนญู 2. พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัติ 3. กาหนดนโยบายการบรหิ ารราชการแผน่ ดินและบรหิ ารให้เป็นไปตามนโยบาย 4. พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าขัดหรอื แยง้ ตอ่ รฐั ธรรมนูญหรือไม่ 5. มอี านาจพจิ ารณาคดแี พง่ และคดอี าญาทมี่ ีการอุทธรณ์คาพิพากษาจากศาลชัน้ ตน้ 6. บญั ญัตกิ ฎหมายและยกเลิกกฎหมาย 7. มอี านาจพิจารณาและวินิจฉยั คดที ี่เกย่ี วกบั การเลือกตง้ั และเพิกถอนสทิ ธิเลอื กตัง้ ในการเลอื กต้ังสมาชิก สภาท้องถนิ่ และผบู้ รหิ ารท้องถิ่น 8. มีอานาจพิจารณาและวนิ ิจฉยั คดที ีเ่ ก่ียวกบั การเลือกตัง้ และเพกิ ถอนสิทธิเลือกต้งั ในการเลือกตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 9. บรหิ ารราชการแผน่ ดินสว่ นกลาง ส่วนภมู ิภาค และสว่ นทอ้ งถ่ิน 10. มีอานาจพจิ ารณาพิพากษาคดีพิพาทระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ เจา้ หน้าที่ของรฐั กับ เอกชน อนั เน่ืองมาจากการดาเนินกจิ การการปกครองของหนว่ ยงานราชการ 11. เสนอและพจิ ารณากฎหมาย 12. ศาลชั้นต้น ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎีกา 13. ควบคุมขา้ ราชการประจาใหน้ านโยบายไปปฏิบัติ 14. ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองหรอื ขา้ ราชการระดับสงู ออกจากตาแหนง่ 15. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการต้ังกระทถู้ ามรัฐมนตรีหรอื นายกรัฐมนตรีในเร่ืองเกยี่ วกับ งานในหน้าท่ี ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การใช้อานาจอธปิ ไตย 208

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นนาหมายเลขหนา้ ขอ้ ความดา้ นลา่ งมาใส่ในกรอบคาท่ีกาหนดใหด้ ้านบน ทีม่ ีใจความสัมพันธ์กัน รัฐสภา สภาผแู้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา 6 11, 15 1, 2, 14, 15 คณะรัฐมนตรี ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง 3, 9, 13 4 5, 7, 8, 12 10 1. ตรวจสอบการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนญู 2. พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ิ 3. กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและบริหารให้เป็นไปตามนโยบาย 4. พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญว่าขัดหรือแย้งตอ่ รัฐธรรมนญู หรอื ไม่ 5. มอี านาจพิจารณาคดแี พ่งและคดอี าญาทม่ี ีการอุทธรณค์ าพิพากษาจากศาลชั้นต้น 6. บัญญตั ิกฎหมายและยกเลิกกฎหมาย 7. มีอานาจพิจารณาและวนิ ิจฉยั คดที ี่เก่ยี วกับการเลือกต้งั และเพกิ ถอนสิทธิเลอื กตั้งในการเลือกต้ังสมาชิก สภาท้องถ่ินและผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน 8. มอี านาจพิจารณาและวนิ ิจฉยั คดีท่เี กยี่ วกับการเลือกต้งั และเพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กตง้ั ในการเลือกตงั้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9. บริหารราชการแผน่ ดนิ สว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และส่วนทอ้ งถิ่น 10. มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หนว่ ยงานของรัฐ เจา้ หน้าท่ขี องรฐั กับ เอกชน อนั เนื่องมาจากการดาเนินกจิ การการปกครองของหน่วยงานราชการ 11. เสนอและพจิ ารณากฎหมาย 12. ศาลช้ันต้น ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า 13. ควบคุมข้าราชการประจาให้นานโยบายไปปฏิบตั ิ 14. ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองหรอื ขา้ ราชการระดับสูงออกจากตาแหน่ง 15. ควบคมุ การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ โดยการตั้งกระท้ถู ามรฐั มนตรีหรือนายกรฐั มนตรีในเรื่องเก่ียวกับ งานในหน้าท่ี ใบงานท่ี 1.3 เรอ่ื ง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทย 209

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ตอนท่ี 1 คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นวิเคราะหภ์ าพพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย แล้วบรรยายใตภ้ าพท่ีแสดงถงึ ความสาคญั ของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย 210

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ตอนที่ 2 คาช้ีแจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 211

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1. พระมหากษัตริยไ์ ทยทรงมฐี านะและพระราชอานาจตามรัฐธรรมนญู อย่างไร 2. ให้นกั เรียนแสดงความคดิ เห็นถงึ ความสาคัญและความจาเป็นที่ต้องดารงไวซ้ ึ่งการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย 212

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ตอนท่ี 1 คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนวเิ คราะหภ์ าพพระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตริยไ์ ทย แลว้ บรรยายใตภ้ าพท่ีแสดงถงึ ความสาคญั ของสถาบันพระมหากษตั ริย์ไทย ทรงอย่ใู นฐานะประมขุ ของประเทศ เป็นศูนย์รวม ทรงเป็นพทุ ธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถมั ภก จิตใจของประชาชนชาวไทย ให้ทุกคนรวมพลังกนั เป็นขวญั กาลงั ใจให้ประชาชนพระพฤติตนเป็นคนดี ทากิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาประเทศชาติ ทรงเสดจ็ ไปเยี่ยมราษฎรในภาคต่างๆ โดยเฉพาะใน ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย เป็นการสร้างขวัญ ดินแดนทุรกนั ดาร ช่วยเหลือราษฎรผ้ยู ากไร้ ตลอด และกาลังใจให้ แก่ ทหารในกองทัพได้ ปฏิ บัติหน้ าท่ี ท้ังส่งเสริมการพฒั นาอาชีพ และสภาพความเป็นอยู่ ในการปกป้ องรักษาเอกราชของชาติไทย ของราษฎร 213

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนชาวไทย การที่ ทรงเป็นตวั แทนของปวงชนชาวไทยในการต้อนรับ พระองค์ปฏิบัติพระราชกรณียกิจท่ีแสดงถึงการดูแล ผ้แู ทนของประเทศต่างๆ ท่ีเข้ามาเจริญสัมพนั ธไมตรี ทุกข์สุขของประชาชน และโครงการในพระราชดาริ กบั ไทย ทาให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีงามกับต่างชาติ ส่ งผลดีต่ อการพัฒนาประเทศชาติ ทรงใช้อานาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ทรงเป็นตวั แทนของปวงชนชาวไทยในการติดต่อกบั และศาล แสดงถึงความมน่ั คงของการปกครองระบอบ ประมขุ ของต่างประเทศ เป็นการสร้างความสัมพนั ธ์ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมขุ ท่ีดีงามกับต่างประเทศ ตอนท่ี 2 214

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คาชแี้ จง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. พระมหากษัตริย์ไทยทรงมีฐานะและพระราชอานาจตามรัฐธรรมนญู อย่างไร 1. ทรงอยใู่ นฐานะประมุขของประเทศ โดยจะทรงใช้อานาจอธิปไตยผา่ นทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาล 2. ทรงเป็นกลางและทรงอยู่เหนือการเมอื ง 3. ทรงดารงอยู่ในฐานะอันเป็นท่ีเคารพสักการะ ผ้ใู ดจะละเมิดกล่าวหา หรอื ฟ้องรอ้ งพระมหากษตั รยิ ์ ในทางใดๆ มไิ ด้ 4. ทรงเปน็ พุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนปู ถัมภก 5. ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย 6. ทรงเปน็ ตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติดตอ่ กบั ประมขุ ตา่ งประเทศ 2. ใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เห็นถึงความสาคัญและความจาเป็นท่ีต้องดารงไว้ซึ่งการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 1. เปน็ ศูนย์รวมแหง่ ความสามัคคขี องประชาชน เพ่ือทากิจกรรมตา่ งๆ อนั จะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ประเทศ เม่ือมีเหตกุ ารณ์ขัดแยง้ กันข้ึน กลุ่มผู้มีอุดมการณท์ างการเมืองแตกต่างกัน หรอื ระหว่างผบู้ ริหารประเทศ ซง่ึ จะมผี ลเสียต่อประเทศ พระองค์ก็ทรงแนะนาแนวทางทเ่ี ป็น ประโยชนแ์ ละสามารถช้ีนาให้ทกุ ฝ่ายสมานสามัคคีกันได้ ซ่ึงทาใหป้ ระชาชนอยู่อย่างเปน็ สุข 2. ทรงชี้แนะเก่ียวกบั โครงการตา่ งๆ ทีเ่ ปน็ แนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ของราษฎร เชน่ โครงการเกย่ี วกับการพัฒนาแหลง่ น้า การประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม การแก้ปัญหาภยั แลง้ ตลอดทั้งยังทรงพระราชทานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการดารงชีวติ อย่างมีความสขุ ให้แกป่ ระชาชนชาวไทย 3. ทรงมีพระราชกรณยี กิจในดา้ นการสร้างความสัมพนั ธ์กับต่างประเทศ เชน่ การเสด็จไปเยือน ประเทศต่างๆ การต้อนรบั ผ้นู าหรอื ตวั แทนของประเทศตา่ งๆ ท่มี าเจรญิ สัมพนั ธไมตรีกับประเทศ ไทยเป็นการสรา้ งความสัมพนั ธท์ ดี่ ีตอ่ กัน \\ ฯลฯ (หมายเหตุ นักเรยี นอาจตอบเป็นอย่างอ่ืนตามความเหมาะสม ให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน) 215

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.4 เรื่อง พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริย์ไทย คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นนาข้อมลู ความรู้เกี่ยวกบั พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทยมาวิเคราะห์ และตอบคาถามตามหวั ข้อท่ีกาหนด ภาพพระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริย์ไทย 1. พระราชกรณยี กจิ ทสี่ าคัญ คืออะไร สอดคล้องกับฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั ริยไ์ ทยตาม บทบัญญัติของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอยา่ งไร 2. พระราชกรณียกจิ ดังกลา่ วสง่ ผลดีตอ่ การพฒั นาประเทศ อย่างไรบา้ ง 216

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นนาข้อมลู ความรู้เกี่ยวกบั พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทยมาวิเคราะห์ และตอบคาถามตามหวั ข้อท่ีกาหนด ภาพพระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริย์ไทย 1. พระราชกรณียกิจท่สี าคญั คืออะไร สอดคล้องกับฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั ริยไ์ ทยตาม บทบัญญัติของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร 2. พระราชกรณียกิจดงั กลา่ วส่งผลดตี อ่ การพฒั นาประเทศ อยา่ งไรบา้ ง แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 217

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ลาดบั ชื่อ – สกลุ ความร่วมมือ การแสดง การรบั ฟัง การต้ังใจ การร่วม รวม ท่ี ของผู้รบั การ 4321 ความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น ทางาน ปรบั ปรุง 20 ผลงานกลุ่ม คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลุ่ม ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลุ่มผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมินโดยเพอื่ น โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมก็ได้ ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง 218

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชวี ิตในสงั คม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ระบอบการเมืองการปกครอง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 เรอ่ื ง การเมืองกับชีวิต เวลา 2 ชั่วโมง  สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยนั้น มีปัญหาต่างๆ ซึ่ง เป็นอุปสรรคต่อการบริหารบ้านเมืองและประเทศ ซึ่งทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันหาแนวทางแก้ไข อีกทั้งยังต้อง รว่ มมอื กนั ทางการเมอื งการปกครองท่ีจะนาไปสู่ความเขา้ ใจและการประสานประโยชนร์ ะหวา่ งประเทศ  ตัวชว้ี ดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตวั ช้ีวัด ส 2.2 ม.4-6/1 วเิ คราะห์ปัญหาการเมอื งท่สี าคัญในประเทศจากแหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้ง เสนอแนวทางแกไ้ ข ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองทีน่ าไปสคู่ วามเข้าใจ และการ ประสานประโยชน์ร่วมกันระหวา่ งประเทศ 2.2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. วเิ คราะห์ปัญหาการเมืองไทยและเสนอแนวทางแก้ไขได้ 2. วเิ คราะห์แนวทางในการสรา้ งความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ระหวา่ งประเทศได้  สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1. ปญั หาการเมืองสาคัญทเ่ี กิดข้ึนภายในประเทศ 2. สถานการณ์การเมืองการปกครองของสังคมไทย 3. อทิ ธพิ ลของระบบการเมืองการปกครองที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต 4. การประสานประโยชนร์ ว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ เช่น การสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศไทยกบั ประเทศต่างๆ 5. การแลกเปลยี่ นเพอ่ื ชว่ ยเหลือและส่งเสรมิ ด้านวฒั นธรรม การศกึ ษา เศรษฐกิจ สงั คม 3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น -  สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ - ทักษะการคิดแกป้ ัญหา 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 219

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - กระบวนการทางานกลุ่ม - กระบวนการสืบค้นข้อมูล  คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน  กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมอื : เทคนคิ คูค่ ิด วิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) ชั่วโมงที่ 1 1. ครูนาขา่ วหรอื ภาพกจิ กรรมทางการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลก มาให้นักเรยี นวเิ คราะห์ เชน่ - การชุมนุมประท้วงรัฐบาลของชาวตรุ กี - การเลือกต้ังประธานาธิบดีของสหรฐั อเมรกิ า - การเลือกตงั้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศอังกฤษ ญ่ีปุ่น - รฐั บาลพม่ากักบริเวณใหน้ างอองซาน ซจู ี อยู่ภายในบริเวณบ้านพักของตนเอง 2. ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั วเิ คราะหว์ ่าข่าวหรอื ภาพข่าวดงั กลา่ วมผี ลต่อการดาเนนิ ชวี ิตของประชาชน อย่างไร 3. ครชู ่วยอธบิ ายสรปุ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ อิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองมผี ลตอ่ การดาเนิน ชีวิตของประชาชน และการท่ีประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยทาให้มผี ลตอ่ การดาเนิน ชวี ิตของประชาชน เชน่ - ประชาชนมีสทิ ธิเสรีภาพเทา่ เทียมกัน - ประชาชนมีความสนใจในทางการเมือง - มกี ารรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจของกลมุ่ ทีม่ ีอาชพี เดียวกัน - การรวมกล่มุ สร้างพลงั ความเข้มแข็งต่อการอนุรกั ษส์ ภาพแวดลอ้ มในชุมชนท้องถิน่ 4. ครแู บง่ นกั เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน คละกันตามความสามารถ คือ เกง่ ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน และให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มแบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มละ 3 คน ใหแ้ ต่ละกลุ่มยอ่ ยช่วยกันทาใบงาน ดงั น้ี - กลุม่ ย่อยที่ 1 ศกึ ษาสืบคน้ ความรู้เกย่ี วกับ ปัญหาทางการเมืองทสี่ าคัญท่ีเกดิ ข้นึ ในประเทศไทย และทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะหป์ ัญหาการเมืองไทย - กลุม่ ย่อยท่ี 2 ศกึ ษาสบื คน้ ความรูเ้ กย่ี วกับ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศไทยกับต่างประเทศ และทาใบงานที่ 2.2 เร่ือง การประสานประโยชนร์ ว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ ชั่2ว2โม0งท่ี 2

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1. ครูสนทนากับนักเรยี นถึงการดาเนนิ งานของแต่ละกลมุ่ วิธกี ารสบื ค้นข้อมลู ในเรื่องท่ีศกึ ษา การแบ่งหน้าที่ความรบั ผิดชอบ และความก้าวหน้าของงานทร่ี ับผดิ ชอบ 2. นกั เรียนกลุม่ ย่อยของแต่ละกลุ่มผลัดกันเลา่ ผลงานท่ีกลมุ่ ตนรับผดิ ชอบตามหัวข้อในใบงาน ใหส้ มาชกิ อีกกลุ่มยอ่ ยฟงั และชว่ ยกันแสดงความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมที่เปน็ ประโยชน์ 3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงานต่อช้ันเรียน และใหก้ ล่มุ อ่นื เสนอแนะเพิ่มเตมิ โดยมีครู เป็นผู้ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 4. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกันอภิปรายสรปุ ปัญหาการเมืองท่สี าคัญของประเทศ และแนวทางแก้ไข กจิ กรรมการเมืองการปกครองสาคัญทน่ี าไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ 5. ครูมอบหมายให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั เขียนบทความวิเคราะห์การเมืองการปกครองไทย ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1) การวิเคราะหป์ ัญหาการเมืองในประเทศ 2) การเสนอแนวทางการเมืองการปกครอง 3) การวิเคราะห์ความจาเป็นในการธารงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข 6. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานตอ่ ครูผู้สอน แล้วครูเลือกบทความวเิ คราะห์ที่มีผลงาน อยู่ในเกณฑ์ดีนาไปจัดปา้ ยนิเทศ  นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง ระบอบการเมืองการปกครอง  การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครื่องมอื เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานท่ี 2.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ บทความวิเคราะห์ แบบประเมนิ บทความวิเคราะห์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ การเมืองการปกครองไทย การเมืองการปกครองไทย สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง ระบอบ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 เรื่อง ระบอบ การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง  สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียน หนา้ ท่พี ลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. ตวั อย่างขา่ ว 3. ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง วเิ คราะห์ปัญหาการเมืองไทย 4. ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การประสานประโยชนร์ ่วมกันระหว่างประเทศ 221

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ www.kullawat.net/civic/3.1.htm www.dopa.go.th/history/polith.htm th.wikipedia.org/wiki/ประชาธิปไตย 222

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ตัวอย่างขา่ ว ออง ซาน ซจู ี ผนู้ าฝ่ายค้านพม่า ถูกศาลในเรือนจาอินเส่งพพิ ากษาวา่ มคี วามผดิ ข้อหาละเมิดกฎ การกกั บรเิ วณ สง่ ผลใหน้ างซจู ีตอ้ งถกู กักขังต่อไปอกี 1 ปี 6 เดอื น นางออง ซาน ซูจี หัวหน้าพรรคสันนิบาต แห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย หรือ NLD (National League for Democracy) ถูกศาลในเรือนจาอิน เส่งพิพากษาว่า มีความผิด ข้อหาละเมิดกฎการกัก บริเวณ ส่งผลให้นางซูจีต้องถูกกักขังต่อไปอีก 1 ปี 6 เดือน โดย ทางการพม่าอนุญาตให้ผู้สื่อข่าวใน พม่าเข้าร่วมฟังการพิพากษาในชั้นศาล โดยการ พิพากษาในวันนี้ (11 ส.ค.) ศาลในเรือนจาอินเส่ง ประกาศจาคุกนางซูจีต่อไปอีก 3 ปี แต่มีคาสั่งลด โทษให้เหลือเพยี ง 1 ปี 6 เดือน โดยนางซจู ีจะถูกกักบริเวณให้อย่แู ตใ่ นบา้ นพักในกรงุ ย่างกุ้งเหมอื นที่ผา่ นมา อย่างไรก็ตาม ก่อนการพิพากษาจะเริ่มข้ึน นางซูจีได้เปิดเผยกับทนายความของเธอว่า เธอพร้อมที่จะ เผชิญกับส่ิงท่ีเลวร้ายท่ีสุดที่กาลังจะเกิดข้ึนกับเธอ ซ่ึงผลการพิพากษาเป็นไปตามท่ีนักการทูตในพม่าได้ คาดการณไ์ ว้ หลังการพจิ ารณาคดีนางซจู ียืดเยื้อมาเป็นเวลาสองเดอื น หลายฝ่ายวิพากษ์วิจารณ์ว่า รัฐบาลพม่าใช้การบุกรุกของชายอเมริกันเป็นเคร่ืองมือในการกักขังนางซูจี ในชว่ งท่จี ะมกี ารเลือกตงั้ ในปหี นา้ ด้านทนายความของนางซูจีเปิดเผยว่า กฎหมายท่ีรัฐบาลพม่านามาใช้ลงโทษ นางซูจีน้ันไม่สามารถใช้ได้แล้ว เน่ืองจากล้มเลิกไปแล้วเม่ือ 20 ปีก่อน และกล่าวว่า เจ้าหน้าท่ีรักษาความ ปลอดภัยของทางการพม่าควรร่วมรับผิดชอบต่อเหตุการณ์ใน คร้ังน้ีด้วย เน่ืองจากหละหลวมต่อหน้าท่ีโดยการ ปล่อยให้บุคคลภายนอกบุกรุกเขา้ มาบรเิ วณ บ้านพกั ของนางซูจี ประชาชนในย่างกุ้งเปิดเผยว่า ในช่วงใกล้วันพิพากษานางซูจี ทางการพม่าได้เพิ่มกาลังรักษาความ ปลอดภัยอย่างเข้มงวดทั่วกรุงย่างกุ้ง โดยมีเจ้าหน้าท่ีตารวจคอยประจาการตามถนนหลายสายแม้ในช่วงเวลา กลางคืน ขณะที่สื่อท้องถิ่นของพม่าประกาศห้ามประชาชนออกมาประท้วงหากทางการพิพากษา นางซูจีว่ามี ความผิด อย่างไรก็ตาม คดีน้ีรัฐบาลทหารพม่าถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจากนานาชาติ ซ่ึงท้ังสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป หรือ EU (European Union) ได้ใช้มาตรการคว่าบาตรทางเศรษฐกิจเพื่อต่อต้านการกักขัง นกั โทษการเมอื งกว่า 2,000 คน รวมถึงนางซูจี ที่ผ่านมา นางซูจี ผู้นาพรรคฝ่ายค้านคนสาคัญถูกรัฐบาลพม่าคุมขังเป็นเวลา 14 ปี ในช่วงระยะเวลา 20 ปีของการถูกจับและถูกปล่อยตัว โดยในอดีต รัฐบาลพม่าไม่ยอมรับชัยชนะของนางซูจีในเลือกต้ังเม่ือปี 2533 แต่กลับยึดอานาจและจับกุมนักการเมือง นักเคล่ือนไหวและประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล ทหาร ประเทศพมา่ อย่ภู ายใต้การปกครองโดยรฐั บาลเผดจ็ การทหารมายาวนานต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2505 และยังไม่มี ทีท่าวา่ จะยอมลงจากอานาจจนถึงปจั จบุ ัน ที่มา ศูนยข์ ่าวสาละวนิ แปลจากสานกั ข่าว Aljazeera, 11 ส.ค.52 http://www.prachatai.com/journal/2009/08/25411 สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 27 มกราคม 2553 แบบประเมนิ บทความวิเคราะห์การเมอื งการปกครองไทย 223

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กลมุ่ ท.่ี ................................................. .............................................................................. 2. .............................................................................. สมาชกิ ของกลุ่ม 1. .............................................................................. 4. .............................................................................. .............................................................................. 6. .............................................................................. 3. 5. คณุ ภาพผลงาน 432 ลาดั รายการประเมิน 1 บที่ 1 การวเิ คราะห์ปัญหาการเมอื งในประเทศ 2 การเสนอแนวทางการเมอื งการปกครอง 3 การวเิ คราะห์ความจาเปน็ ในการธารงรักษาการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ รวม ลงช่อื ..............................................................................ผปู้ ระเมิน / /....................... ........................... ........................ เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 3 ดี = 2 1 พอใช้ = ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง 224

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นนาปัญหาการเมืองสาคัญทเ่ี กิดขึน้ ในประเทศไทยมาวเิ คราะห์ และตอบคาถาม ปัญหาเรื่อง สาระสาคญั 1. ปญั หาข้างต้นเปน็ ปัญหาด้านใด 2. สาเหตุของปัญหา คืออะไร 3. มแี นวทางแก้ไขอยา่ งไร 4. นกั เรียนจะมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปัญหาอย่างไรบา้ ง 225

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นนาปัญหาการเมืองสาคัญทเ่ี กิดขึน้ ในประเทศไทยมาวเิ คราะห์ และตอบคาถาม ปัญหาเรื่อง สาระสาคญั 1. ปัญหาข้างต้นเป็นปัญหาดา้ นใด 2. สาเหตุของปัญหา คืออะไร 3. มีแนวทางแกไ้ ขอย่างไร 4. นกั เรียนจะมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหาอย่างไรบา้ ง 226

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง การประสานประโยชน์รว่ มกันระหวา่ งประเทศ คาชี้แจง ให้นักเรยี นนาขอ้ มูลทส่ี ืบค้นมาเก่ียวกับเร่ือง ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ มาวเิ คราะห์ แล้วตอบคาถาม ปัญหาเร่ือง สาระสาคญั 1. ข้อมลู /ข่าว เรื่อง 2. จากข้อมลู /ขา่ วมีข้อความแสดงถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศใด และมคี วามสมั พันธด์ ้านใด จงอธบิ าย 3. ความสมั พนั ธ์ดังกลา่ วมผี ลดีอยา่ งไร จงอธบิ าย 227

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนนาขอ้ มลู ทีส่ บื คน้ มาเกีย่ วกบั เร่ือง ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศไทยกับตา่ งประเทศ มาวเิ คราะห์ แลว้ ตอบคาถาม ปัญหาเรื่อง สาระสาคญั 1. ข้อมลู /ขา่ ว เรือ่ ง 2. จากข้อมูล/ข่าวมีขอ้ ความแสดงถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศใด และมคี วามสัมพันธ์ด้านใด จงอธิบาย 3. ความสัมพนั ธด์ ังกล่าวมผี ลดอี ย่างไร จงอธิบาย 228

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ลาดบั ชื่อ – สกุล ความรว่ มมือ การแสดง การรบั ฟัง การตง้ั ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผู้รับการ 4321 ความคิดเหน็ ความคิดเห็น ทางาน ปรบั ปรงุ 20 ผลงานกลุม่ คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลมุ่ ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลุ่มผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพ่ือน โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง 229

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6 55 รายวชิ าหน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 เวลาเรียน 5 ช่ัวโมง ผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั ส 2.2 ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ  สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยน้นั สามารถ ตรวจสอบไดโ้ ดยองคก์ รอิสระ และตรวจสอบโดยประชาชน ดงั น้นั ประชาชนทุกคนจึงควรมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ  สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั ที่มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การตรวจสอบโดยองคก์ รอิสระ การตรวจสอบโดย ประชาชน 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ -  สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ - ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 230

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - กระบวนการทางานกลุ่ม  คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่ เรียนรู้ 2. มีวนิ ยั 3. มีความรับผดิ ชอบ  ชิ้นงาน/ภาระงาน รายงานการเสนอแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ  การวดั และการประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 7.2 การประเมนิ ระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง รัฐธรรมนูญ 2. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 7.3 การประเมนิ หลงั เรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 7.4 การประเมนิ ชิ้นงาน / ภาระงาน - ประเมินรายงานการเสนอแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 231

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การประเมนิ ชิ้นงาน / ภาระงาน แบบประเมนิ รายงานการเสนอแนวทางและการมสี ่วนร่วม ในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ รายการประเมิน คาอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดบั คะแนน 1. แนวทางการ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐโดย อธิบายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ ประชาชน ตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐโดย 2. แนวทางการ ประชาชน พร้อม ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐโดย อานาจรัฐโดย อานาจรัฐโดย ยกตวั อยา่ งประกอบ อานาจรัฐโดย ไมถ่ ูกตอ้ ง องค์กรอสิ ระ ประชาชน พร้อม ประชาชน พร้อม ประชาชน พร้อม อธิบายแนวทางการ ตรวจสอบการใช้ 3. การเสนอตวั อย่าง ยกตวั อยา่ งประกอบได้ ยกตวั อยา่ งประกอบได้ ยกตวั อยา่ งประกอบได้ อานาจรัฐโดยองคก์ ร แนวทางการ อิสระไดถ้ กู ตอ้ ง ตรวจสอบการใช้ ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ ถูกตอ้ งเป็ นส่วนใหญ่ ถูกตอ้ งเป็ นบางส่วน จานวน 1 องคก์ ร อานาจรัฐ เสนอข่าวหรือ อธิบายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ เหตุการณ์ที่แสดงถึง 4. การมสี ่วนร่วมใน การตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบ ตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ พร้อม การใช้อานาจรัฐ คาอธิบายแตไ่ ม่ชดั เจน อานาจรัฐโดยองคก์ ร อานาจรัฐโดยองคก์ ร อานาจรัฐโดยองคก์ ร 1 เรื่อง เขียนรายงานแสดง อิสระไดถ้ กู ตอ้ ง อิสระไดถ้ กู ตอ้ ง อิสระไดถ้ ูกตอ้ ง วา่ มีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใช้ จานวน 4 องคก์ ร จานวน 3 องคก์ ร จานวน 2 องคก์ ร อานาจรัฐ แต่ไม่มี หลกั ฐานประกอบ เสนอขา่ วหรือ เสนอขา่ วหรือ เสนอข่าวหรือ เหตุการณ์ที่แสดงถึง เหตกุ ารณ์ท่ีแสดงถึง เหตกุ ารณ์ที่แสดงถึง การตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ พร้อม อานาจรัฐ พร้อม อานาจรัฐ พร้อม คาอธิบายอยา่ งมี คาอธิบายอยา่ งมี คาอธิบายอยา่ งมี เหตผุ ลจานวน 3 เรื่อง เหตผุ ลจานวน 2 เรื่อง เหตผุ ลจานวน 1 เรื่อง มีผลงานพร้อม มีผลงานพร้อม เขียนรายงานแสดง หลกั ฐานประกอบท่ี หลกั ฐานประกอบที่ วา่ มีส่วนร่วมในการ แสดงวา่ มีส่วนร่วมใน แสดงวา่ มีส่วนร่วมใน ตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ มีหลกั ฐาน อานาจรัฐชดั เจน อานาจรัฐคอ่ นขา้ ง ประกอบแตไ่ ม่ชดั เจน ชดั เจน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุง 232

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  กจิ กรรมการเรียนรู้  นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย กจิ กรรมท่ี 1 รู้ชัดรัฐธรรมนูญ วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการจัดทีมแข่งขัน (TGT) เวลา 3 ชั่วโมง 1. ครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนตอบเพ่ือเป็นการทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 2. ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนขา้ ง อ่อน และอ่อน ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 จากหนงั สือเรียนและหนงั สือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปประเด็นสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ทาใบงานท่ี 1.1 เรื่อง รัฐธรรมนูญ โดยแบง่ หนา้ ท่ีกนั ดงั น้ี - สมาชิกคนท่ี 1 มีหนา้ ที่อ่านคาถาม แยกแยะประเด็นสาคญั ของคาถาม - สมาชิกคนที่ 2 วเิ คราะห์หาแนวทางตอบคาถามใหไ้ ดค้ าตอบที่ถูกตอ้ ง - สมาชิกคนท่ี 3 รวบรวมขอ้ มูลและเขียนคาตอบ - สมาชิกคนท่ี 4 ตรวจสอบความถูกตอ้ งและเขียนเพ่มิ เติมในส่วนที่ยงั ไม่สมบรู ณ์ 5. สมาชิกทุกคนในแต่ละกลุ่มร่วมมือกนั ทาใบงานจนครบทุกขอ้ แลว้ ซกั ถามกนั จนมีความกระจ่างชดั แลว้ เตรียมตวั ไปแข่งขนั ตอบคาถาม 6. ครูและนกั เรียนเตรียมสถานที่สาหรับการแขง่ ขนั ตอบคาถาม โดยแยกโตะ๊ เป็ นกลุ่มสาหรับนกั เรียน เก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งอ่อน และอ่อน 7. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มที่มีความสามารถคละกนั แยกยา้ ยไปแขง่ ขนั ตอบปัญหาตามแผนผงั ต่อไปน้ี  เก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งออ่ น อ่อน  233

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 8. ในการดาเนินการแข่งขนั ครูจะแจกซองคาถามใหส้ มาชิกทุกโตะ๊ เทา่ กบั จานวนนกั เรียน ซ่ึงมีคาถาม มากกวา่ นกั เรียนในกลุ่มเป็น 2-3 เทา่ 9. เริ่มการแขง่ ขนั 1) นกั เรียนคนท่ี 1 หยบิ ซองคาถาม 1 ซอง เปิ ดอ่านคาถาม 2) นกั เรียนอีก 3 คน แข่งขนั กนั ตอบคาถาม โดยเขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบ แลว้ ส่งให้ นกั เรียนคนที่ 1 ซ่ึงเป็นผอู้ า่ น เป็นผตู้ รวจคาตอบ แลว้ ใหค้ ะแนน ขอ้ ละ 2 คะแนน 3) สมาชิกในทีมแขง่ ขนั จะผลดั กนั ทาหนา้ ท่ีอ่านคาถามจนครบถว้ นตามที่ครูกาหนด 10. สมาชิกในทีมแขง่ ขนั นบั คะแนนที่ไดแ้ ลว้ กลบั ไปกลุ่มเดิม นาคะแนนไปรวมกบั สมาชิกกลุ่มเดิม 11. ครูประกาศชมเชยกลุ่มที่ไดค้ ะแนนสูงสุดเรียงตามลาดบั 12. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปสาระสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เวลา 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมท่ี 2 วธิ ีสอนตามแนววฏั จักรการเรียนรู้ (4 MAT) วธิ ีสอนโดยเน้น กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม 1. ครูใหน้ กั เรียนเล่าประสบการณ์ของนกั เรียนที่มีความประทบั ใจในเรื่องเกี่ยวกบั การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ 2. ครูใหน้ กั เรียนแสดงเหตุผลวา่ ทาไมจึงมีความประทบั ใจในเรื่องท่ีเล่า 3. ครูนาขา่ วการทางานขององคก์ รตา่ งๆ ที่แสดงถึงการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐมาเล่าใหน้ กั เรียนฟัง 4. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ตามความสมคั รใจ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษาความรู้จากหนงั สือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 เร่ือง การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสรุปประเดน็ สาคญั ของการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี - การตรวจสอบทรัพยส์ ิน - การตรวจสอบการกระทาท่ีเป็นการขดั กนั แห่งผลประโยชน์ - การถอดถอนจากตาแหน่ง - การดาเนินคดีอาญาผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง 6. ครูมอบหมายให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มสืบคน้ ขอ้ มูลความรู้ และตวั อยา่ งการกระทาท่ีแสดงถึงแนวทาง การตรวจสอบ การใชอ้ านาจรัฐและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ และเขียนรายงาน ในหวั ขอ้ แนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ในประเดน็ ต่อไปน้ี 234

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1) แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยประชาชน 2) แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยองคก์ รอิสระ 3) การเสนอตวั อยา่ งแนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4) การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 7. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั วเิ คราะห์ผลงานท่ีไดจ้ ดั ทารายงาน เร่ือง แนวทางและการมีส่วนร่วม ในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 8. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานตอ่ ช้นั เรียน และช่วยกนั สรุปแนวทางและการมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ  นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย  ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน หนา้ ที่พลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. หนงั สือคน้ ควา้ เพ่มิ เติม 1) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2551. 2) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั ศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : พ.ี เพรส., 2546. 3. ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง รัฐธรรมนูญ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ www.opdc.go.th/uploads/files/law/constitution2550.pdf th.wikipedia.org/.../รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย_พุทธศกั ราช_2550 www.pub-law.net/publaw/source/htm/aj2.htm www.moj.go.th/th/blog/detail.php?id=22 235

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบทดสอบ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ เดียว 1. องคก์ รอิสระตามรัฐธรรมนูญ จะช่วยใหห้ ลกั การใดของรัฐธรรมนูญประสบความสาเร็จ ก. การเมืองโปร่งใส ข. ลดการผกู ขาดอานาจรัฐ ค. ระบบการตรวจสอบมีความเขม้ แขง็ ง. คุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน 2. จานวนสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. มาจากการเลือกต้งั แบบสัดส่วน 60 คน มาจากการเลือกต้งั แบบแบ่งเขตเลือกต้งั 420 คน ข. มาจากการเลือกต้งั แบบสัดส่วน 80 คน มาจากการเลือกต้งั แบบแบ่งเขตเลือกต้งั 400 คน ค. มาจากการเลือกต้งั แบบสัดส่วน 100 คน มาจากการเลือกต้งั แบบแบ่งเขตเลือกต้งั 380 คน ง. มาจากการเลือกต้งั แบบสัดส่วน 120 คน มาจากการเลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลือกต้งั 360 คน 3. เมื่อมีการยบุ สภาผแู้ ทนราษฎร จะตอ้ งกาหนดใหม้ ีการเลือกต้งั ทว่ั ไปภายในเวลาเท่าใด นบั แต่วนั ยบุ สภา ก. ไมน่ อ้ ยกวา่ 45 วนั แต่ไม่เกิน 60 วนั ข. ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 วนั แตไ่ ม่เกิน 90 วนั ค. ไม่นอ้ ยกวา่ 60 วนั แต่ไม่เกิน 120 วนั ง. ไมน่ อ้ ยกวา่ 90 วนั แตไ่ มเ่ กิน 160 วนั 4. รัฐสภาเปิ ดสมยั ประชุมปี ละก่ีคร้ัง และคร้ังละก่ีวนั ก. ปี ละ 1 คร้ัง คร้ังละ 360 วนั ข. ปี ละ 2 คร้ัง คร้ังละ 120 วนั ค. ปี ละ 2 คร้ัง คร้ังละ 240 วนั ง. ปี ละ 3 คร้ัง คร้ังละ 120 วนั 5. วฒุ ิสภามีจานวนตามขอ้ ใด ก. มาจากการเลือกต้งั จานวน 60 คน มาจากการสรรหา จานวน 90 คน ข. มาจากการเลือกต้งั จานวน 70 คน มาจากการสรรหา จานวน 80 คน ค. มาจากการเลือกต้งั จานวน 74 คน มาจากการสรรหา จานวน 76 คน ง. มาจากการเลือกต้งั จานวน 76 คน มาจากการสรรหา จานวน 74 คน 6. คณะรัฐมนตรีประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอ่ืนอีกไมเ่ กินก่ีคน ก. 30 คน ข. 35 คน ค. 40 คน ง. 45 คน 7. รัฐมนตรีจะตอ้ งสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากวา่ ระดบั ใด ก. มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 ข. อนุปริญญา ค. ปริญญาตรี ง. ปริญญาโท 8. ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดว้ ยประธานศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอ่ืนอีกก่ีคน ก. 5 คน ข. 6 คน ค. 8 คน ง. 10 คน 236

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 9. ศาลใดมีอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดีพิพาทระหวา่ งหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ก. ศาลทหาร ข. ศาลยตุ ิธรรม ค. ศาลปกครอง ง. ศาลรัฐธรรมนูญ 10. หนา้ ที่สาคญั ของพรรคการเมือง คือขอ้ ใด ก. ตรวจสอบหรือควบคุมการทางานของรัฐบาลใหเ้ ป็นไปตามนโยบายที่ไดแ้ ถลงไว้ ข. ต้งั รัฐบาลเงาหรือคณะรัฐมนตรีเพ่ือเตรียมความพร้อมในการเป็นรัฐบาล ค. หาเสียงใหแ้ ก่สมาชิกพรรคการเมืองในการเลือกต้งั ทุกระดบั ง. เป็นผนู้ าประชาชนในการเดินขบวนประทว้ งรัฐบาล 11. การเลือกต้งั มีความสาคญั อยา่ งไร ก. ทาใหป้ ระชาชนทุกคนเห็นความสาคญั ของการเลือกผแู้ ทน ข. ทาใหป้ ระชาชนไดม้ ีส่วนร่วมในการเลือกบุคคลท่ีมีความสามารถ ค. เป็นการหมุนเวยี นการเลือกผแู้ ทนราษฎรไปเป็นตวั แทนประชาชน ง. เป็นวธิ ีการที่ทาใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ไปมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามหลกั การประชาธิปไตย 12. การใหส้ ิทธิแก่ประชาชนใชส้ ิทธิเลือกต้งั โดยไมเ่ ลือกเพศชาย หญิง คนจน คนรวย น้นั สอดคลอ้ งกบั หลกั การใด ก. หลกั ความยตุ ิธรรม ข. หลกั ความเสมอภาค ค. หลกั การพิทกั ษป์ กป้ อง ง. หลกั การออกเสียงโดยทว่ั ไป 13. ขอ้ ใดคือหนา้ ที่สาคญั ของรัฐบาล ก. บริหารราชการแผน่ ดินส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค ข. บริหารงานของกระทรวง ทบวง กรม ตามกฎหมาย ค. บริหารราชการแผน่ ดินตามนโยบายใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อประชาชน และเกิดการพฒั นาประเทศ ง. บริหารงานโดยมอบให้รัฐมนตรีประจากระทรวงเป็นผตู้ ิดตามและประเมินผลงานอยา่ งเป็นระบบ 14. ประชาชนตรวจสอบการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของรัฐบาลไดอ้ ยา่ งไร ก. ผา่ นสภาผแู้ ทนราษฎร ข. ต้งั กระทถู้ ามรัฐมนตรี ค. ผา่ นวฒุ ิสภา ง. ยนื่ ซกั ฟอกการทางานของรัฐบาล 15. ประชาชนผมู้ ีสิทธิเลือกต้งั จานวนเทา่ ไรข้ึนไป ท่ีสามารถรวบรวมรายชื่อเพ่ือถอดถอนรัฐมนตรี หรือนกั การเมืองที่ทาผดิ ก. 10,000 คน ข. 20,000 คน ค. 30,000 คน ง. 40,000 คน 237

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 16. ผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองจะตอ้ งยน่ื บญั ชีทรัพยส์ ินของตนใหใ้ ครตรวจสอบทุกคร้ังท่ีเขา้ รับตาแหน่ง ก. คณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ข. ศาลอาญาแผนกคดีการเมือง ค. ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ง. คณะกรรมการตุลาการ 17. หน่วยงานใด มีหนา้ ท่ีวนิ ิจฉยั คดีกรณีผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองผใู้ ดท่ีมีทรัพยส์ ินเพ่มิ ข้ึนผดิ ปกติ ก. ศาลยตุ ิธรรม ข. ศาลรัฐธรรมนูญ ค. ศาลอาญา ง. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง 18. หน่วยงานใด มีอานาจถอดถอนผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองออกจากตาแหน่งในกรณีกระทาผดิ ต่อ ตาแหน่งหนา้ ท่ี หรือทุจริตต่อหนา้ ท่ี ก. วฒุ ิสภา ข. ศาลยตุ ิธรรม ค. สภาผแู้ ทนราษฎร ง. ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 19. หน่วยงานใด มีอานาจหนา้ ท่ีในการพจิ ารณาและสอบสวนขอ้ เท็จจริงตามคาร้องเรียนในเร่ืองการไม่ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรือปฏิบตั ินอกเหนืออานาจหนา้ ที่ของขา้ ราชการ ก. องคก์ รอยั การ ข. ศาลรัฐธรรมนูญ ค. ผตู้ รวจการแผน่ ดิน ง. คณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 20. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรไม่นอ้ ยกวา่ จานวนเท่าใดของจานวนสมาชิกท้งั หมดของสภาผแู้ ทนราษฎร มีสิทธิเขา้ ช่ือตอ่ ประธานวฒุ ิสภา เพอื่ ใหว้ ฒุ ิสภาถอดถอนบุคคลผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองออกจาก ตาแหน่ง ก. 1 ใน 2 ข. 1 ใน 3 ค. 1 ใน 4 ง. 2 ใน 4 238

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช เฉลย 1. ค 2. ข 3. ก 4. ข 5. ง 6. ข 7. ค 8. ค 9. ค 10. ก 11. ง 12. ข 13. ค 14. ก 15. ข 16. ก 17. ง 18. ก 19. ค 20. ค 239

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6 เร่ือง รู้ชัดรัฐธรรมนูญ เวลา 3 ชั่วโมง  สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย มีหลกั การสาคญั และบทบญั ญตั ิซ่ึงเป็ นแนวทางในการใช้อานาจ อธิปไตยของปวงชนชาวไทย  ตวั ชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วดั ส 2.2 ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความเป็นมา โครงสร้าง และความสาคญั ของรัฐธรรมนูญได้ 2. วเิ คราะห์หลกั การสาคญั ของรัฐธรรมนูญ แนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของ รัฐธรรมนูญได้ 3. อธิบายบทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล พรรคการเมือง การเลือกต้งั รัฐบาล และการจดั ต้งั รัฐบาลได้  สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั ที่มีผล ตอ่ การเปล่ียนแปลงทางสังคม เช่น การตรวจสอบโดยองคก์ รอิสระ การตรวจสอบโดย ประชาชน 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - 240

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต - กระบวนการทางานกลุ่ม  คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่ เรียนรู้ 2. มีวนิ ยั 3. มีความรับผดิ ชอบ  กจิ กรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการจัดทมี แข่งขัน (TGT)  นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ช่ัวโมงที่ 1-2 1. ครูต้งั คาถามให้นกั เรียนตอบเพอ่ื เป็ นการทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ดงั น้ี 1) หลกั การสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง แนวคาตอบ (1) การส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน (2) การลดการผกู ขาดอานาจรัฐและการใชอ้ านาจอยา่ งไมเ่ ป็ นธรรม (3) การทาใหก้ ารเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม จริยธรรม (4) การทาใหร้ ะบบตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐให้มีความเขม้ แขง็ และทางานไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ 241

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 2) สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มีอะไรบา้ ง แนวคาตอบ (1) สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล เช่น สิทธิเสรีภาพในชีวติ และร่างกาย (2) สิทธิในกระบวนการยตุ ิธรรม เช่น ในคดีอาญา ผตู้ อ้ งหาหรือจาเลยมีสิทธิไดร้ ับการสอบสวน หรือการพิจารณาคดีที่ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และเป็นธรรม รวมท้งั ไดร้ ับโอกาสในการต่อสู้คดี อยา่ งพอเพียง (3) สิทธิในทรัพยส์ ิน (4) สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ (5) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและส่ือมวลชน (6) สิทธิเสรีภาพในการศึกษา (7) สิทธิในการไดร้ ับการบริการสาธารณสุขและสวสั ดิการจากรัฐ (8) เสรีภาพในชุมชนและการสมาคม (9) สิทธิชุมชน (10) สิทธิพทิ กั ษร์ ัฐธรรมนูญ 3) หนา้ ท่ีของประชาชนชาวไทย มีอะไรบา้ ง แนวคาตอบ (1) พทิ กั ษร์ ักษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข (2) ป้ องกนั ประเทศชาติ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย (3) ไปใชส้ ิทธิเลือกต้งั (4) เสียภาษีอากรใหร้ ัฐ (5) ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม ร่วมปกป้ อง สืบสานวฒั นธรรมของชาติและ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 2. ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ ง ออ่ น และออ่ น (ครูแบง่ กลุ่มนกั เรียนไวล้ ่วงหนา้ ) ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ศึกษาความรู้ เร่ือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 จากหนงั สือเรียน และหนงั สือรัฐธรรมนูญ 3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปประเด็นสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ทาใบงานที่ 1.1 เร่ือง รัฐธรรมนูญ โดยแบง่ หนา้ ที่กนั ทา ดงั น้ี - สมาชิกคนที่ 1 มีหนา้ ท่ีอา่ นคาถาม แยกแยะประเด็นสาคญั ของคาถาม - สมาชิกคนที่ 2 วเิ คราะห์หาแนวทางตอบคาถามใหไ้ ดค้ าตอบที่ถูกตอ้ ง 242

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - สมาชิกคนที่ 3 รวบรวมขอ้ มูลและเขียนคาตอบ - สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกตอ้ งและเขียนเพิม่ เติมในส่วนท่ียงั ไมส่ มบูรณ์ 5. สมาชิกทุกคนร่วมมือกนั ทาใบงานจนครบทุกขอ้ มีการพ่ึงพาอาศยั กนั ช่วยเหลือกนั และอธิบายใหก้ นั ฟังจนเขา้ ใจ จนสมาชิกทุกคนสามารถทาแบบฝึกหดั ไดค้ รบทุกขอ้ จากน้นั ใหส้ มาชิกทุกคนกลบั ไป ทบทวนความรู้เพ่ิมเติมเพอื่ เตรียมการแขง่ ขนั ตอบคาถามกบั กลุ่มอ่ืนในชว่ั โมงตอ่ ไป ชั่วโมงท่ี 3 1. ครูจดั เตรียมการแข่งขนั ก่อนการดาเนินการแขง่ ขนั ดงั น้ี - การจดั การแขง่ ขนั มีการจดั โตะ๊ แขง่ ขนั ท่ีมีตวั แทนแต่ละกลุ่มในขอ้ 2 ซ่ึงมีท้งั เก่ง ปานกลาง ค่อนขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนขา้ งออ่ น และอ่อน ครูจะจดั โตะ๊ แขง่ ขนั โดยกาหนดนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม ซ่ึงมีความสามารถแตกต่างกนั ไป แยกยา้ ยกนั ไปแขง่ ขนั ในโตะ๊ ที่จดั ไวต้ ามความสามารถ ตวั อยา่ งเช่น - นกั เรียนที่เก่งของแต่ละกลุ่ม ก็จะมาแขง่ ขนั กนั ในโตะ๊ ที่จดั ไวส้ าหรับคนเก่ง - นกั เรียนที่มีความสามารถอยใู่ นระดบั ปานกลางค่อนขา้ งเก่งของแต่ละกลุ่ม ก็จะมาแขง่ ขนั กนั ในโตะ๊ ที่จดั ไวส้ าหรับคนที่มีความสามารถปานกลางค่อนขา้ งเก่ง - นกั เรียนที่มีความสามารถอยใู่ นระดบั ปานกลางค่อนขา้ งอ่อนของแตล่ ะกลุ่ม กจ็ ะมาแขง่ ขนั กนั ในโตะ๊ ท่ีจดั ไวส้ าหรับคนท่ีมีความสามารถอยใู่ นระดบั ปานกลางคอ่ นขา้ งอ่อน - นกั เรียนที่มีความสามารถอยใู่ นระดบั อ่อนของแตล่ ะกลุ่ม ก็จะมาแข่งขนั กนั ในโตะ๊ ท่ีจดั ไว้ สาหรับคนท่ีมีความสามารถอยใู่ นระดบั อ่อน - ทีมแขง่ ขนั จะมีแผนผงั ดงั น้ี - โตะ๊ หมายเลข 1 เป็ นโตะ๊ แข่งขนั สาหรับนกั เรียนท่ีมีความสามารถในระดบั เก่ง - โตะ๊ หมายเลข 2 เป็ นโตะ๊ แข่งขนั สาหรับนกั เรียนที่มีความสามารถในระดบั ปานกลาง (ค่อนขา้ งเก่ง) - โตะ๊ หมายเลข 3 เป็ นโตะ๊ แข่งขนั สาหรับนกั เรียนท่ีมีความสามารถในระดบั ปานกลาง (คอ่ นขา้ งออ่ น) - โตะ๊ หมายเลข 4 เป็ นโตะ๊ แขง่ ขนั สาหรับนกั เรียนที่มีความสามารถในระดบั อ่อน ในกรณีที่มีนกั เรียนจานวนมาก โตะ๊ หมายเลข 1, 2, 3, 4 อาจจะซ้ากนั หลายโตะ๊ เพอื่ ให้นกั เรียน ทุกคนไดม้ ีโอกาสแขง่ ขนั 2. การดาเนินการแข่งขนั ตามข้นั ตอน เร่ิมจากครูแจกซองคาถามให้ทุกโตะ๊ ซ่ึงมีคาถามเทา่ กบั จานวน นกั เรียน ซ่ึงถา้ มีเวลามากอาจจะมีคาถามเป็น 2 หรือ 3 เทา่ ของจานวนนกั เรียน โดยตอบเป็น 2 หรือ 243


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook