แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 3 รอบกไ็ ด้ ครูควรช้ีแจงใหน้ กั เรียนทราบวา่ ทุกคนจะผลดั กนั เป็นผอู้ ่านคาถาม ขอให้อ่านชา้ ๆ ชดั ๆ ผอู้ ่านคาถามจะมีหนา้ ท่ีอ่านคาเฉลยและใหค้ ะแนนผทู้ ่ีตอบถูกตามลาดบั ดงั น้นั ครูจะตอ้ งมีคาเฉลย ท่ีชดั เจนใส่ซองใหน้ กั เรียนควบคูไ่ ปกบั คาถาม อาจจะเริ่มจากคาถามง่ายๆ ไปถึงยากกไ็ ดค้ าถามแต่ละขอ้ น้นั ครูอาจจะเป็นผกู้ าหนดเวลาต่อขอ้ ก็ได้ 3. เร่ิมการแข่งขนั 1) นกั เรียนคนท่ี 1 หยบิ ซองคาถาม 1 ซอง เปิ ดอ่านคาถาม แลว้ วางลงกลางโตะ๊ 2) นกั เรียนอีก 3 คน แขง่ ขนั กนั ตอบคาถาม โดยเขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบของตนส่งให้ คนอา่ นคนท่ี 1 3) คนที่อ่านคาถามทาหนา้ ที่ใหค้ ะแนนตามลาดบั คนที่ส่งก่อนหลงั - ผทู้ ่ีตอบถูกคนแรกได้ 2 คะแนน - ผทู้ ี่ตอบถูกคนต่อมาได้ 1 คะแนน - ผทู้ ่ีตอบผดิ ไมไ่ ดค้ ะแนน 4) สมาชิกในทีมแขง่ ขนั จะผลดั กนั ทาหนา้ ที่อา่ นคาถามจนคาถามหมดโดยใหท้ ุกคนไดต้ อบ คาถามจานวนเทา่ กนั 5) ใหท้ ุกคนรวมคะแนนของตนเอง โดยมีสมาชิกทุกคนในกลุ่มรับรองร่วมกนั วา่ ถูกตอ้ ง อาจจะใหเ้ ซ็นช่ือรับรองดว้ ยก็ได้ 4. เม่ือสมาชิกแข่งขนั กนั เสร็จแลว้ สมาชิกทุกคนจะนาคะแนนท่ีตนเองไดก้ ลบั ไปยงั กลุ่มเดิมของตน แลว้ นาคะแนนมารวมกนั ครูประกาศชมเชยกลุ่มท่ีไดค้ ะแนนสูงสุดเรียงตามลาดบั 5. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปความรู้เกี่ยวกบั สาระสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานท่ี 1.1 สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 244
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน หนา้ ที่พลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. หนงั สือคน้ ควา้ เพ่ิมเติม 1) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2551. 2) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั ศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : พี. เพรส., 2546. 3. ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง รัฐธรรมนูญ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ www.opdc.go.th/uploads/files/law/constitution2550.pdf th.wikipedia.org/.../รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย_พุทธศกั ราช_2550 245
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.1 เรื่อง รัฐธรรมนูญ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ใชเ้ ม่ือไร และเป็นฉบบั ท่ีเท่าไร 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในร่างรัฐธรรมนูญ ฉบบั ปัจจุบนั อยา่ งไรบา้ ง 3. โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 4. รัฐธรรมนูญมีความสาคญั อยา่ งไร 5. หลกั การสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั มีอะไรบา้ ง 246
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6. ประชาชนมีแนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญไดอ้ ยา่ งไร 7. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรกบั สมาชิกวฒุ ิสภา มีจานวนแตกตา่ งกนั อยา่ งไรบา้ ง 8. ก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะเขา้ บริหารราชการแผน่ ดิน จะตอ้ งมีการปฏิบตั ิอยา่ งไรตอ่ รัฐสภา 9. รัฐมนตรีตอ้ งมีคุณสมบตั ิอยา่ งไรบา้ ง และไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ มอยา่ งไร 247
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 10. ศาลยตุ ิธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร มีหนา้ ท่ีแตกตา่ งกนั อยา่ งไร 11. บทบาท หนา้ ท่ีสาคญั ของพรรคการเมือง มีอะไรบา้ ง 12. การเลือกต้งั มีความสาคญั อยา่ งไร 248
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 13. หลกั เกณฑส์ าคญั ท่ีจะทาใหก้ ารเลือกต้งั บรรลุจุดมุ่งหมายตามหลกั ประชาธิปไตยอยา่ งแทจ้ ริงไดแ้ ก่ อะไรบา้ ง 14. อุปสรรคสาคญั ที่จะทาใหก้ ารเลือกต้งั ไม่บรรลุเป้ าหมายตามหลกั การประชาธิปไตยไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 15. หนา้ ที่สาคญั ของรัฐบาล คืออะไร 16. รัฐบาลที่ดีควรมีความสามารถในดา้ นต่าง ๆ อยา่ งไร 17. ประชาชนตรวจสอบการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของรัฐบาลไดอ้ ยา่ งไร 249
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 18. ประชาชนอาจตรวจสอบหรือแสดงปฏิกิริยาต่อการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของรัฐบาลดว้ ยการร้องเรียนโดยตรง ไดอ้ ยา่ งไร 19. การจดั ต้งั รัฐบาลมีวธิ ีการอยา่ งไร 20. การตรวจสอบทรัพยส์ ินของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองกระทาไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง 250
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง รัฐธรรมนูญ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ใชเ้ ม่ือไร และเป็นฉบบั ท่ีเทา่ ไร ประกาศใช้เม่ือวนั ที่ 24 สิงหาคม พทุ ธศกั ราช 2550 เป็นฉบบั ท่ี 18 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในร่างรัฐธรรมนูญ ฉบบั ปัจจุบนั อยา่ งไรบา้ ง ประชาชนมีส่วนร่ วม คือ ได้ออกเสียงประชามติในการรับร่างรัฐธรรมนูญ 3. โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ประกอบด้วย 15 หมวด 1 บทเฉพาะการ และมี 309 มาตรา 4. รัฐธรรมนูญมีความสาคญั อยา่ งไร 1) ยืนยนั ความเป็นเอกราชของประเทศไทย 2) รับรองความเป็ นเอกรัฐของประเทศไทย 3) ยืนยนั ว่าประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมาหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 4) คุ้มครองศกั ดิ์ศรีความเป็นประมขุ สิทธิและเสรีภาพของชาวไทย 5. หลกั การสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั มีอะไรบา้ ง 1) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเตม็ ที่ 2) การลดการผกู ขาดอานาจรัฐและการใช้อานาจอย่างไม่เป็ นธรรม 3) การทาให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม และจริยธรรม 4) การทาให้ระบบตรวจสอบมีความเข้มแขง็ และทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 251
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6. ประชาชนมีแนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญไดอ้ ยา่ งไร 1) การเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการทางประชาธิปไตยทุกระดับ โดยการไปออกเสียงเลือกตง้ั ผ้แู ทนที่ดีให้ไปทาหน้าที่เป็ นสมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร สมาชิกวฒุ ิสภา เพ่ือให้ได้คนดีมีความสามารถไปเป็นตวั แทนบริหารบ้านเมือง 2) ตรวจสอบการใช้อานาจของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร และผ้บู ริหารทุกระดบั อย่างใกล้ชิด เพื่อป้ องกัน ไม่ให้บุคคลดังกล่าวใช้อานาจรัฐเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตัวหรือในทางทุจริ ต 3) ให้กาลงั ใจและสนับสนนุ นกั การเมืองที่ดีและพรรคการเมืองท่ีดี และช่วยป้ องกนั หรือมีส่วนร่วม ในการป้ องกนั คนไม่ดีให้เข้าไปปกครองหรือบริหารบ้านเมือง 7. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรกบั สมาชิกวฒุ ิสภา มีจานวนแตกตา่ งกนั อยา่ งไรบา้ ง สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร มีสมาชิกจากการเลือกตัง้ แบบสัดส่วนจานวน 80 คน และแบบแบ่งเขต จานวน 400 คน รวมเป็น 480 คน ส่วนสมาชิกวฒุ ิสภามาจากการเลือกตง้ั ในแต่ละจังหวดั จังหวดั ละ 1 คน รวม 76 คน และมาจากการสรรหา 74 คน รวมเป็ น 150 คน 8. ก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะเขา้ บริหารราชการแผน่ ดินจะตอ้ งมีการปฏิบตั ิอยา่ งไรต่อรัฐสภา แถลงนโยบายต่อรัฐสภาและชีแ้ จงการดาเนินการตามนโยบายพืน้ ฐานแห่งรัฐ โดยไม่มีการลงมติ ไว้วางใจ 9. รัฐมนตรีตอ้ งมีคุณสมบตั ิอยา่ งไรบา้ ง และไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มอยา่ งไร 1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2) มีอายไุ ม่ตา่ กว่า 35 ปี บริบูรณ์ 3) สาเร็จการศึกษาไม่ตา่ กว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 4) ไม่เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุก โดยได้พ้นโทษมายงั ไม่ถึง 5 ปี ในวนั เลือกตง้ั เว้นแต่ในความผิด อันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ 5) ไม่เป็นสมาชิกวฒุ ิสภา หรือเคยเป็นสมาชิกวฒุ ิสภา และสมาชิกภาพสิ้นสุดลงแล้วยงั ไม่เกิน 2 ปี นับถึงวนั ที่ได้รับแต่งต้งั เป็นรัฐมนตรี 6) ไม่มีลักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกบั การเป็นสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรตามที่รัฐธรรมนูญบัญญตั ิไว้ 252
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 10. ศาลยตุ ิธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร มีหนา้ ท่ีแตกต่างกนั อยา่ งไร ศาลยตุ ิธรรม มีอานาจพิจารณาพิพากษาทั้งปวง ทั้งคดีแพ่ง คดีอาญา เว้นแต่คดีท่ีรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายบัญญตั ิให้อย่ใู นอานาจของศาลอ่ืน ศาลรัฐธรรมนญู มีหน้าที่วินิจฉัยกฎหมายที่มีบทบญั ญตั ิขัดแย้งต่อบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐกับเอกชน หรือระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ เจ้าหน้าท่ีของรัฐด้วยกัน ศาลทหาร มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา และคดีอ่ืนตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ ซ่ึงผ้กู ระทาผิด เป็นผ้ทู ี่อย่ใู นอานาจศาลทหาร 11. บทบาท หนา้ ที่สาคญั ของพรรคการเมือง มีอะไรบา้ ง 1) วางนโยบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายให้ประชาชนทราบ 2) พิจารณาคัดเลือกผ้มู ีคุณสมบัติเหมาะสม ที่จะลงสมคั รรับเลือกต้งั ในนามของพรรค ทั้งในระดบั ชาติ และระดับท้องถิ่น 3) ดาเนินการหาเสียงเลือกตั้ง โดยพยายามเข้าถึงประชาชน รับฟังความคิดเห็นของกล่มุ ต่างๆ ในสังคม และทาการประสานประโยชน์กับกล่มุ ต่างๆ 4) นานโยบายของพรรคที่ได้แถลงต่อประชาชนไปปฏิบัติอย่างจริงจัง 5) ให้การศึกษาและอบรมความรู้ทางการเมืองกบั ประชาชนโดยท่ัวไปและสมาชิกพรรค 6) ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางานของรัฐบาลให้เป็นไปตามท่ีแถลงไว้กับรัฐสภา 12. การเลือกต้งั มีความสาคญั อยา่ งไร 1) เป็นวิธีการที่ทาให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการปกครองตามหลกั การประชาธิปไตย 2) เป็นวิธีการที่ใช้ในการเปล่ียนอานาจทางการเมือง การปกครองท่ีเป็นไปอย่างสันติวิธี 3) ป้ องกันไม่ให้เกิดการปฏิวตั ิรัฐประหาร 4) เป็นวิธีการท่ีทาให้เกิดการหมนุ เวียนเปล่ียนอานาจ เปิ ดโอกาสให้บคุ คลกล่มุ อ่ืนได้เข้ามาใช้ อานาจในการบริ หารประเทศ 5) เป็นวิธีการสร้างความถกู ต้องและชอบธรรมในการใช้อานาจทางการเมือง 253
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 13. หลกั เกณฑส์ าคญั ท่ีจะทาใหก้ ารเลือกต้งั บรรลุจุดมุ่งหมายตามหลกั ประชาธิปไตยอยา่ งแทจ้ ริงไดแ้ ก่ อะไรบา้ ง 1) หลกั อิสระแห่งการเลือกตั้ง 2) หลักการเลือกตงั้ ตามกาหนดเวลา 3) หลกั การเลือกต้งั อย่างบริสุทธิ์ยตุ ิธรรม 4) หลักการใช้สิทธิในการเลือกตัง้ อย่างเสมอภาค 5) หลักการออกเสียงโดยทั่วไป 6) หลักการลงคะแนนลับ 14. อุปสรรคสาคญั ท่ีจะทาใหก้ ารเลือกต้งั ไมบ่ รรลุเป้ าหมายตามหลกั การประชาธิปไตยไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 1) การใช้อิทธิพลจากทางราชการเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อฝ่ ายตน 2) การทาลายคู่แข่งด้วยวิธีการท่ีไม่เหมาะสม 3) การใช้เงินซื้อคะแนนเสียง หรือการให้สิ่งของ หรือผลประโยชน์ เพื่อการซื้อคะแนนเสียง 15. หนา้ ที่สาคญั ของรัฐบาล คืออะไร บริหารราชการแผ่นดิน โดยกาหนดนโยบายท่ีเกิดประโยชน์ต่อประชาชน พัฒนาประเทศ รักษา ความมนั่ คงของประเทศชาติ รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ทาให้เกิด ความยตุ ิธรรม 16. รัฐบาลท่ีดีควรมีความสามารถในดา้ นต่าง ๆ อยา่ งไร 1) ความสามารถในการตรวจสอบความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่อย่างท่ัวถึงและเท่าเทียมกัน 2) ความสามารถในการรับผิดชอบต่อหน้าท่ี เมื่อรัฐบาลกาหนดนโยบายจะต้องนาไปปฏิบตั ิให้เกิดผล 3) ความสามารถในการติดตามและควบคุมให้การนานโยบายของรัฐบาลไปปฏิบตั ิได้ผล 4) ความสามารถในการประสานงานให้หน่วยงานที่รับนโยบายไปทางานร่วมกันให้บรรลุจุดหมาย 17. ประชาชนตรวจสอบการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของรัฐบาลไดอ้ ยา่ งไร ตรวจสอบโดยผ่านทางสภาผ้แู ทนราษฎร คือ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรจะต้งั กระทู้ถามคณะรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเป็ นรายบคุ คลให้ชีแ้ จงการกระทาท่ีบกพร่อง หรือขดั ข้องใจในการทางานของรัฐบาล หรือรัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐ หากรัฐมนตรีหรือรัฐบาลกระทาหน้าท่ีผิดพลาดหรือไม่มีผลงาน สภาผ้แู ทนราษฎรจะเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็ นรายคนหรือรัฐบาลทั้งคณะกไ็ ด้ 254
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 18. ประชาชนอาจตรวจสอบหรือแสดงปฏิกิริยาต่อการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของรัฐบาลดว้ ยการร้องเรียนโดยตรง ไดอ้ ยา่ งไร ด้วยการแสดงความคิดเห็นในรูปแบบการประชุมสัมมนา การอภิปราย การเขียนบทความแสดง ความคิดเห็นผ่านสื่อมวลชน การเดินขบวนประท้วงอย่างสงบปราศจากอาวุธ 19. การจดั ต้งั รัฐบาลมีวธิ ีการอยา่ งไร พรรคการเมืองท่ีได้เสียงข้างมากอย่างเดด็ ขาดหรือเกินกว่ากึ่งหน่ึงของจานวนสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร จะได้เป็นผ้จู ัดตง้ั รัฐบาล ถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดได้รับเสียงข้างมากกจ็ ะมีการตกลงกันระหว่างพรรค การเมืองที่ได้รับการเลือกตัง้ ว่า จะมอบให้พรรคการเมืองใดเป็นแกนกลางในการจัดตัง้ รัฐบาลผสม พรรคการเมืองท่ีไม่ได้ร่วมรัฐบาลกจ็ ะทาหน้าที่เป็นพรรคฝ่ ายค้านทาหน้าท่ีตรวจสอบการทางานของ รัฐบาลต่อไป 20. การตรวจสอบทรัพยส์ ินของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองกระทาไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ผ้ดู ารงตาแหน่งทางการเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร ต้องย่ืนบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนีส้ ินของตน คู่สมรส และบุตรท่ียงั ไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ การป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ทุกคร้ังที่เข้าดารงตาแหน่ง หรือพ้นจากตาแหน่ง ซ่ึงประธานกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จะทาหน้าท่ีจัด ให้มีการประชุมคณะกรรมการ เพ่ือตรวจสอบความถกู ต้องและความมีอย่จู ริงของทรัพย์สินนั้นโดยเร็ว 255
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ลาดบั ชื่อ – สกลุ ความร่วมมอื การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผ้รู ับการ 4321 ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็ ทางาน ปรับปรุง 20 ผลงานกล่มุ คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลุ่ม ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลุม่ ผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพ่ือน โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ปรับปรุง = 256 เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน้าทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6 เร่ือง การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เวลา 2 ช่ัวโมง สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐน้นั สามารถทาไดโ้ ดยประชาชนและองคก์ รอิสระตามบทบญั ญตั ิ ของรัฐธรรมนูญ ตวั ชีว้ ดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ส 2.2 ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ - เสนอแนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐได้ สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั ท่ีมีผล ตอ่ การเปล่ียนแปลงทางสังคม เช่น การตรวจสอบโดยองคก์ รอิสระ การตรวจสอบโดย ประชาชน 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ - ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ - กระบวนการทางานกลุ่ม 257
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่ เรียนรู้ 2. มีความรับผดิ ชอบ กจิ กรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนตามแนววัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) ช่ัวโมงท่ี 1 1. ครูใหน้ กั เรียนเล่าประสบการณ์ของนกั เรียนที่เคยมีความประทบั ใจในเรื่องเกี่ยวกบั การตรวจสอบ การใชอ้ านาจรัฐ ตวั อย่างเช่น - เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐถูกประชาชนร้องเรียนต่อคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริต แห่งชาติวา่ ร่ารวยผดิ ปกติ - สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรนายหน่ึง ถูกร้องเรียนต่อคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติวา่ แจง้ ทรัพยส์ ินเป็นเทจ็ 2. นกั เรียนแสดงเหตุผลวา่ ทาไมจึงประทบั ใจในเรื่องที่ยกตวั อยา่ งที่นกั เรียนนาเสนอในหวั ขอ้ ที่ 1 เช่น - ทาใหเ้ จา้ หนา้ ที่ของรัฐและนกั การเมืองมีความเกรงกลวั ต่อการกระทาความผดิ เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ ไมก่ ลา้ คอรัปชนั่ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดว้ ยความซื่อสตั ยต์ รงไปตรงมา เพือ่ ผลประโยชนข์ องประชาชนและประเทศชาติเป็นหลกั 3. ครูนาข่าวการทางานขององคก์ รต่าง ๆ ท่ีแสดงถึงการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐมาเล่าใหน้ กั เรียนฟัง เช่น - คณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ - ผตู้ รวจการแผน่ ดิน - คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน - คณะกรรมการการเลือกต้งั ใหน้ กั เรียนช่วยกนั สรุปความจาเป็นหรือความสาคญั ของการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความรู้จากหนงั สือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 เรื่อง การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี - การตรวจสอบทรัพยส์ ิน - การกระทาที่เป็นการขดั กนั แห่งผลประโยชน์ 258
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - การถอดถอนจากตาแหน่ง - การดาเนินคดีอาญาผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง 5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั สรุปประเด็นสาคญั ของการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐตามหวั ขอ้ ที่ศึกษา และตวั แทนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานต่อช้นั เรียนกลุ่มละ 1 หวั ขอ้ 6. ครูมอบหมายให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสืบคน้ ขอ้ มลู ความรู้และตวั อยา่ งการกระทาที่แสดงถึงแนวทางการ ตรวจสอบ การใชอ้ านาจรัฐและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ เขียนรายงานต่อครู ผสู้ อนในหวั ขอ้ แนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ในประเด็นต่อไปน้ี 1) แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยประชาชน 2) แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยองคก์ รอิสระ 3) การเสนอตวั อยา่ งแนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4) การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 7. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มวางแผนการนาเสนอผลงานต่อช้นั เรียนดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย เช่น - การรายงาน - การอภิปราย - การแสดงบทบาทสมมุติ - การถามตอบ - การจดั ทาสถานการณ์จาลอง - การแสดงละคร 8. นกั เรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกนั วเิ คราะห์ผลงานท่ีไดจ้ ดั ทารายงาน แนวทางและการมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 9. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มเตรียมการนาเสนอผลงานตอ่ ช้นั เรียน ช่ัวโมงที่ 2 1. ครูซกั ถามนกั เรียนถึงความพร้อมในการนาเสนอผลงาน เรื่อง แนวทางและการมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานต่อช้นั เรียนตามท่ีวางแผนไว้ โดยใหป้ ฏิบตั ิ ดงั น้ี - กลุ่มท่ี 1 นาเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 2 มีหนา้ ที่แสดงขอ้ คิดที่ไดร้ ับ - กลุ่มที่ 2 นาเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 3 มีหนา้ ที่แสดงขอ้ คิดที่ไดร้ ับ - กลุ่มท่ี 3 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 4 มีหนา้ ท่ีแสดงขอ้ คิดท่ีไดร้ ับ - กลุ่มที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 5 มีหนา้ ที่แสดงขอ้ คิดท่ีไดร้ ับ - กลุ่มที่ 5 นาเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 1 มีหนา้ ท่ีแสดงขอ้ คิดท่ีไดร้ ับ 3. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาผลงานติดป้ ายนิเทศ นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 259
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ประเมินรายงานการเสนอแนวทาง แบบประเมินรายงานการเสนอ และการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ แนวทางและการมีส่วนร่วมในการ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ การใชอ้ านาจรัฐ ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง เรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ราชอาณาจกั รไทย ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน หนา้ ที่พลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. หนงั สือคน้ ควา้ เพมิ่ เติม 1) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2551. 2) ศาลรัฐธรรมนูญ, สานกั งาน. ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั ศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : พ.ี เพรส., 2546. 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ www.pub-law.net/publaw/source/htm/aj2.htm www.moj.go.th/th/blog/detail.php?id=22 260
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบประเมนิ รายงานการเสนอแนวทางและการมีส่วนร่วม ในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ กลุ่มที่.................................................. สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 4. .............................................................................. 3. .............................................................................. 6. .............................................................................. 5. .............................................................................. ลาดบั รายการประเมนิ คุณภาพผลงาน ที่ 432 1 1 แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยประชาชน 2 แนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐโดยองคก์ รอิสระ 3 การเสนอตวั อยา่ งแนวทางการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ รวม เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ..............................................................................ผปู้ ระเมิน / /....................... ........................... ........................ ดีมาก = 4 3 261 ดี = 2 1 พอใช้ = ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ลาดบั ชื่อ – สกลุ ความร่วมมอื การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผ้รู ับการ 4321 ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็ ทางาน ปรับปรุง 20 ผลงานกล่มุ คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลุ่ม ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลุม่ ผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพ่ือน โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ปรับปรุง = 262 เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 7 รายวชิ าหน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 เวลาเรียน 8 ช่ัวโมง ผู้สอน นางภาณี แสนเดช มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั ส 2.1 ม 4-6/1 วเิ คราะห์และปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่เกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั นิติกรรมสัญญา กฎหมาย อาญา กฎหมายท่ีสําคญั ของประเทศ และขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ ย่อมส่งผลดีต่อความสงบเรียบร้อย ในสงั คมระดบั ประเทศ และสังคมโลก สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ตนเองและครอบครัว 2. กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั นิติกรรมสญั ญา เช่น ซ้ือขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 3. กฎหมายอาญา เช่น ความผดิ เกี่ยวกบั ทรัพย์ ความผดิ เก่ียวกบั ชีวติ และร่างกาย 4. กฎหมายอ่ืนท่ีสาํ คญั เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั กฎหมายการรับ ราชการทหาร กฎหมายภาษีอากร กฎหมายคุม้ ครองผบู้ ริโภค 5. ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ เช่น ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุษยชน กฎหมายมนุษยธรรม ระหวา่ งประเทศ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ - 263
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ - กระบวนการปฏิบตั ิ - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่ เรียนรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทาํ งาน ชิ้นงาน / ภาระงาน 1. รายงาน เรื่อง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั 2. บนั ทึกการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย การวดั และการประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั 7.2 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก 2. ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ซ้ือขาย ขายฝาก 3. ใบงานที่ 2.2 เร่ือง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ 4. ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 5. ใบงานท่ี 3.1 เรื่อง กฎหมายอาญาท่ีควรรู้ 6. ใบงานท่ี 4.1 เร่ือง กฎหมายอื่นที่ควรรู้ 7. สังเกตการแสดงบทบาทสมมุติ 8. สังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุ่ม 7.3 การประเมนิ หลงั เรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั 7.4 การประเมนิ ช้ินงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 1. ประเมินรายงาน เรื่อง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั 2. ประเมินบนั ทึกการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย 264
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบประเมนิ รายงาน เรื่อง กฎหมายในชีวติ ประจาวนั รายการประเมนิ คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน 1. ความสมบูรณ์ของ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) เนือ้ หา เน้ือหาของกฎหมาย เน้ือหาของกฎหมาย เน้ือหาของกฎหมาย เน้ือหาของกฎหมาย 2. การเรียงลาดบั ถกู ตอ้ ง ตามท่ีกาํ หนด ข้นั ตอนของเนอื้ หา ถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ ถกู ตอ้ ง ตามท่ีกาํ หนด จาํ นวน 1 หวั ขอ้ 3. ส่วนประกอบของ ครบถว้ นตามท่ีกาํ หนด ครบถว้ นตามท่ีกาํ หนด จาํ นวน 2 หวั ขอ้ เรียงลาํ ดบั เน้ือหา รายงาน ไมเ่ ป็ นระบบ จาํ นวน 5-6 หวั ขอ้ จาํ นวน 3-4 หวั ขอ้ 4. การเขยี นสะกดคา มีภาพ หรือแผนภมู ิ เรียงลาํ ดบั เน้ือหา เรียงลาํ ดบั เน้ือหา เรียงลาํ ดบั เน้ือหา ประกอบเน้ือเร่ือง 5. รูปเล่ม แต่ไมม่ ีคาํ บรรยาย ก่อนหลงั เป็ นระบบ ก่อนหลงั เป็ นระบบ ก่อนหลงั เป็ นระบบ เขียนผิด 10-15 คาํ ทุกตอน เป็ นส่วนใหญ่ บางตอน วรรคตอนผดิ 1-10 แห่ง มีภาพ หรือแผนภมู ิ มีภาพ หรือแผนภมู ิ มีภาพ หรือแผนภูมิ ปกไมส่ วยงาม การเขา้ เลม่ แน่นหนา ประกอบเน้ือเรื่อง ประกอบเน้ือเรื่อง ประกอบเน้ือเร่ือง พร้อมคาํ บรรยายท่ีส่ือ พร้อมคาํ บรรยายท่ีสื่อ พร้อมคาํ บรรยายที่ส่ือ ความหมายชดั เจน ความหมายชดั เจน ความหมายชดั เจน จาํ นวน 5-6 ภาพ / จาํ นวน 3-4 ภาพ / จาํ นวน 1-2 ภาพ / แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภมู ิ เขียนถูกตอ้ งทุกแห่ง เขียนผดิ 1-5 คาํ เขียนผิด 6-10 คาํ ไมม่ ีคาํ ผดิ วรรคตอนผดิ วรรคตอนผดิ 1-5 แห่ง 1-5 แห่ง ปกสวยงาม แสดง ปกสวยงาม แสดง ปกสวยงาม แตไ่ ม่ ความคิดริเร่ิม การเขา้ ความคิดริเริ่ม การเขา้ แปลกใหม่ การเขา้ เล่ม เลม่ แน่นหนา เลม่ ไมแ่ น่นหนา แน่นหนา เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 17 - 20 ดีมาก 13 - 16 ดี 9 - 12 พอใช้ 5-8 ปรับปรุง 265
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบบันทึกการปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกผลการปฏิบตั ิตนตามกฎหมายตามหวั ขอ้ ท่ีกาํ หนด ช่ือ-นามสกลุ ช้นั เลขท่ี ลาดับ พฤติกรรม ผลดีต่อตนเอง ผลดีต่อสังคมและประเทศชาติ ที่ เกณฑ์การประเมิน ปฏิบตั ิได้ 8 – 10 พฤติกรรม = 4 คะแนน = ดีมาก ปฏิบตั ิได้ 6 – 7 พฤติกรรม = 3 คะแนน = ดี ปฏิบตั ิได้ 4 – 5 พฤติกรรม = 2 คะแนน = พอใช้ ปฏิบตั ิได้ 1 – 3 พฤติกรรม = 1 คะแนน = ปรับปรุง เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ระดบั 2 = พอใช้ = ผา่ นเกณฑป์ ระเมิน 266
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กจิ กรรมการเรียนรู้ นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั กฎหมายเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัว และมรดก กจิ กรรมท่ี 1 วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการเรียนร่วมกนั เวลา 2 ชั่วโมง 1. นกั เรียนแต่ละคนผลดั กนั เล่าประสบการณ์ความรู้เดิมในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ที่เคยเรียนมาแลว้ เช่น - กฎหมายเกี่ยวกบั ช่ือบุคคล - กฎหมายบตั รประจาํ ตวั ประชาชน - กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ความสามารถของผเู้ ยาว์ 2. นกั เรียนและครูช่วยกนั แสดงความคิดเห็นถึงความสาํ คญั ของกฎหมาย 3. ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษาความรู้ ในใบความรู้ เรื่อง กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ครอบครัวและมรดก 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทาํ ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ครอบครัวและมรดก โดยแบง่ งานกนั ทาํ ดงั น้ี - สมาชิกคนท่ี 1 มีหนา้ ที่อา่ นคาํ สั่ง กรณีศึกษาคาํ ถาม แยกแยะใหช้ ดั เจน - สมาชิกคนท่ี 2 ฟังข้นั ตอน รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะการตอบคาํ ถาม - สมาชิกคนที่ 3 ตอบคาํ ถามหรือตอบปัญหา - สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 5. สมาชิกในแตล่ ะกลุ่มหมุนเวยี นเปลี่ยนหนา้ ท่ีกนั ในการตอบคาํ ถาม 6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งใบงาน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มผลดั กนั ตรวจกระดาษคาํ ตอบตามท่ีครูเฉลย 7. นกั เรียนและครูช่วยกนั สรุปสาระสาํ คญั ของกฎหมายแพง่ ท่ีควรรู้ 267
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั นิติกรรมและสัญญา เวลา 2 ชั่วโมง กจิ กรรมที่ 2 วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื : เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw) 1. ครูนาํ กรณีตวั อยา่ งเก่ียวกบั บุคคลที่ถูกผอู้ ่ืนเอาเปรียบในเร่ือง การซ้ือขาย การขายฝาก การกยู้ มื เงิน และการเช่าซ้ือ มาใหน้ กั เรียนช่วยกนั วิเคราะห์สาเหตุของการถูกเอาเปรียบและแนวทางป้ องกนั แกไ้ ข 2. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้นกั เรียนเห็นความสําคญั ของการมีความรู้กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั นิติกรรม สญั ญา 3. ครูแบ่งนกั เรียนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละกนั ตามความสามารถ มีท้งั เก่ง ปานกลาง และอ่อน เรียกวา่ กลุ่มบา้ น (Home Groups) ใหส้ มาชิกแต่ละคนเลือกหมายเลขประจาํ ตวั ตามความสมคั รใจ ต้งั แต่หมายเลข 1, 2 และ 3 4. นกั เรียนจากกลุ่มบา้ นแยกยา้ ยกนั ไปหากลุ่มใหม่ท่ีมีหมายเลขเดียวกนั เรียกว่า กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert Groups) ร่วมกนั ศึกษาความรู้ในใบความรู้ เรื่อง นิติกรรมและสญั ญา ดงั น้ี - หมายเลข 1 ศึกษาความรู้เร่ือง ซ้ือขาย ขายฝาก และทาํ ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ซ้ือขาย ขายฝาก - หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เร่ือง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ และทาํ ใบงานท่ี 2.2 เร่ือง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ - หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง และทาํ ใบงานท่ี 2.3 เร่ือง กูย้ ืมเงิน จาํ นาํ จาํ นอง 5. นกั เรียนกลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญช่วยกนั ทบทวนความรู้และความถูกตอ้ งของใบงาน 6. นกั เรียนกลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญกลบั ไปยงั กลุ่มเดิมหรือกลุ่มบา้ น (Home Groups) แลว้ ผลดั กนั เล่าความรู้ เร่ืองที่ตนไดศ้ ึกษามาและการทาํ ใบงานใหเ้ พือ่ นในกลุ่มบา้ นฟัง 7. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปความรู้กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั นิติกรรมสัญญา 268
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กจิ กรรมท่ี 3 กฎหมายอาญา วธิ ีสอนแบบบรรยาย วธิ ีสอนแบบกรณศี ึกษา วธิ ีสอนแบบ เวลา 2 ชั่วโมง การแสดงบทบาทสมมุติ 1. นกั เรียนดูภาพข่าว / วีซีดี เก่ียวกบั การประกอบอาชญากรรมในความผิดประเภทต่างๆ และให้ นกั เรียนช่วยกนั วเิ คราะห์ผลของการกระทาํ ดงั กล่าว 2. ครูอธิบายเช่ือมโยงใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ การกระทาํ ดงั กล่าวเป็นการกระทาํ ผดิ กฎหมายอาญา ซ่ึงผกู้ ระทาํ ผดิ จะตอ้ งถูกลงโทษ 3. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจความรู้เกี่ยวกบั กฎหมายอาญา ในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1) ลกั ษณะของการกระทาํ ผดิ ทางอาญา 2) ความผดิ ทางอาญา - ความผดิ ตอ่ ชีวติ - ความผดิ ตอ่ ทรัพยส์ ิน 4. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกนั วเิ คราะห์กรณีตวั อยา่ ง ตามใบงานท่ี 3.1 เรื่อง กฎหมายอาญาท่ีควรรู้ แลว้ ตอบคาํ ถามตามท่ีกาํ หนด 5. นกั เรียนช่วยกนั เฉลยคาํ ตอบในใบงานโดยมีครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง 6. ครูมอบหมายให้นกั เรียนศึกษาข่าว ขอ้ มูลเกี่ยวกบั การกระทาํ ความผดิ ทางอาญาในสังคมปัจจุบนั และนาํ เสนอผลการวเิ คราะห์ในรูปแบบการแสดงบทบาทสมมุติ 7. ครูและนักเรียนช่วยกนั สรุปลกั ษณะของการกระทาํ ผิดทางอาญา สาระสําคญั เก่ียวกบั กฎหมาย อาญาท่ีนกั เรียนควรรู้ 269
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กฎหมายสาคัญทค่ี วรรู้ เวลา 2 ชั่วโมง กจิ กรรมที่ 4 วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเร่ืองรอบวง, เทคนิคโต๊ะกลม วธิ ีสอนแบบบรรยาย 1. ครูเล่าเรื่องการกระทาํ ความผดิ ของบุคคลในลกั ษณะต่างๆ แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั วเิ คราะห์วา่ การกระทาํ ผิดดงั กล่าวเกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมายใด และมีผลเสียต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ อยา่ งไร 2. ครูแบ่งนกั เรียนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งอ่อน และออ่ น 3. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ในใบความรู้ เรื่อง กฎหมายอื่นท่ีควรรู้ กลุ่มละ 4 เรื่อง โดยให้ นกั เรียนแต่ละคู่ศึกษาคูล่ ะ 1 เร่ือง ตามความสนใจ ดงั น้ี - กฎหมายเก่ียวกบั การรับราชการทหาร - กฎหมายเก่ียวกบั ภาษีอากร - กฎหมายวา่ ดว้ ยการคุม้ ครองผบู้ ริโภค - กฎหมายเก่ียวกบั การศึกษา 4. นกั เรียนแตล่ ะหมายเลขผลดั กนั เล่าเรื่องรอบวงในเรื่องที่ตนศึกษาตามประเดน็ ดงั น้ี - ความสาํ คญั ของกฎหมาย - สาระสาํ คญั 5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปสาระสาํ คญั ของกฎหมายที่ควรรู้ จนมีความเขา้ ใจกระจา่ งชดั 6. ครูแจกใบงานที่ 4.1 เร่ือง กฎหมายอื่นที่ควรรู้ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่ม 7. สมาชิกคนหน่ึงของกลุ่มเขียนคาํ ตอบจากคาํ ถามในใบงาน แลว้ ส่งใบงานไปยงั คนตอ่ ไป 8. สมาชิกคนต่อไปอ่านคาํ ตอบของสมาชิกท่ีเขียนไว้ แลว้ ตอบคาํ ถามเพิ่มเติม 9. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มจะไดม้ ีโอกาสอ่านและเขียนคาํ ตอบหมุนเวยี นกนั ไปเร่ือยๆ จนเสร็จ สามารถตอบคาํ ถามไดค้ รบ 10. ครูสุ่มเรียกตวั แทนของแต่ละกลุ่มออกไปเฉลยคาํ ตอบในแตล่ ะขอ้ 11. ครูอธิบายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ กฎหมายสาํ คญั ท่ีนกั เรียนควรรู้อีก คือ กฎหมายระหวา่ ง ประเทศหรือขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ - ความหมายของขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ - ความสาํ คญั ของขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ - กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ 270
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 12. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนทาํ งานร่วมกนั เป็นกลุ่ม และงานเป็นรายบุคคล ดงั น้ี - งานกลุ่ม : ใหน้ กั เรียนรายงานเร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั โดยสรุปเป็นประเด็นส้ันๆ ใหค้ รอบคลุมหวั ขอ้ กฎหมายเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว มรดก สัญญา กฎหมายอาญา กฎหมายอ่ืนท่ีควรรู้ กาํ หนดเวลา 2 สปั ดาห์ - งานเดี่ยว : ใหน้ กั เรียนรายงานการปฏิบตั ิตนตามกฎหมายในแบบบนั ทึกการปฏิบตั ิตน ตามกฎหมาย กาํ หนดเวลาปฏิบตั ิ 1-2 เดือน หรือตามความเหมาะสม นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน หนา้ ท่ีพลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. ตวั อยา่ งข่าว 3. ใบความรู้เร่ือง กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ครอบครัวและมรดก 4. ใบความรู้เร่ือง นิติกรรมและสัญญา 5. ใบความรู้เร่ือง กฎหมายอ่ืนที่ควรรู้ 6. ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก 7. ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง ซ้ือขาย ขายฝาก 8. ใบงานที่ 2.2 เรื่อง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ 9. ใบงานที่ 2.3 เร่ือง กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 10. ใบงานที่ 3.1 เรื่อง กฎหมายอาญาที่ควรรู้ 11. ใบงานท่ี 4.1 เร่ือง กฎหมายอื่นที่ควรรู้ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Law1/Law-Civil2.htm http://www.thaijustice.com/webboard.asp?sub=0&id=1142759 http://www.dnp.go.th/mfcd10/knowlage/law.doc http://e-book.ram.edu/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=LW302(47) http://www.oknation.net/blog/daffodillaw/2008/02/22/entry-1/comment# http://gto38saebaryo62.spaces.live.com/blog/cns!DAEC34827FE3073D!466.entry http://online.benchama.ac.th/social/aiII/aiII_files/frame.htm#slide0002.htm 271
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาํ ตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ เดียว 1. ขอ้ ความที่กล่าววา่ “ความไม่รู้กฎหมายไมอ่ าจยกมาแกต้ วั ใหพ้ น้ จากความรับผิดได”้ มีผลสาํ คญั ในเร่ืองใดมากท่ีสุด ก. การแกต้ วั ใหพ้ น้ จากความผดิ น้นั ทาํ ไดย้ าก ข. บุคคลทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมาย ค. เม่ือทาํ ความผิดตอ้ งรับโทษ ง. บุคคลทุกคนตอ้ งรู้กฎหมาย 2. บุคคลผมู้ ีสัญชาติไทยท่ีมีอายเุ ท่าไร จะตอ้ งทาํ บตั รประจาํ ตวั ประชาชน ก. 15 ปี บริบรู ณ์ข้ึนไป แต่ไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์ ข. 15 ปี บริบูรณ์ข้ึนไป แตไ่ ม่เกิน 70 ปี บริบูรณ์ ค. 15 ปี บริบูรณ์ข้ึนไป แต่ไม่เกิน 75 ปี บริบูรณ์ ง. 15 ปี บริบูรณ์ข้ึนไป แตไ่ ม่เกิน 80 ปี บริบูรณ์ 3. การท่ีกฎหมายกาํ หนดใหผ้ เู้ ยาวท์ าํ นิติกรรมใดๆ ตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากบิดามารดา หรือผปู้ กครองน้นั มีผลดีตอ่ ผเู้ ยาวอ์ ยา่ งไร ก. ป้ องกนั การถูกเอาเปรียบจากผอู้ ื่น ข. ผเู้ ยาวไ์ ดร้ ับการปกป้ องและคุม้ ครอง ค. ทาํ ใหผ้ เู้ ยาวม์ ีความเคารพยาํ เกรงบิดามารดา ผปู้ กครอง ง. บิดามารดาและผปู้ กครองตอ้ งมีความรับผดิ ชอบต่อผเู้ ยาว์ 4. ขอ้ ใดจดั เป็นอสงั หาริมทรัพยต์ ามกฎหมาย ก. สิทธิจาํ นาํ ข. ลิขสิทธ์ิ ค. รถยนต์ บา้ น ง. สิทธิครอบครองท่ีดิน 5. เก่ง อายุ 20 ปี บริบูรณ์ แต๋ว อายุ 17 ปี บริบรู ณ์ ตอ้ งการสมรสกนั จะกระทาํ ไดอ้ ยา่ งไร ก. เก่งและแต๋วตอ้ งไปจดทะเบียนสมรสกนั ท่ีอาํ เภอ ข. แต๋วตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากบิดามารดาหรือผปู้ กครอง ค. เก่งและแต๋วตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากบิดามารดาหรือผปู้ กครอง ง. เก่งและแต๋วอายเุ กิน 17 ปี บริบรู ณ์แลว้ สามารถทาํ การสมรสกนั ได้ 272
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6. ขอ้ ความเก่ียวกบั เร่ืองการสมรสขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. ผรู้ ับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมสมรสกนั ได้ ข. ชายหญิงทาํ การสมรสกนั ไดเ้ ม่ืออายคุ รบ 17 ปี บริบูรณ์ ค. หญิงท่ีสามีตายจะทาํ การสมรสใหม่ไดเ้ ม่ือเวลาผา่ นพน้ ไปไมน่ อ้ ยกวา่ 90 วนั ง. ชายหรือหญิงจะทาํ การสมรสกนั จะตอ้ งจดทะเบียนสมรสจึงจะมีผลสมบรู ณ์ตามกฎหมาย 7. นายแสงชยั มีท่ีดิน 3 ไร่ เงินสด 5 แสนบาท ต่อมาเขาไดท้ าํ การสมรสกบั นางสาวพอใจเจา้ ของร้านเสริมสวย ท้งั สองอยกู่ ินกนั ฉนั สามีภรรยาและไดซ้ ้ือโรงงานทอผา้ 1 แห่ง ต่อมาท้งั สองหยา่ กนั และมีการแบ่งทรัพยส์ ิน ขอ้ ใดเป็นสินสมรส ก. ร้านเสริมสวย ข. ท่ีดิน 3 ไร่ เงินสด 5 แสนบาท ค. โรงงานทอผา้ และดอกเบ้ียของเงินสด 5 แสนบาท ง. ท่ีดิน 3 ไร่ เงินสด 5 แสนบาท โรงงานทอผา้ ร้านเสริมสวย 8. สามีและภริยาสมคั รใจแยกกนั อยเู่ พราะเหตุที่ไม่อาจอยรู่ ่วมกนั ฉนั สามีภริยาไดโ้ ดยปกติสุขตลอดมา เกินกวา่ กี่ปี จึงจะสามารถอา้ งเป็นเหตุการณ์หยา่ ได้ ก. เกิน 5 ปี ข. เกิน 4 ปี ค. เกิน 3 ปี ง. เกิน 2 ปี 9. เด็กท่ีเกิดภายในเวลากี่วนั นบั ต้งั แตว่ นั ที่การสมรสสิ้นสุดลง กฎหมายสันนิษฐานวา่ เป็ นบุตร ชอบดว้ ยกฎหมายของชายผเู้ คยเป็นสามี ก. 120 วนั ข. 310 วนั ค. 320 วนั ง. 360 วนั 10. นายโตมร อายุ 36 ปี ตอ้ งการรับนางสาวหวานใจ อายุ 20 ปี เป็นบุตรบุญธรรมจะทาํ ไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด ก. ได้ เพราะหวานใจบรรลุนิติภาวะแลว้ ข. ได้ เพราะโตมรอายไุ มต่ ่าํ กวา่ 25 ปี บริบูรณ์ และแก่กวา่ หวานใจเกิน 15 ปี ค. ไม่ได้ เพราะหวานใจบรรลุนิติภาวะแลว้ ง. ไม่ได้ เพราะท้งั โตมรและหวานใจอยใู่ นวยั หนุ่มสาว 11. ขอ้ ความเก่ียวกบั การรับบุตรบุญธรรมขอ้ ใดไม่ถูกต้อง ก. บุตรบุญธรรมมีสิทธิใชช้ ื่อสกุลของผรู้ ับบุตรบุญธรรม ข. บุตรบุญธรรมมีสิทธิไดร้ ับมรดกของผรู้ ับบุตรบุญธรรม ค. ผรู้ ับบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรม ง. บิดามารดาโดยกาํ เนิดหมดอาํ นาจปกครองบุตรที่ยกใหเ้ ป็นบุตรบุญธรรมของผอู้ ่ืน 273
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 12. นายสมยั และนางเกตุ เป็นสามีภรรยากบั ท้งั สองมีบุตร 2 คน คือ เก๋และกงุ้ สมยั มีบิดาช่ือกอ้ น มารดาชื่อแกว้ ส่วนเกตุมีบิดาชื่อแมน้ มีมารดาชื่อมว้ น สมยั และเกตุซ้ือท่ีดินมาทาํ การเกษตร 100 ไร่ ตอ่ มาสมยั ถึงแก่กรรม ใหน้ กั เรียนแบ่งสินสมรสและมรดกของสมยั ก. เกตุ เก๋ กุง้ กอ้ น แกว้ ไดท้ ่ีดินเทา่ กนั คือคนละ 20 ไร่ ข. เกตุ เก๋ กงุ้ กอ้ น แกว้ แมน้ มว้ น ไดท้ ี่ดินคนละเท่าๆ กนั ค. เกตุไดท้ ี่ดิน 60 ไร่ กอ้ น แกว้ กงุ้ และเก๋ไดท้ ่ีดินคนละ 10 ไร่ ง. เกตุ ไดท้ ี่ดิน 50 ไร่ เก๋ กงุ้ กอ้ น แกว้ ไดท้ ี่ดินคนละ 10 ไร่ ส่วนแมน้ และมว้ นไดร้ วมกนั 10 ไร่ 13. นายถนอมศกั ด์ิตกลงซ้ือสวนผลไมจ้ ากนายเสริมสร้าง จาํ นวน 5 ไร่ เป็ นเงินหา้ ลา้ นบาท โดยนายถนอมศกั ด์ิ ไดว้ างเงินมดั จาํ ไว้ หา้ พนั บาท ต่อมานายเสริมสร้างไมย่ อมขายสวนผลไมใ้ หน้ ายถนอมศกั ด์ิ นายถนอมศกั ด์ิ จะฟ้ องร้องนายเสริมสร้างใหท้ าํ ตามสัญญาไดห้ รือไม่ ก. ได้ เพราะไดว้ างเงินมดั จาํ ไวแ้ ลว้ ข. ได้ เพราะไดต้ กลงกนั เรียบร้อยแลว้ ค. ไม่ได้ เพราะยงั ไมไ่ ดใ้ หเ้ งินครบตามจาํ นวน ง. ไมไ่ ด้ เพราะชาํ ระเงินไมถ่ ึงคร่ึงหน่ึงของราคาทรัพยส์ ิน 14. นายชายฝากอสังหาริมทรัพย์ ตอ้ งกาํ หนดเวลาใชส้ ิทธิไถ่คืนสูงสุดไวไ้ ม่เกินกี่ปี ก. 3 ปี ข. 5 ปี ค. 8 ปี ง. 10 ปี 15. สัญญาขายฝากทรัพยส์ ินในขอ้ ใด ตอ้ งทาํ เป็นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ก. บา้ น ที่ดิน สัตวพ์ าหนะ ข. รถยนต์ รถบรรทุก โรงงาน ค. โรงงาน ท่ีดิน รถจกั รยานยนต์ ง. เรือ รถยนต์ เคร่ืองจกั รกล 16. นางสาวตากลม ทาํ สัญญาเช่าหอ้ งแถวของนายใจเพชร เพ่ือทาํ เป็นร้านขายหนงั สือ โดยทาํ สัญญา เป็นหนงั สือต่อหนา้ พยาน 2 คน กาํ หนดเวลา 5 ปี เม่ือเวลาผา่ นไป 3 ปี นายใจเพชรยกเลิกสัญญาเช่า นางสาวตากลมจะฟ้ องร้องบงั คบั ตามสญั ญาเช่าไดห้ รือไม่ ก. ได้ เพราะทาํ สญั ญาเป็นหนงั สือ ข. ได้ เพราะมีพยาน 2 คน ค. ไมไ่ ด้ เพราะสัญญานานเกิน 3 ปี ง. ไมไ่ ด้ เพราะนางสาวตากลมและนายใจเพชรไม่ไดท้ าํ สัญญาและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ 17. ขอ้ ความเก่ียวขอ้ งกบั การเช่าซ้ือขอ้ ใดไม่ถูกต้อง ก. เป็นสัญญาท่ีมีลกั ษณะของสญั ญาเช่ากบั สญั ญาซ้ือขายผสมกนั ข. ผใู้ หเ้ ช่าซ้ือตอ้ งเป็ นเจา้ ของหรือมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่นาํ ออกใหเ้ ช่า ค. สญั ญาเช่าซ้ือมีความเหมือนกนั หรือคลา้ ยกนั กบั สญั ญาซ้ือขายผอ่ นส่ง ง. เมื่อผเู้ ช่าซ้ืออสงั หาริมทรัพยไ์ ดช้ าํ ระคา่ เช่าซ้ือจนครบตามสัญญาแลว้ จะตอ้ งจดทะเบียนการไดม้ า 274
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ของอสังหาริมทรัพยต์ ่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีจึงจะสมบูรณ์ 18. การกยู้ มื เงินเกินกวา่ จาํ นวนใดจะตอ้ งมีหลกั ฐานเป็ นหนงั สือลายมือชื่อผกู้ จู้ ึงจะบงั คบั คดีได้ ก. 50 บาท ข. 500 บาท ค. 1,000 บาท ง. 2,000 บาท 19. ทรัพยส์ ินในขอ้ ใดสามารถนาํ ไปจาํ นาํ ได้ ก. บา้ น ข. หอ้ งแถว ค. สวนผลไม้ ง. แหวนเพชร 20. นายกลา้ หาญตกลงจาํ นองบา้ นพร้อมที่ดินใหแ้ ก่นายคล่องแคล่ว การจาํ นองจะสมบูรณ์เม่ือใด ก. กลา้ หาญและคล่องแคล่วไปทาํ สัญญาและจดทะเบียนจาํ นองบา้ นพร้อมที่ดินต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ข. กลา้ หาญและคล่องแคล่วทาํ สญั ญาจาํ นองบา้ นหรือท่ีดินเป็นหนงั สือและมีพยานรับรองสองคน ค. กลา้ หาญมอบใหค้ ล่องแคล่วไปทาํ หนงั สือสญั ญาจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ง. กลา้ หาญรับเงินจากคล่องแคล่ว และคล่องแคล่วรับมอบบา้ นพร้อมท่ีดินจากกลา้ หาญ เฉลย 1. ข 2. ข 3. ก 4. ง 5. ข 6. ง 7. ค 8. ค 9. ข 10. ข 11. ค 12. ค 13. ก 14. ง 15. ก 16. ง 17. ค 18. ง 19. ง 20. ก 275
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 กฎหมายในชีวติ ประจาวนั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6 เรื่อง กฎหมายเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัว และมรดก เวลา 2 ช่ัวโมง สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การปฏิบตั ิตนอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเองและครอบครัว ย่อมส่งผลให้การดาํ เนิน ชีวติ เป็นไปอยา่ งปกติสุข ตวั ชีว้ ดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวช้ีวัด ส 2.1 ม 4-6/1 วเิ คราะห์และปฏิบตั ิตนตามกฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. วเิ คราะห์การกระทาํ ตามกฎหมายเกี่ยวกบั ช่ือบุคคล บตั รประจาํ ตวั ประชาชนและความสามารถ ของผเู้ ยาวไ์ ด้ 2. วเิ คราะห์การกระทาํ ท่ีถูกตอ้ งตามหลกั กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ครอบครัวและมรดกได้ สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ตนเองและครอบครัว 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ - สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม 276
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่ เรียนรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทาํ งาน กจิ กรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการเรียนร่วมกัน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เร่ือง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั ช่ัวโมงที่ 1 1. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนผลดั กนั เล่าประสบการณ์ความรู้เดิมในเร่ือง กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ที่เคยเรียนมาแลว้ เช่น - กฎหมายเก่ียวกบั ชื่อบุคคล - กฎหมายบตั รประจาํ ตวั ประชาชน - กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ความสามารถของผเู้ ยาว์ ฯลฯ 2. ครูต้งั คาํ ถามใหน้ กั เรียนตอบ ดงั น้ี 1) ถา้ นกั เรียนตอ้ งการเปล่ียนช่ือตวั จะตอ้ งไปยนื่ คาํ ขอการเปลี่ยนช่ือที่ใด และสามารถเปลี่ยนชื่อ ดว้ ยตนเองไดห้ รือไม่ แนวคาตอบ นายทะเบียนทอ้ งท่ีซ่ึงตนมีช่ืออยใู่ นทะเบียนบา้ น และตอ้ งใหบ้ ิดามารดาหรือ ผปู้ กครองใหค้ วามยนิ ยอมเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรเสียก่อน 2) ถา้ นกั เรียนมีความประสงคจ์ ะเปล่ียนชื่อสกลุ จะตอ้ งเตรียมหลกั ฐานใดบา้ ง แนวคาตอบ ทะเบียนบา้ นพร้อมดว้ ยสาํ เนาทะเบียนบา้ น 1 ฉบบั บตั รประจาํ ตวั ประชาชน พร้อมดว้ ยสาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชน 1 ฉบบั 3) ตวั บุคคลยนื่ ขอมีบตั รประจาํ ตวั ประชาชนเป็นคร้ังแรกเมื่ออายเุ ท่าไร และมีอายกุ ารใชก้ ี่ปี ต้งั แตว่ นั ออกบตั ร แนวคาตอบ เมื่ออายคุ รบ 15 ปี บริบูรณ์ และมีอายใุ ชไ้ ด้ 6 ปี ต้งั แตว่ นั ออกบตั ร 4) ผเู้ ยาวส์ ามารถทาํ นิติกรรมดว้ ยตนเองไดใ้ นกรณีใดบา้ ง แนวคาตอบ กิจกรรมอนั เป็ นประโยชน์แก่ผเู้ ยาวฝ์ ่ ายเดียวไม่มีทางเสีย กิจการท่ีจะตอ้ งทาํ เอาเฉพาะตวั เช่น การสอบชิงทุนการศึกษา การรับเดก็ เป็ นบุตร กิจการที่เป็ นการ สมควรแก่ฐานานุรูป เช่น ซ้ือของกินของใชเ้ ลก็ ๆ นอ้ ย ๆ การทาํ พนิ ยั กรรม เมื่ออายคุ รบสิบหา้ ปี บริบูรณ์ 277
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 3. นกั เรียนและครูช่วยกนั แสดงความคิดเห็นถึงความสาํ คญั ของกฎหมาย 4. ครูแบง่ นกั เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลาง ค่อนขา้ งอ่อน และอ่อน ทุกคนร่วมมือกนั ศึกษาความรู้จากใบความรู้เรื่อง กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ครอบครัวและมรดก อภิปรายสร้างความเขา้ ใจในประเดน็ สาํ คญั ในเรื่องท่ีศึกษา ในหวั ขอ้ ดงั น้ี 1) กฎหมายครอบครัว - การหม้นั - การสมรส - ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบิดามารดากบั บุตร - สิทธิและหนา้ ท่ีของบิดามารดา - สิทธิและหนา้ ที่ของบุตร 2) กฎหมายเร่ืองมรดก ช่ัวโมงที่ 2 1. ครูและนกั เรียนช่วยกนั ทบทวนความรู้เร่ือง กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ครอบครัวและมรดก 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทาํ ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก โดยใหส้ มาชิกในกลุ่ม แบ่งหนา้ ท่ีกนั ทาํ งาน ดงั น้ี - สมาชิกคนท่ี 1 มีหนา้ ที่อา่ นกรณีศึกษา คาํ ถาม แยกแยะประเดน็ ใหช้ ดั เจน - สมาชิกคนที่ 2 ฟังข้นั ตอน รวบรวมขอ้ มูล เสนอแนะแนวทางการตอบคาํ ถาม - สมาชิกคนท่ี 3 ตอบคาํ ถาม - สมาชิกคนท่ี 4 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มหมุนเวยี นเปล่ียนหนา้ ที่กนั - สมาชิกคนที่ 2 เล่ือนมาทาํ หนา้ ท่ีแทนคนที่ 1 - สมาชิกคนท่ี 3 เลื่อนมาทาํ หนา้ ท่ีแทนคนที่ 2 - สมาชิกคนที่ 4 เลื่อนมาทาํ หนา้ ท่ีแทนคนท่ี 3 - สมาชิกคนที่ 1 เลื่อนมาทาํ หนา้ ท่ีแทนคนท่ี 4 สมาชิกทุกคนหมุนเวยี นกนั ทาํ หนา้ ที่ตอบคาํ ถามในใบงานจนครบทุกขอ้ 4. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มส่งใบงานตอ่ ครูผสู้ อน ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มผลดั กนั ตรวจใบงานตามท่ี ครูเฉลย และใหค้ ะแนน 5. ครูประกาศชมเชยนกั เรียนกลุ่มที่ไดค้ ะแนนสูงสุดเรียงตามลาํ ดบั 278
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6. นกั เรียนและครูช่วยกนั สรุปสาระสาํ คญั ของกฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ครอบครัวและมรดก การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เร่ือง กฎหมาย แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ในชีวติ ประจาํ วนั ตรวจใบงานที่ 1.1 ท่ี 7 เรื่อง กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั สังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุ่ม ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน หนา้ ท่ีพลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. ใบความรู้เร่ือง กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ครอบครัวและมรดก 3. ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Law1/Law-Civil2.htm http://www.thaijustice.com/webboard.asp?sub=0&id=1142759 279
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบความรู้เร่ือง กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ครอบครัวและมรดก กฎหมายเก่ียวกบั การคุม้ ครองความสัมพนั ธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว ซ่ึงรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 ไดบ้ ญั ญตั ิเป็ นแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐไว้ เพ่ือให้รัฐตอ้ ง ส่งเสริม และพฒั นาความเป็ นปึ กแผน่ ของครอบครัว รับรองสิทธิของบุคคลในครอบครัว และกาํ หนดใหเ้ ด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิไดร้ ับความคุม้ ครองโดยรัฐจากการใชค้ วามรุนแรง และการปฏิบตั ิอนั ไม่เป็ น ธรรม เด็กและเยาวชนท่ีไมม่ ีผดู้ ูแล มีสิทธิไดร้ ับการเล้ียงดู และการศึกษาอบรมจากรัฐ 1. กฎหมายครอบครัว บญั ญตั ิขอ้ กาํ หนดเก่ียวกบั ความสัมพนั ธ์ทางครอบครัวต้งั แต่การหม้นั ไป จนถึงการสมรส ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว และการขาดจากความสมั พนั ธ์ในครอบครัว ไดแ้ ก่ 1.1 การหม้ัน เป็ นการทาํ สัญญาระหวา่ งชาย กบั หญิงว่าต่อไปจะสมรสกนั ซ่ึงจะทาํ ไดต้ ่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุ 17 ปี บริบูรณ์ แต่ถา้ ชายหรือหญิงยงั เป็ นผูเ้ ยาว์ จะตอ้ งได้รับความยินยอมจากบิดามารดา หรือผปู้ กครองเสียก่อน ในการหม้นั ฝ่ ายชายจะใหข้ อง หม้นั แก่ฝ่ ายหญิง เพื่อเป็ นหลกั ฐานและประกนั ว่าจะ สมรสกบั หญิงดว้ ยของหม้นั น้ี เมื่อสมรสแลว้ ของหม้นั จะตกเป็ นของฝ่ ายหญิงแต่ถ้าไม่มีการสมรสอัน เนื่องมาจากความผิดของฝ่ ายหญิง ฝ่ ายหญิงตอ้ งคืนของหม้นั ให้แก่ฝ่ ายชาย การผดิ สัญญาหม้นั ฝ่ ายท่ีเสียหาย สามารถเรียกค่าทดแทนได้ แต่จะให้ศาลบงั คบั ให้มีการสมรสไม่ได้ เพราะวา่ การสมรสน้นั ข้ึนอยกู่ บั ความ สมคั รใจของผจู้ ะสมรสเท่าน้นั 1.2 การสมรส เป็ นการทาํ สัญญาตกลงเป็ นสามีภริยากันระหว่างชายกบั หญิง กฎหมาย กาํ หนดเง่ือนไขของการสมรสไว้ ดงั น้ี 1) การสมรสจะทาํ ไดต้ ่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ปี บริบูรณ์แลว้ หากมีอายตุ ่าํ กวา่ น้ีตอ้ ง ใหศ้ าลอนุญาต ซ่ึงจะตอ้ งมีเหตุผลอนั สมควร 2) ชายหรือหญิงท่ีเป็ นบุคคลวิกลจริตหรือศาลสั่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถจะทาํ การ สมรสไม่ได้ 3) ชายหรือหญิงซ่ึงเป็ นญาติสืบสายโลหิตกนั เช่น พอ่ หรือแม่กบั ลูก พ่ีนอ้ งร่วมบิดามารดา กนั หรือเป็นพน่ี อ้ งร่วมแต่เพียงบิดาหรือมารดากนั จะสมรสกนั ไม่ได้ 4) ผรู้ ับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกนั ไม่ได้ 280
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 5) ชายหรือหญิงจะทาํ การสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยแู่ ลว้ ไมไ่ ด้ 6) หญิงท่ีเคยสมรสแลว้ แต่สามีตาย หรือการสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดลงโดยเหตุอ่ืน เช่น การ หย่าจะสมรสใหม่ได้ ก็ต่อเมื่อการสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วนั เวน้ แต่จะสมรสกบั คู่ สมรสเดิม คลอดบุตรระหวา่ งน้นั มีใบรับรองแพทยว์ า่ มิไดต้ ้งั ครรภห์ รือมีคาํ สง่ั ของศาลใหส้ มรสได้ 7) ถา้ ชายหรือหญิงฝ่ ายใดอายุยงั ไม่ครบ 20 ปี บริบูรณ์ ฝ่ ายน้นั ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจาก บิดามารดาหรือผปู้ กครองเสียก่อน 8) การสมรสจะตอ้ งจดทะเบียน โดยมีนายอาํ เภอหรือปลดั อาํ เภอผเู้ ป็ นหัวหน้ากิ่งอาํ เภอ และเป็ นนายทะเบียน 9) ชายหญิงจะตอ้ งแสดงความยินยอมเป็ นสามีภริยากนั โดยเปิ ดเผยต่อหน้านายทะเบียน และนายทะเบียนตอ้ งบนั ทึกความยนิ ยอมน้นั ไวด้ ว้ ย การสมรสท่ีถูกตอ้ งตามเงื่อนไขของกฎหมายก่อให้เกิดความสัมพนั ธ์ระหว่างสามีภริยา 2 ประการ ดงั น้ี 1. ความสมั พนั ธ์ทางครอบครัว กฎหมายกาํ หนดใหส้ ามีภริยาตอ้ งอยกู่ ินร่วมกนั ฉนั สามีภรรยา ตอ้ ง ช่วยเหลืออุปการะเล้ียงดูกนั ตามความสามารถของฐานะของตน และในกรณีท่ีศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็ น คนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ สามีหรือภริยายอ่ มไดเ้ ป็ นผูอ้ นุบาลหรือหรือผพู้ ิทกั ษ์และ ตอ้ งใหก้ ารอุปการะเล้ียงดูอีกฝ่ ายหน่ึงตามสมควร 2. ความสัมพนั ธ์ทางทรัพย์สิน กฎหมายแบ่งทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาเป็ นสินส่วนตวั และ สินสมรส 1) สินส่วนตวั ไดแ้ ก่ ทรัพยส์ ินที่สามีหรือภริยามีอย่กู ่อนสมรสเป็ นเคร่ืองใช้สอยส่วนตวั หรือเป็ นทรัพยส์ ินท่ีไดม้ าระหว่างสมรส โดยการยกให้หรือรับมรดก สําหรับภริยาของหม้นั จะถือเป็ นสิน ส่วนตวั ของภริยาดว้ ยสินส่วนตวั ของคู่สมรสฝ่ ายใด ฝ่ ายน้นั ยอ่ มเป็นผมู้ ีอาํ นาจจดั การ 2) สินสมรส ไดแ้ ก่ ทรัพยส์ ินท่ีคู่สมรสไดม้ าระหวา่ งสมรสหรือฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไดม้ าโดย การยกใหห้ รือโดยพินยั กรรม ซ่ึงระบุใหเ้ ป็นสินสมรส รวมท้งั ดอกผลที่เกิดจากสินส่วนตวั ดว้ ย สามีภริยาเป็ น ผจู้ ดั การสินสมรสร่วมกนั โดยการจดั การจะตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมร่วมกนั เวน้ แต่จะตกลงไวเ้ ป็ นอยา่ งอื่น โดยสัญญาก่อนสมรส หรือศาลส่ังให้สามีหรือภริยาเป็ นผูจ้ ดั การแต่ฝ่ ายเดียว และเม่ือการสมรสสิ้นสุดลง จะตอ้ งมีการแบ่งสินสมรสระหว่างชายกบั หญิง โดยนําสินสมรสมาแบ่งเท่าๆ กนั แต่ถ้าฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง จาํ หน่ายสินสมรสไปโดยมิไดร้ ับความยนิ ยอมจากอีกฝ่ ายหน่ึงตอ้ งนาํ สินส่วนตวั ของตนเองมาใชส้ ินสมรสที่ ตนจาํ หน่ายไป ในทางกฎหมาย การสมรสจะสิ้นสุดลงดว้ ยปัจจยั ที่สาํ คญั ดงั น้ี 1. ศาลพิพากษาวา่ การสมรสเป็นโมฆะ หรือโมฆียะ หรือให้เพิกถอนการสมรสเพราะทาํ การสมรส โดยผดิ เงื่อนไข 281
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 2. คูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงตาย 3. การหย่า ไดแ้ ก่ การหย่าโดยความยินยอมของท้งั 2 ฝ่ าย ซ่ึงตอ้ งทาํ เป็ นหนงั สือและมีพยานลง ลายมือช่ือรับรองอยา่ งนอ้ ย 2 คน โดยตอ้ งมีการจดทะเบียนหยา่ และการหยา่ โดยคาํ พิพากษาของศาล ไดแ้ ก่ คู่สมรสไม่อาจตกลงหย่ากนั โดยความยินยอมได้ ฝ่ ายที่ตอ้ งการหย่าจะฟ้ องต่อศาลให้ศาลพิพากษาให้หย่า โดยตอ้ งอา้ งเหตุหย่า ซ่ึงกฎหมายกาํ หนดไวห้ ลายประการด้วยกนั เช่น สามีและภริยาสมคั รใจแยกกนั อยู่ เพราะเหตุที่ไมอ่ าจอยรู่ ่วมกนั ฉนั สามีภริยาไดโ้ ดยปกติสุขตลอดมาเกิน 3 ปี หรือแยกกนั อยตู่ ามคาํ ส่ังศาลเป็ น เวลาเกิน 3 ปี เป็นตน้ 1.3 ความสัมพนั ธ์ระหว่างบิดามารดากบั บุตร สามารถแบ่งออกได้ ดงั น้ี 1) การเป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมายและการรับรองบุตร เด็กท่ีเกิดจากบิดามารดาซ่ึงจด ทะเบียนสมรสกนั แมจ้ ะมีการเพิกถอนภายหลงั ก็ตาม หรือเกิดภายใน 310 วนั นบั แต่วนั ที่การสมรสสิ้นสุด ลง กฎหมายสันนิษฐานวา่ เป็ นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายของชายผเู้ คยเป็ นสามี เวน้ แต่จะมีการฟ้ องคดีไม่รับเด็ก น้นั เป็ นบุตรภายในหน่ึงปี นบั แต่วนั รู้ถึงการเกิดของเด็กหรือฟ้ องเสียหายภายในสิบปี นบั แต่วนั เกิดของเด็ก เดก็ ซ่ึงเกิดจากบิดามารดาที่มิไดส้ มรสกนั ยอ่ มเป็ นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายของมารดาฝ่ ายเดียวเท่าน้นั จะเป็ น บุตรชอบดว้ ยกฎหมายของบิดาดว้ ยต่อเม่ือบิดามารดาไดส้ มรสกนั ภายหลงั โดยมีผลนบั ต้งั แต่วนั สมรส หรือ เม่ือบิดาจดทะเบียนว่าเป็ นบุตร โดยจะตอ้ งได้รับความยินยอมจากเด็กและมารดาของเด็กและจะมีผลน้นั ต้งั แต่วนั จดทะเบียน ในกรณีท่ีเด็กหรือมารดาไม่ให้ความยินยอม หรือคดั คา้ นว่าผทู้ ี่ขอจดทะเบียนรับรอง บุตรไม่ใช่บิดา หรือในกรณีท่ีตอ้ งมีการฟ้ องชายเพื่อขอใหร้ ับเด็กเป็ นบุตร หากศาลพิพากษาวา่ เป็ นบุตรชอบ ดว้ ยกฎหมาย การเป็ นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายย่อมมีผลนบั แต่วนั ท่ีศาลพิพากษาถึงท่ีสุด ซ่ึงจะทาํ ให้ผทู้ ่ีเป็ น บุตรน้นั มีสิทธิ เช่น ใชช้ ่ือสกุลของบิดา รับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมได้ เป็ นตน้ ส่วนผรู้ ับรองบุตรก็ สามารถใชอ้ าํ นาจปกครอง รวมท้งั ตอ้ งอุปการะเล้ียงดูบุตรน้นั ตอ่ ไป 2) การรับบุตรบุญธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างบิดาหรื อมารดากับบุตรอาจเกิดข้ึน นอกเหนือจากกรณีขา้ งตน้ โดยการรับบุตรบุญธรรม หมายถึง การจดทะเบียนรับรองบุตรของผอู้ ื่นมาเล้ียงดู เป็นบุตรของตนเอง โดยดาํ เนินการตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ซ่ึงกาํ หนดเงื่อนไขพ้ืนฐาน รวมท้งั ความสัมพนั ธ์ทางกฎหมายระหวา่ งผรู้ ับบุตรบุญธรรมกบั บุตรบุญธรรมไวป้ ระกอบกบั พระราชบญั ญตั ิการรับ บุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522 ซ่ึงกาํ หนดรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อคุม้ ครองสวสั ดิภาพของเด็กท่ีจะเป็ นบุตรบุญ ธรรมยิ่งข้ึน เช่น ในกรณีที่ขอรับบุตรบุญธรรมของผูท้ ่ีมิใช่เครือญาติกบั เด็กจะมีการทดลองเล้ียงดู มีการ ตรวจสอบคุณสมบตั ิและขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกบั สภาพความเป็ นอยู่และความเหมาะสมของผูร้ ับเด็กเป็ นบุตร บุญธรรม เป็นตน้ เง่ือนไขพ้ืนฐานของการรับบุตรบุญธรรม ประกอบดว้ ย อายุและความยนิ ยอม คือ บุคคลท่ี จะรับผอู้ ื่นเป็ นบุตรบุญธรรมไดต้ อ้ งมีอายุไม่ต่าํ กวา่ 25 ปี บริบูรณ์ และตอ้ งแก่กวา่ ผูท้ ี่ตนจะรับเป็ นบุตร บุญธรรมอยา่ งน้อย 15 ปี และถา้ ผทู้ ่ีจะเป็ นบุตรบุญธรรมเป็ นผเู้ ยาว์ การรับบุตรบุญธรรมตอ้ งไดร้ ับความ 282
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ยินยอมจากบิดามารดาโดยกาํ เนิดของผทู้ ่ีจะเป็ นบุตรบุญธรรม และตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน ดว้ ย การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมมีผลให้บุตรบุญธรรมมีฐานะเสมือนบุตรที่ชอบด้วย กฎหมายของผรู้ ับบุตรบุญธรรม เช่น มีสิทธิใชช้ ่ือสกุล มีสิทธิรับมรดกของผรู้ ับบุตรบุญธรรม ผรู้ ับบุตรบุญธรรมมีอาํ นาจปกครองและมีหนา้ ที่ให้การอุปการะเล้ียงดูแต่ไม่มีสิทธิรับมรดกในส่วนของบุตร บุญธรรม และจะสมรสกบั บุตรบุญธรรมไมไ่ ด้ ส่วนบิดามารดาโดยกาํ เนิดเป็นอนั หมดอาํ นาจปกครอง อยา่ งไรก็ตาม บุตรบุญธรรมไม่สูญเสียสิทธิและหนา้ ท่ีในครอบครัวที่กาํ เนิดมาเช่น มีสิทธิ รับมรดกของบิดามารดาโดยกาํ เนิด การรับบุตรบุญธรรมมีทางเลิกไดโ้ ดยการจดทะเบียนเลิก ตามความ ยินยอมของบุตรบุญธรรมท่ีบรรลุนิติภาวะแลว้ กบั ผูร้ ับบุตรบุญธรรม หรือเม่ือมีการสมรสระหว่างบุตร บุญธรรมกบั ผรู้ ับบุตรบุญธรรม 1.4 สิทธิและหน้าทขี่ องบดิ ามารดา บิดามารดามีหนา้ ท่ีอุปการะเล้ียงดูและให้การศึกษาตาม สมควรแก่บุตรระหว่างท่ีบุตรยงั เป็ นผูเ้ ยาว์ หรือแมบ้ ุตรจะบรรลุนิติภาวะแลว้ แต่เป็ นผทู้ ุพพลภาพ และหา เล้ียงตนเองไม่ไดบ้ ิดามารดาก็ยงั มีหน้าท่ีตอ้ งอุปการะเล้ียงดูต่อไป ระหว่างท่ีบุตรเป็ นผูเ้ ยาวบ์ ิดามารดาเป็ น ผใู้ ชอ้ าํ นาจปกครองบุตรโดยมีสิทธิกาํ หนดท่ีอยขู่ องบุตรทาํ โทษบุตรตามสมควร หรือวา่ กล่าวส่ังสอนใหบ้ ุตร ทาํ การงานตามสมควรแก่ความสามารถและฐานานุรูป มีสิทธิเรียกบุตรคืนจากผอู้ ่ืนซ่ึงกกั บุตรไวโ้ ดยมิชอบ ดว้ ยกฎหมาย เป็ นผแู้ ทนโดยชอบธรรมของบุตร ในการฟ้ องคดีและมีสิทธิจดั การทรัพยส์ ินของบุตรดว้ ย ถา้ บุตรมีเงินได้ บิดามารดามีสิทธินาํ มาใช้เป็ นค่าอุปการะเล้ียงดู และการศึกษาของบุตร ส่วนที่เหลือตอ้ งเก็บ รักษาไวเ้ พอื่ มอบแก่บุตรภายหลงั เวน้ แตบ่ ิดามารดาจะยากจนไม่มีเงินไดพ้ อแก่การครองชีพจึงอาจนาํ เงินน้นั มาใชไ้ ด้ ในกรณีที่บิดามารดาตาย หรือถูกศาลส่งั ถอนอาํ นาจปกครอง เพราะวกิ ลจริตหรือ ประพฤติไม่เหมาะสม ศาลมีอาํ นาจต้งั ผปู้ กครองให้บุตรซ่ึงเป็ นผูเ้ ยาว์ เพ่ืออุปการะเล้ียงดูและให้ความ คุม้ ครองแก่ผเู้ ยาวน์ ้นั แทนบิดามารดาได้ 1.5 สิทธิและหน้าท่ีของบุตร บุตรมีสิทธิใชช้ ่ือ สกุลของบิดาเวน้ แต่ไม่ปรากฏบิดาใหใ้ ชช้ ่ือสกุลของมารดา บุตร มีสิทธิไดร้ ับการอุปการะเล้ียงดู และไดร้ ับการศึกษาตามสมควร จากบิดามารดา แต่บุตรมีหน้าที่ตอ้ งดูแลบิดามารดาของตนเป็ น การตอบแทนบุญคุณโดยบุตรจะฟ้ องบิดา มารดา รวมท้งั บุพการี อ่ืนของตนเป็ นคดีแพ่ง หรือคดีอาญาไม่ได้ ตอ้ งขอให้พนกั งาน อยั การยกคดีข้ึนวา่ กล่าวให้ 2. กฎหมายเรื่องมรดก มีเน้ือหาเกี่ยวกบั ลกั ษณะของมรดกและผทู้ ่ีจะมีสิทธิรับมรดก หรือทายาท โดยมรดกหรือกองมรดก ไดแ้ ก่ ทรัพยส์ ิน สิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบต่างๆของผตู้ าย หรือเจา้ ของ 283
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช มรดก ซ่ึงเมื่อผูใ้ ดถึงแก่ความตาย มรดกของเขาย่อมตกทอดแก่ทายาททนั ทีเวน้ แต่สิ่งที่กฎหมายหรือตาม สภาพแลว้ ถือเป็นการเฉพาะตวั ของผตู้ ายโดยแท้ ยอ่ มไม่ตกทอดเป็นมรดก เช่น สิทธิรับราชการ เป็ นตน้ กรณี ท่ีบุคคลใดหายไปจากที่อยโู่ ดยไม่ไดข้ ่าวคราวเป็ นเวลานาน ศาลอาจส่ังให้บุคคลน้นั เป็ นคนสาบสูญ ซ่ึง กฎหมายถือเสมือนวา่ ถึงแก่ความตาย และมรดกของผสู้ าบสูญยอ่ มตกทอดแก่ทายาทเหมือนกรณีตายจริงๆ ทายาท คือ ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกในทางกฎหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1) ทายาทโดยธรรมหรือทายาทตามที่กฎหมายกาํ หนด ไดแ้ ก่ คู่สมรส และญาติสนิทของ ผตู้ าย ซ่ึงสิทธิไดร้ ับมรดกและส่วนแบ่งที่จะไดร้ ับจะลดลงตามความห่างของญาติๆน้นั เช่น ถา้ คู่สมรส บุตร และบิดามารดาของผูต้ ายยงั อยู่ ยอ่ มมีสิทธิไดร้ ับมรดกของผตู้ ายโดยเท่าเทียมกนั โดยคู่สมรสมีสิทธิไดร้ ับ หน่ึงส่วน บุตรแต่ละคนมีสิทธิไดร้ ับคนละส่วน และบิดามารดาของผูต้ ายมีสิทธิไดร้ ับคนละหน่ึงส่วน กล่าวคือบิดาหน่ึงส่วนและมารดาหน่ึงส่วน ในกรณีเช่นน้ีญาติอ่ืนไม่มีสิทธิไดร้ ับมรดกของผตู้ ายอีก เพราะ ไดถ้ ูกตดั โดยญาติสนิทกวา่ ของเจา้ ของมรดกแลว้ 2) ทายาทตามพินยั กรรม ไดแ้ ก่ ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกตามที่พินยั กรรม ซ่ึงเป็ นหนงั สือแสดง ความประสงคส์ ่ังการเผ่อื ตายของผตู้ ายระบุไว้ โดยทายาทพวกน้ีอาจเป็ นญาติของผตู้ ายหรือไม่ก็ได้ แลว้ แต่ ผูต้ ายจะต้งั ใจยกมรดกของตนให้แก่ผูใ้ ดบา้ งในกรณีที่ผูต้ ายทาํ พินยั กรรมยกมรดกของตนให้ทายาทตาม พินัยกรรมท้งั หมดทายาทโดยธรรมย่อมไม่มีสิทธิไดร้ ับมรดกเลย แต่บุคคลจะทาํ พินัยกรรมยกมรดกได้ เฉพาะทรัพยส์ ินของตนเทา่ น้นั ในกรณีที่ตนมีคูส่ มรสกจ็ ะตอ้ งแบ่งทรัพยส์ ินระหวา่ งสามีภริยาก่อน ส่วนของ ตนจึงเป็ นมรดกตกทอดต่อไปได้ เรียบเรียงโดย สุคนธ์ สินธพานนท์ 284
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก ตอนที่ 1 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาํ ถาม กรณีศึกษาท่ี 1 โจ้อายุ 16 ปี จอย อายุ 15 ปี ท้งั สองรักใคร่กนั ไปมาหาสู่กัน ต่อมาจอยมีปัญหาพ่อแม่ประสบ อุบตั ิเหตุเสียชีวติ จอยไปอาศยั อยกู่ บั ครอบครัวของโจ้ ต่อมาจอยต้งั ครรภ์ จาํ เป็ นจะตอ้ งทาํ การสมรสเพ่ือบุตร จะไดม้ ีบิดาท่ีถูกตอ้ งตามกฎหมาย คาถาม โจแ้ ละจอยควรปฏิบตั ิอยา่ งไรจึงจะถูกตอ้ งตามกฎหมาย กรณศี ึกษาที่ 2 โดม อายุ 19 ปี รักใคร่ชอบพอกบั ดาว อายุ 18 ปี เม่ือท้งั คู่จบการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและมีงานทาํ มี รายไดพ้ อเล้ียงตนเองไดแ้ ลว้ ตอ้ งการสมรสกบั ดาว คาถาม โดมและดาวควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไร กรณีศึกษาที่ 3 ไกรและเก๋ตกลงใจจดทะเบียนสมรสกนั หลงั จากเรียนจบระดบั ปริญญาตรีแลว้ ไกรมีทรัพยส์ ินคือ รถยนต์ เงินสด 1 แสนบาท ท่ีดิน 1 แปลง ส่วนเก๋มีแหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน 285
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช โทรศพั ทม์ ือถือ 1 เครื่อง เมื่อท้งั สองคนอยกู่ ินดว้ ยกนั มา 15 ปี มีทรัพยร์ ่วมกนั ดงั น้ี เงินสด 5 ลา้ น 1 แสนบาท พอ่ แม่ของเก๋ใหท้ ่ีนาแก่เก๋จาํ นวน 10 ไร่ ต่อมาท้งั สองคนไม่ประสงคจ์ ะอยดู่ ว้ ยกนั จึงหยา่ กนั คาถาม 1. ไกรและเก๋มีทรัพยส์ ินส่วนตวั คืออะไรบา้ ง 2. สินสมรสของไกรและเก๋ มีอะไรบา้ ง กรณีศึกษาที่ 4 โชติอายุ 35 ปี มีภรรยาช่ือแวว อายุ 28 ปี ท้งั สองคนตอ้ งการรับเดก็ หญิงเก๋ ซ่ึงอายุ 14 ปี บุตรของนาย สายและนางสวยมาเป็ นบุตรบุญธรรม คาถาม 1. โชติและแววสามารถรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรมไดห้ รือไม่ อธิบายเหตุผล 2. เก๋จะเป็นบุตรบุญธรรมที่ชอบดว้ ยกฎหมายของบุคคลผรู้ ับบุตรบุญธรรมไดอ้ ยา่ งไร กรณศี ึกษาที่ 5 เกริกสมรสกบั ดวง ท้งั สองทาํ มาหากินกนั จนมีทรัพยส์ ินเป็นท่ีดิน 50 ไร่ เกริกมีบิดาชื่อมนั่ มารดาช่ือ มว้ น ดวงมีบิดาชื่อเด่น มารดาช่ือดี เกริกและดวงมีบุตร 2 คน คือ แกว้ และกอ้ ย ต่อมาเกริกประสบอุบตั ิเหตุ เสียชีวติ คาถาม ถา้ ทา่ นเป็นผมู้ ีหนา้ ท่ีแบง่ สินสมรสและมรดกของเกริก จะแบง่ อยา่ งไร 286
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ตอนท่ี 2 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี 1. บิดามารดามีหนา้ ท่ีตอ่ บุตรอยา่ งไรบา้ ง 2. สิทธิและหนา้ ท่ีของบุตรต่อบิดามารดา มีอะไรบา้ ง 3. ทายาทแบ่งเป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง 287
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก ตอนท่ี 1 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาํ ถาม กรณศี ึกษาท่ี 1 โจ้อายุ 16 ปี จอย อายุ 15 ปี ท้งั สองรักใคร่กนั ไปมาหาสู่กัน ต่อมาจอยมีปัญหาพ่อแม่ประสบ อุบตั ิเหตุเสียชีวติ จอยไปอาศยั อยกู่ บั ครอบครัวของโจ้ ตอ่ มาจอยต้งั ครรภ์ จาํ เป็ นจะตอ้ งทาํ การสมรสเพื่อบุตร จะไดม้ ีบิดาที่ถูกตอ้ งตามกฎหมาย คาถาม โจแ้ ละจอยควรปฏิบตั ิอยา่ งไรจึงจะถูกตอ้ งตามกฎหมาย จอยและโจ้ ต้องร้ องขออนุญาตต่ อศาลเพื่อให้ ศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ ทาการสมรสได้ กรณศี ึกษาท่ี 2 โดม อายุ 19 ปี รักใคร่ชอบพอกบั ดาว อายุ 18 ปี เม่ือท้งั คู่จบการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและมีงานทาํ มี รายไดพ้ อเล้ียงตนเองไดแ้ ลว้ ตอ้ งการสมรสกบั ดาว คาถาม โดมและดาวควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไร โดมและดาวต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาเสียก่อนจึงทาการสมรส หรือจดทะเบียนสมรส กนั ได้ 288
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กรณีศึกษาที่ 3 ไกรและเก๋ตกลงใจจดทะเบียนสมรสกนั หลงั จากเรียนจบระดบั ปริญญาตรีแลว้ ไกรมีทรัพยส์ ินคือ รถยนต์ เงินสด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง ส่วนเก๋มีแหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศพั ทม์ ือถือ 1 เคร่ือง เมื่อท้งั สองคนอยกู่ ินดว้ ยกนั มา 15 ปี มีทรัพยร์ ่วมกนั ดงั น้ี เงินสด 5 ลา้ น 1 แสนบาท พอ่ แม่ของเก๋ใหท้ ี่นาแก่เก๋จาํ นวน 10 ไร่ ตอ่ มาท้งั สองคนไมป่ ระสงคจ์ ะอยดู่ ว้ ยกนั จึงหยา่ กนั คาถาม 1. ไกรและเก๋มีทรัพยส์ ินส่วนตวั คืออะไรบา้ ง 2. สินสมรสของไกรและเก๋ มีอะไรบา้ ง 1. สินส่วนตวั ของไกรและเก๋ มีดงั นี้ ไกร รถยนต์ เงินสด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง เก๋ แหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศัพท์มือถือ 1 เคร่ือง 2. สินสมรสของท้ังสอง คือ เงินสด 5 ล้าน 1 แสนบาท กรณีศึกษาท่ี 4 โชติอายุ 35 ปี มีภรรยาช่ือแวว อายุ 28 ปี ท้งั สองคนตอ้ งการรับเดก็ หญิงเก๋ ซ่ึงอายุ 14 ปี บุตรของนาย สายและนางสวยมาเป็ นบุตรบุญธรรม คาถาม 1. โชติและแววสามารถรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรมไดห้ รือไม่ อธิบายเหตุผล 2. เก๋จะเป็นบุตรบุญธรรมที่ชอบดว้ ยกฎหมายของบุคคลผรู้ ับบุตรบุญธรรมไดอ้ ยา่ งไร 1. โชติสามารถรับเก๋เป็ นบุตรบุญธรรมได้ เพราะอายุไม่ตา่ กว่า 25 ปี บริบูรณ์ และมีอายุแก่กว่าเก๋ เกินกว่า 15 ปี ส่วนแววอายแุ ก่กว่าเก๋ไม่ถึง 15 ปี จึงไม่สามารถรับเก๋เป็นบุตรบญุ ธรรมได้ 2. เก๋จะเป็ นบุตรบุญธรรมของโชติได้ต่อเมื่อโชติจดทะเบียนรับเก๋เป็ นบุตรบุญธรรม และต้องให้ นายสายบิดาและนางสวยมารดาของเก๋ ให้ ความยินยอม 289
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช กรณศี ึกษาที่ 5 เกริกสมรสกบั ดวง ท้งั สองทาํ มาหากินกนั จนมีทรัพยส์ ินเป็นที่ดิน 50 ไร่ เกริกมีบิดาช่ือมน่ั มารดาช่ือ มว้ น ดวงมีบิดาช่ือเด่น มารดาชื่อดี เกริกและดวงมีบุตร 2 คน คือ แกว้ และกอ้ ย ต่อมาเกริกประสบอุบตั ิเหตุ เสียชีวติ คาถาม ถา้ ท่านเป็นผมู้ ีหนา้ ที่แบง่ สินสมรสและมรดกของเกริก จะแบง่ อยา่ งไร 1. เกริกและดวงได้สินสมรสเป็นที่ดินคนละ 25 ไร่ 2. ผ้ไู ด้รับมรดก คือ มนั่ ม้วน แก้ว ก้อย และดวง ได้รับคนละ 5 ไร่ ตอนที่ 2 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี 1. บิดามารดามีหนา้ ท่ีต่อบุตรอยา่ งไรบา้ ง 1. อุปการะเลีย้ งดแู ละให้การศึกษาแก่บตุ รตามสมควรระหว่างบุตรเป็นผ้เู ยาว์ 2. อุปการะเลีย้ งดูบตุ รผ้ทู ุพพลภาพและหาเลีย้ งตนเองไม่ได้ ถึงแม้ว่าจะบรรลุนิติภาวะแล้ว 3. ใช้อานาจปกครองบุตร โดยมีสิทธิกาหนดที่อย่ขู องบตุ ร ทาโทษบุตรตามสมควร หรือว่ากล่าว สั่งสอนให้ บุตรทางานตามความเหมาะสมแก่ ความสามารถและฐานานุรู ป 4. มีสิทธิเรียกบตุ รคืนจากผ้อู ื่น ซ่ึงกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย 5. เป็นผ้แู ทนโดยชอบธรรมของบตุ รในการฟ้ องคดี 6. มีสิทธิจัดการทรัพย์สินของบตุ ร ถ้าบุตรมีเงินได้ และมีสิทธินามาใช้เป็นค่าอุปการะเลีย้ งดู และ การศึกษาของบุตร ส่วนท่ีเหลือเกบ็ รักษาไว้เพ่ือมอบแก่บุตรภายหลัง 2. สิทธิและหนา้ ท่ีของบุตรต่อบิดามารดา มีอะไรบา้ ง 1. บุตรมีสิทธิใช้ช่ือสกุลของบิดา เว้นแต่ไม่ปรากฏบิดาให้ใช้ชื่อสกุลของมารดา 2. บตุ รมีสิทธิได้รับการอุปการะเลีย้ งดูและได้รับการศึกษาตามสมควรจากบิดามารดา 3. บตุ รมีหน้าที่ต้องดแู ลบิดามารดาของตนเป็นการตอบแทนบุญคุณ 4. บุตรจะฟ้ องบิดามารดา รวมท้ังบุพการีอ่ืนของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไม่ได้ ต้องให้พนกั งาน อัยการคดีขึน้ ว่ากล่าวให้ 3. ทายาทแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบา้ ง มี 2 ประเภท คือ 1. ทายาทโดยธรรม ได้แก่ คู่สมรสและญาติ 2. ทายาทตามพินัยกรรม ได้แก่ ผ้มู ีสิทธิได้รับมรดกตามพินยั กรรมกาหนด ซึ่งเป็นหนังสือแสดงความ ประสงค์ส่ังการเผ่ือตายของผ้ตู ายระบไุ ว้ อาจเป็นญาติของผ้ตู ายหรือไม่ใช่กไ็ ด้ 290
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ลาดบั ชื่อ – สกลุ ความร่วมมอื การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผ้รู ับการ 4321 ความคดิ เห็น ความคดิ เห็น ทางาน ปรับปรุง 20 ผลงานกล่มุ คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลุ่ม ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลมุ่ ผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพอื่ น โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมก็ได้ ปรับปรุง = 291 เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายในชีวติ ประจาวนั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 เรื่อง กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั นิตกิ รรมและสัญญา เวลา 2 ช่ัวโมง สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การปฏิบตั ิตามกฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั นิติกรรม สัญญา ยอ่ มส่งผลให้ดาํ รงชีวิตในสังคมร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ อยา่ งปกติสุขไมถ่ ูกผอู้ ่ืนเอาเปรียบ ตวั ชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวช้ีวดั ส 2.1 ม 4-6/1 วเิ คราะห์และปฏิบตั ิตนตามกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสงั คมโลก 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ - วเิ คราะห์การปฏิบตั ิตนตามกฎหมายแพง่ เก่ียวกบั นิติกรรมสัญญาได้ สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั นิติกรรมสญั ญา เช่น ซ้ือขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ - สมรรถนะของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม 292
แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝ่ เรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื : เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw)) ชั่วโมงท่ี 1 1. ครูนาํ กรณีตวั อยา่ งเก่ียวกบั บุคคลที่ถูกเอาเปรียบ เช่น - ชาวนาถูกนายทุนครอบครอง / ยดึ ที่นาที่นาํ ไปขายฝากไว้ - คนจนยอมเสียดอกเบ้ียเงินกใู้ หแ้ ก่ผใู้ หเ้ งินกใู้ นอตั ราร้อยละยส่ี ิบบาทตอ่ เดือน - การเช่า ซ้ือรถยนต์ แต่ไม่สามารถชาํ ระค่าเช่าซ้ือไดส้ องงวดติดต่อกนั แลว้ ถูกผใู้ ห้เช่าซ้ือริบ ทรัพยส์ ิน คือ รถยนต์ - การใหผ้ อู้ ื่นกยู้ มื เงินโดยไม่ไดท้ าํ สญั ญาเป็นหนงั สือ ลงลายมือช่ือผรู้ ับผดิ 2. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั วเิ คราะห์หาสาเหตุของการถูกเอาเปรียบหรือการเสียเปรียบผอู้ ่ืนและ แนวทางป้ องกนั แกไ้ ข 3. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้นกั เรียนเห็นความสําคญั ของการมีความรู้กฎหมายแพ่งเก่ียวกบั นิติกรรม และสัญญา ในเร่ือง ซ้ือขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 4. ครูแบง่ นกั เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละกนั ตามความสามารถ มีท้งั เก่ง ปานกลาง และออ่ น เรียกวา่ กลุ่มบา้ น (Home Groups)ใหส้ มาชิกในแต่ละกลุ่มเลือกหมายเลขประจาํ ตวั ต้งั แต่หมายเลข 1, 2 และ 3 ตามลาํ ดบั 5. นกั เรียนจากกลุ่มบา้ นแยกยา้ ยกนั ไปหาสมาชิกกลุ่มใหม่ท่ีมีหมายเลขเดียวกนั เรียกวา่ กลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert Groups) 6. สมาชิกกลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญแตล่ ะหมายเลข ร่วมมือกนั ศึกษาความรู้ในใบความรู้ เร่ือง นิติกรรมและ สัญญา แลว้ อธิบายสรุปร่วมกนั จนมีความเขา้ ใจกระจา่ งชดั เจน และร่วมกนั ทาํ ใบงาน ดงั น้ี - หมายเลข 1 ศึกษาความรู้ เร่ือง ซ้ือขาย ขายฝาก และทาํ ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ซ้ือขาย ขายฝาก - หมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เร่ือง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ และทาํ ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ - หมายเลข 3 ศึกษาความรู้ เร่ือง กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง และทาํ ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง กยู้ มื เงิน จาํ นาํ จาํ นอง 293
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352