Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

Published by dlit_sm037, 2021-04-06 04:03:49

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ สังคม ม4 - ครูภาณี แสนเดช

Search

Read the Text Version

คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวติ ในสงั คม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคญั ของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคมและการเปล่ียนแปลง ทางสังคม การแก้ปัญหาและแนวทางการพฒั นาทางสังคม การปฏิบตั ิตนและสนับสนุนให้ผูอ้ ื่นประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก วฒั นธรรมไทยที่สาคญั การปรับปรุงเปล่ียนแปลง และอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย และเลือกรับวฒั นธรรมสากล สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและ แนวทางการพฒั นา บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชน ปัญหาการเมืองที่สาคญั ในประเทศไทย การเมือง การปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกนั ระหว่าง ประเทศ การแลกเปล่ียนเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมดา้ นวฒั นธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ความสาคญั และความจาเป็นที่ตอ้ งธารงรักษาไวซ้ ่ึงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ น ประมุข การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครัว กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั นิติกรรมสัญญา กฎหมายอาญาในเรื่องความผิดเกี่ยวกบั ทรัพย์ ความผิดเก่ียวกบั ชีวิต และร่างกาย กฎหมายอื่นที่สาคญั ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ สามารถนาไปประยกุ ตป์ ฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดาเนินชีวติ อยา่ งสันติสุขในสังคมไทยและสงั คมโลก ตวั ชี้วดั ส 2.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม.4-6/5 ส 2.2 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 รวม 9 ตวั ชี้วดั พิเศษ 1

โครงสร้างรายวชิ า หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 – 6 ลาดบั ที่ ช่ือหน่วยการเรียน มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั 1 สงั คมมนุษย์ เรียนรู้ / ตวั ชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน ส 2.1 ม. 4-6/2 โครงสร้างทางสงั คมมีสถาบนั ทางสงั คมเป็ น 2 วฒั นธรรมไทย ส่วนสาคญั ท่ีทาหนา้ ท่ีในการขดั เกลาทาง 5 ส 2.1 ม. 4-6/5 สงั คม และมีส่วนในการแกป้ ัญหาและพฒั นา 6 3 พลเมืองดีของ สงั คม ประเทศชาติ ส 2.1 ม. 4-6/3 วฒั นธรรมไทย มีคุณค่าและความสาคญั 5 และสงั คมโลก ตอ่ การดาเนินชีวติ ของชาวไทย ซ่ึงจะตอ้ งรู้จกั 5 ส 2.1 ม. 4-6/4 การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และอนุรักษ์ 4 สิทธิมนุษยชน วฒั นธรรมไทย และเลือกรับวฒั นธรรมสากล 6 ส 2.2 ม. 4-6/1 อยา่ งเหมาะสม 5 ระบอบการเมือง ม. 4-6/2 การปฏิบตั ติ นเป็ นพลเมืองดีของประเทศ 5 การปกครอง ม. 4-6/3 ชาติและสงั คมโลกน้นั ยอ่ มส่งผลตอ่ การอยู่ ส 2.2 ม. 4-6/4 ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข 6 รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย ปัจจุบนั น้ีองคก์ รตา่ งๆ ท้งั ในประเทศ และองคก์ รระหวา่ งประเทศต่างๆ ให้ ความสาคญั กบั สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และร่วมมือกนั แกไ้ ขปัญหาสิทธิมนุษยชนให้ เป็ นไปตามปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิ มนุษยชน การร่วมมือกนั แกป้ ัญหาการเมืองการปกครอง และประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหวา่ ง ประเทศ เป็ นส่วนสาคญั ในการธารงรักษาไว้ ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมขุ การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐตามบทบญั ญตั ิ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยน้นั สามารถตรวจสอบไดโ้ ดยองคก์ รอิสระและ ตรวจสอบโดยประชาชน ดงั น้นั ประชาชน ทุกคนจึงควรมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การใชอ้ านาจรัฐ พเิ ศษ 2

ลาดบั ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั 7 เรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน กฎหมายในชีวติ ส 2.1 ม. 4-6/1 การปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่เกี่ยวกบั ตนเอง ประจาวนั ครอบครัว กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั นิติกรรม 8 สญั ญา กฎหมายอาญา กฎหมายท่ีสาคญั ของ ประเทศ และขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ ยอ่ ม ส่งผลดีต่อความสงบเรียบร้อยในสงั คม ระดบั ประเทศ และสงั คมโลก พเิ ศษ 3

ตารางโครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6 เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั วธิ ีสอน / กระบวนการจดั ทกั ษะการคดิ เวลา การเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 1. โครงสร้างทาง สงั คมมนุษย์ สงั คมและการ 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 3 ขดั เกลาทางสงั คม แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คดิ 2. วธิ ีสอนแบบโมเดลซิปปา 2. การเปล่ียนแปลง 3. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 2. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 2 ทางสงั คม การแก-้ กระบวนการกลมุ่ 3 ปัญหาและแนวทาง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การพฒั นาสงั คม 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 3 วฒั นธรรมไทย 3 1. รักวฒั นธรรมไทย แบบร่วมมือ : เทคนิคคูค่ ดิ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 พลเมืองดีของ 2. การอนุรักษ์ ส่ีสหาย ประเทศชาติและ วฒั นธรรมไทย สงั คมโลก 2. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. พลเมืองดี แบบร่วมมือ : เทคนิคการ 2. วถิ ีชีวติ พลเมืองดี ต่อเรื่องราว (Jigsaw) 3. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 2. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการสร้างความ 3. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี ตระหนกั วจิ ารณญาณ 4. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุม่ 1. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 1. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการกลุ่ม 2. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี 2. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : วจิ ารณญาณ กระบวนการสร้างความตระหนกั 3. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 3. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเรื่อง 4. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี รอบวง วจิ ารณญาณ 4. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม 5. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ พเิ ศษ 4

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั วธิ ีสอน / กระบวนการจดั ทกั ษะการคดิ เวลา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโมง) สิทธิมนุษยชน 1. ความสาคญั ของ 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ระบอบการเมือง สิทธิมนุษยชน แบบร่วมมือ : เทคนิคคูค่ ิด 2 การปกครอง สี่สหาย 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 4 รัฐธรรมนูญแห่ง 2. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ ราชอาณาจกั รไทย 2 แบบร่วมมือ : เทคนิคร่วมกนั คิด 3 2. บทบญั ญตั ิของ 3. วธิ ีสอนตามแนววฏั จกั รการ 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ รัฐธรรมนูญและ เรียนรู้ ( 4 MAT) บทบาทของ 4. วธิ ีสอนแบบกรณีศึกษา องคก์ รระหวา่ ง ประเทศที่เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชน 3. ปัญหาสิทธิ 5. วธิ ีสอนโดยใชท้ กั ษะกระบวน 3. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ มนุษยชนและ การเผชิญสถานการณ์ แนวทางแกไ้ ขพฒั นา 1. ระบอบประชาธิปไตย 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ อนั มีพระมหากษตั ริย์ แบบร่วมมือ : เทคนิคการเรียน ทรงเป็ นประมุข ร่วมกนั 2. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ แบบร่วมมือ : เทคนิคคูค่ ิด 2. การเมืองกบั ชีวติ 3. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ แบบร่วมมือ : เทคนิคคูค่ ิด 3. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี 4. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : วจิ ารณญาณ กระบวนการกลมุ่ 4. ทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหา 1. รู้ชดั รัฐธรรมนูญ 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ แบบร่วมมือ : เทคนิคการจดั 2. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี ทีมแขง่ ขนั (TGT) วจิ ารณญาณ 2. การตรวจสอบ 2. วธิ ีสอนตามแนววฏั จกั ร 3. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 2 การใชอ้ านาจรัฐ การเรียนรู้ ( 4 MAT) 4. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี 3. วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : วจิ ารณญาณ กระบวนการกลุ่ม 5. ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ พเิ ศษ 5

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั วธิ ีสอน / กระบวนการจดั ทกั ษะการคดิ เวลา การเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ (ชั่วโมง) การเรียนรู้ 2. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 1. กฎหมายเกี่ยวกบั 1. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 3. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 2 กฎหมายในชีวติ ประจาวนั ตนเอง ครอบครัว แบบร่วมมือ : เทคนิคการเรียน 4. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 2 ร่วมกนั และมรดก 2. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 2 แบบร่วมมือ : เทคนิคการ 2. กฎหมายแพง่ ตอ่ เร่ืองราว (Jigsaw) 2 3. วธิ ีสอนแบบบรรยาย เก่ียวกบั นิติกรรม 4. วธิ ีสอนแบบกรณีศึกษา 5. วธิ ีสอนแบบการแสดงบทบาท และสญั ญา สมมตุ ิ 6. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ 3. กฎหมายอาญา แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเร่ือง รอบวง 4. กฎหมายสาคญั 7. วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้ ที่ควรรู้ แบบร่วมมือ : เทคนิคโตะ๊ กลม 8. วธิ ีสอนแบบบรรยาย พเิ ศษ 6

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1 หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสังคม กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เวลาเรียน 5 ชว่ั โมง ผู้สอน นางภาณี แสนเดช  มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั ส 2.1 ม.4-6/2 วิเคราะหค์ วามสาคัญของโครงสรา้ งทางสงั คม การขัดเกลาทางสงั คม และการ เปล่ียนแปลงทางสังคม  สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด โครงสร้างทางสงั คมมสี ถาบนั ทางสงั คมเป็นส่วนสาคญั ที่ทาหน้าที่ในการขัดเกลาทางสงั คมและมีสว่ นใน การแก้ปัญหาและพฒั นาสงั คม  สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1. โครงสรา้ งทางสงั คม - การจดั ระเบียบทางสงั คม - สถาบนั ทางสังคม 2. การขัดเกลาทางสังคม 3. การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม 4. การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทางสงั คม 3.2 สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถนิ่ -  สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการปฏิบัติ - กระบวนการทางานกล่มุ 1

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเุ รยี นรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทางาน  ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนผงั ความคิด เร่ือง สงั คมมนุษย์  การวัดและการประเมนิ ผล 7.1 การประเมินกอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง สังคมมนุษย์ 7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สถาบนั ครอบครัว 2. ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง สถาบันเศรษฐกิจ 3. ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง สถาบันการเมอื งการปกครอง 4. ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง สถาบันการศึกษา 5. ใบงานท่ี 1.5 เรอื่ ง สถาบนั ศาสนา 6. ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง สถาบันนันทนาการ 7. ใบงานท่ี 1.7 เร่ือง การปฏิบตั ิตนเพ่ือเป็นสมาชิกท่ดี ีของสถาบนั ทางสงั คม 8. ใบงานที่ 1.8 เรื่อง ขา่ วปัญหาเดก็ และเยาวชนสมยั ใหม่ 9. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง สังคมยุคโลกาภวิ ัตน์ 10. ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง ปญั หาสังคมไทย 11. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 7.3 การประเมนิ หลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง สังคมมนุษย์ 7.4 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมนิ แผนผงั ความคิด เรื่อง สงั คมมนุษย์ 2

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การประเมินชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมนิ แผนผังความคดิ เรอ่ื ง สงั คมมนษุ ย์ รายการประเมนิ คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน 1. ความสาคัญ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) ของ วิเคราะหค์ วามสาคญั วิเคราะหค์ วามสาคญั วิเคราะหค์ วามสาคัญ วเิ คราะหค์ วามสาคญั การอยู่รว่ มกนั เป็นสงั คม ของการอยู่ร่วมกนั เปน็ ของการอยูร่ ว่ มกันเป็น ของการอยู่ร่วมกันเป็น ของการอยรู่ ่วมกันเป็น 2. โครงสรา้ งทาง สังคม สงั คมได้ถูกต้องชดั เจน สงั คมได้ถกู ต้อง ชัดเจน สงั คมไดถ้ กู ต้องชัดเจน สังคมได้ถกู ตอ้ งแต่ไม่ 3. การขดั เกลา เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางส่วน ชดั เจน ทางสังคม อธบิ ายโครงสร้างทาง อธบิ ายโครงสร้างทาง อธบิ ายโครงสร้างทาง อธบิ ายโครงสร้างทาง 4. การ เปลย่ี นแปลง สังคมและความสัมพันธ์ สังคมและความสมั พนั ธ์ สังคมและความสมั พันธ์ สังคมและความสมั พันธ์ ในสงั คม ระหวา่ งสถาบนั ทางสังคม ระหวา่ งสถาบันทางสงั คม ระหว่างสถาบันทางสงั คม ระหวา่ งสถาบนั ทางสงั คม ไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถว้ น ไดถ้ กู ตอ้ ง ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง สมบรู ณ์ เกอื บครบถ้วน เปน็ บางสว่ น เป็นสว่ นน้อย วเิ คราะหผ์ ลของการขัด วเิ คราะหผ์ ลของการขดั วิเคราะหผ์ ลของการขัด วเิ คราะหผ์ ลของการขัด เกลาทางสงั คมไดอ้ ยา่ ง เกลาทางสงั คมได้อย่าง เกลาทางสงั คมได้อยา่ ง เกลาทางสังคมไดอ้ ยา่ ง มีเหตผุ ล ถกู ตอ้ ง มเี หตผุ ล ถกู ตอ้ ง มเี หตผุ ล ถกู ตอ้ ง เป็น มเี หตผุ ล ถกู ต้อง เปน็ ชัดเจน ชัดเจนเป็นสว่ นใหญ่ บางสว่ น ส่วนน้อย วิเคราะหผ์ ลของการ วิเคราะหผ์ ลของการ วิเคราะหผ์ ลของการ วิเคราะหผ์ ลของการ เปล่ยี นแปลงทางสงั คม เปลยี่ นแปลงทางสังคม เปลย่ี นแปลงทางสงั คม เปลยี่ นแปลงทางสังคม ได้อย่างมีเหตผุ ล ไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ถูกตอ้ ง ชดั เจน ถกู ต้องเป็นส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ งเป็นบางสว่ น ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นน้อย เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-16 ดมี าก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรบั ปรุง 3

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  กจิ กรรมการเรียนรู้  นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สังคมมนษุ ย์ โครงสร้างทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม กจิ กรรมท่ี 1 วธิ สี อนโดยการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมอื : เทคนิคคู่คิด เวลา 3 ช่ัวโมง วิธีสอนแบบโมเดลซปิ ปา 1. ครูใหน้ ักเรยี นดูภาพ พ่อแม่ และลูก (วยั แรกเกิด) แล้วให้นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกับคาถาม ท่กี าหนด แลว้ ร่วมกนั สรุปความหมาย และความสาคัญของการอยรู่ ่วมกันเป็นสงั คม จากนนั้ ครู อธบิ ายเพิ่มเติมเกยี่ วกับองคป์ ระกอบของสงั คมมนษุ ย์ 2. ครนู าภาพบ้านทสี่ วยงามมาใหน้ กั เรียนดู และสนทนาเชิงวเิ คราะหใ์ นประเด็นที่กาหนด แลว้ ครู อธบิ ายเชอื่ มโยงใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า บา้ นเปรยี บเหมือนสงั คมหรอื โลกท่ีมสี มาชิกอาศยั อยู่ โครงสรา้ งและองค์ประกอบของบ้านมปี ระโยชน์ งดงามน่าอยู่ ดงั นน้ั ถ้าสมาชิกในครอบครวั ต่างปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ีก็สง่ ผลต่อบ้าน ชุมชน สงั คม และโลกให้นา่ อยเู่ ชน่ กัน 3. ครใู หน้ กั เรยี นดแู ผนภมู ิองค์ประกอบโครงสรา้ งทางสังคม และอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจลักษณะ การจดั ระเบียบทางสงั คมและสถาบนั ทางสังคม 4. ให้นกั เรียนรวมกันเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 6 คน และให้จับคกู่ ันเป็น 3 คู่ แตล่ ะคศู่ ึกษาความรู้ จากหนงั สือเรยี น เรื่อง การจัดระเบยี บทางสังคม ค่ลู ะ 1 เร่อื ง ดังน้ี - คู่ที่ 1 ศึกษาเรือ่ ง ระบบคุณคา่ ของสังคม - คู่ท่ี 2 ศกึ ษาเรอื่ ง บรรทดั ฐานหรือปทัสถานทางสงั คม - คู่ท่ี 3 ศึกษาเร่ือง สถานภาพและบทบาท โดยให้แต่ละคูผ่ ลัดกนั ศกึ ษาค้นคว้าตามหัวขอ้ ท่กี าหนดไว้ และผลัดกนั เล่าเรื่องรอบวงในประเดน็ ท่สี าคญั ของหัวข้อท่ตี นได้รับมอบหมายให้เพ่ือนในกลุ่มฟังจนครบทุกเร่ือง จากนัน้ ครูสมุ่ เรยี ก นกั เรียน 2 - 3 คู่ สนทนาซักถามเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของการจดั ระเบียบทางสงั คม โดยครูคอย อธิบายเพม่ิ เตมิ 5. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เรื่อง การจัดระเบยี บทางสังคม 6. ครสู นทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความจาเป็นท่ตี ้องมสี ถาบนั ทางสงั คม แล้วใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั เขียน ความร้เู ดิมเกี่ยวกบั สถาบนั ทางสงั คม ลงในกระดาษ และนามาติดที่กระดานหนา้ ชัน้ เรียนให้ถกู ต้อง 7. นักเรียนรวมกลมุ่ กัน กลมุ่ ละ 6 คน และใหท้ ุกคนมหี มายเลขประจาตัว 1-6 ตามลาดับ แล้วให้ นกั เรยี นแต่ละคนทม่ี ีหมายเลขเดยี วกนั ไปรวมกนั เปน็ กลุ่มใหม่ และศึกษาความรจู้ ากหนังสอื เรียน และทาใบงานท่ีกาหนดให้ ดงั น้ี - กลุม่ หมายเลข 1 ทาใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง สถาบันครอบครวั - กลมุ่ หมายเลข 2 ทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง สถาบันเศรษฐกจิ - กลุ่มหมายเลข 3 ทาใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง สถาบันการเมืองการปกครอง - กลมุ่ หมายเลข 4 ทาใบงานที่ 1.4 เร่อื ง สถาบนั การศึกษา 4

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - กลมุ่ หมายเลข 5 ทาใบงานท่ี 1.5 เรือ่ ง สถาบันศาสนา - กลมุ่ หมายเลข 6 ทาใบงานที่ 1.6 เรอื่ ง สถาบันนนั ทนาการ 8. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ศึกษาความรจู้ ากหนังสือเรยี น และรว่ มกนั สรุปความรู้ จากการศึกษาค้นคว้า และ ชว่ ยกันตอบคาถามในใบงานทแี่ ตล่ ะกลุม่ ไดร้ ับ ทาความเข้าใจเนอ้ื หาใหช้ ัดเจนในประเด็นที่สาคัญ ท่ี เปน็ ความรูใ้ หม่ แล้วใหน้ กั เรียนกลมุ่ ใหม่กลับเขา้ สู่กลุ่มเดิม และนาข้อมูลความรู้ท่ไี ด้รบั จากการศึกษา และทาใบงานกลบั ไปขยายผลใหก้ ล่มุ เดมิ ของตนฟัง แลว้ ร่วมกันสรปุ และบันทึกลงในกระดาษแลว้ ออกมานาเสนอผลงานทหี่ น้าชน้ั เรยี น จากนนั้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปความรเู้ ร่อื ง สถาบนั ทางสงั คม 9. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานที่ 1.7 เร่ือง การปฏิบัติตนเพอื่ เปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสถาบนั ทาง สังคม แลว้ ออกมานาเสนอผลงานทห่ี นา้ ช้นั เรียน 10. ครูใหน้ กั เรียนดูภาพการกระทาทีไ่ มเ่ หมาะสมของเยาวชน เช่น เล่นการพนนั เท่ยี วสถานบนั เทิง เสพสารเสพติด ฯลฯ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายถงึ สาเหตุ-ผลของการกระทา รวมทัง้ การมีสว่ นร่วมของ องค์กรทางสังคมตา่ งๆ ในการขัดเกลา เพ่ือใหเ้ ยาวชนได้ปรับเปล่ียนวิถีชวี ิตให้เหมาะสม 11. ครอู ธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจว่าจะมีกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้เทคนคิ หมวกหกใบ และอธิบายถึง ลกั ษณะพื้นฐานของหมวกหกใบ ครชู ้แี จงบทบาท หน้าท่ี ข้ันตอน กติกา การอภปิ รายให้นักเรยี นเข้าใจ แล้วครูอธิบายรายละเอียดของประเด็นทจี่ ะอภิปรายเกี่ยวกับการขดั เกลาทางสงั คม 12. ครูอธิบายข้ันการใชห้ มวกหกใบ ให้นกั เรยี นฟงั ดังนี้ 1) ครูขออาสาสมัครนักเรียน 6 คน สาธติ วิธีการใชห้ มวกหกใบตามสีของหมวก พรอ้ มอธบิ าย แนะนาตวั อย่างเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ 2) ครูสาธติ วธิ ีการใช้หมวก ดงั น้ี (1) หมวกฟูา เร่ิมต้นด้วยการนาอภิปรายและเปน็ ผูส้ รปุ ภาพรวมข้ันตอนสุดทา้ ยดว้ ย (2) หมวกขาว เสนอขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริง (เชน่ เร่ืองนไ้ี ด้ขอ้ มลู มาดว้ ยวิธใี ด) (3) หมวกแดง แสดงความร้สู กึ อารมณ์ (เชน่ รูส้ กึ อย่างไรกับเรื่องน้ี) (4) หมวกดา บอกข้อบกพร่อง จุดอ่อน โทษหรือผลเสีย (เชน่ เร่อื งนี้จะเกิดผลเสยี อะไรบา้ ง) (5) หมวกเหลอื ง เสนอขอ้ คดิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ (เช่น เรอื่ งนม้ี ขี ้อดีอย่างไร ทาอยา่ งไรจงึ จะเกิด ประโยชน์) (6) หมวกเขยี ว เสนอแนวทางพฒั นา หรือปรับปรุงเปลยี่ นแปลงตอ่ ไป (เชน่ มวี ธิ ีการใดที่ จะทาให้มนั ดีข้นึ ) 13. ครใู หน้ ักเรยี นรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 6 คน ศึกษาความรู้เรื่องการขัดเกลาทางสังคม จากหนงั สอื เรียน และทาใบงานท่ี 1.8 เรื่อง ข่าวปญั หาเดก็ และเยาวชนสมัยใหม่ โดยใหน้ ักเรียนเลือกใช้หมวกคนละ 1 ใบ และเริ่มตน้ ฝึกปฏิบตั ิแสดงข้อคิด เสนอข้อดีข้อเสีย และแนวทางการแก้ไขพัฒนา ตามประเด็น ในใบงาน 14. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสรุปผลการอภิปรายเกี่ยวกับ ปญั หาของเด็กและเยาวชนสมัยใหม่และการ ขดั เกลาทางสงั คม แล้วเสนอผลการอภปิ รายต่อชนั้ เรยี น จากนนั้ ครูและนักเรยี นช่วยกนั เสนอแนะ เพ่ิมเติม 5

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การเปล่ียนแปลงทางสงั คม การแกป้ ัญหาและแนวทางการพฒั นาสงั คม กจิ กรรมที่ 2 วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม เวลา 2 ชัว่ โมง ฃ 1. ให้นกั เรียนรว่ มกันวเิ คราะหภ์ าพการเดนิ ทางของคนไทยในอดีตและสนทนาซักถามในประเด็น ทีก่ าหนด แลว้ ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันสรปุ ความหมายและลักษณะการเปลย่ี นแปลงทางสังคม 2. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจ ให้แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การเปล่ียนแปลง ในสงั คม จากหนงั สือเรียน และทาใบงานท่ี 2.1 เรื่อง สงั คมยุคโลกาภวิ ตั น์ โดยระดมพลงั สมอง วางแผนการทางานและแบ่งหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบตามหัวข้อในใบงาน แล้วออกมานาเสนอ ผลงานทหี่ น้าช้ันเรียน 3. ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ บทเรยี น และเพิ่มเติมในประเด็นสาคญั ครูช่นื ชมผลงานนกั เรียน 4. ครทู บทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับผลเสยี ท่ีเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงสังคม ทาใหเ้ กิดปญั หาสังคมตามมา และใหน้ ักเรียนชว่ ยกันอภิปรายปัญหาของสงั คมไทยทกี่ าลังประสบอยู่ โดยเขียนช่ือปัญหาบนกระดาน 5. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื ง ปญั หาสงั คมไทยและแนวทางการแก้ไขปัญหา จากหนังสอื เรยี น และทาใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง ปัญหาสังคมไทย โดยให้นักเรยี นร่วมกันคดิ ว่า เร่ืองใดบ้างท่ี เป็นปัญหาสังคมอย่ใู นขณะน้ัน จากน้ันใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกันตดั สนิ ใจเลอื กปัญหาสาคัญ 1 ปญั หา ที่สมาชกิ ในกล่มุ คดิ ว่าสามารถมีส่วนร่วมในการปูองกันแก้ไขปัญหาได้ และช่วยกันวิเคราะหแ์ ละ ตอบคาถามตามหัวข้อในใบงาน 6. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลงานที่หน้าชน้ั เรยี น แล้วช่วยกนั สรุปประเด็นปญั หาสาคัญทต่ี ้องร่วมมือกัน แก้ไขอย่างเร่งดว่ น 7. ให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั ทาแผนผังความคดิ เร่ือง สงั คมมนุษย์ โดยวเิ คราะห์ลักษณะสังคม มนุษยใ์ หค้ รอบคลุมหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1) ความสาคัญ 2) โครงสร้างทางสงั คม 3) การขดั เกลาทางสังคม 4) การเปลีย่ นแปลงในสังคม 8. ครเู ลือกผลงานทม่ี คี ุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดี แล้วนามาจดั ปูายนเิ ทศแสดงผลงานของนักเรยี น  นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง สังคมมนษุ ย์ 6

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียน หน้าที่พลเมือง ฯ ม.4-ม.6 2. ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง สถาบนั ครอบครัว 3. ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง สถาบันเศรษฐกจิ 4. ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง 5. ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง สถาบันการศึกษา 6. ใบงานที่ 1.5 เรื่อง สถาบันศาสนา 7. ใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง สถาบันนนั ทนาการ 8. ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การปฏิบัติตนเพื่อเปน็ สมาชิกที่ดีของสถาบันทางสงั คม 9. ใบงานท่ี 1.8 เรอ่ื ง ขา่ วปัญหาเด็กและเยาวชนสมยั ใหม่ 10. ใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง สังคมยุคโลกาภวิ ัตน์ 11. ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ปญั หาสังคมไทย 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ http://www.m-society.go.th http://www.thaisociety.go.th \\ 7

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสุดเพยี งข้อเดียว 1. เพราะเหตุใด มนษุ ยจ์ ึงตอ้ งอยู่รวมกันเปน็ สงั คม ก. เพ่อื ถ่ายทอดวฒั นธรรม ข.เพ่ือสรา้ งความเจริญให้กับสงั คม ค.เพ่ือสนองความต้องการพนื้ ฐานของมนุษย์ ง. เพือ่ สร้างความเป็นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ในสังคม 2. ขอ้ ใดจดั เปน็ สังคม ก. สพุ จน์นั่งอ่านหนงั สือการ์ตนู ริมน้า ข.สุชาติยนื รอรถเมล์สาย 113 ที่ปูายรถเมล์ ค.นารีหวั เราะเสียงดังเมื่อดรู ายการชงิ รอ้ ยชิงลา้ น ง. วิชยั ชวนแมไ่ ปเที่ยวที่สนามหลวงในงานสปั ดาห์วิสาขบชู า 3. ขอ้ ใดสอดคล้องกับคากลา่ วท่วี า่ “มนุษย์เปน็ สัตวส์ ังคม” ก. มนษุ ยส์ ามารถใชส้ มองและรว่ มมอื กนั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข.มนษุ ยต์ ้องดนิ้ รนเพื่อต่อสู้กับความอย่รู อดของชวี ติ ค.มนษุ ย์ตอ้ งอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อพึง่ พาอาศัยกัน ง. มนษุ ย์สามารถปรบั ตวั เข้ากับสภาพแวดลอ้ มได้ดี 4. สถาบนั ศาสนาควรมีบทบาทร่วมกับรัฐบาล ในเร่ืองใด ก. ให้ความร่วมมือกับรัฐอบรมสมาชกิ ใหม้ เี จตคตทิ ี่ดีต่อการปกครองของรฐั ข.ปลกู ฝังค่านยิ ม จรยิ ธรรม ความเป็นพลเมืองดีแก่ประชาชน ค.ท้วงติง วิจารณ์นโยบายท่ีไม่เหมาะสมของรัฐ ง. ควบคุมและระงับข้อขดั แยง้ ท่ีเกดิ ข้ึน 5. สถาบันพืน้ ฐานแรกสุดของสังคมทท่ี าหน้าท่ีอบรมและขัดเกลาให้สมาชิก คอื สถาบนั ใด ก. สถาบันครอบครวั ข.สถาบนั เศรษฐกจิ ค.สถาบนั การศึกษา ง. สถาบันศาสนา 6. “โครงสร้างของสังคม” คอื ข้อใด ก. ส่ิงทเี่ ป็นองคป์ ระกอบค้าจนุ สังคม ข.อดุ มการณ์ของสงั คมเพือ่ ความมั่นคงถาวร ค.วตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้เพ่ือใหบ้ รรลุถึงเปาู หมาย ง. ความสัมพนั ธ์อย่างมีแบบแผนทเี่ กอ้ื หนุนและโยงใยต่อกนั และกนั 8

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 7. นายนพพรปฏิบัตติ ามระเบียบของโรงเรยี นอย่างเคร่งครดั เขาปฏิบัติตามข้อใด ก. ค่านิยมทางสังคม ข.บรรทดั ฐานทางสงั คม ค.สถานภาพทางสงั คม ง. ศลี ธรรมจรรยา 8. ขอ้ ใดไม่ใช่วถิ ปี ระชา ก. วยั รุน่ ชอบใส่เสอ้ื ยืด กางเกงยีนส์ ข.นกั เรียนพดู จาไม่สุภาพจะถูกติเตยี นเสมอ ค.หา้ มสูบบุหร่ีบนรถประจาทาง ปรบั 2,000 บาท ง. ชาวพทุ ธสวดมนต์ไหวพ้ ระเพ่ือทาจติ ใจใหส้ งบ 9. ขอ้ ใดถอื เป็นสถานภาพทไ่ี ด้มาด้วยความสามารถ ก. หมอ่ มเจา้ ชาตรเี ฉลิม ยคุ ล สร้างภาพยนตร์อิงประวตั ิศาสตร์ ข.พรทิพย์ นาคหิรัญกนก ได้รับคดั เลือกเปน็ นางงามจกั รวาล ค.นายบรรหาร ศลิ ปอาชา เป็นคนจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ง. สญั ญาเป็นลูกคนโตพ่อจึงมอบกจิ การใหเ้ ขาดูแล 10. ข้อใดถอื วา่ เปน็ การทาผดิ จารีตหรอื กฎศีลธรรม ก. ลกู อกตัญญู ข.การเขยี นหนังสือดว้ ยมือซา้ ย ค.การหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ง. การไม่ทาพิธเี จิมร้านคา้ ท่ีเปดิ ใหม่ 11. องค์กรใดที่มบี ทบาทสาคัญท่ีสดุ ในกระบวนการขัดเกลาทางสงั คม ก. วดั ข.โรงเรยี น ค.ครอบครัว ง. สือ่ มวลชน 12. การกระทาใดถือว่าเป็นการขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม ก. ในขณะรบั ประทานอาหารร่วมกนั คุณแม่จะบอกให้เคี้ยวอาหารหมดปากก่อนที่จะพดู ข.ดวงใจและเพื่อนสามารถร้องเพลงตามจงั หวะที่ฟงั จากวทิ ยุไดถ้ กู ต้อง ค.คุณครูให้นักเรยี นทางานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความเป็นประชาธปิ ไตย ง. คณุ ยายสอนใหส้ วยรู้จกั ทาความเคารพผูใ้ หญ่ 9

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 13. ขอ้ ใดกล่าวถงึ “การจดั ระเบียบทางสงั คม” ได้อย่างชัดเจนท่ีสุด ก. กฎระเบียบและกติกาของกลุ่มคนทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ข.ความสมั พันธ์ของสมาชิกในแต่ละสังคมซ่ึงมีความผูกพนั ธ์กันอยา่ งแนน่ แฟูน ค.การอยรู่ ่วมกันของกลมุ่ คนในแต่ละสังคมซ่งึ มีการดาเนนิ ชีวิตไม่แตกตา่ งกนั ง. วิธีการทคี่ นในสังคมกาหนดขึ้นเพ่ือให้เปน็ ระเบียบกฎเกณฑ์ในการอย่รู ่วมกนั 14. ขอ้ ใดอธิบายลักษณะของสังคมไทยได้ถูกตอ้ งทส่ี ุด ก. ภาพยนตรเ์ กาหลมี ีอทิ ธิพลต่อการดาเนินชีวติ ของคนปจั จบุ ันมากข้ึน ข.เปน็ สงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลงแบบค่อยเปน็ ค่อยไป ค.ศูนย์รวมจติ ใจของคนไทยคอื สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ง. โทรศพั ท์มือถือทาให้ภาษาไทยวบิ ตั มิ ากข้นึ 15. สถาบนั ใดในสงั คมไทยมีบทบาทสาคัญทสี่ ดุ ทจ่ี ะทาให้สมาชกิ ในสังคมเปน็ พลเมืองดีตามท่ีสงั คม คาดหวัง ก. สถาบันครอบครัว ข.สถาบันการศึกษา ค.สถาบนั การเมือง ง. สถาบันศาสนา 16. ปญั หาสังคมต่างๆ ทเี่ กิดขนึ้ มากมายในปจั จบุ ัน มสี าเหตพุ น้ื ฐานมาจากข้อใด ก. วฒั นธรรมตะวันตกหลง่ั ไหลเข้ามา ข.ความบกพร่องของผ้บู ริหารประเทศ ค.จานวนการเพิ่มของจานวนประชากร ง. ความเสือ่ มโทรมทางศีลธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทด่ี ี 17. ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาต่อสังคมหลายๆ ด้าน ขอ้ ใดไมใ่ ช่ปัญหาทเ่ี กีย่ วเน่อื งกับปัญหายาเสพติด ก. ปญั หาอาชญากรรม ข.ปญั หาทารา้ ยรา่ งกาย ค.ปญั หาสง่ิ แวดล้อมเป็นพษิ ง. ปญั หาความรนุ แรงในครอบครัว 18. การกระทาในข้อใด ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อระบบนิเวศและกลายเปน็ ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มท่ีสาคัญ ในสังคมไทย ก. การจราจรติดขัด ข.การตัดไม้ทาลายปาุ ค.การสรา้ งโรงงานอตุ สาหกรรมมาก ง. การใช้วัสดอุ ปุ โภคบรโิ ภคไมเ่ หมาะสม 10

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 19. ปัญหาการทจุ ริตซึ่งถือเปน็ ปัญหาทีส่ าคญั ระดับชาติ ขอ้ ใดเป็นแนวทางการแก้ไขท่ีสาคญั ก. สอนให้ภมู ใิ จในศักดิ์ศรขี องตนเอง ข.รณรงคใ์ ห้คนในสังคมรังเกยี จการทุจรติ ค.รณรงคใ์ ห้ยดึ หลักเศรษฐกิจพอเพียง ง. ปลกู ฝงั คา่ นยิ มให้เหน็ ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตน 20. แนวโนม้ ของสังคมไทยในยคุ โลกาภวิ ตั นจ์ ะมีลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. ครอบครวั เดี่ยวมีมากข้นึ ข.คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมเสื่อมลง ค.ชายหญิงนิยมอยู่กันก่อนจะแตง่ งาน ง. เชือ่ ในเรื่องโชคลางและไสยศาสตร์ เฉลย 1. ค 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ข 8. ค 9. ข 10. ก 11. ค 12. ข 13. ง 14. ค 15. ก 16. ง 17. ค 18. ข 19. ง 20. ง 11

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สงั คมมนษุ ย์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 เร่อื ง โครงสร้างทางสงั คมและการขดั เกลาทางสังคม เวลา 3 ชั่วโมง  สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างปกติสุขนั้น จะต้องมีการจัดระเบียบสังคมและมีสถาบันทางสังคม ช่วยทาหนา้ ท่ีขดั เกลาทางสังคม  ตัวชวี้ ัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตวั ช้วี ัด ส 2.1 ม.4-6/2 วเิ คราะห์ความสาคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลงทางสังคม 2.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. รู้และเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและเห็นความสาคญั ในการอยรู่ ว่ มกันเปน็ สงั คม 2. วิเคราะห์โครงสร้างทางสงั คมและเหน็ ความสาคญั ของการจดั ระเบียบทางสงั คม 3. วิเคราะหค์ วามสาคญั ในการขัดเกลาทางสังคม  สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1. โครงสรา้ งทางสังคม - การจดั ระเบยี บทางสงั คม - สถาบนั ทางสงั คม 2. การขดั เกลาทางสังคม 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น -  สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการทางานกลมุ่ 12

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝุเรยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน  กิจกรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมือ : เทคนิคคูค่ ดิ วธิ สี อนแบบโมเดลซปิ ปา)  นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง สังคมมนษุ ย์ ชั่วโมงท่ี 1 1. ใหน้ ักเรียนดภู าพ พ่อแม่ และลูก (วัยแรกเกิด) แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถาม ต่อไปนี้ 1) ทารกแรกเกิดในระยะเร่มิ ต้นของชวี ิตจะต้องไดร้ ับการเลยี้ งดูอย่างไรบ้าง และมีใครเป็นผู้ช่วยเหลอื แนวคาตอบ ต้องกินนม ตอ้ งขับถ่าย ต้องอาบน้า สระผม เช็ดสะดอื ฉดี วคั ซนี เปลีย่ นเส้ือผา้ และมบี ดิ ามารดา ญาติพนี่ ้อง แพทย์ พยาบาล พ่เี ล้ียง เป็นผู้ช่วยเหลอื 2) นกั เรียนคดิ ว่า เปน็ ไปได้หรือไม่ทีม่ นษุ ย์จะดารงชีวิตตามลาพังโดยไมเ่ ก่ียวข้องกบั ผู้อืน่ เลย แนวคาตอบ คงเป็นไปได้ยาก เพราะมนุษย์ต้องดารงชวี ิตด้วยปจั จัย 4 เพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการพ้ืนฐานดา้ นชวี ภาพ กายภาพ และการใหไ้ ด้มาซงึ่ ส่ิงเหลา่ นี้ ต้องอาศยั พง่ึ พาผอู้ ื่นเป็นส่วนใหญ่ 2. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายสรปุ ความหมาย และความสาคัญของการอยู่รว่ มกันเป็นสงั คม แล้วครอู ธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับองค์ประกอบของสังคมมนุษย์ 3. ครูนาภาพบ้านทสี่ วยงามมาให้นักเรียนดู และสนทนาเชงิ วิเคราะห์ในประเด็นเหล่าน้ี เชน่ - โครงสร้างบ้าน ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง มีความสมั พนั ธก์ ันอยา่ งไร และมีประโยชนต์ อ่ สมาชกิ ของบ้านอย่างไร - ในทศั นะของนักเรยี นคาว่า บ้านสวยงาม กับบ้านน่าอยู่ ตา่ งกนั อย่างไร - สมาชกิ ของบา้ นควรมีพฤติกรรมอย่างไรต่อบ้านท่สี วยงาม เพื่อให้เปน็ บ้านที่น่าอยู่ และนักเรยี น กับคนในบา้ นได้กระทาหรือไม่ - พฤติกรรมที่ทาให้บา้ นไรค้ วามงามและไม่น่าอยู่เป็นอยา่ งไร นกั เรยี นได้กระทาหรือไม่ กระทาอย่างไร เปน็ เพราะเหตุใด ครอู ธิบายเชื่อมโยงให้นกั เรยี นเข้าใจว่า บา้ นเปรยี บเหมือนสังคมหรือโลกทีม่ ีสมาชิกอาศัยอยู่ โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของบ้านมีประโยชน์ งดงามน่าอยู่ ดงั น้นั ถา้ สมาชิกในครอบครวั ตา่ งปฏิบตั ิตามบทบาทหนา้ ที่ก็ส่งผลตอ่ บ้าน ชุมชน สังคม และโลกให้นา่ อยูเ่ ชน่ กัน 4. ครใู ห้นกั เรียนดแู ผนภูมิองค์ประกอบโครงสร้างทางสงั คม และอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจลักษณะ การจดั ระเบยี บทางสงั คมและสถาบนั ทางสงั คม 13

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช โครงสรา้ งทางสังคม การจัดระเบียบทางสงั คม สถาบันทางสังคม ¬ ระบบคณุ ค่าของสังคม ¬ สถาบันครอบครวั ¬ บรรทดั ฐานหรือปทสั ถานทางสงั คม ¬ สถาบนั เศรษฐกจิ ¬ สถานภาพและบทบาท ¬ สถาบนั การเมืองการปกครอง ¬ สถาบนั การศึกษา ¬ สถาบนั ศาสนา ¬ สถาบันนันทนาการ ¬ สถาบนั ส่อื สารมวลชน 5. ใหน้ ักเรยี นรวมกนั เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และให้จบั คกู่ ันเป็น 3 คู่ แต่ละค่ศู ึกษาความรู้เรอื่ ง การจัด ระเบียบทางสังคม จากหนงั สอื เรียน คลู่ ะ 1 เรื่อง ดงั น้ี - คู่ท่ี 1 ศึกษาเรอื่ ง ระบบคุณคา่ ทางสงั คม - คู่ท่ี 2 ศกึ ษาเรอ่ื ง บรรทดั ฐานหรือปทสั ถานทางสังคม - คทู่ ี่ 3 ศึกษาเร่อื ง สถานภาพและบทบาท 6. ให้แตล่ ะคูผ่ ลัดกนั ศึกษาคน้ คว้าตามหัวข้อที่กาหนดไว้ และผลดั กันเล่าเรือ่ งรอบวงในประเดน็ ท่สี าคญั ของหัวข้อทีต่ นไดร้ บั มอบหมายใหเ้ พอื่ นในกลุ่มฟงั จนครบทุกเรอื่ ง 7. ครสู ่มุ เรยี กนกั เรยี น 2 - 3 คู่ สนทนาซกั ถามเก่ยี วกบั องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสงั คม โดยครูคอยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้เรื่อง การจัดระเบยี บทางสังคม ช่ัวโมงที่ 2 1. ครูสนทนากบั นักเรยี นเก่ียวกับความจาเปน็ ท่ตี ้องมสี ถาบันทางสังคม แลว้ ให้นักเรียนช่วยกนั เขยี นความรู้ เดมิ เกี่ยวกับสถาบันทางสังคม ลงในกระดาษ และนามาตดิ ที่กระดานหนา้ ช้นั เรียนให้ถูกต้อง 2. นกั เรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 6 คน และใหท้ ุกคนมหี มายเลขประจาตัว 1-6 ตามลาดับ แลว้ ให้ นกั เรียนแต่ละคนท่มี หี มายเลขเดียวกันไปรวมกนั เปน็ กลุ่มใหม่ และศึกษาความรู้จากหนงั สือเรยี น และทาใบงานท่ีกาหนดให้ ดงั น้ี - กลมุ่ หมายเลข 1 ทาใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง สถาบันครอบครัว - กลุ่มหมายเลข 2 ทาใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง สถาบนั เศรษฐกจิ - กลมุ่ หมายเลข 3 ทาใบงานท่ี 1.3 เร่ือง สถาบนั การเมืองการปกครอง - กลมุ่ หมายเลข 4 ทาใบงานที่ 1.4 เรื่อง สถาบันการศึกษา - กลุ่มหมายเลข 5 ทาใบงานที่ 1.5 เร่ือง สถาบันศาสนา 14

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช - กลมุ่ หมายเลข 6 ทาใบงานท่ี 1.6 เรอื่ ง สถาบนั นันทนาการ 3. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ศึกษาความรู้จากหนังสือเรยี น และร่วมกันสรุปความรู้ จากการศึกษาค้นคว้า และ ช่วยกันตอบคาถามในใบงานทแ่ี ตล่ ะกลมุ่ ไดร้ ับ ทาความเข้าใจเน้ือหาให้ชัดเจนในประเด็นท่สี าคัญท่ี เปน็ ความรู้ใหม่ 4. ใหน้ ักเรียนกลมุ่ ใหมก่ ลบั เข้าสู่กลุม่ เดิม และนาข้อมลู ความรู้ทไี่ ดร้ ับจากการศึกษาและทาใบงาน กลับไปขยายผลให้เพื่อนกลมุ่ เดิมของตนฟัง 5. นักเรยี นแต่ละกลุ่มแลกเปลย่ี นเรยี นรซู้ ึง่ กนั และกนั จนครบทุกเรื่อง และย้าเตือนให้ทกุ คนตัง้ ใจฟังขอ้ มูล 6. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั สรปุ ความรู้จากการแลกเปลย่ี นเรียนรูซ้ ่ึงกันและกนั แลว้ บันทึกข้อสรุปลง ในกระดาษ 7. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั คิดรูปแบบการนาเสนอผลงานให้นา่ สนใจ ซง่ึ สามารถนาเสนอได้ หลากหลายรูปแบบ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอผลงานทีห่ นา้ ชัน้ เรียน จากนั้นครูและ นกั เรยี นชว่ ยสรุปบทเรียน 8. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานท่ี 1.7 เรอื่ ง การปฏบิ ตั ิตนเพื่อเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสถาบนั ทาง สงั คม แลว้ ออกมานาเสนอผลงานทห่ี น้าชั้นเรยี น ช่ัวโมงท่ี 3 1. ครูใหน้ กั เรยี นดูภาพการกระทาทไี่ มเ่ หมาะสมของเยาวชน เชน่ เลน่ การพนัน เทีย่ วสถานบนั เทิง เสพสารเสพตดิ ฯลฯ แล้วร่วมกนั อภปิ รายถึงสาเหตุ-ผลของการกระทา รวมทั้งการมีส่วนรว่ มของ องค์กรทางสังคมต่างๆ ในการขัดเกลา เพ่ือใหเ้ ยาวชนได้ปรับเปลยี่ นวิถีชีวติ ให้เหมาะสม 2. ครอู ธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจว่าจะมีกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนคิ หมวกหกใบ และอธิบายถงึ ลกั ษณะพื้นฐานของหมวกหกใบ ครูชี้แจงบทบาท หน้าท่ี ขั้นตอน กติกา การอภปิ รายให้นักเรียนเขา้ ใจ 3. ครอู ธิบายรายละเอยี ดของประเดน็ ที่จะอภิปรายเกย่ี วกับการขัดเกลาทางสงั คม 4. ครูอธิบายข้ันการสาธติ การใช้หมวกหกใบ ดงั นี้ 1) ครูขออาสาสมัครนกั เรยี น 6 คน สาธิตวิธกี ารใชห้ มวกหกใบตามสีของหมวก พรอ้ มอธิบาย แนะนาตวั อย่างเพื่อสร้างความเขา้ ใจ 2) ครสู าธติ วธิ กี ารใชห้ มวก ดงั น้ี (1) หมวกฟาู เรม่ิ ต้นดว้ ยการนาอภิปรายและเปน็ ผสู้ รุปภาพรวมขั้นตอนสุดท้ายดว้ ย (2) หมวกขาว เสนอข้อมลู ข้อเทจ็ จริง (เชน่ เรอื่ งน้ีได้ข้อมูลมาดว้ ยวธิ ใี ด) (3) หมวกแดง แสดงความรสู้ ึก อารมณ์ (เชน่ รู้สึกอย่างไรกับเรื่องน)้ี (4) หมวกดา บอกข้อบกพร่อง จดุ อ่อน โทษหรอื ผลเสีย (เช่น เร่อื งน้ีจะเกิดผลเสียอะไรบ้าง) (5) หมวกเหลือง เสนอขอ้ คิดท่ีเป็นประโยชน์ (เชน่ เรื่องนมี้ ขี ้อดอี ย่างไร ทาอย่างไรจงึ จะเกดิ ประโยชน์) (6) หมวกเขยี ว เสนอแนวทางพฒั นา หรือปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงตอ่ ไป (เช่น มวี ธิ ีการใดที่ จะทาให้มนั ดีขน้ึ ) 5. ขัน้ การฝึกปฏบิ ัติ ครูให้นักเรยี นรวมกลุ่มกนั กลุ่มละ 6 คน ศกึ ษาความรู้เร่ือง การขัดเกลาทางสงั คม จากหนังสือเรียน และทาใบงานท่ี 1.8 เรือ่ ง ขา่ วปญั หาเด็กและเยาวชนสมัยใหม่ 15

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 6. ใหน้ กั เรียนเลือกใชห้ มวกคนละ 1 ใบ และเร่ิมต้นฝึกปฏิบัติแสดงข้อคิด เสนอข้อดขี ้อเสีย และแนวทาง การแก้ไขพฒั นา ตามประเดน็ ในใบงาน 7. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ สรุปผลการอภปิ รายเกยี่ วกบั ปญั หาของเด็กและเยาวชนสมยั ใหม่ และการ ขัดเกลาทางสงั คม และเสนอผลการอภิปรายต่อช้ันเรยี น จากนน้ั ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันเสนอแนะ เพมิ่ เติม  การวดั และประเมินผล เครื่องมอื เกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ วิธกี าร เรียนรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง สงั คมมนษุ ย์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง สังคม ใบงานที่ 1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ มนุษย์ ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานที่ 1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานท่ี 1.4 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานที่ 1.5 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.4 ใบงานที่ 1.6 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.5 ใบงานท่ี 1.7 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.6 ใบงานท่ี 1.8 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.7 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ตรวจใบงานท่ี 1.8 สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ  ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1สือ่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ ม.4-ม.6 2. ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง สถาบันครอบครัว 3. ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง สถาบนั เศรษฐกจิ 4. ใบงานที่ 1.3 เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง 5. ใบงานท่ี 1.4 เร่อื ง สถาบนั การศึกษา 6. ใบงานที่ 1.5 เรอ่ื ง สถาบนั ศาสนา 7. ใบงานที่ 1.6 เรื่อง สถาบันนนั ทนาการ 8. ใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง การปฏิบตั ิตนเพอ่ื เป็นสมาชิกทดี่ ีของสถาบันทางสังคม 9. ใบงานที่ 1.8 เรอ่ื ง ขา่ วปัญหาเดก็ และเยาวชนสมยั ใหม่ 8.2แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ http://www.m-society.go.th 16

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สถาบันครอบครวั คาช้ีแจง ให้สมาชกิ หมายเลข 1 ศึกษาความรู้ เรอื่ ง สถาบนั ครอบครัว จากหนังสือเรียน และร่วมกนั อภิปราย ตามหัวข้อทีก่ าหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันครอบครัว 2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคญั ต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร 17

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง สถาบันครอบครัว คาชีแ้ จง ใหส้ มาชิกหมายเลข 1 ศึกษาความรเู้ รอ่ื ง สถาบนั ครอบครวั จากหนังสือเรียน และรว่ มกนั อภิปราย ตามหัวข้อทก่ี าหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคญั ของสถาบันครอบครัว เปน็ สถาบันพื้นฐานแรกของสังคมมนุษย์ ทุกสงั คมต้องมีสถาบนั ครอบครวั เพื่อผลติ สมาชิกใหม่อนั เป็น สาเหตุทท่ี าให้สังคมอยรู่ อด เปน็ ที่ปลกู ฝังและถา่ ยทอดวัฒนธรรมอย่างมีประสทิ ธิภาพ และทาหนา้ ท่ี ขัดเกลาทางสงั คม สถาบนั ครอบครวั จึงมบี ทบาทสาคัญในการสร้างครอบครวั ให้มคี ุณภาพ ซง่ึ จะสง่ ผลให้ สังคมมีความเข้มแขง็ อีกดว้ ย 2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร สมาชกิ ในครอบครัวแตล่ ะคนมีบทบาทหนา้ ทีต่ ่างกนั ถา้ ทุกคนรูบ้ ทบาทหน้าที่ มคี วามรบั ผิดชอบ ยอ่ มเป็นพลงั ท่ีเขม้ แขง็ ทจี่ ะชว่ ยกนั พัฒนาสงั คมและประเทศชาติ เชน่ ชว่ ยกนั ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยัด มีเงินออมในการลงทนุ ทากจิ การต่างๆ ชว่ ยกันอนรุ กั ษพ์ ลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม 18

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง สถาบนั เศรษฐกจิ คาชีแ้ จง ให้สมาชกิ หมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบนั เศรษฐกิจ จากหนังสือเรียน และร่วมกนั อภิปรายตามหวั ข้อท่กี าหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคญั ของสถาบันเศรษฐกิจ 2. สมาชิกของสถาบนั มบี ทบาทสาคญั ตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร 19

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง สถาบนั เศรษฐกจิ คาช้ีแจง ให้สมาชิกหมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เร่ือง สถาบันเศรษฐกจิ จากหนังสือเรยี น และร่วมกนั อภิปราย ตามหวั ข้อทก่ี าหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคญั ของสถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั เศรษฐกจิ มสี ่วนสาคญั ทที่ าใหค้ นไทยมีชวี ติ ความเป็นอยู่ท่ีดขี ้ึน สามารถนาเงนิ ท่ีหามาได้จับจ่ายใช้ สอย ทาให้คุณภาพชีวิตดีขนึ้ นอกจากนีส้ ถาบนั เศรษฐกจิ ไดส้ ร้างงาน สร้างอาชพี ให้กบั ผู้คนมากมาย มกี าร อพยพเคลื่อนยา้ ยของแรงงานทง้ั ภายในประเทศ และประเทศเพ่ือนบ้าน ซึ่งสง่ ผลท้ังในด้านการพัฒนา และปญั หาสงั คมตามมา 2. สมาชิกของสถาบนั มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร สมาชิกของสถาบนั ทางเศรษฐกจิ มบี ทบาทดา้ นการผลิตสินคา้ และการบรกิ าร มีการผลิตผลติ ภัณฑใ์ หมๆ่ มี การแข่งขันกนั ในด้านคุณภาพและปรมิ าณ กอ่ ใหเ้ กิดการวิจัยและพัฒนาประเทศชาติ นอกจากน้ี เม่ือสังคม เขา้ สู่ยคุ โลกาภวิ ัตน์ ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนสินคา้ อย่างไร้พรมแดน ทาใหค้ วามเจริญกระจายไปยงั ประเทศต่างๆ อย่างรวดเรว็ ก่อให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงระบบเศรษฐกิจให้ก้าวลา้ ทันสมยั 20

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง สถาบนั การเมืองการปกครอง คาช้แี จง ให้สมาชกิ หมายเลข 3 ศกึ ษาความรู้ เร่ือง สถาบันการเมืองการปกครอง จากหนังสอื เรยี น และร่วมกนั อภปิ รายตามหัวข้อท่ีกาหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคญั ของสถาบนั การเมืองการปกครอง 2. สมาชิกของสถาบนั มบี ทบาทสาคญั ตอ่ การพฒั นาประเทศอย่างไร 21

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.3 เรอื่ ง สถาบนั การเมืองการปกครอง คาชแี้ จง ให้สมาชิกหมายเลข 3 ศกึ ษาความรู้ เร่ือง สถาบันการเมืองการปกครอง จากหนังสอื เรียน และรว่ มกนั อภิปรายตามหัวข้อท่กี าหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคญั ของสถาบนั การเมืองการปกครอง สถาบนั ทางการเมืองการปกครอง มีความสาคัญต่อการจัดระเบียบทางสังคมให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีหน้าที่สาคัญในการรักษาความมั่นคงและปกปูองการรุกรานจากสังคมภายนอก นอกจากน้ี สถาบัน การเมืองการปกครอง มีส่วนสาคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและปัญหาสังคมที่เกิดข้ึน โดยใช้กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คับต่างๆ เพื่อควบคุมสงั คมให้ปกติสุข 2. สมาชกิ ของสถาบนั มบี ทบาทสาคัญตอ่ การพฒั นาประเทศอย่างไร สมาชิกของสถาบันทางการเมืองการปกครองมีบทบาทสาคัญในการบริหารประเทศเพ่ือความอยู่รอด ของสังคม โดยแบ่งบทบาทหน้าท่ีเป็น 3 ด้าน เช่น ด้านบริหาร ด้านนิติบัญญัติ และด้านตุลาการ เป็นต้น สมาชิกของสถาบันทางการเมืองการปกครอง จะต้องปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของตนอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของประเทศชาติ ซึ่งทาให้เกิดความเจริญ ก้าวหนา้ ในทกุ ๆ ด้าน 22

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง สถาบันการศึกษา คาช้ีแจง ใหส้ มาชกิ หมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้ เร่ือง สถาบันการศึกษา จากหนงั สือเรียน และรว่ มกัน อภิปรายตามหวั ข้อท่กี าหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคญั ของสถาบันการศึกษา 2. สมาชิกของสถาบันมบี ทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร 23

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.4 เรอื่ ง สถาบันการศกึ ษา คาช้ีแจง ให้สมาชิกหมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้ เรื่อง สถาบันการศึกษา จากหนงั สือเรียน และรว่ มกนั อภปิ รายตามหวั ข้อท่กี าหนดให้ 1. จงอธบิ ายความสาคัญของสถาบนั การศึกษา สถาบันทางการศึกษามบี ทบาทสาคญั ในการขัดเกลาให้สมาชิกของสถาบนั มีความรคู้ วามสามารถ เพ่ือนามาประกอบอาชีพ ช่วยถา่ ยทอดค่านยิ มวฒั นธรรม และบทบาทหน้าที่ สถานภาพใหแ้ ก่สมาชกิ ช่วย อบรมและพฒั นาแรงงานให้มีคุณภาพ การทีส่ มาชิกของสังคม มคี วามรู้ความสามารถ และมคี ุณภาพชีวิตท่ี ดีจะเปน็ ประโยชน์อย่างยงิ่ ต่อความม่นั คงของสงั คม 2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร สมาชิกของสถาบันการศึกษาตอ้ งรว่ มมือกนั พัฒนาตนเอง พฒั นาสงั คมอย่างต่อเนื่อง ต้องเรยี นรู้ตลอดชีวติ เพราะสงั คมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องรูเ้ ท่าทันและปรับตัวใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลง กระบวนการ การศึกษาจงึ มสี ว่ นช่วยให้เกดิ การพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ 24

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง สถาบันศาสนา คาช้ีแจง ให้สมาชกิ หมายเลข 5 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันศาสนา จากหนงั สือเรยี น และร่วมกนั อภปิ รายตามหัวข้อทีก่ าหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคญั ของสถาบนั ศาสนา 2. สมาชิกของสถาบนั มีบทบาทสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร 25

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.5 เรอื่ ง สถาบันศาสนา คาชแ้ี จง ใหส้ มาชกิ หมายเลข 5 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันศาสนา จากหนงั สือเรียน และรว่ มกัน อภิปรายตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันศาสนา สถาบนั ศาสนาเปน็ สถาบนั ที่ขัดเกลาใหส้ มาชกิ เปน็ คนดี มคี ุณธรรม ซ่ึงสามารถชว่ ยลดความวนุ่ วาย และความขดั แยง้ ในสงั คมได้ เพราะศาสนาสอนให้คนทาความดี ละเวน้ ความชัว่ ทาใหเ้ กิดพฤติกรรม ที่ถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ี หลักธรรมหรือข้อบัญญตั ขิ องศาสนา สามารถควบคมุ สมาชิกใหป้ ฏบิ ัตติ าม เพ่ือเกดิ ความปรองดองในสังคม 2. สมาชิกของสถาบันมบี ทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร สมาชิกของสถาบนั ศาสนามีบทบาทหนา้ ท่ีในการตอบสนองความตอ้ งการดา้ นจติ ใจ พิธกี รรมทางศาสนา กอ่ ใหเ้ กดิ ความร่วมมือ รว่ มใจ ทาใหเ้ กิดความกลมกลนื มีความรูส้ กึ เป็นพวกเดยี วกัน กอ่ ให้เกิดเอกภาพ ทางสังคมรว่ มกนั ความศรัทธาในศาสนาก่อใหเ้ กิดการสร้างสรรคศ์ ลิ ปวฒั นธรรมในรูปแบบต่างๆ เชน่ ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน วดั ยังเป็นศนู ยก์ ลางของสังคมในการพัฒนาทุกๆ ด้านอีกดว้ ย 26

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 1.6 เรอื่ ง สถาบนั นันทนาการ คาชีแ้ จง ให้สมาชกิ หมายเลข 6 ศกึ ษาความรู้ เร่ือง สถาบันนันทนาการ จากหนังสือเรียน และร่วมกนั อภิปรายตามหัวขอ้ ทก่ี าหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคญั ของสถาบันนันทนาการ 2. สมาชกิ ของสถาบันมบี ทบาทสาคัญตอ่ การพฒั นาประเทศอย่างไร 27

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.6 เรอื่ ง สถาบันนนั ทนาการ คาชแี้ จง ใหส้ มาชกิ หมายเลข 6 ศึกษาความรู้ เร่ือง สถาบันนนั ทนาการ จากหนังสือเรยี น และรว่ มกัน อภปิ รายตามหัวข้อท่ีกาหนดให้ 1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันนันทนาการ สถาบันนนั ทนาการในปัจจุบันไดแ้ พร่ออกไปอย่างกว้างขวางท้งั ในด้านศลิ ปกรรม ศลิ ปะการแสดง ศิลปะด้านภาษา รวมไปถึงสถานบนั เทิง สถานท่ีท่องเทย่ี ว อินเทอรเ์ น็ต มผี ลใหส้ มาชิกมีความเพลดิ เพลิน มีความสขุ มีสขุ ภาพจิตทด่ี ี ช่วยผ่อนคลายความเครียดในการทางาน และยังช่วยเสริมสรา้ งรา่ งกายให้แขง็ แรง สมบูรณอ์ ีกด้วย 2. สมาชกิ ของสถาบันมบี ทบาทสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร สมาชิกของสถาบันนันทนาการมีบทบาทหนา้ ที่สาคัญในการสร้างความบันเทงิ ในด้านศลิ ปะการละเล่น การ กฬี า เกมคอมพิวเตอร์ การท่องเทย่ี ว ฯลฯ และรว่ มกันสรา้ งสรรคค์ วามบนั เทิงในรปู แบบใหมๆ่ ทที่ นั สมยั อย่างหลากหลาย ส่งผลตอ่ การสรา้ งอาชพี สร้างแรงงาน สรา้ งรายได้ให้แก่สมาชกิ ของสถาบนั นอกจากนี้ยงั เกิดการแข่งขันในผลงานดา้ นตา่ งๆ เชน่ กฬี า ได้นาชือ่ เสยี งมาสปู่ ระเทศชาติอยา่ งมาก 28

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.7 เรอ่ื ง การปฏิบตั ิตนเพอื่ เป็นสมาชิกทดี่ ขี องสถาบันทางสังคม คาช้แี จง 1. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มร่วมกันคดิ แนวทางการปฏบิ ัตติ นทีแ่ สดงถึงการเปน็ สมาชิกท่ีดขี องสถาบันทางสงั คม 2. สมาชิกแต่ละคนปฏิบัตติ นตามข้อกาหนดของกลุ่ม เปน็ เวลา 2-3 สปั ดาห์ หรือตามความเหมาะสม ตวั อยา่ งพฤติกรรมท่ีกลุ่มร่วมกนั กาหนด เช่น 1. 2. 3. 4. 5. ลาดับที่ พฤตกิ รรมทก่ี าหนด พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติ ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ ลงช่อื ผูร้ ับรอง ดี ดี พอ ปรับ มาก ใช้ ปรงุ ลงช่ือ ผู้รายงาน 29

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การปฏิบัตติ นเพ่ือเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสถาบันทางสงั คม คาชีแ้ จง 1. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันคิดแนวทางการปฏบิ ตั ติ นทแี่ สดงถงึ การเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสถาบันทางสงั คม 2. สมาชกิ แต่ละคนปฏบิ ัติตนตามข้อกาหนดของกลุ่ม เปน็ เวลา 2-3 สปั ดาห์ หรอื ตามความเหมาะสม ตวั อยา่ งพฤติกรรมท่ีกลุ่มร่วมกนั กาหนด เช่น 1. 2. 3. 4. 5. ลาดับท่ี พฤติกรรมที่กาหนด พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ลงช่ือผรู้ บั รอง ดี ดี พอ ปรบั มาก ใช้ ปรุง ลงชือ่ ผูร้ ายงาน (หมายเหตุ พิจารณาตามการปฏิบัตขิ องนักเรียน ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผูส้ อน) 30

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.8 เรอื่ ง ข่าวปัญหาเดก็ และเยาวชนสมยั ใหม่ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนอ่านข่าวดงั ตอ่ ไปนี้ แล้ววเิ คราะห์ตามประเด็นคาถามท่ีกาหนดให้ นายอุดมเดช รัตนเสถียร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิดเผยว่า ปจั จุบันสภาพปัญหาเกิดข้นึ ในเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มสงู ขึน้ อย่างมาก ปัญหาทพี่ บมากได้แก่ 1. ปญั หายาเสพติด พบว่าเด็ก เยาวชนมีแนวโน้มติดสารเสพติดเพิ่มข้ึน ผู้ทาผิดกฎหมายมีอายุน้อยลง มีพฤติกรรมการสูบบุหร่ี ต้ังแต่อายุ 15 ปี ส่วนความผิดเก่ียวกับสารเสพติด 3 ลาดับแรกได้แก่ แอมแฟตามีน สารระเหยและกัญชา 2. ปัญหาการติดเกม ในเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มสูงขึ้น เด็กใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือการบันเทิงมากกว่า การศึกษา โดยเฉพาะเด็กเล็กอายุ 10-14 ปี ชอบเล่นเกมออนไลน์มากที่สุด และเล่นตลอดวันจนเสียสุขภาพ เกิดปัญหาการเกบ็ กด อารมณฉ์ ุนเฉียว พฤติกรรมกา้ วรา้ วหรอื ใชค้ วามรุนแรงในการตัดสินแก้ไขปัญหา บางราย นัดพบเพ่ือซื้อขายอาวธุ ทใี่ ช้ต่อสกู้ ันในเกมหรือแลกของรางวัลกัน จนเป็นเหตุนาไปสู่การทาร้ายร่างกายทะเลาะ วิวาทกันและเกดิ คดอี าชญากรรมต่างๆ ทปี่ รากฏเป็นข่าว 3. ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร พบว่า วัยรุ่นไทยมีค่านิยมการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุ ยังน้อย มีแนวโน้มต้ังครรภ์ก่อนวัยอันสมควร คือ อายุต่ากว่า 20 ปี โดยไม่ได้คิดวางแผนและนาไปสู่ปัญหา การทาแทง้ ปญั หาการตดิ เชอื้ เอดสใ์ นกลุม่ วยั รุ่นเพิม่ มากข้นึ 4. ปัญหาการม่ัวสุมของเยาวชนในหอพัก เป็นปัญหาที่เพ่ิมข้ึนทุกวัน เพราะวัยรุ่นส่วนใหญ่ที่มาเช่า หอพักอยู่รวมกัน มีความเป็นอิสระ ไม่มีผู้ปกครองดูแล ทาให้หลายคนประพฤติตนไม่เหมาะสม มีการมั่วสุม กันเล่นการพนนั เสพยาเสพติด และจบั คู่อยู่รว่ มกนั ระหว่างหญงิ -ชาย ปญั หาต่าง ๆ จาเป็นตอ้ งได้รบั ความร่วมมอื ในการปอู งกนั แก้ไขจากทุกภาคสว่ น ทมี่ า : http://www.m-society.go.th/news_detail.php?newsid=2663 31

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ประเดน็ คาถาม 1. ปญั หาท่ีเดก็ และเยาวชนมีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม มปี ญั หาใดบา้ ง 2. ผลของการกระทาเป็นอย่างไร 3. ปญั หาเหลา่ นี้ สง่ ผลกระทบต่อสังคมอย่างไร 4. แนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรปฏิบตั ิอย่างไร 32

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 1.8 เรอื่ ง ข่าวปัญหาเดก็ และเยาวชนสมยั ใหม่ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนอ่านข่าวดงั ตอ่ ไปนี้ แล้ววเิ คราะห์ตามประเด็นคาถามท่ีกาหนดให้ นายอุดมเดช รัตนเสถียร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิดเผยว่า ปจั จุบันสภาพปัญหาเกิดข้นึ ในเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มสงู ขึน้ อย่างมาก ปัญหาทพี่ บมากได้แก่ 1. ปญั หายาเสพติด พบว่าเด็ก เยาวชนมีแนวโน้มติดสารเสพติดเพิ่มข้ึน ผู้ทาผิดกฎหมายมีอายุน้อยลง มีพฤติกรรมการสูบบุหร่ี ต้ังแต่อายุ 15 ปี ส่วนความผิดเก่ียวกับสารเสพติด 3 ลาดับแรกได้แก่ แอมแฟตามีน สารระเหยและกัญชา 2. ปัญหาการติดเกม ในเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มสูงขึ้น เด็กใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือการบันเทิงมากกว่า การศึกษา โดยเฉพาะเด็กเล็กอายุ 10-14 ปี ชอบเล่นเกมออนไลน์มากที่สุด และเล่นตลอดวันจนเสียสุขภาพ เกิดปัญหาการเกบ็ กด อารมณฉ์ ุนเฉียว พฤติกรรมกา้ วรา้ วหรอื ใชค้ วามรุนแรงในการตัดสินแก้ไขปัญหา บางราย นัดพบเพ่ือซื้อขายอาวธุ ทใี่ ช้ต่อสกู้ ันในเกมหรือแลกของรางวัลกัน จนเป็นเหตุนาไปสู่การทาร้ายร่างกายทะเลาะ วิวาทกันและเกดิ คดอี าชญากรรมต่างๆ ทปี่ รากฏเป็นข่าว 3. ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร พบว่า วัยรุ่นไทยมีค่านิยมการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุ ยังน้อย มีแนวโน้มต้ังครรภ์ก่อนวัยอันสมควร คือ อายุต่ากว่า 20 ปี โดยไม่ได้คิดวางแผนและนาไปสู่ปัญหา การทาแทง้ ปญั หาการตดิ เชอื้ เอดสใ์ นกลุม่ วัยรนุ่ เพิม่ มากข้นึ 4. ปัญหาการม่ัวสุมของเยาวชนในหอพัก เป็นปัญหาที่เพ่ิมข้ึนทุกวัน เพราะวัยรุ่นส่วนใหญ่ที่มาเช่า หอพักอยู่รวมกัน มีความเป็นอิสระ ไม่มีผู้ปกครองดูแล ทาให้หลายคนประพฤติตนไม่เหมาะสม มีการม่ัวสุม กันเล่นการพนนั เสพยาเสพติด และจบั คู่อยู่รว่ มกันระหว่างหญงิ -ชาย ปญั หาต่าง ๆ จาเป็นตอ้ งได้รบั ความรว่ มมอื ในการปอู งกนั แก้ไขจากทุกภาคสว่ น ทมี่ า : http://www.m-society.go.th/news_detail.php?newsid=2663 33

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ประเด็นคาถาม 1. ปญั หาที่เดก็ และเยาวชนมีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม มปี ัญหาใดบ้าง ปัญหายาเสพตดิ ปัญหาการติดเกม ปัญหาการมีเพศสัมพนั ธก์ ่อนวยั อันควร ปญั หาการม่ัวสมุ 2. ผลของการกระทาเป็นอย่างไร เด็กและเยาวชนมีปัญหาดา้ นสขุ ภาพและพฤตกิ รรม เช่น สารเสพติดทาให้สมองเส่ือม และเกิดโรคต่างๆ การ มั่วสุมทางเพศนามาซึ่งโรคเอดส์ และโรคทางเพศสัมพันธ์ นอกจากน้ี การติดเกมทาให้เกิดปัญหาเก็บกด พฤตกิ รรมก้าวรา้ วรนุ แรง เปน็ ตน้ 3. ปญั หาเหล่าน้ี ส่งผลกระทบต่อสงั คมอย่างไร ปัญหาดังกลา่ วสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงสภาพปัญหาครอบครัวที่ขาดความอบอุ่น ขาดการเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด ขาดระเบียบวินัย รักอิสระเกินขอบเขต ไม่เคารพเช่ือฟังคาสั่งสอน ปัญหาการคบเพื่อน ฯลฯ ซ่ึงเหล่านี้ทาให้ เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ ก็จะเป็นผู้ท่ีด้อยประสิทธิภาพ อันจะ ทาให้สังคม อ่อนแอ ไมพ่ ฒั นาเทา่ ที่ควร 4. แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา ควรปฏิบตั อิ ยา่ งไร ครอบครวั มสี ่วนสาคญั ในการอบรมเลีย้ งดู จึงควรส่งเสริมใหม้ คี วามสัมพันธ์อันดีต่อกันในครอบครัว โรงเรยี น คร-ู อาจารย์ วดั ชุมชน และทุกภาคส่วนควรร่วมมือกนั สอดส่องดแู ล และขดั เกลาเยาวชน ให้ประพฤตติ นให้ เหมาะสม 34

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ลาดับ ช่ือ – สกลุ ความร่วมมอื การแสดง การรับฟัง การตงั้ ใจ การรว่ ม รวม ท่ี ของผ้รู บั การ 4321 ความคดิ เห็น ความคิดเห็น ทางาน ปรับปรงุ 20 ผลงานกลุม่ คะแนน ประเมิน 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ ดีมาก = 4 3 หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หนา้ กลุ่ม ดี = 2 เป็ นผปู้ ระเมิน หรือใหต้ วั แทนกลุ่มผลดั กนั ประเมิน 1 หรือใหม้ ีการประเมินโดยเพอื่ น โดยตวั นกั เรียนเอง พอใช้ = ตามความเหมาะสมก็ได้ ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรับปรุง 35

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสังคม หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สังคมมนษุ ย์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 เร่ือง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแกป้ ญั หาและแนวทาง เวลา 2 ชว่ั โมง การพัฒนาสงั คม z  สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สงั คมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ ซ่งึ มผี ลท้งั ทางบวกและทางลบซึ่งผลกระทบทาง ลบอาจก่อใหเ้ กดิ ปญั หาสังคมตามมา ดังน้นั ประชาชนทุกคนตอ้ งร่วมกันแก้ไขและชว่ ยกันสรา้ งแนวทางในการ พฒั นาสงั คม เพ่ือสร้างรากฐานทางสังคมทเ่ี ข้มแข็ง  ตัวชว้ี ัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชีว้ ดั ส 2.1 ม.4-6/2 วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของโครงสรา้ งทางสังคม การขัดเกลาทาง สงั คมและ การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม 2.2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. วเิ คราะหส์ าเหตุของการเปล่ียนแปลงทางสังคม 2. วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหาสงั คมไทย และแนวทางการพัฒนาสงั คม  สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 1. การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม 2. การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาสงั คม 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน -  สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการปฏบิ ตั ิ - กระบวนการทางานกลมุ่ 36

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช  คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝุเรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน  กจิ กรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) ช่ัวโมงที่ 1 1. ให้นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะห์ภาพการเดนิ ทางของคนไทยในอดีตและสนทนาซักถามในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ในอดตี คนไทยเดินทางโดยเรือแจว เกวียน สตั ว์พาหนะ ปจั จุบนั คนไทยเดินทางโดยพาหนะใดบ้าง ผลของการเปลย่ี นแปลงวธิ ีเดินทางมขี ้อดี ข้อเสียอย่างไร 2) สาเหตุท่ีทาให้สงั คมไทยเปลีย่ นแปลงไปจากอดีตมีอะไรบ้าง และส่งผลต่อการพัฒนาอย่างไร 2. ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันสรุปความหมายและลักษณะการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม 3. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5-7 คน ตามความสมัครใจหรอื คละกันตามความสามารถ เพื่อศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง การเปลีย่ นแปลงในสงั คม จากหนังสอื เรียน และทาใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง สงั คมยุคโลกาภิวตั น์ โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ กาหนดภาระหนา้ ท่ขี องสมาชิกในกลุ่ม ดงั นี้ - หวั หน้ากลุ่ม มหี น้าท่นี าทางความคดิ เสนอความคดิ ประสานความคดิ กระตุ้นให้สมาชกิ คิด และแบง่ หน้าท่ีในการทาใบงาน - สมาชกิ กล่มุ รับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2 คน ตอ่ 1 หัวขอ้ - เลขานกุ ารกลุ่ม มหี นา้ ที่ประสานงานการดาเนนิ งาน และรวบรวมผลงาน 4. ใหส้ มาชกิ แต่ละกลุม่ ระดมพลังสมอง วางแผนการทางานและแบ่งหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบตาม หัวข้อในใบงาน กาหนดเวลาการทากิจกรรมใหเ้ สรจ็ ตามความเหมาะสม 5. หัวหน้ากลมุ่ และสมาชกิ ในกลุ่มชว่ ยกันตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน และนามาวิเคราะห์ ร่วมกันตามหวั ข้อที่กาหนดให้ในใบงาน เม่ือประเมินผลงานเสร็จแล้ว ถ้าหากมีข้อมูล ไม่ เพียงพอ ใหแ้ บ่งหน้าท่ีกนั ไปค้นควา้ ขอ้ มลู เพ่มิ เติม เพื่อใหง้ านเสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด 6. สมาชกิ กลมุ่ นาผลงานท่ีเสร็จแลว้ มาพจิ ารณาประเมินผลในภาพรวม ปรับปรงุ แก้ไขให้สมบูรณ์ ตามความเหมาะสม แล้วส่งตัวแทนกลมุ่ นาเสนอผลงานตอ่ ช้ันเรยี น 7. ครูและนกั เรยี นช่วยกนั สรปุ บทเรียน และเพิ่มเติมในประเด็นสาคญั ครชู นื่ ชมผลงานนกั เรียน ชั่วโมงที่ 2 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมเก่ียวกับผลเสียที่เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงในสังคม ทาใหเ้ กิดปัญหาสังคมตามมา และใหน้ ักเรียนช่วยกันอภปิ รายปัญหาของสงั คมไทยที่กาลังประสบอยู่ โดยเขยี นชื่อปัญหาบนกระดาน 2. นกั เรียนแบง่ เปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ให้แตล่ ะกลุ่มศึกษาค้นควา้ เรื่อง ปัญหาสังคมไทยและแนว ทางการแก้ไขปญั หา จากหนงั สือเรยี น และทาใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง ปญั หาสังคมไทย โดยให้นกั เรียน 37

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ร่วมกันคดิ ว่า เรื่องใดบ้างทีเ่ ป็นปัญหาสงั คมอยใู่ นขณะนนั้ จากนน้ั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ตัดสินใจ เลือก ปญั หาสาคัญ 1 ปญั หา ทสี่ มาชกิ ในกลุม่ คิดว่าสามารถมสี ว่ นร่วมในการปูองกันแกไ้ ขปัญหาได้ แล้วชว่ ยกนั วิเคราะหแ์ ละตอบคาถามตามหวั ข้อในใบงาน 3. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานที่หน้าช้นั เรียน แลว้ ช่วยกันสรุปประเด็นปญั หาสาคัญทตี่ อ้ ง ร่วมมือกันแก้ไขอยา่ งเร่งดว่ น 4. ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั ทาแผนผงั ความคิด เรือ่ ง สังคมมนุษย์ โดยวิเคราะหล์ ักษณะสังคม มนุษยใ์ หค้ รอบคลุมหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1) ความสาคัญของการอยรู่ ่วมกันเปน็ สังคม 2) โครงสรา้ งทางสังคม 3) การขดั เกลาทางสงั คม 4) การเปลีย่ นแปลงในสังคม 5. ครูเลือกผลงานทีม่ ีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดี แลว้ นามาจดั ปาู ยนเิ ทศแสดงผลงานของนักเรยี น  นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง สงั คมมนษุ ย์  การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์ ใบงานที่ 2.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 2.1 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมนิ แผนผังความคิด เรือ่ ง ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 สังคมมนุษย์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ แผนผังความคดิ เรื่อง แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สงั คมมนุษย์ ท่ี 1 เร่อื ง สังคมมนุษย์ สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง สงั คม มนุษย์  ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1ส่อื การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น หนา้ ท่พี ลเมอื งฯ ม.4-ม.6 2. ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง สังคมยุคโลกาภิวัตน์ 3. ใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง ปญั หาสงั คมไทย 8.2แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ห้องสมดุ 2. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ เชน่ http://www.thaisociety.go.th 38

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช แบบประเมนิ แผนผังความคดิ เรอ่ื ง สงั คมมนษุ ย์ กลมุ่ ท.่ี ................................................. .............................................................................. 2. .............................................................................. สมาชกิ ของกลมุ่ 1. .............................................................................. 4. .............................................................................. .............................................................................. 6. .............................................................................. 3. 5. คุณภาพผลงาน 432 ลาดั รายการประเมนิ 1 บท่ี 1 ความสาคญั ของการอยรู่ ว่ มกันเป็นสังคม 2 โครงสร้างทางสงั คม 3 การขัดเกลาทางสังคม 4 การเปลี่ยนแปลงในสงั คม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผูป้ ระเมิน / /....................... ........................... ........................ เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 3 ดี = 2 1 พอใช้ = ปรับปรุง = เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุง 39

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง สงั คมยุคโลกาภิวัตน์ คาสั่ง ให้นักเรยี นอา่ น เรื่อง สังคมยุคโลกาภวิ ัตน์ แล้ววิเคราะห์ตามหวั ข้อต่อไปนี้ 1. สาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลงของสังคมไทย มเี รื่องใดบ้างประมาณ 5-6 เรื่อง และนาข้อความ มาเขียนลงในตารางวเิ คราะห์ ขอ้ 1 2. วิเคราะหป์ ระเภทของการเปลีย่ นแปลงในสงั คมโดยขีดเคร่ืองหมาย  ลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 2 3. บอกผลดีและผลเสีย ของการเปล่ียนแปลงในสงั คมโดยเขียนตอบในตารางวเิ คราะห์ ข้อ 3, 4 4. บอกปจั จยั ทที่ าใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในสงั คมโดยขีดเคร่อื งหมาย  ลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 5 ปัจจุบันสงั คมไทยอยู่ท่ามกลางกระบวนการโลกาภวิ ตั น์ (Globalization) หรือ โลกไร้พรมแดน ซง่ึ เชอื่ มโยงสว่ นต่างๆ ของโลกเข้าเป็นอนั หนง่ึ อันเดียวกนั ด้วยความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีการส่ือสาร และสารสนเทศ ทรัพยากรของประเทศดเู หมอื นจะเหมาะกบั การเกษตรกรรมมากกว่าอตุ สาหกรรมสง่ ออก การผลติ สินค้า เนน้ ความจาเป็นมากกว่าสนิ ค้าฟุมเฟือย สว่ นนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลทุกชุดก็จะเน้นการเตบิ โต เนน้ ผลกาไรสูงสุดตามระบบการผลติ เหมือนประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ NICS (Newly Industrialized Countries) ซง่ึ เท่ากบั ผลกั ดนั ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ เกดิ ช่องวา่ งระหว่างคนรวยคนจนสภาพแวดลอ้ ม คา่ นยิ มทเี่ น้นความม่งั ค่งั และเสพสุขทางวัตถุ ทาใหค้ นฉ้อฉลในทกุ วงการ พรอ้ มทีจ่ ะทา ทุกอยา่ ง เพอ่ื เงนิ อานาจ ไมม่ จี รรยาบรรณ ไม่มีมโนธรรม อิทธพิ ลของโทรทัศน์ วทิ ยุ คอมพิวเตอร์ และสื่อมวลชนเข้ามามอี ิทธพิ ลต่อวถิ ีชวี ติ ประจาวัน พวกเด็ก จะถกู สภาพแวดลอ้ มเหลา่ น้กี ลอ่ มเวลาให้เขาต้องแก่งแย่ง แขง่ ขัน ชงิ ดชี ิงเด่น มีของดียี่หอ้ ดงั แตง่ กายแฟช่ัน แปลกๆ ทาสีผม บริโภคอาหารจานเดียว (Fast Food) ใชเ้ วลาว่างเดินตามห้างสรรพสินคา้ ฯลฯ สภาพเหลา่ น้ี จะนาพาเดก็ รนุ่ ใหมไ่ ปสู่การเอาแตใ่ จ มุ่งหาความเฉพาะตวั เหน็ แก่ตวั ไมแ่ คร์ผูค้ นรอบข้าง ใชช้ วี ิตร่วมกับผูอ้ ่ืน ไมเ่ ป็น และเปน็ คนแขง็ กระด้าง ในดา้ นสทิ ธิสตรไี ทย มโี อกาสทัดเทียมชายมากข้ึน องค์การสหประชาชาติ กาหนดใหว้ นั ที่ 8 มนี าคม เป็นวันระลกึ สตรีสากล ประเทศไทยได้วางแผนในการพัฒนาสตรีต้ังแตป่ ี 2524 สนบั สนุนใหส้ ตรเี ข้ามามบี ทบาทพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรมของสงั คมและนานาชาติ 40

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช การเปลี่ยนแปลงทน่ี า่ สนใจขณะนไ้ี ดแ้ กค่ วามเป็นสากลของภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นภาษาหลัก (Mother Language) ใช้กันท่ัวโลก ในประเทศไทยผ่านธุรกิจ ปูายช่ือร้าน อาคาร ส่วนใหญ่ก็เขียนเป็นภาษาอังกฤษ แมแ้ ตด่ ารา นกั แสดง ก็ได้นาเสนอดาราลกู ครงึ่ เป็นตวั หลกั การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเราจะมองเห็นว่าก้าวหน้าเด่นชัด การขยายตัวของประชากรของเมือง และการสอื่ สารและเทคโนโลยีกเ็ หมอื นกัน แตผ่ ลรา้ ยทีต่ ามมา คอื สภาพแวดล้อมทดี่ งี ามถูกทาลาย มีการตัดไม้ ทาลายปาุ สัตว์ พชื แหลง่ นา้ แรธ่ าตุถกู ทาลายมากขน้ึ การใชร้ ถยนต์ใช้พลังงาน ใช้ตู้เย็น แอร์ สเปรย์ จะมีการ ปล่อยสารพษิ ไปทาลายโอโซนมากขน้ึ คณุ ภาพชีวิตลดลงมากกว่าจะทาให้ชีวิตมีความสุขขึ้น ยิ่งการส่งเสริมการ ท่องเทย่ี วมากกย็ งิ่ มโี สเภณี มีโรคเอดสม์ ากตามมา พฤติกรรมทางวัฒนธรรม สังคม ประเพณี ศีลธรรม จริยธรรม แม้แต่ภาษาซึ่งล้วนเป็นเอกลักษณ์ของ ชาติ เราต้องดูแลไม่ให้สูญสลายไป การดารงชีวิตของคนเป็นส่ิงท่ีดีงาม อุปถัมภ์เกื้อกูลกัน มีจิตใจดีมีความ อ่อนโยนออ่ นน้อม และมชี ีวิตทีเ่ รยี บงา่ ย ซึง่ หาไดย้ ากในสงั คมขึ้น การเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดข้ึนเราไม่อาจต้านกระแสโลกได้ และการเปล่ียนแปลงก็ไม่ใช่สื่อเลวร้ายเสมอไป เราคงขวางกระแสใหญ่ของโลกาภิวัตน์ท้ังหมดไม่ได้ ในแง่ดีผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ให้ประโยชน์ต่อคนไทย เป็นความทันสมยั ไมโ่ ง่เขลา ลา้ หลัง เมอื งไทยนับจาก ค.ศ.2000 เราจะก้าวสสู่ หสั วรรษใหม่ที่มีการแข่งขันกันสูง เกิดปัญหาหลายประการตามมา ขณะเดียวกันเราก็ต้องช่วยกันประคับประคองให้แก้ปัญหาต่างๆ ตลอดจน กาหนดแนวทางบารงุ รักษาดุลยภาพแหง่ ชวี ติ ของคนไทยให้ดารงความเปน็ ไทยในสงั คมยุคโลกาภวิ ัตน์ให้ได้ 41

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช 1. สาเหตขุ อง 2. ประเภทของการ 3. ผลดีของการ 4. ผลเสียของ 5. ปจั จยั ท่ีทาใหเ้ กิด การเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลง เปล่ยี นแปลง เปล่ียนแปลง การ ภายใน ภายนอก สงั คม วฒั นธรรม เปล่ียนแปลง 42

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ส31101 สงั คมศึกษา1 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ครูผสู้ อน นางภาณี แสนเดช ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง สังคมยคุ โลกาภิวัตน์ คาสงั่ ให้นกั เรยี นอา่ น เรื่อง สังคมยุคโลกาภวิ ตั น์ แล้ววิเคราะหต์ ามหัวขอ้ ต่อไปนี้ 1. สาเหตุของการเปลยี่ นแปลงของสงั คมไทย มีเรื่องใดบา้ งประมาณ 5-6 เรื่อง และนาข้อความ มาเขยี นลงในตารางวเิ คราะห์ ข้อ 1 2. วิเคราะห์ประเภทของการเปลยี่ นแปลงในสงั คมโดยขีดเครอื่ งหมาย  ลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 2 3. บอกผลดแี ละผลเสียของการเปล่ยี นแปลงในสงั คมโดยเขียนตอบในตารางวิเคราะห์ ขอ้ 3, 4 4. บอกปจั จัยทที่ าใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในสงั คมโดยขีดเครอื่ งหมาย  ลงในตารางวเิ คราะห์ ข้อ 5 ปัจจบุ นั สังคมไทยอยู่ท่ามกลางกระบวนการโลกาภวิ ตั น์ (Globalization) หรอื โลกไร้พรมแดน ซง่ึ เชอ่ื มโยงสว่ นต่างๆ ของโลกเขา้ เปน็ อันหนึ่งอันเดียวกันด้วยความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร และสารสนเทศ ทรพั ยากรของประเทศดเู หมือนจะเหมาะกบั การเกษตรกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมสง่ ออก การผลติ สนิ คา้ เน้นความจาเป็นมากกว่าสนิ ค้าฟุมเฟอื ย สว่ นนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลทกุ ชุดกจ็ ะเนน้ การเติบโต เน้น ผลกาไรสูงสุดตามระบบการผลติ เหมือนประเทศพัฒนาอตุ สาหกรรมใหม่ NICS (Newly Industrialized Countries) ซ่งึ เทา่ กบั ผลกั ดันใหเ้ กดิ การเอารดั เอาเปรียบ เกดิ ชอ่ งว่างระหวา่ งคนรวยคนจนสภาพแวดลอ้ ม คา่ นยิ มทเี่ น้นความมั่งคั่งและเสพสขุ ทางวตั ถุ ทาใหค้ นฉอ้ ฉลในทุกวงการ พรอ้ มท่จี ะทาทุกอย่างเพื่อเงิน อานาจ ไม่ มีจรรยาบรรณ ไม่มีมโนธรรม อิทธพิ ลของโทรทัศน์ วิทยุ คอมพวิ เตอร์ และส่ือมวลชนเขา้ มามีอิทธพิ ลต่อวถิ ชี วี ติ ประจาวนั พวกเด็ก จะถูกสภาพแวดลอ้ มเหล่านก้ี ล่อมเวลาใหเ้ ขาต้องแก่งแย่ง แขง่ ขัน ชิงดชี งิ เด่น มีของดยี ่ีหอ้ ดงั แตง่ กายแฟชัน่ แปลกๆ ทาสีผม บริโภคอาหารจานเดยี ว (Fast Food) ใช้เวลาว่างเดนิ ตามหา้ งสรรพสนิ ค้า ฯลฯ สภาพเหล่านี้ จะนาพาเด็กรุ่นใหม่ไปสกู่ ารเอาแตใ่ จ มุ่งหาความเฉพาะตวั เหน็ แก่ตัวไม่แครผ์ ู้คนรอบข้าง ใชช้ ีวติ ร่วมกบั ผ้อู นื่ ไมเ่ ป็น และเป็นคนแขง็ กระด้าง ในดา้ นสิทธสิ ตรีไทย มีโอกาสทดั เทยี มชายมากขึ้น องค์การสหประชาชาติ กาหนดใหว้ นั ที่ 8 มีนาคม เป็นวันระลกึ สตรสี ากล ประเทศไทยได้วางแผนในการพฒั นาสตรีตัง้ แต่ปี 2524 สนับสนนุ ให้สตรเี ขา้ มามบี ทบาทพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรมของสังคมและนานาชาติ 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook