Encyclopedia of World Literature in the 20th Century ยกยอ่ งใหเ้ ป็นวรรณกรรมของโลก
พระอานนท์ พุ ท ธ อ นุ ช า โดย อ.วศนิ อินทสระ ธ ร ร ม นิ ย า ย อิ ง ชี ว ป ร ะวั ติ ใ น พุ ท ธ ก า ล
หนังสอื เร่อื งนี้ ขา้ พเจา้ เขียนข้นึ เพอ่ื เทดิ เกยี รติ พระพุทธอนชุ าผู้ประเสรฐิ ซึง่ คณุ ธรรมและปฏปิ ทาของท่าน ได้ฝังลึกอยู่ในดวงใจของขา้ พเจ้า มาเป็นเวลานาน วศิน อนิ ทสระ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ คํ า ป ร า ร ภ 4 ชมรมกลั ยาณธรรมโดยทนั ตแพทยห์ ญงิ อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ์ ผู้เป็นประธานชมรม ได้ขออนุญาตพิมพ์หนังสือเรื่อง พระอานนท์ พทุ ธอนชุ า เพอื่ แจกเปน็ ธรรมทาน ขา้ พเจา้ อนญุ าตดว้ ยความยนิ ดยี ง่ิ คิดวา่ จะเปน็ ประโยชนแ์ พรห่ ลายออกไปอีก น่าอนโุ มทนาย่ิงนัก เรอื่ ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า น ้ี ขา้ พเจา้ เขยี นลงในหนงั สอื - พิมพ์สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๘ สัปดาห์ละตอน รวม ๓๓ ตอน ข้าพเจ้าได้เขียนเล่าไว้พอสมควรแล้วในค�ำน�ำแห่ง การพมิ พค์ รงั้ ท ่ี ๑ และครง้ั ท ่ี ๗ ซงึ่ ไดน้ ำ� มาลงพมิ พไ์ วใ้ นการพมิ พ์ ครง้ั นด้ี ้วยแลว้ เรอื่ ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า ไดม้ ผี กู้ ลา่ วถงึ ดว้ ยความนยิ ม ชมชอบไว้มากหลาย ซ่งึ ข้าพเจา้ ไมส่ ามารถนำ� มาลงไว้ในทน่ี ้ีได้
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ขอขอบคุณชมรมกัลยาณธรรมและขอขอบคุณทุกท่าน ที่มี 5 สว่ นทำ� ใหห้ นงั สอื เรอื่ งนอี้ อกมาอยา่ งงดงามนา่ ชน่ื ชม หวงั วา่ จะเปน็ ประโยชนแ์ กท่ า่ นผอู้ า่ นพอสมควร ขออาราธนาคณุ พระศรรี ตั นตรยั และคณุ ความดที งั้ หลายทพ่ี วกเราไดร้ ว่ มกนั ทำ� จงอภบิ าลใหส้ งั คม ของเราอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ เปน็ สงั คมทม่ี กี ลั ยาณธรรมมคี วามเออื้ อาทร ต่อกัน เพื่อความสงบสขุ และความเจรญิ ย่ิงยนื นาน ด้วยความปรารถนาดีอย่างย่ิง ๑๘ มกราคม ๒๕๕๖
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ คํ า นํ า ใ น ก า ร พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๗ เรอื่ ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า ทสี่ ำ� นกั พมิ พบ์ รรรณาคารพมิ พ์ จำ� หนา่ ย ไดห้ มดลง สำ� นกั พมิ พข์ ออนญุ าตพมิ พใ์ หมเ่ ปน็ ครง้ั ท ่ี ๗ แต่ หนังสือเร่ืองน้ีได้รับการตีพิมพ์มากในงานศพ เจ้าภาพขออนุญาตไป พมิ พแ์ จกอยเู่ สมอ ทำ� เปน็ เลม่ ใหญ ่ พมิ พก์ ระดาษอยา่ งด ี สวยงามทงั้ 6 รปู เลม่ และปก ทง้ั นเี้ ปน็ ไปตามกำ� ลงั ศรทั ธา ทรพั ย ์ และสตปิ ญั ญาของ ผู้จัดทำ� มากคร้ังจนข้าพเจ้าจ�ำไม่ได้ เมอื่ เรว็ ๆ นี้ มผี ู้รจู้ ักคุน้ เคยนำ� เอกสารจากต่างประเทศมาให้ดู เปน็ Encyclopedia of World Literature in 20th Century คอื สารา- นกุ รมวรรณคดหี รอื วรรณกรรมของโลกในศตวรรษที่ ๒๐ ในสารานุกรมนั้นมีข้อความกล่าวถึงนักเขียนไทยหลายคน พรอ้ มทง้ั ชอ่ื หนงั สอื เดน่ ๆ ทที่ า่ นเหลา่ นนั้ เขยี น แตห่ นงั สอื ทางศาสนา มีกล่าวถึงเฉพาะเร่ืองพระอานนท์ พุทธอนุชา เพียงเล่มเดียว ขอน�ำ ข้อความเฉพาะท่ีเกีย่ วกบั หนังสอื พระอานนท์มาลงไว้ดว้ ยดังนี้ The spiritual confusion arising from rapid social change and disintegrating morality finds expression in the work of Buddhist scholars, such as Wasin Inthasara’s (b.1934) Phar- A-non Buttha anucha (1965 ; Phar-A-non, the brother of the
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า Lord Buddha), in which he discusses aspects of Buddhism applicable to modern life, in a language that can be grasped by laymen (p.430) สว่ นขอ้ ความทแ่ี ปลเปน็ ไทยนน้ั วารสารกลั ยาณมติ รฉบบั เดอื น ตลุ าคม ๒๕๓๓ ไดน้ ำ� ลงแลว้ ขา้ พเจา้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งกลา่ วซำ้� อกี ขา้ พเจา้ ได้น�ำมาลงไว ้ ณ ที่นด้ี ้วยแล้ว เรื่องทั้งปวงที่บอกเล่ามาน้ี มิใช่เพื่ออวดตน เพราะไม่จ�ำเป็น ต้องอวด แต่เขียนบอกเล่าเพื่อชี้ให้เห็นจุดส�ำคัญจุดหน่ึงในวงการ ศาสนาของเราวา่ การเผยแผศ่ าสนาโดยวธิ เี ลา่ เรอ่ื งและแทรกธรรมะ อนั ประชาชนจะนำ� ไปใชไ้ ดใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั นนั้ ยงั เปน็ ทต่ี อ้ งการของ พหชู น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ผทู้ ยี่ งั เยาวต์ อ่ ความรทู้ างศาสนา เหมอื นเดก็ หรอื คนปว่ ยท่ียงั ต้องรบั อาหารอ่อนและปรุงรสบ้างตามพอสมควร 7 ถา้ วงการศาสนาของเราตระหนกั ในเรอ่ื งนแี้ ละชว่ ยกนั ผลติ นกั เผยแผศ่ าสนาโดยวธิ ีนีใ้ หเ้ พิ่มขึน้ เรอ่ื ยๆ และรับชว่ งกันไป งานด้านนี้ ก็จะได้ด�ำเนินไปโดยไม่ขาดสาย ย่อมจะอ�ำนวยประโยชน์สุขแก่คน หมู่มาก ซ่ึงเป็นพุทธบริษัทผู้ยังเยาว์ต่อความรู้ทางศาสนา พออาศัย ไปก่อนจนกว่าอินทรยี ์จะแกก่ ลา้ สำ� หรบั ทา่ นทส่ี นใจในธรรมะระดบั สงู ๆ นนั้ ไมต่ อ้ งหว่ งทา่ นอย ู่ แล้ว ท่านย่อมไปได้เอง นอกจากจะไปหลงเสียกลางทาง กลายเป็น มิจฉาทฏิ ฐิไปเพราะไมเ่ อ้อื เฟือ้ ต่อธรรมในระดบั ต้นๆ เรอ่ื ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า มปี รชั ญาชวี ติ อยมู่ าก ปรชั ญาชวี ติ เป็นส่งิ จ�ำเปน็ ต่อชีวิต มนั เป็นพวงมาลัยของชีวติ เหมือนพวงมาลัยรถ และเรอื ซงึ่ นำ� เรอื หรอื รถใหห้ นั เหไปในทศิ ทางทผี่ ขู้ บั ขปี่ ระสงค ์ คนเรา มหี ลักการส�ำหรบั ชวี ติ อย่างไร เขายอ่ มดำ� เนินชีวติ อย่างน้นั
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ดว้ ยเหตนุ ้ี หลงั จากเรอ่ื งพระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า ไดอ้ อกสสู่ ายตา ของมหาชนแลว้ ตลอดเวลาประมาณ ๒๕ ปมี าน ี้ ขา้ พเจา้ ไดฟ้ งั อยเู่ สมอ จากผู้อ่านเร่ืองพระอานนท์ว่าทัศนคติเกี่ยวกับชีวิตของเขาเปลี่ยนไป หมายถึงเปลี่ยนไปในทางที่ดี บางท่านเปล่ียนไปมากๆ และบอกว่า เกิดก�ำลังใจในการท�ำคุณงามความดีถึงขนาดมอบกายถวายชีวิตให้ กับพระศาสนาเลยทเี ดียว ข้าพเจ้าท�ำงานด้วยความหวัง...หวังให้พ่ีน้องชาวไทยของเรา เขา้ ใจพทุ ธศาสนาในทางทถี่ กู ทตี่ รง และไดร้ บั ประโยชนจ์ ากพระพทุ ธ- ศาสนาเทา่ ทป่ี ระโยชนน์ นั้ มอี ยู่ สมกบั ทไ่ี ดเ้ สยี สละอปุ ถมั ภบ์ �ำรงุ การ จะเปน็ เชน่ นไี้ ด ้ พทุ ธบรษิ ทั จะตอ้ งเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแทว้ า่ พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนอะไรและไม่ทรงสอนอะไร หรือว่าทรงสอนให้ท�ำอย่างไร 8 ไมค่ วรทำ� อยา่ งไร ถา้ เราผปู้ น็ พทุ ธบรษิ ทั รจู้ กั คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ อย่างถ่องแท้แล้ว ชวนกันด�ำเนินตาม ปฏิบัติตามให้สมควรแก่ฐานะ ของตนๆ แลว้ ขา้ พเจา้ เชอ่ื วา่ สงั คมไทยของเราจะดขี น้ึ กวา่ นส้ี กั ๑๐๐ เทา่ จะเป็นสังคมของอารยชนอย่างแท้จริง สมตามพระพุทธประสงค์ท ี่ ทรงเสยี สละเปน็ อนั มาก เพอ่ื ประโยชนอ์ นั ใดเราจะไดบ้ รรลถุ งึ ประโยชน ์ อนั นน้ั เราจะไมต่ อ้ งเสยี ใจในภายหลงั วา่ นบั ถอื ศาสนาซง่ึ เตม็ ไปดว้ ย ประโยชนน์ ำ� ออกจากทกุ ขไ์ ดจ้ รงิ แตเ่ รามไิ ดร้ บั ประโยชนอ์ ะไรและยงั จมอยู่ในกองทุกข์ ว่ายวนอยู่ในทะเลเพลิง กล่าวคือความกลัดกลุ้ม รมุ่ ร้อนอย่างหาทางออกไมไ่ ด้ ศาสนาพุทธน้ัน เน้นการช่วยเหลือตนเอง ต้องลงมือท�ำด้วย ตนเอง จะมวั กราบๆ ไหวๆ้ โดยไมข่ วนขวายทำ� อะไรเพอ่ื ออกจากทกุ ข ์ นน้ั ไมไ่ ด ้ เมอ่ื เราตอ้ งการไปฝง่ั โนน้ กต็ อ้ งขวนขวายหาเรอื หรอื แพ หรอื มฉิ ะนนั้ กต็ อ้ งวา่ ยนำ้� ขา้ มไป จะนงั่ กราบไหวเ้ พอ่ื ใหฝ้ ง่ั โนน้ เลอ่ื นมาหาตน
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า หาสำ� เรจ็ ไม ่ เราตอ้ งบากบน่ั พากเพยี รดว้ ยกำ� ลงั ทงั้ หมด และตอ้ งเปน็ ความเพียรชอบอันถูกทางด้วย เพื่อข้ามไปสู่ฝั่งโน้นคือพระนิพพาน อนั เปน็ การออกจากสงั สารวฏั ซง่ึ หมายถงึ การออกจากทกุ ขท์ ง้ั ปวงดว้ ย โลกของเราน ี้ ไมว่ า่ จะมองไปทใี่ ด มนั แสนจะนา่ เบอื่ หนา่ ย มแี ต ่ เรื่องทุกข์ร้อน มีแต่ปัญหาความขัดแย้ง อะไรท่ียังไม่ได ้ คนก็ยื้อแย่ง แขง่ ขนั กนั เพอื่ จะได ้ พอไดม้ าจรงิ ๆ กไ็ มเ่ หน็ จะวเิ ศษวโิ สอะไร มนั เทา่ นนั้ เอง พ่วงเอาความทุกข ์ ความกังวล ความเหน็ดเหน่ือยกับมันอีกเป็น อันมาก ด้วยระยะเวลาอันยาวนาน ด้วยเหตุน้ีพระศาสดาของเราจึง ให้พิจารณาเนืองๆ ถึงความไม่น่ายินดี ไม่น่าปรารถนาในโลกทั้งปวง (สัพพโลเก อนภิรตสัญญา) และในสังขารทั้งปวง (สัพพสังขาเรสุ อนจิ จสญั ญา) ทง้ั น ้ี เพอื่ ใหจ้ ติ ใจหลดุ ลอยขน้ึ ไปจากความยดึ ถอื ทงั้ หลาย เพอ่ื ความสุขสวัสดที ีแ่ ทจ้ รงิ 9 คราวหนง่ึ มีผมู้ าทลู ถามพระพุทธองคว์ ่า “จติ นสี้ ะดงุ้ อยเู่ ปน็ นติ ย์ ใจนห้ี วาดเสยี วอยเู่ ปน็ นติ ย์ ทงั้ ในกจิ ท ี่ ยงั ไมเ่ กดิ และในกจิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้ ถา้ ความไมต่ อ้ งสะดงุ้ มอี ย ู่ ขอพระองค์ จงตรัสบอกสิ่งน้ันเถดิ ” พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ตอบว่า “เวน้ ปญั ญา ความเพยี ร การสำ� รวมอนิ ทรยี ์ และความปลอ่ ยวาง โดยประการทง้ั ปวงแลว้ เรา (ตถาคต) มองไมเ่ หน็ ความสวสั ดขี องสตั ว์ ทงั้ หลายเลย” ความสวัสดีของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมมีได้เพราะอาศัยปัญญา ความเพียร การส�ำรวมระวังอินทรีย์ (คือ ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ) และการบอกคืนส่ิงท้ังปวงท่เี คยยึดถือไวด้ ้วยอุปาทาน
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ มนุษย์เราคงจะไม่ล�ำบากมากมายอะไรกันขนาดน ี้ ถ้าเขารู้จกั หมนุ ใจใหต้ รง (ทฏิ ฐชุ กุ รรม) และหมนุ เขา้ หาธรรม คดิ เอาธรรมเปน็ ที่พ่ึงของชีวิต ไม่มัวเสียเวลาคิดพึ่งส่ิงอ่ืนอันเล่ือนลอยไร้ความหมาย โลกไดเ้ จรญิ รดุ หนา้ ไปมากทางวตั ถ ุ แตท่ างจติ ใจแลว้ ยงั ไปไมถ่ งึ ไหนเลย ยังคงวนเวียนอยู่กับสิ่งที่ท�ำให้ชีวิตตกต่�ำ ให้สุขภาพจิตเสื่อมโทรม อายจุ ติ ของมนษุ ยโ์ ดยสว่ นรวมยงั เยาวอ์ ยมู่ าก พวกเขาเปน็ ผนู้ า่ สงสาร นา่ ชว่ ยเหลอื นา่ สาดแสงธรรมเขา้ ไปหา เพอ่ื ผมู้ จี กั ษจุ ะไดเ้ หน็ ชวี ติ ตาม ความเปน็ จรงิ เหน็ คณุ คา่ ของชวี ติ ทดี่ กี วา่ ประณตี กวา่ สงบเยอื กเยน็ กว่า และเป็นชีวิตท่ีงดงาม ซึ่งพระอริยเจ้าท้ังหลายได้ท�ำแบบอย่าง ไว้แล้ว ในเร่ือง พระอานนท์ พุทธอนุชา นี้ ก็มีตัวอย่างชีวิตของพระ 10 อรยิ เจา้ มากมายทงั้ ฝา่ ยบรรพชติ และคฤหสั ถ ์ มสี มเดจ็ พระบรมศาสดา เปน็ ตน้ แบบ ตามมาดว้ ยพระอานนทฯ์ ทางฝา่ ยคฤหสั ถเ์ ลา่ กม็ ที งั้ บรุ ษุ และสตรี เช่น ท่านอนาถปิณฑิกเศรษฐีและนางวิสาขามหาอุบาสิกา เป็นต้น ท่านเหล่าน้ีแม้ยังครองเรือนอยู ่ แต่ก็ได้รับความสุขสงบเย็น แห่งชวี ติ ไปตามๆ กัน บคุ คลแมจ้ ะยงั ไมเ่ ปน็ อรยิ ะ แตถ่ า้ ดำ� เนนิ ตามรอยของพระอรยิ - เจ้าอยู่เสมอแล้ว ย่อมได้รับความสงบสุขเช่นเดียวกับที่พระอริยเจ้า เหลา่ นน้ั ได ้ แมจ้ ะในปรมิ าณทน่ี อ้ ยกวา่ และในคณุ ภาพทต่ี ำ�่ กวา่ กต็ าม เหมอื นเดก็ ทกี่ นิ อาหารอยา่ งเดยี วกนั กบั ผใู้ หญ ่ แตใ่ นปรมิ าณทนี่ อ้ ยกวา่ และในคณุ ภาพทเ่ี จอื จางกวา่ หรอื ออ่ นกวา่ ในเรอื่ งยากท็ ำ� นองเดยี วกนั และเปน็ การแนน่ อนวา่ วนั หนง่ึ เขาตอ้ งกา้ วขนึ้ สอู่ รยิ ภมู อิ ยา่ งเดยี วกบั พระอรยิ เจา้ เหมอื นเดก็ ทต่ี อ้ งกนิ อาหารไดอ้ ยา่ งผใู้ หญใ่ นเมอื่ เขาโตเปน็ ผู้ใหญ่ในกาลต่อมา ต่างกันเพียงแต่ว่า ความสุขสงบของพระอริย-
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เจ้าน้ันม่ันคงย่ังยืน ส่วนความสุขสงบของผู้ที่เพียงแต่เดินตามรอย ของท่านน้ันยังกลับกลอก คือบางคราวก็ได ้ บางคราวก็ไม่ได ้ เปรียบ อีกอย่างหน่ึงเหมือนธนบัตรของคนยากจนกับของเศรษฐีย่อมเป็น ธนบตั รอยา่ งเดยี วกนั ตา่ งกนั แตเ่ พยี งวา่ ของคนยากจนมอี ยา่ งไมม่ นั่ คง มีบ้าง ไม่มีบ้าง ส่วนของเศรษฐีย่อมมีอยู่เสมอ มีอยู่อย่างเหลือเฟือ เกินต้องการเสยี อีก ในฐานะพุทธบริษัท ควรจะต้องตั้งความหวังให้สูงไว้เกี่ยวกับ เรอื่ งน ี้ คอื ตอ้ งไมส่ นั โดษในกศุ ลธรรม (อสนตฺ ฏุ ฐฺ ติ า กสุ เลส ุ ธมเฺ มส)ุ และการไมถ่ อยกลบั ในเรอื่ งความเพยี ร (อปปฺ วาณติ า ปธานสมฺ ึ ) คอื ท�ำความเพียรรุดหน้าไปเรื่อยด้วยเรี่ยวแรงและก�ำลังทั้งหมด ทั้งสอง อย่างน้ี พระศาสดาเคยทรงปฏิบัติด้วยพระองค์เองได้ผลมาแล้วและ ชกั ชวนพุทธบริษัทไดด้ ำ� เนนิ ตาม 11 พรอ้ มน ้ี ขา้ พเจา้ ขอสง่ ความปรารถนาดมี ายงั ทา่ นทง้ั หลาย ขอ ให้ท่านผู้ประพฤติธรรมพึงได้รับการคุ้มครองโดยธรรม มีความสงบ รม่ เย็นในชวี ติ ทุกเม่ือ ๑๒ มีนาคม ๒๕๓๔
เกียรติคณุ ของ อาจารยว์ ศิน อินทสระ ...กลั ยาณมติ รของเรา ฉบบั เดอื นกนั ยายน ๒๕๒๙ ในคอลมั น ์ “แนะนำ� หนงั สอื ด”ี เคยไดแ้ นะนำ� หนงั สอื เลม่ หนงึ่ ซง่ึ เปน็ หนงั สอื ธรรม- นยิ ายองิ ชวี ประวตั ขิ องพระสาวกในสมยั พทุ ธกาล นนั่ คอื พระอานนท์ พทุ ธอนชุ า อนั เปน็ ผลงานแหง่ ความอตุ สาหะของ อาจารยว์ ศนิ อนิ ทสระ ผไู้ ดร้ บั การยอมรบั กนั วา่ เปน็ ผสู้ ามารถรอ้ ยมาลยั ธรรมไดอ้ ยา่ งงดงาม และยอดเย่ียม กัลยาณมิตรของเราฉบับน ้ี ขอแสดงความยินดีในความสำ� เร็จ ของหนงั สอื เลม่ นด้ี ว้ ยอกี ครงั้ หนงึ่ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั นานาชาติ หรอื ระดบั โลก เพราะ พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า ไดร้ บั เกยี รตเิ อย่ อา้ งไว ้ ในหนงั สอื Encyclopedia ในสว่ นทว่ี า่ ดว้ ย “วรรณคดขี องโลกในศตวรรษ ท ่ี 20 (Encyclopedia of World Literature in 20th Century)” โดย ในหนงั สือดังกลา่ วบรรยายวา่ ... “ท่ามกลางความสับสนอลหม่านในจิตใจของผู้คนอันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมท่ีเสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซง่ึ ยากทจ่ี ะประสบ แต่ทางออกเพอ่ื หนคี วาม
สบั สนวนุ่ วายเหลา่ นไี้ ดป้ รากฏแลว้ ใน “พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า” ซงึ่ เปน็ ผลงานของอาจารยว์ ศนิ อนิ ทสระ ผไู้ ดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ นกั ปราชญ์ ทางพทุ ธศาสนาทา่ นหนง่ึ ในผลงานดงั กลา่ ว ทา่ นไดห้ ยบิ ยกเอาแงม่ มุ ตา่ งๆ ของพระพทุ ธศาสนาทส่ี ามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นชวี ติ ปจั จบุ นั มา กล่าวอธิบายไว้ด้วยภาษาที่สละสลวยและง่ายต่อการเข้าใจของคน ทั่วๆ ไป” ไม่ใช่ของง่ายเลยที่ใครคนหน่ึงจะได้รับเกียรติและการยอมรับ เช่นน้ี แต่อาจารย์วศิน อินทสระ ผู้ใช้เวลากว่าคร่ึงหน่ึงของชีวิตท่าน อุทิศตนสร้างผลงานเพ่ือพระพุทธศาสนาด้วยการเขียนธรรมนิยาย ไดร้ บั เกยี รตแิ ละการยอมรบั อนั นแี้ ลว้ จงึ เปน็ การสมควรอยา่ งยงิ่ ทพ่ี วกเรา จะแสดงความยนิ ดกี บั ทา่ นอยา่ งจรงิ ใจ ในโอกาสอนั เหมาะสมเชน่ น.ี้ .. (จากวารสาร กลั ยาณมิตร ฉบับเดือนตลุ าคม ๒๕๓๓)
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ คํ า นํ า ใ น ก า ร พิ ม พ์ ค รั้ ง แ ร ก หนงั สอื ทขี่ า้ พเจา้ เคยเขยี นมา ทกุ เรอื่ ง ทกุ เลม่ ขา้ พเจา้ เขยี น ด้วยความพยายาม และความประณีตพอๆ กัน แต่ข้าพเจ้าไม่เคย 14 หนกั ใจในการเขยี นเรอ่ื งใดเหมอื นเรอื่ ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า นเี้ ลย ท้ังนีเ้ พราะเหตุ ๓ ประการ คอื เรอ่ื งอน่ื ๆ ขา้ พเจา้ สรา้ งตวั ละครขนึ้ เองเปน็ การสะดวก ในการ ท่ีจะเบนเรื่องให้ไปตามเจตนาของข้าพเจ้า เพียงแต่แทรกหลักธรรม และทรรศนะชวี ติ ลงไปในทที่ เี่ หน็ วา่ สมควรเทา่ นน้ั กพ็ อแลว้ สว่ นเรอื่ ง พระอานนท์ พุทธอนุชา เป็นชีวประวัติของพระมหาเถระท่ีมีองค์จริง และเป็นพระท่ีส�ำคัญที่สุดท่านหน่ึงในพระพุทธศาสนา เรื่องของท่าน ผู้ศึกษาทางศาสนาส่วนใหญ่ก็ทราบกันอยู่ ข้าพเจ้าต้องระวังมาก ในการเขียนเร่ืองนี้ เรื่องของพระอานนท์กระจัดกระจายกันอยู่มาก ข้าพเจ้าต้อง ใช้เวลาค้นคว้าจากต�ำราทางศาสนามากหลาย ท้ังพระไตรปิฎกและ อรรถกถา นอกจากเรอื่ งของทา่ นแลว้ ยงั มเี รอ่ื งของบคุ คลผเู้ กยี่ วขอ้ ง อกี มใิ ชน่ ้อย ซ่งึ ได้กล่าวถงึ ในหนงั สอื เรือ่ งน้ี
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า พระอานนทเ์ ปน็ พระอรยิ บคุ คล คอื กอ่ นพระพทุ ธเจา้ นพิ พาน ทา่ นเปน็ พระอรยิ บคุ คลเพยี งชน้ั โสดาบนั เมอื่ พระพทุ ธเจา้ นพิ พานแลว้ ทา่ นเปน็ พระอรหนั ต ์ เมอื่ เปน็ ดงั น ี้ การทข่ี า้ พเจา้ จะเขยี นเรอื่ งของทา่ น ในรูปธรรมนยิ าย จงึ เปน็ เร่ืองท่ยี ากและหนักใจ อยา่ งไรกต็ าม แมจ้ ะหนกั ใจ ขา้ พเจา้ กไ็ ดร้ บั กำ� ลงั ใจเปน็ เครอ่ื ง ทดแทนอยู่เสมอๆ เนื่องจากขณะที่หนังสือเร่ืองนี้ลงอยู่ในสยามรัฐ สปั ดาหว์ จิ ารณน์ น้ั มที า่ นผอู้ า่ นเขยี นจดหมายไปชมเชยมากรายดว้ ยกนั ทบ่ี รรณาธกิ ารนำ� ลงในคอลมั นจ์ ดหมาย ของสยามรฐั สปั ดาหว์ จิ ารณ ์ กม็ หี ลายฉบบั อยา่ งนอ้ ยจดหมายเหลา่ นแี้ ละคำ� วพิ ากษว์ จิ ารณใ์ นหม่ ู นักอ่าน ซ่ึงล้วนแสดงออกในทางนิยมชมชอบนั้น ได้เป็นก�ำลังใจให ้ ข้าพเจา้ ตง้ั อกตง้ั ใจเขยี นต่อไปอีก 15 เมอื่ เรอื่ งนลี้ งอยใู่ นสยามรฐั นนั้ มบี างทา่ นมาขออนญุ าตบางตอน ไปจดั พมิ พแ์ จกในงานศพ และเมอื่ จบลงแลว้ กำ� ลงั รวบรวมพมิ พเ์ ปน็ เลม่ อยู่ก็มีหลายทา่ นมาขออนญุ าต ขอตอนนั้นตอนนี้ไปจัดพิมพ์เผยแพร่ เปน็ การกศุ ลในวนั มาฆบชู า เปน็ ตน้ อกี หลายราย ขา้ พเจา้ อนญุ าตให ้ ด้วยความยินดี ส�ำหรับผู้ท่ีไปติดต่อท่ีส�ำนักงานสยามรัฐน้ัน ข้าพเจ้า บอกอนญุ าตไวก้ บั คณุ ประมลู อณุ หธปู ใหอ้ นญุ าตเฉพาะบางตอนแทน ขา้ พเจ้าได้ ท่านผู้อ่านจะเห็นว่า ก่อนหนังสือเล่มน้ีจะพิมพ์เป็นเล่มอย่าง สมบูรณ์อย่างท่ีท่านเห็นอยู่นี้ หนังสือเร่ืองนี้ได้แพร่หลายไปมากแล้ว เมื่อมารวมพิมพ์เป็นเล่ม ข้าพเจ้าได้แก้ไขทั้งตัวอักษร ข้อความ และ เหตกุ ารณอ์ กี บา้ งเพอ่ื ความถกู ตอ้ งสมบรู ณ ์ สว่ นทพี่ มิ พไ์ ปกอ่ นๆ นน้ั พิมพ์ตามต้นฉบับที่ลงในสยามรัฐ เพราะฉะนั้น ถ้าท่านผู้อ่านเห็น
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ข้อความไม่ตรงกันกับท่ีเคยอ่านมาในท่ีอื่นหรือในสยามรัฐก็ตาม ขอ ให้ทา่ นถอื เอาฉบบั นเี้ ปน็ ฉบบั ทถี่ กู ตอ้ งสมบรู ณท์ สี่ ดุ เพราะขา้ พเจา้ ได้ ตรวจแกต้ น้ ฉบบั กอ่ นจะสง่ โรงพมิ พแ์ ละตรวจปรฟู๊ ดว้ ยตนเอง ถงึ กระนนั้ กต็ าม เมอ่ื หนงั สอื ลงแทน่ ไปแลว้ ขา้ พเจา้ เปดิ ดกู ย็ งั มสี ะกดการนั ตผ์ ดิ อยอู่ กี กต็ อ้ งปลอ่ ยไป ขา้ พเจา้ มไิ ดบ้ อกแกค้ ำ� ผดิ เอาไวเ้ พราะเหน็ เปน็ ส่วนน้อย อนึ่ง หัวเร่ืองแต่ละบทข้าพเจ้าได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขไปบ้าง แต่ไมม่ ากนัก สำ� หรบั เรอื่ งของบคุ คลทกี่ ลา่ วถงึ ในหนงั สอื เลม่ นอ้ี าจจะมผี ดิ พลาด อยบู่ า้ ง เชน่ เรอื่ งของสภุ ทั ทะ ปจั ฉมิ สาวกอรหนั ต ์ นน้ั เดมิ ทเี ขา้ ใจกนั วา่ เปน็ ลกู ชายของอปุ กาชวี ก ขา้ พเจา้ กเ็ ขยี นไปวา่ “กลา่ วกนั วา่ สภุ ทั ทะ 16 ปจั ฉมิ สาวกอรหนั ต ์ เปน็ ลกู ชายของอปุ กะ” แตเ่ มอื่ กำ� ลงั รวมพมิ พเ์ ปน็ เล่มอยู่ ข้าพเจ้าได้พบว่าน่าจะเปน็ คนละคนกันเสยี แล้ว ทง้ั นจ้ี ากการ เปดิ ดใู น The Dictionary of Pali Proper Names โดย จ.ี พ.ี มาลาลา เซเกรา ไดร้ วบรวมชอื่ สภุ ทั ทะไวห้ ลายทา่ นดว้ ยกนั และสภุ ทั ทะปจั ฉมิ สาวก กบั สภุ ทั ทะบตุ รชายของอปุ กะเปน็ คนละคน สภุ ทั ทะปจั ฉมิ สาวก เปน็ คนเกดิ ในตระกลู พราหมณ ์ ขา้ พเจา้ ขออภยั ทา่ นผอู้ า่ นไว ้ ณ โอกาส นี้ดว้ ย และในการพิมพ์เปน็ เล่มนีข้ ้าพเจ้าได้แก้ไขแลว้ อกี เรอื่ งหนงึ่ คอื ภรรยาของอปุ กาชวี ก ชอ่ื ไมต่ รงกนั ในอรรถกถา ปาสราสิสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก ์ บ่งว่า ชื่อนาวา แต่ใน Pali Proper Names ของมาลาลาเซเกรา บอกวา่ ชอื่ จาปา เรอ่ื งนเี้ ปน็ เกรด็ ไม่ใช่เร่ืองส�ำคัญ จะชื่ออะไรก็ได้ ข้าพเจ้าจึงไม่เอาชื่อทั้งสองน้ัน แต่ ต้งั ชื่อเสียใหมต่ ามความพอใจของขา้ พเจา้ คอื ชอ่ื สชุ าวดี
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เรอ่ื งพระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า เนอ้ื หาของเรอื่ งจรงิ ๆ ไมม่ มี ากนกั ที่หนังสือเป็นเล่มขนาดใหญ่ขนาดน้ี เพราะการเพิ่มเติมเสริมต่อของ ขา้ พเจา้ ในทำ� นองธรรมนยิ ายองิ ชวี ประวตั ิ ขา้ พเจา้ ชแี้ จงขอ้ นส้ี ำ� หรบั ทา่ นทไี่ มค่ นุ้ กบั เรอื่ งทางศาสนานกั อาจจะหลงเขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ เรอื่ งทม่ี ี หลักฐานทางต�ำราทั้งหมด ส�ำหรับท่านท่ีคงแก่เรียนในทางน้ีอยู่แล้ว ยอ่ มทราบดวี า่ ตอนใดเปน็ โครงเดมิ และตอนใด แหง่ ใด ขา้ พเจา้ เพม่ิ เตมิ เสรมิ ตอ่ ขน้ึ นอกจากนยี้ งั มหี ลายตอนทขี่ า้ พเจา้ สรา้ งเรอ่ื งขน้ึ เอง เพยี ง แต่เอาพระอานนท์ไปพัวพันกับเหตุการณ์น้ันๆ เพื่อให้นิยายเร่ืองน ้ี สมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ และเหน็ ว่าไมเ่ ป็นทางเสียหายแต่ประการใด บุคคลท่ีควรได้รับการขอบคุณจากข้าพเจ้ามากท่ีสุด คือ คุณ ประมูล อณุ หธปู นกั ประพันธ์นามอุโฆษผู้หนึ่งในวงวรรณกรรมไทย 17 ซง่ึ ไดช้ กั ชวนเรง่ เรา้ ใหข้ า้ พเจา้ เขยี นเรอื่ งลงในสยามรฐั สปั ดาหว์ จิ ารณ์ เรยี กไดว้ า่ เรอื่ งทท่ี า่ นอา่ นอยนู่ ้ี คณุ ประมลู อณุ หธปู มสี ว่ นชว่ ยเหลอื อยู่เป็นอันมาก อีกท่านหน่ึงที่ข้าพเจ้าอดจะกล่าวนามมิได้ คือ ท่าน เจา้ คณุ พระอมรมนุ ี (สวุ รรณ วรฏฐฺ าย)ี วดั ราชผาตกิ าราม ซงึ่ ขา้ พเจา้ ไดอ้ าศยั คน้ ควา้ ตำ� ราจากสำ� นกั ของทา่ นอยเู่ สมอ เมอื่ หาไมไ่ ดจ้ ากทอี่ ยู่ ของข้าพเจา้ ข้าพเจา้ ขอขอบคณุ และขอบพระคณุ ทา่ นท่ีเอย่ นามถึงนี้ เป็นอยา่ งย่ิง นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอน้อมระลึกถึงพระคุณของบุรพาจารย์ เจา้ ตำ� ราทงั้ หลาย ทไ่ี ดส้ ละกำ� ลงั กาย กำ� ลงั ความคดิ และกำ� ลงั ปญั ญา ท�ำต�ำราและบทประพันธ์ไว้เป็นแนวทางให้ข้าพเจ้าได้อาศัยไต่เต้า ขน้ึ มา ในขน้ั ที่เรยี กวา่ “พอเขยี นหนงั สอื ไดบ้ า้ ง” อยใู่ นเวลาน้ี
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ หนังสือเล่มนี้ส�ำนักพิมพ์บรรณาคารได้ใช้วิริยะอุตสาหะอย่าง แรงกลา้ ในการทจ่ี ะสรา้ งใหด้ ที สี่ ดุ สมบรู ณท์ สี่ ดุ และปรากฏเปน็ รปู เลม่ ออกมาอยา่ งทที่ า่ นเหน็ อยนู่ ้ี ขา้ พเจา้ ขอขอบคณุ สำ� นกั พมิ พบ์ รรณาคาร เป็นอยา่ งย่ิงไว้ ณ โอกาสนดี้ ้วย ขา้ พเจา้ เองมไิ ดท้ รนงวา่ จะเปน็ ผทู้ ำ� อะไรไมผ่ ดิ เพราะฉะนนั้ ถา้ ทา่ นผอู้ า่ นไดพ้ บขอ้ ผดิ พลาดบกพรอ่ งใดๆ ขา้ พเจา้ จะขอขอบคณุ ทา่ น อย่างสูงถ้าท่านจะโปรดบอกให้ข้าพเจ้าทราบ ท้ังนี้เพ่ือความสมบูรณ์ ถูกต้อง ถ้าหากจะมกี ารพิมพใ์ หม่ในคราวต่อไป หนังสือเล่มน้ีมีหลายรส มีท้ังเรื่องทางศาสนา ปรัชญาว่าด้วย ความรัก ปรัชญาชีวิต กฎของสังคม และ ฯลฯ ขอท่านได้โปรดเลือก 18 อา่ นตามอัธยาศยั และความพอใจเถิด พระนคร ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๐๙
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า คํ า นํ า ข อ ง ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม พระอานนท ์ พุทธอนุชา เป็นพระพุทธสาวกในดวงใจของหลาย ท่านมาแสนนาน ด้วยท่านเป็นพุทธุปัฏฐากที่ใกล้ชิดประดุจเงาของ พระพุทธองค์ จดจ�ำธรรมและวินัยต่างๆ สมกับที่ได้รับการสรรเสริญ จากพระพุทธเจ้า ว่าเป็นเอตทัคคะคือเป็นเลิศถึง ๕ ประการ คือ มี สติรอบคอบ มีความทรงจ�ำแม่นย�ำ มีความเพียรดี เป็นพหูสูต และ เป็นยอดของภิกษุผู้อุปฐากพระพุทธเจ้า และการที่ในช่วงก่อนพุทธ- ปรนิ พิ พานนน้ั ทา่ นเปน็ พระอรยิ บคุ คลเพยี งระดบั พระโสดาบนั จงึ มไิ ด ้ 19 หา่ งไกลจากพวกเรามากนักทจี่ ะเดินตามรอยธรรม ด้วยอัจฉริยภาพของท่านอาจารย์วศิน อินทสระ ซ่ึงได้รับการ ยอมรบั วา่ เปน็ ผทู้ สี่ ามารถรอ้ ยมาลยั ธรรมไดอ้ ยา่ งงดงามและยอดเยย่ี ม วรรณกรรมองิ หลกั ธรรมเรอื่ ง พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า จงึ ถอื กำ� เนดิ ขน้ึ ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๐๘ (เมอ่ื ทา่ นอาจารยอ์ ายเุ พยี ง ๓๑ ป)ี โดยแรก เริ่มได้เขียนเป็นตอนๆ ลงในหนังสือสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ซึ่งต่อมา มกี ารตพี มิ พร์ วมเลม่ ซำ�้ อกี นบั ครง้ั ไมถ่ ว้ น แสดงถงึ คณุ คา่ และการยอมรบั ของสาธุชนทุกเพศทุกวัย ถึงกระน้ันท่านอาจารย์วศิน ก็ยังกล่าวแสดง ความถ่อมตนไว้ในค�ำน�ำในการพิมพ์ครั้งแรกของท่านว่า ....“ข้าพเจ้า ขอน้อมระลึกถึงพระคุณของบุรพาจารย์เจ้าต�ำราท้ังหลาย ท่ีได้สละ ก�ำลังกาย ก�ำลังความคิด และก�ำลังปัญญา ท�ำต�ำราและบทประพันธ์ ไว้เป็นแนวทางให้ข้าพเจ้าได้อาศัยไต่เต้าข้ึนมา ในข้ันท่ีเรียกว่า ‘พอ เขยี นหนังสือไดบ้ ้าง’ อยู่ในเวลานี้”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ นักเขียนอาวุโสประจ�ำหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวันท่านหนึ่ง นามปากกา “ประสก” ไดพ้ ดู ผา่ นทางคณุ ปรชี า ทพิ ยเนตร (ผใู้ ชน้ าม- ปากกา “ไว ตาทิพย์”) ว่า “พระอานนท์ พุทธอนุชา เปรียบเหมือน แก่นจันทน์ ดมตรงไหนก็หอมตรงนั้น” นอกจากน้ีพระเดชพระคุณ ทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมวราลงั การ (กลอ่ ม อนภุ าโส) พระอปุ ชั ฌายข์ อง ท่านอาจารย์เองได้เคยกล่าวกับพระภิกษุท่านหนึ่ง (ซึ่งมาเล่าให้ท่าน อาจารย์วศินฟังภายหลัง) ว่า... “อ่านเรื่องพระอานนท์ของวศินแล้ว ปลม้ื ใจจนนำ้� ตาไหล ทศี่ ษิ ยข์ องเราเขยี นหนงั สอื ไดด้ ถี งึ ขนาดน”้ี คณุ คา่ ทั้งด้านหลักธรรมและวรรณกรรมของ พระอานนท์ พุทธอนุชา มีผู ้ กล่าวขวัญสรรเสริญกันอยู่มาก ซ่ึงผู้อ่านทุกท่านคงได้ประจักษ์แก่ใจ ตนเอง หากผใู้ ดอา่ นเรอื่ งนแ้ี ลว้ ไมไ่ ดส้ าระคณุ คา่ แกช่ วี ติ หรอื ไมส่ ะกดิ ใจ 20 สะเทือนใจบ้างเลย กค็ งจะเป็นคนแปลกและอาภพั อย่ไู ม่นอ้ ย เร่ืองของพระอานนท์เล่มนี้ ท่านว่าเขียนยากย่ิงนัก เพราะตาม พุทธประวัติมีกล่าวไว้กระจัดกระจายหลายแห่ง ทั้งเรื่องนี้ยังเก่ียวกับ เหล่าพระสาวกองค์ส�ำคัญ และท่านที่มีบทบาทส�ำคัญในพุทธศาสนา หลายท่าน ซึ่งต้องอาศัยการค้นคว้าตรวจสอบความถูกต้องมากมาย ยิ่งกว่าน้ันยังเป็นวรรณกรรมอิงหลักธรรมทางพุทธศาสนาท่ีเขียนให้ เขา้ ใจงา่ ยและนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดใ้ นชวี ติ จรงิ ดงั นน้ั หากมใิ ชผ่ รู้ แู้ ตกฉาน ในหลักธรรมและไม่มีจิตวิญญาณของ “ครู” ผู้ชาญฉลาดในวิธีสอน หรือบอกเล่าอย่างแยบคายชวนอ่าน ก็คงไม่สามารถจะนิพนธ์เรื่องราว อนั ทรงคณุ คา่ เชน่ นไี้ ด ้ ยง่ิ กวา่ นน้ั ทา่ นอาจารยย์ งั มอี จั ฉรยิ ภาพในการผกู เรอ่ื งขยายความใหช้ วนตดิ ตาม มกี ศุ โลบายสอดแทรกโปรยปรายธรรม- มธุรสอันถูกตรงไว้ท่ัวรายทาง ชุ่มฉำ่� เย็นใจด้วยอรรถรสของพระธรรม อนั ประณตี บรสิ ทุ ธ ิ์ งดงามรนื่ รมยใ์ นวรรณศลิ ป ์ พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า จงึ เปน็ ดวงประทปี แหง่ อมตธรรมสอ่ งดวงใจสาธชุ น ทรงคณุ คา่ ตลอดมา
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า จนถึง ๕ ทศวรรษ เกียรติยศอันย่ิงใหญ่ท่ียอมรับในระดับสากล คือ วรรณกรรม เล่มนไ้ี ดร้ ับเกียรตเิ อย่ อ้างไวใ้ นหนงั สอื Encyclopedia ในสว่ นท่ีว่าดว้ ย “วรรณคดขี องโลกในศตวรรษท ี่ 20 (Encyclopedia of World Litera- ture in 20th Century)” ในนามของชาวไทยและชาวพทุ ธ คงยากทจี่ ะ กล่าวชื่นชมได้ครบถ้วนลึกซึ้งถึงคุณค่าของ พระอานนท์ พุทธอนุชา และเกยี รตคิ ณุ ของทา่ นอาจารยว์ ศนิ อนิ ทสระ ปยิ าจารยผ์ เู้ ปน็ ตน้ แบบ และแรงบนั ดาลใจในงานเผยแผธ่ รรม อกี ทง้ั พระคณุ ทท่ี า่ นไดม้ อบมรดก ธรรมนไ้ี วเ้ ปน็ มรดกแกโ่ ลกและพทุ ธศาสนา ขา้ พเจา้ เคยกราบเรยี นถาม ทา่ นอาจารยว์ า่ ทา่ นประพนั ธส์ ง่ิ ทงี่ ดงามเหลา่ นไี้ ดอ้ ยา่ งไร ทา่ นตอบวา่ “ตอ้ งแตง่ ใจให้งามก่อน” บญุ กศุ ลอนั เกดิ จากการจดั พมิ พ ์ พระอานนท ์ พทุ ธอนชุ า ฉบบั 21 ธรรมทาน ชมรมกลั ยาณธรรมขอนอ้ มถวายเปน็ พทุ ธบชู าและนอ้ มบชู า อาจรยิ คณุ แดท่ า่ นอาจารยว์ ศนิ อนิ ทสระ ขอขอบคณุ ศลิ ปนิ ผมู้ ใี จกรณุ า ทสี่ ละเวลาจดั เตรยี มภาพเขยี นวจิ ติ รประกอบเรอื่ งอยา่ งงดงาม ขอขอบคณุ เพ่ือนๆ ที่ช่วยพิสูจน์อักษร จัดรูปเล่ม ขอขอบคุณส�ำนักพิมพ์สุภา ในการจดั พิมพอ์ ย่างมคี ุณภาพ หนังสือเล่มงามนีค้ งพอเปน็ สื่อแสดงถงึ ความตระหนักในความส�ำคัญของการสืบทอดพระธรรมและการบูชา คณุ พระรตั นตรัย ขอน้อมถวายวรรณกรรมอนั วิจติ รไวเ้ ป็นมรดกธรรม ขอแสงธรรมฉายสอ่ งจติ ใจสาธชุ นใหไ้ ดพ้ บความสวา่ ง สงบเยน็ ขอปวง สรรพสัตว์ได้พบทางพน้ ทุกข์ทั่วกนั ทกุ ท่าน เทอญ ขอนอบน้อมบชู าคุณพระรัตนตรัยดว้ ยเศยี รเกล้า ทพญ.อจั ฉรา กลิ่นสุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ส า ร บั ญ ๑ ในที่ประชุมสงฆ์ ณ เชตวันมหาวหิ าร ๒๗ ๒ ณ สณั ฐาคารแห่งนครกบลิ พัสดุ์ ๓๕ ๓ พทุ ธปุ ฏั ฐากผเู้ ปน็ บณั ฑติ ๔๒ ๔ มหามิตร ๕๐ ๕ กบั พระนางมหาปชาบดี ๕๙ ๖ ความรกั -ความร้าย ๗๐ 22 ๗ กบั โกกลิ าภิกษณุ ี ๘๔ ๘ โกกลิ าผู้ประหารกเิ ลส ๙๘ ๙ พนั ธุละกบั พระราชา ๑๑๑ ๑๐ ณ ป่าประดู่ลาย ๑๒๗ ๑๑ บนกองกระดูกแห่งตัณหานุสัย ๑๔๒ ๑๒ สุทัตตะผสู้ ร้างอารามเชตวนั ๑๕๕ ๑๓ เบญจกัลยาณีนามวสิ าขา ๑๖๐ ๑๔ มหาอบุ าสิกานามวสิ าขา ๑๗๐ ๑๕ พทุ ธานุภาพ ๑๘๒ ๑๖ นางบุญและนางบาป ๑๙๓ ๑๗ นางบาปและนางบญุ ๒๐๘
๑๘ ปฏกิ ิรยิ าแหง่ ธมั โมชปญั ญา ๒๑๙ ๑๙ นำ�้ ใจและจริยา ๒๓๐ ๒๐ ปพุ พปู การของพระพทุ ธอนุชา ๒๔๓ ๒๑ ความอศั จรรย์แหง่ ธรรมวนิ ยั ๒๕๖ ๒๒ ปัจฉิมทศั นา ณ เวสาลี ๒๖๘ ๒๓ คราเมื่อทรงปลงพระชนมายุสงั ขาร ๒๗๘ ๒๔ พระอานนทร์ อ้ งไห้ ๒๙๐ 23 ๒๕ ปัจฉิมสาวกอรหันตแ์ ละพวงดอกไม้มาร ๓๐๓ ๒๖ อปุ กาชีวกกับพวงดอกไมม้ าร ๓๑๕ ๒๗ อุปกาชวี กกับพระอนนั ตชนิ ๓๒๘ ๒๘ เมือ่ สาลวโนทยานขาวดว้ ยมหาวปิ โยค ๓๔๔ ๒๙ หนงึ่ วนั กอ่ นวันประชมุ สังคายนา ๓๕๗ ๓๐ พรหมทณั ฑ์ และ ณ ชาตสระบนเสน้ ทางจารกิ ๓๗๓ ๓๑ จตรุ งคพลและวิมลมาน ๓๘๖ ๓๒ หญงิ งามกบั พระบิดา ๓๙๙ ๓๓ ไม่มคี วามสุขใดเสมอด้วยความสงบ ๔๑๐ ประวัติ อ. วศนิ อนิ ทสระ ๔๒๘
ภิกษุท้ังหลาย อานนท์เป็นบัณฑิต เป็นผู ้ รอบรแู้ ละอปุ ฏั ฐากเราอยา่ งยอดเยย่ี ม พระอรหนั ต- สัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งในอดีตและอนาคต ซ่ึงมี 24 ภิกษุผู้อุปัฏฐากน้ันๆ ก็ไม่ดีเกินไปกว่าอานนท์ อานนท์เป็นผู้ด�ำเนินกิจด้วยปัญญา รู้กาลท่ีควร ไม่ควร รู้กาลที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ท่ีมาเฝ้าเรา กาลนี้ส�ำหรับกษัตริย์ กาลนี้ส�ำหรับราชามหา อ�ำมาตย์ กาลนี้ส�ำหรับคนทั่วไป ควรได้รับการ ยกย่องนานาประการ มีคุณธรรมน่าอัศจรรย ์
ผทู้ ย่ี งั ไมเ่ คยเหน็ ไมเ่ คยสนทนา กอ็ ยากเหน็ อยาก สนทนาด้วย อยากฟังธรรมของอานนท์ เมื่อฟัง 25 ก็มีจิตใจเพลิดเพลินยินดีในธรรมที่อานนท์แสดง ไมอ่ ม่ิ ไมเ่ บอ่ื ดว้ ยธรรมวารรี ส ภกิ ษทุ ง้ั หลาย อานนท์ เปน็ บคุ คลที่หาไดย้ ากผ้หู น่งึ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 26
๑ ใ น ท่ี ป ร ะ ชุ ม ส ง ฆ์ ณ เ ช ต วั น ม ห า วิ ห า ร 27 สมณะทง้ั สองเดนิ ดมุ่ ผา่ นทงุ่ กวา้ งเขา้ สเู่ ขตปา่ โปรง่ มที างพอเดนิ ไดส้ ะดวก สมณะซงึ่ เดนิ นำ� หนา้ มอี นิ ทรยี ผ์ อ่ งใส มสี ายตาทอดลงตำ�่ ผวิ ขาวละเอยี ดออ่ น ลกั ษณะแสดงวา่ มาจากวรรณะสงู อากปั กริ ยิ า และท่าทีเยื้องย่างน่าทัศนา น�ำมาซึ่งความเล่ือมใส ปีติปราโมชแก ่ ผู้พบเหน็ ยงิ่ นัก ผา้ สีเหลอื งหม่นทค่ี ลุมกาย แม้จะท�ำข้ึนอย่างงา่ ยๆ ไมม่ ีรูปทรงอะไร แต่กม็ องดูสะอาดเรยี บร้อยดี สว่ นสมณะผเู้ ดนิ อยเู่ บอื้ งหลงั แมจ้ ะมสี ว่ นสงู ไมเ่ ทา่ องคห์ นา้ แต่ก็มีรูปร่างอยู่ในขนาดเดียวกัน ท่านเดินได้ระยะพองาม ไม่ห่าง นกั และไมช่ ิดจนเกินไป
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ทง้ั สองเดนิ มาถงึ ทางสองแพรง่ เมอ่ื สมณะผเู้ ดนิ หนา้ มอี าการ ว่าจะเลีย้ วไปทางขวา สมณะผูเ้ ดนิ หลังก็กล่าวขน้ึ ว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าพระองค์ต้องการจะไปทางซ้าย พระเจ้าข้า” “อย่าเลยนาคสมาละ ตถาคตต้องการไปทางขวา เรามีเรื่อง สำ� คัญทีจ่ ะตอ้ งไปโปรดสัตวท์ างน้ี” “ขา้ พระองคต์ อ้ งการไปทางซา้ ย พระเจา้ ขา้ ” พระนาคสมาละ ยนื ยนั “อย่าเลยนาคสมาละ มากับตถาคตทางขวาน่ีเถิด” พระผู้มี พระภาคขอร้อง 28 พระพุทธองค์ทรงห้ามถึง ๓ ครั้ง แต่พระนาคสมาละก็หา ยอมไม ่ ในทส่ี ดุ ทา่ นกว็ างบาตรของพระผมู้ พี ระภาคไวใ้ นทาง ๒ แพรง่ แล้วเดินหลีกไปทางซ้ายตามความปรารถนาของท่าน พระจอมมุน ี ศากยบุตรตอ้ งนำ� บาตรของพระองค์ไปเองและเสด็จไปโดดเด่ียว อีกคร้ังหน่ึง พระเมฆิยะเป็นพระอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาค พระองค์เสด็จไปยังชันตุคาม เขตปาจีนวังสะ มีพระเมฆิยะตาม เสดจ็ เวลาเชา้ พระเมฆยิ ะไปบณิ ฑบาตในชนั ตคุ าม กลบั จากบณิ ฑ- บาตแลว้ ทา่ นเดนิ ผา่ นสวนมะมว่ งอนั นา่ รนื่ รมยแ์ หง่ หนง่ึ ปรารถนา จะไปบ�ำเพ็ญสมณธรรมท่ีน่ัน จึงกราบทูลขออนุญาตพระพุทธองค ์ พระพุทธองค์ทรงหา้ มถึง ๓ ครงั้ ว่า “อย่าเพิ่งไปเลยเมฆิยะ เวลาน้เี ราอยู่คนเดียว ขอใหภ้ กิ ษุอื่น มาแทนเสียกอ่ น แลว้ เธอจงึ ค่อยไป”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ความจรงิ พระพทุ ธองคท์ รงเหน็ อปุ นสิ ยั ของพระเมฆยิ ะวา่ ยงั ไม่สมควรที่จะไป จึงไม่ทรงอนุญาต หาใช่เพราะทรงคำ� นึงถึงความ ลำ� บากไมแ่ ละไมใ่ ชพ่ ระองคจ์ ะไมท่ รงเหน็ ความจำ� เปน็ ในการบำ� เพญ็ สมณธรรม เกี่ยวกับเร่ืองสมณธรรมน้ัน พระพุทธองค์ทรงส่งเสริม ใหภ้ กิ ษุกระท�ำอยู่เสมอ พระเมฆิยะไม่ยอมฟังค�ำท้วงติงของพระพุทธองค์ ละทิ้ง พระองคไ์ วแ้ ลว้ ไปสสู่ วนมะมว่ งอนั รม่ รนื่ บ�ำเพญ็ สมณธรรมทำ� จติ ให้ สงบ แต่ก็หาสงบไม่ ถูกวิตกทั้งสามรบกวนจนไม่อาจให้จิตสงบได้ เลย วิตกท้ังสามนั้นคือ กามวิตก-ความตรึกเร่ืองกาม พยาบาท วิตก-ความตรึกในทางปองร้าย และวิหิงสาวิตก-ความตรึกในทาง เบียดเบียน ในที่สุดจึงกลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาค พระพุทธองค์ 29 ทรงเตือนวา่ “เมฆิยะ จิตน้ีเป็นส่ิงที่ด้ินรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามได้ ยาก ผู้มีปัญญาจึงพยายามท�ำจิตนี้ให้หายด้ินรนและท�ำจิตให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรงฉะน้ัน เมฆิยะเอย จิตน้ีคอยแต่จะ กลง้ิ เกลอื กลงไปคลกุ เคลา้ กบั กามคณุ เหมอื นปลาซงึ่ เกดิ ในนำ�้ ถกู นายพรานเบ็ดยกขึ้นจากนำ้� แล้ว คอยแต่จะด้ินลงไปในนำ้� อยู่เสมอ ผมู้ ีปญั ญาจึงพยายามยกจิตข้ึนจากอาลยั ในกามคณุ ให้ละบว่ งมาร เสีย” ภายใน ๒๐ ปแี รก จ�ำเดิมแตก่ ารตรัสรขู้ องพระผมู้ พี ระภาค คือระหว่างพระชนมายุ ๓๕ ถึง ๕๕ พรรษา พระพุทธองค์ไม่มี พระสาวกผู้อยู่อุปัฏฐากประจ�ำ บางคราวก็เป็นพระอุปวาณะ บางคราวพระนาคติ ะ บางคราวพระราธะ บางคราวพระนาคสมาละ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ และบางคราวพระเมฆยิ ะทก่ี ลา่ วแลว้ บางคราวกเ็ ปน็ สามเณรจนุ ทะ นอ้ งชายพระสารีบตุ ร พระผู้มีพระภาคเจ้าได้รับความล�ำบากด้วยการท่ีภิกษุผู้ อุปัฏฐากไม่รู้พระทัยของพระองค์ ต้องเปล่ียนอยู่บ่อยๆ ถ้าจะมีผู้ สงสยั วา่ เหตไุ ฉนพระพทุ ธเจา้ จงึ ตอ้ งมพี ระอปุ ฏั ฐากประจำ� ดว้ ย ดๆู จะมเิ ปน็ การยงั ถอื ยศศกั ดถิ์ อื ฐานะอยหู่ รอื เรอ่ื งนถี้ า้ พจิ ารณาดว้ ยดี จะเห็นความจ�ำเป็นท่ีพระองค์จะต้องมีพระอุปัฏฐากประจ�ำ หรือผู้ รับใช้ใกล้ชิด เพราะพระองค์ต้องท�ำหน้าท่ีของพระพุทธเจ้า ต้องมี การประชุมสงฆ์เป็นคราวๆ และต้องต้อนรับคฤหัสถ์บรรพชิตมาก หลายท่ีมาเฝ้า เพื่อถวายปัจจัยบ้าง เพื่อทูลถามปัญหาข้อข้องใจ 30 บ้าง ในบรรดาผู้มาเฝ้าเหล่านั้น ท่ีเป็นมาตุคามก็มีมาก จะเห็นว่า พระองค์ไม่ควรประทับอยู่แต่ลำ� พัง แต่ก็มีนานๆ ครั้งที่พระศาสดา ทรงปลีกพระองค์ไม่ทรงต้อนรับผู้ใด ทรงหลีกเร้นเพ่ืออยู่แสวงหา ความสขุ ในปจั จบุ ัน ท่ีเรยี กวา่ “ทิฏฐธรรมสุขวหิ าร” ดว้ ยประการดงั กลา่ วมาน ี้ จงึ คราวหนงึ่ เมอ่ื พระองคป์ ระทบั อยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ใกล้กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล พระเถระช้ันผู้ใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก มีพระสารีบุตร พระมหา- โมคคัลลานะ เป็นต้น มาประชุมกันพร้อม พระผู้มีพระภาคทรง ปรารภในท่ามกลางสงฆ์ว่า บัดนี้พระองค์ทรงพระชราแล้ว ภิกษุผู้ อุปัฏฐากพระองค์ บางรูปก็ทอดทิ้งพระองค์ไปเสียเฉยๆ บางรูป วางบาตรและจีวรของพระองค์ไว้บนพื้นดินแล้วเดินจากไป จึง ขอให้สงฆ์เลือกภิกษุรูปใดรูปหนึ่งข้ึนรับต�ำแหน่งอุปัฏฐากพระองค์ เปน็ ประจำ�
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ภิกษุทั้งหลายได้ฟังพระด�ำรัสน้ีแล้ว มีความสังเวชสลดจิต อย่างยง่ิ พระสารบี ุตรกราบทูลขึน้ ก่อนวา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ ปน็ ดวงตาของโลก ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขออาสา รับเป็นอุปัฏฐากปฏิบัติพระองค์เป็นประจ�ำ ขอพระผู้มีพระภาค อาศยั ความอนุเคราะห์รับข้าพระองคเ์ ปน็ อุปัฏฐากเถิด” พระผู้มีพระภาคตรัสตอบขอบใจพระสารีบุตรแล้วตรัสว่า “สารบี ตุ รอยา่ เลย เธออยา่ ท�ำหนา้ ทอี่ ปุ ฏั ฐากเราเลย เธออย ู่ ณ ทใ่ี ด ท่นี ั้นก็มีประโยชนม์ าก โอวาทค�ำสง่ั สอนของเธอเป็นเหมอื นโอวาท ของพระพุทธเจ้า เธอสามารถหมุนธรรมจักรให้เป็นประโยชน์สุข แกป่ วงชนเชน่ ดว้ ยเรา ผใู้ ดเขา้ ใกลเ้ ธอเหมอื นไดเ้ ขา้ ใกลเ้ รา ผทู้ ส่ี นทนา กับเธอเหมอื นได้สนทนากบั เรา” ต่อจากน้ันพระมหาเถระรูปอื่นๆ ต่างก็แสดงความจ�ำนงจะ 31 เป็นอุปัฏฐากปฏิบัติพระพุทธองค์เป็นประจ�ำ แต่พระองค์ทรงห้าม เสยี ทงั้ สนิ้ เหลอื แตพ่ ระอานนทเ์ ทา่ นน้ั ทยี่ งั คงนง่ั เฉยอย ู่ พระสารบี ตุ ร จึงกล่าวเตอื นพระอานนท์ข้นึ ว่า “อานนท์ เธอไม่เสนอเพ่ือรับเป็นอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาค หรอื ท�ำไมจึงนั่งเฉยอยู”่ “ขา้ แตท่ า่ นธรรมเสนาบด”ี พระอานนทต์ อบ “อนั ต�ำแหนง่ ท่ี ขอไดม้ านน้ั จะประเสรฐิ อะไร อกี ประการหนง่ึ เลา่ พระผมู้ พี ระภาค กท็ รงทราบอธั ยาศยั ของขา้ พเจา้ อย ู่ ถา้ พระองคท์ รงประสงค ์ กค็ งจะ ตรสั ใหข้ า้ พเจา้ เปน็ อปุ ฏั ฐากของพระองคเ์ อง ความรสู้ กึ ของขา้ พเจา้ ทีม่ ีตอ่ พระผมู้ พี ระภาคเป็นอยา่ งไร พระองค์กท็ รงทราบอยู่แลว้ ”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ที่ประชุมเงียบไปครู่หน่ึง ไม่มีผู้ใดไหวกายหรือวาจาเลย เงยี บสงบเหมอื นไมม่ พี ระภกิ ษอุ าศยั อย ู่ ณ ทน่ี น้ั เลย ภกิ ษทุ กุ รปู นงั่ สงบ ไมม่ แี มแ้ ตเ่ สยี งไอหรอื จามหรอื อาการกระดกุ กระดกิ พระผมู้ ี พระภาคตรัสขึน้ ทา่ มกลางความเงยี บนัน้ ว่า “ภิกษุท้ังหลาย อานนท์มีความประสงค์ท่ีจะอุปัฏฐากเราอยู่ แลว้ เปน็ เพยี งขอใหส้ งฆร์ บั ทราบเทา่ นน้ั เพราะฉะนน้ั ตงั้ แตบ่ ดั นี้ เป็นต้นไปอานนทจ์ กั อปุ ฏั ฐากเรา” เป็นความรอบคอบสุขุมของพระผู้มีพระภาคท่ีตรัสเช่นน้ัน ความจริงหากพระองค์จะไม่ตรัสในที่ประชุมสงฆ์ แต่ตรัสเฉพาะ พระอานนทเ์ อง พระอานนทก์ พ็ อใจทจี่ ะอปุ ฏั ฐากอยใู่ กลช้ ดิ พระองค์ 32 ตลอดเวลา แต่เพ่ือจะยกย่องพระอานนท์ และให้สงฆ์รับทราบใน อัธยาศัยของพระอานนท์ พระองค์จึงปรารภเรื่องน้ีท่ามกลางสงฆ์ ความเปน็ จรงิ พระอานนทไ์ ดส้ ง่ั สมบารมมี าเปน็ เวลาหลายรอ้ ยชาติ เพือ่ ตำ� แหน่งอนั มีเกยี รตนิ ี้ พระอานนท์เป็นผู้รอบคอบ มองเห็นกาลไกล เม่ือพระผู้มี พระภาคและสงฆม์ อบตำ� แหนง่ นใ้ี หแ้ ลว้ จงึ ทลู ขอเงอื่ นไขบางประการ ดงั น้ี “ขา้ แตพ่ ระผเู้ ปน็ นาถะของโลก! เมอื่ ขา้ พระองคร์ บั เปน็ พทุ ธ-ุ ปัฏฐากแลว้ ขา้ พระองค์ทลู ขอพระกรุณาบางประการ คือ ๑. ขอพระองคอ์ ยา่ ไดป้ ระทานจวี รอนั ประณตี ทมี่ ผี นู้ ำ� มาถวาย แกข่ ้าพระองค์เลย ๒. ขอพระองคอ์ ยา่ ไดป้ ระทานบณิ ฑบาตอนั ประณตี ทพ่ี ระองค์ ไดแ้ ล้วแกข่ ้าพระองค์
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ๓. ขอพระองค์อย่าได้ให้ข้าพระองค์อยู่ในท่ีท่ีเดียวกันกับท่ี พระองคป์ ระทับ ๔. ขออยา่ ไดพ้ าขา้ พระองคไ์ ปในทน่ี มิ นต ์ ซง่ึ พระองคร์ บั ไว”้ “ดูก่อนอานนท์ เธอเห็นประโยชน์อย่างไรจึงขอเงื่อนไข ๔ ประการน”ี้ “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าพระองค์ทูลขอพร ๔ ประการน้ี เพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หค้ นทงั้ หลายตำ� หนไิ ดว้ า่ ขา้ พระองคร์ บั ตำ� แหนง่ พทุ ธ-ุ ปัฏฐากเพราะเหน็ แกล่ าภสักการะ” พระอานนทย์ งั ไดท้ ลู ขน้ึ อกี ในบดั นนั้ วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ ปน็ บุรุษสูงสุด ขอ้ อื่นยงั มอี ีก คือ ๕. ขอพระองคโ์ ปรดกรณุ าเสดจ็ ไปสทู่ น่ี มิ นต ์ ซงึ่ ขา้ พระองคร์ บั 33 ไวเ้ ม่ือพระองค์ไมอ่ ยู่ ๖. ขอใหข้ า้ พระองคไ์ ดพ้ าพทุ ธบรษิ ทั เขา้ เฝา้ พระองคใ์ นขณะท่ี เขามาเพ่ือจะเฝา้ ๗. ถา้ ขา้ พระองคม์ คี วามสงสยั เรอ่ื งใด เมอื่ ใด ขอใหไ้ ดเ้ ฝา้ ทลู ถามไดท้ กุ โอกาส ๘. ถ้าพระองค์แสดงพระธรรมเทศนาในที่ใด แก่ผู้ใด ซ่ึงข้า พระองค์มิได้อยู่ด้วย ขอได้โปรดเล่าพระธรรมเทศนาน้ันแก่ข้า พระองค์อกี คร้ังหนง่ึ ” “อานนท์ เธอเหน็ ประโยชน์อยา่ งไร จงึ ขอพรขอ้ น้”ี “ขา้ แตพ่ ระจอมมนุ ี ขา้ พระองคท์ ลู ขอพรขอ้ นเ้ี พอ่ื ปอ้ งกนั มใิ ห ้ คนทั้งหลายต�ำหนิได้ว่า ดูเถิดพระอานนท์เฝ้าติดตามพระศาสดา อยเู่ หมอื นเงาตามตวั แตเ่ มอ่ื ถามถงึ พระสตู ร หรอื ชาดก หรอื คาถา
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ว่าสูตรนี้ ชาดกนี้ คาถาน้ี พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ใครท่ีไหน ก็หารู้ไม่ เรื่องเพียงเท่าน้ียังไม่รู ้ จะมัวติดตามพระศาสดาอยู่ทำ� ไม เหมอื นกบอยูใ่ นสระบัว แต่หาร้ถู ึงเกสรบวั ไม”่ พระพทุ ธองคป์ ระทานพรทงั้ ๘ ประการแกพ่ ระอานนท ์ พทุ ธ- อนุชา ตามปรารถนา และพระอานนท์ก็รับต�ำแหน่งพุทธุปัฏฐาก ตง้ั แตบ่ ดั นน้ั มา พระผมู้ พี ระภาคมพี ระชนมายไุ ด ้ ๕๕ พรรษา เปน็ ปีที่ ๒๐ จ�ำเดิมแต่ตรัสรู้ ส่วนพระอานนท์มีอายุได้ ๕๕ ปีเช่นกัน แต่มีพรรษาได ้ ๑๙ จำ� เดมิ แตอ่ ปุ สมบท 34
๒ ณ สั ณ ฐ า ค า ร แ ห่ ง น ค ร ก บิ ล พั ส ด์ุ 35 นับถอยหลังจากเวลาที่พระอานนท์รับเป็นพุทธุปัฏฐากไป เป็น เวลา ๕๕ ปี ในพระราชวังอันโอ่อ่าของกษัตริย์ศากยราช มีการ ประดบั ประดาประทปี โคมไฟเปน็ ระยา้ สวา่ งไสวไปทว่ั เขตพระราชวงั พระเจ้าสุกโกทนะอนุชาแห่งสมเด็จพระเจ้ากรุงกบิลพัสดุ์ มีพระ พักตร์แจ่มใสตลอดเวลา ทรงทักคนน้ันคนนี้ด้วยความเบิกบาน พระทัย พระประยูรญาติและเสนาข้าราชบริพาร มีความปรีดา ปราโมชอย่างยิ่งที่มีพระราชกุมารพระองค์หน่ึงอุบัติข้ึนในโลก เขา พรอ้ มใจกนั ถวายพระนามราชกมุ ารวา่ “อานนั ทะ” เพราะนมิ ติ ทน่ี ำ� ความปรดี าปราโมชและบนั เทงิ สขุ มาให้ เจา้ ชายอานนั ทะอบุ ตั ขิ น้ึ วนั เดียวกับพระราชกุมารสิทธัตถะก้าวลงสู่โลกนั่นแล พระราชกุมาร ทง้ั สองจงึ เปน็ สหชาตกิ นั มาสโู่ ลกพรอ้ มกนั โดยมไิ ดน้ ดั หมาย นบั วา่ เปน็ คบู่ ารมีกันโดยแท้
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ เจ้าชายอานันทะ ได้รับการเลี้ยงดูอย่างดีท่ีสุดเท่าที่พระราช กมุ ารในราชสกลุ จะพงึ ไดร้ บั พระองคเ์ ตบิ โตขน้ึ ภายในความชน่ื ชม โสมนสั แหง่ พระราชบดิ าและพระประยรู ญาต ิ เจา้ ชายเปน็ ผถู้ อ่ มตน สุภาพอ่อนโยนและว่าง่ายมาแต่เล็กแต่น้อย พระฉวีผุดผ่อง พระ วรกายงามสง่าสมสกุลกษัตริย์ ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีจาก สำ� นกั อาจารยท์ ด่ี ที ส่ี ดุ เทา่ ทหี่ าไดใ้ นแควน้ สกั กะ จนกระทง่ั พระชน- มายุสมควรที่จะมีคู่ครอง แต่ก็หาปรากฏว่าพระองค์ทรงชอบพอ สตรีคนใดเป็นพเิ ศษไม่ ข่าวการเสด็จออกบรรพชาของเจ้าชายสิทธัตถะมกุฎราช กมุ ารแหง่ กบลิ พสั ดน์ุ คร กอ่ ความสะเทอื นพระทยั และพศิ วงงงงวย 36 แกเ่ จา้ ชายอานนั ทะยง่ิ นกั พระองคท์ รงดำ� รอิ ยเู่ สมอวา่ เจา้ พค่ี งมอง เหน็ ทางปลอดโปรง่ อะไรสกั อยา่ งหนงึ่ เปน็ แน่ จงึ สละรชั สมบตั อิ อก บรรพชา จนกระทง่ั ๖ ป ี ภายหลงั จากพระสทิ ธตั ถะกมุ ารออกแสวงหา โมกขธรรมแล้ว มีข่าวแพร่สะพัดจากนครราชคฤห์เข้าสู่นครหลวง แหง่ แควน้ สกั กะวา่ บดั นพี้ ระมหามนุ โี คตมะศากยบตุ รไดส้ ำ� เรจ็ เปน็ พระพทุ ธเจา้ แลว้ เทศนาสงั่ สอนปวงชนชาวมคธอยู่ เจา้ ชายอานนั ทะ ทรงกำ� หนดพระทยั ไวว้ า่ เมอื่ ใดพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มาสนู่ ครกบลิ พสั ด์ ุ พระองคจ์ กั ขอบวชในสำ� นกั ของพระพุทธองค์ วนั หนงึ่ ณ สณั ฐาคารแหง่ กรงุ กบลิ พสั ด์ุ ศากยราชทง้ั หลาย ประชุมกันมีพระราชกุมารหลายพระองค์เข้าประชุมด้วย พระเจ้า สทุ โธทนะ ซงึ่ บดั นเ้ี ปน็ พทุ ธบดิ า เปน็ ประธาน พระองคต์ รสั ปรารภวา่
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “ท่านทั้งหลาย บัดน้ีท่านคงได้ทราบข่าวการอุบัติขึ้นของ พระพุทธเจ้าแล้ว พระองค์มิใช่ใครอ่ืน คือสิทธัตถกุมารแห่งเรา นั่นเอง ทราบว่าก�ำลังประทับอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ ราชธานีแห่ง พระเจ้าพิมพิสาร ข้าพเจ้าขอปรึกษาท่านทั้งหลายว่า เราควรจะส่ง คนของเราไปทูลเสด็จมาเมืองเรา หรือควรจะคอยจนกว่าพระองค์ จะเสดจ็ มาเอง ผใู้ ดมคี วามเหน็ อยา่ งไร ขอใหแ้ สดงความคดิ เหน็ ได”้ มีราชกุมารองค์หนึ่งชูพระหัตถ์ข้ึน เมื่อได้รับอนุญาตให้พูด ไดแ้ ล้ว พระองค์จงึ แสดงความคิดเหน็ ว่า “ข้าแต่ศากยราชท้ังหลาย ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า เราไม่ควร ทูลเชญิ เสด็จ ขา้ พเจ้ามเี หตุผลว่า เมื่อตอนเสดจ็ ออกบวช พระสทิ - ธัตถะก็มิได้ทูลใครแม้แต่สมเด็จพระราชบิดาเอง อีกประการหนึ่ง 37 กบิลพัสดุ์เป็นนครของพระองค์ เรื่องอะไรเราจะต้องเชิญเจ้าของ บา้ นใหเ้ ขา้ บา้ น เมอื่ พระสทิ ธตั ถะโออ้ วดวา่ เปน็ พระพทุ ธเจา้ แลว้ จะ ไมก่ ลบั บา้ นของตวั เองกแ็ ลว้ ไป เมอื่ พระองคไ์ มค่ ดิ ถงึ พระชนกหรอื พระประยรู ญาตทิ ง้ั หลาย เราจะคดิ ถงึ พระองคท์ ำ� ไม ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ ถา้ ตอ้ งถงึ กบั ทลู เชญิ เสดจ็ กเ็ ปน็ เรอื่ งมากเกนิ ไป” ราชกมุ ารตรสั จบ แลว้ ก็นั่งลง ทันใดน้ัน พระราชกุมารอีกองค์หนึ่งลุกขึ้นกล่าวว่า “ข้าแต ่ ท่านผู้ใหญ่ในแผ่นดินและศากยวงศ์ท้ังหลาย ข้อที่เจ้าชายเทวทัต กลา่ วมานนั้ ไมช่ อบดว้ ยเหตผุ ล ขา้ พเจา้ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ แม้จะเป็นยุพราชมีพระชนมายุยังเยาว์ก็จริง แต่พระองค์บัดนี้เป็น นกั พรตและมใิ ชน่ กั พรตธรรมดา ยงั เปน็ ถงึ พระพทุ ธเจา้ อกี ดว้ ย แม ้ แตน่ กั พรตธรรมดา เราผถู้ อื ตวั วา่ เปน็ กษตั รยิ ย์ งั ตอ้ งใหเ้ กยี รตถิ วาย
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ความเคารพ เมอ่ื เปน็ เชน่ นเ้ี หตไุ ฉนเราจะใหเ้ กยี รตแิ กพ่ ระสทิ ธตั ถะ ซ่ึงเป็นพระพุทธเจ้าและพระญาติของเราไม่ได้ ข้าพเจ้าเห็นว่า ตำ� แหนง่ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ นน้ั เปน็ ตำ� แหนง่ ทสี่ งู สง่ มาก พระ มหาจักรพรรดิยังต้องถวายพระเกียรต ิ ท�ำไมคนขนาดเราจะถวาย พระเกียรติไม่ได้ ข้าพเจ้าเห็นว่าควรจะส่งทูตไปเชิญเสด็จพระองค์ เข้าสูก่ บลิ พสั ด”์ุ พระราชกมุ ารน่งั ลง “การที่เจ้าชายอานันทะเสนอมานั้น” เจ้าชายเทวทัตค้าน “โดยอา้ งตำ� แหนง่ พระพทุ ธเจา้ ขนึ้ เปน็ ทต่ี งั้ กค็ วามเปน็ พระพทุ ธเจา้ นน้ั ใครๆ ก็อาจเปน็ ได้ ถา้ กลา้ โกหกชาวโลกว่าตัวเปน็ ผพู้ ูดเอาเอง ใครๆ กพ็ ดู ได้” 38 “เทวทัต” เจ้าศากยะสูงอายุผู้หนึ่งลุกขึ้นพูด “ถ้าเจ้าชาย สทิ ธตั ถะลวงโลกวา่ เปน็ พระพทุ ธเจา้ อยา่ งทเี่ ธอเขา้ ใจ เรากย็ ง่ิ จำ� เปน็ ท่ีจะต้องเชิญเสด็จยิ่งขึ้น เพื่อจะได้รู้ให้แน่นอนว่า พระองค์เป็น พระพุทธเจา้ จรงิ หรอื พระพทุ ธเจ้าปลอม” สณั ฐาคารเงยี บกรบิ ไมม่ ใี ครพดู ขนึ้ อกี เลย พระเจา้ สทุ โธทนะ จงึ ตรสั ข้นึ วา่ “ท่านทั้งหลาย ถ้าเราเถียงกันแบบนี้สักกี่วันก็ไม่อาจตกลง กันได้ ต่างคนต่างก็มีเหตุผลน่าฟังด้วยกันทั้งส้ิน ข้าพเจ้าอยากจะ ใหเ้ รอ่ื งจบลงโดยการฟงั เสยี งขา้ งมาก เพราะฉะนน้ั ขา้ พเจา้ ขอถาม ท่ีประชุมว่า ผู้ใดเห็นว่าสมควรเชิญเสด็จลูกของเรามาสู่เมืองขอให้ ยกพระหตั ถข์ ้ึน” จบพระสุรเสียงของพระเจ้าสุทโธทนะ มีพระหัตถ์ของศากย วงศ์ข้ึนสลอนมากมาย แต่ไม่ได้นับ เพราะเห็นว่ายังเหลืออยู่เป็น
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ส่วนนอ้ ยเหลือเกิน “คราวน้ีท่านผู้ใดเห็นว่าไม่สมควรจะเชิญเสด็จ ขอให้ยก พระหัตถข์ ึ้น” ปรากฏว่ามี ๒ พระหัตถ์เท่าน้ัน คือเจ้าชายเทวทัตและพระ สหายคูพ่ ระทัย เปน็ อนั วา่ เสยี งในทป่ี ระชมุ เรยี กรอ้ งใหท้ ลู เสดจ็ พระผมู้ พี ระภาค เข้าสู่กบิลพัสดุ์ เจ้าชายอานนท์พอพระทัยเหลือเกิน ทูลอาสาไป รบั เสดจ็ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ยตนเอง แตพ่ ระเจา้ สทุ โธทนะทรงหา้ มเสยี เจา้ ชายเทวทตั คง่ั แคน้ พระทยั ยง่ิ นกั ตงั้ แตเ่ ปน็ พระราชกมุ ารนอ้ ยๆ ด้วยกนั มาไมเ่ คยมีชัยชนะเจ้าชายสิทธัตถะเลย เวลานนั้ พระผมู้ พี ระภาคเสดจ็ จากอรุ เุ วลาเสนานคิ ม ตำ� บลท่ ี 39 ตรสั รไู้ ปสอู่ สิ ปิ ตนมฤคทายะเพอ่ื โปรดปญั จวคั คยี ์ แลว้ โปรดพระยสะ และชฎิล ๓ พี่น้องพร้อมด้วยบริวาร แล้วเสด็จเข้าสู่กรุงราชคฤห ์ เพื่อโปรดพระเจ้าพิมพิสารตามปฏิญาณที่ทรงให้ไว้ เมื่อเสด็จผ่าน มาทางราชคฤห์สมัยเม่ือแสวงหาโมกขธรรม ได้รับวัดเวฬุวันสวน ไมไ้ ผ ่ เปน็ อารามสงฆแ์ หง่ แรกในพระพทุ ธศาสนาแลว้ ขา่ วกระฉอ่ น ทั่วไปทั้งพระนครราชคฤห์และเมืองใกล้เคียง ทรงได้อัครสาวก ซ้ายขวา คือพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในเวลาเยน็ ชาวนครราชคฤหม์ มี อื ถอื ดอกไมธ้ ปู เทยี น และน้�ำปานะมีน�้ำอ้อย เปน็ ตน้ ไปสู่อารามเวฬวุ นั เพื่อฟงั พระธรรม เทศนา และถวายนำ�้ ปานะแกพ่ ระภิกษสุ งฆ์ พระเจ้าสุทโธทนะ ทรงส่งทูตมาเชิญพระผู้มีพระภาค เพื่อ เสด็จกลับพระนคร แต่ปรากฏว่าทูต ๙ คณะแรกไปถึงแล้ว ได้ฟัง
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ พระธรรมเทศนาเล่ือมใสศรัทธา ขอบรรพชาอุปสมบท และมิได ้ ทูลเสด็จพระพุทธองค์ ต่อมาถึงทูตคณะที่ ๑๐ ซ่ึงมีกาฬุทายีมหา อำ� มาตยเ์ ปน็ หวั หนา้ ไปถงึ วดั เวฬวุ นั ขอบรรพชาอปุ สมบทตอ่ พระผมู้ ี พระภาค แล้วจึงทูลอาราธนาพระองค์ตามพระด�ำรัสของพระพุทธ บิดา พระผู้มีพระภาค มีพระอรหันต์ขีณาสพจ�ำนวนประมาณ ๒ หมนื่ เปน็ บรวิ าร เสดจ็ จากกรงุ ราชคฤหส์ นู่ ครกบลิ พสั ดว์ุ นั ละโยชนๆ์ รวม ๖๐ วนั ในระหวา่ งทางไดป้ ระทานพระธรรมเทศนาโปรดประชาชน ให้ด�ำรงอยู่ในคุณวิเศษต่างๆ ตามอุปนิสัย จนกระท่ังถึงนครกบิล- พัสดุ์ 40 พระพทุ ธบดิ าเตรยี มรบั เสดจ็ พระพทุ ธองคโ์ ดยสรา้ งวดั นโิ คร ธารามถวายเป็นพุทธนิวาส การเสด็จมาของพระพุทธองค์คร้ังนี้ เปน็ ทช่ี นื่ ชมโสมนสั ของพระประยรู ญาตยิ ง่ิ นกั เพราะเปน็ เวลา ๗ ปี แล้วที่พระองค์จากไป โดยพระญาติมิได้เห็นเลยแม้แต่เงาของ พระองค์ วันรุ่งข้ึน พระผู้มีพระภาคเสด็จออกบิณฑบาตผ่านมาทาง ปราสาทของพระบิดา พระเจา้ สทุ โธทนะทอดพระเนตรเห็นแล้วรีบ เสด็จลงไปจับชายจีวรของพระองค ์ แล้วกล่าววา่ “สิทธัตถะ ท�ำไมเจ้าจึงท�ำอย่างน้ี ตระกูลของเจ้าเป็นคนขอ ทานหรอื ศากยวงศไ์ มเ่ คยทำ� เลย เจา้ ทำ� ใหว้ งศข์ องพอ่ เสยี บา้ นของ เจ้าก็มี ท�ำไมจงึ ไมไ่ ปรบั อาหารท่บี า้ น เทีย่ วเดินขอทานชาวบ้านอย่ ู พอ่ จะเอาหนา้ ไปไวไ้ หน พอ่ เปน็ จอมคนในแผน่ ดนิ เปน็ กษตั รยิ ์ ลกู มาท�ำตนเป็นขอทาน”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “มหาบพิตร” เสียงนุ่มนวลกังวานจากพระโอษฐ์พระผู้มี พระภาค “บัดนี้อาตมภาพมิใช่ศากยวงศ์แล้ว อาตมภาพเป็นอริยวงศ ์ เป็นพุทธวงศ์ พระพุทธเจ้าในอดตี ทุกๆ พระองค์ทรงกระท�ำอยา่ งน ี้ ท้ังน้ัน อาตมภาพท�ำเพ่ือรักษาวงศ์ของอาตมภาพ มิให้สูญหาย ส�ำหรับบ้านอาตมภาพก็ไม่มี อาตมภาพเป็นอนาคาริกมุนี ผู้ไม่ม ี เรือน” “ชา่ งเถดิ สทิ ธตั ถะ เจา้ จะเปน็ อะไร จะมเี รอื น หรอื ไมม่ เี รอื น พอ่ ไมเ่ ขา้ ใจ แตเ่ จา้ เปน็ ลกู ของพอ่ เจา้ จากไป ๗ ปเี ศษ พอ่ คดิ ถงึ เจา้ สุดประมาณ พิมพาหรือก็คร่�ำครวญถึงแต่เจ้า ราหุลเล่ามีบิดา เหมอื นไมม่ ี เวลานเี้ จา้ จะตอ้ งไปบา้ น ไปพบลกู พบชายาและพระญาต ิ 41 ทแี่ ก่เฒ่า” ว่าแล้วพระเจ้าสุทโธทนะก็น�ำเสด็จพระพุทธองค์ไปสู่พระ- ราชวงั ถวายขาทนยี โภชนยี หารอนั ประณตี สมควรแกก่ ษตั รยิ ์ พระผ้ ู มพี ระภาคแสดงพระธรรมเทศนาโปรดใหพ้ ระบดิ าเปน็ พระสกทาคาม ี และพระนางมหาปชาบดีโคตมีพระน้านางเป็นพระโสดาบันแล้ว เสด็จกลับสู่นิโครธาราม
๓ พุ ท ธุ ปั ฏ ฐ า ก ผู้ เ ป็ น บั ณ ฑิ ต 42 ขณะทพี่ ระบรมศาสดาประทบั อย ู่ ณ นโิ ครธาราม กรงุ กบลิ พสั ดน์ุ น้ั มีเจ้าชายในศากยวงศ์หลายพระองค์ได้เสด็จออกบรรพชา เพื่อท�ำ ที่สุดแห่งทุกข์ตามทางแห่งพระพุทธองค ์ พระโลกนาถส�ำราญพระ อิริยาบถอยู่ ณ นิโครธารามตามพระอัธยาศัยพอสมควรแล้ว ทรง ละกบิลพัสดุ์ไว้เบื้องหลัง เสด็จสู่แคว้นมัลละ ส�ำราญพระอิริยาบถ อยู่ ณ อนปุ ยิ อัมพวนั เมอื่ พระศาสดาจากไปแลว้ เจา้ ศากยะทง้ั หลายวพิ ากษว์ จิ ารณ์ กันว่า เจ้าชายเป็นอันมากได้ออกบวชตามพระศาสดา ยังเหลือแต ่ เจา้ ชายอานนท ์ เจา้ ชายอนรุ ทุ ธ ์ เจา้ ชายมหานาม และเจา้ ชายภทั ทยิ ะ
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เป็นต้น มิได้ออกบวชตาม ความจริงเจ้าชายเหล่าน้ี พระญาติได้ ถวายให้เป็นเพื่อนเล่นเป็นบริพารของพระสิทธัตถะในวันขนาน พระนาม เจ้าชายเหล่านี้คงมิใช่พระญาติของพระพุทธองค์กระมัง จงึ เฉยอย ู่ มไิ ดอ้ อกบวชตาม เจา้ ชายมหานาม ซง่ึ เปน็ ผใู้ หญไ่ ดฟ้ งั เสยี งวพิ ากษว์ จิ ารณด์ งั นี้ รสู้ กึ ละอายพระทยั จงึ ปรกึ ษากบั พระอนชุ าคอื เจา้ ชายอนรุ ทุ ธว์ า่ เรา ๒ คนพนี่ อ้ งควรจะออกบวชเสยี คนหนงึ่ ในทส่ี ดุ ตกลงกนั วา่ ใหพ้ ระ อนชุ าออกบวช แตพ่ ระมารดาไม่ทรงอนุญาต “ลูกรัก” พระนางตรัส “เจ้าจะบวชได้อย่างไร การบวชมิใช ่ เป็นเร่ืองง่าย เจ้าต้องเสวยวันละครั้ง ต้องเสด็จด้วยพระบาทเปล่า ต้องบรรทมอย่างง่ายๆ ปราศจากฟูกหมอนอันอ่อนนุ่ม ใช้ไม้เป็น 43 เขนย ตอ้ งอยตู่ ามโคนไมห้ รอื ทอ้ งถำ�้ เมอื่ ตอ้ งการของรอ้ นกไ็ ดข้ อง เย็น เมื่อต้องการของเย็นก็ได้ของร้อน ด้วยเหตุนี้แม่จึงไม่ต้องการ ใหเ้ จา้ บวช” “ข้าแต่พระมารดา” เจ้าชายอนุรุทธ์กล่าว “หม่อมฉันทราบ วา่ การบวชเปน็ ความลำ� บาก และมใิ ชเ่ ปน็ เรอื่ งงา่ ย แตเ่ มอ่ื พระญาติ หลายพระองค์ซึ่งเคยมีความสุขสบายอย่างหม่อนฉันนี่แหละยัง สามารถบวชได้ ท�ำไมหม่อมฉันจะบวชบ้างไม่ได้ อีกประการหน่ึง พดู ถงึ ความสะดวกสบาย พระศาสดาเคยสะดวกสบายกวา่ หมอ่ มฉนั มากนกั พระองคย์ งั สามารถอยไู่ ดโ้ ดยไมเ่ ดอื ดรอ้ น ทำ� ไมหมอ่ มฉนั จะอยู่ไม่ได้ น่าจะมีความสุขอะไรสักอย่างหน่ึงมาทดแทนความ สะดวกสบายทเ่ี สยี ไป และเปน็ ความสขุ ทดี่ กี วา่ ประณตี กวา่ หมอ่ มฉนั คดิ วา่ หมอ่ มฉนั ทนได”้
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “ลกู รกั ถงึ แมเ้ จา้ จะทนอยใู่ นเพศบรรพชติ ได ้ แตแ่ มท่ นไมไ่ ด ้ แม่ไม่เคยเห็นลูกลำ� บาก และไม่ต้องการให้ลูกลำ� บาก ลูกเป็นที่รัก สดุ หวั ใจของแม ่ แมไ่ มอ่ ยากจะอยหู่ า่ งลกู แมเ้ พยี งวนั เดยี ว จะกลา่ ว ไยถึงจะยอมให้ลูกไปบวช ซึ่งจะต้องอยู่ห่างแม่เป็นแรมปี อน่ึงเล่า แมไ่ มเ่ หน็ วา่ จำ� เปน็ อยา่ งไรทจี่ ะตอ้ งบวช ถา้ ลกู ตอ้ งการจะทำ� ความดี เปน็ อยอู่ ยา่ งคฤหสั ถก์ ท็ ำ� ได ้ และกด็ เู หมอื นจะทำ� ไดส้ ะดวกกวา่ ดว้ ยซำ้� ไป อย่าบวชเลยลูกรักเช่ือแม่เถอะ” ว่าแล้วพระนางก็เอาพระหัตถ์ ลบู เส้นพระเกศาเจา้ ชายดว้ ยความกรณุ า “ขา้ แตม่ ารดา พดู ถงึ ความลำ� บาก ยงั มคี นเปน็ อนั มากในโลกนี ้ ท่ีล�ำบากกว่าเรา หรืออย่างน้อยก็ล�ำบากกว่าบรรพชิต พูดถึงเรื่อง 44 การตอ้ งจากกนั ระหวา่ งแมก่ บั ลกู ยงั มกี ารจากกนั อกี อยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ร้ายแรงยิ่งกวา่ การจากไปบวช น่ันคือการตอ้ งจากเพราะความตาย มาถึงเข้า และทุกคนจะต้องตายหลีกไม่พ้น ถูกแล้วที่มารดาบอก ว่าการท�ำความดีนั้นอยู่ท่ีไหนก็ทำ� ได้ แต่การบวชอาจจะทำ� ความด ี ได้มากกว่า เพราะมีโอกาสมากกว่า ถ้าเปรียบด้วยภาชนะส�ำหรับ รองรับน�้ำ ภาชนะใหญ่ย่อมรองรับน้�ำได้มากกว่าภาชนะเล็ก และ ภาชนะทส่ี ะอาดยอ่ มไมท่ ำ� ใหน้ ำ้� สกปรก เพราะฉะนน้ั ลกู จงึ เหน็ วา่ การบวชเป็นเสมือนภาชนะใหญ่ที่สะอาด เหมาะส�ำหรับรองรับน้�ำ คอื ความด”ี “ลกู รไู้ ดอ้ ยา่ งไร ในเมอื่ ลกู ยงั มไิ ดบ้ วช ความคดิ อาจจะไมต่ รง กับความเปน็ จริงก็ได”้ พระนางมเี สียงแขง็ ขึน้ เลก็ นอ้ ย “ลูกยังไมร่ ู้ แตล่ ูกอยากจะลอง”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “เอาอย่างนี้ดีไหม คือถ้าเจ้าชายภัททิยะ พระสหายของเจ้า บวช แมก่ อ็ นญุ าตใหเ้ จา้ บวชได”้ พระนางเขา้ พระทยั วา่ อยา่ งไรเสยี เจา้ ชายภัททยิ ะคงไม่บวชแน่ เจา้ ชายอนรุ ทุ ธด์ พี ระทยั มากทพี่ ระมารดาตรสั คำ� น ี้ พระองค์ รีบเสดจ็ ไปหาพระสหาย ตรสั วา่ “ภทั ทยิ ะ ขา้ พเจา้ ปรารถนาจะบวชตามเสดจ็ พระศาสดา แต่ การบวชของขา้ พเจา้ เนอื่ งอยดู่ ว้ ยทา่ น คอื พระมารดาตรสั วา่ ถา้ ทา่ น บวช จงึ จะอนญุ าตให้ขา้ พเจา้ บวช” “สหาย” เจ้าชายภัททิยะตรัสตอบ “ข้าพเจ้าก็คิดจะบวชอยู ่ เหมอื นกนั ไดย้ นิ คนเขาวพิ ากษว์ จิ ารณก์ นั แลว้ รสู้ กึ ไมค่ อ่ ยสบายใจ พระศาสดายังบวชอยู่ได ้ ท�ำไมพวกเราจะบวชไม่ได”้ เจ้าชายอนุรุทธ์ดีพระทัยเป็นที่สุด เม่ือทูลพระมารดาแล้ว 45 ทงั้ สองสหายกไ็ ดช้ กั ชวนเจา้ ชายอกี ๔ พระองค ์ คอื เจา้ ชายอานนท์ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ และเจ้าชายเทวทัต เป็น ๖ พระองค ์ เสด็จออกจากพระนครกบิลพัสดุ์ มุ่งสู่อนุปิยอัมพวัน แคว้นมัลละ เมอื่ เสดจ็ ถงึ พรมแดนระหวา่ งแควน้ สกั กะและแควน้ มลั ละ พระราช กมุ ารทงั้ หกกร็ บั สงั่ ใหน้ ายอบุ าลภี ษู ามาลา ซงึ่ ตามเสดจ็ มาสง่ กลบั ไปสนู่ ครกบลิ พสั ด ์ุ พรอ้ มดว้ ยเปลอ้ื งพระภษู าซงึ่ มรี าคามาก มอบให้ อุบาลนี �ำกลบั ไป ในขณะท่ี ๖ พระราชกุมารและนายอุบาลีภูษามาลาจะแยก กันนั้น ราวป่าประหน่ึงว่าจะถึงซ่ึงอาการร้องไห้ มหาปฐพีมีการ สะทา้ นสะเทอื นเหมอื นจะแยกออกจากกนั อบุ าลจี ำ� ใจจากพระราช
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ กุมารกลับมาทางเดิมได้หน่อย จึงคิดว่า การที่จะน�ำเคร่ืองประดับ อนั มีคา่ ซึ่งเจ้าของสละแลว้ โดยปราศจากความไยดไี ปขายเล้ียงชีพ ตามคำ� ของพระราชกมุ ารนน้ั ปานประหนงึ่ ผกู้ ลนื น้�ำลายซงึ่ เจา้ ของ ถม่ แลว้ จะประโยชนอ์ ะไรทจี่ ะทำ� อยา่ งนน้ั เกดิ สงั เวชสลดจติ จงึ เอา เครอ่ื งประดบั เหลา่ นนั้ แขวนไวก้ บั กง่ิ ไมแ้ หง่ หนงึ่ แลว้ วงิ่ กลบั ไปแจง้ ความประสงคก์ ับพระราชกมุ ารวา่ “ข้าแต่นาย ข้าพเจ้าขอตามเสด็จไปด้วย เพื่อจะได้รับใช้ พระองค์ต่อไป” พระราชกุมารท้ังหกทรงปรึกษากันอยู่ครู่หนึ่ง จึงยินยอมให ้ อบุ าลตี ามเสด็จไปดว้ ย 46 พระกุมารท้ัง ๖ พระองค์เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคทูลขอ บรรพชาอปุ สมบท และทลู ว่า “ขา้ แตพ่ ระผมู้ พี ระภาค ขา้ พระองคท์ ง้ั หลายมที ฏิ ฐมิ านะมาก เมื่อบวชพร้อมด้วยอุบาลีซึ่งเป็นคนรับใช้มาก่อน ถ้าข้าพระองค ์ ท้ังหลายบวชก่อนก็จะพึงใช้อ�ำนาจกับเขาอีก เพราะฉะน้ัน ขอให้ พระผมู้ พี ระภาคใหก้ ารอปุ สมบทแกอ่ บุ าลกี อ่ นเถดิ เพอื่ ขา้ พระองค์ ท้ังหลายจักได้อภิวาทลุกรับเขาเมื่ออุปสมบทแล้ว เป็นการท�ำลาย ทิฏฐมิ านะไปในตัว เพือ่ ประโยชน์แกก่ ารประพฤตพิ รหมจรรย”์ เมอ่ื บวชแลว้ ไมน่ าน พระภทั ทยิ ะ พระภค ุ พระกมิ พลิ ะ และ พระอนุรุทธ์ ก็ได้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต ์ พระเทวทัตได้สำ� เร็จฌาน แห่งปุถุชน ส่วนพระอานนท์ซ่ึงมีพระเพลัฏฐสีสะเป็นอุปัชฌายะ และมพี ระปณุ ณมนั ตานบี ตุ รเปน็ พระอาจารย ์ ไดส้ ำ� เรจ็ เปน็ โสดาบนั หลงั จากอปุ สมบทแลว้ ๓๙ พรรษา พระอานนทไ์ ดร้ บั ต�ำแหนง่ เปน็
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า พุทธปุ ัฏฐากดงั กล่าวแล้วแต่หนหลงั หน้าทีป่ ระจำ� ของพระอานนท์ คือ ๑. ถวายนำ้� ๒ ชนดิ คือท้ังนำ�้ เย็นและนำ้� รอ้ น ๒. ถวายไมส้ ฟี นั ๓ ขนาด (ขนาดเล็ก กลาง และใหญ)่ ๓. นวดพระหัตถแ์ ละพระบาท ๔. นวดพระปฤษฎางค์ ๕. ปัดกวาดพระคันธกุฎแี ละบรเิ วณพระคนั ธกฎุ ี ในราตรีกาล ท่านกำ� หนดในใจวา่ เวลาน้ีพระผู้มพี ระภาคคง จะทรงต้องการส่ิงนั้นส่ิงน้ี หรือรับสั่งน้ันรับส่ังน้ี แล้วท่านก็เข้าไป เฝ้าเป็นระยะๆ เม่ือเสร็จกิจแล้วจึงออกมาอยู่ยามหน้าพระคันธกุฎี กล่าวกันว่าท่านถือประทีปด้ามใหญ่เดินวนเวียนพระคันธกุฎีของ 47 พระผมู้ พี ระภาคถงึ คนื ละ ๘ ครงั้ อนั วา่ ทา่ นอานนทน์ ี้ สามารถทำ� งาน ทไ่ี ดม้ อบหมายดยี ง่ิ นกั เมอื่ ไดร้ บั มอบหมายสง่ิ ใดจากพระพทุ ธองค์ แลว้ ท่านทำ� ไมเ่ คยบกพร่อง เช่นครั้งหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงศรัทธา ปรารถนาจะ ถวายอาหารแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นประจ�ำ และทูลอาราธนา พระพุทธองค์ให้เสด็จเข้าวังทุกๆ วัน พระจอมมุนีทรงปฏิเสธอย่าง ละมนุ ละม่อมวา่ “มหาบพิตร ธรรมดาวา่ พระพทุ ธเจา้ น้นั ยอ่ มเป็นทต่ี อ้ งการ ของคนทัง้ หลายเป็นอนั มาก ผู้จ�ำนงหวังเพื่อทำ� บญุ กับพระพุทธเจ้า เปน็ จำ� นวนมากอย ู่ อนง่ึ พระพทุ ธเจา้ ไมค่ วรรบั นมิ นตเ์ พยี งแหง่ เดยี ว ควรสงเคราะห์แก่คนทว่ั ไป”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “ถา้ อยา่ งนน้ั ขอพระองคจ์ งมอบหมายใหเ้ ปน็ หนา้ ทขี่ องภกิ ษุ รปู ใดรปู หนง่ึ เปน็ ประมขุ นำ� พระสงฆม์ ารบั โภชนาหารในนเิ วศนข์ อง ข้าพระองค์เป็นประจำ� เถิด” พระเจา้ ปเสนทิโกศลทูล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมอบหมายให้เป็นหน้าที่ของพระ อานนทน์ �ำภิกษุจ�ำนวนมากไปสรู่ าชนิเวศนเ์ ปน็ ประจ�ำ ใน ๒-๓ วนั แรกพระเจ้าปเสนทิทรงอังคาสภิกษุด้วยโภชนาหารอันประณีต ดว้ ยพระองคเ์ อง แตร่ ะยะหลงั ๆ มา พระองคท์ รงลมื ภกิ ษทุ ง้ั หลาย คอยจนสาย พระองค์ก็ยังไม่ทรงต่ืนบรรทม ภิกษุทั้งหลายจึงกลับ ไปเสียเป็นส่วนมาก และเม่ือเป็นเช่นน้ีบ่อยเข้า ภิกษุทั้งหลายก็ไม ่ มา คงเหลอื แต่พระอานนท์องคเ์ ดยี วเท่านั้น 48 เป็นธรรมเนียมในพระราชวัง ถ้าพระราชาไม่ส่ัง ใครจะท�ำ อะไรไม่ได้ เพราะฉะนั้น ราชบริพารจึงไม่สามารถจัดอาหารถวาย พระสงฆไ์ ด้ วันหน่ึงพระราชาต่ืนบรรทมแต่เช้า ส่ังจัดอาหารถวายพระ เป็นจ�ำนวนร้อย เม่ือถึงเวลาพระองค์เสด็จออกเพ่ือถวายพระ กระยาหาร ไมท่ อดพระเนตรเหน็ พระอนื่ เลย นอกจากพระอานนท ์ ซ่งึ อดทนมาทุกวัน พระเจา้ ปเสนททิ รงพโิ รธยงิ่ นกั เสดจ็ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ทันทกี ราบทลู วา่ “พระองคผ์ เู้ จรญิ สาวกของพระองคไ์ มเ่ หน็ วา่ การนมิ นตข์ อง ขา้ พระองคเ์ ปน็ เรอื่ งส�ำคญั เลย ขา้ พระองคน์ มิ นตพ์ ระไวเ้ ปน็ จ�ำนวน รอ้ ย แตม่ พี ระอานนทอ์ งคเ์ ดยี วเทา่ นนั้ ทไ่ี ปรบั อาหารจากพระราชวงั ขา้ วของจัดไว้เสียหายหมด”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “พระมหาบพิตร พระสงฆ์คงจะไม่คุ้นเคยกับราชตระกูล กระมงั จงึ กระทำ� อยา่ งนนั้ มหาบพติ ร สำ� หรบั อานนทน์ น้ั เปน็ บณั ฑติ เป็นผู้เข้าใจเหตุการณ์ และมีความอดทนอย่างเย่ียม เป็นบุคคลท่ี หาไดโ้ ดยยาก” อีกครั้งหน่ึง พระเจ้าปเสนทิโกศลมีพระประสงค์ให้พระนาง มัลลิกาอัครมเหสี และพระนางวาสภขัตติยาราชเทวีศึกษาธรรม พระพทุ ธองคท์ รงมอบหมายใหพ้ ระอานนทเ์ ปน็ ผถู้ วายความร ู้ พระ นางวาสภขัตติยาพระญาติของพระผู้มีพระภาคเรียนโดยไม่เคารพ คือศึกษาอย่างขัดไม่ได้ ส่วนพระนางมัลลิกาทรงตั้งพระทัยศึกษา ด้วยดี พระอานนท์น�ำเรื่องข้ึนกราบทูลพระผู้มีพระภาค พระพุทธ องค์จงึ ตรสั วา่ “อานนท์ วาจาสุภาษิตย่อมไม่มีประโยชน์แก่ผู้ไม่ท�ำตาม 49 เหมอื นดอกไมท้ ม่ี สี สี วย สณั ฐานด ี แตห่ ากลนิ่ มไิ ด ้ แตว่ าจาสภุ าษติ จะมีประโยชน์อย่างมากแก่ผู้ท�ำตาม เหมือนดอกไม้ซึ่งมีสีสวย มี สณั ฐานงาม และมกี ลิ่นหอม อานนท์เอย ธรรมท่ีเรากล่าวดีแล้วน้ัน ย่อมไม่มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มากแก่ผู้ไม่ท�ำตามโดยเคารพ ไม่สาธยายโดยเคารพ และไม่แสดงโดยเคารพ แต่จะมีผลมาก มีอานิสงส์ไพศาลแก่ผู้ซ่ึง กระทำ� โดยนยั ตรงกนั ขา้ ม มกี ารฟงั โดยเคารพ เป็นตน้ ”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434