Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการโรงเรียนบึงเขาย้อน

แผนปฏิบัติการโรงเรียนบึงเขาย้อน

Published by schoolbky, 2021-09-25 04:30:35

Description: แผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

ราในยสถงาปนากรนาระณกจ์กาแาารแผปรพีรนสก่ระบาปอารดฏนขศอิบองึกโรัตคอษตกิิดานเาช๒ื้อแรไวฮ๕รสั โน๖คโร๔ดนา์ 2019 โรงเรียนบึงเขาย้อน(คงพนั ธ์ุอุปถัมภ์) สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบงึ เขาย้อน(คงพนั ธอ์ุ ปุ ถมั ภ)์ อาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานกระทรวงศึกษาธิการ

บนั ทกึ การใหค้ วามเหน็ ชอบแผนการปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2564 ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรยี นบงึ เขายอ้ น ( คงพนั ธอุ์ ุปถมั ภ์ ) ………………………………………………………......……………………… คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรยี นบงึ เขายอ้ น ( คงพนั ธุ์อุปถมั ภ์ )มมี ตเิ หน็ ชอบ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2564 ทส่ี อดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563 – 2566) แผนพฒั นาการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2579 ) นโยบายและ จุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ 2563-2564 และนโยบายของสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานปีการศกึ ษา 2564 และสอดคลอ้ งกบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ซง่ึ การดาเนินงานจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร ปีการศกึ ษา 2564 เกดิ จากความรว่ มมอื ของคณะครู บคุ ลากร ทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรยี นบงึ เขายอ้ น ( คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ์ ) ทเ่ี หน็ ว่า เป็นประโยชน์แกน่ กั เรยี นและโรงเรยี นเป็นอย่างมาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ขออนุมตั ใิ ห้ใช้แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการศึกษา 2564 เป็นกรอบแนวทางและเป็นเคร่อื งมอื ในการบรหิ ารจดั การและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี น บงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ์) ในปีการศกึ ษา 2564 ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคเ์ ป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ซง่ึ จะ สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานและมคี ุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จงึ ขอขอบคุณคณะดาเนินงานจดั ทางานแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2564 และขอให้ นาแผนปฏบิ ตั กิ ารน้ไี ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาและสถานศกึ ษาตอ่ ไป ( ลงช่อื ) ………………………………………ผเู้ หน็ ชอบ ( นายวสนั ต์ คงพนั ธุ์ ) ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โรงเรยี นบงึ เขายอ้ น ( คงพนั ธอุ์ ุปถมั ภ์ )

คำนำ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการศกึ ษา 2564 ของโรงเรยี นบึงเขาย้อน ( คงพนั ธุ์อุปถมั ภ์ ) เป็นแผนท่ีจดั ทาข้ึนเพ่ือกาหนดทิศทางการปฏิบัติงานในการจัดการศึกษาให้มีความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579 ) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และ จุดเน้นรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพอ่ื ขบั เคล่อื นการดาเนินงาน มุ่งมนั่ พฒั นาการจดั การศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐานใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นคนดมี วี นิ ัย ภูมใิ จในชาตแิ ละมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชุมชน สงั คม และ ประเทศชาติด้วยการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วมบูรณาการการจดั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานของความ รบั ผดิ ชอบทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล การศกึ ษาเป็นสทิ ธิขนั้ พน้ื ฐานของคนไทยทุกคน ทร่ี ฐั ตอ้ งจดั ใหเ้ พ่อื พฒั นาคนไทยทุกช่วงวยั ใหม้ คี วามเจรญิ งอกงามทุกดา้ น เพ่อื เป็นต้นทุนทางปัญญาท่สี าคญั ใน การพฒั นาทกั ษะ คุณลกั ษณะ และสมรรถนะในการประกอบสมั มาชพี และการดารงชวี ติ ร่วมกบั ผูอ้ ่นื ใน สงั คมไดอ้ ย่างเป็นสุข อนั จะนาไปสเู้ สถยี รภาพ และความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาตทิ ต่ี ้องพฒั นา ใหเ้ จรญิ ก้าวหน้า ทดั เทยี มนานาประเทศในเวทโี ลกท่ามกลางกระแสการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ของ โลกศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื วางกรอบเป้าหมายและทศิ ทางการจดั การศกึ ษาของประเทศ โดยมุ่งจดั การศกึ ษาให้ คนไทยทุกคนเข้าถงึ โอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ พฒั นากาลงั คนใหม้ สี มรรถนะในการทางานทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ตลาดงานและการพฒั นาประเทศ เพ่อื ให้สถานศึกษามกี ารพฒั นาทงั้ ด้านผู้เรยี น ครูผู้สอนและระบบ บริหารจดั การ ให้ได้มาตรฐานการศึกษา โดยให้สอดคล้องกบั วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเป้าหมายของ โรงเรยี น อนั ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดตอ่ ผเู้ รยี นและสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2564 ฉบบั น้ไี ดร้ บั ความร่วมมอื จากขา้ ราชการครูและ บุคลากรในกลุ่มงานวชิ าการ งบประมาณการเงนิ บุคลากร และบรหิ ารงานทวั่ ไป จดั ทาแผนการใช้ งบประมาณในการจัดทาโครงการ/กิจกรรม ให้สาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ประสทิ ธผิ ล ขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นทร่ี ่วมกนั จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารจนสาเรจ็ เรยี บรอ้ ยสามารถใชป้ ฏบิ ตั งิ านได้ ต่อไป นางสาวใยจติ ร์ สาระนติ ย์ ตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี นบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธอุ์ ปุ ถมั ภ)์

สารบญั คำนำ ............................................................................................................................................... ก สำรบญั ............................................................................................................................................ ข สว่ นท่ี 1 บทนำ ...............................................................................................………………………1 ประวตั โิ รงเรยี นโดยย่อ ..................................................................................................................... 1 แผนผงั โรงเรยี นบงึ เขำยอ้ น ( คงพนั ธอุ์ ุปถมั ภ์ ) ................................................................................. 5 สภำพปัจจุบนั .................................................................................................................................. 6 ขอ้ มลู ขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ………………………………………………………… 7 สว่ นท่ี 2 ทศิ ทำงกำรพฒั นำคุณภำพสถำนศกึ ษำ ............................................................................ 30 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้ำประสงคห์ ลกั และเป้ำหมำย .......................................................................... 30 ยุทธศำสตรส์ ถำนศกึ ษำของแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ 2559 – 2579) ................................................. 33 นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน .................................................................... 36 กลยุทธข์ องสำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำปทุมธำนเี ขต 1............................................. 38 สว่ นท่ี 3......................................................................................................................................... 41 สว่ นท่ี 3.1 รำยละเอยี ดของแผนงำนโครงกำรและประมำณกำรงบประมำณ ...................................... 41 สว่ นท่ี 3.2 โครงกำร/กจิ กรรมประจำปีกำรศกึ ษำ 2564 .................................................................... 45 โครงการตามแผนงานวิชาการ.................................................................................................... 55 1 โครงกำรยกระดบั คณุ ภำพผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น 8 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้และสง่ เสรมิ ควำมเป็นเลศิ ทำงวชิ ำกำร…………………………………..………………………………………………………..55 2 โครงกำรหอ้ งสมุดสกู่ ำรเรยี นรู้ .................................................................................................... 64 3 โครงกำรกำรน้อมนำหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถำนศกึ ษำ ......................................... 72 4 โครงกำรพฒั นำทกั ษะกำรใช้ ICT. เพอ่ื กำรเรยี นรขู้ องนกั เรยี น .................................................... 79 5 โครงกำรสง่ เสรมิ กำรเรยี นรแู้ บบสะเตม็ (STEM Education)........................................................ 84 6 โครงกำรสง่ เสรมิ ควำมสำมำรถในกำรสอ่ื สำรภำษำองั กฤษ .......................................................... 89 7 โครงกำรเขำ้ คำ่ ยภำษำองั กฤษ(English Camp) .......................................................................... 94 8 โครงกำรกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรเรยี นกำรสอนกลุม่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ ........................... 98 10 โครงกำรสง่ เสรมิ กำรเรยี นรูจ้ ำกภูมปิ ัญญำทอ้ งถนิ่ .................................................................... 102 11 โครงกำรสง่ เสรมิ กำรทำวจิ ยั เพอ่ื แกไ้ ขปัญหำและพฒั นำกำรเรยี นกำรสอน................................. 107 12 โครงกำร 1 หอ้ งเรยี น 1 นวตั กรรม ตำมรอยศำสตรพ์ ระรำชำสผู่ เู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 .............. 111 13 โครงกำรนิเทศกำรเรยี นกำรสอนภำยในโรงเรยี น...................................................................... 116

14 โครงกำรทศั นศกึ ษำ (เมอื งโบรำณ).......................................................................................... 120 15 โครงกำรปัจฉิมนิเทศนกั เรยี น .................................................................................................. 125 17 โครงกำรประกนั คณุ ภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ…………………………………………………..129 18 โครงกำรพฒั นำหลกั สตู ร ......................................................................................................... 136 19 โครงกำรสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย………………...................................................................141 20 โครงกำรหอ้ งเรยี นยกกำลงั สอง…….........................................................................................146 21 โครงกำรจดั หำวสั ดเุ พอ่ื รองรบั กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนและกำรจดั กำรศกึ ษำในโรงเรยี น150 22 โครงกำรพฒั นำสง่ เสรมิ ศกั ยภำพกำรเรยี นกำรสอนลกู เสอื -เนตรนำท…ี ………………………….155 23 โครงกำรสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น…………………….161 24 โครงกำรสง่ เสรมิ กฬี ำ-กรฑี ำของโรงเรยี น….............................................................................167 25 โครงกำรวนั เดก็ แห่งชำต…ิ …..................................................................................................171 26 โครงกำรกำรพฒั นำระบบงำนทะเบยี นวดั ผลประเมนิ ผล…….....................................................175 27 โครงกำรกำรพฒั นำกำรเรยี นกำรสอนยคุ ดจิ ทิ ลั …………………………………………………….180 โครงการตามแผนการงานบริหารทวั่ ไป....................................................................................184 28 โครงกำรสง่ เสรมิ กำรมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน ผปู้ กครองและชุมชนในกำร จดั กำรศกึ ษำ……………………………………………………………………………………………..184 29 โครงกำรพฒั นำงำนสำรสนเทศเพ่อื ระบบบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ....................................................188 30 โครงกำรธนำคำรขยะรไี ซเคลิ …………………………………....................................................194 31 โครงกำรระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น…………………………………........................................198 32 โครงกำรป้องกนั และแกไ้ ขปัญหำยำเสพตดิ ...............................................................................202 33 โครงกำร Start up ตำมรอยพอ่ .................................................................................................206 34 โครงกำรอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมำจำกพระรำชดำริ.........................................................210 35 โครงกำรสง่ เสรมิ ประชำธปิ ไตย….............................................................................................217 36 โครงกำรอนุรกั ษแ์ ละพฒั นำสง่ิ แวดลอ้ มและอำคำรสถำนทภ่ี ำยในโรงเรยี นและชุมชน……………221 37 โครงกำรพฒั นำแหล่งเรยี นรแู้ ละสภำพแวดลอ้ มในโรงเรยี น ทเ่ี ออ้ื เฟ้ือต่อกำรพฒั นำนักเรยี น……226 38 โครงกำรพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรเรยี นกำรศกึ ษำเรยี นรว่ ม(สำหรบั เดก็ ทม่ี คี วำมตอ้ งกำรพเิ ศษ)231 39 โครงกำรอนำมยั ……………………………………………………...............................................236 40 โครงกำรเตรยี มควำมพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดเชอ้ื ไวรสั โคโรนำCOVID-19…242 โครงการตามแผนงานงบประมาณ.............................................................................................248 41 โครงกำรพฒั นำระบบงำนพสั ด.ุ .................................................................................................248 42 โครงกำรพฒั นำระบบกำรเงนิ และกำรบญั ช.ี ...............................................................................253 43 โครงกำรสำธำรณูปโภคขนั้ พน้ื ฐำน............................................................................................258

โครงการตามแผนงานบริหารงานบคุ ลากร................................................................................262 44 โครงกำรพฒั นำบุคลำกรในสถำนศกึ ษำ.....................................................................................262 45 โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพสคู่ รมู อื อำชพี ขบวนกำรขบั เคล่อื นชมุ ชนแห่งกำรเรยี นรดู้ ำ้ นวชิ ำชพี …..267 (PLC)สสู่ ถำนศกึ ษำ โครงการระดบั ปฐมวยั .................................................................................................................271 46 โครงกำรสง่ เสรมิ พฒั นำกำรเดก็ ปฐมวยั ……………………………….......................................... 271 47 โครงกำร Open House ปฐมวยั .................................................................................................277 48 โครงกำรผลติ สอ่ื สรำ้ งสรรคต์ ำมหน่วยกำรเรยี นรปู้ ฐมวยั ปีกำรศกึ ษำ 2564.................................282 49 โครงกำรสง่ เสรมิ กระบวนกำรบรหิ ำรจดั กำร..........................................................................…..287 50 โครงกำรนิทำนสุขหรรษำ..........................................................................................................293 51 โครงกำรบำ้ นวทิ ยำศำสตรน์ ้อย..................................................................................................298 52 โครงกำรปฐมวยั เดก็ ดศี รบี งึ เขำยอ้ น (หลกั สตู รดำ้ นทุจรติ ปฐมวยั )...............................................304 53 โครงกำรบณั ฑติ น้อย…………..................................................................................................310 54 โครงกำรหอ้ งเรยี นน่ำอยู่……………………………………….....................................................314 โครงการท่ีได้รบั งบประมาณจากองคก์ ารบริหารส่วนตาบลคลองส่ี..........................................318 55 โครงกำรอำหำรกลำงวนั ...........................................................................................................318 56 โครงกำรอำหำรเสรมิ นม...........................................................................................................322 57 โครงกำรสง่ เสรมิ กฬี ำ...............................................................................................................326 58 โครงกำรภำษำองั กฤษเพอ่ื ทกั ษะชวี ติ .......................................................................................330 59 โครงกำรจดั ทำแผนแผนปฏบิ ตั กิ ำร ปีงบประมำณ 2564…………………………………………...335 ภำคผนวก.....................................................................................................................................338 คำสงั่ .............................................................................................................................................339

สารบญั ตาราง ตำรำงท่ี 1 จำนวนขำ้ รำชกำรครู จำแนกตำมวุฒทิ ำงกำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 .............................. 7 ตำรำงท่ี 2 จำแนกครอู ตั รำจำ้ ง จำแนกตำมวุฒกิ ำรศกึ ษำ................................................................... 8 ตำรำงท่ี 3 จำนวนบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำจำแนกตำมเพศและวฒุ กิ ำรศกึ ษำ ....................................... 8 ตำรำงท่ี 4 ดำ้ นอำคำรสถำนท่ี โรงเรยี นบงึ เขำยอ้ น ( คงพนั ธอุ์ ปุ ถมั ภ์ ) มอี ำคำรเรยี นอำคำรประกอบ . 9 ตำรำงท่ี 5 แสดงกำรเปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรยี นแยกรำยชนั้ ปีกำรศกึ ษำ 2561 – 2564.................... 9 ตำรำงท่ี 6 จำนวนนกั เรยี น/อตั รำครตู อ่ นกั เรยี น ปีกำรศกึ ษำ 2564 .............. …………………………10 ตำรำงท่ี 7 บญั ชจี ดั ชนั้ เรยี นระดบั ชนั้ ปฐมวยั ปีกำรศกึ ษำ 2564 ....................................................... 11 ตำรำงท่ี 8 บญั ชจี ดั ชนั้ เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564............................................ 11 ตำรำงท่ี 9 ผลกำรประเมนิ พฒั นำกำรเดก็ นกั เรยี นชนั้ อนุบำลปีท3่ี ปีกำรศกึ ษำ 2563........................ 13 ตำรำงท่ี 10 ผลกำรประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคน์ กั รยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 1-6 ปีกำรศกึ ษำ 2563 ............................................................................................................................................. 13 ตำรำงท่ี 11 ผลกำรประเมนิ กำรอำ่ นคดิ วเิ ครำะหน์ กั รยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 1-6 ปีกำรศกึ ษำ 2563 14 ตำรำงท่ี 12 ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรรยี น 8 สำระกำรเรยี นรู้นกั รยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 1-6 ปีกำรศกึ ษำ 2563...........................................................................................................................14 ตำรำงท่ี 13 ผลกำรทดสอบระดบั ชำตขิ องผเู้ รยี น (NT)..................................................................... 15 ตำรำงท่ี 14 เปรยี บเทยี บผลกำรทดสอบระดบั ชำตขิ องผเู้ รยี น (NT)ระหวำ่ งปี พ.ศ.2561-2563.......... 15 ตำรำงท่ี 15 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ นั้ พน้ื ฐำน (O-NET) ระดบั ชนั้ ป.6.................... 16 ตำรำงท่ี 16 เปรยี บเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ นั้ พน้ื ฐำน (O-NET) ระดบั ชนั้ ป.6 ระหวำ่ งปี พ.ศ.2561-2563 ............................................................................................................. 17 ตำรำงท่ี 17 ตำรำงสรุปผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยในสถำนศกึ ษำระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั ............... 17 ตำรำงท่ี 18 ตำรำงสรุปผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำระดบั กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน : ประถมศกึ ษำ ................................................................................................................................. 18 ตำรำงท่ี 19 ตำรำงสรปุ ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั .............................. 19 ตำรำงท่ี 20 ตำรำงสรปุ ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยนอกรดบั กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน : ประถมศกึ ษำ.…20 ตำรำงท่ี 21 สรุปผลกำรดำเนินงำนตำมโครงกำร งำนบรหิ ำรงำนวชิ ำกำร......................................... 21 ตำรำงท่ี 22 สรุปผลกำรดำเนินงำนตำมโครงกำรงำนบรหิ ำรทวั่ ไป.................................................... 22 ตำรำงท่ี 23 สรุปผลกำรดำเนินงำนตำมโครงกำรบคุ ลำกร ................................................................ 24 ตำรำงท่ี 24 สรุปผลกำรดำเนนิ งำนตำมโครงกำรงำนบรหิ ำรงบประมำณ………………………………25 ตำรำงท่ี 25 สรุปผลกำรดำเนินงำนตำมโครงกำรระดบั ปฐมวยั ......................................................... 26

ตำรำงท่ี 26 รำยละเอยี ดงบประมำณ ปีงบประมำณ 2563................................................................ 27 ตำรำงท่ี 27 แสดงเงนิ นอกงบประมำณจำกองคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบลคลองส่ี .................................... 27 ตำรำงท่ี 28 แสดงกำรประมำณกำรรำยจำ่ ย .................................................................................... 27 ตำรำงท่ี 29 แผนกำรใชง้ บประมำณงำนวชิ ำกำร.............................................................................. 41 ตำรำงท่ี 30 แผนกำรใชง้ บประมำณงำนบรหิ ำรทวั่ ไป....................................................................... 42 ตำรำงท่ี 31 แผนกำรใชง้ บประมำณงำนบรหิ ำรงบประมำณ ............................................................. 43 ตำรำงท่ี 32 แผนกำรใชง้ บประมำณงำนบรหิ ำรงำนบุคลำกร ............................................................ 43 ตำรำงท่ี 33 แผนกำรใชง้ บประมำณโครงกำรระดบั ปฐมวยั ............................................................... 44 ตำรำงท่ี 34 โครงกำรทไ่ี ดร้ บั จำกองคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบลคลองส่ี................................................... 44

1 สว นท่ี 1 บทนำ ขอมลู พ้ืนฐาน โรงเรยี นบึงเขายอ น ( คงพนั ธุอ ุปถัมภ ) ชือ่ โรงเรยี น บงึ เขายอ น (คงพนั ธุอปุ ถัมภ) สถานทีต่ ้งั เลขที่ 11/ 11 หมูท่ี 7 ตำบลคลองสี อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี อักษรยอ บ.ย. เปด ทำการสอน เมอื่ ปการศกึ ษา 2482 เน้อื ท่ี 14 ไร 1 งาน 54 ตารางวา สปี ระจำโรงเรยี น นำ้ เงนิ – แดง ปรชั ญาโรงเรยี น ปญฺ ญา โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต ( ปญญา เปนแสงสวางในโลก ) คำขวญั ประจำโรงเรยี น เรยี นดี กีฬาเดน เนนคณุ ธรรม กาวนำไปสูส ังคม ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา นางสาวใยจิตร สาระนติ ย ประวตั ิโรงเรียนโดยยอ โรงเรียนบึงเขายอ น (คงพันธุอ ปุ ถมั ภ) สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ปทุมธานี เขต 1 สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสไปรษณีย 12120 หมายเลขโทรศัพท 02-9027053 โทรสาร 02-9027725 email [email protected] เว็บไซตของโรงเรียน www.by.ac.th เปนโรงเรียนขนาดกลาง ต้งั อยเู ลขท่ี 11/11หมู 7 ตำบลคลองสี่ อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี มีพื้นที่ 14 ไร 1 งาน 54 ตารางวา ทิศตะวันออกติดสถานีขนสงสายเหนือ เขตบริการของโรงเรียน นักเรียนที่อยูหมู 6 - 8 และ 9 (บานเลขที่ 9 – 30) เปดทำการสอน เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2482 โดยขุนนิกร นรรักษ เปนนายอำเภอ นายจุน พันธุเอม เปนศึกษาธิการอำเภอ นายดอน สุขภาคี เปน ผูใหญบานรวมกับ นายพัน ชั่งโต จัดสรางอาคารไมไผในสวนของ นายพัน ชั่งโต โดยมีนายแจง นอยศักด์ิ เปนครูใหญคนแรก ตอมาไดงบประมาณเพิ่มเติม โรงเรียนบึงเขายอน(คงพันธุอุปถัมภ) ไดทำการสราง โรงเรียนหลังใหมข น้ึ เปนอาคารไมใตถุนเตีย้ ฝาโลง 4 หองเรยี น นายละออง สตั ยธรรม เปน ครูใหญ

2 พ.ศ.2512 ไดรบั บริจาคทด่ี นิ จาก นายธรี ะ คงพันธุ จำนวน 6 ไร พ.ศ.2512 ไดงบประมาณจากรัฐบาล 155,000 บาท สรางอาคารเรียนแบบ ป.1ข จำนวน 4 หองเรยี น จงึ ไดท ำการยา ยโรงเรียนจากทเี่ ดมิ มาทแ่ี หงใหม คือทอี่ ยปู จจบุ ันซึง่ อยูทางทศิ เหนือของที่ตั้งเดมิ พ.ศ.2519 ไดรับงบประมาณและเงินสมทบ 200,000 บาท ตอเติมอาคารเรียนแบบ ป.1 ข จำนวน 3 หอ งเรียน พ.ศ.2514 ไดรับงบประมาณจากสภาตำบล 140,000 บาท สรางหองสมุดสภาตำบล กวา ง 10 เมตร ยาว 16 เมตร พ.ศ.2516 ไดรับงบประมาณจากรัฐบาล 80,000 บาท สรางบานพักครูแบบกรมสามัญ จำนวน 2 หอ ง พ.ศ.2519 ไดรับงบประมาณจากรัฐบาล 45,000 บาท สรางบานพักครูแบบกรมสามัญ จำนวน 2 หอง พ.ศ.2519 ไดรับงบประมาณจากรัฐบาล 80,000 บาท สรางบานพักครูแบบกรมสามัญ จำนวน 2 หอ ง 2520 ไดรับงบประมาณ 950,000 บาท สรา งอาคารเรยี นแบบ 004 อีก 6 หอ งเรยี น 2 หอ งพิเศษ พ.ศ.2525 ไดรับบริจาคที่ดนิ เพ่มิ จาก นายธีระ คงพนั ธุ อกี 6 ไร รวมเปน 12 ไร พ.ศ.2527 ไดรับงบประมาณ 350,000 บาท สรางอาคารอเนกประสงค แบบ สปช.203/36 จำนวน 1 หลงั พ.ศ.2538 ไดรบั งบประมาณ 99,000 บาท สรา งสว มแบบ สปช. จำนวน 1 หลัง 9 ทีน่ ง่ั พ.ศ.2541 ไดรับงบประมาณ 100,000 บาท สรา งสนามวอลเลยบอล พ.ศ.2549 ไดรับงบประมาณจากสวนราชการอื่น 4,497,000 บาท สรางอาคารเรียนแบบ อบจ. ปทมุ ธานสี องชัน้ ใตถุนโลง จำนวน 6 หอ งเรยี น พ.ศ.2551 ไดรับงบประมาณจาก อบต. 177,770 บาท สรางสวมแบบ อบต. คลองส่ี จำนวน 1 หลงั 8 ท่ีนัง่ พ.ศ.2555 ไดรับงบประมาณจากตนสังกัด 233,600 บาท สรางสวมแบบ สปช, 603/29 จำนวน 1 หลัง 4 ที่น่งั พ.ศ.2556 ไดรับงบบริจาคสรางโรงอาหาร 658,000 บาท จากบริษัท อายิโนะโมะโตะ จำนวน 1 หลัง พ.ศ.2559 ไดรบั งบประมาณจาก อบต. คลองสี่ 2,700,000 สรางลานกีฬาอเนกประสงค พ.ศ.2559 ไดรับงบประมาณจากตนสังกัด 7,470,000 บาท สรางอาคารเรียน แบบ 108ล/30 จำนวน 8 หอ งเรียน พ.ศ.2559 ไดรับงบประมาณสมทบ 499,000 บาท ตอเติมอาคารเรียน แบบ 108ล/30 จำนวน 8 หองเรยี น พ.ศ.2561 ไดรับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จากงบ 2,700,000 สรางอาคารหองสมุด พ.ศ.2562 นายธีระ คงพันธุ ไดมอบที่ดินเพิ่มอีก 2 ไร 1 งาน 54 ตารางวา ปจจุบันรวมเปนทีด่ ินท่ี ไดรับบริจาคท้งั สน้ิ 14 ไร 1 งาน 54 ตารางวา พ.ศ.2563 ไดร บั งบประมาณจากตนสังกัด 413,280 บาท สรา งสวมนกั เรยี นชาย แบบ 4/49 จำนวน 1 หลัง พ.ศ.2563 ไดรับงบประมาณจากตน สังกดั 341,280 บาท สรางสว มนกั เรยี นหญิง แบบ 4/49 จำนวน 1 หลัง

นายแจง นอ ยศักดิ์ รายชือ่ ผูบริหารโรงเรยี นตามลำดับ 3 เปนครใู หญ พ.ศ. 2482 – 2486 นายละออง สัตยธ รรม เปนครูใหญ พ.ศ. 2486 – 2496 นายวรณ นาคธน เปน ครูใหญ พ.ศ. 2497 – 2511 นายประสทิ ธิ์ บางชวด เปน ครูใหญ พ.ศ. 2511 – 2517 นายพล หลอดออน เปนอาจารยใ หญ พ.ศ. 2517 – 2538 นายประทปี แซเ ตยี เปนอาจารยใหญ พ.ศ. 2538 – 2542 นายมานพ ตมุ โหมด เปนผอู ำนวยการ พ.ศ. 2542 – 2560 นายวฒุ ิชัย จำปาหวาย เปน ผูอำนวยการ พ.ศ. 2561 – 2563 นางสาวใยจติ ร สาระนติ ย เปน ผอู ำนวยการ พ.ศ. 2563 – ปจจุบนั

4 ความหมายของตราประจำโรงเรียน แสงสวา งแหง ปญ ญายอมนำมาซ่งึ พลงั อำนาจทเี่ ขม แข็งเปน หนงึ่ เดยี ว สีประจำโรงเรยี น แดง – น้ำเงิน ความหมายของสีประจำโรงเรียน สีแดง หมายถงึ ความเขม แข็งมีพลงั อำนาจและความเปนหนึ่งเดียว สนี ้ำเงิน หมายถงึ ความปลอดภยั จริงใจ มน่ั คง และความรว มมอื กัน สีเหลอื ง หมายถึง แสงสวา งแหงปญ ญา คำขวัญโรงเรียน “ เรยี นดี กฬี าเดน เนนคณุ ธรรม กา วนำไปสูสงั คม ” ปรัชญาของโรงเรียน “ปญฺ า โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต - ปญ ญา เปน แสงสวา งในโลก” ภาพความสำเร็จ “เรียนรสู ูชีวิตทดี่ ”ี อตั ลักษณข องโรงเรียน (B – Good Manners) “มารยาทดีศรีบงึ เขายอน” B หมายถึง โรงเรยี นบงึ เขายอ น (คงพนั ธุอุปถมั ภ) Good Manners หมายถงึ ผูม ีมารยาทดี (พดู จาไพเราะ มีวินยั ไหวสวยงาม )

5

6 สภาพปจ จบุ ัน ทตี่ ง้ั ของโรงเรียน โรงเรียนบึงเขายอน ( คงพันธุอุปถัมภ ) ตั้งอยูที่เลขที่11/11 หมูที่ 7 ตำบลคลองสี่ อำเภอคลอง หลวง จังหวัดปทุมธานี จัดการศึกษาตั้งแตระดับการศึกษาปฐมวัยถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( ชั้นอนุบาลถึง ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ) สถานที่ตั้งของโรงเรียนมีเสนทางคมนาคมผานไปมาสะดวก ใกลกับสถานที่สำคัญ ทางราชการหลายแหงเชน สถานีขนสงคลองหลวง กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 1 สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย หออัครศลิ ปน คลองหา วัดพระธรรมกาย ท่ีวาการ อำเภอคลองหลวงและสถานีตำรวจอำเภอคลองหลวง ยังเปนโรงเรียนที่ตั้งอยูจุดกึ่งกลางของสถานที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา อันไดแกวัดเพิ่มทาน วัดตะวันเรือง วัดหัตถสารเกษตร วันคลองแอน และวัด กลางคลองสาม อีกทั้งอยูใกลแหลงอุตสาหกรรมขนาดกลางอีกหลายแหงไดแก บริษัทสาลี่ บริษัทในเขต สมหวัง บริษทั สยามวิศวกรรม ตลาดแพปลาคลองสี่ และธรุ กจิ ขนาดยอ มอีกเปนจำนวนมาก ประชากร ประชากรสวนใหญมีอาชีพรับจาง เกษตรกรรม คาขายและอื่นๆ หลากหลายอาชีพ ภาพโดยรวม สวนใหญมีฐานะยากจนรวมทั้งเปน ผูท ี่ยายถิ่นฐานเพือ่ การประกอบอาชพี อีกเปนจำนวนมาก นักเรียนมีการ ยายเขา ออกระหวา งปการศึกษา เปนระยะๆ เพือ่ ตดิ ตามผปู กครอง ภูมิประเทศ โรงเรยี นตง้ั อยตู ดิ ถนนเลียบคลองระบายน้ำท่ีสี่ ประชากรมีทอี่ ยูอาศยั เลียบตามริมคลอง และมีซอย ยอยๆตั้งฉากกับคลองตลอดสาย มีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญในชุมชนหลายแหง นกั เรยี นทมี่ าเรยี นมที ้งั ในเขตพ้ืนท่ีและนอกเขตพนื้ ทบ่ี ริการ การคมนาคม โรงเรียนบึงเขายอน ( คงพันธุอุปถัมภ ) อยูหางจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ไปทางทศิ ตะวันตก เปน ระยะทางประมาณ 42 กิโลเมตร สามารถเดินทางไดทุกฤดูกาล มีถนนลาดยางผานหนาโรงเรียนการเดินทางใชรถยนตหรือ รถจกั รยานยนตไ ดโดยสะดวก ไมมีรถโดยสารประจำทาง

7 ขอ มูลขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตารางท่ี 1 จำนวนขา ราชการครู จำแนกตามอนั ดบั สาขาทีจ่ บ/วฒุ กิ ารศกึ ษา ปก ารศึกษา 2564 ที่ ขา ราชการครปู ระจำการ ตำแหน อันดบั อายุ สามญั ครู วุฒกิ ารศกึ ษา 1 นางสาวใยจติ ร สาระนติ ย ง ราชการ วฒุ ิ สาขา/วิชาเอก 2 นางวราภรณ เนาเพ็ชร 3 นางสาวจันทนา บวั ใย ผอ. คศ.2 20 ม.6 ศษ.ม. ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา 4 นางสาวกรองกาญจน สุขสม รอง ผอ. คศ.3 31 ม.ศ.5 ศษ.ม. ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศึกษา 5 นางกรวิภา กลอ มสนุ ทร ครู คศ.3 33 ม.ศ.5 ศศ.บ. ปริญญาตรี ภาษาอังกฤษ 6 นางสาวอญั ญามาศ วงศ ครู คศ.3 31 ม.ศ.5 ค.บ. ปริญญาตรี แนะแนว ครู คศ.3 31 ม.ศ.5 ค.บ. ปริญญาตรี ภาษาไทย วัฒนวรรณ ครู คศ.3 9 ม.6 ศษ.ม. ปรญิ ญาโท บริหารการศึกษา 7 นางสาววัชรี บญุ นาค 8 นางสาวอารีวรรณ เขยี วงาม ครู คศ.3 9 ม.6 ศษ.ม. ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศกึ ษา 9 นายทิวากร เลาหสิงห ครู คศ.2 16 ม.6 ศษ.ม. ปรญิ ญาโท บริหารการศึกษา 10 นางนิชุลฎา โอภาสสรุ ิยะ ครู คศ.2 14 ม.6 ศษ.ม ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา 11 นางสาวอรษา เกมกาแมน ครู คศ.2 11 ม.ศ.5 พธ.ม. ปรญิ ญาโท บริหารการศกึ ษา 12 นางปราณศิ า ลีเจย วะระ ครู คศ.2 10 ม.6 ศษ.ม. ปริญญาโท วจิ ยั และพัฒนา 13 นางศิริวรรณ เอ่ยี มมิ 14 นายทวีโชค ฐิตมงคล หลักสตู ร 15 นางสาวลัคนา สสี วน ครู คศ.2 10 ม.6 ศษ.ม. ปริญญาโท บรหิ ารการศึกษา ครู คศ.2 10 ม.6 ศษ.ม. ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศกึ ษา 16 นางสาวจรี าภรณ จิตรมติ ร ครู คศ.1 9 ม.6 ค.บ. ปรญิ ญาตรี ดนตรศี ึกษา 17 นางสาวจนั ทรธ ดิ า กิตติฟงุ วรกุล ครู คศ.1 8 ม.6 บธ.บ. ปริญญาตรี การจดั การ 18 นายเจษฎา สุวรรณโน 19 นายภานพุ งศ อุปฮาด สารสนเทศและ 20 นางมณีรตั น พรหมรนิ ทร คอมพิวเตอร 21 นางสาวจริ ัชญา ลือกลาง 22 นายคธาวุธ คงพนั ธุ ครู คศ.1 6 ม.6 ศษ.ม ปริญญาโท การพัฒนา 23 นางสาวรมณภัทร จันทรเทพ 24 นางสาวพาฝน ปลั่งปญ ญา หลักสูตรฯ ครู คศ.1 4 ม.6 ค.บ. ปรญิ ญาตรี คณิตศาสตร ครู คศ.1 3 ม.6 ค.บ. ปรญิ ญาตรี สงั คมศาสตร ครู คศ.1 3 ม.6 ค.บ. ปรญิ ญาตรี ฟส กิ ส ครู คศ.1 2 ม.6 ค.บ. ปริญญาตรี คหกรรมศาสตร ครู คศ.1 2 ม.6 ค.บ. ปรญิ ญาตรี ภาษาไทย ครู ผูช วย 1 ม.6 คศ.บ ปรญิ ญาตรี คหกรรมศาสตร ครู ผชู ว ย 1 ม.6 ค.บ. ปริญญาตรี ภาษาไทย ครู ผชู วย 1 ม.6 ศษ.ม ปรญิ ญาโท หลักสตู รและ การสอน

8 ตารางที่ 2 จำแนกครูอตั ราจาง จำแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา ท่ี อายุ วฒุ กิ ารศกึ ษา ชอ่ื - สกลุ ตำแหนง ทำงาน สาขา/ (ป) สามัญ ครู วุฒิ วิชาเอก พลศกึ ษา 1 นายอนุวัฒน สรอ ยระยา งบ 4 ม.6 ศษ.บ ปรญิ ญาตรี การศกึ ษา โรงเรียน . ปฐมวัย 2 นางสาววรรณิภา รุง เรอื งศรี งบ อบจ. 1 ม.6 ค.บ. ปริญญาตรี ภาษาไทย ชีววทิ ยา 3 นายภเู บตร ดำเนินผล งบ อบจ. 1 ม.6 ค.บ. ปริญญาตรี 4 Mrs.Mokube Rose Fese งบ อบต. 2 ม.6 วท.บ. ปรญิ ญาตรี - 5 นายนิจศักดิ์ ปดลี นกั การ 3 ม.6 - - ตารางที่ 3 จำนวนบคุ ลากรทางการศกึ ษาจำแนกตามเพศและวฒุ ิการศกึ ษา ประเภทบุคลากร จำนวน ปรญิ ญาโท วุฒิการศึกษา 1. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ชาย หญงิ รวม 1 ปรญิ ญาตรี ต่ำกวาปรญิ ญา - 11 1 - ผอู ำนวยการโรงเรยี น - 11 10 -- - รองผูอำนวยการโรงเรยี น 5 17 22 - -- 2. ครผู ูสอน --- - 12 - - ขาราชการครูประจำ 112 - -- - ครอู ตั ราจา ง (สพฐ.) - 2- - ครูอตั ราจา ง (อบจ.) 11 - 1- - ครูจางสอน (โรงเรยี น +อบต) 1-1 - 1- - ครจู างสอน (โรงเรยี น) --- - -- - เจา หนาทธี่ รุ การ 1-1 12 -1 3. บุคลากร --- -- - นกั การภารโรง 8 21 29 16 1 - ครพู ี่เล้ียงเด็กพิการ รวมทั้งสนิ้

9 ตารางที่ 1 ด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนบึงเขาย้อน ( คงพันธุอ์ ุปถัมภ์ ) มีอาคารเรียนอาคารประกอบ ประเภทอาคาร หลัง/แห่ง หอ้ ง ใช้การได้ ชำรดุ หมายเหตุ หลงั ห้อง หลงั ห้อง 1. อาคารเรียน 2. อาคารอเนกประสงค์ 4 27 4 27 - - 3. หอ้ งสว้ ม 4. บา้ นพักครู 1 1- -11 5. สนามวอลเลย่ บ์ อล 6. สนามฟุตบอล 3 21 3 21 - - 7. สนามกีฬาเอนกประสงค์ 8. โรงอาหาร 3 636 - - 1 -1- - - 1 -1- - - 1 -1- - - 1 -1- - - ขอ้ มูลนกั เรยี น ตารางท่ี 2 แสดงการเปรยี บเทยี บจำนวนนักเรยี นแยกรายช้นั ปีการศกึ ษา 2561 – 2564 ชั้น/หอ้ ง ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 10 มิถุนายน 2563 10 มิถุนายน 2563 25 มถิ ุนายน 2564 อ.2/1 จำนวนนกั เรยี น จำนวนนกั เรยี น จำนวนนกั เรียน อ.2/2 ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ขาย หญิง รวม อ.3/1 13 12 25 12 11 23 14 14 28 อ.3/2 11 15 26 13 10 23 11 15 26 รวมอนบุ าล 11 12 23 13 13 26 13 11 24 ป.1/1 12 12 24 9 16 25 14 9 23 ป.1/2 47 51 98 47 50 97 52 49 101 ป.1/3 15 12 27 11 13 24 9 14 23 รวม 13 13 26 9 15 24 10 12 22 ป.2/1 14 11 25 12 11 23 11 11 22 ป.2/2 42 36 78 32 39 71 30 36 67 ป.2/3 22 17 39 20 19 39 11 13 24 รวม 22 16 38 20 17 37 10 15 25 - -- - -- 11 11 22 44 33 77 40 36 76 32 39 71

10 ชน้ั /หอ ง ปก ารศกึ ษา 2562 ปการศกึ ษา 2563 ปการศึกษา 2564 ป.4/1 10 มถิ นุ ายน 2563 10 มิถุนายน 2563 25 มิถนุ ายน 2564 ป.4/2 จำนวนนักเรียน จำนวนนักเรียน จำนวนนกั เรียน ป.4/3 ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ขาย หญงิ รวม รวม 17 24 41 8 26 34 14 13 27 ป.5/1 21 16 37 19 14 33 14 13 27 ป.5/2 - -- - -- 16 9 25 ป.5/3 38 40 78 27 40 67 44 35 79 รวม 12 24 36 14 26 40 7 18 25 ป.6/1 22 8 30 24 12 36 9 16 25 ป.6/2 - -- - -- 15 7 22 ป.6/3 34 32 66 38 38 76 31 41 72 รวม 19 19 38 11 18 29 8 17 25 รวมประถม 14 16 30 13 13 26 14 11 25 รวมท้ังสิ้น 17 4 21 11 0 11 14 11 25 50 39 89 35 31 66 36 39 75 235 220 455 215 219 434 214 228 442 282 271 553 262 269 531 266 277 543 ตารางท่ี 6 จำนวนนักเรียน/อตั ราครูตอ นักเรียน ปก ารศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นเรยี น จำนวนหอง เพศ รวม เฉลย่ี /หอง อนุบาล 2 2 ชาย หญิง 54 1 : 27 อนบุ าล 3 2 25 29 47 1 : 24 4 27 20 101 1 : 24 รวมชัน้ อนบุ าล 3 52 49 67 1 : 23 ประถมศึกษาปท่ี 1 3 30 37 71 1 : 24 ประถมศกึ ษาปท่ี 2 3 32 39 78 1 : 26 ประถมศึกษาปท ี่ 3 3 41 37 79 1 : 27 ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 3 44 35 72 1 : 24 ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 3 31 41 75 1 : 25 ประถมศกึ ษาปที่ 6 18 36 39 442 1 : 25 22 214 228 543 1 : 25 รวมชัน้ ป.1 – 6 266 277 รวมทั้งหมด

11 ตารางท่ี 7 บัญชจี ัดชัน้ เรียนระดบั ชัน้ ปฐมวัย ปการศึกษา 2564 ท่ี ช้นั ชื่อ – สกลุ วิชาเอก จำนวนนกั เรยี น ปฐมวยั /บรหิ าร ชาย หญงิ รวม 1 อนบุ าล 2/1 น.ส.ปราณิศา โสมรตั นานนท 14 14 28 2 อนบุ าล 2/2 น.ส.วรรณนภิ า รงุ เรอื งศรี ปฐมวัย 11 15 26 3 อนุบาล 3/1 น.ส.จรี าภรณ จิตรมติ ร 13 11 24 4 อนบุ าล 3/2 นางศิริวรรณ เอยี่ มมิ ปฐมวยั /บริหาร 14 9 23 52 49 101 รวม ตารางท่ี 8 บญั ชจี ัดชนั้ เรียนระดบั ชั้นประถมศึกษา ปก ารศกึ ษา 2564 ช่ัวโมง ท่สี อน ท่ี ชอื่ -สกุล วิชาเอก ชนั้ ทส่ี อน วชิ าที่สอน 23 1 นางมณรี ตั น พรหมรินทร คหกรรม ครูประจำชน้ั คณิต ไทย สงั คม ประวตั ิ องั กฤษ 23 ป.1/1 สขุ ศกึ ษา ศิลปะ การงาน (แนะแนว ชมุ นมุ ลกู เสือ 24 ซอ มเสรมิ ) ป.1/1 23 2 นางสาวอญั ญามาศ วงศส ุวรรณ สขุ ศกึ ษา ครูประจำชนั้ คณติ ไทย สงั คม ประวัติ อังกฤษ ป.1/2 สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 24 (แนะแนวชมุ นุม ลูกเสอื 24 ซอ มเสริม) ป.1/2 3 นางสาววชั รี บญุ นาค ภาษาอังกฤษ ครปู ระจำชน้ั ภาษาองั กฤษ ป.2 – 3 แนะแนว 27 ป.1/2 ชุมนุม ลกู เสือ) 26 4 นางสาวอารวี รรณ เขียวงาม ประถมศึกษา ครปู ระจำชนั้ คณิต ไทย สงั คม ประวัติ องั กฤษ ป.1/3 สุขศกึ ษา ศลิ ปะ การงาน (แนะแนว ชมุ นุม ลกู เสอื ซอมเสริม) ป.1/3 5 นายภูเบตร ดำเนนิ ผล ภาษาไทย ครปู ระจำชน้ั ไทย ป.2 สงั คม ป.2/1 ประวตั ิ ป.2/1 ป.2/1 (แนะแนว ชมุ นมุ ลูกเสอื ซอ มเสริม) 6 นายทวโี ชค ฐติ มงคล ดนตรีศึกษา ครปู ระจำชนั้ ศลิ ปะ ป.2-3 สงั คม ป.2/2 ป. ป.2/2 2/3,ป.3 ประวัติ ป.2/2,ป.2/3 (แนะแนว ชุมนุม ลกู เสือ ซอมเสริม) 7 นายอนวุ ฒั น สรอยระยา พลศกึ ษา ครูประจำชนั้ สขุ ศกึ ษา ป.2,ป.4-6 (แนะแนว ป.2/3 ชมุ นมุ ลูกเสือ ซอ มเสรมิ ) 8 นางสาวอรษา เกมกาแมน คณติ ศาสตร ครูประจำชนั้ คณติ ศาสตร ป.2/1,ป.3 (แนะ ป.3/1 แนว ชมุ นมุ ลูกเสอื ซอมเสริม)

12 ท่ี ชอื่ -สกุล วิชาเอก ชน้ั ทีส่ อน วชิ าท่สี อน ช่วั โมง 9 นางสาวรมณภทั ร จนั ทรเทพ ภาษาไทย ครปู ระจำชน้ั ไทย ป.3 ประวตั ิ ป.3/1,ป.3/2 ทส่ี อน สุขศึกษา ป.3/2 25 10 นายภานุพงศ อปุ ฮาด ฟสิกส ป.3/2 (แนะแนว ชุมนุม ลูกเสอื ซอมเสรมิ ) 25 11 นายคธาวธุ คงพนั ธุ คหกรรม ครปู ระจำชน้ั วทิ ยาศาสตร ป.1-3 ประวัติ 27 12 นางนิชลุ ฎา โอภาสสุริยะ นาฏศิลป ป.3/3 ป.3/3 สขุ ศกึ ษา (ชุมนุม ลกู เสอื 20 13 นางสาวจนั ทนา บัวใย ภาษาอังกฤษ ซอมเสรมิ ) 20 ครูประจำชน้ั การงานอาชพี ป.2-6 สังคม 14 นางกรวิภา กลอมสนุ ทร ภาษาไทย ป.3/3 ป.6/3 (แนะแนว ชมุ นมุ ลูกเสอื ) 24 ศลิ ปะ-นาฎศิลป ป.4-6 25 15 นางสาวลัคนา สีสวน คอมพิวเตอร ครูประจำชนั้ 25 16 นางสาวพาฝน ปลั่งปญญา คอมพิวเตอร ป.4/1 ภาษาองั กฤษ ป.4, ป.4/3 ประวตั ิ 23 17 นางสาวกรองกาญจน สุขสม แนะแนว ป.4/1, ป.4/2 27 ครปู ระจำชน้ั (แนะแนว ชุมนุม ลกู เสอื ซอ ม 23 18 นายเจษฎา สุวรรณโน สงั คม ป.4/2 เสริม) 25 19 นางสาวจริ ชั ญา ลือกลาง ภาษาไทย ภาษาไทย ป.4,ป.5/1 ประวตั ิ ป. 25 20 น.ส.จันทรธ ดิ า กติ ิฟงุ วรกุล คณิตศาสตร ครูประจำชน้ั 4/3 (แนะแนว ชมุ นมุ ลกู เสือ 5 ป.4/3 ซอมเสรมิ ) 22 21 นายทวิ ากร เลาหสงิ ห ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร ป.4-6 (แนะแนว ครปู ระจำชนั้ ชุมนุม ลกู เสอื ซอ มเสรมิ ) 22 นางวราภรณ เนาเพช็ ร - ป.5/1 คอมพวิ เตอร ป.1 – 6 (แนะ 23 Mrs. Rose Fese Mokube English แนว ชมุ นมุ ลกู เสอื ซอมเสริม) ครปู ระจำชน้ั คณติ ศาสตร ป.4, ป.5/3 ป.5/2 (แนะแนว ชุมนุม ลกู เสอื ซอ มเสรมิ ) ครูประจำชนั้ สงั คม ป.4-6 ประวัตปิ .4-6 ป.5/3 (ชมุ นมุ ลูกเสือ ซอ มเสรมิ ) ป.4-6 ภาษาไทย ป.5/2, ป.6 (แนะแนว ชมุ นุม ลูกเสอื ซอ มเสริม) ครูประจำชน้ั คณิตศาสตร ป.5/1,ป.5/2, ป.6 ป.6/1 (แนะแนว ชมุ นุม ลูกเสอื ซอ มเสริม) ครูประจำชน้ั ภาษาองั กฤษ ป.5-6 ป.6/2 (แนะแนว ชุมนมุ ลกู เสอื ซอมเสริม) ครูประจำชน้ั คณติ ศาสตร ป.2/2,ป.2/3 ป.6/3 ภาษาองั กฤษ - อนบุ าล-ป.6

13 ตารางที่ 9 ผลการประเมินพัฒนาการเดก็ นักเรียนช้นั อนุบาลปท ่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2563 นกั เรียนชนั้ อนุบาลท่ี 3 ทเ่ี ขารบั การประเมนิ จำนวน 52 คน ผลการประเมนิ ของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ พฒั นาการ ดี ปานกลาง ควรสงเสริม จำนวน รอ ยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ ดานรางกาย 45 86.53 7 13.46 0 0.00 ดา นอารมณและจติ ใจ 44 84.61 8 15.38 0 0.00 ดานสงั คม 39 75 13 25 0 0.00 ดานสตปิ ญญา 35 67.30 17 32.69 0 0.00 คา เฉล่ียพฒั นาการทั้ง 4 ดา น 78.36 21.63 0.00 ตารางที่ 10 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 – 6 ปการศกึ ษา 2563 ผลการประเมิน ระดับชั้น จำนวน ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผ า น นักเรียน 0 0 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 69 58 10 1 0 75 70 5 0 0 ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 2 78 71 8 0 0 0 ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3 69 60 6 3 0 ชัน้ ประถมศึกษาปท.่ี 4 76 48 25 2 0 ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 66 40 25 1 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 รวม 433 347 79 7 รอยละ 100.00 80.14 18.24 1.62 ระดบั ดีขน้ึ ไป 98.38

ตารางท่ี 11 ผลการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียนในระดบั ดขี น้ึ ไป 14 ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที่ 1 – 6 ปการศกึ ษา 2563 ไมผา น ระดบั ชนั้ จำนวนนกั เรียน ดีเยีย่ ม ผลการประเมิน 1 24 - ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 69 52 ดี ผา น - ชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 75 35 29 15 - ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 79 50 20 3 - ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 69 35 35 9 - ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 75 12 15 4 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 66 208 36 4 0.22 433 48.04 52 2 รวม 100.00 187 37 รอยละ 43.19 8.55 ระดบั ดขี ึน้ ไป 91.23 ตารางที่ 12 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 8 สาระการเรยี นรู ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 1 – 6 ปการศกึ ษา 2563 จำนวน ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 1 จำนวน รอ ยละนักเรียน กลุม สาระการ ทีเ่ ขา จำนวนนกั เรยี นที่มผี ลการเรยี นรู นกั เรียนทไี่ ด ทไ่ี ดร ะดบั 3 เรยี นรู สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 ขึ้นไป ขึ้นไป 1. ภาษาไทย 69 1 0 5 10 15 10 10 18 38 55.07 2. คณติ ศาสตร 69 1 3 3 6 9 9 13 25 47 68.12 3. วทิ ยาศาสตร 69 1 0 0 14 13 8 15 18 41 59.42 4. สงั คมฯ 69 1 2 3 4 12 12 14 21 47 68.12 5.ประวัตศิ าสตร 69 1 0 5 5 11 15 11 21 47 68.12 6. สขุ - พลศึกษา 69 1 0 0 0 0 7 17 44 68 98.55 7. ศิลปะ 69 1 0 0 0 0 5 9 54 68 98.55 8. การงานอาชีพ 69 1 0 0 0 0 7 31 30 68 98.55 9.ภาษาตา งประเทศ 69 1 0 15 13 16 16 3 5 24 34.78

15 ตารางท่ี 13 ผลการประเมินการทดสอบระดบั ชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3 ปก ารศึกษา 2563 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ดา นภาษาไทย ดานคณิตศาสตร รวมทัง้ 2 ดา น 40.39 29.76 35.07 โรงเรยี น 44.31 เขต 47.46 34.69 39.50 ประเทศ 40.47 43.97 โรงเรียน เขต ประเทศ ตารางท่ี 14 การเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 3 ระหวางปก ารศกึ ษา 2561 – 2563 สมรรถนะ ปก ารศกึ ษา 2561 ปก ารศกึ ษา 2562 ปก ารศกึ ษา 2563 ดานภาษาไทย 54.78 44.68 40.39 ดา นคณติ ศาสตร 41.90 39.45 29.76 รวม 2 สมรรถนะ 48.34 42.07 35.07

16 ตารางที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ระดบั ช้ัน ป. 6 ปการศกึ ษา2563 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2563 80 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร 60 67.17 58.75 28.75 41.77 40 20 0 คะแนนเฉล่ยี ตารางท่ี 16 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ปก ารศึกษา2561 - 2563 รายวิชา ปการศกึ ษา 2561 คะแนนเฉลยี่ ปการศกึ ษา 2563 ภาษาไทย 63.52 ปการศกึ ษา 2562 67.17 ภาษาอังกฤษ 41.69 58.75 คณติ ศาสตร 37.92 60.85 28.75 วทิ ยาศาสตร 42.60 39.82 41.77 46.43 31.16 49.11 เฉลย่ี 38.30 42.53 70 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร 60 63.52 37.92 42.6 41.69 50 60.85 39.82 31.16 38.3 40 67.17 58.75 28.75 41.77 30 20 10 0 ปก ารศกึ ษา 2561 ปก ารศึกษา 2562 ปก ารศกึ ษา 2563 ปก ารศกึ ษา 2561 ปก ารศึกษา 2562 ปการศกึ ษา 2563

17 ตารางที่ 17 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย ปการศึกษา 2563 มาตรฐานการศึกษา คะแนน ระดับ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก รอยละ คณุ ภาพ 1.1 มพี ัฒนาการดา นรา งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดแู ล 98.60 ยอดเย่ียม ความปลอดภยั ของตนเองได 100 ยอดเยย่ี ม 1.2 มีพฒั นาการดา นอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออก ทางอารมณได 99.11 ยอดเยย่ี ม 1.3 มพี ัฒนาการดา นสงั คม ชว ยเหลือตนเอง และเปนสมาชิกที่ดี ของสังคม 99.00 ยอดเย่ียม 1.4 มีพัฒนาการดา นสตปิ ญ ญา สอ่ื สารได มที ักษะการคิดพ้ืนฐาน และ แสวงหาความรไู ด 96.28 ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 87.08 ดเี ลศิ 2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ดาน สอดคลองกับบริบทของ 92.20 ทอ งถิน่ 93.80 ยอดเยี่ยม 2.2 จัดครใู หเ พียงพอกับช้นั เรียน 86.00 ยอดเยยี่ ม 2.3 สงเสรมิ ใหค รูมคี วามเชีย่ วชาญดา นการจดั ประสบการณ คะแนน รอยละ ดเี ลศิ มาตรฐานการศกึ ษา 83.00 ระดับ 2.4 จัดสภาพแวดลอมและส่อื เพอ่ื การเรยี นรู อยางปลอดภัย และ คุณภาพ เพียงพอ 78.40 ดีเลศิ 2.5 ใหบริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู พ่ือสนับสนุน การจดั ประสบการณ 89.40 ดี 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปด โอกาสใหผ ูเ กี่ยวของทกุ ฝาย 90.00 มสี วนรว ม 85.00 ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณที่เนนเดก็ เปน สำคญั ยอดเยี่ยม 3.1 จดั ประสบการณทสี่ ง เสริมใหเ ด็กมีพัฒนาการทุกดา นอยา งสมดุลเต็ม 92.00 ศักยภาพ ดเี ลศิ 3.2 สรา งโอกาสใหเด็กไดร บั ประสบการณต รง เลน และปฏิบตั ิอยาง 100 มีความสขุ ยอดเยี่ยม 3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอื้อตอการเรียนรูใชส ือ่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสม 83.00 กับวยั 91.89 ยอดเยยี่ ม 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเด็ก ดีเลศิ ยอดเย่ียม สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา

18 ตารางท่ี 18 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 มาตรฐานการศึกษา คะแนน ระดับ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรียน รอ ยละ คณุ ภาพ 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู รียน 83.56 ดีเลิศ 1.1.1 มีความสามารถในการอาน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ 79.87 1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย 76.91 ดี แลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และแกป ญหา 78.06 ดี 1.1.3 มีความสามารถในการสรางนวตั กรรม 81.29 ดี 1.1.4 มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 88.22 ดเี ลิศ 1.1.5 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 73.21 ดเี ลิศ 1.1.6 มคี วามรู ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติท่ีดตี องานอาชีพ 81.52 ดี คะแนน ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษา รอ ยละ ระดบั 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของผูเรยี น 87.24 คณุ ภาพ 1.2.1 การมีคุณลักษณะและคานยิ มทีด่ ีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด 91.69 ดีเลิศ 1.2.2 ความภมู ใิ จในทองถิ่นและความเปน ไทย 91.92 ยอดเยยี่ ม 1.2.3 การยอมรับทจี่ ะอยรู ว มกันบนความแตกตา งและหลากหลาย 83.37 ยอดเยีย่ ม 1.2.4 สุขภาวะทางรางกาย และจติ สังคม 81.99 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผูบริหารสถานศึกษา 84.77 ดเี ลิศ 2.1 มเี ปา หมายวิสัยทัศนแ ละพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน 84.05 ดีเลิศ 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 87.17 ดีเลศิ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการทเ่ี นน คณุ ภาพผเู รียนรอบดา น ตามหลกั สูตร 85.89 ดีเลศิ สถานศึกษา และทุกกลมุ เปาหมาย 85.14 ดเี ลิศ 2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหมคี วามเชยี วชาญทางวชิ าชพี 82.74 ดีเลศิ 2.5 จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อตอการจดั ดเี ลิศ การเรียนรูอยางมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ 83.64 ดีเลศิ เรยี นรู 82.82 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเ รยี นเปนสำคัญ 82.89 ดเี ลศิ 3.1 การจัดการเรยี นรผู านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ สามารถนำไป 80.29 ดเี ลศิ ประยกุ ตใ ชในการดำเนินชวี ติ 83.74 ดเี ลศิ 3.2 ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงการเรียนรูท่ีเอื้อตอ การเรียนรู 85.08 ดเี ลศิ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 82.11 ดเี ลศิ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยางเปน ระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเ รียน 83.72 ดเี ลิศ 3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูและใหข อมลู สะทอนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรูที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา

19 การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ( พ.ศ. 2554 – 2558 ) ตารางท่ี 19 ตารางสรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจำแนกตามกลุม่ ตวั บง่ ช้ี การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน: ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั น้ำหนกั คะแนน ระดบั คะแนน ท่ีได้ คุณภาพ กลมุ่ ตวั บง่ ชีพ้ ืน้ ฐาน ดีมาก ดี ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายสมวัย 5.00 4.50 ดี ดี ตัวบ่งชท้ี ี่ 2 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวัย 5.00 4.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3 เดก็ มีพัฒนาการด้านสงั คมสมวยั 5.00 4.00 พอใช้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปญั ญาสมวยั 10.00 8.50 ดี ตวั บ่งชที้ ี่ 5 เดก็ มคี วามพร้อมศกึ ษาต่อในข้ันตอ่ ไป 10.00 10.00 ดีมาก ตัวบง่ ชที้ ี่ 6 ประสทิ ธิผลการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทเ่ี น้นเด็ก ดี เปน็ สำคญั 35.00 24.00 ดี ตัวบง่ ชที้ ่ี 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นา ดีมาก สถานศกึ ษา 15.00 11.50 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ่ี 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน 5.00 4.85 ดี กลุ่มตัวบง่ ชีอ้ ตั ลักษณ์ ตวั บ่งชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ของการจดั ต้ังสถานศกึ ษา 2.50 2.00 ตัวบง่ ชที้ ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจุดเด่นทสี่ ง่ ผลสะทอ้ น เปน็ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา 2.50 2.00 กลมุ่ ตวั บ่งช้ีมาตรการส่งเสริม ตวั บง่ ชท้ี ่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่ือสง่ เสริม บทบาทของสถานศึกษา 2.50 2.50 ตวั บง่ ชที้ ่ี 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาส่คู วามเปน็ เลศิ ทส่ี อดคลอ้ ง 2.50 2.50 กบั แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 80.35 การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวยั • ผลคะแนนรวมทกุ ตวั บง่ ชี้ ต้งั แต่ 80 คะแนนข้ึนไป  ใช่  ไม่ใช่  ไม่ใช่ • มีตวั บ่งชที้ ่ีได้ระดบั ดีข้ึนไปอย่างน้อย 10 ตวั บง่ ชี้ จาก 12 ตวั บ่งชี้  ใช่  ไมใ่ ช่ • ไมม่ ตี ัวบ่งชีใ้ ดท่มี รี ะดับคณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรงุ หรอื ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ด่วน  ใช่ ในภาพรวมสถานศกึ ษาจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวยั  สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

20 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ( พ.ศ. 2554 – 2558 ) ตารางที่ 20 ตารางสรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกจำแนกตามกลุมตวั บง ช้ี การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน : ประถมศกึ ษา นำ้ หนกั คะแนน ระดับ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ( ประถมศกึ ษา ) คะแนน ท่ีได คณุ ภาพ ดีมาก กลมุ ตัวบงชพ้ี ้นื ฐาน 10.00 9.43 ดมี าก ตวั บงช้ีที่ 1 ผเู รยี นมสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี ตัวบงชท้ี ่ี 2 ผเู รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พงึ ประสงค 10.00 9.10 ดี ตวั บง ชท้ี ่ี 3 ผูเ รยี นมีความใฝร ู และเรียนรูอยา งตอเนื่อง 10.00 7.61 ดีมาก ตัวบงชี้ที่ 4 ผูเรียนคดิ เปน ทำเปน 10.00 9.29 พอใช ตัวบงชท้ี ี่ 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู รยี น 20.00 9.53 ดมี าก ตัวบง ชี้ที่ 6 ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรยี นเปน สำคัญ 10.00 9.00 ดมี าก ตวั บงชี้ท่ี 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 4.80 ดีมาก ตวั บงช้ีที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศกึ ษาและตนสงั กัด 5.00 4.64 ดี กลุมตวั บง ช้อี ัตลักษณ ดมี าก ตวั บง ชี้ที่ 9 ผลการพฒั นาใหบรรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทศั น พันธกิจ และวัตถุประสงคของการจดั ต้ังสถานศึกษา 5.00 5.00 ตวั บง ชที้ ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจุดเนน และจดุ เดน ท่สี งผลสะทอน เปน เอกลักษณของสถานศึกษา 5.00 5.00 การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ( ประถมศึกษา ) นำ้ หนัก คะแนน ระดับ คะแนน ทไ่ี ด คุณภาพ กลมุ ตวั บง ช้มี าตรการสงเสริม ตวั บง ชท้ี ่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสงเสรมิ บทบาท ของสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดมี าก ตวั บง ชีท้ ี่ 12 ผลการสงเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสคู วามเปน เลศิ ทสี่ อดคลอง 5.00 5.00 ดีมาก กับแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา คะแนนรวม 100.00 82.40 ดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาประถมศกึ ษา • ผลคะแนนรวมทกุ ตวั บง ช้ี ตั้งแต 80 คะแนนขนึ้ ไป  ใช  ไมใช • มีตัวบง ช้ีท่ีไดระดับดขี ึ้นไปอยางนอ ย 10 ตัวบง ชี้ จาก 12 ตวั บงชี้  ใช  ไมใ ช • ไมมีตวั บงชใ้ี ดท่มี ีระดับคุณภาพตองปรับปรุงหรอื ตอ งปรบั ปรงุ เรง ดวน  ใช  ไมใช ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน : ระดบั การศกึ ษาประถมศกึ ษา  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไมส มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

21 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการปการศกึ ษา 2563 ตารางท่ี 21 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ งานบริหารงานวชิ าการ ผลการดำเนนิ การตาม ผลสำเรจ็ โครงการ คาเปาหมาย ของงานคิด ท่ี ชื่อโครงการ/กิจกรรม สำเร็จ บาง ดำเนิน (รอยละ) เปนรอ ยละ สวน การตอ 1 โครงการยกระดับคุณภาพผลสมั ฤทธ์ทิ างการ 80/ 92.00 เรียน 8 กลมุ สาระการเรยี นรู   NT, O-NET 2 โครงการหองสมุดสกู ารเรยี นรู   80 88.00 3 โครงการการนอมนำหลักปรชั ญาของ   80 94.00 เศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศกึ ษา  80 90.00 4 โครงการพฒั นาทกั ษะการใช ICT. เพือ่ การ  เรยี นรขู องนักเรียน 5 โครงการสงเสรมิ การเรยี นรูแบบเตม็ สะเต็ม   80 96.00 (STEM Education) 6 โครงการสง เสรมิ ความสามารถในการส่ือสาร   65 90.00 ภาษาอังกฤษ 7 โครงการภาษาองั กฤษเพ่อื ทกั ษะชีวติ   70 90.00 8 โครงการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน  70 62 กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร 9 โครงการสง เสรมิ การเรยี นรูจ ากภมู ิปญ ญาทองถ่ิน   80 80.00 10 โครงการสงเสรมิ การทำวิจัยเพือ่ แกไ ขปญหา   80 81.33 และพัฒนาการเรยี นการสอน 11 โครงการสง เสริมการจัดกจิ กรรมลดเวลา   80 88.00 เรยี น เพ่ิมเวลารู   80 90.00 12 โครงการสปั ดาหวันวทิ ยาศาสตร 13 โครงการสง เสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรสู ู   80 84 อาเซยี น 14 โครงการนิเทศการเรยี นการสอนภายในโรงเรยี น   80 92 15 โครงการทศั นศกึ ษา   80 94.00 16 โครงการปจ ฉมิ นเิ ทศนักเรียน   80 94.00 17 โครงการการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา   80 92.00 18 โครงการพฒั นาหลักสตู ร   80 94.00 19 โครงการสง เสริมศลิ ปวฒั นธรรมไทย   80 92.00 เฉลีย่ รอยละ 88.39

22 สรุปผลการดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปการศึกษา 2563 ท่ีสนบั สนุนงานดานวิชาการ ของสถานศึกษา จำนวน 19 โครงการ เปนโครงการสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทั้งกอน ประถมและระดับประถมศึกษา ใหไดพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ ทางดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และ สติปญญา ใหความรูความสามารถตามหลักสูตร สงเสริมการอานออกเขียนได อานคลองเขียนคลอง ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทุกกลุมสาระ สงเสริมนิสยั รักการอาน การเรียนรูดวยตน เอง การแสวงหา ความรูทั้งภายในและภายนอก สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการเรียนรู ในศตวรรษที่ 21 การคิด วิเคราะห การแกปญหา การปฏิบัติจริง ( Active learning ) สงเสริมใหผูเ รียนมีความมั่นใจในการใชภ าษา สอ่ื สารกับชาวตางชาติ สงเสริมการผลิต จัดหา และใชสอื่ เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ผลการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนงานดานวิชาการ มีผลการดำเนินงานที่บรรลุวัตถุประสงค ตามเปาหมายทว่ี างไว จำนวน 18 โครงการของโครงการในงานวชิ าการทง้ั หมด 19 โครงการ คดิ เปนคารอย ละ 94.74 และสวนโครงการที่ยังไมบรรลุไดตามเปาหมายที่วางไว จำนวน 1 โครงการ คิดเปนคารอยละ 5.26 สรุปผลการดำเนินงานโครงการที่บรรลุเปาหมาย ผลสำเสร็จของการดำเนินงานคิดเปนคารอยละ 88.59 อยใู นระดับคุณภาพ ดเี ลิศ จากผลการประเมินการดำเนินงานโครงการที่สนบั สนนุ งานดานวิชาการ สถานศึกษาจะนำผลไปใชในการวิเคราะหเพื่อปรับปรุงการจัดทำโครงการในปการศึกษา 2564 เพ่ือ พฒั นาการจัดการศกึ ษาตอไป ตารางท่ี 22 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการงานบรหิ ารทัว่ ไป ผลการดำเนนิ การตาม ผลสำเรจ็ โครงการ คา ของงานคิด ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม สำเร็จ ยงั ไมได ดำเนิน เปาหมาย เปนรอยละ ดำเนิน การตอ (รอ ยละ) การ 1 โครงการสง เสรมิ การมสี วนรวมของ  -  80 92.00 คณะกรรมการสถานศึกษาผูปกครองและ ชุมชนในการจัดการศึกษา 2 โครงการการพัฒนาสง เสรมิ กิจกรรม  -  100 94.00 ลูกเสอื -เนตรนารี 3 โครงการพฒั นางานสารสนเทศเพื่อระบบ  -  80 92.00 บรหิ ารจดั การศึกษา 4 โครงการสง เสริมคุณธรรมจริยธรรมและ  -  80 84.00 คุณลักษณะท่พี ึงประสงคของผเู รียน 5 โครงการธนาคารขยะรีไซเคลิ  -  80 84.00 6 โครงการระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรยี น  -  90 93.33

23 ผลการดำเนินการตาม ผลสำเรจ็ โครงการ คา ของงานคดิ ที่ ช่อื โครงการ/กิจกรรม สำเร็จ ยังไมได ดำเนิน เปา หมาย เปน รอยละ ดำเนิน การตอ (รอยละ) การ 7 โครงการปอ งกนั และแกไขปญหายาเสพ  -  100 90.00 ติด 8 โครงการ Start Up ตามรอยพอ (ออม  -  80 82.00 ทรัพย) 9 โครงการสง เสริมกีฬา-กรีฑาของโรงเรียน  -  80 86.00 11 โครงการสงเสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน  -  80 98.00 12 โครงการอนรุ ักษแ ละพัฒนาส่ิงแวดลอ ม  -  90 98.00 ภายในโรงเรยี นและชุมชน 13 โครงการพฒั นาแหลง เรียนรูและ  -  80 86.00 สภาพแวดลอ มในโรงเรยี นเพื่อเอ้ือตอการ พฒั นานักเรียน 14 โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาเรยี น  -  86.00 รวม (สำหรับเด็กท่ีมคี วามตอ งการพเิ ศษ) 80 15 โครงการอนามัยโรงเรียน  -  80 82.00 16 โครงการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับ  -  80 96.00 สถานการณการแพรระบาดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID19) เฉล่ยี รอยละ 89.56 สรุปผลการดำเนินงาน การดำเนนิ งานโครงการตามแผนปฏบิ ัติการ ประจำปก ารศกึ ษา 2563 ที่สนับสนุนงานดาน บริหารทั่วไป จำนวน 16 โครงการ เปนโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานการบริหารจัดการศึกษาใหมี คุณภาพพัฒนาการบริหารจัดการ โดยเนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ไดแกโครงการการมีสวนรวม ของคณะกรรมการสถานศึกษาและผูปกครอง สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดแก โครงการ พฒั นาสง เสริมกจิ กรรมลูกเสอื – เนตรนารี โครงการสงเสริมปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม ความรักชาติศาสนา พระมหากษัตริย รักความเปนไทย รักสิ่งแวดลอม และดำเนินชีวิตตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมใหผูเรียนไดรับความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางเต็ม ศักยภาพ โดยมีระบบดูแลชว ยเหลือการจัดการศกึ ษาเรยี นรวม ( สำหรับเดก็ ที่มีความตองการพิเศษ ) ใหได เรียนอยางเสมอภาคและเรียนรวมกับนักเรียนปกติ และสงเสริมการมีสุขภาพที่ดีของนักเรียนดานการกีฬา และการออกกำลังกาย การสรางภูมิคุมกันดานจิตใจ ใหเขมแข็ง ปองกัน และเฝาระวังยาเสพติดใน สถานศกึ ษา

24 ผลการดำเนินงาน โครงการที่สนับสนุนงานดานบริหารทั่วไป มีผลการดำเนินงานที่บรรลุ เปาหมายที่วางไวจำนวน 14 โครงการ ของโครงการในงานดานบริหารทั่วไป จำนวน 16 โครงการคิดเปน คาเฉลี่ยรอยละ 87.50 สรุปผลการดำเนินงานโครงการที่ดำเนินงานบรรลุเปาหมายที่วางไวคิดเปนคาเฉลี่ย รอยละ 89.18 อยูในระดับคุณภาพ ดีเลิศ ผลการดำเนินงานโครงการ ที่สนับสนุนงานดานบริหารทั่วไป สถานศึกษาจะนำผลไปวิเคราะห ปรับปรุงพัฒนากิจกรรมโครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาใน ปก ารศึกษา 2564 ตอไป ตารางที่ 23 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการบคุ ลากร ผลการดำเนนิ การตาม ผลสำเรจ็ ของ โครงการ งานคดิ เปน คา เปาหมาย สำเรจ็ ยังไมไ ด ดำเนนิ รอยละ ท่ี ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม ดำเนนิ (รอ ยละ) การ การตอ 86.00 98.00 1 โครงการพฒั นาบุคลากรในสถานศกึ ษา  -  95 92.00 2 โครงการพฒั นาศักยภาพสูค รูมืออาชีพ  -  80 โดยการขับเคล่ือนกระบวนการ “ชมุ ชนแหงการเรยี นรู”สูสถานศกึ ษา เฉลี่ยรอยละ สรุปผลการดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปก ารศึกษา 2563 ทส่ี นับสนนุ งานดานบคุ ลากร มีจำนวน 2 โครงการ มุงเนนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนผูมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครู สงเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยสงเสริมการอบรม ศึกษาดูงาน การจัดการเรียนการ สอน งานสงเสริมพัฒนาใหครูขับเคลื่อนการใชPLC ชุมชนแหงการเรียนรูและสงเสริมการใชเทคโนโลยีใน การเรียนการสอน ผลการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนงานดานบุคลากร ที่บรรลุตามเปาหมายที่วางไว จำนวน 1 โครงการของโครงการในงานบุคลากร จำนวน 2 โครงการ คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 50.00 สรุปผลการ ดำเนินงานโครงการที่บรรลุเปาหมาย ผลสำเร็จคิดเปนรอยละ 98.00 อยูในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม จากผลการประเมินการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนงานดานบุคลากร สถานศึกษาจะนำผลไปใชในการ วิเคราะห เพ่ือปรบั ปรุงพฒั นากิจกรรมโครงการเก่ียวกับบคุ ลากรและบุคลากรทางการศกึ ษา ใหไดมาตรฐาน วชิ าชีพครู ในปการศึกษา 2564 ตอ ไป

25 ตารางท่ี 24 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการงานบรหิ ารงบประมาณ ผลสำเรจ็ ผลการดำเนนิ การตาม โครงการ คาเปาหมาย ของงานคิด ที่ ช่ือโครงการ/กิจกรรม สำเรจ็ ยงั ไมได ดำเนิน (รอยละ) เปนรอยละ ดำเนิน การตอ การ 1 โครงการจัดหาซอมแซมวสั ดุครภุ ณั ฑแ ละจัด  -  80 88.00 ระบบงานพสั ดุใหม ีประสทิ ธภิ าพ 2 โครงการพฒั นาระบบการเงนิ และการบัญชี  -  80 90 เฉลย่ี รอยละ 89.00 สรุปผลการดำเนนิ งาน การดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปการศึกษา 2563 ที่สนับสนุนงานดาน งบประมาณ มีจำนวน 2 โครงการ ที่สงเสริมการพัฒนาระบบการเงินและการบัญชี พัฒนาระบบบริหาร จัดการเนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา การพัฒนาระบบการบริหารงบประมาณใหสามารถใชใหเกิด ประโยชนสูงสุดและโปรงใสถูกตอง สรางความเสมอภาคและโอกาสใหผูเรียนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยางเต็มศักยภาพ จดั หาวสั ดอุ ุปกรณ สอื่ ครุภัณฑ สำหรบั การปฏบิ ัติงานและการเรยี นการสอน และพัฒนา ปรับปรงุ ซอ มแซมวัสดุ ครภุ ณั ฑ และระบบงานพัสดุ ผลการดำเนินงาน โครงการทีส่ นับสนุนงานดานงบประมาณ ที่บรรลุตามเปาหมายที่วางไว จำนวน 2 โครงการ ของโครงการในงานดานงบประมาณทั้งหมด จำนวน 2 โครงการ คิดเปนรอยละ 100 สรุปผล การดำเนินงานของโครงการท่ีบรรลุตามเปาหมาย ผลสำเร็จของการดำเนินงานคิดเปนรอ ยละ 89.00 อยูใน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ จากผลการประเมินการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนงานดานงบประมาณ สถานศึกษาจะนำผลไปใชในการวิเคราะห เพื่อปรับปรุง พัฒนาการจัดโครงการในปการศึกษา 2564 เพื่อ พัฒนาการจัดการศกึ ษาตอ ไป

26 ตารางที่ 25 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการระดบั ปฐมวยั ผลสำเร็จ ผลการดำเนนิ การตาม ของงาน โครงการ คา เปาหมาย คิดเปน ท่ี ชื่อโครงการ/กจิ กรรม สำเรจ็ ยังไมได ดำเนนิ (รอ ยละ) รอ ยละ ดำเนนิ การตอ 92.00 การ 80 96.00 1 โครงการพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั สู - 80 92.00 มาตรฐานการศึกษา 80 98.50 2 โครงการOpen House ปฐมวยั - 80 88.00 3 โครงการผลติ สือ่ สรางสรรคตามหนวยการ  -  80 86.00 เรยี นรูป ฐมวยั ปก ารศึกษา2563 80 82.00 4 โครงการสง เสรมิ กระบวนการบริหารและ  -  80 90.00 การจัดการ 80 74.00 5 โครงการนทิ านสุขหรรษา - 80 87.33 6 โครงการบา นวิทยาศาสตรน อ ย - 7 โครงการปฐมวัยเด็กดีศรบี งึ เขายอ น - (หลักสูตรตานทจุ ริตปฐมวยั ) 8 โครงการหนูนอยจติ สาธารณะ - 9 โครงการสงเสรมิ การจดั ประสบการณท่เี นน  -  เดก็ เปนสำคัญ เฉล่ียรอยละ สรุปผลการดำเนนิ งาน การดำเนินงานโครงการตามปฏิบตั ิการ ประจำปการศึกษา 2563 ที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย จำนวน 9 โครงการ ที่สงเสริมการจัดกจิ กรรมใหเ ปนไปตามหลักสูตรปฐมวยั พุทธศักราช 2546 ที่มุงเนนการพัฒนาเด็กปฐมวัยในการเตรียมความพรอม ใหมีความสมบูรณทั้งรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญ ญา มีความรูคูคณุ ธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถ อยูร วมกบั ผอู นื่ ไดอยา งมคี วามสุข และสงเสรมิ ใหม ีการพฒั นาเดก็ อยางเตม็ ตามศกั ยภาพ ผลการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ผูเรียนระดับปฐมวัย ที่บรรลุ เปา หมาย จำนวน 7 โครงการ จากจำนวนโครงการท้งั หมด 8 โครงการ คิดเปน คา เฉล่ียรอยละ 87.50 สรุปผลการดำเนินงานโครงการที่บรรลุเปาหมาย มีผลสำเร็จของการดำเนินงาน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 90.56 อยูในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม จากผลการประเมินการดำเนินงานโครงการที่สนับสนุนกิจกรรมการ จดั การเรยี นการสอน การศึกษาระดบั ปฐมวัย สถานศึกษาจะนำผลไปใชใ นการวเิ คราะหเ พื่อพัฒนา ปรับปรุง โครงการในปการศึกษา 2564 เพือ่ พฒั นาการจัดการศึกษาตอ ไป

27 ตารางที่ 26 รายละเอียดงบประมาณ ปงบประมาณ 2563 จำนวนเงิน (บาท) หมายเหตุ ที่ รายการ 164,900 1,700 บาท : ป : คน 1 เงินอุดหนนุ รายหวั 824,600 1,900 บาท : ป : คน 29,100 300 บาท : ป : คน 1.1 ชนั้ อนบุ าล จำนวน 97 คน 156,240 360 บาท : ป : คน 1.2 ช้ันประถมศกึ ษา ป.1 – 6 จำนวน 434 คน 19,400 200 บาท : ป : คน 2 เงินอุดหนุนคา ใชจายเรียนฟรี 15 ป 169,260 390 บาท : ป : คน 2.1 คาเครื่องแบบนกั เรยี นกอ นประถมศึกษา 41,710 430 บาท : ป : คน 2.2 คาเครอื่ งแบบนกั เรยี นประถมศึกษา 208,320 480 บาท : ป : คน 2.3 คาอปุ กรณก ารเรียนกอนประถมศึกษา 217,000 500 บาท : ป : คน 2.4 คาอุปกรณการเรยี นประถมศึกษา 2.5 คากจิ กรรมพัฒนาผเู รียนกอนประถมศกึ ษา 2.6 คา กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นประถมศกึ ษา 3 เงนิ รายไดส ถานศึกษา เงินสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ตารางที่ 27 แสดงเงินนอกงบประมาณจากองคการบริหารสวนตำบลคลองสี่ หมายเหตุ ที่ รายการ จำนวนเงิน (บาท) 1 งบอาหารกลางวนั จำนวนนักเรยี น 534 คน 2,136,000 บาท 20 บาท : คน x 200 วัน 2 งบอาหารเสริมนม จำนวนนักเรยี น 534 คน 131,320 บาท 3 งบจางครูสอนภาษาอังกฤษ 200,00 บาท 20,000 บาท : เดอื น x 10 เดือน ตารางท่ี 28 แสดงการประมาณการรายจา ย จำนวนเงนิ (บาท) หมายเหตุ ท่ี รายการ 180,000 บาท 15,000 x 12 เดือน 1 จา งครูสอนจำนวน 1 คน 20,000 บาท 2 สนบั สนุนจา งครสู อนภาษาองั กฤษ 700,000 บาท 3 คา สาธารณูปโภค

28 โครงสรางขอบขายการบริหารงานโรงเรยี นบงึ เขายอ น(คงพันธุอ ปุ ถัมภ) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน คณะกรรมการตวั แทน คณะกรรมการท่ีปรกึ ษา ผปู กครองนักเรยี น การบรหิ ารงานวชิ าการ การบรหิ ารงานบุคลากร การบรหิ ารงานงบประมาณ การบริหารท่ัวไป 1.การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ 1.การวางแผนอตั รากาํ ลงั 1.จดั ทาํ แผนงบประมาณและคาํ ขอ 1.การพฒั นาระบบและขอ้ มลู 2.การจดั การเรยี นการสอนใน 2.การจดั สรรอตั รากาํ ลงั ขา้ ราชการครู ตง้ั งบประมาณเพ่อื เสนอตอ่ เครือข่ายสารสนเทศ สถานศึกษา และบคุ ลากรทางการศึกษา หนว่ ยงานแลว้ แตก่ รณี 2.การประสานงานและพฒั นา 3.การพฒั นาหลกั สตู รของ 3.การเปลยี่ นตาํ แหนง่ การยา้ ย 2.จดั ทาํ แผนการใชจ้ ่ายเงินตามท่ี เครือข่ายการศกึ ษา สถานศึกษา ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณจากสพฐ. 3.วางแผนบรหิ ารงานการศกึ ษา 4.การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 4.การดาํ เนินการเลอื่ นขนั้ เงินเดอื น โดยตรง 4.วจิ ยั เพ่อื พฒั นานโยบายและแผน 5.การพฒั นาหรือการดาํ เนนิ งาน 5.การลาทกุ ประเภท 3.การอนมุ ตั กิ ารใชจ้ ่ายงบประมาณ 5.จดั ระบบบรหิ ารพฒั นาองคก์ ร เก่ียวกบั การใหค้ วามเห็นการพฒั นา 6.การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ท่ไี ดร้ บั จดั สรร 6.พฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน สาระหลกั สตู รทอ้ งถ่นิ 7.การดาํ เนนิ การทางวินยั และการลงโทษ 4.การขอโอนและการขอ 7.งานเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา 6.การวดั ผลประเมนิ ผลการเทียบ 8.การส่งั พกั และใหอ้ อกจากราชการไว้ เปลีย่ นแปลงงบประมาณ 8.การดาํ เนินงานธุรการ โอนผลการเรียน ก่อน 5.การรายงานผลการเบกิ จา่ ย 9.การดแู ลอาคารสถานทแ่ี ละ 7.การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพ 9.การรายงานการดาํ เนนิ การทางวนิ ยั งบประมาณ สภาพแวดลอ้ ม การศึกษา และการลงโทษ 6.การตรวจสอบตดิ ตามและ 10.การจดั ทาํ สาํ มะโนนกั เรียน 8.การพฒั นาและสง่ เสรมิ ใหม้ แี หลง่ 10.การออกจากราชการ รายงานการใชง้ บประมาณ 11.การรบั นกั เรียน เรียนรู้ 11.การจดั ระบบและการจดั ทาํ ทะเบยี น 7.การตรวจสอบติดตามและ 12.การเสนอความเห็นเก่ยี วกบั การ 9.การนิเทศการศึกษา ประวตั ิ รายงานการใชผ้ ลผลิตจาก จดั ตง้ั การยบุ รวมหรือเลกิ 10.การแนะแนว 12.การจดั ทาํ บญั ชรี ายช่อื ใหค้ วามเหน็ งบประมาณ สถานศกึ ษา 11.การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ การนาํ เสนอขอพระราชทาน 8.การระดมทรพั ยากรและการ 13.การประสานการจดั การศกึ ษา ภายในและมาตรฐานการศกึ ษา เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา ในระบบนอกระบบและตาม 12.การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมวิชาการให้ 13.การสง่ เสรมิ ประเมินวทิ ยฐานะ 9.การปฏิบตั งิ านอน่ื ใดตามท่ไี ดร้ บั อธั ยาศยั เขม้ แขง็ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร มอบหมายเกย่ี วกบั กองทนุ เพ่อื 14.การระดมทรพั ยากรเพ่อื 13.การประสานความรว่ มมอื ในการ 14.การสง่ เสรมิ ยกย่องเชิดชเู กียรติ การศกึ ษา การศกึ ษา พฒั นาวชิ าการกบั สถานศึกษาและ 15.การสง่ เสรมิ มาตรฐานวิชาชพี และ 10.การบริหารจดั การทรพั ยากรเพอื่ 15.การทศั นศึกษา องคก์ รอนื่ จรรยาบรรณวิชาชีพ การศึกษา 16.งานกิจการนกั เรียน 14.การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ งาน 16.การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม 11.การวางแผนพสั ดุ 17.การประชาสมั พนั ธง์ าน วชิ าการแก่บคุ คลครอบครวั องคก์ ร สาํ หรบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร 12.การกาํ หนดรูปแบบรายการหรอื การศึกษา หนว่ ยงานสถานประกอบการและ ทางการศึกษา ลกั ษณะเฉพาะของครุภณั ฑห์ รือ 18.สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสาน สถาบนั อื่นท่จี ดั การศึกษา 17.การรเิ รม่ิ ส่งเสรมิ การขอรบั ใบอนญุ าต สง่ิ กอ่ สรา้ งที่ใชเ้ งินงบประมาณเพ่อื การจดั การศกึ ษาของบคุ คล ชมุ ชน 15.การจดั ทาํ ระเบียบและแนว 18.การพฒั นาขา้ ราชครูและบคุ ลากร เสนอตอ่ องคก์ ร หนว่ ยงานและสถาบนั ปฏิบตั ิเก่ยี วกบั งานดา้ นวิชาการของ ทางการศกึ ษา 13.การพฒั นาระบบขอ้ มลู และ สงั คมอน่ื ทีจ่ ดั การศึกษา สถานศกึ ษา สารสนเทศเพื่อการจดั ทาํ และการ 19.ประสานราชการกบั ภมู ภิ าค 16.การคดั เลอื กหนงั สือ แบบเรียน จดั หาพสั ดุ และส่วนทอ้ งถ่นิ เพื่อใชใ้ นสถานศกึ ษา 14.การจดั หาพสั ดุ 20.รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 17.การพฒั นาและใชส้ ่อื เทคโนโลยี 15.ควบคมุ ดแู ลรกั ษาจาํ หนา่ ยพสั ดุ 21.ระบบควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน เพอื่ การศกึ ษา 16.การหาผลประโยชนจ์ าก 22.แนวทางการจดั กจิ กรรมเพ่ือ ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการลงโทษ นกั เรยี น

งานบรหิ ารงบประมาณ โครงสรางการบรหิ ารโรงเรีย นางสาวอญั ญามาศ วงศวัฒนวรรณ ผอู ำ นางสาวอารวี รรณ เขยี วงาม รองผูอำนวยการโรงเรยี น นางสาวพาฝน ปลงั่ ปญ ญา คณะกรรมการตวั แทนผปู กครองนกั เรยี น นายทวีโชค ฐิตมงคล งานบริหารวชิ าการ นายภานพุ งษ อปุ ฮาด นางสาวจนั ทรธ ิดา กติ ตฟิ งุ วรกลุ นางสาวรมณภัทร จันทรเทพ นางสาวอรษา เกมกาแมน นายภูเบตร ดำเนนิ ผล นางมณรี ตั น พรหมรนิ ทร นางนิชลุ ฎา โอภาสสรุ ิยะ นายทวิ ากร เลาหสิงห

29 ยนบงึ เขายอน(คงพันธอุ ุปถัมภ) ำนวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา งานบรหิ ารท่วั ไป งานบริหารบุคคล นางสาวจีราภรณ จิตรมิตร นางปราณศิ า ลเี จย วะระ นางกรวิภา กลอมสนุ ทร นางสาวลัคนา สสี ว น นางสาวจันทนา บัวใย นางศริ ิวรรณ เอ่ียมมิ นายเจษฎา สุวรรณโน นางสาววรรณนภิ า รงุ เรืองศรี นางสาวกรองกาญจน สขุ สม นายคธาวุธ คงพนั ธุ นางสาววชั รี บญุ นาค นายอนวุ ฒั น สรอ ยระยา

30 สว นท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษ วิสยั ทศั น พนั ธกจิ เปาประสงค และกลยุทธ โรงเรยี นบึงเขายอน (คงพนั ธอุ ุปถัมภ) วสิ ัยทศั น (Vision) ภายในป 2566 โรงเรียนบงึ เขายอน(คงพันธอุ ุปถัมภ) มงุ เนนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา พฒั นาคณุ ภาพครู สกู ารพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนใหไดมาตรฐานการศึกษา กา วทนั เทคโนโลยี รกั ษส ่ิงแวดลอม นอมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภายใตการมสี ว นรว มของทุกภาคสวน พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนผูที่มีความรู ความสามารถ มีสมรรถนะ ตามหลักสูตรและมาตรฐาน การศึกษา 2. สงเสริมใหผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผูนำ รักความเปนไทย ภูมิใจในทองถ่ิน และมจี ติ สำนึกในการอนรุ ักษส่งิ แวดลอม 3. สงเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และการวิจัยเพื่อ พัฒนาการจัดการเรยี นรู 4. สงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาความรู ความสามารถตามมาตรฐาน วิชาชพี 5. พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและจัด สภาพแวดลอ ม แหลง เรยี นรู ท่เี ออื้ ตอการเรียนรู 6. มุง เนนใหผ ูเรยี นมีทักษะการใชงานคอมพวิ เตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร แสวงหา และสรา งองคความรเู ตม็ ศักยภาพ 7. สง เสรมิ การใชหลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา 8. สง เสริม สนับสนนุ การมีสวนรว มในการจดั การศึกษาของชมุ ชนและองคก รตา งๆทุกภาคสว น 9. สงเสริมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปนมติ รกับสิ่งแวดลอม 10. สงเสริมการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบาย ของในหลวงรัชกาล ที่ 10 มาเปน แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ

31 เปาประสงค ( Goals ) 1. ผูเรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2. ผูเรยี นมคี ณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค และเปน คนดีตามคา นิยมหลกั 12 ประการ 3. ผูเ รียนมี ทักษะการใชง านคอมพวิ เตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสอ่ื สาร แสวงหาและ สรางองคค วามรูเต็มศักยภาพ 4. ครมู กี ระบวนการจดั การเรียนรทู ีเ่ นนผูเ รยี นเปนสำคญั และเปนครใู นศตวรรษที่ 21 5. ครูและบคุ ลกรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอยูเสมอ เปน ครดู ี มีคณุ ภาพ 6. สถานศึกษามีแหลงเรยี นรูหลากหลายเอ้อื ตอ การเรียนรูและใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการ บรหิ าร จัดการศกึ ษา 7. สถานศกึ ษามีระบบบริหารจัดการทมี่ ีคุณภาพและประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษา 8. องคก ร ภาครฐั เอกชนและชมุ ชน มีสว นรวมในการบริหารและพฒั นาสถานศึกษา 9. สถานศกึ ษาจัดใหม ีกิจกรรมปลกู จิตสำนกึ รักษาส่งิ แวดลอม 10. ผเู รยี นมีทกั ษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและตามพระบรมราโชบายของ ในหลวงรชั กาลท่ี 10 กลยุทธระดบั องคกร (Strategy) กลยทุ ธที่ 1 พฒั นาคุณภาพผูเรยี นใหเ ต็มตามศักยภาพและไดต ามมาตรฐานการศกึ ษา กลยุทธท ่ี 2 สงเสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ กลยทุ ธที่ 3 เสรมิ สรา งประสิทธภิ าพและคุณภาพการบริหารการจดั การศกึ ษา กลยทุ ธท ่ี 4 เสริมสรางการมีสวนรว มในการจัดการศึกษาของทุกภาคสวน กลยทุ ธท ่ี 5 เสริมสรางการนอมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและพระบรมราโชบายของ ในหลวงรัชกาลที่ 10 มาเปนแนวทางในการดำรงชวี ิต กลยุทธท ่ี 6 สงเสริมพัฒนาคุณภาพชวี ิตที่เปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม

32 จดุ เนนสถานศึกษา 1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 5 กลมุ สาระการเรยี นรหู ลักไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร และภาษาอังกฤษ มีการพฒั นาเพ่มิ ข้ึน 2. ผูเรยี นทุกคนมีทักษะการอา น การเขียนเชิงวเิ คราะห สรางสรรคและใฝร ูใฝเ รียนแสวงหาความรู ดวยตนเอง 3. ผูเรียนเปนผูมีสมรรถนะสำคัญและทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 (ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ทกั ษะ การคิดวเิ คราะห แกปญหา) 4. ผูเ รียนทุกคนมีคณุ ธรรม จริยธรรม ตามคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ยดึ มัน่ การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย รักความเปนไทย ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพระบรมราโชบายของ ในหลวงรัชกาลที่ 10 5. ผูเรียนไดร ับการพัฒนาศกั ยภาพในทกุ ดา นอยางเทาเทียมกันและทุกกลมุ เปา หมาย 6. หลักสูตรสถานศึกษาไดรับการพัฒนาและจัดกระบวนการเรียนการสอนที่มุงเนนนักเรียนเปน สำคญั จัดการวดั ผลและประเมินผลทม่ี คี ุณภาพ 7. ผูเรียนเปนผทู มี่ จี ติ สำนกึ ในการอนุรักษส่ิงแวดลอ ม และเปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม 8. ผูเรียนใชส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลงเรยี นรูทเี่ อ้ือตอการเรยี นรู 9. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาใหมีสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่การวิจัย การ สรา งสรรคน วตั กรรม เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และมจี รรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู 10. การบริหารและการจัดการศึกษาอยางเปนระบบตามหลักธรรมาภิบาล มีระบบการประกัน คุณภาพ ภายในสถานศึกษาที่เขมแข็ง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก และสงเสริมการพัฒนา ส่ิงแวดลอมและ แหลง การเรยี นรูท ่ีเออื้ ตอการเรยี นรู 11. สรางภาคีเครือขายเพื่อการมีสวนรวมในการพัฒนาการศึกษาใหสอดคลองกับความตองการ ของ โรงเรยี นและชุมชนกับทุกภาคสวน

33 ยทุ ธศาสตร ของแผนการศึกษาแหงชาติ 2559 – 2579 ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั การศึกษาเพื่อความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสรางขีดความสามารถในการ แขงขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรา งสังคมแหงกรเรียนรู ยทุ ธศาสตรท่ี 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทางการศึกษา ยทุ ธศาสตรท ี่ 5 การจัดการศกึ ษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม ยุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา ยุทธศาสตรท่ี 1 การจัดการศึกษาเพอ่ื ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ เปาหมายที่ 1: คนทุกชวงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข เปาหมายที่ 2: คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับ การศึกษาและเรยี นรูอยางมคี ุณภาพ เปา หมายที่ 3: คนทกุ ชวงวัยไดร บั การศึกษา การดูแลและปองกนั ภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม แนวทางการพฒั นา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ 2. ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต 3. ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนว ตะเข็บชายแดน พื้นที่เกาะแกง และชายฝงทะเล ทั้งกลุมชนตางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ ชนชายขอบ และแรงงานตา งดา ว) 4. พฒั นาการจดั การศึกษาเพื่อจัดระบบการดูแลและปองกนั ภยั คกุ คามในรูปแบบใหม ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การผลิตและพฒั นากำลังคน การวจิ ัยและนวตั กรรม เพื่อสรางขีดความสามารถในการ แขง ขนั ของประเทศ เปาหมายท่ี 1: กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของ ตลาดงานและ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ เปาหมายที่ 2: สถาบันการศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษาผลิตบณั ฑิตทีม่ ีความเชีย่ วชาญ และเปนเลศิ เฉพาะดาน เปาหมายที่ 3: การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรูและนวัตกรรมที่สรางผลผลิตและ มูลคาเพิ่มทาง เศรษฐกิจ

34 แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนากำลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความตองการของ ตลาดงานและการ พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สง เสริมการผลติ และพฒั นากำลงั คนท่ีมีความเชย่ี วชาญและเปนเลศิ เฉพาะดาน 3. สงเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อสรางองคความรูและนวัตกรรมที่สราง ผลผลิตและมูลคาเพิ่มทาง เศรษฐกิจ ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวัย และการสรางสงั คมแหงการเรยี นรู เปาหมายที่ 1: ผูเรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คุณลักษณะที่ จำเปนในศตวรรษท่ี 21 เปาหมายที่ 2: คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและ มาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตไดตามศกั ยภาพ เปาหมายท่ี 3: สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตาม หลักสูตรได อยา งมคี ุณภาพและมาตรฐาน เปาหมายท่ี 4: แหลงเรียนรู สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู มีคุณภาพและ มาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเขา ถึงไดโดยไมจ ำกดั เวลาและสถานท่ี เปา หมายท่ี 5: ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ เปา หมายที่ 6: ระบบการผลิตครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษาไดม าตรฐานระดับสากล เปา หมายท่ี 7: ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดร ับการพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1. สง เสรมิ สนบั สนุนใหคนทุกชวงวัยมที กั ษะ ความรูค วามสามารถ และ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตอยาง เหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตละชว งวยั 2. สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรู สื่อตำราเรียน และสื่อการเรียนรูตาง ๆ ใหมี คุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถงึ แหลงเรยี นรูไดโดยไมจ ำกัดเวลาและสถานที่ 3. สรางเสรมิ และปรับเปลี่ยนคา นิยมของคนไทยใหมีวนิ ยั จติ สาธารณะ และ พฤติกรรมท่พี งึ ประสงค 4. พัฒนาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวัดและประเมินผลผเู รยี นใหมี ประสิทธภิ าพ 5. พัฒนาคลังขอมูล สอ่ื และนวัตกรรมการเรียนรู ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย และบคุ ลากรทาง การศกึ ษา 7. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทางการศึกษา เปา หมายท่ี 1 : ผเู รียนทุกคนไดร บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมี คณุ ภาพ เปาหมายที่ 2 : การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศึกษาสำหรบั คนทุกชว งวยั เปา หมายท่ี 3 : ระบบขอ มูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถกู ตอ ง เปน ปจจุบัน เพ่ือ การวางแผน การบรหิ ารจัดการศึกษา การตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล

35 แนวทางการพัฒนา 1. เพมิ่ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา ถงึ การศึกษาทม่ี ีคุณภาพ 2. พฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล เพอ่ื การศึกษาสำหรบั คนทุกชว งวัย 3. พัฒนาฐานขอมูลดานการศกึ ษาทีม่ ีมาตรฐาน เชอ่ื มโยง และเขา ถึงได ยุทธศาสตรท่ี 5 การจดั การศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิต ทีเ่ ปน มติ รกับส่ิงแวดลอ ม เปาหมายที่ 1: คนทุกชวงวัย มีจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และ นำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู ารปฏิบตั ิ เปาหมายที่ 2: หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรู ที่สงเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูก ารปฏิบตั ิ เปาหมายที่ 3: การวิจัยเพื่อพัฒนาองคค วามรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิต ที่เปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอม แนวทางการพัฒนา 1. สง เสริม สนับสนนุ การสรา งจติ สำนกึ รักษสงิ่ แวดลอม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนำแนวคดิ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก ารปฏิบัตใิ นการดำเนนิ ชีวติ 2. สง เสรมิ และพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู แหลง เรยี นรู และ ส่ือการเรียนรตู าง ๆ ทีเ่ ก่ียวของ กับการสรา งเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอม 3. พัฒนาองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรม ดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิต ที่เปนมิตรกับ สง่ิ แวดลอ ม ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา เปา หมายท่ี 1: โครงสรา ง บทบาท และระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา มคี วามคลอ งตัว ชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได เปาหมายที่ 2: ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผลตอ คุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา เปาหมายท่ี 3: ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการ ของ ประชาชนและพนื้ ที่ เปาหมายที่ 4: กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับ ลักษณะที่แตกตาง กนั ของผเู รยี น สถานศกึ ษา และความตอ งการกำลงั แรงงานของประเทศ เปา หมายที่ 5: ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มคี วามเปนธรรม สราง ขวัญกำลงั ใจ และสง เสรมิ ใหป ฏิบตั ิงานไดอ ยา งเตม็ ตามศักยภาพ แนวทางการพัฒนา 1. ปรับปรงุ โครงสรา งการบรหิ ารจดั การศกึ ษา 2. เพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศกึ ษา 3. สง เสรมิ การมสี วนรวมของทกุ ภาคสว นในการจดั การศึกษา 4. ปรบั ปรุงกฎหมายเกีย่ วกับระบบการเงนิ เพ่ือการศึกษาทีส่ งผลตอคุณภาพและ ประสิทธิภาพการจัด การศึกษา 5. พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

36 จดุ เนนกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. การพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย 2. การพฒั นาการศึกษาเพ่อื ความมั่นคง 3. การสรา งความสามารถในการแขง ขัน 4. การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5. การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่เี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอ ม 6. การปรับสมดลุ และพฒั นาระบการบริหารจัดการ นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 นโยบายที่ 1 ดานความปลอดภยั พฒั นาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภยั ใหกบั ผูเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา และ สถานศกึ ษา จากภยั พบิ ตั แิ ละภยั คุกคามทุกรูปแบบ รวมถงึ การจดั สภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการมีสุขภาวะท่ีดี สามารถปรบั ตวั ตอโรคอบุ ตั ิใหมแ ละโรคอุบตั ซิ ำ้ นโยบายที่ 2 ดา นโอกาส 1. สนับสนุนใหเด็กปฐมวัยไดเขาเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางรางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สงั คม และสติปญ ญา ใหสมกบั วยั 2. ดำเนินการใหเด็กและเยาวชนไดรับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยางมีคุณภาพตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะหตนเองเพื่อการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ ตรงตามศกั ยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทัง้ สง เสริมและพัฒนาผูเรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษสูความ เปนเลศิ เพอ่ื เพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ 3. พัฒนาระบบดูแลชวยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยูในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปอ งกันไมใหออก จากระบบการศึกษา รวมทั้งชวยเหลือเด็กตกหลนและเด็กออกกลางคันใหไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยาง เทาเทียมกนั 4. สงเสริมใหเด็กพิการและผูดอยโอกาส ใหไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะในการ ดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองไดอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง นโยบายท่ี 3 ดา นคุณภาพ 1. สงเสริมการจัดการศึกษาใหผูเรียนมีความรู มีทักษะการเรียนรูและทักษะที่จำเปนของโลกใน ศตวรรษที่ 21 อยางครบถวน เปนคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เ ปน ประมุข มที ัศนคติทถี่ กู ตอ งตอบานเมอื ง 2. พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะและทักษะดานการอาน คณิตศาสตร การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาตางประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และการ เลอื กศึกษาตอ เพ่อื การมงี านทำ 3. ปรับหลักสูตรเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เนนพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเปนในแตละระดับ จัดกระบวนการเรียนรูแบบลงมือปฏิบัตจิ ริง รวมทั้งสงเสริมการจัดการเรียนรูที่สรางสมดุลทุกดาน สงเสริม การจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาพหปุ ญ ญา พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผเู รียนทกุ ระดบั

37 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเปนครูยุคใหม มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหนาที่ไดดี มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยี ดิจทิ ัล มีพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยางตอ เน่ือง รวมทงั้ มีจติ วญิ ญาณความเปน ครู นโยบายท่ี 4 ดา นประสทิ ธิภาพ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใชพื้นที่เปนฐาน มีนวัตกรรมเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อนบน ฐานขอ มูลสารสนเทศทีถ่ กู ตอง ทันสมยั และมีสวนรว มของทกุ ภาคสวน 2. พฒั นาโรงเรยี นมัธยมดีสม่ี ุมเมือง โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน โรงเรยี นขนาดเลก็ และโรงเรียนที่ สามารถดำรงอยูไดอยางมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ใหม ีคณุ ภาพอยา งย่งั ยืน สอดคลองกบั บรบิ ทของพ้ืนที่ 3. บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 นอยกวา 20 คน ใหไ ดรบั การศกึ ษาอยา งมคี ณุ ภาพ สอดคลอ งกบั นโนบายโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน 4. สง เสริมการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มวี ัตถุประสงคเฉพาะ และสถานศึกษาที่ตั้ง ในพืน้ ท่ลี ักษณะพิเศษ 5. สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาใหเปนตนแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพิ่ม ความคลอ งตัวในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 6. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1. พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยใหกับผูเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาและ สถานศกึ ษา จากภยั พิบตั ิและภยั คุกคามทุกรูปแบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการมีสุข ภาวะทดี่ สี ามารถปรบั ตวั ตอโรคอบุ ัตใิ หมแ ละโรคอุบัติซำ้ 2. สนับสนุนใหเด็กปฐมวัยไดเขาเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางรางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสตปิ ญ ญา ใหส มกับวยั 3. ดำเนินการใหเด็กและเยาวชนไดรับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีคุณภาพตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะหตนเองเพื่อการศึกษาตอ และ ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งสงเสริมและพัฒนาผูเรียนที่มี ความสามารถพิเศษสคู วามเปน เลิศ เพือ่ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 4. พฒั นาระบบดแู ลชว ยเหลอื เด็ก และเยาวชนท่ีอยใู นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพือ่ ปอ งกันไมใหออกจาก จากระบบการศึกษา รวมทั้งชวยเหลือเด็กตกหลนและเด็กออกกลางคันใหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยา งเทาเทยี มกนั 5. สงเสริมใหเด็กพิการและเด็กดอยโอกาส ใหไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมีทักษะในการ ดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองไดอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. สงเสริมการจัดการศึกษาใหผูเรียนมีความรู มีทักษะการเรียนรูและทักษะที่จำเปนของโลกใน ศตวรรษที่ 21 อยางครบถวน เปนคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติที่ถูกตองตอ บา นเมอื ง 7. พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะและทักษะดานการอาน คณิตศาสตร การคิดชั้นสูง Digital และ ภาษาตางประเทศ เพอื่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขนั และการเลือกศกึ ษาตอเพ่ือการมีงานทำ

38 8. ปรับปรุงหลักสูตรเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เนนการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเปนในแตละ ระดบั จดั กระบวนการเรียนรแู บบลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ รวมท้ังสง เสริมการจัดการเรยี นรูทีส่ รางสมดุลทุก ดานสงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผูเรียนทุก ระดับ 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนครูยุคใหมมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตาม หลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหนาทไี่ ดด ี มีความรคู วามสามารถในการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลมีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอยางตอเนื่องรวมทั้งมีจิตวิญญาณความเปนครู เพิ่มประสทิ ธภิ าพการนิเทศตดิ ตามและประสทิ ธผิ ลการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กลยทุ ธของ สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 กลยทุ ธท่ี 1 ดานการจดั การศึกษาเพอื่ เสรมิ สรางความมั่นคงของชาติ กลยทุ ธท่ี 2 ดานการจัดการศึกษาเพ่ือเพม่ิ ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ กลยทุ ธท ี่ 3 ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรบุคคลทางการศกึ ษา กลยุทธท่ี 4 ดานการสรา งโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่มี ีคุณภาพมาตรฐานและลดความ เหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา กลยุทธท ่ี 5 ดานการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิตท่ีเปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอม กลยทุ ธท ่ี 6 ดานการพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รยี น 1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ รียน 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผูเ รียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรียนเปนสำคัญ แตละมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผเู รียน 1) มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความ คิดเห็น และแกปญหา 3) มีความสามารถในการสรางนวตั กรรม 4) มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 5) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา 6) มคี วามรู ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี องานอาชีพ 1.2 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผเู รียน 1) การมีคุณลักษณะและคานิยมทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในทองถ่นิ และความเปน ไทย 3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู ว มกันบนความแตกตางและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา งกาย และจติ สังคม

39 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มเี ปา หมายวิสัยทศั นแ ละพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก กลุมเปา หมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหมคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี 2.5 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอการจดั การเรียนรูอยางมีคุณภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นนผเู รียนเปนสำคญั 3.1 จัดการเรยี นรผู านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ได 3.2 ใชส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรูทเี่ อื้อตอการเรียนรู 3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยางเปนระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู รียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณทีเ่ นน เด็กเปนสำคญั แตล ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 มีพัฒนาการดา นรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได 1.2 มพี ฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณได 1.3 มีพฒั นาการดา นสังคม ชว ยเหลอื ตนเอง และเปน สมาชิกทด่ี ีของสังคม 1.4 มีพัฒนาการดานสติปญ ญา ส่อื สารได มีทักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรูได มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ดาน สอดคลองกับบรบิ ทของทองถนิ่ 2.2 จดั ครูใหเ พยี งพอกบั ช้นั เรียน 2.3 สง เสริมใหค รูมคี วามเช่ยี วชาญดานการจัดประสบการณ 2.4 จัดสภาพแวดลอ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู อยา งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ใหบ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรเู พื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณ 2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปด โอกาสใหผูเก่ยี วของทกุ ฝายมสี วนรว ม

40 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท่เี นน เด็กเปน สำคัญ 3.1. จัดประสบการณทสี่ งเสริมใหเดก็ มีพฒั นาการทุกดา นอยา งสมดลุ เต็มศักยภาพ 3.2 สรา งโอกาสใหเ ด็กไดรบั ประสบการณตรง เลน และปฏิบตั อิ ยางมีความสุข 3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอื้อตอ การเรียนรใู ชส ่ือและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวยั 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุง การจัด ประสบการณและพัฒนาเด็ก คา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 1. ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  2. ซอื่ สัตย เสียสละ อดทน มีอุดมการณในสง่ิ ทด่ี ีงามเพอ่ื สว นรวม 3. กตัญตู อพอ แม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่นั ศกึ ษาเลาเรียนทงั้ ทางตรง และทางออม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม 6. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย หวังดตี อ ผอู ืน่ เผอ่ื แผและแบง ปน 7. เขา ใจเรียนรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ ทีถ่ กู ตอง 8. มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู ักการเคารพผใู หญ 9. มีสตริ ตู ัว รคู ดิ รูท ำ รูปฏบิ ตั ติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว 10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยหู วั รูจักอดออมไวใชเ มื่อยามจำเปน มไี วพ อกินพอใช ถา เหลอื กแ็ จกจา ยจำหนาย และพรอม ทจี่ ะขยายกจิ การเมอื่ มคี วามพรอม เมือ่ มภี มู ิคุมกันทด่ี ี 11. มีความเขมแข็งทั้งรางกาย และจิตใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรง กลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12. คำนึงถงึ ผลประโยชนของสวนรวม และของชาตมิ ากกวา ผลประโยชนของตนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook