Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภาษาไทย - ท้องถิ่น

แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภาษาไทย - ท้องถิ่น

Description: แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภาษาไทย - ท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

ฉากภาพวัฒนธรรมที่สะท้อนวิถีชีวติ ของชุมชนชาวกะเหรีย่ งทง้ั ๓ หม่บู ้านบนดอยแม่ไคร้ แนวทางการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ภู าษาไทย - ท้องถ่นิ สำ�หรบั ผู้เรยี นที่ใชภ้ าษาทอ้ งถิ่นส่อื สารในชวี ิตประจ�ำ วนั ระดับปฐมวยั ตำ�บลป่าแป๋ อำ�เภอแม่แตง จังหวดั เชยี งใหม่ ชาวบ้านมีอาชพี การปลูกใบชาหรือใบเมีย่ งขาย ปลูกพืช เลยี้ งสัตว์ และใชช้ วี ิตอยา่ งพอเพียง การเก็บใบชา การนงึ่ ใบชา การบรรจแุ ละสง่ ขาย โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยโดยใชภ้ าษาทอ้ งถิน่ รว่ มจัดการเรยี นรู้

แนภวทาาษงกาารไจดัทปยระส-บกทารณอ้ ก์ งาถรเริน่ ียนรู้ สำ�หรับผูเ้ รียนที่ใช้ภาษาท้องถิ่นสื่อสารในชวี ิตประจำ�วนั ระดับปฐมวัย ส�ำ นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

แนวทางการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ภาษาไทย - ท้องถิ่น ส�ำหรบั ผเู้ รยี นท่ีใชภ้ าษาทอ้ งถ่นิ ส่ือสารในชีวติ ประจ�ำวนั ระดับปฐมวัย สำ� นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

แนวทางการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ภาษาไทย - ทอ้ งถ่นิ ส�ำหรับผู้เรียนที่ใชภ้ าษาทอ้ งถ่นิ สอื่ สารในชวี ติ ประจำ� วนั ระดับปฐมวัย จดั ท�ำโดย สถาบันภาษาไทย ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชดำ� เนินนอก เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ ISBN : 978-616-395-904-1 พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑ จำ� นวน ๑๕,๐๐๐ เลม่ พิมพท์ ่ี โรงพิมพ์ต�ำรวจ ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ ถนนเศรษฐศิริ เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๖๘ ๒๘๑๑-๑๓ โทรสาร ๐ ๒๒๔๑ ๔๖๕๘ ลิขสทิ ธข์ิ องสำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชดำ� เนนิ นอก เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๔๗ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓

ค�ำน�ำ แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย - ท้องถ่ิน ส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษาท้องถ่ิน สอ่ื สารในชวี ติ ประจำ� วนั ระดับปฐมวัย เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยน�ำภาษาท้องถิน่ ร่วมจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษาท้องถิ่นในชีวิตประจ�ำวัน ระดับชั้นอนุบาล ๑ โดยมีเน้ือหา ประกอบด้วย ๑) แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ พร้อมตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์ ของโรงเรยี นทม่ี ผี เู้ รียนทีใ่ ช้ภาษาท้องถนิ่ สื่อสารในชวี ติ ประจ�ำวัน ๒) แนวทางการจัดประสบการณก์ ารใชส้ ื่อ การเรียนรู้ ได้แก่ ฉากภาพวัฒนธรรม เรื่องเล่า หนังสือรูปภาพ และเรื่องเล่าจากประสบการณ์ ของแต่ละ ภาษาท้องถ่ิน ๓) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ทักษะการฟัง - พูด ทีพีอาร์ (Total Physical Response) พร้อมแผนการจัดประสบการณ์ และแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษาท้องถิ่น ทม่ี ีความแตกต่างจากภาษาไทย การสอนภาษาไทยส�ำหรับเด็ก ๆ ท่ีสื่อสารภาษาอ่ืนท่ีแตกต่างจากภาษาไทยน้ัน ควรเร่ิมจากการฝึก ทักษะการฟัง - พูด ก่อนทักษะการอ่าน - เขียน โดยมีสื่อการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้เกี่ยวกับภาษาและ วัฒนธรรมท้องถ่ิน มีวิธีการสอนที่เน้นการเรียนรู้ภาษาอย่างเป็นธรรมชาติและเป็นระบบ การเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลางให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้กลวิธีการสอน และการใช้ค�ำถาม ที่กระตุ้นการคิดตามระดับข้ันของพัฒนาการเรียนรู้ (Level of Learning) ตามแนวคิด ของ Bloom’s Taxonomy การมีเทคนคิ ทสี่ รา้ งความรู้สึกดี ๆ แก่ผเู้ รียน เพื่อจะไม่ใหร้ ้สู ึกเครยี ดในการเรยี น และเกิดความคุ้นเคย จดจ�ำ เขา้ ใจ ประยกุ ต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ ค่า และสร้างสรรค์ส่ิงใหมไ่ ด้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณโรงเรียน ชุมชน ที่สนับสนุน มูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์ ศูนย์วิจัยภาษาและวัฒนธรรมแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล องค์กรยูนิเซฟ - แห่งประเทศไทย ท่ีให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยน�ำภาษาท้องถ่ิน ร่วมจดั การเรยี นรู้ (ภาษาไทย - ท้องถน่ิ ) และขอบคณุ ผู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝ่ายท่ีได้สนบั สนนุ ในการจัดทำ� เอกสารเล่มนี้ เพ่ือน�ำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือเป็นตัวอย่างโรงเรียนอ่ืน ๆ ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ ได้อยา่ งกวา้ งขวางตอ่ ไป (นายบุญรักษ์ ยอดเพชร) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

ฉากภาพวฒั นธรรม กล่มุ ชาติพันธุเ์ ขมรถ่ินไทย จังหวดั สรุ นิ ทร์ ฉากภาพวัฒนธรรมที่มีภาพวาดสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชุมชนบ้านโพธ์ิกอง จังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงเป็นชมุ ชนขนาดใหญ่ วถิ ชี วี ิตของชาวบ้านประกอบอาชพี ทำ� ไร่ ท�ำนา เลี้ยงสัตว์ ค้าขายสินคา้ การเกษตร โดยมีโรงเรยี นและวดั เป็นศูนยก์ ลางของชมุ ชน การมีกจิ กรรมรว่ มกันท้ังทางประเพณี และวัฒนธรรม ชาวบ้านอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งพ่นี อ้ ง เออื้ เฟื้อเผือ่ แผซ่ ง่ึ กนั และกัน

สารบญั เรื่อง หนา้ ค�ำชี้แจงการใช้หนงั สือ ๑ ความเป็นมา ๑ แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย - ท้องถ่ิน ๔ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ภาษาไทย - ทอ้ งถิน่ ๑๘ ตวั อย่างแผนการจดั ประสบการณ ์ ๔๘ • แผนการจัดประสบการณภ์ าษาไทย - ทอ้ งถน่ิ (กะเหรย่ี งโปว)์ ๔๙ • แผนการจดั ประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถนิ่ (ลาหู่แดง) ๘๓ • แผนการจดั ประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถน่ิ (เลอเวอื ะ) ๑๐๖ • แผนการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ทอ้ งถน่ิ (มง้ ) ๑๓๑ การจัดประสบการณโ์ ดยใชส้ ือ่ การเรียนรู้ภาษาไทย - ท้องถน่ิ ๑๖๒ ฉากภาพวฒั นธรรม ๑๖๓ เรื่องเลา่ ๑๖๙ หนังสอื รปู ภาพ ๑๗๕ เรือ่ งเล่าจากประสบการณ ์ ๑๘๑ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทักษะการฟงั - พดู แบบพที อี าร ์ ๑๘๔ ตวั อยา่ งแผนการจัดประสบการณท์ กั ษะการฟงั - พูด แบบพที ีอาร ์ ๒๐๕ ตัวอยา่ งขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอน ๒๓๓ บรรณานุกรม ๒๔๐ ภาคผนวก ๒๔๑ รายการแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาไทย - ท้องถิ่น ๒๔๒ รายการสอื่ การเรยี นการสอนภาษาไทย - ท้องถิ่น ๒๔๗ รายการชุดคำ� ส่งั ส�ำหรับการจัดประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ักษะการฟัง - พดู แบบทพี อี าร ์ ๒๔๘ คณะผู้จดั ทำ� ๒๖๓

ฉากภาพวัฒนธรรม กลมุ่ ชาติพันธก์ุ ะเหรีย่ งโปว์ จังหวดั เชียงใหม่ ฉากภาพวัฒนธรรม กลมุ่ ชาติพนั ธม์ุ อญ จังหวดั กาญจนบรุ ี

คำ� ชแี้ จงการใชห้ นังสือ ความเป็นมา ประเทศไทยเปน็ ดินแดนทีม่ คี วามหลากหลายทางภาษา วฒั นธรรม และกล่มุ ชาติพนั ธ์ุ โดยเฉพาะ ในบริเวณพ้ืนที่แนวชายแดนของประเทศ ทั้งในภาคเหนือ ตะวันตก ตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ และแนวชายแดนภาคใต้ ซ่งึ มเี ดก็ และเยาวชนกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุต่าง ๆ ท่ีใช้ภาษาทอ้ งถ่นิ แตกตา่ งจากภาษาไทย อยู่เป็นจ�ำนวนมาก ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงได้มีการด�ำเนินงานพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับนักเรยี นทีใ่ ช้ภาษาท้องถน่ิ อื่น ๆ แตกตา่ งจากภาษาไทย ภาษาท้องถ่ิน หรือ ส�ำเนยี ง คือ ภาษาเฉพาะ ของท้องถ่ินใดท้องถ่ินหนึ่งท่ีมีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยค�ำและส�ำเนียง ซึ่งในแต่ละภาคของประเทศไทย มภี าษาทอ้ งถิน่ ประจ�ำภาคนั้น ๆ เช่น ภาคเหนอื มีภาษาถน่ิ พายัพ “ปกิ๊ บา้ น” ภาคอีสานมีภาษาถ่นิ อีสาน “เมอื บ้าน” ภาคใตม้ ีภาษาถ่ินใต้ “หลบเริน” และภาคกลาง มีภาษาไทยกลาง “กลบั บา้ น” เปน็ ต้น ทั้งน้ี ภาษาท้องถ่ินในประเทศไทยคงใช้ค�ำศัพท์และไวยากรณ์ท่ีสอดคล้องกัน แต่มักจะแตกต่างกัน ในเรือ่ งของวรรณยกุ ต์ ถ้อยค�ำ และส�ำเนยี ง เปน็ ต้น ซ่งึ นบั เปน็ เอกลักษณข์ องภาษาทอ้ งถ่นิ นนั้ หากพนื้ ท่ีของ ผู้ใช้ภาษาน้ันกว้างก็จะมีภาษาท้องถิ่นท่ีหลากหลาย และมีภาษาท้องถ่ินย่อย ๆ ลงไปอีก ซึ่งภาษาท้องถ่ิน ส่วนใหญ่นั้นมักเป็นเร่ืองของภาษาพูดหรือภาษาท่าทาง ดังน้ันการท�ำความเข้าใจในเรื่องการกลายเสียงและ ความหมายของคำ� ในภาษาไทยในแต่ละถิ่นอาจมีความหมายใกล้เคยี งและแตกตา่ งกนั ดังนนั้ การศึกษาและ วิเคราะห์ภาษาในระบบต่าง ๆ เช่น เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ และอ่ืน ๆ เป็นประโยชน์ ในการสอนภาษาแก่เด็กนักเรียนที่พูดภาษาท้องถิ่นและการแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนท่ีออกเสียงภาษาไทย มาตรฐานไม่ชัด พร้อมน�ำความรู้ไปแก้ปัญหาในการเรียนการสอนภาษาไทยแก่เด็กนักเรียน ปัญหาส่วนหนึ่ง เกิดจากความแตกตา่ งระหว่างภาษาทอ้ งถน่ิ ซึ่งเป็นภาษาแม่ของเด็ก และภาษาทโ่ี รงเรียน “การจัดการเรยี นการสอนโดยการใช้ภาษาแมห่ รอื ภาษาทอ้ งถิ่น จงึ เป็นการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี รม่ิ จากการใช้ต้นทุนทางภาษาและวฒั นธรรมทเ่ี ดก็ มอี ยู่ และเชอื่ มโยงตอ่ ยอดไปสูภ่ าษาไทยท่ีเด็กยงั ไม่ร้ซู ง่ึ นา่ จะเป็นแนวทางท่เี หมาะสม และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชน” หนังสือ แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย - ท้องถิ่น ส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษา ท้องถ่นิ สื่อสารในชีวิตประจ�ำวนั ระดับปฐมวยั กลา่ วถงึ รปู แบบการจัดประสบการณ์เรียนรูด้ ว้ ยส่ือ ฉากภาพ- วัฒนธรรม เรื่องเล่า หนังสือรูปภาพ และเรื่องเล่าจากประสบการณ์ โดยน�ำเสนอตัวอย่างแผนการจัด ประสบการณ์ภาษาของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ตุ า่ ง ๆ ๑๐ ภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาม้ง มอญ กะเหรีย่ งโปว์ กะเหร่ียงสะกอ เลอเวือะ ลาหแู่ ดง ลาหซู่ ี ลาหแู่ ซแล เขมรถนิ่ ไทย และมลายถู น่ิ และการจดั ประสบการณ์เรยี นรูแ้ บบทพี ีอาร์ 1

(Total Physical Response) มีการน�ำเสนอล�ำดับข้ันตอนการจัดประสบการณ์อยา่ งชดั เจน เพอ่ื ให้ครูเหน็ รายละเอียดของขนั้ ตอนการจัดการเรียนการสอน จนสามารถน�ำไปใช้ในการจดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ สามารถ เรียนรู้ค�ำศัพท์ตามล�ำดับช้ัน และศัพท์วิชาการอ่ืน ๆ ตามหลักสูตรท่ีต้องใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ทั้งน้ี ได้แนบ แผน่ ดวี ีดขี อ้ มูลแผนการจัดประสบการณแ์ ละส่อื ประเภทตา่ ง ๆ เพ่อื ใหค้ รูและผู้ทสี่ นใจสามารถน�ำไป เลอื กใช้ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อผู้เรยี น วัตถปุ ระสงค์ การจดั การเรยี นการสอนตามแนวทางการใช้ภาษาไทย - ทอ้ งถิน่ สำ� หรบั ผเู้ รยี นที่ใช้ภาษาทอ้ งถ่ิน ส่ือสารในชีวิตประจ�ำวัน ระดับปฐมวัย เป็นการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการน�ำภาษาท้องถิ่นเช่ือมโยงไปสู่ภาษาไทย มวี ัตถุประสงคด์ งั น้ี ๑. เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถ่ิน สำ� หรับผู้เรียนท่ีใช้ ภาษาท้องถิน่ สือ่ สารในชีวติ ประจ�ำวนั ๒. เพ่ือยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษาท้องถิ่นส่ือสารในชีวิต ประจำ� วนั ใหส้ ามารถอา่ นออกเขียนได้อา่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ ง มีความพรอ้ มในการเรียนรู้ในระดบั ทีส่ ูงขึ้น การดำ� เนินงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ด�ำเนินการพัฒนาการศึกษาส�ำหรับผู้ท่ีใช้ภาษาท้องถิ่น ส่ือสารในชีวิตประจ�ำวัน โดยเฉพาะการจัดให้มีการเรียนการสอนโดยการน�ำภาษาแม่หรือภาษาท้องถ่ินและ วิธีการที่จะท�ำให้เด็กท่ีอยู่ตามชายแดน พื้นท่ีสูงและพื้นท่ีพิเศษ มีโอกาสเรียนรู้ภาษาไทย เพ่ือน�ำไปสู่ การพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองได้ การให้ความสำ� คญั กบั การประยุกต์ใชแ้ ละบรู ณาการความรูเ้ กยี่ วกับภาษา และวัฒนธรรมท้องถ่ิน สู่การออกแบบการศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนในพื้นที่ โดยเร่ิมด�ำเนนิ งานในปี ๒๕๕๐ ในโรงเรียนทีม่ ผี ้เู รยี นท่ใี ชภ้ าษาทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ ภาษาม้ง ภาษามอญ ภาษากะเหร่ยี งโปว์ ภาษามลายูถิ่น และภาษาเขมรถิ่นไทย จ�ำนวน ๑๑ โรง จัดการเรียนการสอนเร่ิมจากช้ันอนุบาลจนถึง ประถมศกึ ษาตอนต้น และในปี ๒๕๕๘ ขยายผลระดบั ชัน้ อนุบาลในโรงเรียนท่ีมีผู้เรยี นใช้ภาษากะเหรีย่ งโปว์ ภาษากะเหรยี่ งสะกอ ภาษาลาหู่ (แดง/ซี/แซแล) และภาษาเลอเวอื ะ จ�ำนวน ๑๔ โรง จากการด�ำเนินงาน พบว่า เด็กนักเรียนอยากมาโรงเรียน กล้าพูดคุยโต้ตอบกับครู กล้าคิด กล้าแสดงออกมากย่ิงขึ้น มีความพร้อมในการเรียนรู้ท้ังทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนของภาษาท้องถิ่น และภาษาไทยมากข้นึ นอกจากน้ี ยังคงรกั ษาภาษา อตั ลักษณ์ ภมู ปิ ญั ญา และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน 2

ขนั้ ตอนการจดั ท�ำหนังสือ ประชุมปฏิบัติการจัดท�ำต้นฉบับสื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย - ท้องถิ่น โดยมีคณะท�ำงานจัดท�ำแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย โรงเรียนแนวชายแดน พ้ืนที่สูง และพ้ืนที่พิเศษ จากโรงเรียนและเขตพื้นที่ ในโครงการและผู้ทรงคุณวุฒิจากองค์กรเครือข่ายร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ แผนการจัดประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้จากโรงเรียน เพื่อรวบรวมเน้ือหา และคัดเลือกส่ือการสอน รวมทั้งการถอดประสบการณ์การสอนและวิธีการใช้ สอื่ ตา่ ง ๆ ทีน่ �ำไปปรบั ใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สภาพของผเู้ รียน ทใี่ ช้ภาษาทอ้ งถน่ิ จำ� นวน ๒ ครั้ง ได้แก่ ครงั้ ที่ ๑ วนั ที่ ๒๗ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ และ ครั้งท่ี ๒ ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมฮิพ กรุงเทพมหานคร ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั ๑. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีแนวทางการพัฒนาจัดการเรียนการสอนภาษาไทย โดยใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับผู้เรียนท่ีใช้ภาษาท้องถ่ินส่ือสารในชีวิตประจ�ำวัน ๒. ครูผู้สอนสามารถน�ำแผนการจัดประสบการณ์ และส่อื การเรียนรภู้ าษาไทย - ทอ้ งถน่ิ ไปปรับ ใช้ให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับภาษา และวฒั นธรรมของผู้เรียนท่ีใช้ภาษาทอ้ งถิ่นอื่น ๆ ได้ ๓. ผู้เรียนที่ใช้ภาษาท้องถิ่นมีการเตรียมความพร้อมทักษะการฟังและการพูด โดยใช้ภาษาและ วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นเช่อื มโยงสกู่ ารเรยี นรภู้ าษาไทย และมคี วามพร้อมสู่ทกั ษะการอ่าน การเขียนตอ่ ไป ๔. เดก็ และเยาวชนมคี วามภาคภูมใิ จภาษา วฒั นธรรมท้องถิน่ รักษาอตั ลกั ษณ์ และการอยรู่ ่วมกัน ในสังคมพหุภาษาและวัฒนธรรมไดอ้ ย่างภาคภมู ิ 3

แนวทางการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย - ทอ้ งถน่ิ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้สำ� หรบั เด็กปฐมวยั การจดั ประสบการณ์การเรียนรสู้ ำ� หรบั เด็กปฐมวยั อายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการจัดกจิ กรรมในลักษณะ การบูรณการผ่านการเล่น การลงมือกระท�ำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย จะต้องสอดคล้องและ คลอบคลุมกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยค�ำนึงถึงพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา โดยผ่านการจัดประสบการณ์ส�ำคัญให้เหมาะกับอายุ วุฒิภาวะ ระดับพัฒนาการ และลักษณะ การเรียนรู้ของเด็ก ดังน้ันการก�ำหนดหน่วยและแผนการจัดประสบการณ์ให้เห็นเป็นรูปธรรม โดยผ่านกิจกรรม บูรณาการการเล่น เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ซงึ่ จะตอ้ งมีความยดื หยนุ่ มีสาระที่ควรเรียนรู้ทเ่ี ดก็ สนใจ และสาระท่ีควรเรียนรูท้ ผ่ี สู้ อน กำ� หนด ตามปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดไว้ว่า๑ “การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการ ตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู ่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเขา้ ใจของทกุ คน เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชวี ิตให้เด็กพฒั นาไป สู่ความเปน็ มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณเ์ กดิ คุณคา่ ต่อตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ” ๑. หลักการจัดประสบการณ์ ส�ำหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ปี ๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม อยา่ งสมดุลและตอ่ เนื่อง ๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำ� คัญ สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล และ บรบิ ทของสังคมที่เด็กอาศัยอยู่ ๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความส�ำคัญท้ังกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการ ของเด็ก ๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเน่ือง และเป็นส่วนหนึ่งของ การจัดประสบการณ์ พร้อมทงั้ น�ำผลการประเมินมาพฒั นาเดก็ อย่างต่อเน่อื ง ๑.๕ ใหพ้ ่อแม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วข้องมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาเด็ก ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ สำ� หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ปี ๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการท�ำงานของสมอง ท่เี หมาะกับอายุ วุฒิภาวะ และระดับพฒั นาการ เพอ่ื ให้เดก็ ทุกคนได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ ๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระท�ำ เรียนรู้ ผา่ นประสาทสัมผัสทง้ั ห้า ไดเ้ คลือ่ นไหว สำ� รวจ เล่น สงั เกต สบื คน้ ทดลอง และคิดแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง ๑ ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๖๐). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐. หน้า ๒ และ ๔ 4

๒.๓ จัดประสบการณ์ในแบบบรู ณาการ โดยบรู ณาการทง้ั กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเร่ิมคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระท�ำ และน�ำเสนอความคิด โดยผ้สู อนเปน็ ผ้จู ัดประสบการณ์เป็นผู้สนับสนนุ อ�ำนวยความสะดวก และเรยี นรู้ร่วมกับเด็ก ๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืน กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อ ตอ่ การเรยี นรใู้ นบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การท�ำกจิ กรรมแบบร่วมมอื ในลกั ษณะต่าง ๆ กัน ๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับส่ือและแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และอยู่ ในวิถชี วี ติ ของเด็ก สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท สงั คม และวฒั นธรรมท่ีแวดลอ้ มเดก็ ๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยท่ีดีและทักษะการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการมีวินัยให้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง ๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริง โดยไม่ได้คาดการณไ์ ว้ ๒.๙ จัดท�ำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก เปน็ รายบคุ คล น�ำมาไตต่ รองและใช้ให้เป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเด็กและการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น ๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวางแผน การสนับสนนุ ส่อื แหลง่ เรียนรู้ การเข้ารว่ มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ ภาษาท้องถิน่ กับการพัฒนาการศกึ ษาสำ� หรับเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมการพัฒนาทางด้านภาษาเพื่อให้เด็กได้มีโอกาส สือ่ สาร ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความนึกคดิ ความรคู้ วามเข้าใจในส่ิงตา่ ง ๆ ทีเ่ ด็ก มีประสบการณ์นั้น ควรจัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายในสภาพแวดล้อม ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน และค�ำนึงถึงหลักการจัด กจิ กรรมทางภาษาทเี่ หมาะสมกับเดก็ เปน็ สำ� คญั ดังเช่น ปรัชญาของนวตั กรรม การสอนภาษาโดยรวม/ธรรมชาติ (Whole Language) ซึ่งเช่ือว่า การสอน ภาษาให้กับเดก็ น้นั ตอ้ งเปน็ การสอนภาษาทส่ี ่อื ความหมายกบั เดก็ ผสู้ อนตอ้ ง เปน็ แบบอย่างท่ีดี ทัง้ การพดู การฟงั การอ่าน การเขยี น เดก็ จึงจะสามารถเรียนรู้ ภาษาได้ดี และเด็กควรอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเต็มไปด้วยภาษาที่สื่อความหมาย มีการจดั สื่อเพื่อให้เด็กไดเ้ รียนร้ผู ่านกระบวนการเล่นได้อย่างเปน็ ธรรมชาติทีส่ ุด ดังน้ันการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะในโรงเรียนแนวชายแดน พน้ื ทส่ี ูง และพืน้ ที่พเิ ศษ ซ่ึงโรงเรียนส่วนใหญ่มีผู้เรยี นเป็นเดก็ กลุ่มชาติพนั ธ์ุ หรือโรงเรียนท่มี กี ารใชภ้ าษาท้องถิ่น หรือภาษาแม่ท่ีไม่ใช่ภาษาไทยสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน จากสภาพการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยที่ใช้ภาษาท้องถิ่น จ�ำเป็นต้องมีการจัดการเรียนการสอนและเทคนิคท่ีแตกต่างจากเด็กทั่วไปท่ีใช้ภาษาไทยสื่อสารปกติ ให้สามารถ สื่อสารกับครูได้อย่างเข้าใจ สร้างแรงจูงใจในการเรียน การกล้าคิด กล้าแสดงออก สามารถเรียนรู้ ได้อยา่ งเขา้ ใจครบทักษะทงั้ การฟัง - พดู - อ่าน - เขยี น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทกั ษะการฟงั - พดู ของเดก็ เล็ก ในช้ันปฐมวัย ท่ียังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากนัก จึงต้องอาศัยครูหรือพ่ีเล้ียงเด็กที่ท�ำหน้าที่ดูแลและ 5

เตรียมความพร้อมช่วยให้เด็กมีความเข้าใจ และตอบสนองการเรียนรู้ ดังน้ัน ภาษาที่ใช้สื่อสารให้สามารถ เข้าถึงเด็กกลุ่มชาติพันธ์เป็นส่ิงส�ำคัญที่จะช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจ เพ่ือให้เด็กสามารถเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจในการมาเรียนมีพัฒนาการตามการศึกษาปฐมวัย ซ่ึงจะส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ของการศกึ ษาในระดบั ชัน้ ที่สงู ขนึ้ ของเด็กอีกต่อไป แนวทางการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย - ท้องถิ่น เนื่องจากประเทศไทยเป็นดินแดนที่มีความหลากหลายทางภาษา วัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์ โดยเฉพาะในเขตพ้ืนที่บริเวณชายแดนของประเทศ ท่ีมีเด็กและเยาวชนกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ภาษาท้องถ่ิน ซ่ึงมีความแตกตา่ งจากภาษาไทยอยเู่ ป็นจ�ำนวนมาก และพบปญั หาด้านการเรียนการสอนภาษาไทย เร่ิมจาก การไม่เข้าใจภาษาในการส่ือสารระหว่างครูและเด็กที่ใช้ภาษาท้องถิ่นแตกต่างจากภาษาไทย เช่น ภาษา กะเหร่ียง ลาหู่ เลอเวือะ ม้ง เป็นต้น ซ่ึงส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และ กระทบตอ่ การเรียนร้ขู องรายวชิ าต่าง ๆ ดว้ ยเชน่ กนั การน�ำภาษาและวัฒนธรรมท้องถ่ินมาเป็น ส่วนสำ� คญั ของการพัฒนาการเรยี นรัู ผา่ นกระบวนการสรา้ ง สื่อภาษาท้องถิ่น ประกอบการกลวิธีการสอนที่หลากหลาย เพื่อการพัฒนาสมอง พัฒนาความคิดเชิงวิเคราะห์และ ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งการออกแบบสื่อและวิธีสอน อ่าน - เขียนที่เช่ือมโยงจากภาษาท้องถิ่นสู่ภาษาไทย อย่างเป็นขั้นตอน เพ่ือใช้ง่ายต่อการพัฒนาทักษะอ่านเขียน ภาษาไทยและสร้างพ้ืนฐานการอ่านออกเขียนได้ที่เข้มแข็ง การใช้ภาษาถ่ินต่อยอดสู่ภาษาไทยเช่นน้ี นับเป็นการสร้างบันได หรือสะพานเชื่อมให้เด็กสามารถก้าวข้ามก�ำแพงภาษาท่ีเคยเป็นอุปสรรคปัญหา ไดอ้ ยา่ งง่ายดายและมัน่ คง การใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้เป็นอีก แนวทางหน่ึงที่สามารถแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ และทักษะ การคดิ ของเด็ก ๆ ซง่ึ พูดภาษาประจำ� วันต่างจากภาษาไทย ท�ำให้มีทักษะในการเรียนรู้ภาษาไทย โดยยังคงด�ำรง ภาษาและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถ่ินไว้ได้ด้วย นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางที่ส่งเสริมการเคารพในสิทธิ ข้ันพื้นฐานของบุคคล และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ท่ามกลางความแตกต่างหลากหลายโดยมีหลักการส�ำคัญ ของการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้ภาษาท้องถิ่น รว่ มจัดการเรยี นรู้ ดังน้ี 6

๑. การจัดการเรียนการสอนที่ใช้ท้ังภาษาท้องถิ่นและ ภาษาไทย โดยเร่ิมเรยี นการฟัง - พดู ภาษาท้องถ่นิ โดยใช้ครูท้องถ่ินทพี่ ูด ภาษาที่ส่ือสารกับเด็กได้ การใช้ส่ือการเรียนรู้และใช้เทคนิคการสอน การเชื่อมโยง สู่ภาษาไทย โดยเริ่มสอนตั้งแต่เด็กช้ันอนุบาลจนถึง ชน้ั ประถมศกึ ษา ๒. มีการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง ฝกึ ทักษะการฟัง - พูด (ใชก้ ลวิธี Total Physical Response : TPR) ก่อนขยายสู่ทักษะการอ่าน - เขียน เน้นการพัฒนาสองด้าน คือ การพัฒนาด้านความรู้ความเข้าใจ และการพัฒนาการด้านความถูกต้อง แมน่ ยำ� และใหค้ วามส�ำคญั กบั การมีส่วนร่วมและการปฏิบัติจริงของผู้เรยี น ๓. การน�ำเอาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัด ประสบการณ์ จดั กจิ กรรมและท�ำแผนการสอน ตามมาตรฐานการศกึ ษา ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยให้สอดคล้องและค�ำนึง ถงึ ผ้เู รยี นเป็นสำ� คญั ๔. เน้นการผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีความสอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิต ภูมิปัญญา ประเพณี และ วัฒนธรรมในชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน สะท้อนออกมาเป็นภาพวาด เร่อื งเลา่ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ๕. เน้นเด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (Child Center) จัดการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมกระตุ้นให้เด็กค้นพบความรู้ด้วยตัวเอง ด้วยการปฏิบัติจริง เรียนรู้จากสิ่งท่ีคุ้นเคยใกล้ตัวขยายออกไปสู่ส่ิงใหม่ ที่ไกลตวั มีความมน่ั ใจ กล้าคดิ กลา้ แสดงออก ๖. เนน้ พฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ วิพากษแ์ ละคิดเชงิ สร้างสรรค์ได้ ๗. การสร้างคุณค่าทางภาษาและวัฒนธรรมของผู้เรียนและชุมชน ให้มีความนับถือและ ภาคภูมใิ จในอตั ลกั ษณข์ องตน คงรกั ษาภาษาและวัฒนธรรมซึง่ เป็นรากฐานของชุมชนสืบทอดตอ่ คนรุ่นตอ่ ไป ๘. เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคลในชุมชนและโรงเรียน ร่วมปรึกษาหารือร่วมกัน แนวทาง การแกไ้ ขและการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาหรอื หลักสูตรท้องถนิ่ การถ่ายทอดภาษา ภูมปิ ญั ญา ประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนเพื่อน�ำมาออกแบบบูรณาการจัดทำ� สอื่ การเรยี นการสอนส�ำหรบั สอนในชัน้ เรยี น 7

หลักการสำ� คัญของการจดั การเรียนการสอนภาษาไทยส�ำหรับเดก็ กลุ่มชาตพิ ันธุ์ วรรณา เทียนมี อ้างถึงบทความของ Dr.Susan และ Dr.Danis Malone ๒๐๐๘, SIL International ไดก้ ล่าวถงึ หลักการสำ� คญั ในการจัดการเรียนภาษาไทยส�ำหรับเด็กกลุ่มชาตพิ ันธท์ุ พี่ ดู ภาษา ท้องถน่ิ มีดงั น๒้ี ๑. การสอนทเ่ี น้นสองแนวทาง คอื แนวการใชเ้ รอ่ื งโดยเนน้ ความหมาย ความเขา้ ใจและแนวการใชแ้ บบเรยี นโดยเนน้ ความถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� ๒. การสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลาง ๓. การสอนท่ีเริ่มจากส่งิ ง่าย สิง่ ทีร่ อู้ ยูแ่ ลว้ ไปสู่สิ่งที่ยากขน้ึ ๔. การสอนทเ่ี น้นการเรยี นรู้ภาษาอยา่ งเป็นธรรมชาติและเป็นระบบ ๕. การสอนที่กระต้นุ ใหเ้ ดก็ มีทกั ษะการคดิ ระดบั สูง การสอนภาษาไทยประกอบด้วยการพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนท่ีต้อง เก่ยี วข้องเชอื่ มโยงกนั โดยเรมิ่ จากการฟงั การพูดท่ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนได้คิด รับร้ขู อ้ มลู เปน็ ฐานความรู้ทางภาษา ของผู้เรียนจะน�ำไปใช้ในการอ่าน การเขียนซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนเพ่ิมพูนค�ำศัพท์ ความรู้ และประสบการณ์ ดังนัน้ การเรยี นการสอนภาษาท่ีสมดลุ จึงตอ้ งส่งเสรมิ ทกั ษะทง้ั ๔ ดา้ น ตามการสอนแบบสองแนวทางคอื ๑. แนวการสอนทเ่ี นน้ ความหมาย ความเข้าใจ และการสอื่ สาร ๒. แนวการสอนทเี่ น้นความถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ� ตารางการสอนแบบสองแนวทางกบั การพฒั นาทกั ษะภาษาทัง้ ๔ ด้าน เน้นความหมายหรอื การสอ่ื สาร เน้นความถูกตอ้ งและแมน่ ย�ำ (เนน้ ทงั้ หมด) (เน้นบางสว่ น) ฟัง นักเรียนฟังเพื่อให้เข้าใจ คิด และสามารถ นักเรียนจ�ำและแยกแยะเสียงในภาษา พยางค์ ตอบกลับขอ้ ความท่มี ีคนพูดดว้ ย คำ� ประโยค ขอ้ ความ และสามารถทำ� ตามค�ำสัง่ นักเรียนพูดด้วยความเข้าใจ เพ่ือส่ือสารความคิด นักเรียนใช้ภาษาอย่างถูกต้องแม่นย�ำ (ค�ำศัพท์ พดู แนวคิด ความต้องการ ความรู้สึก และ การออกเสียง ไวยากรณ์) เหมาะสมกับบริบท ประสบการณ์กบั ผู้อ่นื ทางภาษา นักเรียนอ่านเอาความและอ่านเพื่อความเข้าใจ นกั เรยี นถอดคำ� โดยจ�ำส่วนต่าง ๆ ได้ (ไม่ว่าจะเป็น จับเนื้อความหลัก รายละเอียดที่ส�ำคัญ ตัวอกั ษร พยางค์ เครื่องหมายวรรณยุกต์ ฯลฯ) อา่ น จุดประสงค์ และตอบสนองความหมาย ล�ำดับของคำ� ในประโยค และความหมาย ในขอ้ ความได้ นักเรียนเขียนอย่างสร้างสรรค์ แสดงออก เขยี นตวั อกั ษรใหเ้ ป็นคำ� เป็นประโยค ขอ้ ความ เขยี น เพ่ือสื่อสารความรู้ ความคิด ความต้องการ ได้ถูกต้อง เรียบร้อย สะกดค�ำได้แม่นย�ำ และ ความรู้สึก และประสบการณ์ ใชไ้ วยากรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง ๒ วรรณา เทียนมี. (ม.ป.ป.) เอกสารคู่มือการสอนภาษาไทยแบบสองแนวทาง : มูลนิธิภาษาศาสตร์ ประยกุ ต์. หน้า ๒ - ๓. 8

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยโดยใช้ภาษาทอ้ งถิน่ รว่ มจดั การเรียนรู้ การน�ำภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อในการเรียนการสอน ต้ังแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึง ช้ันประถมศึกษา โดยก�ำหนดอัตราส่วนการใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยลดหลั่นตามระดับชั้นของผู้เรียน ตามหลกั การข้นั บันไดในการรหู้ นังสอื และเช่ือมโยงภาษาท้องถิ่นสู่ภาษาไทย๓ การพัฒนาการเรยี นรผู้ า่ นภาษาโดยใช้หลักการ “ขน้ึ บันไดทลี ะข้นั ” การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย - ท้องถิ่นเป็นการสร้างความเข้มแข็งทางภาษาให้แก่เด็ก ต้ังแต่เรม่ิ แรกปฐมวัยดว้ ยการน�ำภาษาทอ้ งถิ่น (ภาษาแม)่ ทใ่ี ช้สอ่ื สารในชวี ติ ประจ�ำวันมาเป็นสะพานเช่ือมโยง สู่การเรียนรู้ภาษาไทยอย่างเป็นระบบ โดยมีการพัฒนาสติปัญญา ความคิด และทักษะการฟัง - พูด และ เช่ือมโยงส่รู ะบบการอ่าน - เขยี น จากภาษาทอ้ งถ่ินสูภ่ าษาไทยและสาระวิชาอ่ืน ๆ ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ องค์ประกอบสำ� คัญในการจดั การเรยี นการสอน ๑. ครูผู้สอน ต้องเป็นครูที่มีความรู้ภาษาท้องถ่ินของเด็กและภาษาไทย ท้ังการพูด การอ่าน และการเขยี น ๒. เน้ือหาหลักสูตรและกลวิธีการสอน ซ่ึงเน้ือหาได้ก�ำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยมกี ลวธิ ีหรอื เทคนคิ การสอนเพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการสอนมากย่งิ ขึ้น ๓ มหาวิทยาลัยมหิดล. (ม.ป.ป.) นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา (ภาษาไทยมลายูถิ่น) ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้. หนา้ ๒. 9

๓. สื่อการเรียนรู้ มีการผลิตและพัฒนาส่ือที่เหมาะสมกับท้องถ่ินของเด็ก จะเริ่มจากภาษาท้องถิ่น ท่เี ดก็ เข้าใจมากท่สี ดุ จากทักษะการฟงั - พดู และตอ่ ยอดสกู่ ารอา่ น - เขยี น ส่อื ทผี่ ลิตเพอ่ื ใชใ้ นการสอนมดี ังน้ี ๓.๑ ส่ือการเรียนรู้ท่เี น้นพฒั นาทกั ษะการฟงั - พดู ไดแ้ ก่ ๑) เรื่องเล่า ๒) หนังสือรูปภาพ หรือ หนังสอื รูปภาพ ๓) ฉากภาพวฒั นธรรม ๔) เพลงภาษาทอ้ งถิน่ ๕) เรื่องจากประสบการณ์ ๖) ทพี ีอาร์ ประเภท ตา่ ง ๆ ๗) เกมการศึกษา การละเลน่ ทอ้ งถ่ิน เปน็ ตน้ ๓.๒ สอื่ การเรยี นรูท้ เ่ี น้นพัฒนาทักษะการอา่ น - เขยี น ได้แก่ ๑) หนงั สือเล่มเล็ก ๒) หนังสอื เล่มใหญ่ ๓) ฉากภาพวัฒนธรรม ๔) แบบฝึกเตรียมอ่าน - เขียน ๕) แบบเรียนอ่าน - เขียนภาษาท้องถ่ิน อักษรไทย ๖) แบบเรยี นอ่านเขยี นภาษาไทยแบบเช่อื มโยง เปน็ ตน้ กระบวนการพัฒนาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ได้ออกแบบกิจกรรมและใช้กลวิธีการสอนที่เน้นการต้ังค�ำถาม เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด ตั้งแต่ขั้นง่าย ๆ โดยใช้ค�ำถามปลายเปิด ไปสู่การอธิบายรายละเอียด การใช้ ค�ำถามเชิงประยุกต์ รวมทั้งการใช้ค�ำถามเชิงเปรียบเทียบเพ่ือให้เด็กมีวิจารณญาณสามารถตัดสินและ ประเมนิ คา่ อย่างมเี หตุผล และสามารถประมวลผลความรู้ตา่ ง ๆ เพอื่ สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ได้ โดยใชแ้ นวคิดของ Bloom’s Taxonomy of Education Objectives ซงึ่ ดร.ซซู าน มอลโล เปน็ ผูน้ �ำแนวคิดนีม้ าปรับใช้ ในกระบวนการเรียนรแู้ ละพฒั นาการทางความคิดตามระดบั ขัน้ ของพัฒนาการเรียนรู้ (Level of Learning) เร่ิมต้นจากขัน้ พน้ื ฐานส่ขู นั้ สรา้ งสรรค์ความรู้ใหม่ โดยกระบวนการตงั้ ค�ำถามระดับตา่ ง ๆ ตามลำ� ดบั ข้ันตอน ดงั น๔้ี ๑. สามารถตอบค�ำถามในสง่ิ ทจี่ ดจ�ำได้ (ร)ู้ ๒. เกิดความเขา้ ใจและสามารถสรปุ อธิบายได้ (เขา้ ใจ) ๓. นำ� ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ได้ (ประยกุ ต์) ๔. สามารถเปรียบเทยี บความเหมือนและความต่างของสิง่ ทีร่ บั รไู้ ด้ (วิเคราะห)์ ๕. ประเมนิ ค่าโดยแสดงเหตแุ ละผลได้ (วิจารณ์อย่างมเี หตผุ ล) ๖. สามารถสร้างสรรคส์ ่งิ ใหมจ่ ากการส่ังสมความรู้เดิมได้ (สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ) ๔ มหาวทิ ยาลัยมหิดล. (ม.ป.ป.) นวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนแบบทวิภาษา (ภาษาไทยมลายูถิ่น) ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้. หน้า ๓. 10

แนวทางการจดั การเรียนการสอน การจัดการศึกษาส�ำหรับผู้เรียนที่มีภาษาประจ�ำวันต่างจากภาษาไทยเป็นแนวทางท่ีเช่ือมโยง และต่อยอดการเรียนรู้ของผู้เรียนจากสังคมเล็ก ๆ ภายในบ้าน และชุมชนไปสู่การเรียนรู้ท่ีกว้างข้ึน และ อ่านออกเขียนได้ในระบบโรงเรียน ส่งเสริมคุณค่าภูมิปัญญาท้องถ่ินและภูมิปัญญาของชาติให้ม่ันคงย่ิงข้ึน มแี นวทางในการจัดการเรยี นการสอน ดงั น้ี ๑. ให้ความส�ำคญั กบั การเรียนรูด้ ้านความหมายก่อนด้านหลกั เกณฑ์ หรอื ไวยากรณ์ ท้ังในการเรยี น ภาษาและวิชาความรูต้ า่ ง ๆ ตามหลกั สูตรทเี่ หมาะสมสำ� หรับนกั เรียน ๒. มีการแจกลูกประสมค�ำ และการจดจ�ำค�ำ ส�ำหรับผู้เรียนท่ีสื่อสารภาษาประจ�ำวันหรือ ภาษาแม่แตกตา่ งจากภาษาชาติ การนำ� เอาภาษาทสี่ ่ือสารในชวี ิตประจำ� วันมาเปน็ ส่วนเรม่ิ ตน้ ของการเรยี น การสอน และเชอื่ มโยงไปสู่การเรยี นภาษาไทย ๓. การมชี ุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การเรียนรู้ เนือ่ งจากการนำ� ภาษาท้องถน่ิ เขา้ สู่ระบบ โรงเรียนจะช่วยให้เกิดการท�ำงานร่วมกับชุมชน มีการค้นคว้าเร่ืองราวของท้องถ่ิน การสร้างหลักสูตรสถานศึกษา สื่อการเรยี นรู้ ซง่ึ ชว่ ยลดความขัดแย้งทางวัฒนธรรม และการสร้างความสมานฉันทร์ ะหว่างชุมชนกบั โรงเรียน ๔. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เร่ิมการสอนจากสิ่งง่าย ส่ิงที่รู้ไปสู่ สงิ่ ทยี่ ากหรอื สง่ิ ใหมแ่ ละค่อยเป็นคอ่ ยไปเป็นทีละขน้ั ๆ ๕. การเช่ือมโยงภาษาท้องถิ่นสู่ภาษาไทย โดยเร่ิมต้นจากการใช้ภาษาท่ีหนึ่งของเด็กเป็นสื่อ หรือเครอื่ งมอื ในการเรียนรู้เมือ่ ถงึ เวลาท่เี หมาะสม ครูจะจัดการสอนทีเ่ ชอื่ มโยงจากภาษาที่หน่งึ ของเดก็ ไปสู่ ภาษาไทยอยา่ งเป็นระบบ ๖. มคี รูทสี่ ือ่ สารสองภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาทีเ่ ดก็ พดู (ภาษาท้องถิ่น) การเช่อื มโยงจากภาษาท้องถ่นิ สู่การเรียนรูภ้ าษาไทย การเรยี นร้ภู าษาไทยด้วยหลกั การเชื่อมโยงจากภาษาท้องถนิ่ สรปุ ได้ ดงั น๕้ี ๑. เรม่ิ ต้นด้วยการสรา้ งรากฐานสติปญั ญาและระบบความคดิ ให้เข้มแขง็ ผ่านภาษาแม่ โดยน�ำภาษาแม่ของเด็กที่ใช้ในครอบครัวมาใช้เป็นภาษาแรกของ การเรียนรู้ในโรงเรียนและประยุกต์กับการสร้างสื่อการเรียนการสอน และใช้รูปแบบ การเรียนท่ีเปิดโอกาสให้เด็กได้ฟังและพูดโต้ตอบและแสดงความคิดเป็นภาษา ของตนเอง เพื่อให้เกิดการพัฒนาความคิดและจินตนาการ ท้ังนี้เป็นการพัฒนา ระบบความคดิ และสมอง โดยใช้ภาษาใดกไ็ ด้ท่เี ด็กรู้ดีท่ีสุดเป็นเคร่ืองมอื ๒. เตรียมความพร้อมในการอ่าน - เขียน (ภาษาท้องถ่ินและภาษาไทย) มุ่งให้เด็กเรียนรู้ ตัวอกั ษร โดยใชเ้ ทคนิคการแยกแยะตวั อักษร ฝกึ ฝนเด็กให้รจู้ กั แยกแยะวตั ถุกอ่ นโดยเรียงล�ำดบั จากทกั ษะงา่ ย ๆ ไปสู่ทักษะที่ซับซ้อนมากข้ึน เร่ิมต้นจากการแยกและจัดกลุ่มส่ิงของ รูปภาพ รูปทรง และตัวอักษร (ไทย) เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย และจดจ�ำรูปแบบอักษร ซ่ึงทักษะดังกล่าว เป็นการฝึก การสังเกต และการเปรียบเทียบอันเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์ ในระดับสงู ตอ่ ไป นอกจากน้ี การสรา้ งสรรคง์ านเขยี น อาจใชก้ ารวาดภาพ วาดเสน้ - สีตา่ ง ๆ จากส่งิ ทร่ี บั รู้เพอื่ บอกเลา่ เรื่องราวและความคดิ โดยการขดี เขียน ซงึ่ เป็นการเร่มิ ต้นการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative Writing) ๕ ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๖). แนวทางกลวิธีและสื่อการเรียนการสอนส�ำหรับ นักเรียนที่พูดภาษาท้องถิ่นประจ�ำวัน การจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิภาษา (ภาษาไทย - ท้องถ่ิน). หน้า ๑๒๕ - ๑๒๘. 11

๓. เชอ่ื มโยงเข้าส่ภู าษาไทยผ่านกระบวนการสอนภาษาไทยเปน็ ภาษาท่สี อง โดยเน้นการฟัง และ การปฏบิ ตั แิ บบ ทีพีอาร์ (TPR - Total Physical Response) เป็นวิธีการสอนท่ีอิงหลักการท�ำงานของสมองทั้งสองซีกและการท�ำงาน เช่ือมโยงกันของระบบประสาทในการรับรู้ภาษาที่เป็นธรรมชาติมากที่สุด ล�ำดับของการรับรู้ภาษาด้วยวิธีนี้ คือ การฟังแล้วเชื่อมโยงกับ การเคลื่อนไหวร่างกาย ร่างกายจะใช้การเคลื่อนไหวเป็นสัญญาณตอบรับว่า เข้าใจความหมายของเสียงท่ีได้ยิน ซึ่งเป็นการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม กับเด็กที่รู้ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสอง โดยมีแนวทางการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทยทเี่ รม่ิ ตน้ จากพฒั นาทกั ษะการฟงั อยา่ งเขา้ ใจโดยใชช้ ดุ คำ� สงั่ (คำ� ศพั ทภ์ าษาไทย) เด็กฟังและสังเกต แล้วแสดงความเข้าใจด้วยการปฏิบัติ หรือท่าทางทีพีอาร์ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ โดยใช้สมองซีกขวาซึมซับ ความหมายก่อนทส่ี มองซีกซ้ายจะรบั ชว่ งการเรยี นรู้จดจำ� ภาษาต่อไป ๔. การเพิ่มพูนทักษะการอ่าน - เขียนโดยใช้ส่ือการอ่าน (เริ่มจากภาษาท้องถิ่นไปสู่ภาษาไทย) โดยเริ่มจากเทคนิคการอ่านร่วมกัน หรือการอ่านหนังสือเล่มใหญ่ (Big Book) ซึ่งมีเรื่องราว แสดงเหตุการณ์สนุก ๆ มีภาพและตัวหนังสือที่มีโครงสร้างประโยคซ้�ำ ท�ำให้เด็กคุ้นเคยกับถ้อยค�ำและประโยค จากการอ่านออกเสียงและ สามารถคาดเดาเนื้อเร่ืองและค�ำศัพท์ท่ีจะเกิดในเรื่องได้ จากนั้น จะจด ค�ำศพั ทห์ รือรปู ประโยคพร้อมตำ� แหนง่ ของค�ำในประโยคได้ เป็นการเรียนเพอ่ื สร้างความเข้าใจในการอา่ น หนงั สอื เล่มเลก็ (Small Book) เปน็ หนงั สือขนาดเลก็ พกพา ได้มีรูปภาพและขอ้ ความสั้น ๆ ง่าย ๆ ความหมายตรงกับภาพช่วยให้เด็ก เข้าใจความหมายของตัวหนังสือ หนังสือเล่มเล็กจะเพิ่มระดับความยาว ของเรื่องและความซับซ้อนไปตามพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กซ่ึงเนื้อหา ในระดับเริ่มต้นจะประกอบไปด้วยเรื่องราวและองค์ความรู้ที่เกิดข้ึน ในชมุ ชน ๕. การอ่าน - เขียนภาษาไทยแบบเชื่อมโยง โดยใชแ้ บบเรียน อ่าน - เขียนภาษาไทยท่ีเช่ือมโยงกับภาษาท้องถิ่น (Thai Transfer Primer) โดยมีการเชื่อมโยงการอ่าน - เขียน ตั้งแต่การเรียนรู้และฝึก จากแบบเรียนอ่าน - เขียนภาษาท้องถ่ิน เร่ิมจากการเรียนรู้อักษรไทย และการประกอบค�ำท่ีมีลักษณะหรือโครงสร้างเหมือนกันในภาษา ท้องถิ่นและภาษาไทย จากนน้ั จงึ เรียนรรู้ ะบบเสยี ง ตัวอักษร และการประกอบของภาษาไทยทมี่ ีลกั ษณะแตกตา่ งไป จากภาษาทอ้ งถน่ิ กระบวนการอา่ น - เขียนภาษาไทยแบบเชื่อมโยงนีม้ ีการเตรียมความพร้อมการอ่าน - เขียน ในระดับเสียง และโครงสร้างไวยากรณ์ก่อนการใช้แบบเรียนเพื่อสร้างความพร้อมทักษะการฟังและแยกแยะเสียง เช่น พยัญชนะต้น พยัญชนะท้าย สระ และระบบเสียงวรรณยุกต์ แล้วน�ำไปสู่การแทนค่าเสียงด้วยระบบ อักษรในแบบเรียน และเป็นส่ือกลวิธีท่ีเน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา โดยเป็นการเรียนรู้ระบบไวยากรณ์ ของภาษาจากบนลงล่าง คือ เร่ิมจากรู้ตัวอย่างค�ำ พร้อมภาพ ซึ่งแสดงความหมายไปสู่การแยกพยางค์ อักษร และเสียง จากน้ันจงึ เรยี นรคู้ �ำใหม่ จากองคป์ ระกอบยอ่ ยและการสรา้ งประโยคใหมด่ ้วยคำ� ทีเ่ รียนไปแลว้ 12

๖. การสร้างคำ� ศัพทแ์ กเ่ ด็กโดยจัดทำ� พจนานกุ รมนกั เรยี น เป็นการสร้างค�ำศัพท์ในภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยควบคู่กัน เพ่ือให้มีเคร่ืองมือช่วยในการพัฒนา ภาษาทง้ั สองภาษาพรอ้ มกนั จากการน�ำภาษาและภูมิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นอีกรูปแบบหน่ึง ที่ช่วยในการแก้ไขปญั หาการอา่ นออกเขียนไดข้ องผู้เรียนตั้งแต่ปฐมวยั การเร่ิมหดั ฟัง - พูด - อ่าน - เขยี น โดยใช้ภาษาแม่ท่ีใช้สื่อสารจากบ้านและชุมชนซ่ึงแตกต่างจากภาษาไทยท่ีใช้ในการสื่อสารของคนทั้งประเทศ เปน็ การจดั การเรียนร้สู อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะเฉพาะท่ีดำ� เนินงานอย่างเปน็ ระบบ อิงกับหลกั การทางภาษาศาสตร์ และหลกั การเรียนรู้ มีการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทปี่ ระมวลผลส�ำเรจ็ ได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยมโี รงเรยี น ในพ้ืนท่ีแนวชายแดนต่าง ๆ ทั้งทางภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดน้ �ำภาษาทอ้ งถิ่นรว่ มจดั การเรยี นรูม้ ี ดังน้ี 13

โรงเรยี นนำ� ร่องชายแดน ตะวนั ตก เหนือ และใต้ เร่มิ ดำ� เนนิ การตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๐ ในพนื้ ทภี่ าคเหนอื มีโรงเรียนจำ� นวน ๕ โรง ภาคตะวนั ตกมโี รงเรยี น จ�ำนวน ๑ โรง และภาคใตม้ โี รงเรียนจ�ำนวน ๔ โรง รวมจำ� นวน ๑๐ โรง ภูมิภาค โรงเรยี น ภาษาไทย - ทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานทด่ี �ำเนนิ การ ภาคเหนือ บ้านพุย สพป.เชยี งใหม่ เขต ๕ บา้ นรักแผ่นดิน กะเหรี่ยงโปว์  ส�ำนักวิชาการและมาตรฐาน สพป.เชียงราย เขต ๔ บ้านแผ่นดนิ ทอง ม้ง การศึกษา บา้ นห้วยหาน มง้ ภาคตะวนั ตก บ้านห้วยคุ มง้  มูลนิธภิ าษาศาสตรป์ ระยุกต์ สพป.กาญจนบุรเี ขต ๓ วัดวงั กว์ ิเวการาม มง้  องคก์ รยนู เิ ซฟแหง่ ประเทศไทย ภาคใต้ ไทยรฐั วิทยา ๑๐ สพป.นราธวิ าส เขต ๑ บา้ นบงึ น�้ำใส มอญ สพป.ยะลา เขต ๑ บ้านต�ำมะลงั เหนือ สพป.สตลู บา้ นประจัน มลายูถ่ิน  ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สพป.ปัตตานี เขต ๒ มลายถู น่ิ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล มลายูถนิ่ มลายถู ่นิ  ศอ.บต.  องคก์ รยนู เิ ซฟแหง่ ประเทศไทย โรงเรยี นขยายผลชายแดนเหนอื และใต้ เร่ิมด�ำเนนิ การในปี ๒๕๕๕ ในพื้นที่ภาคใตม้ ีโรงเรียนจำ� นวน ๑๑ โรง และในปี ๒๕๕๗ มีโรงเรียน ขยายผลทางภาคเหนอื จำ� นวน ๑๔ โรง รวมโรงเรยี นจำ� นวน ๒๕ โรง ภมู ภิ าค โรงเรยี น ภาษาไทย - ท้องถ่ิน หนว่ ยงานที่ด�ำเนินการ ภาคเหนือ บ้านแมอ่ า่ งขาง สพป.เชยี งใหม่ เขต ๕ บ้านหว้ ยโค้ง กะเหรย่ี งโปว์  ส�ำนักวิชาการและมาตรฐาน บา้ นหว้ ยน้�ำขาว กะเหรี่ยงสะกอ การศกึ ษา บ้านมเู ซอ กะเหรีย่ งสะกอ  มูลนิธภิ าษาศาสตรป์ ระยกุ ต์ กะเหรี่ยงสะกอและ  องคก์ รยนู เิ ซฟแหง่ ประเทศไทย ลาห่แู ซแล สพป.เชียงใหม่ เขต ๖ บ้านขุนแตะ กะเหรี่ยงสะกอ สพป.เชียงราย เขต ๑ บ้านจะคอื ลาหูแ่ ดง ลาหแู่ ดง บ้านผาขวางวิทยา 14

ภูมภิ าค โรงเรยี น ภาษาไทย - ทอ้ งถิ่น หนว่ ยงานที่ดำ� เนินการ ภาคเหนอื (ตอ่ ) สพป.เชยี งราย เขต ๒ บา้ นหนองผำ� ลาหซู่ ี สพป.เชียงราย เขต ๓ บ้านห้วยอืน้ ลาหูแ่ ดง สพป.ตาก เขต ๒ บ้านแมอ่ ุสวุ ิทยา กะเหร่ียงสะกอ สพป.แม่ฮ่องสอน เขต ๒ บา้ นห้วยกุ้ง กะเหรี่ยงสะกอ บ้านแมป่ นุ๋ กะเหรย่ี งสะกอ บา้ นเจา้ พอ่ หลวง- เลอเวอื ะ อุปถมั ภ์ ๑๐ บ้านละอบู เลอเวือะ ภาคใต้ สพป.นราธิวาส เขต ๑ บ้านกำ� ปงปแี ซ มลายูถนิ่  ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สพป.นราธวิ าส เขต ๒ บ้านกวู า มหาวทิ ยาลยั มหิดล สพป.นราธิวาส เขต ๓ บ้านบเู กะตาโมง  ศอ.บต. สพป.ยะลา เขต ๑ บ้านปงตา  องคก์ รยนู เิ ซฟแหง่ ประเทศไทย บ้านตะโละหะลอ สพป.ปัตตานี เขต ๑ บา้ นลดา/บ้านจอื โระ บา้ นใหมพ่ ฒั นาวทิ ย์ สพป.ปัตตานี เขต ๒ บา้ นกรอื เซะ/บา้ นบโู กะ สพป.ปัตตานี เขต ๓ บา้ นบน หนังสือรูปภาพ (มลายูถิ่น) 15

แนวทางการดำ� เนินงานการจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีการด�ำเนินงานการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนภาษาไทย โดยได้มีการสนับสนุนการน�ำภาษาท้องถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้ในพ้ืนท่ีแนวชายแดน พ้ืนที่สูง และพน้ื ที่พิเศษทปี่ ระสบปัญหาการอา่ นไมอ่ อกเขยี นไม่ได้ ส�ำหรับกลุ่มนกั เรยี นทเ่ี ปน็ กลุ่มชาติพนั ธุ์ มีดังนี้ ✦ สนับสนุนการใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นส่ือจัดการเรียนการสอน ร่วมกับภาษาไทยและใช้แนวทางการสอนภาษาไทยอย่างการสอนภาษา ที่สองในโรงเรียนที่เป็นเด็กไทยพูดภาษาท้องถ่ินแตกต่างจากภาษาไทย หรอื ภาษาชาติ ✦ การพัฒนาและการสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียน น�ำร่องเพ่ือเป็นต้นแบบการจัดการศึกษาแนวทางภาษาไทยโดยใช้ภาษา ท้องถิน่ ร่วมจัดการเรียนรู้ ✦ สนับสนุนงบประมาณในการจ้างบุคลากรท้องถิ่น และ การดำ� เนินงาน ✦ เผยแพร่สู่โรงเรียนอ่ืน ๆ ที่นักเรียนพูดภาษาท้องถ่ินต่าง ๆ (เดก็ ชาวเขา ชายแดน ชายขอบ) โดยฝึกอบรมการจดั การเรียนการสอน การพัฒนาส่ือการเรียนการสอน หลักสูตรสถานศึกษา การนิเทศติดตาม ประเมินผล ✦ สง่ เสริม สนบั สนนุ และสรา้ งความร่วมมือด้านการศกึ ษา กับองคก์ รอื่น ๆ ในทุกระดบั ✦ การเผยแพร่นวัตกรรมส่ือและวิธีการสอนในรูปแบบ เอกสาร และวีดทิ ศั นก์ ารสอนภาษาไทย - ทอ้ งถนิ่ ในระบบ DLIT และ TEPE Online จากผลการวิจัยในหลายประเทศและผลการวิจัยในโรงเรียนน�ำร่องของประเทศไทย ซึ่งด�ำเนินการ อยู่หลายแห่งต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และองค์กรเครือข่าย โดยการออกแบบและจดั การเรยี นการสอนบูรณาการความรเู้ กย่ี วกบั ภาษา ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมท้องถิน่ สู่การออกแบบการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนในแต่ละพ้ืนท่ี สามารถยกระดับ การเรียนรู้ของประชากรไทยวัยเรียนได้เป็นอย่างดี สามารถยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งชั้น หรือนักเรียนส่วนใหญ่ได้เป็นอย่างดี เด็ก ๆ สามารถสื่อสารกับครูได้เรียนรู้อย่างมีความสุข มีความเช่ือม่ัน ในตนเอง สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน ได้อยา่ งนอ้ ยสองภาษา คอื ภาษาทอ้ งถน่ิ และภาษาไทย 16

นอกจากน้ี ยังส่งเสริมการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนท้องถิ่น ให้มีการรักษา วัฒนธรรมของท้องถิ่นควบคู่กับการศึกษาอย่างยั่งยืน และการสร้างรากฐานของประชากรไทย ตามแนวชายแดนกับประชากรของประเทศเพือ่ นบา้ นประเทศชาตไิ ว้ได้อย่างมั่นคง จากการออกติดตามโรงเรียนในโครงการในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยคณะท�ำงานจากส�ำนัก วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำ� นักพฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิกร สำ� นกั ตดิ ตามและประเมนิ ผล การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และศึกษานิเทศก์ในเขตพื้นท่ีการศึกษา ได้เข้าคารวะและพบปะผู้บริหาร เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา และสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน และครูผ้สู อน ได้ขอ้ สรุปของการด�ำเนนิ งานดังนี้ ผลการดำ� เนินงาน ๑. ด้านความเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเด็กนักเรียน มีความกล้าคดิ กลา้ แสดงออก สามารถโต้ตอบและส่ือสารกบั ครไู ดม้ ากขนึ้ ๒. ผู้เรียนมีความสามารถด้านทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน ของภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยมากขนึ้ ๓. การรกั ษาภาษา อัตลักษณ์ ภมู ิปญั ญา และวัฒนธรรมท้องถน่ิ ความตอ้ งการการสนับสนุน ๑. ด้านสือ่ และกลวธิ กี ารสอนท่ีเป็นเอกสารและส่ือเทคโนโลยี ๒. การจ้างครูท้องถ่ินและการสรรหาครู พนักงานราชการ และ อตั ราจ้าง (ตำ� แหน่งครูผู้สอนสองภาษา) เปน็ กรณีพิเศษ ๓. การสนับสนุนเชิงนโยบายจากส่วนกลางและเขตพื้นท่ีการศึกษา ในการด�ำเนินงานการนิเทศและการติดตามอย่างต่อเน่ือง เพอ่ื ให้เกิดการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื หนังสอื รูปภาพ (มลายถู ิ่น) 17

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย - ทอ้ งถิ่น การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ภาษาไทย - ทอ้ งถน่ิ แก่เดก็ ปฐมวยั ทใ่ี ชภ้ าษาอ่ืนในชีวติ ประจำ� วนั ท้งั เด็ก กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ตุ ่าง ๆ ในภาคเหนือ ภาคใต้ ตะวนั ตก ตะวันออกเฉยี งเหนือ ตามแนวทางการใช้ภาษาทอ้ งถนิ่ ร่วมจัดการเรียนรู้ ด�ำเนินการต้ังแต่การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโดยการวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวม ๓ ขั้นตอน คือ ๑) ก�ำหนดสภาพที่พึง ประสงค์ ๒) ก�ำหนดตัวชวี้ ัดท่ีเน้นความหมายและตวั ชี้วดั ที่เน้นความถูกต้อง และ ๓) ก�ำหนดสาระ (เนอ้ื หา) และกิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นความหมาย/เนน้ ความถกู ต้อง ๑) ก�ำหนดสภาพท่ีพึงประสงค์ โดยวิเคราะห์จากตัวบ่งช้ีของแต่ละมาตรฐานในหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสอดแทรกเป้าหมายการจัดประสบการณ์แนวทางภาษาไทย - ทอ้ งถ่ิน ๒) กำ� หนดตวั ชว้ี ดั (ความส�ำเรจ็ ) ทเ่ี น้นความหมาย ตัวช้วี ดั ที่เน้นความถกู ต้อง โดยวิเคราะห์จาก สภาพท่พี ึงประสงค์ท่ีก�ำหนดไว้ ๓) ก�ำหนดสาระ (เนื้อหา) และกิจกรรมการเรียนรู้ โดยก�ำหนดสาระจากวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ความเช่ือ การละเล่นต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถ่ินตลอดปี และออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้น ความหมายให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่เน้นความหมายและก�ำหนดกิจกรรมท่ีเน้นความถูกต้องให้สอดคล้อง กบั ตวั ช้ีวดั ท่ีเนน้ ความถกู ต้องท่กี �ำหนดไว้กอ่ นหนา้ นแี้ ลว้ 18

แนวทางการจดั ประสบการณ์ เมื่อได้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเรียบร้อยแล้ว จึงน�ำหลักสูตรสู่การจัดประสบการณ์ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ใช้ภาษาท้องถ่ินในชีวิตประจ�ำวันเหล่าน้ัน แบ่งเป็น ๒ ขั้นตอน ได้แก่ การก�ำหนด หนว่ ยการเรยี นรู้ และการนำ� หนว่ ยการเรียนไปใช้ในการจดั ประสบการณ์ ๑. การก�ำหนดหนว่ ยการเรียนรู้ ก�ำหนดหน่วยการเรยี นรูโ้ ดยเลือกใชร้ ูปแบบการก�ำหนดหนว่ ยรูปแบบที่ ๒ ของส�ำนักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ตามขั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี การกำ� หนดหนว่ ยการเรยี นรู้แนวทางภาษาไทย - ทอ้ งถ่นิ ข้นั ตอนท่ี ๑ กำ� หนดปญั หา/ส่งิ ทีส่ นใจ การศึกษาและคัดเลือก วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดปีว่า มีอะไรบ้างท่ีน่าสนใจ และต้องการน�ำมาให้เด็กได้เรียนรู้ ได้ปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความรัก ความเช่ือ ความผูกพัน และเกิดความภาคภูมิใจต้องการสืบทอด และรักษาไว้ให้ยั่งยืน การก�ำหนดส่ิงท่ีสนใจ ให้ก�ำหนดเป็นกลุ่ม ๆ พรอ้ มส�ำหรับจดั ทำ� หนว่ ยการเรียน ข้นั ตอนที่ ๒ ก�ำหนดสาระส�ำคัญ การเขียนองค์ความรู้ หรือทักษะ หรือกระบวนการท่ีต้องการ ให้เกิดกับเด็กเม่ือได้เรียน หรอื ได้ปฏิบัติ วถิ ชี วี ติ ประเพณี วัฒนธรรม ทไี่ ด้เลือกไวใ้ นขอ้ ๑ แตล่ ะรายการ โดยให้สอดคลอ้ งกบั สาระ ทีค่ วรเรยี นรู้ ของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ขัน้ ตอนที่ ๓ ระบุมาตรฐานคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ การวิเคราะห์สาระส�ำคัญท่ีก�ำหนดไว้ในข้อ ๒ แต่ละข้อว่ามีความสอดคล้องกับมาตรฐาน คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ตัวบง่ ช้ี และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ของหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ข้อใดบา้ ง ขัน้ ตอนท่ี ๔ เลือกตวั ช้วี ัดทเ่ี ก่ียวขอ้ งท่ีเนน้ ความหมาย และเนน้ ความถูกต้อง การวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีท่ีเลือกไว้ในข้อ ๓ ว่าหน่วยการเรียนรู้น้ัน ๆ มีสาระเกี่ยวข้องกับ ตวั ชี้วัดใดบา้ ง 19

ขัน้ ตอนท่ี ๕ กำ� หนดเกณฑ์การประเมินตัวชว้ี ัด การก�ำหนดระดับคุณภาพของตัวชี้วัดแต่ละข้อโดยอาจก�ำหนดเป็น ๓ ระดับ เช่น ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) และอธบิ ายแตล่ ะระดบั คณุ ภาพของแต่ละตวั ชว้ี ดั ให้ชดั เจนสอดคล้องกนั ข้นั ตอนท่ี ๖ เลอื กกจิ กรรมการเรยี น ท่เี น้นความหมาย/ความถูกต้อง การเลือกสาระ/กิจกรรมการเรียนของตัวช้ีวัดท่ีเลือกไว้ในข้อ ๔ จากหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวยั และสอดคลอ้ งกับเกณฑก์ ารประเมนิ ในข้อ ๕ ขัน้ ตอนท่ี ๗ ก�ำหนดชือ่ หน่วยการเรียน การก�ำหนดช่ือหน่วยการเรียนรู้จากกิจกรรมวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รวมทั้งชื่อ จากสาระท่ีควรเรียนรู้ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐ ขั้นตอนที่ ๘ ก�ำหนดเวลาจัดกิจกรรม การก�ำหนดเวลาจัดกิจกรรมอิงกับเวลาการจัดกิจกรรมประสบการณ์ระดับปฐมวัย คือ ๒๐ - ๖๐ นาที และแยกสาระที่ควรเรียนรู้เป็นรายวิชา ซึ่งใช้ช่ือรายวิชาคล้ายกับระดับประถมศึกษา เพื่อให้สะดวกในการเช่ือมโยงการเรียนรู้เมื่อเด็กข้ึนช้ันไประดับประถมศึกษาโดยยึดตามมาตรฐาน คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐ เปน็ หลักในการแยก ดังน้ี ชอื่ รายวชิ าของชนั้ อนุบาลปีท่ี ๑ มี ๕ รายวิชา ไดแ้ ก่ ๑. วชิ าสขุ ศึกษา (๒๐ นาที) น�ำสาระท่คี วรเรยี นรมู้ าจากมาตรฐานท่ี ๑ ๒ ๓ ๕ ๖ และ ๗ ๒. วชิ าภาษาทอ้ งถนิ่ คือ ภาษาท่ีเดก็ ในโรงเรยี นพูด เช่น ภาษาลาหูซ่ ี ภาษาม้ง ฯลฯ (๒๐ นาท)ี น�ำสาระทค่ี วรเรยี นรูม้ าจากมาตรฐานท่ี ๙ ๑๑ และ ๑๒ แยกเป็นสาระยอ่ ย คอื ฟังพดู ภาษาท้องถิน่ และ เตรียมอ่านเขียนภาษาทอ้ งถน่ิ ๓. วชิ าคณิตศาสตร์และเกมการศกึ ษา (๓๐ นาท)ี นำ� สาระที่ควรเรียนรู้มาจากมาตรฐานที่ ๙ ๑๐ และ ๑๒ ๔. วิชาวิถีชีวติ ชมุ ชนส่ิงแวดล้อมและศิลปวฒั นธรรม (๔๐ นาที) น�ำสาระท่คี วรเรยี นร้มู าจาก มาตรฐานที่ ๒ ๓ ๔ ๗ ๘ ๙ และ ๑๑ ๕. วิชาการละเล่นพ้ืนบ้านและพลศึกษา (๖๐ นาที) น�ำสาระท่ีควรเรียนรู้มาจากมาตรฐาน ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๘ และ ๑๐ ช่อื รายวิชาของชนั้ อนบุ าลปที ่ี ๒ มี ๖ วชิ า โดยวชิ าท่ี ๑ - ๕ เหมอื นกบั ชัน้ อนบุ าลปีที่ ๑ แต่เพมิ่ วิชาท่ี ๖ คอื วชิ าภาษาไทย (ฟงั - พดู แบบ TPR) นำ� สาระท่ีควรเรยี นรู้จาก มาตรฐานท่ี ๙ ๑๐ และ ๑๒ 20

๒. การน�ำหนว่ ยการเรียนไปใชใ้ นการจัดประสบการณ์ การน�ำหน่วยการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ ต้องจัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์ ภาษาไทย - ทอ้ งถิ่น โดยด�ำเนินการตามล�ำดบั ดังน้ี ๑. การจดั ทำ� ส่อื การเรยี นรู้ โดยวเิ คราะห์จากสาระทีค่ วรเรยี นรู้ของหนว่ ยการเรยี นรู้แตล่ ะหน่วย เช่น สาระที่ควรเรียนรู้วชิ าภาษาลาหซู่ ี กำ� หนดวา่ เป็นเรือ่ ง การปลูกพืชในฤดฝู น ครผู สู้ อนตอ้ งทำ� สอื่ ฉากภาพ วัฒนธรรม หรือฉากภาพใหญ่เกี่ยวกบั การปลูกพชื ในฤดฝู นของชนเผ่าลาหูซ่ ี เปน็ ต้น การจัดท�ำส่อื การเรียนรู้ จะร่วมกันทั้งครูผู้สอนและปราชญ์ท้องถิ่นหรือครูท้องถ่ินท่ีมาเป็นครูผู้สอนท่ีต้องจัดประสบการณ์ตาม แผนการจดั ประสบการณด์ ว้ ยภาษาท้องถนิ่ ตลอดปกี ารศกึ ษา ๒. การเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ โดยน�ำมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพท่ี พึงประสงค์ ตัวช้ีวัดท่ีเน้นความหมาย/เน้นความถูกต้องที่สอดคล้องกับสาระควรเรียนรู้แต่ละวันมาเขียน แผนการจัดประสบการณร์ ายวัน ฉากภาพวฒั นธรรม (กะเหรีย่ งสะกอ) ฉากภาพวัฒนธรรม (มง้ ) 21

22 ๓. ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละแผนการจัดประสบการณช์ ัน้ อนบุ าลปีท่ี ๑ หน่วย เรามาโรงเรียน ๑. สง่ เสริมพฒั นาการด้านรา่ งกาย มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ ตัวชีว้ ัดท่ีเน้นความหมาย ตวั ชวี้ ดั ทเ่ี น้นความถูกต้อง มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมสี ขุ นสิ ัยที่ดี ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑.๓ ๑.๓.๒ ดแู ลตนเองใหถ้ กู ต้องปลอดภัย - บอกวิธปี ฏิบตั ติ นเวลาไอหรือจาม - ปฏบิ ัตติ นได้ถกู ตอ้ งเวลาไอหรือจาม รกั ษาความปลอดภัยของตนเอง จากโรคตดิ ตอ่ - บอกโรคตดิ ต่อท่ีเกดิ ขึน้ เวลาไอ และผู้อ่นื หรือจาม มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรงใช้ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว และประสานสมั พันธ์กัน ตัวบง่ ช้ีท่ี ๒.๑ ๒.๑.๕ เคลือ่ นไหวรา่ งกายไดอ้ ย่าง - เคลอ่ื นไหวรา่ งกายพื้นฐานได้ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายไดอ้ ย่าง คล่องแคลว่ และทรงตัวได้ดี - - เคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบเพลงได้ คลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พนั ธแ์ ละ - เคลื่อนไหวร่างกายตามคำ� ส่งั ได้ ทรงตวั ได้ดี - เคลอื่ นไหวรา่ งกายแบบผนู้ �ำผู้ตามได้ - กระโดดเทา้ คู่ไปข้างหนา้ สง่ บอลได้ ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๒ ๒.๒.๒ ขีดเขียนรูปสี่เหลยี่ มตามแบบ - เขยี นรูปไดต้ ามแบบทตี่ ้องการ - ขดี เขียนรปู สีเ่ หลี่ยมตามแบบได้อยา่ ง ใชม้ อื - ตาประสานสมั พนั ธ์กัน ได้อยา่ งมมี ุมชดั เจน มีมมุ ชดั เจน

๒. เพ่อื ส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณจ์ ิตใจ มาตรฐานและตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั ทเ่ี นน้ ความหมาย ตวั ช้วี ดั ทีเ่ น้นความถกู ต้อง มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจติ ดแี ละมีความสขุ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๓.๑ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ความร้สู กึ ได้ - แสดงออกดว้ ยความม่ันใจในตนเอง - แสดงอารมณ์ความร้สู กึ ไดส้ อดคล้อง แสดงออกทางอารมณ์ไดอ้ ย่าง ตามสถานการณ์ - รา่ เริงแจม่ ใสอารมณ์ดี ตามสถานการณ์ เหมาะสม - เดก็ อยากมาโรงเรียน ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ ๓.๒.๑ กล้าพดู กล้าแสดงออก - กล้าพูดแสดงออก - มคี วามรู้สึกท่ดี ตี ่อตนเองและผู้อื่น อยา่ งเหมาะสมบางสถานการณ์ - ชน่ื ชมผลงานของตนเอง ๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงาน - ภูมิใจในผลงานของตนเอง และความสามารถของตนเอง และผู้อนื่ มาตรฐานที่ ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว ตัวบง่ ช้ีที่ ๔.๑ ๔.๑.๑ สนใจมีความสขุ และแสดงออก - ตั้งใจและมคี วามสขุ ในการทำ� งาน - สนใจและมีความสขุ กับศลิ ปะ/ ผ่านงานศลิ ปะ ศิลปะ/ดนตร/ี การเคลอ่ื นไหว ดนตร/ี และการเคล่ือนไหว ๔.๑.๒ สนใจมคี วามสขุ และแสดงออก - สรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ผา่ นเสียงเพลงและดนตรี ตามจนิ ตนาการได้ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และแสดง - รอ้ งเพลงพืน้ บ้าน บทกลอน ได้ - ทา่ ทาง/เคลือ่ นไหวประกอบเพลง - วาดภาพตามจินตนาการได้ จงั หวะและดนตรี - ป้นั ดินน�ำ้ มนั ตามจินตนาการได้ - เคลื่อนไหวรา่ งกายตามจินตนาการได้ 23 ๔.๑.๔ เล่นเกมพื้นบ้านตามกตกิ าได้ - อธบิ ายการเล่นเกมพ้นื บา้ น - เลน่ เกมพ้นื บา้ นตามกติกาได้ ตามกติกาได้ - เลน่ เกมพลศกึ ษาได้ - เลน่ อุปกรณ์กีฬาได้

24 ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ (ต่อ) มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ตัวช้วี ดั ทีเ่ น้นความหมาย ตัวชีว้ ดั ท่เี น้นความถกู ตอ้ ง - อธิบายวิธีการทำ� งานทไี่ ดร้ ับ - ทำ� งานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสำ� เร็จ มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและจติ ใจทด่ี ีงาม มอบหมาย ถกู ตอ้ งตามคำ� สัง่ ตวั บ่งชที้ ี่ ๕.๔ ๕.๔.๑ ทำ� งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย มคี วามรับผิดชอบ จนสำ� เรจ็ เมอ่ื มีผู้ชีแ้ นะ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๕.๒ ๕.๒.๒ ชว่ ยเหลือ และแบ่งปนั ผู้อื่นได้ - อธบิ ายถงึ การแสดงความมนี �้ำใจ - แบ่งของเล่นให้เพื่อนได้ มีความเมตตากรณุ า มนี �้ำใจและ เมื่อมีผชู้ แี้ นะ แบง่ ปนั ของใหเ้ พื่อนและผู้อน่ื ชว่ ยเหลือแบง่ ปัน ๓. เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสงั คม มาตรฐานและตวั บง่ ชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ ตัวชว้ี ดั ท่ีเนน้ ความหมาย ตวั ชวี้ ดั ที่เน้นความถกู ตอ้ ง - รับประทานอาหารอยา่ งเรียบรอ้ ยได้ มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชวี ติ และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้วยตนเองโดยไมห่ กเลอะเทอะ ตวั บ่งชีท้ ่ี ๖.๑ ๖.๑.๒ รับประทานอาหารได้ - บอกวิธีรบั ประทานอาหาร - ใชส้ ่ิงของเครอ่ื งใชส้ ว่ นรวมอยา่ งประหยัด ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิ ดว้ ยตนเอง ด้วยตนเอง กจิ วตั รประจ�ำวัน และใช้เท่าท่มี ีอยู่ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๖.๓ ๖.๓.๑ ใชส้ ิง่ ของเครอ่ื งใช้อย่างประหยดั - รู้จักประหยดั และพอเพยี ง และพอเพียงเมื่อมีผู้ชี้นำ�

๓. เพ่อื ส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคม (ต่อ) มาตรฐานและตัวบง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดทเ่ี น้นความหมาย ตัวชว้ี ดั ทเ่ี น้นความถกู ตอ้ ง มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย ตัวบง่ ชที้ ี่ ๗.๑ ๗.๑.๑ มสี ่วนรว่ มดแู ลรกั ษาธรรมชาติ - อธบิ ายถึงของสาธารณะได้ - ไมท่ �ำลายสาธารณสมบัติ ดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และส่ิงแวดล้อมเมอื่ มีผูช้ ้ีแนะ - บอกวธิ กี ารดูแลสงิ่ ของสาธารณะได้ - ดูแลรกั ษาสิ่งของในห้องเรียนและโรงเรียนได้ ตวั บ่งช้ที ี่ ๗.๒ ๗.๒.๑ ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทย - บอกวธิ ีการแสดงความเคารพ - แสดงความเคารพต่อครู ผูป้ กครองได้ มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย และ และมารยาทของชนเผา่ ลาหซู่ ี ตามมารยาทไทยและลาหู่ซีได้ - กล่าวคำ� ขอบคณุ ขอโทษได้อยา่ งถูกตอ้ ง รกั ความเปน็ ไทย ไดด้ ้วยตนเอง - อธิบายโอกาสในการกลา่ วคำ� ๗.๒.๒ กล่าวคำ� ขอบคุณและขอโทษ ขอบคุณ และขอโทษได้ และถูกกาลเทศะ ดว้ ยตนเอง ๔. เพื่อส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ตัวชวี้ ัดทเ่ี น้นความหมาย ตัวชี้วดั ท่เี นน้ ความถกู ตอ้ ง มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย ตัวบ่งช้ีที่ ๙.๑ ๙.๑.๑ ฟงั ผ้อู ่ืนพดู จนจบ และสนทนา - เลา่ ประสบการณข์ องตนเองได้ - เปดิ และทำ� ทา่ ทางอา่ นหนงั สอื ภาพได้ สนทนาโตต้ อบ และเล่าเร่อื ง โต้ตอบเปน็ ภาษาท้องถ่นิ - เล่าเร่ืองจากภาพ/ตามจนิ ตนาการได้ - ฟังและปฏิบตั ิตามค�ำสั่งอยา่ งตอ่ เนือ่ งได้ ใหผ้ ูอ้ ่ืนเข้าใจ สอดคลอ้ ง กับเรอื่ งทฟ่ี งั - ฟังเรือ่ งในภาษาที่ ๑ แล้วเล่าให้ - ฟงั และปฏิบตั ิตามค�ำสั่งทง่ี ่ายเป็นภาษา ๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็นประโยคต่อเนือ่ ง เพื่อนฟังได้ ไทยได้อย่างม่นั ใจ ดว้ ยภาษาท้องถน่ิ ได้ - คดิ และเล่าเรื่องของตนเองใน - เล่าเรื่องจากภาพ/ตามจินตนาการได้ ภาษาที่ ๑ ได้ - สนทนาโต้ตอบโดยใช้ภาษาที่ ๑ 25 ตัวบง่ ช้ีท่ี ๙.๒ ๙.๒.๑ เขียนคล้ายตัวอักษร - อา่ นภาพทเี่ ขียนและอธิบายได้ - เขยี นภาพตอ่ เนอื่ งแล้วเลา่ เร่อื ง จากภาพ อ่าน เขียนภาพและสญั ลักษณ์ได้ ทวี่ าดเปน็ ภาษาที่ ๑

26 ๔. เพือ่ สง่ เสริมพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา (ต่อ) มาตรฐานและตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ตัวชว้ี ัดท่ีเน้นความหมาย ตวั ช้วี ัดทเี่ น้นความถกู ต้อง มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ท่ีเป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐.๑ ๑๐.๑.๒ จบั คแู่ ละเปรียบเทยี บ - อธบิ ายจบั ค่ภู าพทีม่ ีความสัมพันธก์ ัน - จบั คบู่ ตั รตวั เลขกับภาพเพือ่ แสดงคา่ มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด ความแตกตา่ ง หรอื ความเหมอื น - อธบิ ายเหตผุ ลในการเรยี งล�ำดับ จำ� นวน ๑ - ๑๐ ของสง่ิ ตา่ งๆ โดยใช้ลกั ษณะ สิ่งของได้ - จบั คภู่ าพทมี่ ีความสมั พันธ์กัน ท่สี งั เกต พบเพยี ง - บอกความเหมอื นความต่างท่ี - เรยี งล�ำดับสง่ิ ของได้ ๔ ล�ำดบั ๑ ลกั ษณะ สังเกตไดจ้ ากภาพตดั ต่อ - ตอ่ ภาพตดั ตอ่ ๖ - ๘ ช้ินได้ ๑๐.๑.๔ เรยี งล�ำดับสงิ่ ของ หรอื - บอกจ�ำนวน ๑ - ๑๐ - นบั ปากเปล่า ๑ - ๒๐ ได้ เหตกุ ารณ์ อยา่ งน้อย ได้ ๔ ล�ำดบั ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๐.๓ ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญั หา และแกป้ ัญหา - บอกวธิ แี ก้ปัญหาไดเ้ หมาะสมตามวยั - ลงมอื แกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง และหาวิธแี ก้ มีความสามารถในการแก้ปญั หา โดยลองผดิ ลองถกู ปัญหาดว้ ยตนเอง เมอื่ ท�ำ และตัดสนิ ใจ ครงั้ แรกไม่ส�ำเรจ็ มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑๑.๑ ๑๑.๑.๑ สรา้ งผลงานศลิ ปะเพอ่ื ส่ือสาร - บอกความคิดของตนเองจาก - สร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะตามจินตนาการได้ สรา้ งผลงานศิลปะเพ่ือสอื่ สาร ความคิด และความรสู้ ึกของ ผลงานศิลปะ ให้เขา้ ใจได้ - สร้างสรรคผ์ ลงานทางศลิ ปะ โดยมี ความคดิ และความรูส้ กึ ของตนเอง ตนเอง โดยมกี ารดดั แปลง - อธิบายรายละเอยี ดผลงานของ และ แปลกใหม่ จากเดิม ตนเองได้ รายละเอียดเพม่ิ ขนึ้ หรือมีรายละเอยี ดเพ่ิมข้ึน ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑๑.๒ ๑๑.๒.๒ เคล่อื นไหวท่าทางเพอื่ สอื่ สาร - อธบิ ายเกี่ยวกบั ท่าทางทตี่ นเอง - แสดงบทบาทสมมตติ ามจินตนาการ แสดงท่าทาง/เคลอื่ นไหว ความคิด ความรูส้ ึกของ แสดงได้ ตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ ตนเอง อยา่ งหลากหลาย หรอื แปลกใหม่

๔. เพ่อื สง่ เสริมพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา (ต่อ) มาตรฐานและตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ตัวชว้ี ัดที่เน้นความหมาย มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียนร้แู ละมีความสามารถในการในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวัย ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๒.๑ ๑๒.๑.๒ กระตือรือรน้ ในการเขา้ รว่ ม - เล่นและทำ�กจิ กรรมร่วมกับผอู้ ่ืน - เลน่ และทำ�กิจกรรมไดต้ ามขอ้ ตกลง มเี จตคติทด่ี ตี ่อการเรียนรู้ กิจกรรม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑๒.๒ ๑๒.๒.๑ คน้ หาคำ�ตอบของข้อสงสัย - ใชค้ ำ�ถามท่สี อดคล้องกบั - สนทนาซกั ถามในเรือ่ งทีส่ นใจ มีความสามารถในการแสวงหา - สามารถสนทนาโตต้ อบและแสดง ความรู้ ตา่ ง ๆ ตามวิธกี ารของตนเอง ประสบการณ์ ทพ่ี บจากการร่วม ความคิดเห็นเป็นภาษา ที่ ๑ ได้ ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำ�ถามว่า กจิ กรรมกับครู/เพือ่ น “ทีไ่ หน”/“ทำ�ไม” ในการหาคำ�ตอบ ประสบการณ์สำ� คญั ทส่ี ่งเสรมิ พัฒนาการด้านสติปญั ญา พัฒนาการดา้ น การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสนิ ใจ และแก้ปญั หา ไดแ้ ก่ ประสบการณ์ส�ำคัญ ต่อไปน้ี ขอ้ (๘) การนับ และแสดงจำ� นวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั ขอ้ (๑๕) การใช้ภาษาทางคณติ ศาสตร์กับเหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจำ� วัน 27

28 สาระทค่ี วรเรียนรู้ หน่วย เรามาโรงเรยี น ชนั้ อนุบาลปที ี่ ๑ รายวชิ า/มาตรฐานการเรยี นรู้ วนั วิชาสุขศกึ ษา (๒๐ นาที) วชิ า ภาษาลาหซู่ ี วชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละ วชิ าวิถีชีวิตชมุ ชนส่ิงแวดล้อม วิชา การละเลน่ พ้นื บ้าน มาตรฐานท่ี (นาที) เกมการศกึ ษา (๓๐ นาที) และศิลปวฒั นธรรม (๔๐ นาที) และพลศกึ ษา (๖๐ นาที) ๑, ๒, ๓, ๕, ๖, ๗ มาตรฐานท่ี มาตรฐานท่ี มาตรฐานท่ี มาตรฐานท ่ี ๙, ๑๑, ๑๒ ๙, ๑๐, ๑๒ ๒, ๓, ๔, ๕, ๗, ๘, ๙, ๑๑ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๘, ๑๐ - เคล่อื นไหวพนื้ ฐาน/มอื - ฉากภาพวัฒนธรรม - การนับจ�ำนวน ๑ - ๓ - การปฏบิ ตั ิตนต่อผอู้ นื่ - เลน่ อิสระตามมมุ - เคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบเพลง (ค�ำถามปลายเปดิ ) - เกมจับคู่เพอ่ื นท่ตี นเอง ในประเพณีลาหู่ซี จนั ทร์ - การรกั ษาความสะอาดมอื โรงเรยี นของเรา รู้จกั วธิ ีการล้างมอื - การรกั ษาความสะอาดเทา้ - เคล่ือนไหวพนื้ ฐาน/มอื เรื่องเลา่ - รู้คา่ จำ� นวน ๑ - ๓ - การแตง่ กายประจ�ำเผา่ ลาห่ซู ี - เล่นเครอ่ื งเลน่ สนาม อังคาร - เปน็ ผนู้ �ำผู้ตาม เรือ่ ง (นาแลใจด)ี - เกมจบั ค่ชู ายหญงิ - การแสดงบทบาทสมมติ ในการเคลื่อนไหว - เคลอื่ นไหวพนื้ ฐาน/มือ เร่ืองจากประสบการณ์ - การนบั จ�ำนวนเพ่ือน - มารยาทในทอ้ งถนิ่ (ลาหู่ซี) - เล่นอสิ ระตามมุม - ทำ� ทา่ ทางตามสัญญาณเคาะ ๑ - ๓ คน เชน่ การคกุ เข่าขอขมา พธุ - โทษของการไมร่ กั ษา - เกมเรียงลำ� ดับสูงต่�ำเด็ก - การแสดงบทบาทสมมติ ความสะอาดมอื และเท้า ในหอ้ งเรียน - เคลือ่ นไหวพ้ืนฐาน/มอื หนังสอื รูปภาพ - นบั จำ� นวนของใชส้ ว่ นตัว - การทักทายในทอ้ งถน่ิ (ลาห่ซู )ี - กายบรหิ าร (พละศกึ ษา) พฤหสั บดี - ท�ำท่าทาง ตามคำ� สง่ั (ดอลา่ ไปโรงเรยี น) ๑ - ๓ อยา่ ง เช่น การคุกเข่าขอขมา - เกมเดินตามเส้น - เกมจดั กลมุ่ ตามสญั ลกั ษณ์ - การแสดงบทบาทสมมติ - เคลอื่ นไหวพ้นื ฐาน/มอื ทบทวน - ร้คู ่าและนบั จ�ำนวน ๑ - ๓ ทบทวน - เกม (เกมรถล้อรถเทา้ ) ศกุ ร์ - ท�ำทา่ ทางตามค�ำบรรยาย - เกมจำ� สญั ลกั ษณ์สว่ นตวั - ทบทวน

แผนการจัดประสบการณภ์ าษาไทย - ท้องถิน่ (ลาหูซ่ ี) ระดับปฐมวัย ช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ สัปดาหท์ ่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันจนั ทร์ ที่   เดอื น        พ.ศ. ตัวชีว้ ัด สาระทคี่ วรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การวดั ผลประเมินผล มาตรฐานท่ี ๑ ตวั บง่ ช้ี ๑.๒ สุขศึกษา (๒๐ นาที) - ครูสนทนาซักถามสร้างความคุ้นเคย เพลงโรงเรียน เน้นความหมาย ตัวช้วี ัดเนน้ ความหมาย - เคล่อื นไหวพืน้ ฐาน - เด็กและครูรว่ มกันร้องเพลงชอ่ื ไปโรงเรียน - สงั เกตการสนทนาโตต้ อบได้ - บอกวธิ ีล้างมือทถ่ี กู วิธีได้ - เคล่อื นไหวร่างกาย - เดก็ และครูรว่ มกนั เคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบ - สงั เกตการเคล่ือนไหวประกอบ ตวั ชีว้ ัดที่เนน้ ความถกู ต้อง เพลงไปโรงเรียน - ลา้ งมอื ๗ ข้ันตอนได้ ประกอบเพลง - เด็กและครูร่วมกนั สนทนาถึงการรกั ษา เพลง มาตรฐานท่ี ๔ ตวั บ่งช้ที ่ี ๔.๑ - การรกั ษาความสะอาดมือ ความสะอาดของมือและเทา้ เน้นความถกู ตอ้ ง ตัวชี้วดั ทเ่ี นน้ ความหมาย - ครสู าธติ การลา้ งมือทีถ่ ูกวธิ ีใหน้ ักเรียนดู มีทง้ั หมด - การล้างมอื ทถ่ี ูกวิธี - อธิบายเหตุผลได้วา่ ชอบภาพ และเท้า ๗ ขน้ั ตอน เครื่องมอื การวดั - วธิ กี ารลา้ งมอื - นกั เรยี นทกุ คนรว่ มกนั ทดลองการลา้ งมอื ทงั้ ๗ ขน้ั ตอน - แบบบันทกึ การสงั เกต ดนตรี เพลงนน้ั เพราะอะไร -ต ัวรชอ้ ีว้ งัดเพทล่ีเนงพ้นน้ื คบว้าานมแถลูกว้ตอ้ ง - นักเรยี นเดินแถวไปท่ีก๊อกน�้ำปฏบิ ัตจิ ริง การลา้ งมือที่ถกู วธิ ี แสดงท่าทางได้ - เดินแถวกลับหอ้ งเรียน มาตรฐานท่ี ๙ ตัวบ่งชที้ ่ี ๙.๑ ภาษาลาหู่ (๓๐ นาที) ฉากภาพใหญ่ - ฉากภาพ เนน้ ความหมาย ต- ัวเชล่าี้วเัดรท่ือง่ีเนจน้ากคภวาาพมไหดม้ าย - ฉากภาพใหญ่ ๑. ครูถามคำ� ถามปลายปิดและปลายเปิด วฒั นธรรม - สังเกตจากการเลา่ เรอื่ งจากภาพ มตาัวตชรี้วฐัดาทนีเ่ ทนี่ น้๑ค๑วตามวั ชหี้วมัดาย๑๑.๑ (คำ� ถามปลายเปดิ ) ๒. แบ่งกลมุ่ เดก็ พรอ้ มท้งั ใหเ้ ดก็ เลอื กส่วนของ โรงเรยี น - สงั เกตจากการตอบคำ� ถาม โรงเรียนของเรา รูปภาพตามความสนใจแตง่ เปน็ เรอื่ งเล่า ของเรา ตามจนิ ตนาการ แบบปิดและแบบเปิด - อธิบายภาพที่ตนเองวาดได้ ๓. เดก็ เลา่ เรอ่ื งตามจนิ ตนาการ เครอ่ื งมือวัด -ต ัววชาวีดดัภทาพเ่ี นตน้ าคมวจาินมตถนกู าตกอ้ารงได้ - แบบบนั ทกึ การสงั เกต ๔. เดก็ เขยี นเรอื่ งเล่าของกลุม่ ตนเอง (วาดภาพตาม ตมาัวตชรวี ฐัดาทนเ่ี ทน่ีน้ ๑ค๒วาตมัวหบม่งชา้ทียี่ ๑๒.๒ จนิ ตนาการ) ๕. น�ำเสนอผลงาน - อธบิ ายเหตผุ ลในการตอบ ค�ำถามได้ ตวั ชวี ัดทเ่ี นน้ ความถกู ต้อง - ตอบคำ� ถามแบบปดิ และแบบเปดิ ได้ มาตรฐานท่ี ๑๒ ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑๒.๒ ต- ัวเชลา่วี เดัรื่อทงี่เเนปน้น็ ปครวะาโมยหคอมยาา่ ยงต่อเนอ่ื ง 29

30 แผนการจดั ประสบการณ์ภาษาไทย - ทอ้ งถ่นิ (ลาห่ซู )ี ระดบั ปฐมวยั ช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วนั จนั ทร์ ที่   เดือน        พ.ศ. ตวั ชี้วัด สาระทค่ี วรเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การวัดผลประเมนิ ผล - ตวั เดก็ เน้นความหมาย มาตรฐานที่ ๘ ตัวบง่ ชี้ที่ ๘.๑ คณิตศาสตร์ + เกมการศึกษา - ร้คู า่ จำ� นวน ๑ - ๓ - ส่ิงของ - การร่วมกจิ กรรมกับผูอ้ นื่ ตัวชวี้ ัดที่เนน้ ความหมาย (๓๐ นาท)ี - ปฏิบัติตามค�ำสัง่ - อธิบายการเลน่ รว่ มกนั - การนับจำ� นวน ๑ - ๓ - ตบมือ ๑ ครั้ง ในห้องเรียน - สังเกตจากการปฏิบัติ ใหส้ นกุ สนานได้ - เกมจบั คูเ่ พือ่ นท่ตี นเอง - ตบมือ ๒ ครัง้ ตามค�ำสงั่ ได้ ตัวชี้วัดเน้นความถกู ต้อง รจู้ กั - ตบมือ ๓ คร้ัง - ท�ำกจิ กรรมร่วมกบั ผู้อ่นื เคร่อื งมอื การวดั ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ - แบบบันทึกการสังเกต ไม่ทะเลาะววิ าทแกง่ แยง่ เนน้ ความถูกต้อง - สังเกตการบอกจ�ำนวนวัตถุ มาตรฐานท่ี ๑๐ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑๐.๑ ๑. เด็กนบั จ�ำนวนส่ิงของในห้องเรยี น ๓ อยา่ ง ตัวชวี้ ดั ทเี่ น้นความถูกต้อง ๒. เดก็ เลน่ เกมจับคเู่ พอ่ื นทตี่ นเองรู้จัก หรือส่ิงของได้ ๑ - ๓ - บอกจำ� นวนวตั ถหุ รอื ส่งิ ของ - วิง่ ไปจับกลุม่ เพ่อื นจำ� นวน ๓ คนแล้วนัง่ ลง - สงั เกตการเลน่ เกมจบั คเู่ พอ่ื น - ว่ิงไปจับกลุ่มเพอ่ื นจำ� นวน ๒ คนแลว้ นง่ั ลง เครอื่ งมอื การวัด ได้ ๑ - ๓ ๓. รว่ มกันสนทนาถึงจ�ำนวน ๑ - ๓ ตวั ช้วี ัดทีเ่ นน้ ความหมาย มาตรฐานที่ ๙ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙.๑ วิถีชีวิตชุมชนสงิ่ แวดล้อม ๑. เด็กเล่าเรื่องจากประสบการณแ์ ละ - สงั เกตจากการเลา่ เรอ่ื งจาก ตัวชวี้ ัดท่เี น้นความถูกตอ้ ง และศิลปวัฒนธรรม แสดงบทบาทสมมุตเิ กี่ยวกบั การปฏิบตั ิตน - ตัง้ ใจฟังผอู้ นื่ เล่าเรอ่ื งได้จนจบ (๔๐ นาท)ี ตอ่ ผู้อืน่ ในทอ้ งถ่ิน ประสบการณข์ องตนเองได้ และเลา่ เรอ่ื งที่ฟงั ได้ถูกตอ้ ง - การปฏิบัติตนตอ่ ผู้อื่น ๒. ร่วมกนั สนทนาถงึ การปฏิบตั ิตนในประเพณี - สงั เกตการแสดงบทบาท - เลา่ เรอื่ งดว้ ยภาษาทอ้ งถน่ิ ในประเพณี (ลาหูซ่ ี) เปน็ เรอ่ื งราวต่อเนอื่ ง สมมุติ ได้จนจบเร่ือง

แผนการจดั ประสบการณภ์ าษาไทย - ท้องถน่ิ (ลาหู่ซี) ระดบั ปฐมวัย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ สปั ดาหท์ ่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วนั จันทร์ ท่ ี   เดือน        พ.ศ. ตัวชว้ี ดั สาระที่ควรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การวดั ผลประเมินผล ๓. ใหน้ ักเรียนเตรยี มอุปกรณ์ในการแตง่ กาย เครอื่ งมือการวัด มาตรฐานท่ี ๑๑ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๑.๒ - แบบบันทกึ การสงั เกต ตัวชวี้ ดั ท่ีเนน้ ความหมาย ประจำ� เผ่ามาโรงเรียนในวนั พรงุ่ น้ี - การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ๑. สร้างขอ้ ตกลงร่วมกันกอ่ นการท�ำกิจกรรม ตามจนิ ตนาการและ ๒. เลน่ อิสระตามมุมประสบการณ์ ตามความตอ้ งการของตนเองได้ ๓. ครูดูแลอย่างใกล้ชิด มาตรฐานท่ี ๖ ตัวบ่งช้ที ่ี ๖.๒ พลศกึ ษาและการละเล่น - เล่นอิสระ ตัวชว้ี ดั ทีเ่ น้นความถูกตอ้ ง ตวั ชว้ี ดั ที่เน้นความหมาย พนื้ บ้าน (๑ ชว่ั โมง) ตามมมุ - เก็บของเล่นเขา้ ทไ่ี ด้ - บอกวธิ ีเกบ็ ของเลน่ ของใช้ - เล่นอสิ ระตามมุม ของเล่น เข้าทไ่ี ด้ ตามลำ� ดบั และถูกต้อง ตัวชีว้ ดั ที่เน้นความถูกตอ้ ง - ปฏิบัติตามขอ้ ตกลงร่วมกัน - เกบ็ ของเลน่ ของใช้เข้าที่ได้ เนน้ ความหมาย มาตรฐานท่ี ๘ ตวั บง่ ชี้ที่ ๘.๓ - เลน่ และทำ� กิจกรรมรว่ มกับ ตัวชี้วัดท่เี น้นความหมาย - สรา้ งขอ้ ตกลงการเล่น ผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ร่วมกนั ได้ เครื่องมอื การวัด - แบบบนั ทึกการสงั เกต ตวั ชว้ี ดั ท่ีเน้นความถกู ตอ้ ง - ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกนั ได้ 31

32 แผนการจัดประสบการณภ์ าษาไทย - ทอ้ งถิน่ (ลาหูซ่ )ี ระดับปฐมวัย ช้นั อนุบาลปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ สปั ดาห์ที่ ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันอังคาร ท่ี   เดือน        พ.ศ. ตัวช้วี ดั สาระทีค่ วรเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การวัดผลประเมนิ ผล มาตรฐานท่ี ๒ ตัวบง่ ช้ที ี่ ๒.๑ สุขศกึ ษา (๒๐ นาที) - เด็กเขา้ แถวตามกลุ่ม - เครอ่ื งเล่น ตวั ชีว้ ดั ท่เี นน้ ความถกู ตอ้ ง ตัวชีว้ ดั ท่ีเนน้ ความถกู ต้อง - การเคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน - เคล่ือนไหวรา่ งกายพ้ืนฐาน โดยเคล่อื นไหว เพลง - เคลือ่ นไหวรา่ งกายเปน็ ผู้นำ� - เคลื่อนไหวรา่ งกายแบบผู้น�ำ - การเคล่ือนไหวเปน็ ผู้นำ� ตามจังหวะเพลงแลว้ ท�ำท่าทางกายบริหาร ผู้ตามได้ ผู้ตามได้ ผ้ตู าม - นักเรยี นอาสาสมคั ร ๑ คนออกมาเป็นผ้นู �ำ - เคลอ่ื นไหวรา่ งกายพ้นื ฐานได้ - เคลอ่ื นไหวร่างกายพ้นื ฐาน ในการเคล่ือนไหวร่างกาย คนอื่น ๆ ปฏบิ ตั ิตาม เครือ่ งมอื การวดั ถกู ต้อง - ผลดั เปลย่ี นกันออกมาเปน็ ผูน้ �ำทลี ะคน - แบบบนั ทึกการสังเกต มาตรฐานที่ ๙ ตวั บ่งชี้ที่ ๙.๑ ภาษาลาหู่ (๓๐ นาที) เรือ่ งเล่า - สถานทต่ี า่ ง ๆ เนน้ ความหมาย ตัวช้วี ดั ทีเ่ น้นความหมาย - เรือ่ งเล่า ๑. ครกู ลา่ วถงึ หน่วยการเรียนรู้ประจ�ำสัปดาห์ ภายใน - สงั เกตการเล่าเรือ่ ง หรือเล่า - ฟังเร่ืองในภาษาท่ี ๑ แลว้ เล่า (เรอ่ื งชอบแยง่ ของเพื่อน) และเช่ือมโยงสเู่ รื่องเล่า โรงเรยี น จากบางสว่ นของเร่ืองด้วย ใหเ้ พ่อื นฟงั ได้ ๒. อ่านเรอ่ื งเลา่ ขนาดสน้ั (เรอ่ื งชอบแยง่ ของ ค�ำพดู ของตนเองของนักเรียน มาตรฐาน ๑๐ ตวั บ่งช้ี ๑๐.๒ เพือ่ น) ให้เด็กฟังอยา่ งนา่ สนใจ เน้นความถกู ต้อง ตวั ช้วี ัดทเ่ี น้นความหมาย ๓. ในขณะทอี่ า่ น หยดุ ๓ - ๔ ครง้ั เพ่อื ถามเด็กวา่ - สังเกตการคาดเดา่ เร่อื งจาก - บอกเหตุผลทีค่ าดเดา่ คิดว่าจะเกดิ เหตุการณอ์ ะไรต่อไป เร่อื งครูเลา่ และการบอก เรื่องราวได้ ๔. หลังจากท่ีอ่านเรือ่ งจบแลว้ ให้เดก็ เล่าเรอ่ื ง เหตุผลประกอบการคาดเดา ตวั ชี้วัดทเี่ นน้ ความถกู ต้อง หรอื บางสว่ นของเร่ืองโดยใชค้ �ำพดู ของตนเอง ของนักเรยี น - คาดเด่าเร่ืองทจ่ี ะเกิดขน้ึ ตอ่ ๕. เด็กแบ่งเปน็ ทีม และให้แตล่ ะทมี เปลี่ยน เคร่ืองมือการวดั จากเหตุการณท์ คี่ รเู ลา่ ตอนจบของเรือ่ ง จากนนั้ ให้แตล่ ะทีมออกมา - แบบบนั ทกึ การสงั เกต ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลสอดคล้อง เล่าเรอื่ งท่เี ปลย่ี นตอนจบให้เพอ่ื นฟงั และเป็นไปได้

แผนการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถิ่น (ลาหู่ซ)ี ระดบั ปฐมวัย ชัน้ อนุบาลปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สัปดาหท์ ี่ ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันองั คาร ท ่ี   เดอื น        พ.ศ. ตวั ช้ีวดั สาระท่ีควรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมนิ ผล มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๑ คณติ ศาสตร์+เกมการศึกษา ๑. เด็กปฏบิ ัตติ ามค�ำสัง่ ปรบมือ ปรบมือ ๑ ครง้ั ๑. เด็กชาย/ เนน้ ความถูกต้อง ตัวชีว้ ัดทเี่ น้นความถูกต้อง (๓๐ นาที) ๒ ครัง้ ๓ คร้ัง หญงิ - บอกค่าจ�ำนวน ๑ - ๓ ได้ - บอกค่าจ�ำนวน ๑ - ๓ ได้ - รคู้ ่าจำ� นวน ๑ - ๓ ๒. ครูอธบิ ายและสาธิตวธิ ีการเล่นเกม - เลน่ เกมจับคชู่ าย/หญิงได้ - เลน่ เกมจับคชู่ าย/หญิงได้ - เกมจับค่ชู าย/หญงิ ๓. เด็กเลน่ เกมจับค่ชู าย/หญงิ ตามกติกา วิถีชวี ิตชมุ ชนสง่ิ แวดล้อม ๑. เด็กเล่าประสบการณ์เก่ยี วกับการแตง่ กาย - เครอ่ื ง เน้นความหมาย มาตรฐานที่ ๙ ตัวบง่ ชที้ ี่ ๙.๑ และศิลปวัฒนธรรม ในชมุ ชน แต่งกาย - เลา่ ประสบการณ์ไดเ้ ปน็ ประโยค ตวั ชี้วดั ที่เน้นความหมาย (๔๐ นาที) ๒. เดก็ และครสู นทนาร่วมกันเกีย่ วกับการแต่งกาย ในชมุ ชน - เล่าประสบการณ์ของตนเองได้ - การแตง่ กายประจำ� ท้องถ่นิ ในการมาโรงเรยี นในวนั ศุกร์ (แตง่ กาย เผ่าลาหู่ซี ต่อเนือ่ งดว้ ยภาษาท้องถน่ิ ได้ (ลาหูซ่ )ี ชดุ ประจ�ำถน่ิ ) - การสนทนาโต้ตอบแสดง ๓. นกั เรยี นน�ำเคร่ืองแต่งกายทน่ี ำ� มามาร่วมสนทนา แสดงความเหน็ ตอ่ เครอื่ งแตง่ กายชนเผา่ ของตนเอง ความเห็น ๔. รว่ มกันสรปุ เร่ืองการแต่งกายประจำ� เผ่าลาหู่ เครื่องมือการวดั - แบบบนั ทึกการสงั เกต มาตรฐานที่ ๑ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๓ พลศึกษาและการละเล่น ๑. สรา้ งขอ้ ตกลงรว่ มกนั ก่อนไปเลน่ เครื่องเล่นสนาม - เครอื่ งเล่น เน้นความหมาย ตวั ชีว้ ดั ทเ่ี น้นความหมาย พนื้ บา้ น (๑ ช่วั โมง) ๒. นกั เรยี นเดินแถวไปที่สนาม สนาม - เลน่ และท�ำกิจกรรมรว่ มกับ - อธิบายวิธีการเล่นและ - เครอื่ งเล่นสนาม ๓. เลน่ เคร่ืองเลน่ สนาม ๔. ครดู ูแลความปลอดภยั อย่างใกลช้ ิด ผู้อ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ ท�ำกจิ กรรมทปี่ ลอดภยั ได้ ๕. ทำ� ความสะอาดรา่ งกายเดนิ แถวกลบั เข้า เนน้ ความถกู ตอ้ ง ตัวชว้ี ัดทเี่ น้นความถกู ตอ้ ง หอ้ งเรยี น - เล่นอย่างระมดั ระวงั - เล่นและท�ำกิจกรรมได้ดว้ ย เครอื่ งมอื การวดั - แบบบันทึกการสังเกต ความปลอดภัย 33 มาตรฐานท่ี ๘ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๘.๓ ตัวช้ีวัดทีเ่ นน้ ความหมาย - สร้างขอ้ คกลงรว่ มกันได้ - อธิบายขอ้ ตกลงร่วมกนั ได้

34 แผนการจดั ประสบการณภ์ าษาไทย - ทอ้ งถ่ิน (ลาห่ซู ี) ระดบั ปฐมวัย ชนั้ อนบุ าลปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สปั ดาห์ท่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันพุธ ท ี่   เดอื น        พ.ศ. ตวั ชีว้ ัด สาระทคี่ วรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การวัดผลประเมนิ ผล มาตรฐานที่ ๑ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๒ สุขศึกษา (๒๐ นาท)ี - เด็กเคลอ่ื นไหวรา่ งกายตามสญั ญาณ เช่น - รปู ภาพ เนน้ ความถูกต้อง ตวั ชวี้ ัดท่เี นน้ ความถูกตอ้ ง ๑. ทำ� ท่าทางตามสัญญาณ ครเู คาะเบา ๆ ใหว้ ิ่งชา้ ๆ ครูเคาะเร็ว ๆ - เคร่อื งเคาะ - สังเกตการปฏบิ ตั ติ น - ปฏบิ ัตติ นใหถ้ ูกต้อง ๒. โทษของการไมร่ ักษา ใหว้ ง่ิ เร็ว ๆ ครูเคาะปานกลางใหว้ ิง่ พอดี จงั หวะ - เด็กเลา่ ประสบการณ์ในการไม่รกั ษาความสะอาด - สบู่ ใหถ้ ูกต้อง ตามสุขลักษณะ ตามสขุ ลักษณะ ความสะอาดมอื และเท้า มอื และเท้า - สงั เกตการเคล่อื นไหวรา่ งกาย มาตรฐานท่ี ๔ ตวั บ่งช้ที ่ี ๔.๑ ตัวชว้ี ดั ทีเ่ นน้ ความถูกตอ้ ง - ครูนำ� ภาพการไมร่ กั ษาความสะอาดมอื และเทา้ ตามสัญญาณ - เคล่อื นไหวร่างกาย มาใหน้ กั เรียนดูรว่ มกันสนทนาถึงเนอื้ หาของภาพ เคร่ืองมือการวัด - นกั เรียนเดนิ แถวไปทำ� ความสะอาดมือ - แบบบันทกึ การสงั เกต ตามสญั ญาณ และเทา้ ทกี่ ๊อกน�้ำ มาตรฐานที่ ๙ ตวั บ่งช้ที ่ี ๙.๑ ภาษาลาหู่ (๓๐ นาท)ี เลา่ เร่ืองจากประสบการณ์ - สถานทตี่ า่ ง ๆ เน้นความหมาย ตัวช้วี ดั ทเ่ี น้นความหมาย เลา่ เรอ่ื งจากประสบการณ์ (ครพู านักเรยี นไปนอกหอ้ งเรียนไปดสู ถานท่ีตา่ ง ๆ ในโรงเรียน - สงั เกตการเลา่ เรอ่ื ง - เล่าประสบการณ์ของตนเองได้ ในโรงเรยี นแลว้ รว่ มสนทนากนั ถึงสถานที่ต่าง ๆ เชน่ หอ้ งสมดุ จากประสบการณข์ องตนเอง แล้วเดินกลบั มาทหี่ อ้ งเรยี น ห้องสหกรณ์ เครือ่ งมือการวดั ๑. เดก็ และครูร่วมกันทำ� กจิ กรรมท่ีสัมพันธก์ บั หอ้ งพยาบาล - แบบบันทกึ การสังเกต หัวข้อเรื่อง ฯลฯ ๒. เดก็ พดู คยุ เก่ยี วกบั ประสบการณน์ ้ันด้วยกนั ๓. ครชู ่วยเด็กแต่งเรือ่ งที่เก่ยี วกบั ประสบการณ์น้ัน ๔. เดก็ เลา่ เรอื่ งและครเู ขยี นเนอื้ เรอ่ื งบนกระดานดำ� ๕. เด็กเลือกช่ือเรอื่ งที่เหมาะสมกันเน้ือเรือ่ งพรอ้ ม กับครูเขียนชอ่ื เรอื่ งบนกระดานด�ำ ๖. ครูอ่านเรื่องให้เดก็ ฟัง โดยช้ีให้ตรงกับค�ำ ท่ีเขียนบนกระดานด�ำขณะทีอ่ า่ น

แผนการจัดประสบการณภ์ าษาไทย - ท้องถน่ิ (ลาหซู่ ี) ระดบั ปฐมวัย ช้ันอนบุ าลปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สปั ดาห์ท่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรียน   วันพุธ ท่ ี   เดอื น        พ.ศ. ตัวช้ีวัด สาระท่ีควรเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การวดั ผลประเมินผล - นักเรยี น ตัวช้ีวดั ท่เี น้นความถกู ต้อง มาตรฐานท่ี ๑๐ ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๐.๑ คณติ ศาสตร์ + เกมการศกึ ษา - ให้เด็กชว่ ยกันนบั จำ� นวนเพ่อื นในหอ้ งเรียน ตัวช้วี ัดท่เี น้นความหมาย (๓๐ นาท)ี ทง้ั หมด - บอกค่าจำ� นวน ๑ - ๓ ได้ - อธิบายเหตุผลการเรียงลำ� ดบั - การนบั จ�ำนวน ๑ - ๓ - นักเรยี นตวั แทน จำ� นวน ๓ คน ออกมาหน้า - เลน่ เกมเรียงล�ำดบั สงู ตำ่� และการจดั กล่มุ สญั ลกั ษณ์ - เกมเรียงลำ� ดับสงู ต�่ำ ชนั้ เรยี น ครชู ใ้ี ห้นกั เรียนนบั จ�ำนวน ๑ - ๓ ตัวชีว้ ดั ทีเ่ น้นความถูกต้อง เพอ่ื นในห้องเรียน ผลดั เปล่ียนกนั หลาย ๆ รอบ เพ่ือนในห้องเรียนได้ - บอกค่าจำ� นวน ๑ - ๓ ได้ - เกมเรียงลำ� ดับภาพ สูง - ต่ำ� เพอ่ื นในห้องเรยี น เคร่ืองมอื การวัด - เล่นเกมเรียงล�ำดับความสงู - ต่�ำ โดยตวั แทนออกมายืนหน้าชนั้ เรยี น ๓ คน - แบบบนั ทึกการสงั เกต ของเพื่อนในหอ้ งเรยี นได้ ครใู หย้ ืนเรยี งตามล�ำดับสงู ตำ่� - ผลัดเปลยี่ นกันออกมายืนนอกห้องเรียน แลว้ ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั เรียงลำ� ดบั สูงต�่ำ มาตรฐานที่ ๑๑ ตวั บ่งช้ีที่ ๑๑.๑ วิถีชวี ติ ชมุ ชนสิ่งแวดลอ้ ม - เด็กทุกคนแนะน�ำตวั เองใหเ้ พื่อนฟัง - กระดาษ เนน้ ความหมาย ตวั ชว้ี ดั ท่เี นน้ ความหมาย และศิลปวฒั นธรรม โดยบอกช่ือ นามสกลุ ชื่อเลน่ - สเี ทยี น - สงั เกตจากการแสดงบทบาท - อธิบายภาพท่ตี นเองวาดได้ (๔๐ นาที) - เดก็ เล่าเร่อื งจากประสบการณ์เรื่องเก่ยี วกบั ตัวชว้ี ดั ที่เนน้ ความถกู ต้อง - มารยาทในทอ้ งถ่ินลาหู่ มารยาทในท้องถ่นิ ลาห่ซู ี สมมุติ - วาดภาพตามจนิ ตนาการได้ - สังเกตจากวาดภาพ มาตรฐานที่ ๑๑ ตวั บ่งช้ีที่ ๑๑.๒ ตัวชว้ี ัดทเ่ี นน้ ความหมาย ตามจนิ ตนาการและอธิบาย - แสดงบทบาทสมมตุ ิ ภาพทตี่ นเองวาด ตามจนิ ตนาการ เครื่องมอื การวดั - แบบบันทึกการสงั เกต 35

36 แผนการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถิน่ (ลาหซู่ )ี ระดับปฐมวัย ชั้นอนุบาลปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ สปั ดาห์ท่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันพธุ ที่   เดือน        พ.ศ. ตัวช้วี ัด สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การวัดผลประเมนิ ผล มาตรฐานท่ี ๖ ตวั บ่งชี้ ๖.๒ พลศกึ ษาและการละเล่น ๑. สรา้ งข้อตกลงร่วมกนั ก่อนการท�ำกจิ กรรม - เลน่ อิสระ เนน้ ความหมาย ตวั ชวี้ ดั ท่ีเน้นความหมาย พน้ื บ้าน (๑ ช่วั โมง) ๒. นักเรยี นเลน่ อสิ ระตามมมุ ตามมุม - สังเกตการสรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกัน - บอกวิธีการเก็บของเลน่ - เล่นอสิ ระตามมมุ ๓. ครดู ูแลความเรียบรอ้ ยอยา่ งใกลช้ ิด เนน้ ความถกู ตอ้ ง ตัวชี้วดั ทีเ่ น้นความถกู ต้อง - สังเกตการเก็บของเล่นเขา้ ที่ - เกบ็ ของเลน่ เขา้ ทไ่ี ดต้ ามล�ำดบั ตามล�ำดบั ได้ถกู ต้อง ไดถ้ กู ต้อง - สงั เกตค�ำอธบิ ายการเล่นรว่ มกนั มาตรฐานท่ี ๘ ตวั บ่งช้ี ๘.๒ ตัวช้ีวดั ท่เี น้นความหมาย ให้สนุกสนานของนักเรยี น - สร้างขอ้ ตกลงการเล่นรว่ มกันได้ เครอื่ งมอื การวัด ตวั ชว้ี ัดท่ีเน้นความถกู ต้อง - แบบบนั ทกึ การสังเกต - ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงการเลน่ รว่ มกนั ได้ มาตรฐานที่ ๘ ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ตัวชี้วดั ท่ีเน้นความหมาย - อธบิ ายการเลน่ รว่ มกนั ให้สนุกสนานได้

แผนการจดั ประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถ่นิ (ลาหซู่ ี) ระดบั ปฐมวยั ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ สัปดาหท์ ่ี ๑   หน่วย เรามาโรงเรียน   วนั พฤหสั บดี ท ี่   เดือน        พ.ศ. ตวั ชวี้ ัด สาระท่ีควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมนิ ผล มาตรฐานที่ ๒ ตวั บ่งชีท้ ี่ ๒.๑ สขุ ศกึ ษา (๒๐ นาที) - เดก็ เคลื่อนไหวร่างกายพนื้ ฐานตามจังหวะ - เทปคาสเซท เนน้ ความถูกตอ้ ง ตวั ชี้วดั ท่ีเน้นความถูกตอ้ ง - การเคลอ่ื นไหวร่างกาย ดนตรี (เตน้ อสิ ระ) - การเคล่ือนไหวรา่ งกายพื้นฐาน - การเคลื่อนไหวรา่ งกาย พ้ืนฐาน - การเคลื่อนไหวร่างกายตามคำ� สง่ั เชน่ ครบู อก - สังเกตการเคลื่อนไหวรา่ งกาย พนื้ ฐาน - การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ให้เดก็ จบั หวั จบั ไหล่ จบั แขน จับขา ฯลฯ ตามค�ำสง่ั - เคลอื่ นไหวร่างกายตามคำ� ส่ัง ตามคำ� สงั่ มาตรฐานที่ ๙ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๙.๑ ภาษาลาหู่ (๓๐ นาที) หนังสอื รปู ภาพ (จะคือไปโรงเรียน) - หนังสอื เนน้ ความหมาย ตวั ช้ีวดั ทีเ่ น้นความหมาย - หนังสอื รปู ภาพ ๑. ครูน�ำรูปภาพให้เด็กดูทลี ะหนา้ แล้วให้เดก็ รปู ภาพ - สังเกตการสนทนาโตต้ อบ/ - คิดและเล่าเร่อื งของตนเอง (ดอล่าไปโรงเรยี น) บอกรายละเอยี ดจากภาพโดยครทู บทวน คำ� พูดของเด็กทุกครง้ั ท่เี ดก็ พูด เล่าเร่อื งราวได้ เป็นภาษาที่ ๑ ได้ เน้นความถูกต้อง ตัวช้ีวัดทเ่ี น้นความถกู ตอ้ ง ๒. ให้เด็กแบง่ กลุม่ ตามจ�ำนวนหนา้ หนงั สือ - สังเกตการเรียงล�ำดบั - เล่าเรื่องด้วยภาษาท้องถนิ่ รปู ภาพพร้อมใหเ้ ดก็ แตล่ ะกลุ่มแตง่ เร่อื ง จากภาพท่ีตนเองได้รบั เหตุการณไ์ ด้ ๔ - ๕ เหตุการณ์ เปน็ เรื่องราวตอ่ เน่อื งได้ เคร่อื งมือการวดั จนจบเร่อื ง ๓. เด็กน�ำเสนอโดยการเลา่ - แบบบนั ทกึ การสงั เกต มาตรฐานที่ ๑๐ ตวั บ่งช้ีท่ี ๑๐.๑ ๔. เด็กช่วยกนั เรยี งลำ� ดับภาพพรอ้ มชว่ ยกนั ตัวชว้ี ัดท่เี น้นความถูกตอ้ ง เล่าเร่ืองตามล�ำดบั รปู ภาพ - เรยี งลำ� ดบั เหตุการณไ์ ด้ ๕. นกั เรยี นสามารถเปลย่ี นล�ำดับภาพพร้อมท้ัง ๔ - ๕ เหตุการณ์ อธบิ ายและเลา่ เนื้อหาจากล�ำดบั ภาพ ทเี่ ปล่ยี น 37

38 แผนการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ทอ้ งถ่ิน (ลาหูซ่ )ี ระดบั ปฐมวยั ช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรียน   วนั พฤหัสบดี ที ่   เดือน        พ.ศ. ตัวชว้ี ดั สาระท่ีควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล มาตรฐานที่ ๑๐ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑๐.๑ คณติ ศาสตร์ + เกมการศกึ ษา จำ� นวน ๑ - ๓ - ส่งิ ของ ตัวช้วี ัดทเี่ น้นความถกู ต้อง ตวั ชวี้ ดั ทเ่ี น้นความหมาย (๓๐ นาที) - ครใู หเ้ ด็กนบั จำ� นวนของใชส้ ว่ นตวั ของตนเอง เคร่อื งใช้ - สงั เกตการบอกจำ� นวนวตั ถุ - อธิบายเหตผุ ลในการจบั คู่ - จำ� นวนของใช้สว่ นตัว ๓ อย่าง ส่วนตวั สงิ่ ของ ๑ - ๓ ได้ เรยี งลำ� ดบั และการจัดกลุ่ม ๑ - ๓ อยา่ ง - ครนู �ำของใช้ส่วนตวั ของนกั เรียนจำ� นวน สัญลักษณ์ได้ - เกมจัดกลุม่ ตามสัญลักษณ์ ๓ อย่างมาวางเรียนไว้ท่ีห้องเรียนแลว้ - เกมจดั กลุม่ - สงั เกตการเล่นเกมจดั กลุ่ม ตวั ชี้วัดท่ีเน้นความถูกต้อง ให้นักเรียนนับจำ� นวน ของใช้ แล้วครู ตาม ตามสัญลกั ษณ์ - บอกจำ� นวนวัตถสุ ิ่งของ ช้ใี หเ้ ห็นค่าจ�ำนวน ๓ อยา่ ง สญั ลกั ษณ์ เครือ่ งมอื การวัด ๑ - ๓ ได้ - เกมจดั กลุ่มตามสญั ลักษณ์ - แบบบันทึกการสังเกต - จดั กลุ่มตามสัญลักษณ์ มาตรฐานท่ี ๑๑ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑๑.๒ วิถชี วี ิตชมุ ชนสงิ่ แวดลอ้ ม ๑. เดก็ เล่าประสบการณเ์ ก่ยี วกับการทกั ทาย - กระดาษ เน้นความหมาย ตัวชวี้ ัดทเ่ี นน้ ความหมาย และศิลปวฒั นธรรม ในท้องถ่นิ (ลาหู่ซ)ี คือ การจบั มือ - สีเทยี น - สงั เกตการแสดงบทบาท - แสดงบทบาทสมมุติ (๔๐ นาที) ๒. เดก็ แสดงบทบาทสมมตุ ิเก่ียวกบั การทกั ทาย ตามจินตนาการได้ - การทักทายในทอ้ งถิน่ ในทอ้ งถ่นิ (ลาหซู่ ี) คอื การจบั มือ สมมตุ ติ ามจนิ ตนาการและ ตัวช้วี ัดทีเ่ นน้ ความถกู ตอ้ ง (ลาหู่) คือ การจับมือ ๓. ครแู ละนักเรยี นสนทนารว่ มกันเกย่ี วกบั ความคิดสร้างสรรค์ - แสดงบบาทสมมุติ มารยาทตามประเพณวี ฒั นธรรมของท้องถ่ิน เครื่องมือการวัด ตามจนิ ตนาการและ และวัฒนธรรมประเพณไี ทย - แบบบันทึกการสังเกต ความต้องการของตนเองได้ ๔. เดก็ วาดภาพประสบการณ์จากการแสดง บทบาทสมมตุ ติ ามจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ๕. น�ำเสนอผลงาน

แผนการจดั ประสบการณ์ภาษาไทย - ท้องถ่ิน (ลาหซู่ )ี ระดบั ปฐมวัย ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ สัปดาหท์ ี่ ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วันพฤหัสบดี ท่ ี   เดอื น        พ.ศ. ตวั ช้ีวดั สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. เด็กเข้าแถวตอน ๔ แถวอบอุน่ รา่ งกาย โดย มาตรฐานท่ี ๑๒ ตัวบง่ ช้ที ี่ ๑๒.๑ พลศกึ ษาและการละเลน่ - มือจับเอว เขยง่ ปลายเทา้ นบั ๑ - ๑๐ - อุปกรณ์ เน้นความถกู ต้อง ตัวชี้วดั ท่เี น้นความถูกต้อง พ้ืนบา้ น - มือจบั เอว บิดล�ำตวั ซ้าย - ขวา การเล่น - สงั เกตการเดินตอ่ เทา้ - เดนิ ตอ่ เท้าไปข้างหน้าตามแนว (๑ ช่วั โมง) สลับกนั ขา้ งละ ๕ ครั้ง ไปขา้ งหนา้ ตามเสน้ ได้ - กายบรหิ าร (พลศึกษา) ๒. อธบิ ายและสาธติ การเลน่ “เกมเดนิ ตามเสน้ ” เครือ่ งมอื การวัด - เกมเดินตามเส้น ๓. เดก็ เล่น “เกมเดนิ ตามเสน้ ” ทลี ะแถว - แบบบนั ทึกการสังเกต ๔. เด็กและครรู ว่ มกันสรุปการจดั กจิ กรรม กอ่ นพาเด็กไปทำ� ความสะอาดรา่ งกาย 39

40 แผนการจดั ประสบการณภ์ าษาไทย - ทอ้ งถน่ิ (ลาหซู่ ี) ระดับปฐมวยั ชน้ั อนุบาลปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สัปดาห์ท่ี ๑   หน่วย เรามาโรงเรยี น   วนั ศุกร์ ที ่   เดือน        พ.ศ. ตวั ชว้ี ัด สาระที่ควรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การวดั ผลประเมินผล มาตรฐานท่ี ๒ ตวั บ่งชีท้ ่ี ๒.๑ สขุ ศกึ ษา (๒๐ นาที) ทบทวน เน้นความถกู ตอ้ ง ตวั ช้วี ัดทีเ่ น้นความถูกต้อง - การเคลื่อนไหวรา่ งกาย - เด็กเคลือ่ นไหวพื้นฐาน โดยการเคลือ่ นมือ - บอกวธิ กี ารปฏบิ ตั ิตน - เคลอื่ นไหวรา่ งกายตามค�ำบรรยาย พืน้ ฐาน ในท่าต่าง ๆ จากท่ีไดเ้ รยี นมาได้ ๒ อยา่ ง - การเคลอื่ นไหวร่างกาย - การเคลือ่ นไหวตามค�ำบรรยาย (ครใู ห้นักเรยี นสมมตุ ิ - สังเกตการณต์ อบคำ� ถาม ตามคำ� บรรยาย - เคล่อื นไหวรา่ งกายตามคำ� บรรยาย ตนเองเปน็ ผีเส้อื บินไปบินมา บินมาเกาะ เครอ่ื งมือการวัด - การปฏิบัติตามหลัก ทดี่ อกไม้ ดูดน้�ำหวานจากเกสรดอกไมจ้ นอิ่ม - แบบบันทกึ การสงั เกต สุขอนามยั แล้วก็นอนพกั พอต่ืนนอนกบ็ ินกลับ) - นกั เรยี นนั่งท�ำสมาธิ - ทบทวนการรกั ษาความสะอาดมอื เท้า - ทบทวนวิธีการลา้ งมือ - โทษของการไม่รักษาความสะอาดมือและเทา้ มาตรฐานท่ี ๙ ตัวบง่ ชี้ที่ ๙.๑ ภาษาลาหู่ (๓๐ นาที) ทบทวน ฉากภาพใหญ่ เน้นความหมาย ตวั ช้ีวดั ทเ่ี นน้ ความหมาย - ทบทวนภาษาลาหู่ ๑. ฉากภาพใหญ่ - เรือ่ งเลา่ - สังเกตการเลา่ เร่ืองจาก - เลา่ เรอื่ งจากประการณ์ ๒. เรอ่ื งเล่าทค่ี รูอ่านใหฟ้ ัง ๓. เล่าเรอ่ื งจากประสบการณ์ ประสบการณ์ของตนเอง ของตนเองได้ มาตรฐานท่ี ๙ ตัวบง่ ชที้ ่ี ๙.๒ คณติ ศาสตร์ + เกมการศกึ ษา การนับ - ตวั เดก็ ตวั ชว้ี ดั ท่เี น้นความถูกต้อง ตัวช้วี ัดท่เี น้นความหมาย (๓๐ นาที) ๑. ทบทวนคา่ จำ� นวน ๑ - ๓ โดยการนับจ�ำนวน - สังเกตการบอกจ�ำนวนวตั ถุ - จำ� ภาพ สญั ลักษณ์ และ - รู้คา่ และนับจำ� นวน ๑ - ๓ ค�ำที่เห็นได้ - เกมจำ� สญั ลักษณส์ ่วนตวั ส่ิงของเคร่อื งใช้ เพ่อื นในหอ้ งเรียน ฯลฯ สิ่งของ ๑ - ๓ ได้ ตัวช้วี ัดที่เนน้ ความถกู ตอ้ ง - เด็กเล่นเกมจ�ำสัญลกั ษณ์ส่วนตัว - เล่นเกมจ�ำสัญลกั ษณ์ - อา่ นภาพ สญั ลักษณ์ คำ� ท่เี หน็ ได้ มาตรฐานท่ี ๑๐ ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๑ ตัวชวี้ ัดทเ่ี นน้ ความถกู ตอ้ ง - บอกคา่ และนบั จำ� นวน ๑ - ๓ ได้

แผนการจัดประสบการณ์ภาษาไทย - ทอ้ งถน่ิ (ลาหู่ซ)ี ระดบั ปฐมวัย ชัน้ อนุบาลปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ สปั ดาหท์ ่ี ๑   หนว่ ย เรามาโรงเรยี น   วนั ศกุ ร์ ท ี่   เดอื น        พ.ศ. ตวั ชีว้ ัด สาระท่คี วรเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล มาตรฐานท่ี ๔ ตวั บ่งช้ีที่ ๔.๑ วิถชี ีวิตชุมชนสิ่งแวดล้อม ๑. เด็กและครูรว่ มกนั สรปุ เก่ยี วกบั วิถีชีวติ ชมุ ชน - ดนิ น�ำ้ มนั เนน้ ความหมาย ตวั ช้วี ดั ทเ่ี น้นความหมาย และศลิ ปวฒั นธรรม ส่ิงแวดล้อมและศิลปวฒั นธรรมของชุมชน - แผน่ รองปั้น - สงั เกตความต้ังใจและมคี วามสุข - สร้างสรรค์ผลงานทางศลิ ปะได้ (๔๐ นาที) (การปฏิบตั ิตนต่อผู้อืน่ ในประเพณีลาห่,ู ในการทำ� งานศลิ ปะ - ทบทวน การแต่งกายประจำ� เผ่าลาหู่ มารยาทในท้องถ่ิน - สงั เกตการปั้นดนิ น�ำ้ มนั - ป้นั ดนิ นำ�้ มนั การทักทายในทอ้ งถน่ิ ) ตามจินตนาการ ตามจินตนาการ ๒. เด็กป้นั ดนิ นำ�้ มันตามจินตนาการ เครอ่ื งมอื การวัด - แบบบนั ทึกการสงั เกต มาตรฐานที่ ๘ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๘.๓ พลศกึ ษาและการละเลน่ ๑. ครอู ธิบายและสาธิตวธิ กี ารเลน่ เกม - อปุ กรณ์ เนน้ ความถูกตอ้ ง ตัวชว้ี ัดทเี่ น้นความถกู ตอ้ ง พ้นื บา้ น (๑ ชั่วโมง) (เกมรถลอ้ รถเทา้ ) การเลน่ - สงั เกตการเลน่ เกมพ้ืนบ้าน - เล่นเกมพื้นบา้ นตามกติกาได้ (เกมรถล้อรถเทา้ ) เคร่อื งมอื การวดั ๒. ใหเ้ ดก็ เลน่ (เกมรถล้อรถเทา้ ) - แบบบนั ทึกการสงั เกต ๓. ใหเ้ ดก็ ร่วมกันบอกความรู้สกึ ในการเลน่ 41

42 บันทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่ เดอื น หนว่ ย เรามาโรงเรียน สัปดาหท์ ่ี ๑ พ.ศ. วิชา สุขศกึ ษา ภาษาลาหู่ซี (กิจกรรมเสรมิ คณิตศาสตร์และเกมการศกึ ษา วิถีชีวติ ชุมชน สิ่งแวดลอ้ ม พลศึกษา การละเล่นพนื้ บา้ น วนั (กจิ กรรมเคลอื่ นไหว ประสบการณ์ และกิจกรรม (กจิ กรรมเกมการศกึ ษา) และศิลปวัฒนธรรม (กิจกรรม เลน่ อิสระ (กิจกรรมกลางแจง้ / ประเด็น และจงั หวะ) สร้างสรรค์) เสรมิ ประสบการณ์ และ เลน่ เสรีตามมมุ ) กิจกรรมสรา้ งสรรค์) จนั ทร์ พัฒนาการเดก็ จดุ แก้ไข องั คาร พัฒนาการเด็ก จดุ แกไ้ ข พธุ พัฒนาการเด็ก จดุ แก้ไข พฤหสั บดี พฒั นาการเด็ก จุดแก้ไข ศุกร์ พฒั นาการเด็ก จุดแก้ไข ขอ้ เสนอแนะการพัฒนา ลงชอื่ ............................................................................................ผบู้ ันทกึ ลงชอ่ื ............................................................................................ผบู้ ันทกึ (.................................................................................................) (.................................................................................................) ครทู ้องถิ่น ครูประจำ� ช้ัน