Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-06-คู่มือครู คณิต ป.5 หน่วยที่ 2

64-08-06-คู่มือครู คณิต ป.5 หน่วยที่ 2

Published by elibraryraja33, 2021-08-06 04:01:01

Description: 64-08-06-คู่มือครู คณิต ป.5 หน่วยที่ 2

Search

Read the Text Version

2 2 2 ชน้ั ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒๑ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๔๓ หน่วยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรียนรู ส่ือ/แหล่งเรียนรู ขั้นนาำ ก า ร ห า ร จํ า น ว น นั บ ด  ว ย แบบฝก หดั 2.21 จํานวนนับที่ผลหารเปนทศนิยม 1. ทบทวนการหารจาํ นวนนบั ดว ยจาํ นวนนบั ทม่ี ผี ลหารเปน ทศนยิ ม 1 ตาํ แหนง โดยใหน กั เรยี นชว ยกนั ไมเกิน 2 ตําแหนง การประเมินผล แสดงวิธีหารพรอ มกนั บนกระดาน ดังนี้ สาระสาำ คญั 1. วิธกี าร 28 ÷ 8 8 283..05 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู การหารท่ีตัวตั้งและตัวหาร 24 1.2 ตรวจแบบฝกหดั เปนจํานวนนับและมผี ลหารเปน วิธที ำา 8✕3 ทศนิยมใชวิธีการเชนเดียวกับ 2. เคร่อื งมอื การหารทศนิยมดวยจํานวนนับ 28 – 24 = 4 4.0 2.1 แบบประเมนิ ทกั ษะและ เน่ืองจากจํานวนนับสามารถ 4 = 4.0 4.0 8 ✕ 0.5 เขยี นเปนทศนยิ มได 0 กระบวนการทางคณิตศาสตร 2.2 แบบฝก หัด 2.21 จดุ ประสงค์การเรียนรู ตรวจสอบ 8 ✕ 3.5 = 28.0 = 28 2 ดานความรู ดังนน้ั 28 ÷ 8 = 3.5 3. เกณฑ์ 3.1 คะแนนรวมดานทักษะ ห า ผ ล ห า ร จํ า น ว น นั บ กั บ ตอบ ๓.๕ จาํ นวนนับท่ีผลหารเปน ทศนยิ ม และกระบวนการทางคณิตศาสตร ไมนอยกวา รอยละ 60 3.2 ผลงานมีความถูกตอง ไมน อ ยกวา รอยละ 80

๑๔๔ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒๑ ช้นั ป.๕01 9 เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 ดา นทกั ษะและกระบวนการ ข้นั สอน ทางคณติ ศาสตร์ 2. ครูเขียนโจทย 3 ÷ 4 บนกระดาน ครแู ละนักเรียนรว มกนั แสดงการหารบนกระดาน ดงั นี้ 1. ใหเ หตุผล 3 ÷ 4 3 = 3.0 = 3.00 2. ส่ือสารและสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร ขน้ั ที่ 1 นาํ 4 ไปหาร 3 โดยเขยี น 3 เปน 3.0 ไดผ ลหารเปน 0.7 เหลอื เศษ 0.2 4 03..70 2.8 4 ✕ 0.7 5 47 0.2 ขนั้ ท่ี 2 เขียน 3.0 เปน 3.00 และ 0.2 เปน 0.20 นํา 4 ไปหาร 0.20 ได 0.05 เหลือเศษ 0 4 03..0705 2.8 4 ✕ 0.7 3.0 – 2.8 = 0.2 0.20 2 0.2 = 0.02 0.20 4 ✕ 0.05 0 ตรวจสอบ 4 ✕ 0.75 = 3.00 = 3 ดังนัน้ 3 ÷ 4 = 0.75 ตอบ ๐.๗๕

2 2 กลุ่มสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร์ ชนั้ ป.๕ 1 6 5 7 90แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๑ เวลา ๑ ช่วั โมง 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๔๕ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 นอกจากน้ี เราสามารถหาผลหารในรูปเศษสว นไดดังน้ี 3 ÷ 4 = 3 ✕ 41 = 43 43 2255 = ✕ ✕ = 17050 = 0.75 ดังนัน้ 3 ÷ 4 = 0.75 ตอบ ๐.๗๕ 2

๑๔๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๒๑ ชั้น ป.๕01 9 เวลา ๑ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 3. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุมชวยกันหาผลหารโดยการตั้งหาร และการเขียนในรูปเศษสวน โดยจับฉลากกลุมละ 1 ขอ ทําลงในกระดาษที่ครูแจกให เมื่อทํา เสร็จแลว ใหส งตวั แทนนาํ เสนอผลงาน พรอมทั้งตรวจสอบคาํ ตอบดงั น้ี 2 ÷ 8 18 ÷ 12 2 ÷ 8 โดยการต้ังหาร 2 ÷ 8 โดยการเขยี นในรปู เศษสวน 2 ÷ 8 = 2 ✕ 18 วิธีทาำ 8 02..0205 = 82 5 47 = 41 1.6 41 2255 0.40 = ✕ 0.40 ✕ 20 = 12050 ตรวจสอบ 8 ✕ 0.25 = 2.00 = 2 = 0.25 ดังนนั้ 2 ÷ 8 = 0.25 ดงั นน้ั = 0.25 ตอบ ๐.๒๕ ตอบ ๐.๒๕

2 1 6 5 7 90กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร์แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๑ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๔๗ หน่วยที่ ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ชั้น ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง 18 ÷ 12 โดยการตั้งหาร 18 ÷ 25 โดยการเขียนในรูปเศษสวน วธิ ที ำา 12 181..05 2 18 ÷ 25 = 18 ✕ 215 12 = 2185 6.0 2158 44 6.0 = ✕ ✕ 0 = 17020 ตรวจสอบ 25 ✕ 0.72 = 18.0 = 18 = 0.72 ดังนนั้ 18 ÷ 25 = 0.72 ดังนน้ั = 0.72 ตอบ ๐.๗๒ ตอบ ๐.๗๒ 4. นกั เรยี นทาํ แบบฝกหัด 2.21 เปน การบา น ขัน้ สรุป 5. ครแู ละนักเรยี นรว มกันสรปุ การหารจาํ นวนนับดว ยจํานวนนับทีม่ ีผลหารเปนทศนิยม ดงั น้ี การหารท่ีตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนนับ และมีผลหารเปนทศนิยม ใชวิธีการเชนเดียวกับ การหารทศนยิ มดว ยจาํ นวนนบั เนอื่ งจากจาํ นวนนบั สามารถเขยี นเปน ทศนยิ มได หรอื เขยี นในรปู เศษสว น โดยนําตัวต้งั คณู ดวยสวนกลับของตัวหาร แลว เขียนผลหารในรูปทศนยิ ม

๑๔๘ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๒๒ 01 9 แนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ขัน้ นาำ ทบทวนการหารจาํ นวนนบั ดว ยจํานวนนับที่มีผลหารเปนทศนยิ ม 2 ตําแหนง 5 47 ขน้ั สอน โดยใหน ักเรียนชว ยกนั แสดงวธิ หี าผลหาร ชว ยกันอภิปรายวธิ ีการหาผลหารจํานวนนบั ดว ยจํานวนนับ ผลหารเปน ทศนิยม 3 ตําแหนง พรอมท้งั ตรวจสอบคําตอบโดยทําเปน กลมุ ใหนักเรยี นทาํ แบบฝก หัด 2.22 ข้ันสรุป ครูและนกั เรยี นรวมกนั อภิปรายสรปุ การหารจํานวนนับดว ยจาํ นวนนบั ที่มีผลหารเปนทศนยิ ม 2 การวัดและประเมินผล - ประเมินจากการตอบคําถาม และการทําแบบฝก หัด 2 - ประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรด า นการใหเหตผุ ล และการส่ือสาร และสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร

2 2 2 ชน้ั ป.๕ เวลา ๑ ชวั่ โมง 1 6 5 7 90กลมุ่ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร์แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๒๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๔๙ หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ขอบเขตเน้อื หา กจิ กรรมการเรยี นรู ส่อื /แหลง่ เรียนรู 2 ขนั้ นาำ การหารจาํ นวนนบั ดว ยจาํ นวนนบั แบบฝก หัด 2.22 ท่ีผลหารเปนทศนิยมไมเกิน 1. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกี่ยวกับการหารจาํ นวนนับดว ยจํานวนนับ 3 ตําแหนง - ถาผลหารเปนทศนิยม 1 ตําแหนง เขียนตัวต้ังเปนทศนิยมกี่ตําแหนง (1 ตําแหนง) และ การประเมิน สาระสาำ คัญ หลังจดุ ทศนยิ มควรมี 0 กี่ตัว (1 ตวั ) 1. วธิ ีการ - ถาผลหารเปนทศนิยม 2 ตําแหนง เขียนตัวตั้งเปนทศนิยมกี่ตําแหนง (2 ตําแหนง) และหลัง 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู การหารท่ีตัวตั้งและตัวหาร 1.2 ตรวจแบบฝกหดั เปนจํานวนนับและมีผลหาร จดุ ทศนิยมควรมี 0 กตี่ ัว (2 ตวั ) เปนทศนิยมใชวิธีการเชนเดียวกับ - ถา ผลหารเปน ทศนยิ ม 3 ตาํ แหนง เขยี นตวั ตง้ั เปน ทศนยิ มกต่ี าํ แหนง (3 ตาํ แหนง ) และหลงั จดุ ทศนยิ ม 2. เคร่อื งมือ การหารจาํ นวนนบั ดว ยจาํ นวนนบั ควรมี 0 กต่ี วั (3 ตัว) 2.1 แบบประเมินทักษะและ เนื่องจากจํานวนนับสามารถ เขยี นเปนทศนยิ มได ขนั้ สอน กระบวนการทางคณิตศาสตร 2.2 แบบฝกหดั 2.22 จดุ ประสงค์การเรียนรู 2. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุมสุมเลือกโจทยการหาผลหารและ ดา นความรู เขียนแสดงวิธหี าผลหารลงในกระดาษที่ครแู จกให กลมุ ละ 2 ขอ ดงั น้ี 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงานมีความถูกตอง เ พื่ อ ใ ห  นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1) 3 ÷ 28 2) 90 ÷ 48 3) 112 ÷ 125 หาผลหารของจํานวนนับกับ ไมนอ ยกวารอ ยละ 80 จํานวนนับที่ผลหารเปนทศนิยม เมอื่ แตล ะกลมุ ทาํ เสร็จแลว สงตัวแทนนาํ เสนอผลงานและตรวจสอบคาํ ตอบ 3.2 คะแนนรวมดานทักษะ 3 ตําแหนง และกระบวนการทางคณิตศาสตร ไมนอยกวา รอ ยละ 60

๑๕๐ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๒๒ ชัน้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชว่ั โมง หน่วยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 ดา นทกั ษะและกระบวนการ 1) 3 ÷ 8 8 30..037050 หรอื 3 ÷ 8 = 3 ✕ 18 ทางคณติ ศาสตร์ วธิ ีทาำ 2.4 1. ใหเ หตุผล 0.60 8 ✕ 0.3 = 83 2. สอ่ื สารและสอ่ื ความหมาย 0.56 8 ✕ 0.07 ทางคณิตศาสตร 0.040 8 ✕ 0.005 3 ✕ 125 0.040 8 ✕ 125 = 0 = 1307050 5 47 = 0.375 ตรวจสอบ 8 ✕ 0.375 = 3.000 = 3 ดงั นนั้ 3 ÷ 8 = 0.375 2 ตอบ ๐.๓๗๕

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒๒ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๕๑ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ช้นั ป.๕ เวลา ๑ ชัว่ โมง 2) 90 ÷ 48 หรือ 90 ÷ 48 = 90 ✕ 418 2 วธิ ีทาำ 48 901..080705 48 ✕ 1 = 9480 48 ✕ 0.8 48 48 ✕ 0.07 = 185 42.0 48 ✕ 0.005 38.4 = 15 ✕ 125 3.60 8 ✕ 125 3.36 0.240 = 11087005 0.240 = 1.875 0 ตรวจสอบ 48 ✕ 1.875 = 90.000 = 90 ดังน้นั 90 ÷ 48 = 1.875 ตอบ ๑.๘๗๕

๑๕๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๒ ชัน้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 3. 112 ÷ 125 หรอื 112 ÷ 125 = 112 ✕ 1125 วิธีทำา 125 1120..080906 125 ✕ 0.8 = 111225 100.0 125 ✕ 0.09 12.00 125 ✕ 0.006 = 112 ✕ 8 11.25 125 ✕ 8 0.750 0.750 = 1809060 5 47 0 = 0.896 ตรวจสอบ 125 ✕ 0.896 = 112.000 = 112 ดังน้ัน 112 ÷ 125 = 0.896 ตอบ ๐.๘๙๖ 3. ครใู หนกั เรียนทําแบบฝกหดั 2.22 เปนการบาน 2 ขัน้ สรปุ 4. ครูและนกั เรียนรวมกันสรุป การหารจาํ นวนนบั ดว ยจาํ นวนนบั ทีม่ ีผลหารเปน ทศนยิ ม ดังน้ี การหารที่ตัวต้งั และตวั หารเปน จาํ นวนนบั และมผี ลหารเปน ทศนยิ ม 3 ตาํ แหนง ใชวิธีการเชน เดยี ว กับการหารทศนิยมดวยจํานวนนับ เน่ืองจากจํานวนนับสามารถเขียนเปนทศนิยมได หรือเขียนในรูป เศษสวน โดยนาํ ตัวตั้งคณู ดว ยสว นกลบั ของตวั หาร แลว เขียนผลหารในรปู ทศนิยม

22 แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒๓ แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1 6 5 7 90 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๕๓ ขั้นนาำ ทบทวนคาของเงินไทยชนดิ ตาง ๆ และความสัมพนั ธร ะหวา งทศนยิ มกับเศษสว น ขัน้ สอน บอกคาของเงนิ โดยใชความรูเรอื่ งทศนิยมกับความสมั พันธระหวางบาทกับสตางค ทําแบบฝก หดั 2.23 ขัน้ สรปุ ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปเกยี่ วกับการบอกคา ของเงนิ เปน ทศนยิ ม 2 การวดั และประเมินผล - ประเมินจากการตอบคาํ ถาม และการทําแบบฝกหดั 2 - ประเมินทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรด านการใหเ หตุผล และการสือ่ สาร ส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร

๑๕๔ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรูท ี่ ๒๓ ช้นั ป.๕ 01 9 เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรียนรู สือ่ /แหลง่ เรยี นรู การบอกคา ของเงนิ เปน ทศนยิ ม ขัน้ นาำ 1. เงินของจริงหรือเงินจําลอง สาระสาำ คัญ 1. ทบทวนคาของเงินไทยชนิดตาง ๆ ประเภทธนบัตร เหรียญ โดยใชเงินของจริงหรือเงินจําลอง ชนิดพันบาท หารอยบาท 5 47 ดว ยการซักถามคา ของเงิน ดังน้ี หาสิบบาท และยี่สิบบาท การบอกคา ของเงนิ เปน ทศนยิ ม เหรียญชนิดสิบบาท หาบาท ใชความสัมพันธระหวางบาทกับ ธนบัตรชนดิ หนงึ่ พันบาท หา รอยบาท หนึ่งรอยบาท หา สิบบาท ย่สี ิบบาท แตล ะชนดิ มคี าเทา ไร สองบาท หนง่ึ บาท หา สบิ สตางค สตางค โดยเทียบ 100 สตางค (1,000, 500, 100, 50, 20 บาท) ย่ีสบิ หาสตางค เทากบั 1 บาท 2. แบบฝก หัด 2.23 เหรยี ญกษาปณช นดิ สบิ บาท หา บาท สองบาท หนงึ่ บาท หา สบิ สตางค และยสี่ บิ หา สตางคแ ตล ะชนดิ มีคาเทา ไร (10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค และ 25 สตางค) ตอจากนัน้ ครถู ามนกั เรียนวา - ถา ครูมเี งิน 1,000 บาท กับ 50 สตางค สามารถเขียนอยา งไรไดบา ง (นักเรยี นอาจตอบวา 1,000 บาท 50 สตางค หรือ 1,000.50 บาท) ครเู ขยี นตามทน่ี กั เรียนบอก ดังนี้ 1) 1,000 บาท 50 สตางค อา นวา หนงึ่ พันบาท หาสิบสตางค 2) 1,000.50 บาท อา นวา หน่งึ พนั บาทหาสบิ สตางค ครเู ขียนเงินเปน ทศนยิ มบนกระดานแลวใหนกั เรียนอาน เชน 500.25 บาท อา นวา หารอยบาท ยี่สบิ หาสตางค 100.75 บาท อานวา หนงึ่ รอยบาท เจด็ สิบหา สตางค จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ รี ย น รู  การประเมนิ ดานความรู 1. วธิ ีการ เพ่อื ใหน กั เรยี นสามารถเขียน 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู คา ของเงินเปน ทศนยิ ม 1.2 ตรวจแบบฝกหดั ดา นทกั ษะและกระบวนการ 2. เครอ่ื งมือ 2 ทางคณิตศาสตร์ 2.1 แบบประเมินทักษะและ 2เพ่ือใหนักเรียนสามารถ กระบวนการทางคณติ ศาสตร 1. ใหเหตุผล 2. สอื่ สารและสอื่ ความหมาย 2.2 แบบฝกหัด 2.23 ทางคณติ ศาสตร

2 2 2 ชนั้ ป.๕ เวลา ๑ ช่ัวโมง 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร์แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ ๒๓ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๕๕ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ขน้ั สอน 3. เกณฑ์ 2. ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบคาของเงิน 25 สตางค 50 สตางค และ 75 สตางค กับ 1 บาท 3.1 ผลงานมีความถูกตอง โดยใชเ งินจริงหรือเงินจําลอง โดยสนทนากับนักเรยี นวา ไมน อ ยกวา รอยละ 80 3.2 คะแนนรวมดานทักษะ 1 บาท มคี า 100 สตางค แลวถามนกั เรียนวา และกระบวนการทางคณิตศาสตร - เงนิ 25 สตางค กเี่ หรยี ญ เทากบั 1 บาท (4 เหรยี ญ) ไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 - เงนิ 25 สตางค 4 เหรียญ คิดเปนกี่สตางค (100 สตางค) - เงนิ 50 สตางค ก่ีเหรยี ญ เทากบั 1 บาท (2 เหรียญ) - เงิน 50 สตางค 2 เหรียญ คิดเปนกส่ี ตางค (100 สตางค) ครถู ามนักเรียนวา เงิน 25 สตางค มีคา เทากับกบี่ าท (นักเรียนอาจตอบไดหรือไมได) ครูแนะนาํ เงนิ 25 สตางค เปน 25 ใน 100 ของบาท ตเขอียจนาใกนนร้นั ูปเคศรษถู สาวมนนไกั ดเรยี12น050วาบาท ดังนั้น เงิน 25 สตางค และเขียนในรูปทศนิยมได 0.25 บาท อา นวา ศูนยจ ดุ สองหา บาท - เงิน 50 สตางค เปน 50 ใน 100 ของบาท เขียนในรปู เศษสวน และทศนิยมไดอ ยา งไร 2 1เ5ป00น0 และอา นวา อยางไร ( = 0.50 บาท อา นวา ศนู ยจดุ หา ศนู ยบาท) และ - เงนิ 75 สตางค 75 ใน 100 ของบาท เขียนในรปู เศษสวนและทศนยิ มไดอยา งไร ส(ต1า70ง50ค อา นวา อยา งไร = 0.75 บาท อา นวา ศูนยจุดเจ็ดหาบาท) และ - เงนิ 100 เปน 100 ใน 100 ของบาท เขยี นในรูปเศษสว นและทศนิยมไดอ ยางไร อา นวา อยา งไร ( 110000 = 1.00 บาท อานวา หนง่ึ บาท)

๑๕๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒๓ ชัน้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม 2 3. ครแู สดงเงินจริงหรอื เงนิ จาํ ลอง แลว รว มกันอภปิ ราย ดงั นี้ 1. ครมู เี งิน 7 บาท 50 สตางค เทากับก่ีบาท วธิ คี ดิ เปล่ียนหนวยสตางคเปน บาท ดังนี้ เงนิ 100 สตางค เทา กับ 1 บาท เงิน 50 สตางค เปน 50 ใน 100 ของบาท เทากับ 15000 = 0.50 บาท ดังนน้ั ครูมีเงิน 7 บาท 50 สตางค เทากับ 7.50 บาท 2. แกว ตามเี งนิ 12 บาท 75 สตางค เทา กบั กบี่ าท 5 47 วธิ ีคิด เปล่ยี นหนวยสตางคเปน บาท ดงั น้ี เงนิ 100 สตางค เทา กับ 1 บาท เงนิ 75 สตางค เปน 75 ใน 100 ของบาท เทา กบั บ1า70ท50 = 0.75 บาท ดงั นนั้ แกวตามีเงนิ 12 บาท 75 สตางค เทากบั 12.75 3. กลามเี งิน 225 สตางค เทา กบั ก่บี าท 2 วธิ ีคดิ เปล่ยี นหนว ยสตางคเปนบาท ดังนี้ เงนิ 100 สตางค เทากับ 1 บาท เงนิ 225 สตางค เทา กับ 212.202055 บาท เงนิ 225 สตางค เทากบั บาท ดงั นัน้ กลา มเี งิน 225 สตางค เทา กบั 2.25 บาท

2 1 6 5 7 90กล่มุ สาระการเรียนรูค ณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๒๓ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๕๗ หน่วยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ชัน้ ป.๕ เวลา ๑ ชวั่ โมง วหธิ รคี ือดิ เงนิ 225 สตางค เทากับ 200 สตางค กบั 25 สตางค 12050 2 เงนิ 200 สตางค เทา กบั 2 บาท และเงิน 25 สตางค เทากับ = 0.25 บาท ดงั น้ัน เงนิ 225 สตางค เทา กบั 2.25 บาท 4. เงนิ 5 สตางค เทากับกี่บาท วิธีคดิ เปลย่ี นหนวยสตางคเปนบาทดังนี้ เงนิ 100 สตางค เทากบั 1 บาท 1050 เงนิ 5 สตางค เปน 5 ใน 100 ของบาท เทากบั = 0.05 บาท ดังนั้น เงิน 5 สตางค เทากับ 0.05 บาท 4. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุมแสดงวิธีคิด กลุมละ 1 ขอ โดยการจบั ฉลาก โดยใหท าํ ลงในกระดาษทค่ี รแู จกให เมอ่ื ทาํ เสรจ็ แลว ใหส ง ตวั แทนออกมาเสนอผลงาน จากนัน้ ครแู ละนกั เรยี นชว ยกันตรวจสอบความถูกตอง ดงั น้ี 1. ดารามเี งนิ 475 สตางค เทา กับก่ีบาท 2. ใบบวั มีเงนิ 105 บาท 25 สตางค เทากับกีบ่ าท

๑๕๘ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒๓ ช้นั ป.๕01 9 เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยที่ ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม 2 1. ดารามเี งนิ 475 สตางค เทา กับก่บี าท วธิ ีคิดที่ 1 เปลี่ยนหนวยสตางคเปนบาท 1 บาท วธิ คี ิดท่ี 2 เงิน 100 สตางค เทากับ เงนิ 475 สตางค เทากับ 441.077505 บาท เงนิ 475 สตางค เทากับ บาท ดังนนั้ ดารามเี งิน 475 สตางค เทากับ 4.75 บาท เงิน 475 สตางค เทากบั 400 สตางค กับ 75 สตางค และเงนิ 400 สตางค เทา กับ 4 บาท และ 75 สตางค เทากบั 0.75 บาท 5 47 ดงั น้ัน เงิน 475 สตางค เทา กบั 4.75 บาท 2. ใบบัวมีเงนิ 105 บาท 25 สตางค เทา กับกบี่ าท เปลยี่ นหนวยสตางคเปน บาทดังนี้ เงิน 100 สตางค เทา กบั 1 บาท เงนิ 25 สตางค เปน 25 สในตา1ง0ค0 เทขาอกงบับา1ท05เท.2า5กบับา1ท2050 = 0.25 บาท 2 ดังนั้น ใบบวั มีเงนิ 105 บาท 25 5. ครใู หนกั เรยี นทําแบบฝก หดั 2.23 เปน การบา น ข้ันสรุป 6. ครูและนักเรียนรว มกนั สรุปการบอกคา ของเงินเปนทศนิยม ใชค วามสัมพนั ธร ะหวา งบาทกบั สตางค โดยเทยี บ 100 สตางค เทากบั 1 บาท

2 2 2 1 6 5 7 90 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๕๙แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๔ แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ขนั้ นำา ทบทวนการวัดความยาวในชวี ติ ประจาํ วนั ในเร่อื งหนวยการวัดเครอื่ งมือวัด ขนั้ สอน และการบอกความยาวเปน มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร และกโิ ลเมตร ขั้นสรุป การวัดและประเมนิ ผล สอนการบอกความยาวโดยใชความรูเ รือ่ งทศนยิ มกบั ความสมั พันธระหวา งหนว ยความยาว ทาํ แบบฝกหัด 2.24 ครูและนักเรยี นรวมกันสรปุ เกย่ี วกับการบอกความยาวโดยใชความรเู ร่อื งทศนิยม 2 กบั ความสมั พันธร ะหวา งหนวยความยาว - ประเมินจากการตอบคําถาม และการทาํ แบบฝกหัด - ประเมินทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรด านการใหเหตุผล และการสือ่ สาร ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร

๑๖๐ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒๔ ชนั้ ป.๕ 01 9 เวลา ๑ ช่วั โมง หน่วยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ /แหล่งเรยี นรู การบอกความยาวเปน ทศนยิ ม ขนั้ นำา 1. เครอื่ งมอื วดั ความยาว (ไมบ รรทดั ไมเมตร สายวัดตัว และสายวัด สาระสาำ คัญ 1. ทบทวนหนว ยความยาวและความสมั พนั ธร ะหวา งหนว ยความยาว โดยสนทนาซกั ถามนกั เรยี น ดงั นี้ ชนิดตลบั ) - เครอ่ื งมอื ท่ีใชวัดความยาว มอี ะไรบา ง (ไมบ รรทัด, ไมเ มตร, สายวัดตัว, สายวดั ชนิดตลับ) 2. ภาพและวดั ความยาวดินสอ การบอกความยาวเปน ทศนยิ ม - ครูและนักเรียนชวยกนั สํารวจตวั เลขที่อยบู นไมบรรทัดดังน้ี 3. บตั รขอความ ใชความสัมพันธระหวางหนวย - จากขีดท่เี ริ่มตน จาก 0 ถงึ 30 แสดงความยาวก่ีเซนติเมตร (30 เซนตเิ มตร) 4. แบบฝก หดั 2.24 ความยาว โดยการเทยี บ - จาก 0 ถึง 1 แบงขีดเล็ก ๆ เปนก่ีชอง (10 ชอง) แสดงความยาวเทาไร (10 มิลลิเมตร หรือ 1 เซนติเมตร) จากนน้ั ครถู ามนกั เรยี นวา ไมเ มตร เรม่ิ ตน ที่ 0 ถงึ 100 แสดงความยาวกเ่ี ซนตเิ มตร (100 เซนตเิ มตร) - ระยะทาง 1 กโิ ลเมตร วดั เปนเมตรจะไดก ่ีเมตร (1,000 เมตร) ครูและนกั เรยี นชวยกนั สรุปความสัมพนั ธระหวา งหนว ยความยาว ดงั นี้ 1 เซนติเมตร เทากบั 10 มิลลเิ มตร 1 เมตร เทากบั 100 เซนตเิ มตร 1 กิโลเมตร เทา กบั 1,000 เมตร ขนั้ สอน 2. ครตู ดิ ภาพ การวดั ความยาวของดินสอ ดังรปู 1 เซนตเิ มตร เทา กบั 10 มลิ ลเิ มตร การประเมนิ ผล 5 47 1 เมตร เทากับ 100 เซนติเมตร 1 กโิ ลเมตร เทากับ 1,000 เมตร 1. วิธกี าร 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู จดุ ประสงค์การเรียนรู 1.2 ตรวจแบบฝกหัด ดา นความรู 2. เคร่ืองมอื เพ่ือใหนักเรียนสามารถเขียน 2.1 แบบประเมนิ ทกั ษะและ หนว ยความยาวเปน ทศนิยม กระบวนการทางคณิตศาสตร ดา นทกั ษะและกระบวนการ 2.2 แบบฝก หดั 2.24 2 2ทางคณิตศาสตร์ 3. เกณฑ์ เพือ่ ใหน กั เรยี นสามารถ 3.1 ผลงานมีความถูกตอง 1. ใหเ หตผุ ล 2. สอ่ื สารและสอื่ ความหมาย ไมน อ ยกวารอ ยละ 80 ทางคณิตศาสตร 3.2 คะแนนรวมดา นทกั ษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร ไมน อ ยกวารอยละ 60

2 1 6 5 7 90กล่มุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒๔ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๖๑ หน่วยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ช้นั ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง ครถู ามนักเรียนวา ดนิ สอแทงน้มี ีความยาวเทาไร นกั เรยี นตอบวา 8 เซนตเิ มตร 3 มลิ ลเิ มตร 2 จากนั้นครูถามตอไปอีกวา 8 เซนติเมตร 3 มิลลิเมตร สามารถเขียนในรูปทศนิยมของเซนติเมตร ไดอยางไร ครูและนักเรียนรวมกนั อภปิ ราย การเปลี่ยนหนว ยมิลลเิ มตรเปน เซนติเมตร ดงั น้ี 10 มลิ ลิเมตร เทากับ 1 เซนตเิ มตร 3 มิลลิเมตร เปน 3 ใน 10 ของ 1 เซนตเิ มตร จะได 130 = 0.3 เซนตเิ มตร แสดงวา 8 เซนติเมตร 3 มิลลเิ มตร เทา กบั 8.3 เซนติเมตร ดังน้นั ดินสอยาว 8.3 เซนตเิ มตร นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนหนวยมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร ทําไดโดยเขียนในรูปเศษสวนที่มีตัวสวน เปน 10 แลวเขียนเปนทศนยิ ม 1 ตําแหนง 3. ครใู หน กั เรยี นวดั ความยาวของหนงั สอื เรยี นไดค วามยาว 29.6 เซนตเิ มตร ครถู ามนกั เรยี นวา ความยาว ของหนงั สอื เรยี น 29.6 เซนตเิ มตร คดิ เปนกีเ่ ซนติเมตร กีม่ ิลลเิ มตร ครูและนักเรยี นรว มกนั อภปิ ราย ดงั นี้ 29.6 เซนติเมตร เทากับ 29 เซนติเมตร กับ 0.6 เซนติเมตร และ 0.6 เซนติเมตร เทากับ 0.6 ×10 = 6 มลิ ลิเมตร แสดงวา 29.6 เซนตเิ มตร เทา กบั 29 เซนติเมตร 6 มิลลิเมตร ดงั น้นั หนังสือเรียนยาว 29 เซนติเมตร 6 มิลลเิ มตร

๑๖๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรูท ี่ ๒๔ ช้ัน ป.๕01 9 เวลา ๑ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 4. ครูซักถามนักเรียนเก่ียวกับหนวยวัดความยาวที่เปนเมตร และกิโลเมตร โดยใหนักเรียนบอก 5 47 ความสมั พันธระหวางหนวยความยาวดังนี้ 1 เมตร เทา กบั 100 เซนตเิ มตร 1 กโิ ลเมตร เทา กบั 1,000 เมตร ครตู ิดบตั รขอความ เสาธงชาติสูง 1.80 เมตร ครูถามนกั เรยี นวา 1.80 เมตร หมายความวาอยางไร ครูและนกั เรียนรว มกันอภปิ ราย 1.80 เมตร เทากบั 1 เมตร กบั 0.80 เมตร ซง่ึ 1 เมตร เทากบั 100 เซนตเิ มตร 2 0.80 เมตร เทา กบั 0.80 ✕ 100 = 80 เซนตเิ มตร แสดงวา 1.80 เมตร เทา กบั 1 เมตร 80 เซนตเิ มตร ดังนั้น เสาธงชาติสงู 1 เมตร 80 เซนตเิ มตร สังเกตการเปลี่ยนหนว ยเมตรเปนเซนตเิ มตร ใหนํา 100 คณู กับความยาวท่มี ีหนว ยเปน เมตร

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร์แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๔ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๖๓ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ช้ัน ป.๕ เวลา ๑ ช่ัวโมง 5. ครตู ิดบตั รขอ ความ 2 ระยะทางจากกรงุ เทพมหานครถึงเชยี งใหม 687.8 กโิ ลเมตร ครูใหนกั เรยี นอา นขอ ความ แลว ถามนักเรียนวา 687.8 กโิ ลเมตร หมายความวา อยางไร ครูและนกั เรยี นรวมกนั อภปิ ราย 687.8 กโิ ลเมตร เทา กบั 687 กโิ ลเมตร กบั 0.8 กโิ ลเมตร ซึง่ 1 กโิ ลเมตร เทา กับ 1,000 เมตร 0.8 กโิ ลเมตร เทากับ 0.8 ✕ 1,000 = 800 เมตร แสดงวา 687.8 กโิ ลเมตร หมายถึง 687 กิโลเมตร 800 เมตร ดงั นน้ั ระยะทางจากกรงุ เทพมหานครถงึ เชยี งใหม 687.8 กโิ ลเมตร เทา กบั 687 กโิ ลเมตร 800 เมตร จากน้ัน ครถู ามนักเรียนวา : นกั เรยี นมวี ิธีการคิดอยางไรจากระยะทาง 687 กโิ ลเมตร 800 เมตร เทากับ 687.8 กิโลเมตร นักเรยี นรวมกนั อภิปราย 687 กโิ ลเมตร 800 เมตร เทากบั 687.8 กโิ ลเมตร 1,000 เมตร เทา กบั 1 กโิ ลเมตร 1800000 = 0.800 = 0.8 กโิ ลเมตร 800 เมตร เทา กับ 800 ใน 1,000 ของ 1 กิโลเมตร จะได แสดงวา 687 กิโลเมตร 800 เมตร เทา กบั 687.8 กโิ ลเมตร

๑๖๔ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒๔ ชัน้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 6. นักเรยี นอา นขอความ แลวชวยกนั แสดงวธิ คี ดิ หาคาํ ตอบ ดงั น้ี ระยะทางจากบานใบบัวไปโรงเรียน 4,850 เมตร คิดเปนก่ีกิโลเมตร วิธีคดิ ท่ี 1 เปลย่ี นหนว ยเมตรเปนกิโลเมตร 5 47 ดังนนั้ ระยะทาง 1000 เมตร เทา กบั 1 กโิ ลเมตร ระยะทาง 4,850 เมตร เทากับ 14085000 = 4.850 กโิ ลเมตร ระยะทางจากบานใบบวั ไปโรงเรยี น 4,850 เมตร เทา กบั 4.850 กิโลเมตร วิธคี ดิ ที่ 2 ระยะทาง 4,850 เมตร เทา กบั 4,000 เมตร กับ 850 เมตร และระยะทาง 4,000 เมตร เทา กับ 4 กิโลเมตร และ 850 เมตร เทา กับ 0.850 = 0.85 กโิ ลเมตร ดังนั้น ระยะทางจากบานใบบัวไปโรงเรียน 4,850 เมตร เทากับ 4.850 = 4.850 กิโลเมตร 2 2สังเกตการเปล่ียนหนวยเมตรเปนกิโลเมตร ทําไดโดยเขียนในรูปเศษสวนที่มีตัวสวนเปน 1000 แลว เขยี นเปนทศนยิ ม 3 ตาํ แหนง

2 1 6 5 7 90กล่มุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๒๔ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๖๕ หน่วยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ช้ัน ป.๕ เวลา ๑ ชั่วโมง 7. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 - 4 คน ใหนักเรียนแตละกลุมจับฉลาก แสดงวิธีคิดหา คาํ ตอบจากบตั รขอ ความ กลมุ ละ 1 ขอ ทาํ ลงในกระดาษทคี่ รแู จกให เมอ่ื ทาํ เสรจ็ แลว ใหส ง ตวั แทนกลมุ 2 ออกมานําเสนอผลงาน ครแู ละนักเรยี นชวยกนั ตรวจสอบ ดังนี้ 1. รบิ บนิ้ ยาว 3 เมตร 75 เซนตเิ มตร เทา กับกีเ่ มตร 2. กิบ๊ ติดผมยาว 4.3 เซนติเมตร เทา กับก่เี ซนตเิ มตร กมี่ ิลลเิ มตร 3. ระยะทางจากบานแกว ตาไปวดั 3,700 เมตร เทา กับกีก่ โิ ลเมตร 1. รบิ บิน้ ยาว 3 เมตร 75 เซนตเิ มตร เทากบั กเ่ี มตร วธิ คี ิด เปลย่ี นหนวยเซนตเิ มตรเปนเมตร ความยาว 100 เซนติเมตร เทากบั 1 เมตร ความยาว 75 เซนติเมตร เทา กับ 17050 = 0.75 เมตร ดงั นน้ั รบิ บนิ้ ยาว 3 เมตร 75 เซนติเมตร เทา กับ 3.75 เมตร

๑๖๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๒๔ ชนั้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชัว่ โมง หน่วยที่ ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 2. กบิ๊ ติดผมยาว 4.3 เซนติเมตร เทากับกเี่ ซนตเิ มตร กม่ี ิลลเิ มตร วิธีคิด ความยาว 4.3 เซนติเมตร เทากับ 4 เซนตเิ มตร กบั 0.3 เซนติเมตร และ 0.3 เซนติเมตร เทากบั 0.3 ✕ 10 = 3 มิลลเิ มตร ดงั นั้น ก๊บิ ตดิ ผมยาว 4.3 เซนติเมตร เทากบั 4 เซนตเิ มตร 3 มิลลิเมตร 3. ระยะทางจากบานแกวตาไปวัด 3,700 เมตร เทา กบั กก่ี ิโลเมตร 5 47 วิธีคิด ระยะทาง 1,000 เมตร เทา กับ 1 กิโลเมตร ระยะทาง 3,700 เมตร เทา กับ 31070000 = 3.700 = 3.7 กโิ ลเมตร ดังน้นั ระยะทางจากบานแกวตาไปวดั 3,700 เมตร เทากบั 3.7 กโิ ลเมตร 8. ครูใหนกั เรียนทาํ แบบฝกหดั 2.24 ข้ันสรปุ 2 9. ครแู ละนักเรยี นรวมกนั อภปิ รายสรปุ การบอกความยาวเปนทศนยิ ม 1) การเปล่ียนหนวยมลิ ลิเมตร เปนเซนตเิ มตร ทาํ ไดโดยเทยี บ 1 เซนตเิ มตร เทากบั 10 มลิ ลเิ มตร 2) การเปลย่ี นหนวยเซนตเิ มตร เปนเมตร ทาํ ไดโดยเทยี บ 1 เมตร เทากบั 100 เซนติเมตร 3) การเปลี่ยนหนวยเมตร เปน กโิ ลเมตร ทําไดโ ดยเทียบ 1 กโิ ลเมตร เทากับ 1,000 เมตร

22 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒๕ แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู 1 6 5 7 90 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๖๗ ขั้นนาำ ทบทวนการวัดนํ้าหนกั ในชวี ิตประจําวนั ข้ันสอน สอนการบอกนาํ้ หนักโดยใชค วามรเู รือ่ งทศนิยมกบั ความสมั พันธระหวางหนว ยนาํ้ หนกั ทาํ แบบฝก หัด 2.25 ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนรว มกันสรุปเกย่ี วกบั การบอกน้าํ หนักโดยใชความรเู ร่ืองทศนิยม ความสมั พนั ธร ะหวางหนว ยน้ําหนัก 2 การวัดและประเมินผล - ประเมนิ จากการตอบคําถาม และการทาํ แบบฝกหดั 2 - ประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรดานการใหเหตุผล และการส่อื สาร สอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร

๑๖๘ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๒๕ ช้นั ป.๕01 9 เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ขอบเขตเนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู ส่อื /แหล่งเรียนรู การบอกนาํ้ หนกั เปนทศนยิ ม ขัน้ นาำ 1. เครือ่ งชั่งสปริง สาระสำาคญั 1. ทบทวนการบอกน้ําหนักเปนขีด กิโลกรัม โดยนักเรียนดูเครื่องชั่งสปริง พิจารณาเข็มเคร่ืองชั่ง 2. ภาพการชั่งนํ้าหนัก 5 47 ตรงที่ 0 จากนนั้ ครูใสสงิ่ ของใหม ีน้าํ หนักเปน 3 ขีด 7 ขีด 10 ขีด หรือ 1 กิโลกรมั 3. บัตรขอความ การบอกนํา้ หนักเปนทศนิยม 4. แบบฝก หดั 2.25 ใชความสัมพันธระหวางหนวย ครซู ักถามนกั เรียน จาก 0 - 1 กโิ ลกรัม แสดงวา 1 กโิ ลกรัม มีกข่ี ีด (10 ขดี ) นํ้าหนักโดยเปรียบเทียบน้ําหนกั ดังนนั้ 1 กิโลกรัม เทา กับ 10 ขีด จากนน้ั ครชู ่งั สมและมะมวงตามลําดับ ใหน ักเรยี นบอกนาํ้ หนักสม การประเมินผล 1 กโิ ลกรัม เทากบั 10 ขดี นาํ้ หนักมะมวง 1. วธิ ีการ 1 ขีด เทา กบั 100 กรมั - สมหนัก 1 กโิ ลกรมั กับ 3 ขดี แสดงวา สม หนกั ก่ีขีด (13 ขดี ) 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู 1 กโิ ลกรัม เทากบั 1,000 กรัม - มะมว งหนัก 1 กิโลกรมั กับ 7 ขีด แสดงวา มะมว งหนักก่ีกโิ ลกรมั กี่กรัม (1 กโิ ลกรัม 700 กรมั ) 1.2 ตรวจแบบฝกหัด 1 ตนั เทา กบั 1,000 กโิ ลกรมั จากน้ันครแู ละนักเรียนรว มกนั อภิปรายความสัมพนั ธระหวา งหนว ยนาํ้ หนกั ดังนี้ 2. เครื่องมือ 1 กิโลกรัม เทา กับ 10 ขีด 2.1 แบบประเมนิ ทักษะและ กระบวนการทางคณติ ศาสตร 2 1 ขีด เทา กับ 100 กรมั 2.2 แบบฝก หัด 2.25 2 1 กิโลกรมั เทากับ 1,000 กรมั 1 เมตรกิ ตนั เทา กับ 1,000 กิโลกรัม

2 2 2 ชัน้ ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร์แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๕ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๖๙ หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม จุดประสงค์การเรยี นรู ข้ันสอน 3. เกณฑ์ ดา นความรู 3.1 ผลงานมีความถูกตอง 2. ครูติดภาพการชั่งน้ําหนัก แลว ใหน ักเรยี นอา นนํ้าหนกั จากเครอื่ งช่ัง ดงั นี้ เพอ่ื ใหน ักเรยี นสามารถเขยี น ไมนอยกวา รอ ยละ 80 หนว ยนาํ้ หนักเปนทศนิยมได 3.2 คะแนนรวมดา นทกั ษะและ ดา นทกั ษะและกระบวนการ - ปลาหนักเทา ไร (4 กิโลกรมั 7 ขดี ) กระบวนการทางคณิตศาสตร ทางคณิตศาสตร์ - ปลาหนัก 4 กโิ ลกรมั 7 ขดี เขยี นเปนทศนิยมไดอยา งไร ไมน อ ยกวารอ ยละ 60 เพือ่ ใหน ักเรียนสามารถ เปลย่ี นขีดเปน กโิ ลกรัม ดังน้ี 2 1. ใหเหตุผล 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม 2. สื่อสารและสื่อความหมาย 7 ขดี เทากบั 7 ใน 10 ของ 1 กโิ ลกรัม ทางคณิตศาสตร เทากับ 170 = 0.7 กิโลกรมั ดังนนั้ ปลาหนัก 4 กิโลกรมั 7 ขีด เทากบั 4.7 กโิ ลกรมั ครใู หน กั เรยี นสงั เกต การเปลยี่ นหนว ยขดี เปนกิโลกรมั ทาํ ไดโดยเขียนจาํ นวนขีดในรูปเศษสวนทม่ี ีตัวสวนเปน 10 แลวจึงเขียนในรปู ทศนยิ ม

๑๗๐ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒๕ ชนั้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 3. ครูตดิ บตั รขอความ 5 47 ผักคะนา หนกั 2 กโิ ลกรมั 815 กรมั เทากับกก่ี โิ ลกรัม ครูซกั ถามนกั เรยี นวา จะเขียนผกั คะนาหนัก 2 กโิ ลกรมั 815 กรัม เปน กิโลกรมั ไดอ ยา งไร ครแู ละนักเรยี นนรวมกนั อภิปรายและซกั ถาม นาํ้ หนกั 1,000 กรัม เทา กับกก่ี โิ ลกรัม (1 กโิ ลกรมั ) จะได 815 กรัม เทากับ 815 ใน 1,000 ของ 1 กโิ ลกรมั เทา กบั 1801050 = 0.815 กิโลกรัม ดังนั้น ผักคะนาหนัก 2 กิโลกรัม 815 กรัม เทากับ 2.815 กิโลกรัม ครูใหนักเรียนสังเกตวา การเปลยี่ นหนว ยกรมั เปน กโิ ลกรมั ทาํ ไดโ ดยเขยี นจาํ นวนกรมั ในรปู เศษสว นทมี่ ตี วั สว นเปน 1,000 แลว จงึ เขียนในรูปทศนยิ ม 2

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๒๕ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๗๑ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ชั้น ป.๕ เวลา ๑ ชัว่ โมง 4. ครตู ดิ บัตรขอความ 2 ดนิ ลูกรงั หนกั 5,900 กิโลกรัม เทากบั กต่ี ัน ครูถามนักเรยี น ดังนี้ 5,900 กิโลกรัม เทากับกต่ี ัน กก่ี ิโลกรัม ครูและนักเรยี นรว มกนั อภิปราย วธิ คี ดิ ท่ี 1 5,900 กิโลกรมั เทา กบั 5,000 กโิ ลกรมั กับ 900 กโิ ลกรมั 1,000 กโิ ลกรัม เทา กับ 1 ตัน 5,000 กิโลกรมั เทากบั 51000000 = 5 ตนั 900 กโิ ลกรมั เทากับ 1900000 = 0.900 = 0.9 ตัน 5,900 กิโลกรมั เทา กบั 5.9 ตนั ดงั น้นั ดนิ ลกู รงั หนกั 5,900 กโิ ลกรมั เทา กับ 5.9 ตัน วธิ คี ิดที่ 2 เปลย่ี นหนว ยกโิ ลกรัมเปน ตัน 1,000 กโิ ลกรมั เทา กับ 1 ตัน 5,900 กโิ ลกรัม เทา กับ 15090000 = 5.900 = 5.9 ตนั ดังน้นั ดินลกู รังหนกั 5,900 กิโลกรมั เทากบั 5.9 ตนั สงั เกต การเปลยี่ นหนว ยกโิ ลกรมั เปน ตนั ทาํ ไดโ ดยเขยี นจาํ นวนกโิ ลกรมั ในรปู เศษสว นทมี่ ตี วั สว นเปน 1,000 แลว จึงเขียนในรูปทศนิยม

๑๗๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒๕ ชั้น ป.๕01 9 เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 5. ครแู บง นกั เรียนออกเปนกลมุ กลมุ ละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุม จับฉลาก กลมุ ละ 1 ขอ แสดงวธิ คี ดิ 5 47 หาคําตอบจากบัตรขอความ ทําลงในกระดาษที่ครูแจกให เม่ือเสร็จแลวใหสงตัวแทนนําเสนอผลงาน ครแู ละนักเรียนรว มกนั ตรวจสอบคําตอบ 1. เงาะหนัก 10.497 กิโลกรัม เทากบั กกี่ โิ ลกรัม ก่กี รัม 2. กุงหนัก 3 กโิ ลกรัม 500 กรัม เทา กบั ก่กี ิโลกรัม 3. หนิ หนกั 7 ตัน 280 กิโลกรมั เทากบั กต่ี นั 1. เงาะ 10.497 กโิ ลกรัม เทากับก่ีกโิ ลกรมั กี่กรัม วิธีคดิ 10.497 กโิ ลกรัม เทา กบั 10 กโิ ลกรมั กับ 0.497 กิโลกรมั และ 1 กโิ ลกรัม เทากบั 1,000 กรัม 0.497 กิโลกรมั เทากับ 0.497 ✕ 1,000 = 497 กรัม ดังน้นั เงาะ 10.497 กิโลกรมั เทากบั 10 กโิ ลกรัม 497 กรมั 2 2. กุง หนัก 3 กิโลกรัม 500 กรัม เทากับกี่กิโลกรมั วธิ ีคิด เปลย่ี นหนว ยกรมั เปน กโิ ลกรัม น้ําหนัก 1 กโิ ลกรมั เทา กบั 1,000 กรัม น้าํ หนกั 500 กิโลกรัม เทากบั 1500000 = 0.500 = 0.5 กรัม ดังนั้น กุงหนัก 3 กิโลกรมั 500 กรมั เทา กับ 3.5 กโิ ลกรัม

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร์แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒๕ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๗๓ หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ช้ัน ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง 3. หินหนัก 7 ตนั 280 กโิ ลกรมั เทา กับกี่ตัน 2 วิธคี ิด เปลี่ยนหนวยกิโลกรัมเปน ตนั 1,000 กโิ ลกรัม เทา กับ 1 ตัน 280 กิโลกรัม เทากับ 1208000 = 0.280 = 0.28 ตนั ดงั นนั้ หินหนัก 7 ตนั 280 กโิ ลกรัม เทา กับ 7.28 ตัน 6. ครูใหนกั เรยี นทําแบบฝก หัด 2.25 ข้นั สรุป 7. ครูและนักเรยี นรว มกนั อภปิ รายสรุป การบอกนา้ํ หนกั เปน ทศนยิ ม 1) การเปลีย่ นหนว ยขดี เปนกิโลกรมั ทําไดโ ดยเทียบ 1 กิโลกรมั เทา กับ 10 ขีด 2) การเปลี่ยนหนว ยกรมั เปน กโิ ลกรัม ทําไดโ ดยเทียบ 1 กิโลกรมั เทา กบั 1000 กรัม 3) การเปลี่ยนหนว ยกโิ ลกรมั เปน ตัน ทาํ ไดโ ดยเทยี บ 1 ตนั เทากับ 1,000 กิโลกรัม 4) การเปลีย่ นหนว ยขดี เปน กรมั ทาํ ไดโ ดยเทียบ 1 ขดี เทากบั 100 กรมั

๑๗๔ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๒๖ 01 9 แนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ขั้นนาำ ทบทวนการวดั ปริมาตรในชวี ติ ประจาํ วัน ขนั้ สอน สอนการบอกปริมาณโดยใชค วามรูเรอ่ื งทศนิยมกับความสัมพันธร ะหวา งหนว ยปรมิ าตร 5 47 ทาํ แบบฝกหดั 2.26 ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นรว มกนั สรุปเกี่ยวกบั การบอกปรมิ าตรเปนทศนยิ มโดยใชความรูเ ร่ือง ความสัมพันธระหวางหนวยปริมาตร 2 การวดั และประเมินผล - ประเมนิ จากการตอบคาํ ถาม และการทาํ แบบฝก หดั 2 - ประเมนิ จากทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรดา นการใหเหตผุ ล และการสอ่ื สาร ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร

2 2 2 ชน้ั ป.๕ เวลา ๑ ชั่วโมง 1 6 5 7 90กลมุ่ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร์แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๗๕ หน่วยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ขอบเขตเนอื้ หา กิจกรรมการเรยี นรู สือ่ /แหล่งเรียนรู 2 ขนั้ นำา การบอกปรมิ าตรเปน ทศนยิ ม 1. แถบความสัมพันธระหวาง 1. ทบทวนหนว ยของปรมิ าตร และความสมั พันธระหวา งหนว ยปรมิ าตร โดยครตู ดิ แถบความสมั พนั ธ หนวยปรมิ าตร สาระสาำ คัญ ระหวางหนวยปริมาตร แลวรวมกนั อภปิ ราย ดังน้ี 2. แถบสถานการณ 3. บัตรขอ ความ การบอกปรมิ าตรเปน ทศนยิ ม 1 ลิตร เทา กับ 1,000 มิลลลิ ติ ร 4. แบบฝก หดั 2.26 ใชความสัมพันธระหวางหนวย 1 ลิตร เทา กับ 1,000 ลกู บาศกเซนตเิ มตร ปรมิ าตรโดยการเปรยี บเทียบ 1 มิลลิลิตร เทา กับ 1 ลกู บาศกเ ซนติเมตร การประเมินผล - 1 ลติ ร เทากับ ขั้นสอน 1. วิธีการ 1,000 มิลลลิ ิตร 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู 2. ครตู ิดแถบสถานการณ 1.2 ตรวจแบบฝกหัด - 1 ลติ ร เทากับ 1,000 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร นกั เรียนดื่มนมวนั ละ 1 กลอ ง มีปรมิ าตร 200 มิลลลิ ติ ร 2. เคร่ืองมอื นักเรยี นดม่ื นมวนั ละกีล่ ติ ร 2.1 แบบประเมินทกั ษะและ - 1 มิลลลิ ติ ร เทากบั 1 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร ครูถามนักเรยี นวา นม 200 มลิ ลลิ ิตร เทากับกล่ี ติ ร กระบวนการทางคณติ ศาสตร ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั อภิปรายวิธีคดิ ดงั น้ี 2.2 แบบฝกหัด 2.26 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู ดา นความรู 1,000 มลิ ลิลติ ร เทา กบั 1 ลติ ร 200 มิลลลิ ติ ร เทากบั 200 ใน 1000 ของ 1 ลิตร = 1200000 = 0.200 เพอ่ื ใหนักเรียนสามารถเขียน หนว ยปรมิ าตรเปน ทศนิยม และ 0.200 = 0.2 ดังนั้น นกั เรยี นดืม่ นมวันละ 0.2 ลติ ร

๑๗๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๒๖ ช้นั ป.๕ 01 9 เวลา ๑ ช่วั โมง หน่วยที่ ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ดา นทกั ษะและกระบวนการ 3. ครตู ิดขอความ 3. เกณฑ์ ทางคณิตศาสตร์ น้าํ หวาน 5,128 ลูกบาศกเซนติเมตร เทากับกี่ลติ ร 3.1 ผลงานมีความถูกตอง เพ่อื ใหน ักเรยี นสามารถ นักเรียนอา นขอ ความและรวมกนั อภิปรายวิธีคดิ ดังน้ี ไมน อยกวา รอยละ 80 1. ใหเ หตุผล 3.2 คะแนนรวมดา นทกั ษะและ 2. ส่ือสารและสื่อความหมาย วิธีคดิ ท่ี 1 1,000 ลูกบาศกเซนตเิ มตร เทากบั 1 ลิตร ทางคณติ ศาสตร กระบวนการทางคณิตศาสตร 5,128 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร เทากบั 51102008 = 5.128 ลิตร ไมนอยกวารอยละ 60 ดังนนั้ นาํ้ หวาน 5,128 ลกู บาศกเซนติเมตร เทากบั 5.128 ลติ ร 5 47 วธิ ีคิดท่ี 2 เปลยี่ นหนวยลกู บาศกเซนตเิ มตรเปน ลิตร 5,128 ลูกบาศกเซนติเมตร เทากับ 5,000 ลูกบาศกเซนติเมตร กับ 128 ลกู บาศกเซนตเิ มตร เนื่องจาก 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร เทากบั 1 ลิตร 5,000 ลกู บาศกเซนตเิ มตร เทากับ 51000000 = 5 ลิตร 2 2และ 128 ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร เทากบั 1102080 = 0.128 ลิตร ดงั นั้น นาํ้ หวาน 5,128 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร เทา กับ 5.128 ลิตร ครใู หน กั เรยี นสงั เกตการเปลย่ี นหนว ยลกู บาศกเ ซนตเิ มตรเปน ลติ ร ทาํ ไดโ ดยนาํ จาํ นวนทมี่ หี นว ยเปน ลกู บาศกเซนตเิ มตร หารดวย 1,000 แลว จึงเขียนในรปู ทศนิยม

2 1 6 5 7 90กลุม่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒๖ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๗๗ หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ชัน้ ป.๕ เวลา ๑ ชว่ั โมง 4. ครูตดิ บตั รขอ ความ นํา้ ผลไม 2.50 ลิตร เทา กับกล่ี ติ ร กมี่ ิลลลิ ิตร 2 นกั เรยี นอานขอความ แลว ตอบคาํ ถาม - นํา้ ผลไมมีปริมาตรเทา ไร (2.50 ลิตร) - นกั เรยี นมวี ธิ คี ิดปรมิ าตร 2.50 ลติ ร เทา กับกล่ี ติ ร ก่ีมลิ ลิลิตร ไดอยางไร ครแู ละนกั เรียนรวมกนั อภปิ ราย ดงั น้ี 2.50 ลิตร เทา กับ 2 ลติ ร กับ 0.50 ลิตร และ 0.50 ลิตร เทากับ 0.5 ✕ 1,000 = 500 มิลลลิ ิตร แสดงวา นํา้ ผลไม 2.50 ลติ ร คดิ เปน 2 ลติ ร 500 มิลลลิ ิตร ขอ สงั เกต การเปลยี่ นหนว ยลิตรเปนมลิ ลิลติ ร ทาํ ไดโ ดยนาํ จํานวนลติ รคณู ดวย 1,000 จากนนั้ ใหน ักเรียนอา นบตั รขอ ความดังนี้ นํ้ายาลางจาน 3.8 ลิตร คิดเปนกี่ลูกบาศกเซนติเมตร ครูซกั ถามนักเรยี น - 1 ลิตร เทา กับกลี่ กู บาศกเ ซนตเิ มตร (1,000 ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร) - 3.8 ลิตร คิดเปนกีล่ ูกบาศกเซนตเิ มตร นักเรยี นคิดไดอ ยางไร (นาํ 3.8 × 1,000 = 3,800 ลูกบาศกเ ซนติเมตร) ดังนัน้ นํ้ายาลา งจาน 3.8 ลิตร เทา กับ 3,800 ลูกบาศกเซนติเมตร จากนน้ั ครูถามนักเรยี นวา 3,800 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร เทากับ กม่ี ลิ ลิลิตร (3,800 มลิ ลิลิตร เนื่องจาก 1 มลิ ลลิ ติ ร เทา กบั 1 ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร) สังเกต การเปลย่ี นหนว ยลติ รเปนลูกบาศกเซนติเมตร ทําไดโดยนาํ จํานวนลติ รคณู ดว ย 1,000

๑๗๘ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุม่ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๖ ช้ัน ป.๕01 9 เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 5. ครูแบง นกั เรยี นออกเปนกลมุ กลมุ ละ 3 - 4 คน ใหแตล ะกลมุ แสดงวธิ ีคดิ หาคาํ ตอบ ลงในกระดาษ ทคี่ รแู จกให จากบัตรขอ ความดังน้ี โดยจับฉลากกลุมละ 1 ขอ 1. นา้ํ ยาซักแหง 6,400 ลูกบาศกเซนติเมตร เทา กบั ก่ีลิตร 2. นํ้ากระเจ๊ียบ 1 ลิตร 280 ลกู บาศกเซนตเิ มตร เทา กับกีล่ ิตร 3. นาํ้ ด่ืม 550 มลิ ลลิ ิตร เทากบั ก่ลี ิตร เม่ือนักเรียนแตละกลุมแสดงวิธีคิดหาคําตอบ เสร็จแลวครูสุมกลุมนักเรียนออกนําเสนอ ครูและ 5 47 นกั เรียนชวยกันตรวจสอบคําตอบ 1. นาํ้ ยาซักแหง 6,400 ลกู บาศกเ ซนติเมตร เทากับกีล่ ิตร วิธคี ิด 1,000 ลูกบาศกเ ซนติเมตร เทากับ 1 ลิตร 6,400 ลกู บาศกเซนตเิ มตร เทา กับ 16400000 = 6.400 = 6.4 ลติ ร ดงั น้ัน นํ้ายาซกั แหง 6,400 ลูกบาศกเซนติเมตร เทา กบั 6.4 ลิตร 2 2. นาํ้ กระเจ๊ียบ 1 ลิตร 280 ลกู บาศกเ ซนติเมตร เทากบั กล่ี ติ ร 2 วธิ คี ิด เปล่ียนหนวยลกู บาศกเซนติเมตรเปนลติ ร 1,000 ลกู บาศกเ ซนติเมตร เทากับ 1 ลติ ร นา้ํ 2ก8ร0ะเจลยี๊ ูกบบา1ศกลเ ติซรนต2ิเ8ม0ตลรกู บเาทศา กกเับซน1ต20เิ8ม000ตร=เ0ท.า2ก8ับ0 ดังนั้น = 0.28 ลติ ร 1.28 ลติ ร

2 1 6 5 7 90กล่มุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒๖ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๗๙ หน่วยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ชั้น ป.๕ เวลา ๑ ช่วั โมง 3. นา้ํ ดม่ื 550 มลิ ลิลิตร เทา กบั กลี่ ิตร 2 วธิ คี ิด เปลี่ยนหนว ยมิลลลิ ติ ร เปนลิตร 1,000 ลูกบาศกเ ซนติเมตร เทากบั 1 ลิตร 550 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร เทากบั 1505000 = 0.550 = 0.55 ลติ ร เนื่องจาก 1 ลกู บาศกเ ซนติเมตร เทา กับ 1 มิลลิลิตร 550 มิลลลิ ติ ร เทา กับ 550 ลกู บาศกเ ซนติเมตร ดังนัน้ นํา้ ดม่ื 550 มิลลิลิตร เทา กับ 0.55 ลติ ร 6. ครใู หน ักเรียนทําแบบฝกหัด 2.26 ขนั้ สรปุ 7. ครแู ละนักเรียนรว มกนั สรปุ การบอกปริมาตรเปนทศนิยม 1) การเปลย่ี นหนวยมิลลลิ ิตรเปนลติ ร ทาํ ไดโดยเทยี บ 1 ลติ ร เทากบั 1,000 มิลลลิ ิตร 2) การเปลยี่ นหนว ยลกู บาศกเ ซนตเิ มตรเปน ลติ ร ทาํ ไดโ ดยเทยี บ 1 ลติ ร เทา กบั 1,000 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร 3) การเปล่ียนหนวยมิลลิลิตรเปนลูกบาศกเซนติเมตร ทําไดโดยเทียบ 1 ลูกบาศกเซนติเมตร เทากับ 1 มิลลิลิตร

๑๘๐ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒๗ 01 9 แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู ขน้ั นำา ทบทวนความสมั พันธข องการบวกกบั การลบ และความสัมพันธของการคณู กับการหาร ข้ันสอน หาคาของตัวไมท ราบคาในประโยคสัญลกั ษณ การบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 5 47 ทาํ แบบฝก หัด 2.27 ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรียนรวมกันอภปิ รายสรุป การหาคา ของตวั ไมทราบคา ในประโยคสัญลกั ษณ การบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม 2 การวัดและประเมนิ ผล - ประเมนิ จากการตอบคาํ ถาม และการทําแบบฝก หัด 2 - ประเมินจากทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรด านการใหเหตุผล และการส่อื สาร สอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร

2 2 2 ชนั้ ป.๕ เวลา ๑ ช่ัวโมง 1 6 5 7 90กลมุ่ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒๗ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๘๑ หน่วยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรียนรู ส่อื /แหล่งเรยี นรู ข้ันนาำ แบบฝก หดั 2.27 การหาคาตัวไมทราบคาใน ประโยคสัญลักษณ การบวก 1. ทบทวนความสัมพันธระหวางการบวกและการลบจํานวนนับ โดยนักเรียนสังเกตประโยคการบวก การประเมนิ ผล การลบ การคณู การหารทศนยิ ม และการลบ ดังน้ี 1. วธิ ีการ สาระสำาคัญ 27 + 39 = 66 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู 66 – 27 = 39 1.2 ตรวจแบบฝกหัด การหาคาของตัวไมทราบคา 66 – 39 = 27 ในประโยคสัญลักษณการบวก นกั เรยี นตอบคําถาม ดังน้ี 2. เครื่องมอื การลบ การคูณ การหาร โดยใช 2.1 แบบประเมินทักษะและ ความสัมพันธระหวางการบวก นาํ 27 บวกดวย 39 ไดผ ลบวกเปนจาํ นวนใด (66) กระบวนการทางคณติ ศาสตร และการลบ และความสัมพันธ ระหวางการคณู และการหาร นาํ 66 ลบดว ย 27 ไดผลลบเปนจาํ นวนใด (39) 2.2 แบบฝกหดั 2.27 นํา 66 ลบดว ย 39 ไดผลลบเปน จาํ นวนใด (27) 3. เกณฑ์ จากนน้ั ครใู หนักเรยี นชว ยกนั เตมิ ตัวเลขแสดงจํานวนใน 3.1 ผลงานมีความถูกตอง ไมนอ ยกวารอยละ 80 15 + 37 = 52 3.2 คะแนนรวมดานทักษะ 2 37 = – 15 ( 37 เทากบั จํานวนใดลบดว ย 15 คําตอบ 52 ) 15 = – 37 ( 15 เทากบั จาํ นวนใดลบดวย 37 คําตอบ 52 ) และกระบวนการทางคณิตศาสตร ไมน อยกวา รอ ยละ 60 52 – = 37 ( 52 ลบดวยจาํ นวนใดได 37 คําตอบ 15 ) 52 – = 15 ( 52 ลบดวยจาํ นวนใดได 15 คาํ ตอบ 37 )

๑๘๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุม่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๒๗ ชั้น ป.๕01 9 เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม 2 จุดประสงค์การเรียนรู 2. ทบทวนความสัมพันธระหวางการคูณและการหารจํานวนนับ โดยนักเรียนสังเกตประโยคการคูณ 5 47 ดานความรู และการหาร ดงั น้ี เพ่อื ใหน ักเรยี นสามารถ 3 × 5 = 15 1. หาคาของตัวไมทราบคา 15 ÷ 3 = 5 จากประโยคสัญลักษณการบวก 15 ÷ 5 = 3 การลบ โดยใชความสัมพันธ ระหวา งการบวกและการลบ นักเรยี นตอบคาํ ถาม 2. หาคาของตัวไมทราบคาจาก ป ร ะ โ ย ค สั ญ ลั ก ษ ณ  ก า ร คู ณ นาํ 3 คณู ดวย 5 ไดผลคณู เปนจาํ นวนใด (15) การหารโดยใชความสัมพันธ ระหวางการคูณและการหาร นํา 15 หารดว ย 3 ไดผ ลหารเปนจาํ นวนใด (5) ดา นทกั ษะและกระบวนการ นาํ 15 หารดว ย 5 ไดผ ลหารเปน จาํ นวนใด (3) 2 ทางคณติ ศาสตร์ ตอ จากนั้น ครใู หนกั เรียนชวยกันเตมิ ตัวเลขแสดงจาํ นวนใน ดงั นี้ เพ่ือใหนักเรียนสามารถ 1. ใหเหตผุ ล 18 ÷ 9 = ( 18 หารดวย 9 ไดผลหารเทาไร 2 ) 2. สื่อสารและส่ือความหมาย 9 ✕ = 18 ( 9 คูณจํานวนใดไดผลคณู 18 2 ) ทางคณติ ศาสตร

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร์แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒๗ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๘๓ หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ชนั้ ป.๕ เวลา ๑ ช่ัวโมง ขั้นสอน 2 3. นักเรยี นสังเกตประโยคการบวกและการลบทศนยิ ม ดงั นี้ 1.5 + 3.7 = 5.2 5.2 – 1.5 = 3.7 5.2 – 3.7 = 1.5 นักเรียนตอบคาํ ถาม นํา 1.5 บวกดว ย 3.7 ไดผลบวกเปนจาํ นวนใด (5.2) นาํ 5.2 ลบดวย 1.5 ไดผ ลลบเปน จํานวนใด (3.7) นาํ 5.2 ลบดว ย 3.7 ไดผ ลลบเปน จาํ นวนใด (1.5) ครใู หน กั เรยี นสงั เกต ความสมั พนั ธร ะหวา งการบวกและการลบทศนยิ ม ไดข อ สรปุ วา การบวกและ การลบทศนิยม มีความสัมพันธร ะหวางการบวกและการลบเชน เดยี วกบั จาํ นวนนับ

๑๘๔ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๗ ช้ัน ป.๕01 9 เวลา ๑ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 4. ครแู ละนักเรยี นชว ยกันหาจาํ นวนท่ีแทน จากประโยคสัญลักษณการบวก ดงั นี้ + 3.9 = 10.2 จากประโยคสัญลักษณการบวกใหห าวา 5 47 จํานวนใดบวก 3.9 ไดผ ลลพั ธเปน 10.2 - นกั เรียนมีวธิ กี ารหาจํานวนทแ่ี ทน ไดอ ยา งไร ใชความสัมพันธร ะหวา งการบวกและการลบ วธิ ีทาำ เนื่องจาก + 3.9 = 10.2 = 10.2 – 3.9 = 6.3 2 จาํ นวนท่แี ทน คอื 6.3 ตอบ ๖.๓ - นกั เรียนมีวธิ ีตรวจสอบไดอยางไร (นาํ 6.3 ไปบวก 3.9 จะได 10.2 ดงั น้นั 6.3 + 3.9 = 10.2 และ 6.3 เปน คําตอบทีถ่ กู ตอง)

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร์แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๗ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๘๕ หน่วยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ชนั้ ป.๕ เวลา ๑ ชัว่ โมง 5. ครูและนักเรยี นชวยกันหาจํานวนทแี่ ทน จากประโยคสัญลกั ษณก ารลบ ดงั น้ี 2 10.85 – = 2.46 จากประโยคสญั ลักษณก ารลบ ใหหาวา 10.85 ลบดวยจํานวนใดไดผลลัพธเ ปน 2.46 - นักเรยี นมีวิธีการหาจํานวนที่แทน ไดอ ยา งไร วธิ ีทาำ เน่ืองจาก 10.85 – = 2.46 ใชค วามสมั พนั ธร ะหวางการบวกและการลบจะได 10.85 – 2.46 = และ 10.85 – 2.46 = 8.39 จาํ นวนทแ่ี ทน คอื 8.39 ตอบ ๘.๓๙ หรอื 10.85 – = 2.46 10.85 = 2.46 + 10.85 – 2.46 = 8.39 = = 8.39 นักเรยี นมีวิธีการตรวจสอบอยา งไร (นาํ 8.39 ไปลบออกจาก 10.85 จะได 2.46) ดังนน้ั 10.85 – 8.39 = 2.46 และ 8.39 เปน คําตอบท่ถี กู ตอง

๑๘๖ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒๗ ชั้น ป.๕01 9 เวลา ๑ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 6. นักเรียนสงั เกตประโยคการคูณและการหารทศนิยม ดังนี้ 5 47 1.5 ✕ 2 = 3.0 3.0 ÷ 2 = 1.5 นักเรียนตอบคาํ ถาม นํา 1.5 คณู ดวย 2 ไดผลคูณเปนจํานวนใด (3.0) นํา 3.0 หารดว ย 2 ไดผลหารเปนจํานวนใด (1.5) ใหนักเรียนสังเกตความสมั พันธร ะหวางการคูณและการหาร สรุปไดว า ตัวตงั้ เทากบั ตัวหาร คูณดว ย ผลหาร 7. ครูและนกั เรยี นชวยกนั หาจํานวนที่แทน จากประโยคสญั ลกั ษณการคูณ ดังนี้ ✕ 5 = 104 จากประโยคสัญลักษณการคูณใหหาวา จํานวนใดคูณกับ 5 ไดผลลัพธ 104 นักเรียนหาจํานวน แทน ไดอยางไร (ใชค วามสมั พนั ธระหวางการคูณและการหาร) วิธที าำ เนอ่ื งจาก ✕ 5 = 104 ใชค วามสมั พนั ธร ะหวางการคณู และการหาร 2 จะได = 104 ÷ 5 = 20.8 จาํ นวนทแ่ี ทน คือ 20.8 ตอบ ๒๐.๘ - นักเรยี นมวี ิธตี รวจสอบไดอยา งไร เนอ่ื งจาก 20.8 ✕ 5 = 104 ดังน้นั จาํ นวนท่คี ณู กับ 5 ได 104 คอื 20.8 และ 20.8 เปน คาํ ตอบทถี่ กู ตอง

2 1 6 5 7 90กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒๗ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๘๗ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ช้นั ป.๕ เวลา ๑ ชวั่ โมง 8. ครูกบั นักเรียนชว ยกันหาจาํ นวนทแี่ ทน จากประโยคสญั ลักษณก ารหาร ดังนี้ 2 ÷ 4 = 6.2 จากประโยคสัญลักษณก ารหาร ใหหาวา จาํ นวนใดหารดว ย 4 แลว ไดผลลพั ธเ ปน 6.12 - นักเรยี นมีวิธีการหาจาํ นวนทแี่ ทน ไดอ ยางไร ใชค วามสัมพนั ธร ะหวางการคูณและการหาร วธิ ีทำา เน่ืองจาก ÷ 4 = 6.12 จะได = 6.12 × 4 = 24.48 จาํ นวนท่ีแทน คือ 24.48 - นกั เรยี นมีวิธตี รวจสอบไดอยา งไร (นํา 4 ไปหาร 24.48 จะได 6.12 ดังนัน้ 24.48 ÷ 4 = 6.12 และ 24.48 เปนคําตอบท่ถี กู ตอ ง)

๑๘๘ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๗ ช้ัน ป.๕01 9 เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยท่ี ๒ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 9. ครูแบงนักเรยี นออกเปน กลมุ กลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุม หาจาํ นวนที่แทน จากประโยค สญั ลกั ษณท กี่ าํ หนด โดยใหจ บั ฉลาก กลมุ ละ 1 ขอ ทาํ ลงในกระดาษทค่ี รแู จกให เมอ่ื นกั เรยี นแตล ะกลมุ ทาํ เสรจ็ แลว สงตวั แทนออกนําเสนอ จากนน้ั ใหครแู ละนักเรยี นรวมกนั ตรวจสอบ 1) 12.3 + = 15.9 2) – 0.52 = 3.1 3) 3 ✕ = 7.2 5 47 4) ÷ 2 = 11.5 1) 12.3 + = 15.9 วธิ ีทำา เนอ่ื งจาก 12.3 + = 15.9 2 จะได = 15.9 – 12.3 = 3.6 จํานวนทแ่ี ทน คอื 3.6 ตอบ ๓.๖

2 1 6 5 7 90กลุ่มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร์แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒๗ 2 21ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๘๙ หนว่ ยท่ี ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ชน้ั ป.๕ เวลา ๑ ชัว่ โมง 2) – 0.52 = 3.1 – 0.52 = 3.1 วธิ ีทำา เนื่องจาก = 3.1 + 0.52 2 จะได = 3.62 จํานวนที่แทน คอื 3.62 ตอบ ๓.๖๒ = 7.2 3) 3 ✕ = 7.2 = 7.2 ÷ 3 วธิ ที ำา เนื่องจาก 3 ✕ = 2.4 จะได คือ 2.4 ÷ 2 = 11.5 จํานวนท่แี ทน ตอบ ๒.๔ = 11.5 × 2 4) ÷ 2 = 11.5 = 23.0 วธิ ีทำา เนอื่ งจาก = 23.0 = 23 จะได จํานวนทแี่ ทน ตอบ ๒๓

๑๙๐ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลุ่มสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๒๗ ชนั้ ป.๕01 9 เวลา ๑ ชว่ั โมง หน่วยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 9. ครูใหนักเรยี นทาํ แบบฝก หัด 2.27 5 47 ข้นั สรปุ 10. ครูและนักเรยี นชวยกนั สรปุ วา การบวก การลบ การคณู และการหารทศนยิ ม มคี วามสัมพันธร ะหวางการบวกและการลบ การคณู และการหารเชนเดยี วกับจํานวนนับ • การหาคา ของตัวไมท ราบคา ในประโยคสัญลักษณก ารบวกและการลบ ทาํ ไดโ ดยใช ความสัมพันธร ะหวางการบวกและการลบ ดงั น้ี ตวั ตั้ง = ตัวลบ + ผลลบ • การหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสญั ลกั ษณก ารคูณและการหาร ทาํ ไดโ ดยใช ความสัมพนั ธร ะหวางการคูณและการหาร ดงั น้ี ตวั ตง้ั = ตวั หาร × ผลหาร 2 • ความสัมพันธร ะหวา งการคูณกบั การหาร มีความสัมพันธก ันดังนี้ จํานวนสองจาํ นวนคณู กันนําผลคณู ทไี่ ดห ารดว ยจาํ นวนหนง่ึ จะไดผลหารเทา กบั อีกจํานวนหน่งึ • ความสัมพนั ธระหวา งการบวกกับการลบ มีความสมั พนั ธกนั ดงั นี้ จาํ นวนสองจํานวนบวกกันนาํ ผลบวกที่ไดล บดวยจาํ นวนหน่งึ จะไดผลลบเทากบั อกี จํานวนหนึง่

22 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๒๘ แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู 1 6 5 7 90 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู สู อน) 6 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ 4 7ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 9(ฉบบั ปรบั ปรงุ )0 ๑๙๑ ข้ันนาำ ทบทวนการวิเคราะหโ จทยป ญหาการคูณ การหารจาํ นวนนบั ข้ันสอน วเิ คราะหแ ละหาคําตอบโจทยปญ หา การคณู การหารทศนยิ ม ทาํ แบบฝก หัด 2.28 ขั้นสรปุ ครูและนกั เรยี นรว มกันสรุป การวิเคราะหโ จทยป ญหาการคูณ การหารทศนิยม 2 การวดั และประเมนิ ผล - ประเมนิ จากการตอบคาํ ถาม และการทําแบบฝก หัด 2 - ประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรดา นการแกปญ หา การใหเหตุผล และการสอ่ื สาร สือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร

๑๙๒ 1ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6(สาํ หรบั ครผู สู อน) 5กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร 4ภาคเรยี นท่ี7๑ 9ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ 0(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๒๘ ชั้น ป.๕ 01 9 เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยที่ ๒ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ขอบเขตเนอื้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู ส่อื /แหล่งเรยี นรู การวิเคราะหและหาคําตอบ ขั้นนำา 1. แถบโจทยป ญ หา โจทยป ญ หา การคณู การหาร 1. ทบทวนการแกโ จทยป ญ หาจาํ นวนนบั โดยครยู กตวั อยา งโจทยป ญ หาการคณู และการหารใหน กั เรยี น 2. แบบฝก หัด 2.28 บอกวธิ คี ดิ แกป ญ หา เขียนเปนประโยคสัญลักษณ และหาคาํ ตอบ ครตู ิดแถบโจทยป ญ หา ดังนี้ ทศนยิ ม แกว ตาซอื้ ขนมตาล ถงุ ละ 6 หอ จาํ นวน 3 ถงุ แกว ตาซอื้ ขนมตาลทงั้ หมดกห่ี อ การประเมนิ ผล 5 47 สาระสาำ คญั ครูซักถามนกั เรยี น 1. วธิ ีการ - จากโจทยน กั เรยี นหาจาํ นวนขนมตาลทแี่ กว ตาซอื้ ทง้ั หมดไดอ ยา งไร (นาํ 3 คณู 6 เพราะขนมตาล 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู การแกโจทยปญหาเริ่มจาก 1.2 ตรวจแบบฝกหัด การทาํ ความเขา ใจปญ หา วางแผน 1 ถุง มี 6 หอ ซอ้ื 3 ถุง ไดข นมตาล 3 เทาของ 6) แกป ญ หา เขยี นประโยคสญั ลกั ษณ - นักเรียนเขยี นประโยคสญั ลักษณไดอ ยา งไร (3 ✕ 6 = ) 2. เคร่อื งมอื หาคําตอบแลวตรวจสอบความ - จากประโยคสัญลกั ษณไดคาํ ตอบเทาไร (18) 2.1 แบบประเมินทกั ษะและ ถูกตอ งของคาํ ตอบ ดังนน้ั แกว ตาซอ้ื ขนมตาลทั้งหมด 18 หอ จากนน้ั ครตู ิดแถบโจทยป ญ หาใหนกั เรยี นเขียนประโยคสญั ลักษณ แลว หาคําตอบ กระบวนการทางคณติ ศาสตร จุดประสงค์การเรียนรู 2.2 แบบฝก หัด 2.28 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงานมีความถูกตอง ไมนอยกวารอ ยละ 80 3.2 คะแนนรวมดานทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร ไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 ดานความรู 2 2เพ่ือใหนักเรียนสามารถ วิเคราะหและหาคําตอบ โจทยปญหาการคูณการหาร ทศนิยม ครูมขี นม 15 หอ ใหนกั เรยี น 5 คน คนละเทา ๆ กัน นกั เรียน แตละคนไดรบั ขนมคนละก่หี อ - เขียนประโยคสัญลักษณไดอ ยางไร (15 ÷ 5 = ) - จากประโยคสัญลกั ษณไ ดค าํ ตอบเทา ไร (3) ดงั นั้น นกั เรยี นไดร ับขนมคนละ 3 หอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook