Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-2

64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-2

Published by elibraryraja33, 2021-08-18 04:03:13

Description: 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-2

Search

Read the Text Version

643 626 ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ดี) 2 (พอใช้) ถูกต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก และเลือกรบั ข้อมูล ขา่ วสารโดยใช้วธิ ีการ ภาษา จนทาใหผ้ ้อู ื่น ภาษา และเลอื กรับ ข่าวสารโดยใช้ ส่ือสารไดไ้ ม่ถูกตอ้ ง คลอ้ ยตามและเลือก ขอ้ มูลข่าวสารโดย วิธกี ารส่อื สารได้ ไมเ่ หมาะสม รบั ข้อมูลข่าวสาร ใช้วธิ ีการสื่อสารได้ อยา่ งถูกต้อง โดยใช้วิธกี ารส่อื สาร อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมครบถ้วน ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมครบถว้ น เหมาะสมครบถว้ น อยา่ งมีจิตสานึกต่อ อยา่ งมีจิตสานึกต่อ ตนเองและสังคม ตนเองและสงั คม ทุกครงั้ 14.ความสามารถใน เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขียนแผนภาพ เขียนแผนภาพ การคิด ความคิด การ ความคดิ การ ความคดิ การ ความคดิ การ 15.ความสามารถใน การแกป้ ัญหา กปาฏริบปัตฏงิบาตั นงิ ทาน่เี ลทอื ่ีเลกอืไดก้ กปาฏรปิบฏตั ิบงาตั นงิ าทนเ่ี ลทอืี่เลกือไกด้ ปฏบิ ัตงิ านทเี่ ลอื กได้ ปฏบิ ตั ิงานที่เลือกไม่ ไถดกู ถ้ ตกู ้อตงอ้ งครคบรบถถ้วว้นน ไถดกู ้ถตูก้อตงอ้ แงแลละะ 16.ความสามารถใน ถูกต้องบางประเดน็ ถูกต้อง การใช้ทักษะชวี ิต ตามขัน้ ตอนทุก ครบถว้ น ประเดน็ แก้ปัญหาใน แก้ปญั หาใน แก้ปัญหาใน ไม่สามารถแกป้ ัญหา ระหวา่ งการ ระหวา่ งการ ระหวา่ งการ ระหว่างการ กปาฏริบปัตฏงิบาัตนงิ ไาดน้ตไดา้ตมาม กปาฏรบิปฏัติบงาัตนิงไาดนต้ไดาต้มาม กปาฏรบิปตัฏงิบาัตนิงไาดน้ตไดา้ตมาม กปาฏรบิปตัฏิงบาตั นิงไาดน้ ได้ สถานการณ์ เกิด สถานการณ์ เกิด สถานการณ์ ผลดีตอ่ การ ผลดตี ่อการ กปาฏริบปตัฏงิบาตั นงิ าไนด้รไับดร้ ับ กปาฏรปบิ ฏตั บิงาตั นิงาน การยอมรับจาก เพื่อนรว่ มงาน เลอื กใชว้ ัสดุ เลอื กใชว้ สั ดุ เลอื กใชว้ ัสดุ ไม่สามารถเลือกใช้ อปุ กรณ์และ อปุ กรณ์และ อปุ กรณ์และ วัสดุอปุ กรณแ์ ละ ปฏิบตั ิงานได้ตาม ปฏิบตั งิ านได้ตาม ปฏบิ ัตงิ านได้ตาม ปฏบิ ตั ิงานไดต้ าม กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน ในแตล่ ะประเภท ในแตล่ ะประเภท ในแต่ละประเภท ในแต่ละประเภทของ ของงาน ของงาน ของงานแตย่ ังมี งาน

644 627 ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ดี) 2 (พอใช้) ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ผดิ พลาด เพ่ือนร่วมงานให้ การยอมรบั 17.ความสามารถใน เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีได้ การใช้เทคโนโลยี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ใน ได้อยา่ งถูกต้อง ใน ไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่ 18. ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 19. การมวี นิ ัย หลากหลายในการ การลดขั้นตอนเวลา การลดขน้ั ตอนเวลา สามารถลดขัน้ ตอน 20. การใฝ่เรยี นรู้ กลาดรขล้นัดตข้ันอตนอเวนลเวาลา ทรพั ยากร ในการ แต่ใชท้ รัพยากรใน เวลา ทรัพยากร ใน ททรรพั ัพยยาากกรรในในการ กทาารงทาำ�นงาโนดยโไดมย่มไมี ม่ ี การทางาน การทางานได้ กทาารงทาำ�นงาโนดยโดไมย่มไมี ม่ ี ผลกระทบกับผูอ้ ื่น สนิ้ เปลือง ผลกระทบกับผูอ้ ่ืน และเปน็ แบบอยา่ ง ที่ดไี ด้ เกณฑ์การประเมนิ ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มคี วามซื่อสัตยต์ อ่ ความซ่อื สัตยต์ ่อ ความซ่อื สตั ย์ต่อ ความซอ่ื สตั ย์ต่อการ การทางานไม่ การทางานไม่ การทางานไม่ ทางานดูผลงานของ คดั ลอกผลงานของ คดั ลอกผลงานของ คัดลอกผลงานของ ผอู้ ื่นเปน็ ตวั อย่าง ผู้อน่ื และมี ผู้อ่นื และมี ผอู้ น่ื ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ ทาช้นิ งานสวยงาม ปฏบิ ตั ติ าม ปฏิบัตติ าม ปฏิบัติตาม ไม่ค่อยปฏบิ ัติตาม กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบียบ กติกา กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบียบ กติกา ของโรงเรียน ของ ของโรงเรียน ของ ของโรงเรียน ของ ของโรงเรยี น ของ หอ้ งเรียน ของกลุม่ หอ้ งเรียน ของกล่มุ ห้องเรยี น ของกลุม่ หอ้ งเรียน ของกลุ่ม ดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่ ไม่ก่อกวนความ ได้เปน็ ส่วนใหญ่ ก่อกวนความราคาญ กอ่ กวนความ ราคาญใหค้ รูและ ไมก่ ่อกวนความ ให้ครแู ละเพอ่ื นใน ราคาญใหค้ รูและ เพอื่ นในหอ้ งเรียน ราคาญให้ครูและ ห้องเรียน เพอ่ื นในห้องเรยี น เพอ่ื นในหอ้ งเรยี น เปน็ บางครั้ง มคี วาม มีความ มคี วาม ไม่มีความ กระตือรอื ร้น กระตือรอื รน้ กระตือรือรน้ กระตือรือรน้ ขาด

645 628 ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) อดทน เพยี ร อดทน รู้จัก อดทน ใน ความอดทน พยายาม แสวงหาความร้จู าก บางคร้ัง ร้จู กั อดทน ไมร่ จู้ กั มุ่งมั่น รู้จักแสวงหา แหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ แสวงหาความรจู้ าก แสวงหาความรจู้ าก ความรจู้ ากแหล่ง อยู่เสมอ ๆ แหล่งเรยี นร้อู ืน่ ๆ แหลง่ เรยี นร้อู ืน่ ๆ เรียนรูอ้ ื่นๆ อยู่ เสมอๆ 21. มุ่งม่นั ในการ ทางานท่ีได้รบั ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานท่ีได้รับ ทางานท่ีได้รบั ทางาน มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายไม่เสรจ็ กาหนดเวลา กาหนดเวลา กาหนดเวลา ตามกาหนดเวลา ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานไมม่ ีความ ถกู ต้อง ละเอยี ด ถกู ต้อง เรยี บร้อย ถูกต้อง แตย่ งั ไม่ เรียบรอ้ ย ประณีต เรียบร้อย เรยี บรอ้ ย เกณฑค์ ณุ ภาพ คะแนน 10 -12 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดี คะแนน 4-6 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนน 0-3 หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารตัดสิน ต้ังแต่ระดับ........ด.ี ...............

646 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่ือง เทคโนโลยีกบั มนษุ ย์ เวลา 2 ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า เทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ 1. สาเหตหุ รอื ปจั จยั ที่ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลง ขน้ั นา 1. สือ่ วดี ทิ ศั น์ เรอื่ ง สือ่ เทคโนโลยเี ปลย่ี นโลก ของเทคโนโลยี 1. นักเรียนดสู ่ือวีดทิ ัศน์ Disruptive Classroom “สอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=7xQey6 2. ผลกระทบของเทคโนโลยี เทคโนโลยเี ปลี่ยนโลก” UGDzM 3. การเลือกใชเ้ ทคโนโลยใี ห้เหมาะสม 2. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ประเด็นการ 2. ใบความรทู้ ี่ 1 การเปลยี่ นแปลงและผลกระทบ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กเปารลเ่ยีปนลแ่ยี ปนแลปงขลองขงอเทงคเทโคนโนลโยลีทยี่ชทม่ีชใมนในวดีวดีทิ ิทัศัศนน์ ์ ของเทคโนโลยี ดา้ นความรู้ ขั้นสอน ภาระงาน/ช้ินงาน 1. ครนู านักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกับเทคโนโลยีโดยใช้ 1. ใบงานท่ี 1.1 การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ 1. บอกปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการเปลย่ี นแปลงของ คาถามดงั นี้ ของเทคโนโลยี เทคโนโลยไี ด้ - เทคโนโลยีมีความสาคัญต่อชวี ิตอยา่ งไร 2. ใบงานท่ี 1.2 สรปุ องคค์ วามรูเ้ รอ่ื งการ - เทคโนโลยีมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร 2. เปรยี บเทียบขอ้ ดีข้อเสียของผลกระทบของ - เทคโนโลยมี ีผลกระทบต่อการดารงชวี ติ ประจาวนั และ เปล่ยี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี เทคโนโลยไี ด้ หมายเหตุ สงั คมอยา่ งไร สถานท่ี : ห้องคอมพิวเตอร์ 3. ตดั สนิ ใจเลือกใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม - นกั เรียนมีวิธีการเลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างไรให้เหมาะสม โดยเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นไดต้ อบคาถามอย่างอิสระ 2. ให้นักเรียนแบง่ กลุ่มละ 4 คน แต่ละกลุม่ ศึกษาใบความรู้ ท่ี 1.1 เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี ประมาณ 5 -10 นาที 629

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี 647 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่อื ง เทคโนโลยกี ับมนุษย์ เวลา 2 ชัว่ โมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา เทคโนโลยี ดา้ นทักษะและกระบวนการ 3. ให้แต่ละกลมุ่ ระดมความคิด แลว้ รว่ มกนั ปฏิบัติในใบงานท่ี 1. ทักษะในการทางานรว่ มกัน 1.1 เรือ่ งการเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีและ นาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 4. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นสนทนาซกั ถามและเสนอแนะ 3. ทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ให้รว่ มกนั ปรบั ปรงุ แก้ไขผลงานของตนเอง 4. ทกั ษะการสื่อสาร สารสนเทศและเทา่ ทนั ส่ือ ด้านคณุ ลกั ษณะ 5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายและสรปุ การ 1. ซอ่ื สัตยส์ ุจรติ กเปารลเีย่ ปนลแ่ียปนลแปงแลลงแะลผะลผกลรกะรทะบทขบอขงอเงทเทคคโนโนโลโลยยี ใี ใหห้ตต้ วั ัวแแททนนกลุม่ 2. มวี ินยั บนั ทึกโดยใช้ mind map (decomposition) ที่หนา้ กระดาน แลว้ นักเรียนแตล่ ะคนบนั ทกึ ลงในสมุด 3. ใฝ่เรียนรู้ ข้ันสรุป 4. ม่งุ ม่ันในการทางาน 1. ใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 1.2 จากเรือ่ ง การเปล่ยี นแปลง และผลกระทบของเทคโนโลยี โดยสรปุ เปน็ องคค์ วามร้โู ดยใช้ mind map (decomposition) 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสรปุ 630

648 631 การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ส่งิ ทตี่ ้องการวดั - ใบงานที่ 1.1 - แบบประเมินการคิด - นกั เรียนทุกคน - ใบงานที่ 1.2 วจิ ารณญาณ ผา่ นเกณฑ์ไมต่ า่ 1. ด้านความรู้ (K) -แบบสงั เกตพฤติกรรม กวา่ ร้อยละ 80 1. วเิ คราะหป์ จั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การ - สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมนิ การคิด นักเรยี นทกุ คน เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยไี ด้ การเรยี นรูข้ อง วิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์ไม่ตา่ 2. วเิ คราะห์เปรียบเทียบข้อดี นักเรยี น -แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ กวา่ ร้อยละ 80 ข้อเสียของผลกระทบของ -แบบประเมินการทางาน เทคโนโลยีได้ - สงั เกตพฤติกรรม กลุม่ - นักเรยี นทุกคน ของนักเรยี น - แบบประเมินผลด้าน ผ่านเกณฑ์ไมต่ า่ 3. ตดั สินใจเลือกใช้เทคโนโลยไี ด้ กระบวนการเรียนรู้เทยี บกับ กวา่ รอ้ ยละ 80 อยา่ งเหมาะสม เกณฑ์ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - นกั เรยี นทุกคน 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ผา่ นเกณฑ์ไมต่ ่า 1. ทักษะในการทางานร่วมกัน - แบบประเมนิ ผล กว่าร้อยละ 80 2. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ 3. ทักษะการส่อื สาร ประสงคเ์ ทียบกับเกณฑ์ 4. ทกั ษะการคดิ อย่างมี วิจารณญาณ 5. ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) 1. ซ่ือสัตย์สุจรติ 2. มีวินัย 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

649 632 8. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงชือ่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท.ี่ .....เดอื น...............................พ.ศ............. 9. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .....เดอื น...............................พ.ศ.............

650 633 ใบความรทู้ ่ี 1 การเปล่ยี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก http://gg.gg/c96p1 ปัจจุบันเทคโนโลยีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีความหลากหลายมากขึ้น ในยุคที่มีสัญญาณ อินเทตอร์เนต็ ครอบคลุมไปทุกพื้นที่ มนุษย์ใช้สมารต์ โฟนสั่งงานต่างๆ ผ่านแอปพลิเคชันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น การทาธุรกรรมทางการเงินโดยใช้แอปพลิเคชันแทนการเดินทางไปทาที่ธนาคาร การติดต่อส่ือสารแบบ วีดิ ีโอคอล การซื้อขายสินค้าออนไลน์ การเรียกใช้บริการแท็กซ่ีผ่านทางแอปพลิเคชันแทนการโทรนัดหมาย การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีจึงเกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบ เราควรตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสม สาเหตหุ รอื ปจั จัยทีท่ าให้เทคโนโลยีมกี ารเปล่ยี นแปลง เทคโนโลยีมกี ารรเเปปลล่ยี ี่ยนนแแปปลลงงออยย่า่างตงต่อ่อเนเนอ่ื ื่งอจงาจกาอกดอีตดจีตนจถนึงถปึงจั ปจัจุบจนั ุบัแนลแะลพะัฒพนัฒาตน่อายตอ่ ดยไอปดถไงึ ปอถนึงาอคนตาคโดตยมี สโดาเยหมตีสุหารเือหปตจั ุหจรัยือทปท่ี ัจำ�ใจหัยเ้ ท่ีคทโานใโหล้เยทมี คีกโานรโเลปยลีม่ยีนกแารปเลปงลมี่ยาจนาแกปคลวงามกาจา้ วาหกนคา้วขาอมงกศ้าาวสหตนร์ต้าา่ขงอๆงศการสเตปรล์ต่ยี ่านงแๆปลกงาทราง เเศปรลษี่ยฐนกแจิ ปลสงงั ทคามงเวศัฒรษนธฐรกริจม สโังดคยมมจีวดุัฒปนรธะรสรงมค์เพโดอ่ื ชย่วมยีจใุดนปกราะรแสกงค้ป์เัญพหื่อาชห่วรยอื ใสนนกอางรคแวกา้ปมัญต้อหงากหารือขอสงนมอนงุษคยว์าเมพิ่ม คตว้อางมกสาารมขาอรถงมในนกุษารยท์ เำ�พง่ิมานคขวอางมมสนาุษมยา์ รถกในารกเราียรนทราู้สงาเนหขตอุแงลมะนปุจัษจยยั ์ ทก่ีสา่งรผเลรใียหนเ้ ทรคู้สโานเโหลตยุแเี กลิดะกปาัจรเจปัยลท่ีย่ีสน่งแผปลลใงหน้ ั้น ชเท่วยคใโหนเ้โรลายสเี ากมิดากราถรวเปเิ คลร่ียานะแหป์ผลงกนระัน้ ทชบ่วทยจ่ีใหะเ้ กราดิ สขานึ้ มจาารกถกวาิเครเรปาละยี่หน์ผแลปกลระงขทอบงทเท่ีจะคเโกนดิ โลขย้ึนีจสาากมกาารรถเแปนลวย่ี ทนาแงปในลงของ กเทารคเโลนือโกลใยชี ้เทสคามโนารโลถยแีไนดวอ้ ทยา่างงใเนหกมาาระเสลมอื ตกใาชม้เสทถคาโนกโลารยณีไดท์ อ้ เี่ ยกา่ ิดงขเห้นึ มาะสมตามสถานการณ์ทีเ่ กิดขึ้น

651 634 ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ผลกระทบดา้ นบวก 1. ด้านอุตสาหกรรมและการพาณิชยกรรม เพ่ิมขดี ความสามารถในการทางานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ลงทุนน้อย รายไดส้ งู 22. .เสเสรรมิ มิ สสรร้า้างงคคววาามมเทเท่าา่ เทเทียียมมใในนสสังังคคมมแแมม้แแ้ ตต่ถ่ถ่ิน่นิ ททุรรุ กกนั ันดดาารรททาำ�ใใหห้มม้ ีกกี ารรกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการ กใชา้รใะชบร้ บะกบาบรกเราียรเนรกียานรกสาอรนสอทนางทไากงลไก(ลDLT(DVL)TมVีค)ลังมสีค่ือลกงั าสรอ่ื ศกึกาษรศาทึกษี่ทัานทสท่ีมันยสมมากัยขม้ึนากผขู้เนึ รียนผสูเ้ รายี มนาสราถมเราียรถนเรรู้ไียดน้ดร้วู้ไยด้ ดต้วนยเอตงนไเดอ้ตงลไดอ้ตดลเวอลดาเวนลอากนจอากจนา้ยี กังนมยี้เวงั ็บมไีเซว็บตไ์ทซี่เตป์ทน็ เ่ีสปื่อน็ กสาือ่รกเรายี รนเรกียานรกสาอรนสมอานกมมาากยมาย 3. ให้ความบันเทิง เช่น ดหู นงั ฟังเพลง เกม สามารถดู TV ออนไลนไ์ ด้ และยงั มีความบันเทิงต่างๆ อีก มากมาย 4. ทาให้มนุษย์มีเคร่ืองมือเคร่อื งใช้ท่ีทันสมัย ทันตอ่ เหตุการณ์ในยุคปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเคร่อื งมือด้าน การแพทย์ การศึกษา การสื่อสาร ด้านเศรษฐกิจ ด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม และด้านอื่นๆ อีก มากมาย 5. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพ่ือติดต่อสื่อสารให้ สะดวกขึ้น ได้มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ควบคุมระบบเปิด/ปิด เครอื่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หรือ SMART HOME หรอื ในยุคท่ีทกุ ๆ อย่างเช่ือมต่อกับอินเตทอร์เน็ต (Internet of Things : IoT) 6. สามารถจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม การพยากรณอ์ ากาศ การรวบรวมและการเกบ็ ข้อมลู ตา่ งๆ รวมไปถงึ การสร้างแบบจาลอง 7. มีระบบคมนาคมทดี่ ีขึ้น สะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั 8. สามารถใชห้ ุ่นยนตท์ างานในทเ่ี ส่ยี งภัยหรอื ท่มี สี ารพิษแทนมนุษยไ์ ด้ 9. ด้านกาารรปป้อ้องงกกันันปปรระะเทเทศศ มมีกีากราใรชใ้รชะ้รบะบบปบอ้ ปง้อกงนั กภันยั ภรัยะบระบบเฝบ้าเรฝะ้าวรงั ะทว่มี ังคีทอี่มมีคพอวิ มเตพอิวรเต์คอวบร์ควุมบกคารุมทก�ำ างราน มทีอาางวาุธนยมทุ อี โาธวปธุ กยรทุ ณโธ์ทปที่ กนั รสณม์ทัยีท่ ันสมัย ผลกระทบด้านลบ 1. มนุษยไ์ มช่ อบการเปลีย่ นแปลง เคยชินกบั การทาอะไรทเ่ี หมือนเดิม แต่เทคโนโลยตี า่ งเปลี่ยนแปลง ไป ทาใหร้ ับการเปล่ยี นแปลงไมไ่ ด้ จึงเกิดความวติ กกังวล เกิดความเครียด 2. มีการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก ทาให้พฤตกิ รรมที่แสดงออกดา้ นการแต่งกาย และ การบริโภคเปล่ียนแปลงไป การมอมเมาเยาวชนในรูปของเกมอิเล็คทรอนิคส์ ส่งผลกระทบ ต่อการพัฒนา อารมณแ์ ละจิตใจของเยาวชน เกิดการกลืนวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ซึง่ แสดงถงึ เอกลักษณ์ของสงั คมน้ัน 3. ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มท่ีสาคัญมากยิ่งข้ึน ด้วยเหตุน้ีเยาวชนคนรุ่น ใหมจ่ งึ ควรเรยี นรู้ และเขา้ ใจเกย่ี วกับเทคโนโลยี เพือ่ นาเทคโนโลยมี าใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 4. กกาารรมมีสีสว่ ่วนนรร่ว่วมมขขอองงคคนนในในสสังคังคมมลลดดนนอ้ ย้อลยงลงกากราใรชใ้เชท้เคทโคนโนลยโลีทย�ำ ีทใหาเ้ใกหดิ ้เกคิดวาคมวสาะมดสวะกดรววกดรเวร็วดเใรน็ว ในการ กสื่าอรสสาอื่ รสแาลระแกลาะรกทาารงทาำ�นงาแนต่ในแอตีก่ในดอ้าีกนดห้านน่ึงหกนาง่ึรกมาีสร่วมนสี ร่ว่วนมรขว่ มอขงกอิจงกจิรกรมรรทมาทงาสงังสคงั มคทม่ีมทีกม่ี ากี ราพรพบบปปะสะสังสังสรรรคค์กก์ ันนั จจะะ น้อยลง ผ้คู นมักอยแู่ ตท่ ีบ่ ้านหรอื ท่ีทา�ำ งานของตนเองมากขนึ้

652 635 5. การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลโดยการเผยแพร่ข้อมูลหรือรูปภาพต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูล บางอย่างอาจไม่เป็นความจริงหรือยังไม่ได้พิสูจน์ความถูกต้องออกสู่สาธารณะชน ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อ บคุ คลโดยไมส่ ามารถปอ้ งกันตนเองได้ การละเมดิ สทิ ธิสว่ นบุคคล 6. เกิดช่องว่างทางสังคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับการลงทุน ผู้ใช้จึงเป็นชนชั้นใน อีกระดับหนึ่งของสังคม ในขณะท่ีชนช้ันระดับรองลงมามีจานวนมากกลับไม่มีโอกาสใช้และผู้ยากจนก็ไม่มี โอกาสรู้จกั กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. อาชญากรรมบนเครอื ข่าย คคววาามมกก้าา้ววหหนน้า้าททาางงเทเทคคโนโนโลโลยยีสสี าารรสสนนเทเทศศกก่อ่อใหให้เกเ้ กิดดิ ปปญั ญั หหาาใหใหมม่ขข่ ึน้ ึน้ เชเชน่ ่น ปญั หาอาชญากรรม ตัวอยา่ งเชชน่ น่ ออาชญากรรมในรูปของการขโมยความลบั การขโมยข้อมลู สารสนเทศ การ กใหาร้บใรหิกบ้ ารกิสารสานรเสทนศเทท่ีมศีกทามี่ รกีหาลรอหกลลอวกงลรววงมรถวึงมกถาึงรกบา่อรนบทอ่ านลทาำ�ยลขาอ้ ยมขูลอ้ แมลลู ะแไลวระสัไวรัส 8. กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาดา้ นสขุ ภาพ จากการจ้องมองคอมพวิ เตอรห์ รือสมาร์ทโฟนเปน็ เวลานาน มีผลเสีย ต่อสายตา ซ่ึงทาใหส้ ายตาผดิ ปกติ เวยี นศรี ษะ นอกจากนั้นยงั มีผลตอ่ สขุ ภาพจติ เกิดโรคทางจติ ประสาท การเลอื กใช้เทคโนโลยี ในการเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เกดิ ขึ้นน้ัน จะต้องคานงึ ถึงผลกระทบในหลายๆ ดา้ นทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ดังน้ีในการเลือกใช้เทคโนโลยีจะตอ้ งคานึงถงึ สง่ิ ท่จี ะเกดิ ขึน้ ต่อไปนี้ 1. คานึงถึงชีวิต ในการเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมนั้น จะต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยของของ ชวี ิตมนุษย์ ไม่ส่งผลกระทบต่อชีวิตของมนุษย์ในด้านลบ ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ ทาให้สุขภาพร่างกายของ มนุษยด์ ขี น้ึ ลดค่าใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาล 2. คานึงถึงสังคม ในการเลือกใช้เทคโนโลยใี ห้เหมาะสมน้ัน จะต้องคานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดข้ึนต่อ สังคม ทาให้เกิดความรักความสามัคคี สุขภาพจิตดีข้ึน สังคมน่าอยู่ รักษาไว้ซึ่งประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม ของสงั คม 3. คานึงถึงส่ิงแวดล้อม ในการเลือกใช้เทคโนโลยีน้ันให้เหมาะสมนั้น จะต้องคานึงถึงผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมและมลภาวะตา่ งๆ ที่จะเกิดข้ึน มลภาวะลดนอ้ ยลง เป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ทาใหภ้ าพลกั ษณ์ด้าน สิ่งแวดล้อมของประเทศดขี ึน้ ตัวอยา่ งการเลือกใชเ้ ทคโนโลยมี าใชแ้ ก้ปัญหาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เมืองแห่งความสุข เกิดปัญหาขยะส่งกลิ่นเหม็นทาให้เกิดมลพิษทางอากาศ ท้ังท่ีมีถังขยะท่ีแยกเป็น ประเภทให้ผู้คนในชุมชนได้ท้ิงขยะแยกตามประเภทแล้วก็ตาม เมืองแห่งสุขจะมีวิธีการแก้ปัญหาขยะส่งกล่ิน เหม็นนีไ้ ด้อยา่ งไร จากสถานการณ์ข้างต้นเมืองแห่งความสุข ได้ระดมความคิดและประชุมปรึกษาหารือกัน ตามหัวข้อ ดังน้ี

653 636 - เกิดปญั หาอะไรในเมืองแหง่ ความสขุ - ปญั หานีเ้ กิดจากใคร - ทาไมจึงเกดิ ปัญหานี้ - ปญั หานี้เกดิ ขน้ึ เมื่อใด - ปัญหานีเ้ กิดข้ึนท่ีไหน - เราจะแกป้ ัญหานี้ได้อย่างไร จากทีไ่ ดร้ ะดมความคิดและปรึกษาหารือกนั แลว้ ชาวเมืองแหง่ ความสุขไดข้ ้อสรุปดังน้ี - เกดิ ปัญหาอะไรในเมืองแห่งความสุข : ขยะสง่ กลิ่นเหมน็ สรา้ งมลพิษทางอากาศ เป็นแหลง่ แพร่เช้อื โรค - ปัญหานีเ้ กดิ จากใคร : ปัญหานี้เกิดจากทุกคนในเมือง - ทาไมจงึ เกิดปัญหาน้ี : ปญั หาการทงิ้ ขยะที่ไม่เอาเศษอาหารหรอื สงิ่ ทยี่ ่อยสลายได้ออกจากพลาสติก - ปัญหานเ้ี กิดขน้ึ เมื่อใด : ปญั หาน้ีเกิดขึน้ จากการทงิ้ ขยะทุกชว่ งเวลาของทุกคนในเมอื ง - ปญั หาน้ีเกิดข้ึนทีไ่ หน : บริเวณจดุ ที่ตั้งถงั ขยะของเมอื งแห่งความสุข - เราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร : วิธีการแก้ปัญหาคือจะต้องนาเศษอาหารหรือขยะเปียกออกจาก ถุงพลาสติกก่อนท่ีจะทิ้ง แล้วจะนาเศษอาหารหรือขยะเปียกน้ันมาจัดการอย่างไรจึงจะไม่ส่งกล่ินเหม็น มีผู้ เสนอแนวทางการแก้ปัญหามาหลายวิธี เช่น นาขยะเปียกที่แยกออกมาไปฝังกลบ การนาเศษอาหารหรือ ขยะเปียกไปทาปุ๋ยหมัก จากน้ันทุกคนในเมืองก็ได้ทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับขยะเปียกที่ แยกออกมาดังน้ี ตารางวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบขอ้ ดขี ้อเสยี ของผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ จากการจัดการกับขยะเปียก ลาดบั แนวทางการแก้ปญั หา ชีวิต ผลกระทบต่อ ส่งิ แวดล้อม ท่ี สงั คม 1 ฝงั กลบขยะ -คณุ ภาพชวี ิตดีข้นึ -สรา้ งความสามคั คี -ใชพ้ ้นื ที่ในการฝังกลบมาก ในชุมชน -ใช้เวลาในการย่อยสลาย นาน -หาสถานท่ยี ากเพราะไม่มี ใครอยากใหบ้ ่อฝงั กลบขยะ มาอยใู่ กล้บ้านเรือนของ ตนเอง -กา๊ ซมเี ทนท่ีเกดิ จากการ ยอ่ ยสลายของขยะและน้า ชะขยะมลู ฝอยอาจทาให้ เกดิ อนั ตรายได้

ลาดับ แนวทางการแกป้ ัญหา ชีวิต 654 637 ที่ ผลกระทบต่อ สงั คม สงิ่ แวดล้อม -ถ้าฝังกลบไมถ่ กู ตอ้ งจะส่ง กลิ่นเหมน็ 2 เอาขยะเปียกไปทาปุ๋ย -คณุ ภาพชวี ติ ดขี ้นึ -สรา้ งความสามัคคี -ถ้าดาเนินการไม่ถกู ต้องการ หมกั ในชมุ ชน ย่อยสลายไม่สมบูรณจ์ ะเกดิ -สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั กลน่ิ เหมน็ ชุมชน -ใชพ้ ื้นท่ีในการทาโรงปุ๋ย -ชุมชนมีปยุ๋ หมักใช้ หมกั นอ้ ย เอง -ได้ป๋ยุ หมกั ที่เป็นมติ รกับ ธรรมชาติ จากการเปรียบเทยี บวิธกี ารแก้ปัญหาขยะส่งกลิน่ เหมน็ ของเมืองแห่งความสุข ชาวเมอื งร่วมกนั สรปุ แลว้ เลอื กวิธกี ารนาเอาขยะเปียกหรอื เศษอาหารมาทาปุ๋ยหมักเปน็ วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมท่ีสุดกับสถานการณ์ที่ เกิดข้ึน

655 638 ใบงานที่ 1.1 การเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี ใหน้ ักเรยี นระดมความคดิ กันในกลมุ่ เกี่ยวกบั ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นในโรงเรียนหรอื ชมุ ชนของนักเรยี น มา กลุ่มละ 1 ปัญหา จากน้ันให้นามาทาลงในกระดาษปบรู๊ฟุฟ นาเสนอหน้าชั้นเรียน ตามหัวข้อที่กาหนด ดังน้ี 1. ปัญหาทเี่ กิดข้นึ คืออะไร 2. จะนาเทคโนโลยมี าแก้ไขปัญหาน้ีอย่างไร 3. ใหว้ ิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บข้อดขี ้อเสียของเทคโนโลยีท่ีจะนามาใช้ในการแกป้ ญั หา 4. นกั เรยี นจะเลอื กใช้เทคโนโลยีชนดิ ใดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้

656 639 ใบงานท่ี 1.2 เรื่องการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี ให้นักเรียนสรุปเป็นองค์ความรู้โดยใช้ mind map (decomposition) จากงานกลุ่มที่ทาใน กระดาษบปรฟุู๊ ในใบงานที่ 1.1

657 640 แบบบันทึกการประเมินผเู้ รยี น ด้านความรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับมนุษย์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 รายการประเมนิ วิเคราะห์ปจั จัยท่มี ี วเิ คราะห์ ตัดสินใจเลอื กใช้ เลขท่ี ช่อื -สกลุ ผลต่อการ เปรียบเทยี บข้อดี เทคโนโลยีได้อยา่ ง เปลย่ี นแปลงของ ข้อเสียของ เหมาะสม เทคโนโลยีได้ ผลกระทบของ เทคโนโลยีได้ 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผูป้ ระเมิน 4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผู้สอน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ *เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ขนึ้ ไป

658 641 แบบบนั ทกึ การประเมนิ ผูเ้ รยี น ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายการประเมนิ เลขท่ี ชอื่ -สกลุ ทักษะในการทางาน ทกั ษะการคิด ทักษะการคดิ อย่างมี ทกั ษะการส่ือสาร รว่ มกนั วเิ คราะห์ วิจารณญาณ สารสนเทศและเทา่ ทันสื่อ 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน 4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผูส้ อน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง *เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ข้ึนไป

659 642 แบบบันทกึ การประเมินผเู้ รียน ดา้ นคุณลกั ษณะ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง เทคโนโลยีกบั มนษุ ย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายการประเมนิ เลขที่ ช่อื -สกลุ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันใน การทางาน 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผู้ประเมิน 4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ู้สอน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง *เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ขึ้นไป

660 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง พัฒนาการของเทคโนโลยีการส่อื สาร หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับมนษุ ย์ เวลา 2 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า เทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ขอบเขตเนอ้ื หา 1. เทคโนโลยีการส่อื สาร กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นนา (10 นาที ) - สื่อวดี ิทศั น์ เร่อื ง เทคโนโลยกี ารสือ่ สารจากอดตี ดา้ นความรู้ 1. ครูทบทวนความรูเ้ รื่องการเปล่ียนแปลงและผลกระทบของ ถงึ ปจั จุบัน 1. อภปิ รายถึงประวตั ิความเปน็ มาของ เทคโนโลยีในช่วั โมงท่แี ลว้ เทคโนโลยีการส่อื สาร https://www.youtube.com/watch?v=Wub43 2. นาเสนอวีดทิ ศั นท์ ี่เกยี่ วขอ้ งกบั เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารใน usEQyc 2. อธิบายและเปรยี บเทียบรปู แบบการ อดตี ทผี่ ่านมา จนมาถงึ ปัจจบุ ัน และแนวโน้มในอนาคต จาก สอื่ สารจากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั - ใบความรทู้ ี่ 2.1 เรือ่ ง ประวัตแิ ละพัฒนาการของ วดี ทิ ัศน์ เรื่อง เทคโนโลยกี ารส่อื สารจากอดีตถึงปัจจุบันที่ 3. อภิปรายถึงความแตกตา่ งของเทคโนโลยี เทคโนโลยกี ารสื่อสาร การส่อื สารปจั จบุ ัน ดาวน์โหลดไว้ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกบั - ใบความรทู้ ่ี 2.2 เรอื่ ง แนวโน้มของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการส่ือสารจากอดีตถึงปจั จุบนั วา่ มีแนวโน้มการพัฒนา สารสนเทศในอนาคต ด้านทกั ษะและกระบวนการ อย่างไรบ้าง 1. ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีการส่อื สารไดอ้ ย่าง ภาระงาน/ชิ้นงาน (แนวคาตอบ : ปัจจุบันมแี นวโน้มเปน็ การสอ่ื สารแบบไร้สาย และ - ใบงานที่ 2.1 เรื่อง รูปแบบการส่ือสาร เหมาะสม อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการสอื่ สาร มขี นาดเล็ก บางลง และมี 2. ใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่อื สารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง - ใบงานท่ี 2.2 เร่อื ง แนวโนม้ ของเทคโนโลยี ประสทิ ธภิ าพที่มากขนึ้ เชน่ สนทนาแบบเหน็ หนา้ ได้ เป็นต้น) สารสนเทศในอนาคต และปลอดภัย 3. ครูรว่ มกับนักเรียนอภปิ ราย เรือ่ ง เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร - สรุปองคค์ วามรเู้ นื้อหาการเรยี นร้ทู ี่สาคญั ลง ใน จากอดตี ถงึ ปัจจุบัน วา่ พฒั นาการของเทคโนโลยีการส่อื สารจาก สมดุ อดีตมาถึงปจั จบุ ันมีความแตกตา่ งอย่างไร และรูปแบบในการ หมายเหตุ สอื่ สารมีความเปลีย่ นแปลงไปอย่างไรบ้าง โดยใหน้ กั เรยี นแสดง สถานท่ี : ห้องคอมพวิ เตอร์ 643

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร 661 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เร่ือง เทคโนโลยีกับมนษุ ย์ รายวิชา เทคโนโลยี เวลา 2 ชว่ั โมง 3. เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั ของเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 การสอ่ื สาร ความคิดเหน็ อยา่ งอสิ ระ ดา้ นคณุ ลักษณะ ขน้ั สอน 1. ความซือ่ สัตย์สุจรติ 1. นักเรียนศกึ ษาใบความรูท้ ่ี 2.1 เรื่อง ประวัติและ 2. มวี ินยั พฒั นาการของเทคโนโลยีการสอื่ สาร ประมาณ 5 – 10 นาที 3. ใฝเ่ รยี นรู้ ครแู ละนักเรยี นรว่ มอภปิ รายจากเนอื้ หาท่นี กั เรียนศกึ ษา 4. มงุ่ ม่ันในการทางาน 2. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 4 คน แตล่ ะกลุ่มรว่ ม ปฏบิ ัติใบงาน ที่ 2.1 เร่ือง รูปแบบของการส่ือสาร (10 นาที) 3. นกั เรียนรว่ มกนั นาเสนอใบงานท่ี 2.1 รปู แบบของการ สือ่ สาร ตามลาดบั กล่มุ จากน้ันครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ประเดน็ เสนอแนะ พรอ้ มกบั ประเมนิ ช้ินงานทีส่ มบูรณท์ ่สี ุด แลว้ กลา่ วชมเชย 4. ครูนาอภปิ รายเกี่ยวกับรูปแบบของการสื่อสารในปจั จุบนั และแนวโน้มในอนาคตวา่ มีการพัฒนาไปอยา่ งไร พรอ้ มกบั เปิด โอกาสใหน้ กั เรยี นได้แสดงความคิดเห็นอย่างอสิ ระ 5. นกั เรยี นศึกษาใบความร้ทู ี่ 2.2 เรื่อง แนวโน้มของ เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ประมาณ 5 – 10 นาที ครแู ละ นักเรยี นรว่ มอภปิ รายจากเน้ือหาท่ีนกั เรียนศึกษา 644

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร 662 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เร่อื ง เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ รายวชิ า เทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 6. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 4 คน แต่ละกลุ่มรว่ มกนั ระดม ความคิด ปฏบิ ตั ิกิจกรรมใบงานที่ 2.2 เรอื่ งแนวโน้มของ เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต 7. ครแู ละนักเรียนร่วมนาเสนอ ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง เทคโนโลยี การส่อื สารในปัจจบุ นั ผ่านระบบอนิ เทอร์เน็ต โดยครตู รวจสอบ ความถูกตอ้ งและอธิบายเพ่ิมเติมในสว่ นที่ยังไม่ครบถ้วนสมบรู ณ์ ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายสรปุ และทบทวนหวั ข้อทีศ่ กึ ษา โดยครูตั้งคาถามในหัวข้อดงั นี้ 1. พฒั นาการของเทคโนโลยีการสอ่ื สารจากอดตี ถึงปจั จุบัน มอี ะไรบา้ ง 2. รูปแบบการสอื่ สารของเทคโนโลยีการส่ือสารในปัจจุบันมี แนวโนม้ อยา่ งไร (แนวคาตอบ จากใบงานที่ทา) 645

663 646 การวดั และประเมนิ ผล ส่ิงที่ต้องการวัด/ประเมิน วธิ กี าร เครื่องมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบงานท่ี 2.1 เร่ือง - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนทุกคนผา่ น กนาารเนสนำ�เอสผนลองผาลนงาน เกณฑ์ไมต่ ่ากวา่ ร้อย 1. อธิบายและ รปู แบบการสอ่ื สาร วเิ คราะห์ระบบทาง -ตรวจใบงานที่ 2.2 เรื่อง - แบบสงั เกตพฤติกรรม ละ 80 เทคโนโลยไี ด้ แนวโนม้ ของเทคโนโลยี การทางานรายบคุ คล สารสนเทศในอนาคต ด้านทกั ษะ/กระบวนการ - สงั เกตพฤติกรรมการ -แบบสังเกตพฤติกรรม - นกั เรยี นทุกคนผ่าน (P) กเรายี รนเรรยี ขู้ นอรงู้ขนอักงนเรกั ียเรนียน การทางานกลุ่ม เกณฑ์ไมต่ ่ากว่ารอ้ ย 1. ทกั ษะกระบวนการ - สงั เกตพฤติกรรมกลมุ่ ละ 80 สร้างความคิดรวบยอด 2. ทักษะกระบวนการ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 3. ทักษะกระบวนการ เรียนความรู้ ความเขา้ ใจ 4. ทกั ษะกระบวนการ แก้ปัญหา ด้านคุณลกั ษณะ (A) - สังเกตพฤติกรรมของ - แบบประเมนิ - นักเรยี นทุกคนผา่ น คณุ ลักษณะอนั พงึ เกณฑ์ไม่ต่ากว่าร้อย 1. ความซือ่ สัตยส์ ุจรติ นกั เรยี น ประสงค์ ละ 80 2. มวี นิ ยั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 4. ม่งุ ม่นั ในการทางาน

664 647 8. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชื่อ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี......เดือน...............................พ.ศ............. 9. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วันที.่ .....เดือน...............................พ.ศ.............

665 648 ใบความรทู้ ่ี 2.1 เรือ่ ง เทคโนโลยีการส่อื สารจากอดตี ถงึ ปจั จุบัน ย้อนรอยเทคโนโลยีด้านการส่ือสารของโลก นับตั้งแต่จิตรกรรมบนผนังถ้าในยุคหิน จนถึงการ ส่อื สาร สุดล้า ฉับไวทีเ่ ชอ่ื มโลกทั้งใบถงึ กนั ในปจั จบุ ัน มนุษย์เราเป็นสัตว์สังคมท่ีอยู่ร่วมกันและมีการสื่อสารกันตลอดเวลา และด้วยความชาญฉลาดของ มนุษย์ในการถ่ายทอดเร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะด้วยจุดประสงค์ในด้านความเช่ือทางศาสนา การบันทึกเรื่องราว หรือแม้แต่การส่งสาร เหล่านี้เองท่ีก่อให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีใน การส่ือสาร ใหม่ ๆ ที่ค่อย ๆ เช่ือมโลก จากกลุ่มคนเล็ก ๆ สู่คนในอีกฟากโลกหนึ่ง และเช่ือมต่อกันได้ท้ังโลก ก่อให้เกิด กระวนการศกึ ษาเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ตามมา 1. จติ รกรรมบนผนังถา้ (Cave Painting) พบตามบรเิ วณแถบตอนใต้ของฝรั่งเศส ยคุ 30,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช มักจะวาดเป็นรูปสัตว์หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยมีรูปคนผสมอยู่บางภาพ โดยเร่ืองราวของ ภาพส่วนมากเก่ียวข้องกับความเป็นอยู่ การดารงชีวิต การล่าสัตว์ ตามความเช่ือเร่ืองอภินิหารต่าง ๆ โดย สันนษิ ฐานว่าผูว้ าดนา่ จะเปน็ หวั หน้าหมู่บา้ นหรอื พอ่ มดหมอผี 2. สัญลักษษณณแ์ ์แททนนคค�ำ า(P(Picitcotgorgarmams)sพ)บพไบดใ้ไนดป้ในระปเรทะศเจทีนศแจลีนะแอลียะิปอตีย์โบิปรตา์โณบรยาคุ ณ5,ย0ุค005ป,0ี 00 ปี ก่อนค กร่อิสนตคศรักิสรตาศ์ ชกั รโดาชยเโปด็นยเกปาน็ รกวารดวราูปดภรปู าภพาทพ่ีหทรี่หือรสอื ัญสัญลัลกกัษษณณ์ทท์ ี่ส่ีส่ือ่ือถถึงแนวคดิด ววัตัตถถุ ุหหรรอื ือกกจิ ิจกกรรมรตมา่ ตง่าๆง ๆซงึ่ ซนึ่งำ�นไปาสไป่กู าสรู่กเการิด อเกั ดิษอรักภษาพรไภฮาโพรกไฮลฟิโรก(Hลiิฟero(Hgliyeprohgiclsy)pขhอicงอs)ียขปิ อตง์ แอลยี ะปิ ตตวั ์อแักลษะรตจัวนี อนัก่นั ษเอรจงีนน่ันเอง 3. พิราบส่งสาร (Carrier Pigeons) หรือท่ีเรียกกันว่า ไปรษณีย์นกพิราบ พบได้ในอาณาจักร กรีกโบราณ ในยคุ 776 ปี ก่อนคริสตศ์ ักราช โดยการนาข้อความมาผูกติดไปกับนกพิราบเพื่อให้บินส่งข้อความ นไี้ ปยงั จุดหมาย

649 ์

650 14. เรม่ิ ปลอ่ ยสญั ญาณ ARPANET (ARPANET Launched) เครอื ขา่ ย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) เป็นเครือขา่ ยส�ำ นักงานโครงการวิจยั ชนั้ สูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ตัง้ ข้นึ เมอ่ื ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) เพือ่ จดุ ประสงคท์ างดา้ นการวิจัยข้นั สงู ทต่ี ้องการ ให้คอมพิวเตอรส์ ามารถเชอื่ มต่อ และมปี ฏสิ มั พนั ธก์ ันได้ และต่อมาเครือขา่ ย ARPANET ก็ได้ถูกพัฒนาให้กลายเป็นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตในปจั จุบัน

668 651 15. เวิล์ด ไวด์ เว็บ (WWW/World Wide Web) เครื่องข่ายข่าวสารท่ีเช่ือมโลกถึงกันนี้ กาเนิด ข้ึนในสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) หลังจากท่ีรัฐบาลของสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาและปล่อย ระบบควบคุมอินเทอร์เน็ตออกมา เวิล์ด ไวด์ เว็บ จึงเกิดข้ึน นามาซึ่งการส่งต่อข้อมูลข่าวสารท่ีรวดเร็วท่ัวโลก มาจนถึงปจั จุบัน 166.. AAIMIMMMesessesnegnegreหrรหอื รAื mอ eArimcaenriOcannlinOenInlisnteanItnMsteasnstenMgerssถeือnกgำ�eเนr ดิ ถใืนอสกหารฐั เอนเิมดรใิกนา สเมหอ่ื รัฐคอ.ศเม. ร1ิก9า97เม่ือ(พค.ศ..ศ.2159490)7 (เพปน็.ศโป. ร2แ5ก4ร0ม)แเชปต็ ็นยโอปดรนแยิ กมรในมสแหชรทฐั ยออเมดรนิกาิยทมีช่ ใ่วนยสให้ผรใู้ัฐชอง้ เามนรสิกามาทาร่ีชถ่วสย่ือใสหา้ผรกู้ใชัน้ผงา่ น สอนิามเทาอรรถ์เสน่ือต็ สไดา้ดรก้วยนั กผาา่ รนสอง่ ขิน้อเทคอวารมเ์ นรต็ ปู ไภดา้ดพว้ ยแกลาะรคสลง่ ิปขวอ้ ดิ คีโวอาถมึงกรนั ปู ภาพ และคลปิ วิดโี อถงึ กนั 17. บล็อก (Blogging) นับตง้ั แต่ Blogger.com ถอื กาเนิดขนึ้ ครงั้ แรกในสหรัฐอเมริกา เมอื่ ค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542) ความนิยมในการเขียนบล็อกก็เพ่ิมข้ึนและกระจายไปทั่วทั้งโลก โดยบล็อกนั้นเป็นรูปแบบ เว็บไซตป์ ระเภทหนึ่ง ซ่ึงถูกเขียนข้ึนในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซ่ึงจะแสดงข้อมูลท่ีเขียนล่าสุดไว้แรก สดุ โดยเปิดให้บุคคลทว่ั ไปเขา้ มาชมเนื้อหาและร่วมแสดงความคิดเหน็ ภายในบล็อกได้ 18. เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายโซเชียลเน็ตเวิร์กท่ีมีผู้ใช้งานมากท่ีสุด โดยในทุก วันน้ีมีผู้ใช้งานเฟซบุ๊กถึงประมาณ 850 ล้านคนทั่วโลก ก่อต้ังข้ึนโดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ ในสหรัฐอเมริกา เมือ่ ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) ร่วมกับเพ่ือน ๆ คือ เอ็ดวารโ์ ด ซาเวริน, ดิสติน มอสโควิตซ์ และคริส ฮิวส์ โดยในช่วงแรกเฟซบุ๊กได้เปิดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลยั ฮาร์เวิร์ด ก่อนที่ต่อมาจะได้ขยายตัวออกไปยังมหาวิทยาลัยอ่ืน ๆ ท่ัวสหรัฐอเมริกา และขยายมาให้บริการแก่ผู้ใช้ทั่วไป ทกุ คนเหมือนในปจั จุบนั 19. ยูทูบ (YouTube) เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการออัพัปโหลด และและเปล่ียนคลิปวิดีโอ โดยผู้ใช้ ถือ กถอืาเกน�ำ ิดเนขิดึ้นขในึ้ สในหสรหัฐอรฐัเมอรเมิกราิกจาาจกาคกวคาวมารม่วรมว่ มมือมใอืนใกนากรากร่อกต่อ้ังตขัง้อขงอแงชแดชดเฮเอฮรอ์ลรีย์ล์,ียส์, ตสีฟตีฟเชเชงงแแลละะยยาวาวีดีดคคาารริมิมออดดีตตี พนกั งานบริษทั เพย์พาล เมอื่ ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ปัจจบุ ันเปน็ ส่วนหนึง่ ของกเู กิล 20. ทวิตเตอร์ (Twitter) ก่อต้ังเม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549 เปิดตัวเม่ือเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 มีบริษัท Obvious Corp ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าของ แต่ผู้ที่พัฒนาทวิตเตอร์ข้ึนมาคือ Evan Williams และ Meg Hourihan ja อา้ งอิง : https://hilight.kapook.com/view/87986

669 652 ใบงานที่ 2.1 รปู แบบการสอ่ื สาร คาช้ีแจง ให้นักเรียนพจิ ารณาการสื่อสารที่กาหนด แลว้ ระบรุ ปู แบบและลกั ษณะการสื่อสารใหถ้ ูกต้อง คาถาม คาตอบ 1) รายการทางโทรทศั น์ รปู แบบ ........................................................................................................ ลกั ษณะการสอ่ื สาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 2) การสง่ ขอ้ ความผา่ น รูปแบบ ........................................................................................................ Facebook ลักษณะการสื่อสาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 3) การสนทนา Video Call รปู แบบ ........................................................................................................ ลกั ษณะการสือ่ สาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 4) การสนทนาทางโทรศพั ท์ รูปแบบ ........................................................................................................ ลกั ษณะการสอ่ื สาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 5) รายการทางวทิ ยุ รปู แบบ ........................................................................................................ ลักษณะการสอ่ื สาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 6) Line รปู แบบ ........................................................................................................ ลกั ษณะการส่อื สาร....................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

670 653 ใบความรทู้ ี่ 2.2 เรอ่ื ง แนวโนม้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในระยะเวลาอันใกล้น้ีมีแนวโน้มท่ีจะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มี ความสามารถใกล้เคียงกับความเป็นตัวตนของมนุษย์ได้เหมือนหรือใกล้เคียงมากที่สุด ซึ่งจะดูได้จาก ความก้าวหน้าของการประดษิ ฐ์คิดค้นและสรา้ งประสาทสัมผสั เสมือน ข้ึนมาใหท้ างานไดผ้ ลลัพธใ์ กล้เคียงระบบ ประสาทสัมผัสจริงๆของมนุษย์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์เกิดการเข้าใจภาษาสื่อสารทุกด้านของมนุษย์ และระบบ การคิดโดยใชโ้ ครงข่ายประสาทเทยี ม (ปัญญาประดษิ ฐ์ / AI / Artificial Intelligence) โดยพยายามนาไปใช้ให้ เกิดประโยชน์มากข้ึน เพื่อลดการสูญเสียประชากรโลก เน่ืองจากผิดพลาดที่เกิดจากมนุษย์เอง ซ่ึงการพัฒนาน้ี ก่อให้เกิดผลกระทบมากมายต่อสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์มาก โดยปัจจุบันน้ีทาให้มีแนวโน้มหรือทิศทางท่ี จะเกดิ ผลกระทบใน 2 มติ ิ คอื 1. มิตดิ า้ นท่ีเกิดผลดี มีอยู่มากมาย แต่ก่อนอืน่ ต้องมาทราบกอ่ นวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศมีเปา้ หมายกาหนดไว้ ดงั น้ี - เพิม่ ประสิทธิภาพการทางาน (Operation Efficiency) - เพิม่ ผลผลิต (Function Effectiveness) - เพ่มิ คณุ ภาพบริการลูกค้า (Quality Customer Service) - ผลติ สนิ ค้าใหม่และขยายผลผลติ (Product Creation and Enhancement) - สามารถสรา้ งทางเลือกเพ่อื แขง่ ขนั ได้ (Altering the basic of competition) - สรา้ งโอกาสทางธรุ กิจ (Identifying and Exploiting Business Opportunities) - ดงึ ดดู ลกู ค้าและป้องกันค่แู ข่ง (Client Lock-In/Competitor Lock-Out) จาก เปา้ หมายท้ังทกุ ข้อ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศถา้ สามารถดาเนนิ การได้ตามเป้าหมาย ดงั กลา่ วก็ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ข้อดีของเทคโนโลยสี ารสนเทศระบบน้ีไดท้ ั้งหมด นอกจากนีก้ ย็ งั มี - การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตทเ่ี ชื่อมโยงกันท่ัวโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เช่น การศึกษาหาความรู้ และข้อมูลต่างๆในทุกเรื่องท่ีสนใจของประชาชนทุกระดับอายุ การติดต่อสื่อสารในหลายรูปแบบท้ัง Online และ Batch Job การทาธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์ การตกลงซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ การดูหนัง ฟังเพลง และบนั เทงิ ต่างๆ - การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพในการฟัง ประมวลผล และโต้ตอบด้วยตัวอักษรหรือเสียงพูด เปน็ ภาษาต่างๆ ได้ อา่ นตัวอักษรหรือลายมือเขยี นได้ การแสดงผลของคอมพิวเตอร์ได้เสมือนจริง และการรับรู้ ดว้ ยประสาทสัมผัสทกุ ดา้ นทใ่ี กลเ้ คียงหรือเหมอื นกับมนุษยม์ ากๆ - การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการอเิ ล็กทรอนิกสเ์ พื่อสนับสนุนดา้ นต่างๆ เชน่ สารสนเทศ ฐานขอ้ มูล ฐานความรู้ตา่ งๆ

671 654 - การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) การเรียนการสอนด้วยระบบโทรศึกษา (Tele-Education) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) จากท่ัว โลก - การพัฒนาเครือข่ายโทรคมนาคมท่ีทันสมัย ระบบการสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือข่ายดาวเทียม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทาให้สามารถค้นหาตาแหนง่ ได้อยา่ งแมน่ ยา - การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการส่ือสารเพื่อเพ่ิม ประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) ระบบการจ่าย เงินเดือนแก่ข้าราชการ และระบบงบประมาณ ของทุกหน่วยงานทั้งประเทศโดยกรมบัญชีกลาง รวมทั้งระบบ ฐานขอ้ มูลประชาชน หรอื E-Citizen และอกี มากมาย 2. มิตดิ า้ นท่เี กิดผลเสีย มีอยู่มากมายเช่น - วงจร ชีวิตของระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างจากดั อาจจะอธบิ ายได้วา่ เนื่องจาการ กเปารลเ่ยีปนลแ่ียปนแลปงทลงาทงดาง้าดน้าเนทเคทโคนโโนลโยลียรี วรวมมททงั้ ั้งสสภภาาพพททาางเศรษฐกิจแแลละะธธุรุรกกจิ จิ เชเชน่ น่ ควคาวมากม้ากวา้หวนหา้ นทา้ ทงเาทงคเทโนคโโลนยโี ลทย�ำ ีใทห้ตาใอ้ หง้ มตกี้อางรมปีกราับรเปลรับ่ยี นเประลบี่ยบนสราะรบสบนสเทาศรไสปนดเ้วทยศหไรปือด้วกยาหรเรปือลีย่กนาแรปเปลลงค่ียวนาแมปตลอ้ งกคาวราขมอตง้อผงบู้ กราหิ ราขรอกงผอ็ ู้บาจรจิหะาตรอ้ งกเ็อปาลจีย่ จนะรตะบ้อบง สเปารลสีย่ นนเรทะศบไปบดส้วายรสนเทศไปด้วย - ลงทนุ สูง เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือท่ีมรี าคาแพง และสว่ นมากไม่อาจจะนาไปใชไ้ ด้ทนั ที แต่ จะต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจเสียก่อนจึงจะใช้ได้อยา่ งถกู ต้องและมี ประสิทธิภาพ - ก่อให้เกดิ ช่องว่าง (Gap) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดชอ่ งวา่ งในการรบั ขา่ วสารระหว่างคนจนกับคน รวย - ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการ กอาอรกอแอบกบแแบลบะแพลฒั ะนพาฒั ทนาใทหำ�้เกใหดิ เ้คกวิดาคมวเสามยี หเสาียยหตาอ่ ยรตะ่อบรบะแบลบะแสลญู ะเสสูญยี คเสา่ ยีใชค้จ่า่าใชยจ้ในา่ ยกใานรกแากรป้ แัญกห้ปาัญหา - การละเมิดลิขสิทธ์ิของทรัพย์สินทางปัญญา การทาสาเนาและลอกเลียนแบบ ทาให้เกิดการละเมิดต่อ กฎหมายแสวงประโยชน์ด้วยการทาสาเนาเพ่ือจาหน่ายในราคาถูกโดยเจตนา และจะทาให้เกิดความผิดต่อ ประชาชนผใู้ ช้งานท่ไี มเ่ จตนาทาการทาสาเนาแจกกันเองของผู้ใช้งานท่ียังไมเ่ ข้าใจเร่ืองการละเมดิ ทรพั ยส์ ินทาง ปัญญาดเี พยี งพอ - กาารรกกอ่ ่อาอชาญชาญกรารกมรทรามงคทอามงพควิ อเตมอพริ์วกเาตรอโจรร์ กกรารรมโขจอ้ รมกูลรกรามรลข่ว้องมลูะลเมกดิ ากราลร่วกงอ่ ลกะวนเมริะดบกบคาอรมกพ่อิวกเตวอนรร์ ขะอบงบ หคนอว่มยพงิวาเนตอสถร์าขบอนั งตห่านงๆ่วทย้ังขานองสภถาคาบรัฐันแตลา่ ะงเๆอกทชงั้ นของภาครฐั และเอกชน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้บูรณาการเข้าสู่ระบบราชการ และระบบธรุ กิจ ดังนั้นทุกองค์กรที่จะ อยู่รอดและมีพัฒนาการเดนิ ตอ่ ไปได้ตอ้ งสามารถปรับตัว และจัดการกับเทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม โดยในท่ีนี้ จะขอกล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจะมีผลต่อการดาเนินงานของระบบราชการและการดาเนินงานของภาค ธุรกิจในอนาคต เพ่ือให้ผู้บริหารในฐานะหัวใจสาคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรได้ศึกษา แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทาให้เทคโนโลยีท่ีกล่าวถึงในท่ีน้ี

672 655 ล้าสมัยได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ผู้บริหารที่สนใจจะต้องศึกษาติดตามความ เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา โดยเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสาคญั และจะเกิดขน้ึ ในอนาคต มีดงั ต่อไปน้ี 1. คอมพิวเตอร์ (Computer) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปจากยุคแรกๆท่ีเครื่องมีขนาดใหญ่ ทางานได้ช้า ความสามารถต่า มีราคาสูงมาก และใช้พลังงานสูง เป็นการใช้เทคโนโลยีวงจรรวมขนาดใหญ่ (Very Large Scale Integrated Circuit : VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ทาให้ ประสิทธิภาพของส่วนประมวลผลของเครื่องพัฒนาข้ึนอย่างเห็นได้ชัด นอกจากน้ียังได้มีการพัฒนา หน่วยความจาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลในปัจจุบัน โดยท่ีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในขณะที่มีความสามารถเท่าเทียมหรือมากกว่าเคร่ือง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน ตลอดจนการนาคอมพิวเตอร์ชนิดลดชุดคาสั่ง (Reduced Instruction Set Computer) หรือ RISC มาใช้ในการออกแบบหน่วยประเมินผล ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน ได้เร็วขนึ้ โดยใช้คาส่ังพื้นฐานง่ายๆ 2. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI เป็นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มี ความสามารถที่จะคิดแก้ปัญหาและให้เหตุผลได้เหมือนอย่างการใช้ภูมิปัญญาของมนุษย์จริง ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ในหลายสาขาวิชาได้ศึกษาและทดลองที่จะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางาน ที่มี เหตุผล โดยการเลียนแบบการทางานของสมองมนุษย์ ซ่ึงความรู้ทางด้านนี้ถ้าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองจะ สามารถนามาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างมากมาย เช่น ระบบผู้เช่ียวชาญเป็นระบบคอมพิวเตอร์ท่ีถูก พัฒนาข้ึนเพ่ือให้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างผู้เช่ียวชาญ และหุ่นยนต์ (Robotics) เป็นการพัฒนา สง่ิ ประดิษฐ์ใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านและใชท้ ักษะการเคลื่อนไหวไดใ้ กล้เคียงกบั การทางานของมนุษย์ เป็นตน้ 3. ร3ะ.บรบะบสบารสสารนสเนทเศทสศาสหำ�หรับรบั ผผู้บบู้ รริหิหาารร ((EExxeeccuuttiivvee InInffoorrmmaattioionnSSyysstteemm))หหรรือือEEISISเปเป็นน็ กกาาร พัฒนาระบบสาารรสสนนเเททศศทท่ีสี่สนนบั ับสสนนนุ ุนผผ้บู ู้บรรหิ ิหาราใรนในงางนานระรดะบัดัวบาวงาแงผแนผนนโนยโบยาบยาแยลแะลกะลกยลุทยธุทข์ ธอ์ขงองคอ์กงคาร์กโาดรยโทดี่ยEทISี่ EจISะ ถจะูกถนูก�ำ มนาใมหาค้ ใหำ�แ้คนาะแนำ�ะผนบู้ ารผิหู้บารริหในารกใานรกตาัดรสตนิ ัดใจสเินมใอื่ จปเมรื่อะสปบระปสัญบหปาัญแบหบาไแมบ่มบีโคไมร่มงสีโครา้รงหสรอื้างกห่ึงโรคือรกงึ่งสโรคา้ รงงสโรด้ายง โดEยIS เEปIS็นรเปะ็นบรบะทบ่พี บัฒทนพ่ี าัฒขนึ้ าเพขอื่้ึนตเพอ่ือบตสอนบอสงคนวอางมคตวอ้ามงกตา้อรงทกพ่ีาริเศทษ่ีพขเิ ศอษงผขู้บอรงหิผาู้บรรใิหนาดรา้ ในตด่า้ งนตๆ่างเชๆ่นเชส่นถสาถนากนากรณารต์ ณา่ ์ตง่างๆ ทๆ้งั ทภ้ังาภยใานยแในลแะภลาะยภนาอยกนอองกคอก์ งาคร์การรวมรทวัง้มสทถั้งาสนถะาขนอะงขคอู่แงขคง่ ู่ขแนัข่งดข้วันยดโ้วดยยทโดร่ี ยะทบ่ีรบะจบะบตอ้จงะมตีค้อวงามมีคลวะาเมอลยี ะดเอออ่ ียนดตอล่ออนด จตนลองา่ดยจตน่องกา่ ายรตใอ่ชกง้ านรใชเง้นา่ือนงจเนากื่อผงจบู้ ารกหิ ผาูบ้รระหิ ดาับรรสะงู ดจับ�ำ นสวูงจนามนาวกนไมเ่าคกยไชมนิ่เคกยับชกนิ ากรบัติดกตาร่อตแิดลตะ่อสแ่งั งลาะนสโง่ั ดงยาตนรโดงกยับตระงกบับบ คระอบมบพคิวอเตมอพริว์ เตอร์ 4. การจดจาเสียง (Voice Recognition) เป็นความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ท่ีจะทาให้ คอมพิวเตอร์จดจาเสียงของผู้ใช้ ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีสาขาน้ียังไม่ประสบความสาเร็จตามท่ี นักวิทยาศาสตร์ต้องการ ถ้าในอนาคตนักวิทยาศาสตร์ประสบความสาเร็จในการนาความรู้ต่าง ๆ มาใช้สร้าง ระบบการจดจาเสียง ก็จะสามารถสร้างประโยชน์ได้อย่างมหาศาลแก่การใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยทีผ่ ู้ใช้จะสามารถออกคาส่ังและตอบโตก้ ับคอมพิวเตอรแ์ ทนการกดแป้นพิมพ์ ซง่ึ จะส่งผลให้ผู้ท่ี ไม่เคยชินกับการใช้คอมพิวเตอร์ให้สามารถปรับตัวเข้ากับระบบได้ง่าย เช่น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร

673 656 ระดับสูง การส่ังงานระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ และระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เป็นต้น ซ่ึงจะช่วยเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพในการทางานและขยายคุณคา่ เพม่ิ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่มี ตี ่อธรุ กจิ 5. การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Data Interchange) หรือ EDI เป็นการส่ง ข้อมูลหรือข่าวสารจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นโดยผ่านทางระบบสื่อสารข้อมูล อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เช่น การส่งคาส่ังซ้ือจากผู้ซ้ือไปยังผู้ขายโดยตรง ปจั จุบันระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะช่วงลดระยะเวลาในการทางานของแต่ละองค์การลง โดย องค์การจะสามารถส่งและรับสารสนเทศในการดาเนินธุรกิจ เช่น ใบสั่งซ้ือและใบตอบรับผ่านระบบส่ือสาร โทรคมนาคมทีม่ ีอยู่ ทาให้ท้งั ผูส้ ง่ และผรู้ บั ไมต่ อ้ งเสียเวลาเดินทาง 6. เส้นใยแก้วนาแสง (Fiber Optics) เป็นตัวกลางที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วโดย อาศัยการส่งสัญญาณแสงผ่านเส้นใยแก้วนาแสงท่ีมัดรวมกัน การนาเส้นใยแก้วนาแสงมาใช้ในการส่ือสาร ก่อให้เกิดแนวความคิดเกี่ยวกับ “ทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway)” ท่ีจะเชื่อมโยงระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ ได้ง่าย และรวดเร็วข้ึน ปัจจุบันเทคโนโลยีเส้นใยแก้วนาแสงได้ส่งผลกระทบต่อวงการส่ือสารมวลชนและการค้าขาย สนิ คา้ ผา่ นระบบเครอื ข่ายอเิ ล็กทรอนิกส์ 7. อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงไปท่ัวโลก มีผู้ใช้งาน หลายล้านคน และกาลังได้รับความนิยมเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยที่สมาชิกสามารถติดต่อสื่อสารแลกเปล่ียน ขอ้ มูลข่าวสาร ตลอดจนคน้ หาขอ้ มลู ต่างๆท่สี นใจได้จากทวั่ โลก 8. ระบบเครือข่าย (Networking System) โดยเฉพาะระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (Local Area Network : LAN) เป็นระบบสื่อสารเครือข่ายที่ใช้ในระยะทางท่ีกาหนด ส่วนใหญ่จะภายในอาคารหรือใน หน่วยงาน LAN จะมีส่วนช่วยเพ่ิมศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้สูงขึ้น รวมท้ังการเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทางาน การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการเพิ่มความเร็วในการติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้ระบบ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยังผลักดันให้เกิดการกระจายความรับผิดชอบในการจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศไปยงั ผ้ใู ช้มากกว่าในอดีต 9. ระบบการประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นการนาเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เคร่ืองถ่ายโทรทัศน์ และระบบส่ือสารโทรคมนาคมผสมผสาน เพื่อให้สนับสนุนในการประชุมมี ประสิทธิภาพ โดยผู้นาเข้าร่วมประชุมไม่จาเป็นที่จะต้องอยู่ในห้องประชุมและพื้นท่ีเดียวกัน ซ่ึงจะช่วยให้ ประหยดั เวลาในการเดนิ ทาง โดยเฉพาะในสภาวะการจราจรท่ีติดขดั ตลอดจนผู้เข้าประชุมอยู่ในเขตท่ีห่างไกล กันมาก 10. โทรทัศน์ตามสายและผ่านดาวเทียม (Cable and Sattleite TV) การส่งสัญญาณโทรทัศน์ ผ่านสื่อต่าง ๆ ไปยังผู้ชม จะมีผลทาให้ข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ไปได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุมพื้นท่ีกว้าง ขึ้น โดยท่ีผู้ชมสามารถเข้าถึงข้อมูลจากส่ือต่าง ๆ ได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ชมรายการมีทางเลือกมากข้ึนและ สามารถตดั สินใจในทางเลือกตา่ ง ๆ ได้เหมาะสมข้นึ

674 657 674 11. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เก็บข้อมูล1อ1ิเ.ลเ็กททครโอนนโลิกยสีม์ ัลาจตัดิมเีเกด็บียข้อ(Mมูลuหltรimือขe่าdวiสaาTรใeนcลhักnษoณloะgทyี่แ)ตเปก็ตน่ากงากรันนทาั้เงอราูปคภอามพพขิว้อเตคอวรา์แมลเะสอียุปงกโรดณย์ สเกา็บมขา้รอถมเูลรอียิเกลก็กลทับรมอานใิกชส้เป์ม็นาจภัดาเพกเ็บคขล้อื่ มนูลไหวรไือดข้ ่าแวลสะายรังใสนาลมักาษรณถโะตท้ต่ีแอตบกกตับ่าผงู้ใกชัน้ดท้ว้ังยรกูปาภราปพระขย้อุกคตว์เาขม้ากเัสบียคงวาโมดรยู้ ทสางมดา้ารนถคเรอียมกพกิวลเัตบอมรา์ใเช้เน่ ป็นหภนาว่ พยคเควลาื่มอจนาไแหบวไบดอ้ ่าแนลอะย่าังงสเาดมยี าวรทถีบ่ โนัตท้ตึกอใบนกแับผผ่นู้ใดชิส้ดก้ว์ ย(CกDาร-RปOระMย)ุกจตอ์เภข้าพกับทค่ีมวีคาวมามรู้ ลทะาเงอดียา้ ดนสคูงอม(HพigิวhเตRอeรs์ เoชl่นutหioนn่ว)ยเคขวา้ ากมับจอาุปแกบรบณอ์ต่า่านงอๆย่าเงพเด่ือยีจวดั ทเกบี่ ็บันแทลึกะในาแเผสน่ ดอิสขก้อ์ม(Cลู Dภ-RาพOMแล) ะจเอสภียางพทที่สี่มามีคาวราถม โลตะต้ เอียบดกสบั งู ผู้(ใHชไ้igดh้ ปRัจeจsุบoันluเทtioคnโน)โเลขยา้ มีกลับตอิมุปีเกดรยี ณเป์ตน็ ่าเงทๆคโเนพโ่ือลจยดั ที เ่ีตกื่น็บตแัวลแะลนะาไเดส้รนบั อคขวอ้ ามมลู สนภใาจพจาแกลบะุคเสคียลงหทล่ีสาายมกาลรุ่มถ เโนตอ่ืต้ งอจบากกบั เลผ็งู้ใเชหไ้ ็นดค้ ปวัจามจุบสาันคเทัญควโ่านจโะลเยปมีน็ ัลปตริมะีเโดยยีชเนปต์ น็ อ่ เทวงคกโานรโศลึกยษีทาี่ต่ืนโฆตษัวแณลาะไแดล้ระบั บคนั วเาทมงิ สเปนน็ ใจอจยา่ กงมบาุคกคลหลายกลุ่ม เนอื่ งจาก1เล2็ง.เหกน็ารคใวชาม้คสอามคพัญิวเ่าตจอะเรป์ใน็นปกราะรโฝยชึกนอ์ตบ่อรวมงก(าCรoศmึกษpาuโtฆeษr ณBaาsแeละTบraนั inเทinิงเgป)็นเอปย็น่ากงมาารกนาเอาระบบ คอมพิวเต112อ2.ร.์เกขกา้ารมรใชาใชค้ ่วอ้คยมอใพนมิวกพเาติวรอเฝรตึก์ใอนอรกบ์ใารนรมฝกใึกนาอรดบฝ้ารนึกมตอ่า(บCงรoๆมmห(pรCuือotกemาrรpBนuaาtsเeeอrาTคBrอaaมsineพinิวTเgrต)aอiเnรป์มi็นnากgชา)่วรยนเปใ�ำ น็เอดกา้ารานะรบกนบาารคเเอรมาียรพนะวิกเบาตบรอร์ เสคขอา้ มนาพทชิวว่ีเยรตใียอนรก์เาวขร่า้ ฝมกึ “าอคชบ่วอรยมมใในพกดิวา้ เนรตฝตอึก่ารงอ์ชบๆ่วรมยหใกรนอืาดกร้าสนรอนต�ำน่าเงอ(าๆCคoอหmมรพือpวิกuเาตtรeอนrรา์มAเาอsชsาว่iคsยtอใeนมdดพา้ Iิวnนเsกตtาอrรuรเcร์มียtาiนoชกn่วาย)รใหสนอรดนือ้าทน่เีCกรียAากรI”วเรา่ ีกย“นคาอกรมาใพชร้วิ เคสตออมรนช์พทว่ ิวย่ีเกรตีายอรกรส์ชวอ่วนาย(“ใCนคoกmอามpรuสพtอิeวนrเตเAปอsิดsรiชs์ชt่อe่วงdยทIกาnงsาใtรหruสมcอ่ใtiนoกn)า(Cรหoเรรmอื ียนpCuAรู้It”โeดrกยาAสรs่ใงsชเiสs้คtอรeิมdพปวิIรnเะตsสtอrิทรu์ชธc่วิภtยioาในพnก)กาาหรรสรเอืรอนียเนCปAรดิ ู้Iช”ต่อลงกอทาดารงจในหชม้ ่ ใปคนรอกชั มาญรพเาริวกียเตานรอเู้รโ์ชดยี ย่วนสยรงู่ด้ใเน้วสกยริมตาปรนสรเอะสงนิทเธปภิ ิดาชพ่อกงาทรเารงยี ในหรมู้ ต่ใลนอกดาจรนเรปียรนชั ญรู้ าโกดายรสเร่งยี เนสรรดู้ ิม้วปยรตะนสเอิทงธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจน ปรชั ญาก1า3ร1เ.ร3กีย.านกรราใูด้ รช้วใ้คชยค้อตอมนมพเอพิวงิวเเตตออร์ช่วยใในนกกาารรอออกแกบแบ บ(C(oCmopmupteurteAridAeideDdesDigens)igหnร)อื หCรืAอDCAเปDน็ กเปา็รนนก�ำ าเอรา เนทาคเโอนาโเลทย1คคี 3โอน.มโกพลายวิ รเีคตใอชมร้คแ์พอลิวมะเตรพะอิวบรเบ์แตขลออ้ะรมร์ชลูะ่วเบขยบ้าใมขนา้อกชมาว่ ูลยรเใอขนอ้ากกมาาแรชอบ่อวบยกแใ(นบCกบoาผmรลอติpอภuกัณtแeฑบr์ บAผรiลdวิตมeภทdั้งณรDฑูปeแ์ sรบiวgบมnหท)ีบ้ังหหรร่อูปือขแอบCงบAผหลDิตีบเภหปณั ่อ็นฑขกอ์หางรือ กผนาลารเิตนอภำ�าคัเณทอฑคมโพ์หนิวรโเือลตยกอีครา์มรอานมชพา่วคิวยอเทตมาองพรดิ์แว้าเนลตะกอราระอ์มบอาบกชขแ่ว้อบยมบทูลวาเิศขงว้าดกม้ารานรชมก่วแายลรใะอนสอกถาการปแอัตบอยบกกวแริศบรมวบใกผหรล้มริตีคมภวแาัณลมฑเะห์สมรถวาาะมปสทมัต้ังกรยับูปกคแรวบราบมมหใตห้ีอบ้มงหกีค่อาวขราแอมลงะ คเผหวลามิตมาภเะปัณส็นจมฑรก์หงิ ับรตืคอลกวอาดมรจนตนา้ชอค่วงยอกลมาดรพตแิวน้ ลเทตะนุ อคกรวา์มารดามชำ�เเป่วน็ยนิ ทจงาารนงิ ใดนต้ากลนาอรกอดาอรจกอนแอชบก่วบแยบโลดบดยวเตฉิศ้นพวทากะุนรในกรเมารรแ่ือดงลขาะอเสนงถเินวาลงปาาัตนกยใากนรแรกกราไ้มรขใอหแอ้ลมกะีคแกวาบารบมจดั เโกดหบ็ ยมแเาฉบะพบสาะมใกนับเรคอื่ วงาขมอตงเ้อวลงกาากราแรลแะกคไ้ ขวาแมลเะปก็นารจจรัดิงเกต็บลแอบดบจนช่วยลดต้นทุนการดาเนินงานในการออกแบบ โดยเฉพา1ะ4ใน. เกรา่ือรงใขชอ้คงเอวมลพาิวกเาตรอแรก์ช้ไข่วยแใลนะกกาารรผจลดั ิตเก็บ(Cแoบmบ puter Aided Manufacturing) หรือ CAM เป็น การนาคอ1ม4.พกิวาเตรอใชร์ม้คาอชม่วพยิวในเตกอารร์ชผ่วลยิตใสนินกคา้ารใผนลโริตงง(าCนoอmุตpสuาหteกrรAรมidเeนd่ืองMจaาnกรuะfaบcบtคuอriมnพg)ิวเหตรอือร์จCะAมMีควเปาม็น เกทาี่ยรงนตารคงอแมลพะนิวเ่าตเชอ่ือรถ์มือาชได่ว้ใยนใกนากราทราผงลาิตนสทินี่ซค้า้กาใันนโตรลงองดานจอนุตสสามาหารกถรตรรมวเจนสื่อองบจราากยรละะบเอบียคดอแมลพะิวขเ้อตผอิดร์จพะลมาีคดวขาอมง ผเทล่ียิตงภตัณรงฑแ์ไลดะ้ตนาม่าเมชาื่อตถรือฐไาดน้ใทนีต่ ก้อางรกทาารงาซนึง่ ทจะ่ีซช้าว่กยันปตระลหอยดัดจรนะสยาะมเวารลถาแตลรวะจแสรงองบารนายปลระกเอาียรดสาแคลญัะขช้อ่วผยิดใพหลค้ าุณดภขาอพง ขผอลงติ ผภลัณติ ฑภไ์ัณดฑ้ตม์ามคี มวาตมรสฐมา่านเสทม่ตี อ้อตงากมาทร่กี ซาง่ึ หจนะชด่วยประหยดั ระยะเวลาและแรงงาน ประการสาคัญ ช่วยใหค้ ณุ ภาพ ของผลติ 1ภ5ัณ..ฑรระม์ ะบคี บบวบสามสารสาสมรนส่าเนทสศเมททอศาตงทาภมาูมทงิศภ่ีกาูมาสหิศตนารด์ส(Gตeร์o(gGraepohgircapInhfoicrmInaftoiormn SaytisotenmS)yหstรeอื mG)ISหเปรื็นอกGารISน�ำเปเอ็นารกะาบรบ คนอามเอพาวิ รเตะ1อบ5รบท์.คารงอะดมบ้าพนบิวรสปูเาตภรอาสรพน์ท(เาGทงrดศa้าpทนhาiรงcูปภs)ภูมแาิศลพาะสข(Gตอ้ rมรa์ลู p(ทGhาieงcภos)ูมgิศrแaาลpสะตhขรi้อcม์ มาIจnูลดั fทoทาำ�rงmแภผูมaนtิศทioาใ่ี นสnบตSรyเิ์มวsาณtจeทัดmีส่ ทน)าใจแหผรGนือISทGี่ใสIนSาบมเารปริเ็นวถกณนำ�าทมร่ีา ปสนรนาะเใยอจกุาGตร์ใะISหบ้เสปบาน็คมปอารมระพถโยนิวชเาตนมอใ์ านรปก์ทราาะรงดยด�ำุก้าเตนน์ใินรหกูป้เิจปภก็นาพรปตรา่(ะGงโrยๆaชpเนชhน่์ใicนsกก)าารแรวลดาะงาแขเนผ้อนิมยกูลทุ ิจทธกาศางารภสตูมต่าริศง์ ากๆสารตเบชรร์ม่นหิ าากจราัดกรทาวราาขแงนผแสผน่งนทกย่ีใานุทรบสธ�ำศรริเาวสจณตแทรล์ี่ะ วกสาานงรแใบจผรนGิหปIาS้อรงกสกานั รมภขายันรธสถร่งนรมากชมาาารตสปิ ารกระาวรยจชุกแว่ ตยล์ใเะหว้ลเาปือง็นแลปผะนรกะปู้ภโ้อยั งชกเปนัน็น์ใภนตยั ก้นธารรรดมาชเนาตินิ กิจารกชา่วรยตเ่าหงลๆอื แเลชะ่นกกู้ภายั รวเปาน็งแตผ้นนยุทธศาสตร์ การบร หิ ทาร่กีกกลลา่ ่ารววขมมนาานสนเี้่งปี้เกปน็ าเ็นพรเสยีพงาียสรง่วสนจ่วหแนลหะ่งึ ขวนอาึ่งงขเแทอผคงนโเนปทโ้อคลงโยกนีสนั โาลภรยสั ีนสธเารทรศมสทชนีถ่าเูกทตพิศกฒั ทานี่ถราชูกขว่พ้นึยัฒใเนหนปลาจัือขจแ้ึนบุ ลใันะนกแปูภ้ ลัจยัะจโุบลเปกันน็กต็ยแังน้ลคะงโกล�ำ กลกังท็ย�ำังคง การลศังึกทษาากทแาล่ีกระลศป่าึกรวษับมาปาแรนลุง้ีเะใปหป็น้มรีปเับพรปีะยรสงงุ ทิสใ่ธหวภิน้มาหปี พนรเะห่ึงสขมิทาอะธงสิภเทมาตคพอ่โเนกหาโมลราใยชะีสง้ ามนรตใสน่อนกอเนาทราศใคชทต้งี่ถาโูกคนพรใงนัฒกอานนราพาขคฒั ึ้นตนในาโคปรวัจงากจมุรบาู้ตรันพ่างฒัแๆลนะาเโหคลลวก่ากนม็ยี้จระัู้งตมคา่ ผีงล ไๆกมาเ่เลพหังยี ลทง่าตานก้อ้ีจงากระาศมรึกีผเปษลลาไีย่แมนล่เพแะปียลรงงัตบเ้อปทงครกงุโนใาหโรล้มเยปีปีสลรา่ียะรสนิทนแเธปทภิ ลศาเงพทเทา่เหนคมนั้ โานแะตโสลย่ มงัยจตีสะอ่าสกรง่ สาผรลนใกชเทร้งะศาทนเบทในต่าอ่นกนั้ าารคแดต�ำ ่ยเโนังคนิ จรงะงากสนา่งขรผอพลงัฒอกงรนคะา์กทคาวบรแาตมล่อะรกคู้ตาว่ รางม เดๆปา็นเหนอยิลนู่ขางอานงน้ีจมขะนอมุษงีผยอล์ใงนไคมส์ก่ังเาพครมียแสงล่วตะน้อครงวกมาามอรีกเเปปด็น้วลยอี่ยเยรนู่ขาแจอปะงเลมหงน็นเุษทว่ายคป์ใโนัจนจสโุบังลคันยมเีสทสาค่วรโนสรโนลวเยมทีสอศาีกเรทดส่้วานนยเท้ันเศรจแาะจตเะ่ขยเ้าังหมจ็นาะมวสีบ่า่งปทผัจบลจากทุบรแันะลเททะบอคิทตโน่ธอิพโกลลายตรี่อ ชสดวีาติรเนมสนิ ษุงเทายนศ์เพขจิ่มะอขเงขน้ึ อ้างดมคงั า์กนมาน้ั ีบรเรทแาลบตะาอ้ คทงพวแายลมาะยเอปาิทม็นธตอิพดยตลู่ขาตอม่องชมศีวกึนิตษุษมายน์แในุษลสะยทัง์เพค�ำ ิ่มขส้ึน่วนดรังวนม้ันอเีกรดาต้วย้องเพรยาจาะยเาหม็นตวิด่าตปาัจมจศุบึกันษเทาคแโลนะโทลยาี สารสนเทศจะเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์เพ่ิมขึ้น ดังนั้นเราต้องพยายามติดตาม ศึกษา และทา

675 658 ความเข้าใจแนวทางและพัฒนาการที่เกิดขึ้น เพื่อท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ ในการดารงชวี ิตอยา่ งเหมาะสมต่อไป อา้ งอิง : http://www.dstd.mi.th/board/index.php?topic=1239.0

676 659 ใบงานที่ 2.2 แนวโนม้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง 1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ตอบ............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ให้นกั เรียนยกตวั อย่างอาชีพทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยีการส่ือสาร ตอบ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3. เทคโนโลยีการสอ่ื สารมีประโยชน์ตอ่ นกั เรียนอย่างไรบา้ ง ตอบ............................................................................................................................. ......................................... .................................................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... 4. อธิบายว่าอปุ กรณ์เทคโนโลยีการสื่อสารในอนาคตจะมีลักษณะอยา่ งไร ยกตวั อย่างประกอบ ตอบ............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

677 660 แบบบันทึกการประเมิณผเู้ รียน ดา้ นความรู้ แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง พฒั นาการของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 รายการประเมนิ เลขท่ี ชอื่ -สกลุ อภิปรายถึงประวตั ิ อธิบายและ อภิปรายถงึ ความ ความเปน็ มาของ เปรียบเทยี บรปู แบบ แตกต่างของ เทคโนโลยีการสื่อสาร การส่อื สารจากอดตี ถงึ เทเคทโคนโโนลโยลีกยาีร ปัจจบุ นั กาสรื่อสส่อื าสราปรัจปจัจุบจันบุ ัน 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ 4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ู้สอน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง *เกณฑ์การผา่ น ระดบั 2 ขน้ึ ไป

678 661 แบบบนั ทึกการประเมนิ ผูเ้ รยี น ดา้ นทักษะและกระบวนการ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 เรื่อง พัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับมนุษย์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 รายการประเมนิ เลขที่ ช่อื -สกลุ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ใชเ้ ทคโนโลยกี ารสือ่ สารได้อย่าง เหน็ คุณคา่ และ ความสาคญั ของ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ถกู ต้องและปลอดภยั เทคโนโลยีการสือ่ สาร 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมิน 4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู สู้ อน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ *เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ขน้ึ ไป

679 662 แบบบันทึกการประเมินผเู้ รยี น ด้านคุณลกั ษณะ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง เทคโนโลยกี ับมนุษย์ กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 รายการประเมนิ เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ซ่ือสัตย์สุจรติ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มมุ่งน่ั มใัน่ นใกนาร กาทราทง�ำางนาน 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผู้ประเมิน 4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผู้สอน 2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ 1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ *เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขน้ึ ไป

680 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เวลา 2 ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 เร่อื ง เทคโนโลยีกบั มนษุ ย์ รายวิชา เทคโนโลยี ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างปลอดภัย ขนั้ นา - สอื่ วีดทิ ศั น์ เรื่อง ภยั รา้ ยจาก Social Network เมอื่ พบเนอ้ื หาที่ไม่เหมาะสม 1. นักเรียนดสู ่ือวีดทิ ัศน์ เร่อื ง ภัยร้ายจาก Social Network https://www.youtube.com/watch?v=KfKDx3C 2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความ 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเก่ยี วกับประเดน็ ท่ชี มใน 1imM วีดิทศั น์ - ใบความร้ทู ่ี 3.1 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง รับผิดชอบ สรา้ งสรรค์ 3. การสรา้ งและแสดงสทิ ธิความเปน็ เจ้าของผลงาน ขน้ั สอน 4. การกาหนดสทิ ธกิ์ ารใช้ข้อมูล ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. ครูนานักเรยี นร่วมกันอภิปรายเก่ียวกบั เทคโนโลยโี ดยใช้ - ใบงานท่ี 3.1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ คาถามดังน้ี ด้านความรู้ สร้างสรรค์ - ในโลกยุคปัจจุบนั นักเรียนจะมีวิธีการใช้เทคโนโลยี 1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งปลอดภยั - ใบงานที่ 3.2 สรุปองค์ความรโู้ ดยใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง 2. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ สารสนเทศได้อยา่ งปลอดภยั 3. สร้างและแสดงสิทธคิ วามเป็นเจา้ ของผลงาน สรา้ งสรรค์ 4. กาหนดสทิ ธก์ิ ารใช้ข้อมลู ได้ - นักเรียนจะรับผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ 1. ทักษะในการทางานร่วมกนั อย่างไร 2. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ทกั ษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ - นกั เรียนจะสรา้ งและแสดงสทิ ธิความเปน็ เจา้ ของผลงาน 2. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็นกล่มุ ละ 4 คน แตล่ ะกลมุ่ ศึกษาใบความรู้ท่ี 3.1 เรื่อง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สร้างสรรค์ ประมาณ 5 -10 นาที 3. ให้แต่ละกลุ่มระดมความคดิ แล้วรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิในใบงาน 663

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่อื ง การใช้เทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ 681 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ับมนุษย์ รายวิชา เทคโนโลยี เวลา 2 ชวั่ โมง 4. ทกั ษะการส่ือสาร สารสนเทศและเทา่ ทนั ส่ือ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ด้านคณุ ลกั ษณะ ท่ี 3.1 เรอ่ื งการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสรา้ งสรรค์และ นาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น 1. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ 2. มวี ินัย 4. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นสนทนาซักถามและเสนอแนะ 3. ใฝเ่ รยี นรู้ ใหร้ ว่ มกันปรบั ปรุงแก้ไขผลงานของตนเอง 4. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 5. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายและสรุปการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ ใหต้ ัวแทนกลุ่มบันทึกโดยใช้ mind map (decomposition) ที่หนา้ กระดาน แลว้ นักเรียน แต่ละคนบนั ทึกลงในสมุด ขนั้ สรปุ 1. ให้นกั เรยี นทาใบงานท่ี 3.2 เรื่องการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างสรา้ งสรรค์ โดยสรุปเปน็ องค์ความรู้โดยใช้ mind map (decomposition) 664

682 665 การวดั และประเมินผล (ใสใ่ นทุกแผนการจดั การเรียนร)ู้ สิง่ ที่ต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ 1. ดา้ นความรู้ (K) - ใบงานที่ 3.1 - แบบประเมนิ การคดิ - นกั เรียนทุกคนผา่ นเกณฑ์ - ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้ - ใบงานที่ 3.2 วิจารณญาณ ไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 80 อยา่ งปลอดภยั -แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนทุกคนผา่ นเกณฑ์ไม่ - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง - สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมนิ ผังมโน ตา่ กว่าร้อยละ 80 มคี วามรับผดิ ชอบ การเรยี นรขู้ อง ทัศน์ - สร้างและแสดงสิทธิความเป็น นักเรียน -แบบประเมนิ - นักเรยี นทุกคนผา่ นเกณฑ์ เจ้าของผลงาน พฤติกรรมการทางาน ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 80 -กาหนดสิทธก์ิ ารใชข้ ้อมลู ได้ - สงั เกตพฤติกรรม กลุม่ ของนักเรียน 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - แบบประเมินผล - ทกั ษะในการทางานรว่ มกนั พฤติกรรมทางานกลุ่ม - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการส่ือสาร - แบบประเมินผล - นกั เรยี นทุกคนผ่านเกณฑ์ - ทักษะการคิดอย่างมี ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 80 วจิ ารณญาณ ประสงคเ์ ทยี บกับ - ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์ 3. ด้านคณุ ลักษณะ (A) 1. ซอื่ สตั ย์สุจรติ 2. มีวนิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มุ่งมัน่ ในการทางาน

683 666 8. บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ที่......เดือน...............................พ.ศ............. 9. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย .................................................................................................................................................................. ......... ลงชือ่ ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วนั ท.ี่ .....เดอื น...............................พ.ศ.............

667 จะเหน็ ไดจ้ ากในทกุ พน้ื ทมี่ สี ัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ อุปกรณใ์ นการ เฟซบคุ๊

685 668 10. ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนมือถือเพราะภาพ เสียง หรือวดี ีโอนัน้ ๆ รั่วไหลได้ 11. ไมแ่ ชร์เรือ่ งราวหรือขา่ วสารทไี่ มเ่ ป็นความจริง “ชวั ร์ก่อนแชร์” การรกั ษาความปลอดภัยข้อมูลและสารสนเทศมีความสาคญั ผู้ดูแลระบบจะตอ้ งความตระหนักถึงการ รักษาความม่ันคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ (Data Confidentiality) ข้อมูลถูกเก็บเป็นความลับ (Data Integrity) และข้อมูลมีความถูกต้องและน่าเช่ือถือ (System Availability) ด้วยประโยชน์ที่หลากหลายของ การเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สิ่งท่ีต้องพึงระวังคือ ภัยคุกคามท่ีมีผลกระทบต่อความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของบุคคลและหน่วยงาน ทั้งในรูปแบบการโจรกรรมข้อมูลส่วนบุคคลอันเป็น ความลับ ภัยคุกคาม (Threat) คือ วัตถุ ส่ิงของ ตัวบุคคล หรือส่ิงอื่นใดที่เป็นตัวแทนของการกระทาอันตราย ตอ่ ทรพั ย์สินขององค์กร หรือสิ่งท่ีอาจจะก่อใหเ้ กิดเสียหายต่อคุณสมบัติของข้อมูลด้านใดดา้ นหนึ่งหรือมากกว่า หนึ่งด้าน (ความลับ (Confidentiality), ความสมบูรณ์ (Integrity), ความพร้อมใช้ (Availability))ภัยคุกคามท่ี ถูกทาให้เกิดขึ้นโดยเจตนา ไดแ้ ก่ ภัยคุกคามที่ถูกทาให้เกดิ ขน้ึ โดยไม่เจตนา ภยั คุกคามท่ีเกดิ จากภัยธรรมชาติ และภยั คุกคามทเี่ กิดจากผูใ้ ชใ้ นองคก์ รเอง มรี ูปแบบภัยคกุ คามความมั่นคงปลอดภยั สารสนเทศ ดังนี้ 1. การโจมตี (Attack) คือการกระทาบางอย่างท่ีอาศัยความได้เปรียบจากช่องโหว่ของระบบ โดยมี จุดมุ่งหมายเพ่ือเข้าควบคุมการทางานของระบบทาให้ระบบเกิดความเสียหาย โจรกรรมสารสนเทศ เช่น Malicious Code ห รื อ Malmare, Virus, Worm, Trojan, Spyware, Backdoor, Rootkit, Denial-of- Service (Dos), Spam 2. การดักรบั ขอ้ มูล เป็นรูปแบบการโจมตีโดยการต้ังช่อื Wireless Network หรือทีเ่ รียกวา่ SSID ให้มี ช่ือเหมอื นกับ Network เดมิ ท่มี อี ยู่ เชน่ ICT Free Wi-Fi แล้วแฮกเกอรจ์ ะสามารถเห็นขอ้ มูลทีร่ ับส่งกนั การป้องกันภยั คุกคาม ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. หลีกเลยี่ งการใชง้ าน Free Wi-Fi ในพ้ืนท่ีสาธารณะ 2. หากจาเป็นตอ้ งใชง้ าน Free Wi-Fi ใหใ้ ชง้ านเฉพาะจาเป็น ไมค่ วรเข้าถึงระบบท่ีมีความสาคญั เชน่ ระบบ e-Banking ระบบอีเมลล์ 3. พิจารณาการใช้งานระบบท่ีมคี วามสาคญั ทีม่ ีการเข้ารหสั ลบั เชน่ เวบ็ ไซตท์ ีม่ กี ารใช้งาน https 4. ไมใ่ ช้ Password ที่คาดเดาไดง้ ่าย เชน่ คาที่มใี น Dictionary 5. ใช้การผสมอักขระท่ีซับซ้อน 6. เปล่ยี น Password อย่างสมา่ เสมอ เมื่อถึงเวลาทเี่ หมาะสม เชน่ ทุกๆ 90 วัน 7. ตั้ง Password ซึง่ ผสมอักษรภาษาองั กฤษตัวเล็ก อักษรภาษาอังกฤษตวั ใหญ่ ตวั เลก็ และตัวอักขระ พเิ ศษ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศน้ันผูใ้ ชง้ านจะต้องคานึงถึงผลกระทบทีจ่ ะตามมา ตอ้ งรบั ผดิ ชอบในการ

686 669 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดงั น้ี 1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 1.1 ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมระดบั บุคคล - ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมจี รยิ ธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย - ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเปน็ มติ รทีด่ ีกับคนอนื่ - ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ ก่อใหเ้ กดิ ความรักสามัคคีในหมู่คณะ - ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สรา้ งกิจกรรมทางสงั คมที่เป็นประโยชน์ - ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อมรักษาสง่ิ แวดล้อมและคานงึ ถงึ การ กปารระปหรยะัดหพยดัลพงั งลาังนงาน 1.21.ค2วคาวมามรัรบบั ผผิดิ ชชออบบตอ่ตส่อังสคมังรคะมดับรอะงดคับก์ รอง(Cคo์กrpรor(aCtoerpSocraiatleRSeoscpioanl sRibeisliptyo:nCsSibRi)lityห:มCายSถRงึ) กหามราดยำ�ถเนึงินกธาุรรกดิจาคเวนบินคธู่ไุรปกกิจับคกวาบรใคสู่ไ่ใปจกดับูแลกราักรษใสา่ใสจิ่งดแวูแดลลร้อักมษใานสช่ิงุมแชวนดแลล้อะมสใังนคชมุมภชายนใแตล้หะลสักังจครมิยภธรารยมใกตา้หรลกักำ�กจับริยดธูแรลรทมี่ดี (กgาoรoกdากgับoดveูแrลnทanี่ดcี e(g)oเoพdื่อนgoำ�ไvปeสrู่กnาaรnดcำ�eเน) ินเพธุร่ือกนจิ าทไี่ปรสะู่กสาบรคดวาาเมนสินำ�ธเรุรจ็ กอิจยทา่ ่ีงปยรง่ั ะยสืนบในคกวาารมดส�ำ าเนเริน็จธอุรกยิจ่าองย่าังงยมืนีคใวนากมารรับ ผดิดาเชนอินบธตรุ อ่ กสจิ ังอคยมา่นง้นั มีความรับผิดชอบต่อสงั คมน้ัน 2. เทคโนโลยีสารสนเทศกบั ส่ิงแวดลอ้ ม 2.1 เปา้ หมายของกรนี ไอที - การออกแบบจากแหล่งกาเนิดไปยังแหล่งกาเนิดการใช้งานของสิ่งต่างๆก็จะเป็นวัฏจักรของ ผลติ ภณั ฑโ์ ดยการสร้างผลิตภัณฑ์ใหส้ ามารถนากลับมาใช้งานใหมไ่ ด้ (recycle) - การลดข้อมูลเป็นการลดทิ้งและมลพิษโดยการเปล่ียนรูปแบบของการนาไปสร้างผลิตภัณฑ์ และการบรโิ ภค - พัฒนาส่ิงใหม่ๆ เป็นการพัฒนาเพื่อเทคโนโลยีไม่ว่าจะเป็นการนาซากสัตว์มาเป็น - ความสามารถในการดารงชีวิตสร้างศูนย์กลางทางด้านเศรษฐศาสตร์ให้เหมาะสมกับ เทคโนโลยแี ละผลิตภณั ฑ์ - พลังงานต้องรับรู้ข่าวสารทางด้านเทคโนโลยีสีเขียวรวมไปถึงการพัฒนาของเชื้อเพลิง - สภาพสง่ิ แวดล้อมนาไปสู่การคน้ หาสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อค้นหาสง่ิ ท่บี รรลุและวิธีที่ทาให้ เกดิ การกระทบกับสภาพแวดล้อมน้อยท่ีสดุ 3. สภาพแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการใช้งานระบบไอที เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานอยู่น้ีก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อม แต่พอเครื่องคอมพิวเตอร์ หมดอายุการใช้งานกลายเป็น “ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์” ซึง่ อปุ กรณ์บางอย่างกไ็ ม่สามารถย่อยสลายได้ การสร้างและแสดงสิทธิความเป็นเจา้ ของผลงาน ลขิ สทิ ธ์ิ (Copyright) ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวท่ีจะกระทาการใด ๆ เก่ียวกับงานท่ีผู้สร้างสรรค์ได้ริเร่ิมโดยการ ใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงาน ของผู้อ่ืน โดยงานท่ีสร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทท่กี ฎหมายลิขสิทธ์ิให้ค้มุ ครอง โดยผู้สร้างสรรค์จะไดร้ ับ

687 670 ความคุ้มครองทันทีท่ีสร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธ์ิต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา มิได้ เป็นการรับรองสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธ์ิแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงการแจ้งต่อหน่วยงานราชการว่าตนเองเป็น เจ้าของสิทธิ์ในผลงานลิขสิทธิ์ที่แจ้งไว้เท่าน้ัน โดยผู้แจ้งต้องรับรองตนเองว่าเป็นเจ้าของผลงานท่ีนามาแจ้ง ขอ้ มูลลิขสิทธิแ์ ละหนังสอื รบั รองท่ีกรมทรพั ย์สินทางปัญญาออกให้ ก็มิไดร้ ับรองว่าผ้แู จ้งเป็นเจ้าของงานลขิ สิทธิ์ แต่อย่างใด หากมีข้อโต้แย้งเก่ียวกับความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ผู้แจ้งจาเป็นต้องพิสูจน์ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ น้ันเอง ลขิ สทิ ธ์ิให้ความคุม้ ครองแกง่ านสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมายกาหนด ไดแ้ ก่ 1. งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร ส่ิงเขียน ส่ิงพิมพ์ คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. งานนาฏกรรม เช่น งานที่เกี่ยวกับการรา การเต้น การทาท่า หรือการแสดงประกอบข้ึนเป็น เรื่องราว รวมถึงการแสดงโดยวิธใี บด้ ว้ ย 3. งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม งานประติมากรรม ภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม ภาพถ่าย ภาพประกอบ หรืองานสรา้ งสรรค์รูปทรงสามมิติเกี่ยวกับภูมิประเทศ หรือวิทยาศาสตร์ งานศิลปะประยกุ ต์ ซึ่ง รวมถึงภาพถ่ายและแผนผงั ของงานดงั กล่าวด้วย 4. งานดนตรีกรรม เช่น คาร้อง ทานอง การเรียบเรียงเสียงประสานรวมถึงโน้ตเพลงที่แยกและเรียบ เรียงเสยี งประสานแลว้ 5. งานส่ิงบันทึกเสียง เช่น เทปเพลง แผ่นคอมแพ็คดิสก์ (ซีดี) ที่บันทึกข้อมูลเสียง ทั้งน้ีไม่รวมถึงเสียง ประกอบภาพยนตร์ หรือเสียงประกอบโสตทัศนวสั ดอุ ย่างอื่น 6. งานโสตทัศนวสั ดุ เช่น วิดี ีโอเทป วีซดี ี ดีวดี ี แผ่นเลเซอรด์ ิสก์ท่ีบันทึกขอ้ มูลประกอบด้วยลาดับของ ภาพหรือภาพและเสยี งอันสามารถทจ่ี ะนามาเล่นซ้าได้อีก 7. งานภาพยนตร์ เชน่ ภาพยนตร์ รวมทั้งเสียงประกอบของภาพยนตร์น้นั ด้วย (ถา้ มี) 8. งานแพรเ่ สยี งแพร่ภาพ เช่น การกระจายเสียงวทิ ยุ การแพรเ่ สยี ง หรอื ภาพทางโทรทศั น์ 9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร์ หรือแผนกศลิ ปะ นอกจากผลงานที่กล่าวมาข้างต้น ยังมีอีกหลายอย่างท่ีเป็นผลงานที่ไม่ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ มีดังน้ี 1. ข่าวประจาวันและข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร เช่น วัน เวลา สถานที่ ช่ือบุคคล จานวนคน ปริมาณ เป็นต้น ท้ังนี้ หากมีการนาข้อมูลดังกล่าวมาเรียบเรียงจนมีลักษณะเป็นงานวรรณกรรม อาทิ การวิเคราะห์ข่าว บทความ ผลงานนั้นอาจจะได้รับความคุ้มครองในลักษณะของงานวรรณกรรม 2. รฐั ธรรมนูญ และกฎหมาย 3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาส่ัง คาชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอน่ื ใดของรัฐหรอื ของทอ้ งถนิ่ 4. คาพพิ ากษา คาสั่ง คาวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ 5. คาแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตามข้อ 3.1 - 3.4 ซ่ึงกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอ่ืนใด ของรฐั หรือของท้องถ่ินจดั ทาขึน้ 6. ความคิด ข้ันตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใชห้ รือทางาน แนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรอื ทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์

688 671 การแจง้ ขอ้ มลู ลขิ สิทธิ์ เอกสารทใี่ ชป้ ระกอบการแจง้ ข้อมลู ลขิ สิทธิ์ 1. สาเนาบัตรประชาชน พรอ้ มรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณเี ปน็ บุคคลธรรมดา) 2. สาเนาหนังสือรับรองนติ บิ ุคคล ท่นี ายทะเบียนออกให้ไมเ่ กิน 6 เดือน ของเจา้ ของลขิ สิทธิ์ (กรณีเป็น นติ ิบคุ คล) 3. ผลงานหรอื ภาพถ่ายงานลขิ สทิ ธ์ิ จานวน 1 ชุด 4. หนังสือมอบอานาจติดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมสาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอานาจ (รบั รองสาเนาถกู ต้อง) 5. หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐบาลใช้สาเนาหนังสือแต่งตั้งผู้บริหารหน่วยงานหรือองค์กรฯ รวมท้ัง สาเนาบตั รประชาชนของผูย้ นื่ คาขอ (รบั รองสาเนาถกู ต้อง) การกาหนดสิทธก์ิ ารใช้ขอ้ มูล การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องมีการรักษาความปลอดภัย มีวฒั นาการของมาตรการรักษา ความปลอดภัยของข้อมลู ดงั นี้ 1. การรักษาความปลอดภัยด้านกายภาพ (Physical Security) ในอดีตข้อมูลท่ีสาคัญจะอยู่ใน รูปแบบวตั ถุโดยจะถกู บันทึกไว้บนแผ่นหนิ แผ่นหนังหรอื กระดาษแตบ่ คุ คลสาคญั สว่ นใหญ่ไมน่ ิยมบันทกึ ข้อมูลท่ี สาคัญมากๆ ลงบนส่ือถาวรและไม่สนทนาเก่ียวกับข้อมูลกับคนที่ไม่ไว้ใจ ถ้าต้องส่งข้อมูลไปที่อื่นต้องมีผู้คุ้มกัน ตดิ ตามไปดว้ ยเพราะภัยอันตรายจะอยใู่ นรปู แบบทางกายภาพ เช่น การขโมย 2. กากรารัรกกั ษษาาคคววาามปลอดดภภัยัยดดา้ ้านนกากราสรือ่ สสื่อาสราร(C(Coommmmuunnicicaatitoionn SSeeccuurritityy))กากรารรักรษักษาคาคววาามม ปลอดภัยด้านการสื่อสารถูกพัฒนามาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดโยดเยฉเพฉพาะาใะนในช่วชงว่ สงงสคงครารมามทที่ขีข่้อ้อมมูลลูขขา่ ว่าสวสาราเรปเป็น็นปปัจัจจัยยัสสา�ำคคัญัญ ของชยั ชนนะะเชเชน่ ่นยยุคุคขขอองจงูเจลูเยีลสียซสซี ซาีซรา์ (รย์ คุ(ยศุคตศวตรรวษรทรษ่ี 2ท)ี่ ม2กี) ามรีกคาิดรคคน้ ิดวคธิ ้นใี ชวส้ ิธ�ำ ีใหชร้สบั าห“รซับอ่ น“”ซข่อ้อนม”ูลขห้อรอืมกูลาหรรเขือ้ากราหรัส เขข้อ้ามรูลหัส(Eขn้อcมrูลyp(tEinocnr)ypเรtยี ioกnว)่าเรียหกัสวซ่าซี ารรห์ ัส(Cซaีซeาsรa์ r(Ccaipeshaerr)ciซp่งึhจeดั rเ)ปซ็น่ึงวจธิ ัดีเขเป้า็นรหวสัิธีเทข่งี ้า่ารยหแัสลทะี่งแ่าพยรแห่ ลละาแยพทรีส่ ่หดุ ลโาดยย ทใชี่สห้ ุดลกัโดกยาใรชแ้หทลนักทกีต่ าัวรอแักทษนรที่ตโดัวอยักตษวั อรกั โษดรยใตนัวขอ้อักคษวราใมนตขน้ ้อฉคบวบั าแมต่ล้นะฉตบวั ับจแะตถ่ลกู ะแตทัวนจดะว้ ถยูกตแวั ทอนกั ดษ้วรยทต่อี ัวยอ่ใู นักษลำ�รดทับ่ีอถยัดู่ในไป ลตาดมับจ�ำถนัดวไปนทตาแ่ี มนจ่นาอนนวนเชทน่ ี่แถน้า่นเขอา้นรหเชัส่นโดถย้าเเลข่อื ้านรไหปัสโ3ดตยวัเลอื่อักนษไรปต3ัวอตกั ัวษอรักBษรในตตัวน้ อฉักบษับรกBจ็ ะใถนกูตแ้นทฉนบดับว้ กย็จตะวั ถอูกักแษทรนE ดเปว้ ็นยต้นัวอกั ษร E เปน็ ตน้ 3. กการรักษาคคววาามมปปลลออดดภภยั กัยากราแรผแ่รผงั ่รสังี ส(Eี m(EimssisosniosnSseSceucruitryit)y) ในในชว่ชง่วทงศทวศรวรรษรษ19159050มีกมาีกราครน้ คพ้นบพว่าบอวปุ ่ากอรุปณกแ์ รลณะ์แสลายะสัญายญสาัญณญทาใี่ ชณใ้ นทกี่ใชาร้ในรบักสาง่รขรอ้ับมสลู่งนข้นัอมีกูลานร้ันแมผีกร่ งัาสรีอแอผก่รมังสาีออแกลมะาสาแมลาะรสถาใชมอ้ าปุรถกรใชณ้อต์ ุปรกวจรณจับ์ ตแรลวะจแจปับลแงกลละแับปมลาเงปกน็ลขับอ้ มมาลูเปได็น้ ขจ้องึ มมูลีกไาดร้ กจ�ำึงหมีกนาดรมกาาตหรนฐาดนมเากตยี่ รวฐกาับนกเกา่ียรแวผก่รับงั กสาีชร่ือแผเ่รทงั มสเีชพื่อสตเท(์ Tมeเพmสpตe์(sTtem: pTreasnt- :siTernatnEsileenctrEolmecatgrnoemtiacgnPeutliscePEumlsaenEamtioansatSiotannsdSatradn)dคaวrdบ)คคุมวกบารคแมุ ผกร่ าังรสแีขผอ่รงงั อสปุ ีขกอรงณอุป์คกอรมณพ์ควิ อเตมอพรวิเ์ พเตอื่ อลรด์ เกพา่ือรลแดผก่รังาสรทีแผีอ่ ่ราังจสถีทูก่ีอใชาใ้จนถกูกาใรชดใ้ นักกจบัารขดอ้ กั มจลู บั ไขด้อมลู ได้ 4. การรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์(Computer Security) ชว่ งทศวรรษ 1970 มกี ารพัฒนา แม่แบบสาหรับการรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะแบ่งระดับความปลอดภัยออกเป็น 4 ชั้นคือ ไม่ลับ ลับ ลับมาก และลับท่ีสุด ผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลในระดับใดระดับหนึ่งได้จะต้องมีสิทธิ์เท่ากับ หรอื สูงกว่าช้ันความลับของข้อมลู น้ัน ดังนั้นผู้ที่มีสิทธิ์น้อยกว่าช้ันความลับของไฟล์จะไม่สามารถเข้าถึงไฟล์น้ัน ได้ แนวคิดน้ีได้ถูกนาไปใช้ในกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาโดยไดช้ ื่อวา่ มาตรฐาน 5200.28 หรอื ออเรนจ์

689 672 บุ๊ค (Orange Book) ซึ่งได้กาหนดระดับความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ออกเป็นระดับต่างๆ คือ D, C1, C2, B1, B2, B3, A1 ในแต่ระดับออเรนจ์บุ๊คได้กาหนดฟังก์ชันต่างๆ ที่ระบบต้องมี ระบบที่ต้องการใบรับรองว่าจัด อย่ใู นระดับใดระบบนน้ั ต้องมที ง้ั ฟังก์ชันต่างๆ ทีก่ าหนดในระดบั นัน้ ๆ 5. การรักษาความปลอดภัยเครือข่าย (Network Security) เมอื่ คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันเข้าเป็น เครือข่าย ปัญหาใหม่ก็เกิดข้ึน เช่น การสื่อสารคอมพิวเตอร์เปล่ียนจาก WAN มาเป็น LAN ซึ่งมีแบนด์วิธท่ีสูง มากอาจมีหลายเคร่ืองที่เช่ือมต่อเข้ากับสื่อเดียวกัน การเข้ารหัสโดยใช้เครื่องเข้ารหัสเด่ียวๆ อาจไม่ได้ผลในปี 1987 จงึ ได้มกี ารใชม้ าตรฐาน TNI หรือเรดบุ๊ค (Red Book) ซึง่ ไดเ้ พม่ิ ส่วนทเ่ี ก่ยี วข้องกับเครอื ข่ายเขา้ ไป 6. การรักษาความปลอดภัยข้อมูล (Information Security) อาจกล่าวได้ว่าไม่มีวิธีการใดท่ี สามารถแก้ปัญหาเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัยได้ท้ังหมด ความปลอดภัยที่ดีต้องใช้ทุกวิธีการที่กล่าวมา ร่วมกัน จึงจะสามารถให้บริการการรักษาความปลอดภัยข้อมูลได้ จึงต้องมีการกาหนดสิทธิ์การเข้าใชง้ านของ แต่ละบุคคลเพื่อความปลอดภัยของข้อมูล เช่น กาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานท่ีให้สามารถดูได้ แต่ไมส่ ามารถแก้ไขได้ อา้ งอิง : https://sites.google.com/a/msts.ac.th/kittithat/contact/social-network/kar-chi- thekhnoloyi-dicithal-thi-plxdphay-laea-kd-ktika-maryath-ni-kar-chi-thekhnoloyi-dicithal http://www.ecpat-thailand.org/th/make%20it%20safe.html http://thedctmike.blogspot.com/2013/01/technology-lesson-10_22.html http://tuipi.tu.ac.th/tuip02.php https://www.ipthailand.go.th/th/copyright-001.html https://sites.google.com/site/ges0503chiwitkabthekhnoloyi/bth-thi-5-khwam- mankhng-plxdphay-khxng-rabb-sarsnthes/3-prawati-khxng-kar-raksa-khwam-plxdphay-khxng- khxmul http://www.erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=549

690 673 ใบงานท่ี 3.1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ ให้นักเรยี นระดมความคดิ จากสถานการณ์ทกี่ าหนดให้ (ในหน้าถัดไป) โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มพิจารณา ตามเรอ่ื งที่กาหนดให้ไปนาเสนอหน้าชั้นเรียน 1. นกั เรียนระดมความคดิ กนั ในกลมุ่ ตามหวั ข้อท่ีจบั สลากได้ทาลงในกระดาษบปรุ๊ฟู ตามตารางที่ กาหนดใหด้ า้ นล่าง 2. นาเสนอหนา้ ช้นั เรยี นตามหัวขอ้ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย สถานการณ์ จะเกดิ ภยั คุกคามหรือไม่ จะมีวิธีการปอ้ งกันหรือแกป้ ัญหานอี้ ยา่ งไร เกดิ ไมเ่ กิด ไม่ให้เกิดปัญหาน้เี กิดขนึ้ อกี ต่อไปในอนาคต

691 691 674 หัวขอ้ ท่ี สถานการณ์ หัวข1อ้ ท่ี สม้ โอเปน็ พนกั งานบริษทั แหง่ หน่ึงทีม่ ีช่อื เสียสงถทางั้ นในกแาลรณะต์ า่ งประเทศ ทางานมาหลายปจี นสนทิ สนม 1 แส้มลโะอคเบปห็นาพดนูใกั จงกาันนกบับรษิลูกัทชแาหย่งเหจน้าึง่ขทอีม่ งชีบือ่รเิษสัทยี งจทน้ังใกนรแะลทะ่ังตได่าง้แปตร่งะงเาทนศแลทะาจงดาทนะมเาบหียลนาสยปมรจี สนกสันนิทสสรน้ามง คแวลาะมคภบาหคาภดูมูใิใจจกใันหก้กับับลสูก้มชโอาเยปเ็นจ้าอขยอ่างงยบ่ิงริษใัทนวจันนทกี่ไรปะจทด่ังทไะดเ้แบตีย่งนงสานมรแสลสะ้มจโดอทไดะ้เเปบลียี่ยนนสมมารใสชก้นันามสสรก้าุลง ขคอวางมสภามาคี แภลูมะิใจยใ้าหย้กทับี่อสย้มู่มโาออเปย็นู่กอับยส่าางมยี่ิง สใ้มนโวอันไดท้ที่ไปาจบดัตทระปเบระียจนาสตมัวรปสรสะ้มชโอาไชดน้เปใหลม่ียน่ จมึงาถใ่าชย้นราูปมบสกัตุลร ปขอระงสจาาตมัวี แปลระะยช้าาชยนทอี่อัพยู่มข้ึนาอหยนู่ก้าับเฟสสาขมอี งสต้มัวโเอองไเดพ้ท่ือาใบหัต้เพร่ือปนระๆจราับตรัวู้วป่ารสะ้มชโอาชไดน้เใปหลมี่ย่ นจนึงถาม่ายสรกูปุลบแลัตะร เปปรละย่ี จนาทตอี่ัวปยแู่รละช้วาเชพน่อื อนัพๆขจึ้นะหไดน้ต้าดิเฟตสอ่ ขไดอถ้งูกตตัวเาอมงสเถพาื่อนใทหี่ต้เพาื่อมนบๆตั รรับรู้ว่าส้มโอได้เปลี่ยนนามสกุลและ 2 นเปิพลลีย่ นกัทบอี่วยงู่แศลกว้ รเเปพ็นื่อนเพๆื่อจนะสไดนต้ ิทดิ กตันอ่ ไดทถ้ ุูกกตคารม้ังสทถ่ีนาิพนทลี่ตทาามอบะัตไรรก็จะต้องให้วงศกรรับรู้ด้วยเสมอ 2 เนพิพื่อลทก่ีจับะใวหง้วศงกศรกเรปเป็น็นเพคนื่อชน่วสยนจิทาเกรอื่ันงราทวุกตคา่ รงๆั้งทขี่นอิพงตลนทเอางอะแไรมก้ ็จระทตั่ง้อรงหใัสหผ้ว่างนศตก่ารงๆรับวรงู้ดศ้วกยรกเส็บมออก นเพพิ ื่อลทท่ีจุกะคใหรัง้้วงเพศก่อื รใหเปต้ ็นวั คเอนงชส่วายมจาารเถรเอ่ืขงา้ รใาชวง้ ตาน่างไดๆ้งข่ายอสงตะนดวเอกงสบแามยก้เพระรทาะ่ังมรหคี นัสผชา่่วนยจตา่ารงหๆสั วผงา่ศนกรกบ็ อก 3 อนาพิ นลาทจุกเปคร็น้งั คเนพทอ่ื ี่มใหีคต้วาัวมเอรงู้คสวาามมาสราถมเขาา้รใถชใง้ นาดน้าไนดง้ Iา่ Tยสมะาดกวเกขสาบใชา้ยคเวพารมาระู้คมวคี านมชสว่ายมจาารรถหทัส่ีเขผา่ามนีมาสร้าง 3 เอวาบ็ นไาซจตเพ์ปน็ ันคฟนุตทบี่มอีคลวาเมพรอ่ื ู้คสวรา้ มงรสาายมไาดร้ใถหใ้กนับดต้านนเอITง มจานกเขเขาสาใาชม้คารวถามเลรี้ยู้คงวดาบู มดิ สาามมาารรดถาทไดี่เขอ้ ายมสู่ ีมขุ าสสบรา้ายง 4 ภเวา็บรไดซีเตปพ์ ็นนตันัวแฟทุตนบจอาลหเนพ่าอ่ื ยสนรา้าฬงรกิ าายหไรดูรใ้ าหคก้ าับเรตอืนนเอลงะ 2จ0น,เ0ข0า0สาบมาาทรถมเีเลพี้ยจงขดาูบยิดสานิ มคา้ารผด่าานไดทอ้ ายงูส่อุขอสนบไลายน์ 4 ภมภาีลารรูกดดคีเีเป้าปทน็ ็น่ีตสตวันัวแใแจททเนขนจ้าจ�ำมาหหานสนา่อ่ายบยนนถาาาฬมฬกิ รกิ าาาหยหรลรูระูราเาคอคาียาเรดเรือขอื นอนลงละสะิน2ค20้0า,0แ,0ล0ะ0สบบ่ังาซาทท้ือมหมีเลพีเพาจยจขคขานยายสสินจนิคนค้ามผ้าีลผา่ ูกน่าคนท้าทาปงาอรงอะอจนนาไลทไลน่ีสน์่ัง์ มนมีลีลาูกฬูกคิก้าทจี่าสกนภใจารเขด้าีไมปาขสาอยบต่อถทาม่ีรม้รารนาายขยลอละงะเตเออนียียเดอดขงขอเองมงส่ือสินหินคักค้าต้แา้นแลทละุนสะขั่สงซอั่งื้อซงนห้ือาลหฬาลิกยาาคยแนคลน้วจภนามรีลดลูีไกู ดค้ก้าาปไรรระจะจาจกาำ�ทกทา่ีส่ีสร่ังั่ง นขนาาฬยฬกินิกาาจฬจาิกากกาภเภราาือรรดนดีไลปีไะปขขา2าย,0ยต0ตอ่ 0่อททบี่รา้่ีรน้าทนขอขตงอ่อตงมนตาเนอภเงอารงเดมเีมื่อีค่ือหวหักาตักม้นตจ้ทนานุทเปขุน็นอขจงอนะงใานชฬา้เกิงฬินาิกแจาลาแ้วนลภว้วานภรหาดนรีได่ึงแีก้ไดต�ำ ้กไ่มราีเจงไารินกจใกานกาบรกัญขาาชรยี นไขมาฬ่เยพกินียางเฬรพือิกอนาเลจระึืองอน2อล,0กะ0อ02ุบ,0บา0ยา0ทว่าบถตา้าอ่ทสมั่งาซตภื่อ่อานมราาดภฬีมาิกีคราวดตาีม้ังีคแจวำ�ตาเ่ ปม2็นจ0จาเะเรปใือช็นน้เจงขนิะ้ึนใจชไำ�ป้เนงจินวะนจลหาดนรว่งึ าแนคตหา่มนใีเึ่หงแิน้ ต5ใน0่ม%บีเงญั ินลชใูกนไี มคบ่เ้าัญพจยีชึงงี พสไมอน่เใพจียึงสองั่งพอ3กอ0อจบุเรึงาืออยนอวพกา่ ถอราุ้อบสมา่งั ทยซว้ัง่ือ่โานอถาน้าฬเสงกิ ั่งินาซตเ่ือข้งั ้นาแบาตัญฬ่ 2ิกช0าีใหตเ้ก้ัรงแือับนตภ่ขา2นึ้ร0ดไปีเรจแือะตนล่ภดขารึ้นราไดคปีไามจให่ะไดล้ ้ส5ด่ง0รน%าาคฬาลิกใูกหาคใ้ ้าห5จ0้กงึ%ับสลนลูกใจูกคสค้า่งั้าแจ3ตึง0่ เกสรอืนลนับใจพใสหร่ัง้อเหม3ตท0ุผงั้ เโลรอือกนนับเพงลินรูกเ้อขคมา้ บทว่าญั้งโตชอ้อใีนหงเร้กงอินับกเภข่อา้านรบดเัญนี ่ือแชงตีใหจภ่ า้กากับรโดภรไี างมรง่ไดานีส้ ผ่งแนลตาิต่ภฬไามิกร่ามดใัีไนหมก้่ไเดพับ้สลร่งากู นะคาม้ ฬีลแิกู ตาค่กใ้าลหสับ้กั่งใับจหลอ้เูกหงคเตข้าผุ ้าลแมกตาับ่ ลจกกู าลคนับ้าวใวนห่าม้เตหาอ้ กตงุรผจอลากกอ่นับนั้นลเภูนกาอื่ครง้าดจวีกา่ ็ลกตบโ้อรเงพงรจาอขนกอผ่องลนตติ นเไนมเอื่อ่ทงงนัพจราเพ้อกมรโารทะงั้งงมเาปีลนลกู ผยี่คนล้าสิตเบ่ังไจอมอรท่ม์โงนั ทเขรเา้ ศพมพั ราทาจะ์เ�ำ พนมื่อีวลไนูกมมค่ใาห้ กสล้ ัู่กงจจคาอก่าสนงเาั้นขมภ้าาามรรถาดี กตจล็ าิดบนตเวอ่ พนไจดมข้าอกงตจนากเอนง้ันพภรา้อรมดทีกงั้ ล็ เปบลเพ่ียจนขเบองอตรน์โทเอรงศพพั รทอ้ ์เมพทื่อัง้ไเมปใ่ ลหย่ี้ลนกู เคบ่าอสราโ์ มทารรศถัพตทดิ ์เตพ่ออ่ื ไไดม้ ่ให้ลูกค่าสามารถ 5 ปติดระตกอ่ ิจไดเร้ ียนวิชาเทคโนโลยี ในการเรียนวันน้ันครูผู้สอนได้แนะนาให้ใช้ YouTube ทาให้ประกิจ 5 เปกริดะแกนิจวเรคียวนาวมิชคาิดเทว่าคจโนะใโชล้ยYี oใuนTกuาbรเeรียในนกวันารนสั้นรค้ารงูผรู้สายอไนดไ้ดเข้แานจะึงนโาหใลหด้ใชเพ้ YลoงuทT่ีกuาbลeังเทป็านใทหี่น้ปิยรมะกในิจ ปเกัจิดจแุบนันวมคาวแาลม้วคนิดามว่าาจทะาใเปช็้นYoCuDTเuพbลeง ใเนพก่ือาจราสหรน้า่างยรตาายมไทด้้อเงขตาลจาึงดโหทลาดใหเพ้ปลรงะทกี่กิจชาล่วยังเแปบ็น่งทเบี่นาิยภมาใรนะ ขปอจั งจคุบรันอมบาคแรลัว้วไดน้มามากาทเาพเรปา็นะปCรDะกเพจิ มลงีเงินเพไปื่อจโรางหเรนยี ่านยจตากมกทา้อรงหตาลราดยไทดาข้ ใอหง้ปตรนะเกอิงจชว่ ยแบ่งเบาภาระ 6 วขันองเพค็ญรอบสมครัควัรไใดชม้้งาานกเเฟพสรบาุ๊ะคปในรชะ่ืกอจิขมอีเงงนิ“ไสปมโสรมงเรรียรน่ารจวายก”การรวหมาทรา้ังยใชได้รูป้ขอภงาตพนโเปอรงไฟล์เป็นรูปของสม 6 สวันมเรพร็ญ่ารสวมยัคจราใกชน้งา้นั นไดเฟ้สส่งบคาุ๊ครใ้อนงชข่ืออขเอปง็นเ“พส่ือมนสกมับรยรุพ่านิ รซวย่งึ เ”ป็นรวพมื่อทน้ังขใอชง้รสูปมภสามพรโปรรา่ไรฟวลย์เปย็นุพรูปนิ ขไดอ้ตงอสบม รสับมร ร่ากราวรยเปจ็นากเพนื่อ้ันนไดต้ส่อ่งคมาารก้อ็ไงดข้สอ่งเขป้อ็นคเพวอ่ืามนไกปับขยอุพในิ หซ้ยง่ึ ุพเปิน็นโอพนื่อเนงขินอชงาสรมะสคม่ารแหรวา่ นรวเพยชยรใุพหิน้จไาดน้ตวอนบ 1รับ00,00ก0ารบเาปท็นเโพด่ือยนอ้าตงว่อ่ามแาอกป็ไดพ้สล่งิเคข้อชันควขาอมงธไปนขาคอาใหรท้ยุ่ีตพนิ เโอองนตเิดงินตั้งชใานรโะทคร่าศแัพหทว์ในชเ้งพาชนรไมให่ได้จ้าจนึงวใหน้ เ1พ0ือ่0น,0โ0อ0นชบาารทะใโหด้กย่ออน้างยวุพ่านิแอจึงปหพลลงิเเคชชือ่ ันแลขะอไงดธ้โนอานคเงานิ รใทหี่ต้ นเองติดต้ังในโทรศัพท์ใช้งานไม่ได้ จึงให้ เพ่อื นโอนชาระใหก้ ่อน ยพุ นิ จึงหลงเชื่อและได้โอนเงินให้

692 675 ใบงานท่ี 3.2 องค์ความรกู้ ารใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสรา้ งสรรค์ ใหน้ ักเรียนสรุปเป็นองคค์ วามร้โู ดยใช้ mind map (decomposition) ในการปฏิบัตติ นอย่างไรให้ ไมไ่ ด้รับผลกระทบดา้ นลบจากภัยคกุ คามในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook