Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5584474527

5584474527

Published by wuttikorn25588, 2019-11-25 23:14:41

Description: 5584474527

Search

Read the Text Version

กลยทุ ธก์ ารบริหารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศกึ ษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมืองคุณภาพ นางสาวเสาวภา นสิ ภโกมล วทิ ยานพิ นธ์น้เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสูตรปรญิ ญาครศุ าสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจดั การและความเป็นผนู้ าทางการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2558 ลิขสิทธขิ์ องจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

ACADEMIC MANAGEMENT STRATEGIES OF SECONDARY SCHOOL ACCORDING TO THE CONCEPT OF THE QUALITY CITIZEN ENHANCEMENT Miss Saovapa Nisapakomol A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Program in Educational Administration Department of Educational Policy Management and Leadership Faculty of Education Chulalongkorn University Academic Year 2015 Copyright of Chulalongkorn University

หัวข้อวิทยานิพนธ์ กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตาม แนวคดิ การพัฒนาพลเมอื งคณุ ภาพ โดย นางสาวเสาวภา นิสภโกมล สาขาวชิ า บริหารการศึกษา อาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธห์ ลัก อาจารย์ ดร.วลัยพร ศิรภิ ริ มย์ อาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธร์ ว่ ม ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศริ บิ รรณพทิ กั ษ์ คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั อนุมตั ิให้นบั วิทยานพิ นธฉ์ บบั น้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาตามหลักสตู รปริญญาดษุ ฎบี ัณฑติ คณบดีคณะครศุ าสตร์ (รองศาสตราจารย์ ดร.บัญชา ชลาภริ มย)์ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ประธานกรรมการ (ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปองสิน วิเศษศิริ) อาจารยท์ ป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั (อาจารย์ ดร.วลัยพร ศิริภริ มย)์ อาจารย์ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม (ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศริ ิบรรณพิทักษ์) กรรมการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชญาพิมพ์ อุสาโห) กรรมการ (อาจารย์ ดร.ธีรภัทร กโุ ลภาส) กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย (ดร.สมเกียรติ ชอบผล)

ง เสาวภา นิสภโกมล : กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนา พ ล เ มื อ ง คุ ณ ภ า พ (ACADEMIC MANAGEMENT STRATEGIES OF SECONDARY SCHOOL ย ACCORDING TOTHE CONCEPT OF THE QUALITY CITIZEN ENHANCEMENT) อ.ท่ีปรึกษา บทคัดย่อภาษาไท วิทยานิพนธ์หลัก: อ. ดร.วลัยพร ศิริภิรมย์, อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม: ศ. ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณ พิทกั ษ์, 306 หน้า. { การวิจัยคร้ังนี้มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือศึกษากรอบแนวคิดของการบริหารงานวชิ าการโรงเรยี น มัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของ การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ 3) เพ่ือพัฒนากลยุทธ์ การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในการ วิจัย คือโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 324 โรงเรียน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของ กลยุทธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารบริหารงานวิชาการโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคณุ ภาพประกอบด้วย กรอบแนวคดิ การบรหิ ารงานวชิ าการ ได้แก่ การพฒั นาหลกั สตู ร การจัดการเรียนการสอน การนิเทศการสอน การพัฒนาและการใชส้ อ่ื เทคโนโลยี การวดั และประเมินผล ส่วนกรอบแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพประกอบด้วย 3 คุณลักษณะได้แก่ มีความคดิ สร้างสรรค์และมีความคิดเชิงวิพากษ์ มีความสามารถในด้านเศรษฐกิจ มีคุณธรรมและมีความรับผิดชอบ 2) สภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยพบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุดคือ ด้านการจัดการเรียนการสอนค่าเฉลี่ย (3.84) ส่วนสภาพพึงประสงค์ของการ บริหารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศกึ ษาฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยพบว่าด้านที่มีคา่ เฉลีย่ สงู ทส่ี ุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอนค่าเฉล่ีย (4.67) และกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) พัฒนาส่ือและเทคโนโลยีเพ่ือ พัฒนาพลเมืองคุณภาพ (2) พัฒนาหลักสูตรพลเมืองคุณภาพ (3) นิเทศการสอนพัฒนาพลเมือง คุณภาพ (4) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนพลเมืองคุณภาพ (5) วัดและประเมินผลพัฒนาพลเมือง คณุ ภาพ ภาควิชา นโยบาย การจดั การและความเปน็ ผนู้ า ลายมอื ชือ่ นสิ ติ ทางการศกึ ษา ลายมือช่อื อ.ทป่ี รกึ ษาหลกั สาขาวชิ า บรหิ ารการศกึ ษา ลายมอื ชอ่ื อ.ทป่ี รกึ ษารว่ ม ปกี ารศึกษา 2558

จ # # 5584474527 : MAJOR EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEYWORDS: ACADEMIC MANAGEMENT STRATEGIES ษ SAOVAPA NISAPAKOMOL: ACADEMIC MANAGEMENT STRATEGIES OF SECONDARY SCHOOL ACCORDING TOTHE CONCEPT OF THE QUALITY CITIZEN ENHANCEMENT. ADVISOR: บทคั ดยอ่ ภาษาอังกฤ WALAIPORN SIRIPIROM, Ph.D., CO-ADVISOR: PROF. PRUET SIRIBANPITAK, Ph.D., 306 pp. { The purposes of this research were to 1) to study the academic management conceptual framework of secondary school according to the concept of the quality citizen enhancement, 2) to study current and desirable state of academic management of secondary school according to the concept of the quality citizen enhancement, and 3) to develop academic management strategies of secondary school according to the concept of the quality citizen enhancement. The sample of this study consisted of 324 secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. The instruments used for data collection were the questionnaires and assessment on suitability and feasibility strategies. Data were analyzed through frequency, percentage, mean, standard deviation, and PNIModified The results of this research showed that 1) academic management conceptual framework of secondary school according to the concept of the quality citizen enhancement consisted of the following concepts: curriculum development, instructional management, instructional supervision, development and use of technology, and measurement and evaluation. Conceptual framework on quality citizen enhancement consisted of three characteristics as follows: creativity and critical thinking, economic capability, morality and responsibility. 2) Overall current state of academic management of secondary school was at high level. The highest mean score area was instructional management (=3.84). Overall desirable state of academic management of secondary school was at highest level. The highest mean score area was instructional management (=4.67). Moreover, academic management strategies of secondary school according to the concept of the quality citizen enhancement consisted of five strategies including: (1) curriculum development, (2) media and technology development, (3) instructional management development, (4) measurement and evaluation development, and (5) instructional supervision development for quality citizen enhancement. Department: Educational Policy Management Student's Signature and Leadership Advisor's Signature Field of Study: Educational Administration Co-Advisor's Signature Academic Year: 2015

ฉ กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยเล่มน้ีสาเร็จไปได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาของอาจารย์ ดร. วลัยพร ศิริภิรมย์ กิตติกรรมประกาศ อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก และศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ อาจารย์ท่ีปรึกษาร่วม ท่ีได้ กรุณาให้คาปรึกษาและคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี กราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบทุกท่าน ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศิริบรรณพิทักษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปองสิน วิเศษศิริ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชญาพิมพ์ อุสา โห อาจารย์ ดร. ธีรภัทร กุโลภาส และดร.สมเกียรติ ชอบผล ที่ให้ความกรุณาในการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะอนั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การปรับปรงุ วทิ ยานพิ นธฉ์ บบั นีใ้ ห้สมบรู ณย์ ่ิงขึ้น ขอกร า บ ขอบ พร ะคุ ณผู้ ทร ง คุณวุ ฒิ ทุก ท่า น ที่ ให้ คว า มอ นุ เ คร า ะห์ ใน กา ร ต ร ว จ ส อ บ เครื่องมือวิจัย ตรวจสอบความเหมาะสมของร่างกลยุทธ์ และผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมประชุมกลุ่ม (Focus Group) ขอกราบขอบพระคณุ ผู้ให้ข้อมลู ในการวจิ ัยทกุ ทา่ นท่ีให้ข้อมูลอนั เป็นประโยชน์ต่อ การทาวิทยานิพนธ์ ขอกราบขอบคุณอาจารย์ประจาภาควิชาสาขาบริหารการศึ กษา และ คณาจารย์คณะครุศาสตรท์ ุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์อันมี คา่ ทไ่ี ดร้ บั มา ขอขอบคุณเพ่ือนๆ พีๆ่ น้องๆ สาขาบรหิ ารการศึกษา ตลอดจนเพื่อนพี่น้องกลั ยาณมิตร ทุกท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม ท่ีคอยช่วยเหลือ ให้คาแนะนาและเป็นกาลังใจให้ผู้วิจัยตลอดมา ด้วย คุณค่าอันเป็นประโยชน์ของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอมอบเพื่อกราบบูชาพระคุณอันย่ิงใหญ่แด่ คุณพ่อชมพู และคุณแม่พินทอง นิสภโกมล ผู้ล่วงลับไปแล้วท่ีได้สนับสนุนการศึกษามาต้ังแต่ผ้วู ิจัย ยังเป็นเด็ก ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของการศึกษาคือ การพัฒนาตนเองอย่าหยุดเรียนรู้เม่ือมีเวลา และโอกาส โลกเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาจึงทาให้ผู้วิจัยสนใจเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา กราบ ขอบพระคณุ บญุ คุณอันย่งิ ใหญ่มา ณ ท่นี ี้

สารบญั หนา้ บทคัดย่อภาษาไทย.............................................................................................................................ง บทคัดย่อภาษาองั กฤษ....................................................................................................................... จ กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................................................. ฉ สารบัญ.............................................................................................................................................. ช สารบญั ตาราง................................................................................................................................... ญ สารบัญภาพ ...................................................................................................................................... ฐ บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................. 14 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ..................................................................................... 14 คาถามการวจิ ัย ........................................................................................................................... 20 วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย .................................................................................................................. 20 นยิ ามศัพท์.................................................................................................................................. 21 กรอบแนวคิดในการวิจัย ............................................................................................................. 22 ขอบเขตการวิจัย......................................................................................................................... 24 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั .......................................................................................................... 25 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง .......................................................................................... 26 1. แนวคิดการพฒั นาพลเมืองคณุ ภาพ......................................................................................... 26 2. แนวคิดการบริหารโรงเรยี นและการบรหิ ารงานวิชาการโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา .......................... 64 3 แนวคดิ และทฤษฎเี กีย่ วกับกลยุทธ์.........................................................................................121 4. งานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง...............................................................................................................132 บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั ..............................................................................................................138 ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฎี โดยศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ งกับการ บริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศกึ ษาตามแนวคิดการพฒั นาพลเมืองคุณภาพ................138

ซ หน้า ข้นั ตอนที่ 2 ศกึ ษาสภาพปัจจุบันและสภาพท่ีพึง่ ประสงค์ของการบริหารงานวชิ าการโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ...........................................................139 ขั้นตอนท่ี 3 ยกร่างกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศกึ ษาตามแนวคิดพลเมือง คุณภาพ ............................................................................................................................. 145 ขั้นตอนที่ 4 นาเสนอกลยุทธ์การบริหารงานวชิ าการโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตามแนวคดิ พลเมือง คุณภาพ ............................................................................................................................. 148 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................................150 1. ผลการประเมนิ กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเก่ยี วกับการบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมืองคณุ ภาพ .............................................................................150 2. ผลการวิเคราะหส์ ภาพปัจจุบนั และสภาพพงึ ประสงคข์ องการบรหิ ารงานวิชาการโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมอื งคุณภาพ...........................................................151 3. ผลการวเิ คราะหจ์ ดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมอื งคณุ ภาพ..............................................169 4. ผลการประเมนิ รา่ งกลยุทธก์ ารบริหารงานวิชาการโรงเรียนมธั ยมศึกษาตามแนวคิดการ พฒั นาพลเมืองคณุ ภาพ......................................................................................................208 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ .................................................................223 1. สรปุ ผลการวิจยั ....................................................................................................................223 2. อภิปรายผลการวิจยั .............................................................................................................229 3. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................237 รายการอ้างอิง ...............................................................................................................................240 ภาคผนวก...................................................................................................................................... 251 ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ความเหมาะสมและความเปน็ ได้ของกรอบแนวคดิ การวิจยั ...................252 ภาคผนวก ข รายชื่อผูท้ รงคุณวฒุ ใิ นการประเมนิ ความเหมาะสมและความเปน็ ได้ ของกรอบ แนวคดิ การวิจยั .............................................................................................................................258 ภาคผนวก ค ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัย...................................................267

ฌ หน้า ภาคผนวก ง รายชอื่ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ใิ นการประเมินความเหมาะสอบของแบบสอบถามการวจิ ยั .........273 ภาคผนวก จ แบบสอบถามการวจิ ยั ...............................................................................................280 ภาคผนวก ฉ หนงั สือขอความร่วมมอื ในการเก็บข้อมลู วจิ ยั ............................................................288 ภาคผนวก ช แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นได้ของร่างกลยุทธ์ ...................................291 ภาคผนวก ซ รายชือ่ ผูท้ รงคณุ วุฒิในการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไดข้ องร่างกลยทุ ธ์..302 ภาคผนวก ฌ รายช่อื ผู้ทรงคุณวุฒทิ เี่ ขา้ ร่วมการสนทนากลุ่ม (Focus Group)...............................304 ประวตั ผิ ู้เขยี นวิทยานพิ นธ์ .............................................................................................................306

ญ สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1 สงั เคราะห์คุณลักษณะพลเมืองคณุ ภาพ........................................................................... 36 ตารางที่ 2 สงั เคราะห์กระบวนการบริหาร ...................................................................................... 66 ตารางท่ี 3 TOWS Matrix สาหรับการกาหนดกลยุทธ์.................................................................130 ตารางที่ 4 กลุ่มตวั อย่างผ้ใู ห้ข้อมลู ในการวิจยั ...............................................................................140 ตารางที่ 5 กลุ่มตวั อย่างในการทดลองใชเ้ คร่ืองมือ........................................................................142 ตารางท่ี 6 ค่าความเทยี่ งแบบแอลฟาของครอนบาค.....................................................................143 ตารางที่ 7 จานวนการส่งและจานวนการตอบกลับของกลมุ่ ผู้ให้ข้อมูล..........................................143 ตารางท่ี 8 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามในภาพรวม ...............................................152 ตารางท่ี 9 แสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวชิ าการโรงเรยี น มัธยมศกึ ษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณ ในภาพรวม...........................................................154 ตารางท่ี 10 แสดงจานวนรอ้ ยละค่าเฉลี่ย และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานการบริหารงานวิชาการ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมอื งคณุ ภาพ ดา้ นการพฒั นาหลกั สตู ร .................155 ตารางท่ี 11 แสดงจานวนรอ้ ยละค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นมัธยมศึกษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมอื งคุณภาพ ด้านการจดั การเรยี นการสอน .........156 ตารางที่ 12 แสดงจานวนรอ้ ยละค่าเฉลยี่ และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานการบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนมธั ยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคณุ ภาพ ด้านการนิเทศการสอน....................158 ตารางท่ี 13 แสดงจานวนร้อยละคา่ เฉลี่ย และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ ดา้ นการพฒั นาและใช้สอื่ เทคโนโลยี ..................................................................................................................................... 161 ตารางท่ี 14 แสดงจานวนร้อยละคา่ เฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานการบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมอื งคณุ ภาพ ดา้ นการวัดและประเมินผล.............163 ตารางที่ 15 สภาพปจั จุบันและสภาพพงึ ประสงค์เกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ มภายนอกของการ บริหารงานวิชาการโรงเรยี นมัธยมศึกษาตามแนวคิดการการพฒั นาคุณภาพ ภาพรวม...................166

ฎ ตารางท่ี 16 สภาพปจั จบุ ันและสภาพพึงประสงค์เก่ียวกบั สภาพแวดล้อมภายนอกของการ บรหิ ารงานวิชาการโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาตามแนวคิดการการพฒั นาคุณภาพ แยกตามรายด้าน .....167 ตารางท่ี 17 ผลการจดั ลาดับความสาคัญตามความต้องการจาเป็นของการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมืองคณุ ภาพ ในภาพรวม ......................................171 ตารางที่ 18 ผลการจดั ลาดับความสาคัญตามความต้องการจาเปน็ ของการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพฒั นาพลเมืองคุณภาพดา้ นการพัฒนาหลกั สตู ร...................172 ตารางท่ี 19 ผลการจดั ลาดับความสาคัญตามความต้องการจาเปน็ ของการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมธั ยมศึกษาตามแนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคุณภาพ ด้านการจัดการเรียนการสอน .........173 ตารางที่ 20 ผลการจัดลาดบั ความสาคัญตามความต้องการจาเปน็ ของการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมธั ยมศึกษาตามแนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคณุ ภาพ ด้านการนเิ ทศการสอน....................175 ตารางที่ 21 ผลการจัดลาดบั ความสาคญั ตามความต้องการจาเป็นของการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพฒั นาพลเมอื งคุณภาพ ด้านการพฒั นาและใชส้ อื่ เทคโนโลยี ..................................................................................................................................... 176 ตารางที่ 22 ผลการจดั ลาดับความสาคัญตามความต้องการจาเปน็ ของการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาตามแนวคิดการพฒั นาพลเมืองคุณภาพ ด้านการวัดประเมินผล....................179 ตารางท่ี 23 ผลการจดั ลาดบั ความสาคัญตามความต้องการจาเป็นของการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาตามแนวคดิ การพัฒนาพลเมอื งคุณภาพ จากการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม ภายนอก ภาพรวม........................................................................................................................182 ตารางที่ 24 ผลการจัดลาดบั ความสาคัญตามความต้องการจาเป็นของการบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตามแนวคดิ การพฒั นาพลเมืองคณุ ภาพ จากการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม ภายนอก แบ่งตามรายดา้ น...........................................................................................................183 ตารางท่ี 25 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในของการบริหารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศึกษา184 ตารางท่ี 26 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกของการบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรยี น มธั ยมศกึ ษาตามแนวคดิ การการพัฒนาคุณภาพ .............................................................................193 ตารางท่ี 27 วิเคราะห์ SWOT Matrix การบรหิ ารงานวิชาการโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตามแนวคิด การการพัฒนาคุณภาพ กลยุทธ์ WT............................................................................................195

ฏ ตารางที่ 28 วเิ คราะห์ SWOT Matrix การบริหารงานวิชาการโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตามแนวคดิ การการพฒั นาคุณภาพ กลยุทธ์ WO ............................................................................................196 ตารางที่ 29 วิเคราะห์ SWOT Matrix การบริหารงานวชิ าการโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตามแนวคิด การการพฒั นาคุณภาพ กลยุทธ์ST................................................................................................197 ตารางท่ี 30 วเิ คราะห์ SWOT Matrix การบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิด การการพัฒนาคุณภาพ กลยุทธ์ SO..............................................................................................198 ตารางท่ี 31 รา่ งกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารงานวิชากรโรงเรยี นมัธยมศึกษาตามแนวคดิ การพฒั นา พลเมืองคณุ ภาพ (ฉบับท่ี 1 ) .........................................................................................................203 ตารางท่ี 32 ผลการประเมินร่างกลยุทธก์ ารบริหารงานวชิ าการโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตามแนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคุณภาพ มีรายละเอยี ดดังนี้ ..............................................................................208 ตารางท่ี 33 ผลการประเมนิ ร่างกลยุทธห์ ลกั ของการบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาตาม แนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคุณภาพ ฉบับรา่ ง 1.............................................................................209 ตารางที่ 34 ผลการประเมินความเหมาะสมและความเปน็ ไปไดข้ องกลยุทธ์รองของการ บริหารงานวชิ าการโรงเรียนมธั ยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ ฉบับร่าง 1.........209 ตารางที่ 35 ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างกลยทุ ธ์การบริหารงาน วิชาการโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคณุ ภาพ วิธดี าเนนิ การ.......................210 ตารางที่ 36 กลยุทธห์ ลกั การบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคดิ การพัฒนา พลเมืองคุณภาพ ฉบับสมบูรณ์......................................................................................................219

ฐ สารบญั ภาพ หน้า ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั ................................................................................................... 24 ภาพที่ 2 องค์ประกอบพืน้ ฐานของกระบวนการบริหารกลยทุ ธ์....................................................129 ภาพท่ี 3 ข้นั ตอนการวิจัย การดาเนนิ การ และผลที่ได้รับ..............................................................149

บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา ปัจจบุ ันสงิ่ ท่สี ะท้อนให้เราเหน็ คือปัญหาการเมืองการปกครองของไทยยังวนเวยี นอยู่กับความ ไม่เป็นประชาธิปไตยของระบบการเมือง ระบบการเมืองไม่มีประสิทธิภาพยังไม่สามารถนาความสุข ความเจริญก้าวหน้ามาสู่ประชาชนได้อย่างแท้จริง และประเทศไทยยังมีปัญหาเก่ียวกับการทุจริตของ การเมอื งสาเหตุประการหน่ึงคือ พลเมืองยังขาดความรูค้ วามเข้าใจระบบการเมืองท่ีถกู ต้อง เหน็ ได้จาก วิกฤติการเมือง ความแตกแยกแบ่งสี ตั้งแต่ปลายปี 2549 และวิกฤติมหาอุทกภัย 2554 จวบจน ปัจจุบันกลไกลการเมือง และกลไกลบริหารงานด้านต่างๆ ของรัฐไม่ได้มีความสามารถในการจัดการ เม่อื เผชิญกบั ปัญหารนุ แรงดังกล่าว ประชาชนโดยท่ัวไปยังขาดความรู้ ความเขา้ ใจ และไม่สามารถเข้า ไปมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงใดๆ ได้ ทาให้บทบาทของผู้นา หรือผู้กุมอานาจรัฐที่มีความสาคัญ และเกิดการรวมศูนย์อานาจของรัฐราชการมากขึ้น ความเข้าใจ และความรับรู้ทางการเมืองของคน ไทยยงั อยู่ในลักษณะจากัด คนไทยยังขาดวัฒนธรรมทางการเมือง การเมืองมีความเก่ียวข้องกับทุกคน ทุกเร่ือง ท้ังอดีต ปัจจุบัน และอนาคต (ทิพย์พาพร ตันติสุนทร, 2554) ปัญหาทางสังคมและการเมือง กับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และประเด็นสีเส้ือ ความขัดแย้งทางความคิด และอุดมการณ์ทางการเมืองที่ แตกต่างกัน สร้างความแตกแยกร้าวลึกระหว่างคนไทยด้วยกัน จนทาให้สามารถทาร้ายและทาลาย ความคิดท่ีต่างกันเพียงเพ่ือ “ประชาธิปไตย” จริงๆ แล้วคุณค่า และแก่นแท้ของประชาธิปไตยอยู่ที่ “ทาอย่างไรให้คนที่มีความคิดแตกต่างสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข” ในเม่ือผู้ใหญ่ในวันน้ีไม่ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กๆ และเยาวชนท่ีจะเป็นกาลังของชาติได้แล้ว ถึงเวลาท่ีเราจะทุ่มเท สรรพกาลังท่ีมีมุ่งไปสู่เด็กและเยาวชนของชาติ ด้วยการปลูกฝังและให้การศึกษาพวกเขาเพื่อพัฒนาสู่ ความเป็น “พลเมืองคุณภาพ” ที่เคารพสิทธิผู้อื่น เคารพกติกา และรับผิดชอบต่อสังคม สร้างความรู้ ความเข้าใจและสานึกต่อความเป็น “พลเมือง” ของประเทศย่อมเป็นหนึ่งแนวทางท่ีจะช่วยแก้ปัญหา ได้ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2556) คุณลักษณะของพลเมืองคุณภาพไม่มีติดตัวมาต้ังแต่เกิด และไม่ สามารถเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติหากต้องมีการพัฒนาข้ึนมาได้โดยการใหก้ ารศึกษาแก่พลเมืองเพื่อให้ มีพลเมืองคุณภาพ เข้าใจโครงสร้างระบบการเมืองการปกครอง มีกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ สนใจข่าวสารบ้านเมือง การศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคนให้มีพลเมืองคุณภาพ การ จดั การศกึ ษาจึงเป็นกลไกสาคัญของการพฒั นา ระบบการเมอื งการปกครองให้มีคณุ ภาพ การแข่งขันในโลกศตวรรษที่ 21 ประเทศจะอยู่รอดได้ข้ึนอยู่กับพลเมืองท่ีมีคุณภาพซ่ึง พลเมืองจะมีคุณภาพได้ข้ึนอยู่กับการอบรมเล้ียงดูและการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยการเสรมิ สรา้ ง

15 พัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพในหลายมิติ โดยเฉพาะคุณลักษณะของความเป็นพลเมืองคุณภาพซึ่ง ประกอบไปด้วยผู้ท่ีมีความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking) มีความคิดสร้างสรรค์(Creative Thinking) มีความสามารถในด้านเศรษฐกิจ มีคุณธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นพลเมืองคุณภาพได้ตามท่ีประเทศต้องการเพราะบุคคลท่ีมีคุณลกั ษณะดังกล่าว สามารถ กาหนดเลือกการดาเนินชีวิตของตนเองได้ เป็นบุคคลที่มีคุณค่ามีศักด์ิศรี เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ยึด ดารงตนเองอยู่ในหลักคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลักในการคิดในการกระทา มีระเบียบวินัย มีความ ซ่ือสัตย์ ความอดทน ริเริ่มทาในสิ่งท่ีมีความก้าวหน้าสร้างสรรค์ มองอะไรเป็นองค์รวม ทางานในเชิง รุกมากกว่าเชิงรับ ซ่ึงเป็นสิ่งจาเป็นที่เยาวชนของประเทศหรือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาท่ีออกไปใช้ ชีวิต เป็นเยาวชนหรือพลเมืองคุณภาพของประเทศ ในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างมากมายในสังคมและวัฒนธรรมไทย มี ผลกระทบโดยตรงต่อวิถีการดารงชีวิตของคนในสงั คม อปุ สรรคปัญหาทีซ่ ับซ้อนทท่ี า้ ทายความคิด การ ตัดสินใจอย่างกะทันหัน ถ้าผู้เรียนมีความคิดเชิงวิพากษ์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม มีความ รับผิดชอบต่อสังคม และมีความรู้ความสามารถทางด้านเศรษฐกิจ ย่อมสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคม ยคุ ใหมน่ ไ้ี ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสุข ในปจั จบุ ันสภาพสังคมไทยยังไม่ไดร้ ับการสง่ เสริมการ พัฒนาความสามารถทางดา้ นคณุ ลักษณะของพลเมอื งคุณภาพ เพื่อเปน็ เคร่อื งมอื นาไปใช้ในการพัฒนา ตนให้รเู้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลงวถิ กี ารดารงชวี ิตและร่วมพฒั นาสังคมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ประเทศไทยต้องการพลเมืองคุณภาพซึ่งหากยึดตามหลักการ “มวลน้าหนักแห่งการ เปล่ยี นแปลง(Critical Mass)”ตอ้ งพฒั นาประชากรใหไ้ ดห้ นึ่งในสามของประชากรท้ังหมด หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 35% ถึงจะเกิดพลังที่จะสามารถขับเคลื่อนคุณภาพของคนและช่วยให้ประเทศชาติโดยรวม พัฒนาไปในทางที่พึ่งประสงค์ได้ ภารกิจนี้จาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องร่วมแรงร่วมใจกันจึงจะสาเร็จได้ (กมล รอดคล้าย, 2557) ประเทศไทยเป็นส่วนหน่ึงของประชาคมอาเซียน สภาพปัจจุบันในสังคมไทย อาจ พบทั้งโอกาส และวิกฤต ปัจเจกชน และครอบครัวในระดับกลางและระดับล่างที่ยังไม่มีความพร้อม และศักยภาพท่ีจะเติบโตอย่างเข้มแข็งไปพร้อมกับสภาพการขยายตัวของประเทศ ท่ีมีความซับซ้อน สูงขึ้น มีความเป็นสากลมากข้ึน และค่าครองชีพที่จะสูงเป็นเงาตามตัว ปัญหาความไม่พร้อมของ พลเมืองไทยในปัจจุบันเพื่อเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน ในด้านความเป็นพลเมืองคุณภาพจะเป็น รากฐานสาคัญของการพัฒนาประเทศ พลเมืองคุณภาพควรมีสัดส่วนสูงข้ึน และพยายามสร้างความ เข้มแข็งใหก้ ับพลเมือง เพื่อใหเ้ กิดความสมดุล คอื การลงทนุ ด้านพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ เปน็ การปรับ กลยุทธ์การทางานของสานักการศึกษา ให้มีการดาเนินการประสานงานกันสู่ผลสัมฤทธิ์ของการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับพลเมือง เช่น การผลิตแรงงานที่มีทักษะสูงขึ้น มีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น มีความรู้ทักษะในด้านประกอบอาชีพเพื่อปรับตัวเข้าสู่การเป็นเจา้ ของกิจการ การเพิ่ม ทักษะการเรียนรู้ให้มีความก้าวหน้าไปในอาชีพที่ตนถนัด เป็นการเรียนรู้แบบตลอดชีวิต เป็นการมุ่ง

16 สร้างพลเมืองคุณภาพอย่างแท้จริง การเร่ิมสร้างพลเมืองคุณภาพต้องเร่ิมที่เด็กและเยาวชน มี การศึกษา อบรม จัดโครงการพัฒนาต่างๆ เพ่ือให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ มุ่งสร้างพลเมืองที่มี บุคลิกภาพ และศักยภาพเป็นผู้นา ด้วยการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ทักษะท่ีดีงามให้มากที่สุด เพ่อื ใหเ้ ด็กและเยาวชนก้าวไปในการเป็นผู้นาของอาเซยี นในอนาคต การสรา้ งความเข้มแขง็ ในด้านทุน มนษุ ย์ในด้านวัฒนธรรมให้เป็นท่ยี อมรับในหมู่เราเอง และในหมูค่ นต่างชาติที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทย ให้พวกเขากลายเป็นพวกเรา คือควรจะเข้ามาเป็นพลเมืองคุณภาพอย่างแท้จริงมาเรียนรู้ มาใช้ชีวิต แบบไทย วิถีไทย และเข้ามาอย่างเคารพ นิยม และรักความเป็นไทย และควรจะเข้ามามีส่วนร่วมใน การพฒั นา ด้วยการเข้ามาเป็นภาคเี ครอื ขา่ ยของการพัฒนา (มานิต เตชอภโิ ชค, 2556) แผนพัฒนาการศกึ ษาฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2550-2554 ไดก้ าหนดวตั ถุประสงค์ ทจ่ี ะทาใหเ้ ด็กไทยมี คุณลักษณะของความเป็นพลเมืองคุณภาพ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขคุณลักษณะดังกล่าวได้แก่ การมีวินัย ความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบ เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวม และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างเหมาะสม ความ เป็นพลเมืองคุณภาพ มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศบทบาทของโรงเรียนมีความสาคัญในการ พัฒนาความเป็นพลเมือง ควรจัดเข้าในหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียน เช่น ในด้านสังคม มุ่งเน้นคุณธรรม ศีลธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต ความเมตตา และสิ่งที่เก่ียวข้องกับ คนอ่ืน ๆ เช่น ความรู้สึกรบั ผดิ ชอบ และความมีศลี ธรรมจรยิ ธรรม (Domon, 2011) เยาวชนเป็นวัยที่มีความจาเป็นท่ีจะได้เรียนรู้ความเป็นพลเมือง โรงเรียนควรจัดเข้าไว้ใน หลกั สูตรการเรียนการสอน เพื่อให้เยาวชน สามารถเรียนรู้ผา่ น ทางหลกั สตู รของโรงเรียนได้เปน็ ดีที่สุด (Aaron, 2013) ในประเทศแถบยุโรป และประเทศในทวีปอเมริกา ได้บรรจุ “วิชาพลเมืองศึกษา” เพ่ือให้เยาวชนได้เป็นพลเมืองต่อไปใน อนาคต โดยการจัดการเรียนการสอน ไว้ในหลักสูตรของ โรงเรียน โดยเร่ิมสอนกันตั้งแต่ชั้นอนุบาล ช้ันประถม และต่อเน่ืองไปจนจบชั้นมัธยมศึกษา เพ่ือลด ความขัดแย้ง หรือเวลาทะเราะกัน ครูจะจับแยกเด็กทันที และจะให้เรียนรู้กติกาพื้นฐานประการแรก ของการอยู่ร่วมกันในสังคมตามระบอบประชาธิปไตย คือขัดแย้งกันได้แต่ห้ามใช้ความรุนแรง เรียนรู้ เร่อื งของความรบั ผิดชอบ การใชส้ ิทธิเสรีภาพ ถูกฝกึ ฝนใหร้ บั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง รับผิดชอบต่อผ้อู ่ืนและ รบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ทกุ คนมสี ทิ ธเิ สรีภาพเท่าเทยี มกัน ตอ้ งไมไ่ ปละเมิดสทิ ธิของผู้อ่ืน ใหเ้ ดก็ มจี ิตสานึก อยู่เสมอว่าตนเองเปน็ สว่ นหน่งึ ของสงั คม สงั คมจะดีข้ึนหรือแยล่ งอยู่ท่ีการกระทาของคนในสงั คม สอน ให้เด็กเรียนรู้ การประนีประนอม การทางานร่วมกับคนอื่น และยังสร้างจิตสานึกให้เด็กได้ออกไป สัมผัสกับปัญหาต่างๆ ของชุมชน ทาให้เด็กเห็นและยอมรับความแตกต่าง เคารพสิทธิของผู้อ่ืน ลงมือ ปฏิบัติทาให้เกิดจิตสานึกท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และพัฒนาไปสู่ “ความเป็นพลเมืองดี” ซึ่งเป็น เครือ่ งมอื ทสี่ าคัญทสี่ ดุ ในการสร้างประชาชนไปสู่ “ความเปน็ พลเมอื งคณุ ภาพ” (ปริญญา เทวานฤมติ ร กุล, 2555)

17 ความเป็นพลเมืองคุณภาพเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญงอก งามและย่ังยืนในทุกด้านทั้งใน ด้านเศรษฐกิจสังคม และการเมือง บทบาทของโรงเรียนเป็นลักษณะ หน่ึงท่ีมีความสาคัญ และสังคมให้ความคาดหวังว่า สามารถบูรณาการเรียนรู้ เพื่อสร้างความเป็น พลเมืองคุณภาพให้กับเยาวชน โดยมีกระบวนการเร่ิมต้นด้วยการกาหนดการศึกษา เพ่ือความเป็น พลเมืองไว้ในหลักสูตรอย่างชัดเจน และจัดการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรมท่ีให้นักเรียนปฏิบัติ จริงร่วมกับชุมชนในด้านต่างๆ ทาให้นักเรียนเกิดพัฒนาการทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ความรู้สึก ร่างกาย และจิตใจสามารถ อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542) การ พัฒนาคนให้เป็นพลเมืองคุณภาพ ต้องใช้การศึกษาเข้ามาช่วยโดยเฉพาะการบริหารงานวิชาการ เน่ืองจากการบริหารงานวิชาการเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของนักเรียน และความสามารถของผู้บริหาร สถานศึกษา เพราะการบริหารงานวิชาการเป็นการสร้างกระบวนการงอกงามให้แก่บุคคล และสังคม ทาให้คนเป็นคนรู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ด้วยตัวเอง สามารถปรบั ตวั ให้เข้ากับเหตุการณ์ที่เปลีย่ นแปลง ทเี่ กิดขึน้ ได้อยา่ งรวดเร็ว มคี ุณธรรมจริยธรรม รู้จกั พ่ึงตนเองและ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข เป็นคนดี และเป็นคนเก่ง การพัฒนา พลเมืองคุณภาพของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารงานด้านวิชาการของ โรงเรียน การบริหารงานด้านวิชาการเป็นงานหลัก และหัวใจสาคัญในการบริหารสถานศึกษาท่ี ผบู้ รหิ ารต้องใหค้ วามสาคัญเปน็ ลาดับแรก ในการบริหารงานการบรหิ ารงานจึงจาเป็นอยา่ งย่งิ ทีจ่ ะช่วย พัฒนาความเป็นพลเมืองคุณภาพของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน ในการ พัฒนาความรู้ความสามารถท่นี ักเรยี นควรจะไดร้ ับจากครผู สู้ อนทีม่ ีคุณภาพ จากการศกึ ษาของงานวิจัยยังพบวา่ เยาวชนช่วงอายุ 15-18 ปีหรอื ช่วงมธั ยมศึกษาตอนปลาย เป็นชว่ งท่คี วรจะไดเ้ รียนร้เู ก่ียวกบั ความเป็นพลเมอื งมากทสี่ ดุ เพราะ เปน็ ช่วงทม่ี ีวุฒภิ าวะเพียงพอที่จะ แก้ไขปัญหา หรือประเด็นต่างๆที่สนใจของสังคมนั้นได้ โดยนาความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ท่ีได้เรียนมา นาไปใช้ในการดารงชีวิต เมื่อเรียนจบออกไปแล้วต้องออกไปใช้ชีวิตอยู่ในสังคม เช่น ทางานร่วมกับ ผู้อ่ืน ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และเป็นการสร้างความพร้อมให้แก่เยาวชนในการเติบโตเป็นพลเมือง คณุ ภาพ และออกไปช่วยพัฒนาประเทศใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ต่อไป ในการจัดหลกั สูตรการเรยี นการสอนมี การศึกษาพบว่า ต้ังแต่เด็กเล็ก-เยาวชน ซึ่งเป็นช่วงวัยสาหรับการเรียนรู้ เด็กเล็กวัย 7-12 ขวบ จะมี ทศั นคตเิ หมอื นครูเด็กเริ่มเรียนรู้สงั คมใกลต้ ัว เชน่ พอ่ แม่ โรงเรยี น ชุมชน ชนเผ่า ประเทศตนเองเป็น พ้ืนฐาน เป็นการเรียนรู้โดยท่ีไม่มีข้อมูล และเหตุผล เด็กวัย 13-15 ขวบจะมีการจิตนการ เรื่องสังคม และการเมืองเพ่ิมมากข้ึน เร่ิมที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับประเด็นทางการเมือง พรรคการเมือง การ เลือกต้ัง เรื่องของประเทศไม่เฉพาะแต่นายกรัฐมนตรีที่มีบทบาททางการเมือง รู้ประวัติศาสตร์ของ ประเทศส่ิงเหล่านี้จะเร่ิมสั่งสมมากข้ึน จนเม่ืออายุ 16-18 ปี ความเข้าใจทางการเมืองและประเทศก็ จะเพิ่มมากข้ึนหลายเรื่องตามมา คือ เร่ืองระบอบการปกครอง เร่ืองรัฐธรรมนูญ รัฐสภา เศรษฐกิจ

18 ภาษี สิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง ความรักชาติ ความรับผิดชอบทางการเมืองและสังคม (ทิพยพ์ าพร ตันติสนุ ทร, 2554) การศกึ ษาเป็นเครื่องมือท่สี าคัญในการสร้างและพฒั นา หลอ่ หลอมคนให้เปน็ ทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณภาพ และการท่ีจะบรรลุเป้าหมายได้ต้องได้รับการศึกษา การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจาก สภาพแวดล้อม สังคม ครอบครัว การเป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวให้แก่เด็กและเยาวชน โดยการ เสริมสร้างคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต รู้จักสามัคคี มีความเข้มแข็งทาง วัฒนธรรม ซึ่งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี อันจะนาไปสู่การพัฒนา เป็นพลเมืองคุณภาพ เพื่อนามาในการพัฒนาประเทศ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2548) ความเป็นพลเมืองจะเป็นการเน้นให้นักเรียนได้มีเครื่องมือ สาหรับการเตรียมตัวเป็นพลเมืองคุณภาพ เคร่ืองมือดังกล่าว คือ ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ทัศนคติ ค่านิยมและความเชื่อเกี่ยวกับความเป็น พลเมือง เพื่อเตรียมให้นักเรียนมีบทบาท มีส่วนร่วมรับผิดชอบสังคมเมื่อเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การ จัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองดีและพัฒนาต่อยอดไปสู่การเป็นพลเมืองคุณภาพ เป็นการเช่ือมโยงเข้ากับกระบวนการเรียนการสอนท้ังทั้งระบบซ่ึงเก่ียวข้องกับการบริหารงานวชิ าการ ท้ังหมด การที่จะปรับคุณลักษณะของคนไทยให้เป็นพลเมืองคุณภาพ ต้องใช้กระบวนการจัด การศึกษาเข้ามาช่วย เพราะความคิดแบบประชาธิปไตยไม่ได้ติดตัวมาตั้งแต่เกิดแต่ต้องให้การศึกษา มนุษย์เองต้องฝึกแทบทุกเรื่อง เช่น ฝึกกิน ฝึกนอน ฝึกฟัง ฝึกพูด ฝึกคิด รวมทั้งฝึกเรียนรู้ ประชาธิปไตยดังน้ันประเทศไทยต้องให้ความสาคัญกับการศึกษา สอนความเป็นพลเมือง ความเป็น พลเมืองดี และเป็นพลเมืองคุณภาพเพื่อนามาพัฒนาประเทศ การบูรณการเรียนรู้ควรมีทักษะทาง สังคม เป็นการเรียนรู้การกระทาต่างๆ ท่ีมีผลต่อตนเองและผู้อ่ืนเป็นทักษะภายในที่ช่วยให้บุคคล สามารถแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีปะสิทธิภาพ และ เตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต มีการเรียนรู้ในการปรับตัว เรียนรู้การตัดสินใจ รวมทั้งรู้จกั ยับยั้งชั่งใจ บุคคลที่มีทักษะนี้จะเป็นบุคคลที่มีเหตุผล รู้จักเลือกการดารงชีวิตที่เหมาะสม ช่วยให้การ ทางานเกิดความรอบครอบ และเกิดนิสัยการทางานเพ่ือสังคม ทาให้เกิดความพร้อมของตนเองและ สามารถดารงชีวติ ได้อยา่ งมีความสขุ (เจมส์ เอ แบ็งค์ อ้างใน Thai Civic Education,2557) การบริหารงานวิชาการ เป็นการดาเนินงานที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนซึ่งคลอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาหลักสตู ร การนาหลกั สูตรไปใช้ การจดั การเรียนการสอน การนิเทศงาน การใชส้ ่ือการสอน การวัดและประเมินผล เป็นต้น การบริหารงานวิชาการเป็นการดาเนินงานของกลุ่มบุคคลเพ่ือพัฒนา พลเมืองใหม้ ีคณุ ภาพ ความเป็นพลเมอื งคณุ ภาพต้องมีความรู้ มคี วามสามารถ มีความคิดสรา้ งสรรค์ มี ความเป็นเป็นคนดี พลเมือง พลเมืองดี และจึงจะมาเป็นพลเมืองคุณภาพได้ จะต้องมีการเรียนการ สอน หรือจะตอ้ งมกี ารบรหิ ารงานวชิ าการท่ีมีคณุ ภาพ การบริหารงานวิชาการจึงถอื เปน็ หัวใจของการ

19 บริหารงานการศกึ ษา ในสถานศึกษาทั้งมหาวทิ ยาลัย หรอื โรงเรียนตา่ งๆ จะมีผู้บริหารฝ่ายวชิ าการที่มี ชื่อเรียกต่างๆ เช่น ผู้ช่วยอานวยการฝ่ายวิชาการ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หรือผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิชาการ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการบริหารงานวิชาการ เป็นการบริหาร กิจกรรมทุกชนิดในโรงเรียนเกี่ยวกับการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดี และมี ประสิทธิภาพท่ีสุด เพราะหน้าที่หลักของโรงเรียนทุกแห่ง คือ การให้ความรู้ในด้านวิชาการแก่ผู้เรียน มีผบู้ ริหารหรือครูใหญท่ ่เี ป็นผูน้ าทางวิชาการ มีการทางานร่วมกันกบั ครู ใหค้ าแนะนาและประสานงาน ใหท้ ุกคนทางานร่วมกนั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ (ภิญโญ สาธร, 2526) การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน นอกจากจะให้ความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหาวิชาหลัก ท่ีถือว่าจาเป็นต่อการดารงชีวิตอยู่ในสังคมแล้ว ปัจจุบันงานวิชาการยังรวมถึง การอบรมศีลธรรมจริยธรรม และความประพฤติของนักเรียน เพื่อให้ เป็นพลเมืองคุณภาพ นอกเหนือจากความรู้ ความสามารถนามาเล้ียงชีพได้ อยู่ดีมีความสุข ตลอดจน ช่วยเหลื่อเผ่อื แผ่เพ่ือนบ้าน สงั คมและประเทศชาติ งานวชิ าการเป็นงานท่ีมีขอบข่ายกว้างขวาง และมี ความสาคญั ต่อหน่วยงานการศึกษา เปรียบเสมอื นเป็นหวั ใจของโรงเรียน การบริหารงานของโรงเรียน ทุกอย่าง เพื่อตอบสนองความสาเร็จของผลงานทางวิชาการ หรือการเรียนการสอน จุดมุ่งหมายของ งานวิชาการอย่ทู ่กี ารสรา้ งนักเรียนให้มีคุณภาพ ใหม้ คี วามรู้ มีจรยิ ธรรม และมคี ณุ สมบัตเิ ป็นที่ตอ้ งการ ของสงั คม ประเทศชาติ งานวิชาการจงึ ไม่ใช่อยทู่ ่ีนักเรยี นอ่านออกเขยี นได้เทา่ นน้ั แตง่ านวชิ าการเป็น งานที่รบั ผิดชอบต่อคณุ ภาพของพลเมือง และความม่นั คงของประเทศชาติ การที่โรงเรียนจะทาหน้าที่ นี้ได้อยา่ งสมบูรณก์ ต็ อ่ เมอื่ ผู้บริหารให้ความสาคัญแก่งานวิชาการ เข้าใจขอบขา่ ยงาน และภาระหนา้ ที่ ของการบริหารงานวชิ าการในโรงเรียนเป็นอยา่ งดีการบรหิ ารงานวิชาการเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง คณุ ภาพของนกั เรยี นโรงเรียนมัธยมศกึ ษาจึงเปน็ หน้าทขี่ องผู้บริหารสถานศกึ ษา การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาจึงเป็นเป้าหมายหลักในการดาเนินงานเพื่อ พัฒนาพลเมืองคุณภาพของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาให้ประสบความสาเร็จ และออกไปเป็น พลเมืองท่ีมีคุณภาพต่อสังคม ผู้เรียนจะสัมฤทธิ์ผลได้มากน้อยเพียงใดน้ัน ผู้บริหารงานวิชาการมี บทบาทสาคัญอย่างย่ิงต่อการบริหารงานในสถานศึกษา เพ่ือให้องค์การของตนเอง มีคุณภาพ พัฒนา ความรู้ความสามารถ พัฒนาความคิด และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลสามารถเผชิญ กับ กระแสการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ และยัง เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของโรงเรียน ครู และผู้บริหารสถานศึกษาให้เป็นท่ีมีศักยภาพ ในการวาง แผนการบรหิ ารจดั การ มวี สิ ัยทศั น์ และสามารถกาหนดทศิ ทางการเปล่ียนแปลงในการทางานได้อย่าง ชัดเจน แนวทางในการจัดการศึกษาเป็นหน้าที่หลักสาคัญของสถานศึกษา คือ ความเข้มแข็งของการ บริหารงานวิชาการซ่ึงผู้บริหารต้องให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก องค์ประกอบที่จะให้งานบริหาร วิชาการสาเร็จลุล่วงไปได้ดีขึ้นอยู่กับการบริหารงานของผู้บริหารงานในด้านต่างๆ เช่น การใช้อานาจ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณลักษณะผู้นาวิชาการ การบริหารความขัดแย้ง การบริหารระบบการ

20 ทางาน การกาหนดภารกิจของสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมบรรยากาศทาง วิชาการ เป็นต้น แต่การบริหารงานจะสาเร็จมากน้อยเพียงใด ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกับทุกๆ ฝ่ายในสถานศึกษาที่มีส่วนเกยี่ วขอ้ ง เพราะสถานศกึ ษาเป็นองค์การ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ อยา่ ง สร้างสรรค์ หล่อหลอมให้เยาวชนเจริญเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนา ประเทศและพรอ้ มท่จี ะดารงชวี ิตอย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมสี นั ตแิ ละมีความสุข จากความเป็นมาและความสาคัญข้างต้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษากลยุทธ์การบริหารงานวิชาการ โรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพของโรงเรียน เพ่ือให้ผู้บริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารระดบั สูง และหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องมีกลยุทธ์ในการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการตามแนวคิด การพัฒนาพลเมืองคุณภาพของโรงเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ค่านิยม ความ ตระหนักรู้ มีจิตสานึกและพฤติกรรมตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพในทางท่ีดีขึ้นซึ่งเป็น ตวั ชี้วดั ความเจริญ และพฒั นาประเทศชาติ คาถามการวจิ ยั 1. กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนา พลเมืองคณุ ภาพเปน็ อยา่ งไร 2. สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตาม แนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคุณภาพเปน็ อย่างไร 3. กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมือง คุณภาพเป็นอยา่ งไรควรเป็นอยา่ งไร วัตถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพื่อศึกษากรอบแนวคิดของการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการ พฒั นาพลเมอื งคณุ ภาพ 2. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการโรงเรียน มธั ยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมอื งคุณภาพ 3. เพ่ือพัฒนากลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนา พลเมอื งคุณภาพ

21 นยิ ามศพั ท์ กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการ หมายถึง แนวทางเชิงรุกในการบริหารงานวิชาการ ที่คลอบ คลุม การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การนิเทศการสอน การพัฒนาและการใช้ส่ือ เทคโนโลยี และการวัดและประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาพลเมืองคณุ ภาพของนกั เรียนโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การจัดทาหลักสูตรโดยมีจุดมุ่งหมายและมีการจัดเนื้อหาสาระ ของรายวชิ าเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามเปน็ พลเมืองคุณภาพ การจัดการเรียนการสอน หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอนทุกกล่มุ สาระเกี่ยวกับการพัฒนา นักเรียน ส่งเสริมให้รักการอ่าน สร้างนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเน่ือง มีการจัดแหล่งเรียนรู้และ สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนการสอน มกี ารนาภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น และเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน มาร่วมจัดการเรยี นการสอน มกี ารพัฒนาครูให้มีความรู้ ทกั ษะและความสามารถจัดการเรียนการสอน ไดอ้ ย่างหลากหลาย มกี ารจดั กจิ กรรมเกย่ี วการปลกู ฝงั ค่านิยม คณุ ธรรม และคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ เช่น แนะแนว ลูกเสือ ชมรมวิชาการต่างๆ เพ่ือให้นักเรียนมีความเป็น พลเมืองคณุ ภาพ การนิเทศการสอน หมายถึง มีการจัดกิจกรรมอบรม ส่งเสริมครู และผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความสามารถทางานแบบร่วมมือร่วมใจและเป็นกระบวนการกลุ่ม มีการจัดกิจกรรมอบรมครูให้มี ความรู้ ความสามารถในการสอนการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี และสร้างบรรยากาศห้องเรียน ประชาธปิ ไตย มีการนเิ ทศการเรยี นการสอนแก่ครทู ุกกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ ่างๆ โดยวิธีการแลกเปล่ยี น การเรียนรู้ และแลกเปล่ียนประสบการณ์ท่ีหลากหลายภายในกับสถานศึกษาอ่ืนๆ มีการติดตาม ประสานงานกับเขตการพื้นท่ีการศึกษา เพื่อพัฒนาการนิเทศการสอนเพื่อให้นักเรียนมีความเป็น พลเมอื งคณุ ภาพ การพัฒนาและการใชส้ ื่อเทคโนโลยี หมายถึง มีการจัดทาและจัดหาสอื่ การสอน ส่ือการเรยี นรู้ และเทคโนโลยีทางการศึกษา มีการพัฒนาส่ือ แบบเรียน และเทคโนโลยีทางการศึกษา มีการพัฒนา ห้องสมุดของสถานศึกษาให้เป็นแหล่งการเรียนรู้เพ่ิมเติมและมีแหล่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา มี การศึกษาสารวจ วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการใช้สื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา มีการวางแผน กากับ ติดตามการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้นักเรียนมีความเป็น พลเมอื งคุณภาพ การวัดและประเมินผล หมายถึง การจดั ทาเอกสาร ระเบียบการวดั ประเมินผลการเรียนอย่าง เป็นระบบของสถานศึกษา มีการวัดผล เทียบโอนประสบการณ์ผลการเรียนทุกกลุ่มสาระมีการ ประเมินการอา่ น การคดิ การวเิ คราะหแ์ ละการเขยี นของนกั เรยี น มีการอบรมพัฒนาครู ใหค้ รูมคี วามรู้ ในการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และสภาพ

22 ปัญหาของนักเรียน มีการสอนซ่อมเสริมเพ่ือปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนของนักเรียน และนามา ประเมินผลการเรียนอีกคร้ัง มีการนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มาปรับปรุงคุณภาพการเรียน การสอน เพ่ือให้นักเรียนมคี วามเป็นพลเมอื งคุณภาพ แนวคิดพลเมืองคุณภาพ หมายถึง การพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความคิดเชิงวิพากษ์ และ คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คิดเป็น ทาเป็น แกป้ ญั หาได้ มคี วามสามารถทางด้านเศรษฐกิจช่วยให้เยาวชนหรือ บุคคลมีความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณธรรม และมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะของแนวคดิ พลเมืองคุณภาพมี 3 คุณลกั ษณะ ได้แก่ 1) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความคิดเชิงวิพากษ์ 2) มีความสามารถในด้านเศรษฐกิจ 3) มี คุณธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม การพัฒนาพลเมืองคุณภาพ หมายถึง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนให้ ดีขึ้นอย่างมีคุณภาพ มุ่งไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนหรือเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ให้ดีข้ึน รวมท้ังมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดเชิงวิพากษ์และมี ความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถดา้ นเศรษฐกจิ คือ มีความสามารถประกอบการงาน อาชพี ท่ตี นเอง ถนัดสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และมุ่งส่งเสริมให้เยาวชนได้พัฒนาคุณธรรม มี ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม การพัฒนากลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก โรงเรยี น TOWS Matric การร่างกลยทุ ธ์ การตรวจสอบกลยทุ ธใ์ นการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน กรอบแนวคิดในการวจิ ัย การวิจัยเร่ือง กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนา พลเมืองคณุ ภาพนามากาหนดกรอบแนวคิดโดยมีรายละเอียดของกรอบแนวคิดดงั นี้ 1. ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการโรงเรียนได้นาแนวคิดการบริหารงานวิชาการตามแนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคุณภาพ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2550) และกมล รอดคล้อย (2557) ไดร้ ะบวุ า่ การ ทีจ่ ะพฒั นาเยาวชนให้มคี วามเป็นพลเมืองคณุ ภาพไดต้ อ้ งใชก้ ารบริหารงานวชิ าการ 5 ดา้ นดงั นี้ 1.1 การพัฒนาหลักสูตร 1.2 การจัดการเรยี นการสอน 1.3 การนิเทศการสอน 1.4 การพฒั นาและการใชส้ ื่อเทคโนโลยี 1.5 การวดั และประเมินผล

23 2. กระบวนการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมือง คุณภาพ ได้จากการสังเคราะห์กระบวนการบริหารงานของ Fayol (1916), Gulick and Urwick (1936), Sears (1950), Derming (1993) สรุปเปน็ 3 ขั้นตอนประกอบด้วยกระบวนการบรหิ าร PIE 3 ข้ันตอนคือ 2.1 การวางแผน 2.2 การนาแผนไปปฏบิ ัติ 2.3 การประเมนิ ผล 3 แนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพผู้วิจัยได้สังเคราะห์แนวคิดของ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2553), อานันท์ ปันยารชุน (2557), มานิต เตชอภิโชค (2556), คิม วงสถิตวัฒนา (2556), Danie Prinzing (2555:108), Josephson Institute (1993), Vivian (1999), David,C (2006), Bellanca,J(2011) ไดค้ ุณลกั ษณะ 3 กล่มุ ดังน้ี 3.1 มคี วามคิดเชิงวิพากษ์ และความคิดสร้างสรรค์ 3.2 มคี วามสามารถในด้านเศรษฐกจิ 3.3 มคี ณุ ธรรมและมรี บั ผดิ ชอบต่อสังคม 4 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนากลยุทธ์ กระบวนการการจัดการเชิงกลยุทธ์ประกอบด้วย องคป์ ระกอบพื้นฐานหลายองค์ประกอบ Wheelen and Hunger (2012) เสนอองค์ประกอบพื้นฐาน ของกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ 2องค์ประกอบ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในลักษณะที่เป็นกระบวนการ ต่อเนือ่ งดงั นี้ 4.1 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอก 4.2 การร่างกลยทุ ธ์

24 ขอบขา่ ยการบริหารงานวิชาการ การพัฒนากลยทุ ธ์ กลยุทธ์การบรหิ ารงาน 1. การพัฒนาหลกั สูตร Wheelen and Hunger (2012) วชิ าการโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา 2. การจดั การเรียนการสอน 1.การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม ตามแนวคดิ การพัฒนา 3. การนเิ ทศการสอน ภายในและภายนอก พลเมืองคุณภาพ 4. การพัฒนาและใชส้ ื่อเทคโนโลยี 2.การร่างกลยทุ ธ์ 5. การวดั และประเมินผล กระบวนการบรหิ ารโรงเรยี น Fayol (1916), Glick&Urwick (1936), Sears (1950), Deming (1993) ประกอบดว้ ย 1. การวางแผน 2. การนาแผนไปปฏบิ ัติ 3. การประเมินผล คณุ ลกั ษณะของความเป็นพลเมือง คณุ ภาพแบง่ ออกเปน็ 3 คุณลกั ษณะดังน้ี 1 มคี วามคดิ เชิงวพิ ากษ์ และ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 2. มคี วามสามารถในด้าน เศรษฐกจิ 3. มคี ณุ ธรรม และความ รับผิดชอบตอ่ สังคม ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ขอบเขตการวจิ ยั 1. โรงเรียนท่ีศึกษาเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสังกัดสานักคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน 2. ผู้ให้ข้อมูลสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการโรงเรียน มัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ แบ่งเป็น 3 กลุ่มประกอบด้วย ผู้อานวยการ โรงเรียน รองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ และครูระดบั มัธยมศึกษา สงั กัดสานักคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน

25 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ การวิจยั ครง้ั นีห้ ลังจากท่บี รรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละจะได้รับประโยชนด์ ังน้ี 1. หน่วยงานต้นสังกัดระดับนโยบาย ได้แก่ สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ กระทรวงศึกษาธิการ สามารถนาผลวิจัย มาประกอบการตัดสินใจ การบริหารงานวิชาการโรงเรียน มธั ยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพ 2. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสามารถนากลยุทธ์การบริหารงานวิชาการ โรงเรยี นมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพของนักเรยี นให้เหมาะกับบรบิ ทของแต่ละ โรงเรียน 3. ผู้บริหารโรงเรียน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนสามารถนาผลวิจัยมาเป็นข้อมูล ประกอบการบริหาร และวามแผนพัฒนา และวางแผนพัฒนาด้านวิชาการของโรงเรียนเพ่ือพัฒนา พลเมอื งคณุ ภาพของนกั เรยี นได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 4. สถาบันท่ีสอนในสาขาบริหารการศึกษา รวมถึงสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องสามารถนาข้อค้นพบ ของการวิจัยทั้งในส่วนของการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการบริห ารงาน วิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาพลเมืองคุณภาพมาใช้ป ระกอบการจัดการเรียน การสอนโดยเนน้ การพฒั นาพลเมอื งคุณภาพตอ่ ไป

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง ในการวิจัยเรื่องกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดพลเมือง คุณภาพ ผู้วิจัยได้ศึกษากรอบแนวคิดทฤษฎีจากเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องโดยมีสาระสาคัญท่ี นาเสนอเปน็ 4 ข้ันตอนดังน้ี 1. แนวคดิ การพัฒนาพลเมืองคณุ ภาพ 2. แนวคิดการบริหารโรงเรยี นและการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศกึ ษา 3. แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์ 4. งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง 1. แนวคิดการพฒั นาพลเมอื งคุณภาพ 1.1 ความหมายของพลเมืองคณุ ภาพ มนี ักการศึกษาได้ใหค้ วามหมายของพลเมืองคุณภาพไว้ดงั นี้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2520) ได้ให้ความหมายของพลเมืองคุณภาพ กล่าวไว้ว่า หมายถึง พลเมือง ท่ีสามารถดารงชีวิต และทาประโยชน์ให้แก่สังคม เคารพในสิทธิและ หน้าที่ตนเองและผู้อื่น มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎหมาย ศาสนาและหลักธรรม เข้าใจมีส่วนร่วมใน การปกครองตามวิถีทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความรับผิดชอบต่อชาติ ต่อท้องถิ่น ต่อครอบครัว ต่อตนเอง มีจิตสานึกในความ เป็นคนไทยและเป็นส่วนหน่ึงของมนุษยชาติ มีความรักชาติ ตระหนักในความมั่นคงปลอดภยั ของชาติ มีส่วนร่วมในการปกป้องประเทศ มีความสามารถในการติดต่อส่ือสารมีความเข้าใจและร่วมมือซึ่งกัน และกัน รู้จักแสวงหาความจริง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหาและข้อขัดแย้งดว้ ยสติปญั ญา และสนั ติวิธี กระทรวงศึกษาธิการ (2555b) ได้ให้ความหมายของ พลเมืองคุณภาพ (quality citizen) หมายถึง พลเมืองที่มีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ มีสมรรถนะและมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มี สว่ นรว่ มในการพัฒนาสงั คมและประเทศชาติ ฟรีดริค เอแบร์ท (2555) ได้ให้ความหมาย พลเมืองคุณภาพไว้ว่า หมายถึง การ พัฒนาศักยภาพของประชาชน ให้มีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ มี คุณลักษณะพึงประสงค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสงั คม และประเทศชาติในฐานะที่เป็นพลเมืองใน

27 ระบอบประชาธิปไตย ท่ีมีประชาชนเป็นเจ้าของอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ พลเมืองจึงเป็น กุญแจอันสาคัญย่ิงของกระบวนการประชาธิปไตย เพราะว่าพลเมืองเป็นศูนย์กลางการแสดงบทบาท โดยเฉพาะการปรึกษาหารือ ถกเถียงประเด็นสาธารณะ ที่สาคัญๆกับทุกภาคส่วนของสังคมกระท่ัง นาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกันโดยมีเป้าหมายที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมีพลเมืองมีส่วน รว่ มอยา่ งแข็งขัน สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (2552) ได้ใหค้ วามหมายของ พลเมอื ง คุณภาพ (quality citizen) หมายถึง ความมีร่างกาย จิตใจดี คิดเป็น ทาเป็น แก้ไขปัญหาได้ มี ประสิทธิภาพ เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหนา้ ความมน่ั คงใหก้ บั ประเทศชาติ สรปุ ความหมายของความเป็นพลเมืองคุณภาพ หมายถึง เป็นพลเมืองท่ีมีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีความคิด สรา้ งสรรค์ รู้จักแก้ปัญหาและข้อขดั แย้งด้วยสติปัญญาและสันตวิ ธิ ี มสี มรรถนะและมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เคารพในสิทธิและหน้าที่ตนเองและผู้อื่น มรี ะเบยี บวินัย ปฏบิ ัติตามกฎหมาย ศาสนาและหลักธรรม เขา้ ใจมสี ่วนร่วมในการปกครองตามวิถีทาง ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข 1.2 ความสาคญั ของพลเมืองคณุ ภาพ วารินทร์ พรหมคุณ (2556) ได้กล่าวถึงความสาคัญของพลเมืองคุณภาพ (citizen quality) ไว้ว่า อนาคตของประเทศ ข้ึนอยู่กับการคุณภาพของพลเมืองการท่ีประเทศน้ันๆ มีพลเมือง คุณภาพมคี วามสาคัญสองดา้ นคอื พลเมอื งมคี วามรู้มคี วามสามารถ และมจี ริยธรรม มานิต เตชอภิโชค (2556) ได้กล่าวถึงความสาคัญของพลเมืองคุณภาพไว้ว่า ทุกประเทศที่กาลังพัฒนาย่อมต้องการพลเมืองคุณภาพ ประเทศหรือเมืองไหนมีพลเมืองคุณภาพมาก จะทาให้ประเทศนั้นมคี วามเขม้ แข็งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื งและวฒั นธรรม เพราะมีการจ้าง แรงงานมาก และผลแห่งการจ้างงานที่หลากหลาย จะเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจให้เติบโตขนึ้ ประเทศก็ จะ เจริญข้ึน (Cities with higher average levels of human capital should experience faster employment growth) ในตา่ งประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ฮอ่ งกง สิงคโปร์ มาเลเชยี ประเทศ เหล่าน้ีมีการลงทุนในด้านทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบมาตลอด ทาให้ประเทศเหล่านี้มีความ เข้มแข็ง และมขี ดี ความสามารถในการแข่งขันในระดับสากลสงู กวา่ ในประเทศไทยในทกุ ด้าน อภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ (2557) ได้กล่าวถึงความสาคัญของพลเมืองคุณภาพไว้ว่า เป็นปัจจัยสาคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศชาติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ถ้าหากว่า

28 ประเทศใดมีพลเมืองคุณภาพและมีความเข้มแข็ง คือท้ังเก่งและดี มีความรู้คู่ไปกับคุณธรรม ปัญหา ตา่ งๆ ก็จะไดร้ ับการแกป้ ัญหาไดง้ า่ ย สรุป ความสาคัญของพลเมืองคุณภาพได้ว่า อนาคตของประเทศขึ้นอยู่กับคุณภาพ ของพลเมือง การท่ีประเทศนั้นๆ มีพลเมืองคุณภาพมีความสาคัญสองด้านคือ พลเมืองมีความรู้มี ความสามารถ และมีจริยธรรม เป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดในการพัฒนาประเทศชาติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ประเทศใดมีพลเมืองคุณภาพและมีความเข้มแข็ง คือทั้งเก่ง และดี มีความรู้คู่ไปกับ คุณธรรม ปญั หาตา่ งๆ กจ็ ะไดร้ บั การแกป้ ัญหาได้งา่ ย 1.3 คณุ ลกั ษณะของพลเมืองคณุ ภาพ มีนกั การศกึ ษาไดก้ ลา่ วถึงคณุ ลกั ษณะพลเมืองคุณภาพไว้ดังน้ี ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ (2553) กลา่ วในWorld-Class Standard School: World Citizen (โรงเรียนมาตรฐานสากล : ผเู้ รียนมีศกั ยภาพเปน็ พลโลก) ไดก้ ลา่ วถงึ คุณลกั ษณะพลเมือง คณุ ภาพไว้ว่า 1. เป็นคนดี คนเก่ง 2. เป็นคนที่สามารถดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งมีคุณคา่ 3. มคี วามสุขบนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทยภายใต้บริบทของสงั คมโลกใหม่ 4. เพ่มิ ศักยภาพและความสามารถในระดับสูงดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละการ ส่อื สาร 5. พงึ่ ตนเองได้ 6. มสี มรรถนะในการแข่งขนั อานันท์ ปนั ยารชุน (2556) ไดก้ ลา่ วถึงคณุ ลักษณะของพลเมอื งคุณภาพไว้ว่า 1. รจู้ กั เคารพในสทิ ธิหน้าท่ีของตนเองและผู้อื่น 2. มีความรับผิดชอบ 3. เคารพและปฏบิ ัติตามกฎหมายกฎระเบียบของสังคม 4. เสียสละเพอ่ื ประโยชนส์ ่วนรวม 5. สานึกในสิทธิหนา้ ท่ี 6. รจู้ กั ความเปน็ ประชาธปิ ไตย 7. พฒั นาบุคลิกภาพประชาธปิ ไตยของตนเองและส่วนรวม 8. มีคณุ ธรรม จริยธรรม 9. มีความซอื่ สัตยส์ จุ ริต

29 10. เปน็ คนดี คนเกง่ และไมเ่ ป็นปัญหาแก่สงั คม มานิต เตชอภิโชค (2556) ไดใ้ หค้ ณุ ลักษณะของพลเมอื งคณุ ภาพไวว้ า่ 1. เปน็ พลเมืองที่มคี วามเข้มแขง็ 2. มีขดี ความสามารถในการแข่งขนั สงู 3. มีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ 4. เปน็ คนทางานท่ีมีประสทิ ธิภาพหรอื เปน็ แรงงานท่มี ีทักษะสูง 5. มีแนวโน้มในการพัฒนาอาชพี 6. มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี ครอบครัวดี 7. มีความสุข 8. มีความร้ดู ี การศึกษาดี 9. มอี าชีพการงาน ฐานะมัน่ คง 10. มจี ิตสาธารณะและชว่ ยพฒั นาเมืองและสังคม คิม วงสถิตวัฒนา (2556) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของพลเมืองคุณภาพไว้ว่ามี องค์ประกอบทีส่ าคญั 4 ลกั ษณะคอื 1. คดิ เปน็ ทาเปน็ แกป้ ญั หาได้ 2. ทางานเป็นทมี ได้ 3. เข้าใจความแตกตา่ งระหว่างคน 4. มีความคดิ สร้างสรรค์ Josephson Institute (1993) ได้กลา่ วถงึ คุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองคุณภาพ หก เสาหลกั (Six Pillars of Character) ประกอบด้วย 6 คณุ ลกั ษณะไดแ้ ก่ 1. ความนา่ เชื่อถือ (trustworthiness) 2. ความเคารพ (respect) 3. ความรับผิดชอบ (responsibility) 4. ความเป็นธรรม (fairness) 5. ความเอาใจใส่ (caring)และ 6. มคี วามเปน็ พลเมือง (and citizenship) Ota Wang Vivian. (1999) “The Citizen of the New Century” ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง พลเมอื งคุณภาพทีเ่ หมาะกบั สงั คมในศตวรรษท่ี 21 ควรมลี ักษณะดงั นี้

30 1. มีความสามารถท่ีมองปัญหาและแก้ปัญหาได้ในฐานะของคนในสังคม โลกาภิวตั น์ 2. มีความสามารถท่ีจะทางานร่วมกับผอู้ ื่น และมีความรับผิดชอบหน้าที่และ บทบาทของตนเอง 3. มีความสามารถท่จี ะเขา้ ใจ ยอมรบั และอดทนตอ่ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม 4. มีความสามารถท่ีคิดในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ (critical way) และคิด อยา่ งเปน็ ระบบ 5. มเี จตนารมณท์ จี่ ะแก้ปญั หาความขดั แยง้ ใดๆด้วยสนั ติวิธี 6. มีเจตนารมณ์ท่ีจะเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตและอุปนิสัยการบริโภคให้เอื้อต่อ การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม 7. มีความสามารถท่ีจะรับรู้และปกป้องสิทธิของมนุษยชาติ สิทธิสตรีและ สทิ ธขิ องชนกลุม่ น้อย 8. มีเจตนารมณ์และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองท้ังในระดับ ชุมชนระดับชาติ และระดับนานาชาติ David, C (2006) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะพลเมืองคุณภาพไว้ว่า การพัฒนา รัฐธรรมนูญในการปกครองระบอบประชาธิปไตยต้องการพลเมืองคุณภาพ ประกอบด้วย 6 คุณลกั ษณะได้แก่ 1. ศลี ธรรมและจริยธรรม (moral) 2. ความซอื่ สัตย์ (honesty) 3. ความยตุ ธิ รรม (justice) 4. ความพอเพียง (moderation) 5. ความกล้าหาญ (courage)และ 6. ความเมตตา (and compassion) Daniel Prinzing (2555) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของพลเมืองคุณภาพไว้ว่า เม่ือ นกั เรยี นสาเรจ็ การศึกษาไปสู่วัยทางาน เขาตอ้ งการพลเมอื งคุณภาพ พลเมืองคุณภาพจะมีคุณลักษณะ ท่ีเหมาะสมกับการทางาน ไดแ้ ก่ 1. ทางานเปน็ ทมี ได้ 2. มีความคิดสรา้ งสรรค์

31 วิจารณ์ พานิช (2555) ได้กล่าว ถึง คุณลักษณะพลเมืองคุณภ าพ ใน21st Century Skills ไว้ว่า เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าเป็นที่ยอมรับ สามารถทางานและใช้ชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างมีคว ามสุขในศตวรรษที่ 21 จากบทความเร่ือง“Twenty-First Century Student Outcomes and Support Systems”สะท้อนให้เห็นว่าเด็กในศตวรรษท่ี 21 น้ีควรมี ความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็นตลอดจนสิ่งต่างๆ มีปัจจัยสนับสนุนท่ีจะทาให้เกิดการเรียนรู้ ดงั กล่าวได้แก่ 1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation) ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) ประกอบด้วย การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ และการนานวัตกรรมไปใช้ มีการคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ประกอบด้วย การมีเหตุผล การคิด อย่างเป็นระบบ การตัดสินใจ / ตัดสิน และการแก้ปัญหา มีการส่ือสารและการร่วมมือกัน (Communication and Collaborative) ประกอบดว้ ย การสอ่ื สารท่ีชัดเจน และการรว่ มมือกบั ผู้อนื่ 2) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ประกอบด้วย การอ่านออกเขียนได้ด้านข้อมูลข่าวสาร ส่ือ และ ICT (Information, Communications and Technology) 3) ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ (Life and Career Skills) เด็กและ เยาวชนในศตวรรษท่ี 21ควรมีทักษะที่ยืดหยนุ่ และสามารถปรับตวั ได้ รเิ ริ่มและเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง มี ทักษะทางสังคมและก้าวข้ามวัฒนธรรม มีความรับผิดชอบ และสามารถผลิตสร้างสรรค์งานได้ ตลอดจนมคี วามเป็นผ้นู าและรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม สรุป คุณลักษณะของพลเมืองคุณภาพได้ว่า เป็นผู้ท่ีมีความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking) และมีความคิดสรา้ งสรรค์ คิดเป็น ทาเป็น รู้จักแก้ปัญหาได้ มีทักษะในการประกอบวิชาชพี คือ มคี วามสามารถในด้านเศรษฐกจิ มคี ุณธรรมและมคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม ในปี 2557 ประเทศไทยและสังคมโลกกาลังก้าวสู่ยุคแห่งเทคโนโลยีการส่ือสาร สื่อ และสังคมล้วนมีอิทธิพล ต่อแนวคิดและการดารงชีวิต ดังน้ัน สิ่งที่น่ากังวลคือ แนวคิด ความเช่ือ ค่านิยม ความตระหนักรู้ถึงคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงการซึมซับแนวคิดการทุจริต คอร์รัปชั่น ติด สินบน หรือการนาเอาสาธารณะสมบัติมาเป็นของตน ฯลฯ ของเยาวชนยุคใหม่ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ ตามบรบิ ทของสังคมท่ีเปล่ียน ท้งั นใ้ี นฐานะหนว่ ยงานท่ีขบั เคลื่อนและส่งเสริมคุณธรรมและจรยิ ธรรม ในสังคมไทย ต้องเตรียมพร้อมเยาวชนไทยเพ่ือรองรับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ให้เยาวชนไทย ตระหนักและรู้เท่าทัน ตลอดจนสามาถแยกแยะ“ความดี” “ความเลว” ความถูกต้องเหมาะสม จึง

32 เป็นท่ีมาของ เตรียมจัดงานสร้างความพร้อมเยาวชนไทยในงาน การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที 21 โดยมีเป้าหมายมุ่งเน้นไปที่การศึกษารูปธรรมความสาเร็จของการส่งเสริมพัฒนา เด็กนักเรียนต้ังแต่ ระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาการศึกษานอกระบบรวมถึงการเพิ่มเติมความรู้ให้คณาจารย์ใน ส่วนความรู้ที่ทันสมัยทันเหตุการณ์ในงานคร้ังนี้ อาทิการพัฒนาคุณธรรมใน โรงเรียนปฐมวัย: “Play & Learn”นาเสนอกรณีศกึ ษา 3 กรณีคือ 1) แนวทางการจัดกิจกรรมวิถีธรรม วิถีไทย ของโรงเรียนอนุบาลแห่ง มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ในพระอปุ ถมั ภ์ 2) การพฒั นาคณุ ธรรมของโรงเรียนดอนแก้วเนรมติ ปญั ญา 3) แนวทางจัดกระบวนการเรียนรู้ในศูนย์วิทยาการเชิงคุณธรรมของ โรงเรียนวัดหนองเตา่ จ.อทุ ัยธานี · การพัฒนาคุณธรรมในโรงเรียนระดับประถม“เด็กดี สร้างได้”การแลกเปล่ียน ประสบการณ์ การปลูกฝัง เมล็ดพันธ์ุแห่งความดี ในบริบทและสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน การ พัฒนาคุณธรรมในชุมชนและการศึกษานอกห้องเรียน“เรยี นนอกห้อง คิดนอกกรอบ”การนาเสนอการ เรียนรู้คุณธรรมจากวิถีชีวิตในชุมชนเป็นการเช่ือมโยงชีวิตจริง ของผู้เรียน เรียนรู้ผู้คนท่ีแตกต่าง หลากหลายประสบการณ์เป็นการฝึกฝนทักษะสาคัญของผู้เรียนทั้งทักษะการคิด ทักษะชีวิต การ สอ่ื สารและเสรมิ สรา้ งการเป็นสมาชิกทีด่ ขี องชมุ ชน การพัฒนาคุณธรรมในโรงเรียนระดับมัธยม“เยาวชนวัยใส ใส่ใจ คุณธรรม”การ นาเสนอกรณศี กึ ษาวิธีการพัฒนาทักษะและความสามารถผา่ นสภาพปญั หาสถานการณจ์ ริง เพอ่ื ฝกึ ฝน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ ทักษะการส่ือสาร การแก้ไขปัญหาและการ ทางานร่วมกับผู้อื่น คณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง ด้านการพัฒนาการศึกษา เพ่ือความเป็นพลเมืองดี ได้มีการกาหนดความเป็นพลเมือง โดยมีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ของ พลเมืองในสังคมไทย และกาหนดคุณลักษณะของพลเมืองไว้ดังน้ี พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สามารถสรปุ คุณสมบัตไิ ด้ 6 ประการดงั น้ี 1.พ่งึ ตนเองและรับผิดชอบตนเองได้ 2.เคารพสทิ ธิผู้อ่ืน 3.เคารพความแตกตา่ ง 4.เคารพหลกั ความเสมอภาค 5.เคารพกติกา เคารพกฎหมาย 6.รับผดิ ชอบตอ่ สังคม

33 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นฐาน และสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2557) ได้มีข้อเสนอยุทธศาสตร์ พัฒนาการศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมือง พ.ศ. 2543-2561ให้กับเด็ก และเยาวชน เพือ่ ให้เดก็ และเยาวชนเปน็ พลเมืองคุณภาพ เปน็ บทเรยี นสาคัญสาหรับการดาเนินการใน ระยะตอ่ ไปดังน้ี 1.เร่ืองมโนทัศน์เป็นเรื่องสาคัญ เป็นหัวใจสาคัญในการขับเคลื่อนการทางานท้ัง ระบบ เพราะการเข้าใจคลาดเคล่ือนทาให้ การปฏิบัติคลาดเคลื่อนไปด้วย โดยมีการเปลี่ยนวาทกรรม ใหม่เปน็ 1.1 Democratic Citizenship Education เป็นการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้น เตรียมพลเมืองให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับการเมอื งการปกครอง 1.2 Political Literacy เพ่ือให้เห็นความแตกต่างในการพัฒนากรอบ แนวคดิ ท่มี ุ่งเน้นสอนเฉพาะใหค้ น เป็นคนดเี ทา่ น้นั 1.3 Moral Education การให้การศึกษาแนวพัฒนาคุณลักษณะ หรือการ สอนคณุ ธรรมและจริยธรรม จากการศึกษาพบว่าการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองตามแนวทางใหม่ เป็นการเตรียม พลเมืองให้มีคุณภาพ หรือความเป็นพลเมืองคุณภาพและสามารถแก้ปัญหาการเมืองเชิงโครงสร้างได้ อย่างยง่ั ย่นื 2.วิธีการเรียนรู้ประจาศาสตร์ ด้านการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง เพื่อใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความพร้อมสาหรับการเป็นพลเมืองคุณภาพได้ข้อค้น พบว่าการ สร้างผู้เรียน ให้สนใจข่าว และเหตุการณ์ความเคล่ือนไหวทางการเมือง การมีทักษะแสวงหาความรู้ การวิพากษ์วิจารณอย่างมีเหตุผลใช้ “ความรู้สึก” ท่ีมี “ความรู้” กากับ กับเป้าหมายจึงต้องมี การ พัฒนาการจัดการเรียรู้ เพ่ือให้ครูผู้สอนได้ใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมือง คณุ ภาพ 3.เครอื ขา่ ยการทางานด้านการศึกษาเพื่อสรา้ งพลเมืองคุณภาพ การทางานเครือข่าย ในแนวราบเป็นพลังอันใหม่ในสงั คม จากเดิมอานาจอยู่ที่รัฐ มาเป็นอยู่ท่ีว่าใครมี “ทุน” หรือมี “เงิน” มากกว่า สุดท้ายพลังอานาจเคลื่อนตัวมาสู่จุดท่ีเรียกว่า “พลังทางสังคม” ท่ีหลายคนมารวมตัวกันจึง เกิดพลังอานาจที่จะทางานรว่ มกันต้องมีเครอื ข่ายแนวรว่ ม ในการดาเนินภารกจิ ต่างๆ 4.การผลิตส่ือสาหรับการจัดการเรียนรู้ เป็นการสร้างส่ือส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย รปู แบบตา่ งๆ เป็นชอ่ งทางหนง่ึ ท่ีจะชว่ ยกระจายแนวคิด ให้เกดิ ชุมชนการเรยี นรมู้ ากขน้ึ จากการศึกษา พบว่าสาเหตทุ ่ีการปกครองระบอบประชาธิปไตยลม้ เหลวมดี งั น้ี

34 1.เกิดชนช้ันปกครองใหม่ที่มาจากการเลือกตั้ง ซ่ึงไม่ใช่การปกครองโดย ประชาชนทีแ่ ทจ้ ริง แต่เปน็ การปกครองโดยนกั การเมอื งทม่ี าจากการเลือกต้ัง 2.ประชาธิปไตยนาไปสู่การแตกแยกของคนในสังคม ครอบครัว ชุมชน สงครามการเมอื ง 3.เสรีภาพตามอาเภอใจ นาไปสู่ความเส่ือมของสังคม เรียกร้องแต่เสรีภาพ แต่ไม่รับผิดชอบ สิทธิเสรีภาพต้องควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม ประชาธิปไตยไม่ใช่กฏ ธรรมชาติ แต่ฝืนธรรมชาติ (ต้องอยู่ภายใต้กฎกติกา เคารพผู้อื่น ไม่ใช้กาลัง คนเท่าเทียมกัน) จึงต้อง ฝึกเพราะเกิดข้ึนเองไม่ได้ พลเมืองเป็นรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นเร่ืองท่ีเจ้าของ ประเทศ จะต้องร่วมกันสร้างประชาธิปไตย ประเทศต้องการพลเมืองคุณภาพเป็นกุญแจแห่ง ความสาเร็จของประชาธิปไตย วิธีแก้ปัญหาคือ ไม่ก่อปัญหา เม่ือไม่ก่อปัญหาก็ไม่มีปัญหาให้แก้ทาไม การเมืองไทยไมก่ า้ วหนา้ ส่วนหน่ึงมาจากการเมืองไทยทีไ่ มม่ ปี ระสิทธภิ าพ เช่น 1.ยงั ไม่มีการเลือกต้ังก็มกี ารซือ้ ตวั ผแู้ ทนราษฎร 2.เมือ่ เลอื กตัง้ กม็ กี ารซือ้ เสยี ง 3.พอเลอื กตั้งเสร็จก็แยง่ กนั เปน็ นายกรัฐมนตรี 4.ถ้าไม่ได้เป็นก็มีการป่ันป่วน ให้มีการปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ เพื่อให้ตัวเอง หรอื พวกพ้องไดม้ าเป็นรฐั มนตรี 5.ไม่พอใจหรอื ไม่ได้ประโยชนท์ ่ีตนเองต้องการ ก็แสดงพฤติกรรมทีไ่ มด่ ี คุณลกั ษณะบางประการของคนไทยเปน็ อปุ สรรคต่อการพัฒนาประชาธปิ ไตย คือ 1.คนไทยเบื่อการเมือง ไม่สนใจการเมือง ไม่เห็นความสาคัญของ การเมืองว่ามีส่วนสาคัญ และสัมพันธ์กับชีวิตของตนอย่างไร ครูจึงทาหน้าท่ีต้องจุดประกายให้เด็กสบื ค้นหาองคค์ วามรูเ้ พิม่ เติม 2.คนไทยมีความรู้ ความเขา้ ใจไมถ่ กู ตอ้ ง 3.คนไทยไมต่ ดิ ตามตรวจสอบพฤติกรรมของนักการเมือง 4.คนไทยขาดวิจารณญาณที่ดี ในการตัดสินใจทางการเมือง ไม่ สามารถแยกเร่ืองส่วนตัวและเร่ืองส่วนรวมออกจากกันได้ การที่จะให้คนไทยปรับตัวให้เหมาะสมกับ ระบอบการปกครอง และเป็นพลเมืองคณุ ภาพได้ ตอ้ งใช้กระบวนการ “การจดั การศกึ ษา”เขา้ มาช่วย สานักเลขาธิการสภาการศึกษา(2552: 14)การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สอง (พ.ศ.2552- 2561)ได้กล่าวถึง การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ไว้ว่า“พัฒนาคนไทยยุคใหม่ท่ีมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ ตง้ั แตป่ ฐมวัย สามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตวั เองและแสวงหาความรอู้ ย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิตมคี วามสามารถ

35 ในการส่ือสาร สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะมีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม สามารถทางานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม มจี ิตสานึก และความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย ยึดมน่ั ในระบบประชาธิปไตย อนั มี พระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมุข รังเกียจการทจุ รติ และต่อตา้ นการซ้ือเสยี ง ขายเสียง สามารถก้าวทนั โลก มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่สมบูรณ์ แข็งแรงเป็นพลเมืองคุณภาพ สามารถทางานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รวมทัง้ โอกาสเรียนร้เู ทา่ เทียม เสมอภาค” The International Association for the Evaluation of Education Achievement (IEA) (2557) ไดส้ รปุ เรอื่ งแนวทางและการพฒั นาผู้เรียนให้เกดิ คุณลักษณะของ พลเมืองจากงานวจิ ัยต่างๆ ทวั่ โลกพบวา่ มี 5 ประเดน็ ดงั นี้ 1.ความรู้เกีย่ วกับข้อมลู ของรัฐบาล และกระบวนการรฐั สภา 2.การลงคะแนนเลือกต้ัง เป็นการศึกษาข้อมูลผู้แทนและข้อมูลอ่ืนๆ ท่ี เกยี่ วขอ้ ง 3.ความไว้วางใจในองคก์ ร การตระหนักรู้เกีย่ วกับการเมืองท่ีมีประสทิ ธิภาพ ความสารถในการคิดอยา่ งใคร่ควร เกีย่ วกับนโยบายรฐั และเจตคติทางการเมือง 4.การเคารพความคิดเห็นทางการเมือง ที่แตกต่างจากความคิดเห็นของ ตนเอง และเคราพในสิทธิของคนกลุม่ นอ้ ย ชาตพิ ันธ์ ภาษา 5.การมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ โยการรบั ใชส้ ังคม (Service Learning) หรือ โครงการเก่ียวกับชุมชน

36 ตารางท่ี 1 สังเคราะห์คณุ ลกั ษณะพลเมอื งคณุ ภาพ คุณลักษณะของ แนวคิดเก่ียวกบั คุณลกั ษณะพลเมอื งคณุ ภาพ ไพ ูฑรย์ สินลารัตน์ (2553) พลเมอื งคณุ ภาพ อานันท์ปันยารชุน (2556) ไมพานิูฑรต ์ยเตสิชนอลิภโารัชตคน์((22555563): 4คิ)ม วงส ิถต ัวฒนา (2556) Danie Prinzing(2555:108) Josephson Institute (O1t9a93)Wang Vivia.(1999) David,C (2006) 21st Century Skills(2012) Bellanca,J (2011) 1.มีความคิดเชงิ 1.มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ เป็น ทาเปน็ แกป้ ญั หาได้ √√√ √ √ วพิ ากษ์ และมี √ √ ความคิด 2.คดิ ในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ มองปญั หาแก้ปัญหาได้ √ สรา้ งสรรค์ และสามารถแก้ปญั หาความขัดแย้งใดๆดว้ ยสนั ติวธิ ี √ √ 2.มคี วามสามารถ 1.มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานหรอื เป็นแรงงานท่มี ี √√ √ √ ในด้านเศรษฐกจิ ทกั ษะสงู √ 2.มีขีดความสามารถในการแข่งขนั สงู √√ √ 3.มศี กั ยภาพความสามารถระดบั สูงด้านวทิ ยาศาสตร์ √ √ √ √ เทคโนโลยแี ละการส่ือสาร 4.มสี มรรถนะในการประกอบอาชีพ √ √√ √ 5.ทางานเปน็ ทีมได้ √√ √ 3.มีคณุ ธรรมและ 1.เคารพและปฏิบตั ิตามกฎหมายกฎระเบยี บของสังคม √√ √ ความรบั ผดิ ชอบ 2.มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจรติ มคี ุณธรรมจริยธรรม √ √√ √√√ ต่อสงั คม 3.มคี วามรบั ผดิ ชอบ √√ √√√ 4.มีจิตสาธารณะและชว่ ยพัฒนาเมืองและสังคม √√ √ 5.มคี วามสุขบนพื้นฐานของความเปน็ ไทย √ √√ √ 6.ยอมรบั อดทนต่อความแตกต่างทางวฒั นธรรม และ √ √√ √ √ ก้าวข้ามวฒั นธรรม 7.มคี วามเป็นผู้นา √ จากการสังเคราะห์คุณลักษณะของพลเมืองคุณภาพจากนักการศึกษาได้ให้คุณลักษณะของพลเมือง คณุ ภาพสามารถสงั เคราะหไ์ ด้ 3 คณุ ลักษณะดังนี้ 1. มีความคดิ สร้างสรรค์ และมคี วามคิดเชงิ วพิ ากษ์ มีองค์ประกอบดงั นี้ 1.มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ คดิ เป็น ทาเป็นแก้ปญั หาได้ 2.คดิ ในลักษณะวิพากษว์ ิจารณ์ มองปญั หาแก้ปัญหาได้ และสามารถแกป้ ัญหาความ ขดั แยง้ ใดๆดว้ ยสนั ติวิธี 2. มีความสามารถในดา้ นเศรษฐกจิ มอี งคป์ ระกอบดงั น้ี 1.มปี ระสทิ ธิภาพในการทางานหรอื เปน็ แรงงานท่มี ีทักษะสงู 2.มีขีดความสามารถในการแขง่ ขนั สูง

37 3.มีศักยภาพและความสามารถในระดับสูงด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการ สื่อสาร 4.มสี มรรถนะในการประกอบอาชีพ 5.ทางานเป็นทีมได้ 3. มคี ณุ ธรรม และมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม มอี งคป์ ระกอบดงั นี้ 1.เคารพและปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายกฎระเบยี บของสังคม 2.มีความซื่อสัตย์สจุ ริตและมีความยตุ ธิ รรม 3.มีความรบั ผิดชอบ 4.มจี ติ สาธารณะชว่ ยพัฒนาเมอื งและสังคมและให้ความรว่ มมือกบั ผู้อ่ืน 5.มีความสขุ บนพื้นฐานของความเป็นไทยภายใตบ้ รบิ ทของสังคมโลกใหม่ 6.ยอมรับอดทนต่อความแตกต่างทางวัฒนธรรมและก้าวข้ามวัฒนธรรม 7.มีความเปน็ ผนู้ า โดยมีรายละเอียดดังน้ี 1 มีความคิดสร้างสรรค์และมีความคิดเชงิ วิพากษ์ 1.1 มคี วามคดิ เชงิ วิพากษ์ 1.1.1 ความหมายการคิดวิพากษ์ มีนกั การศกึ ษาหลายท่านได้ให้ ความหมายของการคิดเชิงวิพากษไ์ วด้ งั น้ี Beyer (1995) ได้ให้ความหมายของการคดิ วิพากษไ์ ว้ว่า หมายถงึ ความสามารถท่จี ะตัดสินใจ สิ่งตา่ งๆ ไดอ้ ย่างมเี หตุผลไมใ่ ชก้ ารคาดเดานับต้งั แตเ่ ร่ืองเล็กน้อยไปจนถงึ เร่ืองใหญ่ Angelo (1995) ได้ให้ความหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง การคิดด้วยเหตุผล และ ใชท้ กั ษะการคิดทีซ่ ับซอ้ นข้ึนเพ่ือใช้ในการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ รบั ร้ปู ัญหา แกป้ ญั หาและหาข้อสรุป Kurland (1995) ได้ให้ความหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง การคิดที่เก่ียวข้องกับ เหตุผล ใช้สติปัญญาและมีความคิดที่เปิดกว้างซึ่งตรงข้ามกับการใชอ้ ารมณ์ไม่ยอมใช้สติปัญญา ดังนั้น การคดิ เชงิ วพิ ากษจ์ ึงยดึ หลกั ของเหตผุ ลมากกว่าอารมณ์ และมคี วามถูกต้องแม่นยา Scriven (1996) ได้ให้ความหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง กระบวนการคิดอย่าง สังเคราะห์เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ หรือเพื่อตรวจสอบข้อมูล ท่ีมาจากการสังเกต การทดลอง การใช้ เหตผุ ล หรือการตดิ ต่อสอ่ื สารเพื่อใช้เป็นแนวทางในการนาไปปฏบิ ตั ิต่อไป Halpern (1996) ได้ให้ความหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง กระบวนทางความคิด และใช้เหตุผล โดยนาความรู้ท่ีมีอยู่แล้วมาใช้ในการคิดหาข้อสรุป เพ่ือเพ่ิมโอกาสของความสาเร็จให้

38 มากข้ึน เป็นการคิดที่มีเป้าหมายแน่นอน มีเหตุผลสามารถแก้ปัญหา คานวณหาความเป็นไปได้ และ ตัดสินใจไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ Ruggiero (1996) ไดใ้ หค้ วามหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง การตรวจสอบความคิด ของเราเอง การตัดสินใจว่าวธิ ีแก้ปัญหาที่ดีท่ีสดุ คืออะไร ความเช่ือแบบใดทีม่ ีเหตผุ ลมากที่สดุ จากน้ัน จงึ มกี ารประเมนิ ข้อสรปุ อีกครั้ง Mckowen (1996) ได้ให้ความหมายของการคิดวิพากษ์ไว้ว่า หมายถึง ความคิดท่ีแจ่มแจ้ง ผ่านการใคร่ครวญมาแล้วอย่างรอบครอบ ใช้ทุกอย่างอย่างดีที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ผู้คิดจะต้องไม่ใส่ อารมณ์ของตนเองเข้าไปด้วย โดยเฉพาะในการคิดเกยี่ วกบั กฎหมายหรือตรรกวทิ ยา Feldman (1996: 274) ไดใ้ ห้ความหมายการคิดเชิงวิพากษ์ หมายถึง กระบวนการใช้เหตุผล ในการวิเคราะห์ปัญหา เป็นการใช้ข้อมูลและการแก้ปัญหา เพ่ือช่วยตัดสินใจ อย่างมีเหตุผล เก่ียวกับ สิ่งท่ีจะทาหรือเช่ือต่อไป มีหลักฐานจากการวิจัยจานวนมากท่ีสนับสนุนความคิดที่ว่า คนเราสามารถ เรียนรู้ วิธีคิดในการตัดสินใจ และการแก้ปัญหาได้ กฎต่างๆ ที่เป็นนามธรรม การใช้เหตุผลในการคิด เป็นสิ่งที่สอนได้ ฝึกได้ การฝึกจะช่วย ให้คนเราคิดหา สาเหตุท่ีซ่อนเร้นไว้ของเหตุการณ์ต่างๆ ใน ชีวิตประจาวัน มียุทธวิธีหลายอย่าง (Strategies) ที่ช่วยให้เราคิด เชิงวิเคราะห์ ประเมินปัญหา และ ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาอยา่ ง สรา้ งสรรค์ ดังน้ี 1. การระบุและคดิ ทบทวนปัญหา (Redefine the problems) 2. คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ (Adopt a critical perspective) 3. ใชห้ ลกั การของเหตุผล (Use analogies) 4. คิดหลากหลาย (Think divergently) 5. ใชแ้ นวคิดแบบองค์รวม (Use heuristics) 6. ทดลองแก้ปัญหาหลายๆ แบบ (Experiment with various solutions) สรุป ความหมายของการคิดเชิงวิพากษ์ หมายถึง การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การ ตัดสนิ ใจ และแกป้ ญั หาโดยการยึดหลกั การคิดด้วยเหตุผล เป็นความสามารถในการพิจารณา ประเมิน และตัดสินส่ิงต่างๆหรือเรือ่ งราวท่ีเกิดข้ึน ท่ีมีข้อสงสัยหรือ ข้อโต้แย้งโดยการพยายามแสวงหาคาตอบ ที่มีความสมเหตุสมผล โดยการคิดวิพากษ์นั้นจะเกิดข้ึน เม่ือมีการเผชิญสถานการณ์แปลกๆ ที่ไม่ คาดหวัง การพบปัญหาที่ยากๆ เกิดความสงสัยหรือเกิดข้อโต้แย้ง ในเหตุผลหรือข้ออ้างนั้น การที่ ต้องการตรวจสอบ และสืบค้นความจรงิ 1.1.2 ความสาคัญของการคิดเชิงวิพากษ์ มีนักการศึกษาได้กล่าวถึงความสาคัญ ของการคดิ เชงิ วพิ ากษไ์ วด้ ังนี้

39 Russell (1991) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า การคิดเชิงวิพากษ์ทาให้ เรามีความสามารถควบคุมการจัดการความคิดของตนเองได้ เท่ากับว่าเราสามารถควบคุมการดาเนิน ชีวิตของเราได้ หรือสามารถปรับปรงุ แกไ้ ขชีวติ เราใหด้ ขี นึ้ ได้ และเดินไปในทางทถ่ี กู ต้อง Oliver and Utermohlen (1995)ได้กล่าวถึงความสาคัญของการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า ความคิดเชิงวิพากษ์จะทาให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาท่ียุ่งยากซับซ้อน และสามารถเลือกแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องท้ังท่ีมีตัวเลือกมากมาย การเรียนท่ีมีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์เป็นเรื่องสาคัญและจาเป็น สาหรบั หลกั สตู รทุกช้ันเรียนในโรงเรยี นควรบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนรู้ เพราะเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ในการเรียนรู้ และสามารถดาเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าในโลกปัจจุบัน ยุคของข้อมูลข่าวสาร บุคคลท่ีมี ความคดิ เชงิ วิพากษจ์ ะสามารถคิดวิเคราะห์ไดอ้ ย่างมีหลักการ สามารถควบคมุ จดั การ และตรวจสอบ ความคดิ ตนเองได้ รวมทง้ั สามารถตัดสินใจ และแกป้ ัญหาไดโ้ ดยการใช้เหตุผลอย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม Janine Huot (1998) ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคัญของการคดิ เชงิ วิพากษ์ไวว้ ่า การสรา้ งคนยคุ ใหม่ ให้ทาเป็น คิดเปน็ แก้ปัญหาเปน็ จาเปน็ ตอ้ งมที ักษะพิเศษหรือความสามารถพเิ ศษที่จะนาไปใช้ในการ ประกอบวิชาชีพในแตล่ ะด้าน สงิ่ ท่จี าเป็นและสาคญั ท่ีบุคคลนั่นต้องมีคอื มีความสามารถในการคิดเชิง วพิ ากษ์ Morrison, (2000) ได้ให้ความสาคัญในการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า คนเราตอ้ งใช้ทักษะการคิดใน การทากจิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจาวนั เพ่อื ชว่ ยตัดสินใจเก่ียวกับความถูกต้องของข้อมูล เพอื่ เลือกสิ่ง ต่างๆ จากตัวเลือก (Choices) ท้ังหลายท่ีมีอยู่มากมาย ผู้ที่มีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ จะสามารถทา กจิ กรรมตา่ ง ๆ (ดังนี้ 1. ระบปุ ระเด็นสาคญั ได้ 2. เปรยี บเทียบความเหมอื นกนั และความแตกต่างกนั 3. ตัดสนิ ใจไดว้ า่ ข้อมลู ใดใช้ได้หรือเก่ยี วขอ้ งกบั ปัญหานั้น ๆ 4. ตั้งคาถามทเ่ี หมาะสมได้ 5. แยกแยะระหว่างความจริงกับความคิดเห็นได้ และตัดสินได้ว่าการกระทาใดเป็น การกระทาที่ สมเหตสุ มผล 6. ตรวจสอบความคงทีไ่ ด้ (Checking consistency) 7. ระบคุ วามคดิ / สมมุติฐานทีแ่ ฝงไว้ (Unstated ideas) ได้ 8. รู้ว่าอะไรเป็นการพูดแบบ Stereotype คือ การคิดถึงลักษณะของคนใดคนหนึ่ง แล้วเหมารวมวา่ คนอ่ืนๆ จะเป็นเช่นเดยี วกัน 9. รู้ว่าขอ้ มลู ใดเบ่ียงเบน (Bias) ข้อมลู ใดเป็นการชวนเชือ่ หรอื ลาเอียง

40 10. รับรูถ้ งึ ค่านยิ มทแ่ี ตกตา่ งกันและร้วู า่ อะไรเปน็ สงิ่ ท่ีดีหรือไม่ดี 11. ประเมนิ ไดว้ ่าขอ้ มลู ท่จี าเป็นมอี ะไรบา้ ง ต้องใช้ขอ้ มูลมากเพียงใด สรุป ความสาคัญของการคดิ เชิงวพิ ากษ์ได้ว่า เป็นทกั ษะสาคัญที่จะพฒั นาบุคคลให้มี ลักษณะ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น อันเป็นคุณลักษณะที่จะช่วยให้สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมี มัน่ คง เปน็ คนเกง่ คนดี และมคี วามสุขในโลกปัจจุบันและอนาคต 1.1.3 คุณลักษณะของผู้มีการคิดเชิงวิพากษ์ มีนักการศึกษาได้กล่าวถึง คณุ ลักษณะของการคิดเชิงวพิ ากษ์ไวด้ งั น้ี Wade (1995) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของผู้ท่ีมีการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า ผู้ที่มีการคิดเชิง วพิ ากษ์จะมอี งคป์ ระกอบที่สาคัญดงั น้ี 1. คิดตง้ั คาถามเปน็ 2. คาถามมีความชัดเจน 3. ตรวจสอบหาขอ้ มลู 4. สามารถวิเคราะหข์ ้อสันนิษฐาน และความลาเอียงทอี าจมขี นึ้ 5. หลีกเลียงท่จี ะใช้อารมณม์ าเป็นตวั ตัดสนิ 6. หลกี เล่ียงการคิดแบบต้นื ๆ งา่ ยๆ เกินไป 7. พจิ ารณาถึงการตีความที่เป็นไปไดห้ ลายทาง 8. ยอมรับว่าอาจมคี วามกากวมไมต่ รงไปตรงมาเกิดข้ึนได้ 9. ตระหนกั รเู้ ก่ียวกับความคดิ ของตน รู้ตวั วา่ คดิ อะไรอยู่ Beyer (1995) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของผู้ท่ีมีการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า ผู้ท่ีมีการคิดเชิง วพิ ากษจ์ ะมอี งค์ประกอบทส่ี าคัญดงั น้ี 1. คิดต้ังคาถามเปน็ 2. สามารถวิเคราะหข์ ้อสนั นิษฐาน 3. ให้เหตุผลสามารถหาขอ้ ยุติจากข้อเสนอหรือหลกั ฐานทม่ี ีอยหู่ ลากหลาย 4. รูจ้ ักใชม้ มุ มองต่างๆ กันในการตคี วามเพอื่ ใหเ้ ข้าใจดขี ้นึ 5. ใจกวา้ งยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น เคารพต่อเหตผุ ล ยอมเปลยี่ นจุดยืน หรือเหตุผลที่ดี 6. แยกแยะข้อสรุปหรือข้อตัดสิน ที่อยู่บนหลกั ความจริงทเี่ ชื่อถือได้ มีความ แม่นยา สามารถถกเถยี งอย่างสรา้ งสรรค์

41 Ferrett (1997) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของผู้ท่ีมีการคิดเชิงวิพากษ์ไว้ว่า ผู้ที่มีการคิดเชิง วพิ ากษ์จะมอี งคป์ ระกอบทส่ี าคัญดงั น้ี 1. คดิ ต้ังคาถามเปน็ 2. มีความสนใจใฝ่รู้ ตอ้ งการคิดค้นหาคาตอบใหมๆ่ 3. ตอบคาถามตรงประเด็น 4. ตรวจสอบขอ้ มูล ความเชอื่ 5. วิเคราะห์ขอ้ มูล ข้อสันนิษฐาน ความเหน็ ต่างๆและหาขอ้ พสิ ูจน์ 6. ใชเ้ หตุผลขอ้ มูลที่เปน็ จริง หรอื จากข้อเท็จจรงิ ตา่ งๆ 7. ตรวจสอบความคิดเห็นของตนเอง 8. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยอมรับว่าตนเองยังมีความรู้ความเข้าใจไม่ มากพอ เปลยี่ นความคดิ ได้ 9. ประเมินข้อถกเถียงได้ และตัดสินเรื่องราวจากการรวบรวมข้อเท็จจริง ท้ังหมด สรุป คุณลักษณะของผู้ท่ีมีคุณลักษณะการคิดเชิงวิพากษ์ได้ว่า เป็นผู้ท่ีมีการคิดต้ัง คาถามอย่างชัดเจน ต่อมาเป็นผู้ท่ีใฝ่รู้ และคิดค้นหาคาตอบที่ถูกต้องโดยการแสวงหาข้อมูล รวบรวม ข้อเท็จจริง ตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์ข้อสันนิษฐาน ความเห็นต่างๆ ประเมินข้อถกเถียงได้ ตีความท่ี เป็นไปได้หลายๆ ทาง ตัดสินและหาข้อสรุปบนพ้ืนฐานของเหตุผล และข้อเท็จจริงเพ่ือใช้ในการ ตดั สินใจ Bloom Benjamin (1956) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการเรียนรู้จากง่ายไปสู่การเรียนรู้ที่ ซบั ซ้อนมากขนึ้ และเป็นทักษะการคดิ เชงิ วพิ ากษ์ ไดแ้ ก่ 1. ความรู้ (Knowledge) เน้นการจาและการอ้างอิงข้อมูล คากริยาเชิง พฤติกรรมท่ีใช้ เช่น ระบุ บอกรายการ บอกช่ือ ตั้งช่ือ ให้คาจากัดความ บอกแหล่งที่ตั้ง จับคู่ จาได้ และทาใหม่ 2. ความเข้าใจ (Comprehension) เน้นการเช่ือมโยงและจัดการข้อมูลท่ีได้ เรยี นมา คากรยิ าทีใ่ ช้ เชน่ อธบิ าย เช่ือมโยง กาหนดหลักเกณฑ์ สรปุ พดู ใหม่ เรยี งข้อความใหม่ สาธติ 3. การประยุกต์ใช้ (Application) เน้นการใช้ข้อมูลโดยการนาเอากฎหรือ หลักการมาประยุกต์ใช้ คากริยาท่ีเกี่ยวข้องเช่น แก้ปัญหา เลือก ตีความ ทา สร้าง เอามาไว้ด้วยกัน เปลย่ี น ใช้ ผลติ แปล

42 4. วิเคราะห์ (Analysis) เป็นการคิดเชิงวิเคราะห์ส่วนประกอบและหน้าที่ ของส่ิงต่างๆ คากริยาท่ีใช้ เช่น วิเคราะห์ เปรียบเทียบ จัดประเภท แยกส่วนประกอบ หาข้อแตกต่าง สารวจ แบ่งเป็นส่วยย่อย แยกแยะ หาข้อขัดแยง้ 5. สังเคราะห์ (Synthesis) เน้นการคิดในการนาเอาส่วนประกอบปลีกยอ่ ย หรอื รายละเอียดมารวมกนั สรา้ งสิ่งใหม่ คากริยาทีเ่ กย่ี วข้อง เชน่ ประดิษฐ์ สร้าง (Create) รวมกัน ตง้ั สมมตุ ฐิ าน วางแผน รเิ รม่ิ เพ่ิมเติม จติ นาการ ทานาย 6. การประเมิน (Evaluation) เน้นการประเมินและการตัดสินโดยใช้ข้อมูล เป็นฐาน คากริยาที่ใช้ เช่น ประเมิน (Assess) แนะนาว่าดี (Recommend) วิพากษ์วิจารณ์ หาข้อดี และขอ้ เสยี ให้นา้ หนกั และตดั สินคณุ คา่ 1.2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) 1.2.1 ความหมายความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) Creativity มรี ากศพั ทม์ าจากภาษาลาติน “creo” = to create, to make =สร้างหรือทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์คือ ปรากฏการณ์ที่บุคคลสร้างสรรค์”ส่ิงใหม่” อาทิ ผลผลิต การแก้ปัญหา นวัตกรรม หรืองานศิลปะ ฯลฯ ซ่ึงมีคุณค่า การจะตีความเกี่ยวกับ”ความใหม่” ข้ึนอยู่ กับผู้สร้างสรรค์หรือสังคม หรือแวดวงสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่น้ัน การประเมินคุณค่าก็ในทานองเดียวกัน คุณสมบัติทมี่ กั ใชใ้ นการตคี วาม “ความใหม”่ ประกอบดว้ ย 1.สิง่ ประดษิ ฐท์ ี่ไมเ่ คยปรากฏมาก่อน 2.สงิ่ ประดิษฐ์ที่อาจปรากฏอยู่ทีอ่ ืน่ แต่มีผูส้ รา้ งสรรค์ขนึ้ ใหม่โดยอสิ ระ 3.การคิดวธิ ดี าเนนิ การใหม่ 4.ปรับกระบวนการผลผลิตเข้าสูต่ ลาดที่แตกต่างออกไป 5.คดิ วธิ กี ารใหม่ในการแก้ไขปัญหา 6.เปล่ยี นแนวคิดทีแ่ ตกตา่ งจากผู้อ่ืน ความคิดสร้างสรรค์คือ ความคิดใหม่ๆ แนวทางใหม่ ๆ ทัศนคติใหม่ๆ ความเข้าใจ และการมองปัญหาในรูปแบบใหม่ ผลลัพธ์ของความคิดสร้างสรรค์ท่ีชัดเจน คือ ดนตรี การแสดง วรรณกรรม ละคร สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมทางเทคนิค แต่บางคร้ังความคิดสร้างสรรค์ก็มองไม่เห็น ชัดเจน เช่น การต้งั คาถามบางอย่างท่ชี ่วยขยายกรอบของแนวคดิ ซึ่งให้คาตอบบางอยา่ ง หรือการมอง โลกหรือปัญหาในแนวนอกกรอบ ความคิดสร้างสรรค์คือ ความคิดเชื่อมโยงท่ีพยายามหาทางออก หลายๆ ทางใช้ความคิดท่ีหลากหลาย แสวงหาความเป็นไปได้ใหม่ ๆ และนอกกรอบ คัดสรรค์หาทาง

43 เลือกใหม่ๆ และพยายามปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ นักการศึกษาได้ให้ความหมายเก่ียวกับความคิด สร้างสรรค์ไว้หลายท่านดังน้ี กระทรวงศึกษาธิการ(2538,2)ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ว่าหมายถึง ความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ โดยมีสิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิดความคิด ใหม่ต่อเนื่องกันไปและความคิดสร้างสรรค์นี้ประกอบดว้ ยความคล่องในการคิด ความคิดยืดหยุ่น และ ความคิดท่ีเป็นของตนเองโดยเฉพาะ หรือความคิดริเริ่มจากคาจากัดความของนักวิชาการต่างๆ ดงั กลา่ วขา้ งต้นพอสรุปเป็นประเด็นได้ ดงั นี้ 1. ความคิดสร้างสรรค์ เกิดจากจินตนาการที่ต้ังอยู่บนสมมติฐานของความเป็นไปได้ และต้องควบคู่ไปกบั ความพยายาม 2. ความคิดสร้างสรรค์จะเน้นที่ความแปลกใหม่ หรือความคิดริเร่ิมท่ีมีคุณค่าต่อ สังคมส่วนรวมคาว่าคุณค่าอาจพิจารณาได้หลายแง่ เช่น ความคิดที่ช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต หรืออาจเป็นคุณค่าในแง่นามธรรมและสุนทรียะ (Aesthetic) เช่น บทกวีท่ีทาให้ผู้อ่านมีความสุข ทา ให้เกิดเปน็ ความคิดใหม่ เห็นสัจธรรมของชวี ิต ทราบว่าการมชี ีวิตอย่างมีคุณค่าควรดาเนินชีวิตอย่างไร เปน็ ต้น มีนักการศกึ ษาหลายทา่ นได้กลา่ วถงึ ความหมายของความคดิ สร้างสรรค์ไวด้ ังนี้ อารี พันธ์มณี (2537:25) ได้กล่าวถึงความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนยั อันนาไปสู่การคิดพบสิ่ง แปลกใหม่ด้วยการคิดดัดแปลง ปรุงแต่งจากความคิดเดิมผสมผสานกันให้เกิดส่ิงใหม่ ซ่ึงรวมทั้งการ ประดษิ ฐค์ ิดคน้ พบส่ิงต่างๆ ตลอดจนวิธีการคิด ทฤษฎหี ลักการได้สาเร็จ ความคดิ สร้างสรรคจ์ ะเกิดข้ึน ไดม้ ใิ ชเ่ พยี งแต่คดิ ในส่ิงท่ีเป็นไปได้ หรือส่ิงที่เปน็ เหตุผล เพียงอยา่ งเดยี วเท่านนั้ หากแตค่ ิดจนิ ตนาการ ก็เป็นสิ่งสาคัญย่ิงท่ีจะก่อให้เกิดความแปลกใหม่ แต่ต้องควบคู่กันไปกับ ความพยายามที่จะสร้าง ความคดิ ฝันหรอื จนิ ตนาการให้เปน็ ไปไดห้ รือเรียกวา่ เปน็ จินตนาการประยุกต์นัน้ เอง จงึ จะทาใหเ้ กิดผล งาน สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2537 : 56) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้ 2 ลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ เรอื่ งทีส่ ลับซบั ซ้อนยากแก่การให้คาจากัดความที่ แน่นอนตายตวั 2 .ถ้าพิจารณาความคิดสร้างสรรค์ในเชิงผลงาน ผลงานนั้นต้องแปลกใหม่ และมีคณุ ค่ากลา่ วคือ ใชไ้ ด้โดยมีคนยอมรับ ถา้ พจิ ารณาความคิดสร้างสรรค์ในเชิงกระบวนการคือการ เช่ือมโยงสัมพันธ์สิ่งของหรือความคิดที่มีความแตกต่างกันมากเข้าด้วยกัน ถ้าพิจารณาความคิด

44 สร้างสรรค์เชิงบุคคล บุคคลนั้นต้องเป็นคนที่มีความแปลก เป็นตัวของตัวเอง เป็นผู้ท่ีมีความคิดคล่อง มคี วามยดื หยนุ่ และสามารถใหร้ ายละเอยี ดในความคดิ น้ันๆ ได้ Mednick. (2004: 196) ได้กล่าวถึงความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์คือความสามารถเชื่อมโยงสัมพันธ์องค์ประกอบในแบบใหม่ๆได้ และถ้าส่ิงท่ีนามา เชื่อมโยงกันนั้นมีความห่างไกลกันมากเพียงใดการเชื่อมโยงสัมพันธ์ก็มีความสร้างสรรค์มากขึ้นเพียง น้ัน Wallach & Kogan. (2010: 18) ได้กล่าวถึงความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้ วา่ ความคดิ สรา้ งสรรค์หมายถงึ ความคดิ โยงสัมพันธ์ได้ คนที่มคี วามคิดสรา้ งสรรค์คือคนทสี่ ามารถคิด อะไรได้อย่างสัมพันธ์กันเป็นลูกโซ่ย่ิงคิดได้มากเท่าไรย่ิงแสดงศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์มาก เทา่ นนั้ Torrance (1962: 16) ได้กล่าวถงึ ความหมายของความคิดสรา้ งสรรค์ไวว้ า่ ความคิด สร้างสรรค์เป็นความสามารถของบุคคลในการคิดสร้างสรรค์ผลิตผล หรอื สง่ิ แปลกๆ ใหมๆ่ ท่ีไมร่ จู้ กั มา ก่อน ซ่ึงสิ่งต่างๆ เหล่านี้อาจจะเกิดจากการรวมความรู้ต่างๆ ที่ได้รับจากประสบการณ์แล้วเช่ือมโยง กับสถานการณ์ใหม่ๆ สิ่งท่ีเกิดข้ึนแต่ไม่จาเปน็ ส่ิงสมบูรณ์อย่างแท้จริง ซึง่ อาจออกมาในรูปของผลผลิต ทางศิลปะ วรรณคดี วิทยาศาสตร์ Wallach and Kogan (1961: 13-20) ได้กล่าว ถึงคว า มหม าย ข อ งคว า ม คิ ด สร้างสรรค์ไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึงความคิดโยงสัมพันธ์ (Association) คนท่ีมีความคิด สรา้ งสรรค์ คือ คนท่สี ามารถจะคดิ อะไรไดอ้ ยา่ งสัมพันธเ์ ปน็ ลกู โซ่ สรุปได้ว่า ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลท่ีจะคิด ได้หลายทิศหลายทาง หรือคิดได้หลายคาตอบ และความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่ง ต่างๆโดยมีสิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิดความคิดใหม่ต่อเน่ืองกันไป และความคิดสร้างสรรค์น้ีอาจ เป็นความคิดใหมผ่ สมผสานกปั ระสบการณ์กไ็ ด้ 1.2.2 ความสาคัญของความคดิ สรา้ งสรรค์ ศวิ กานท์ ปทมุ สูติ (2548,16-19) กล่าวถึงความสาคญั ของความคิดสรา้ งสรรค์ไว้ว่า ความคดิ สรา้ งสรรค์ในคนเรานนั้ เป็นสิ่งสาคัญอย่างย่งิ สาหรบั การมชี วี ิตอยู่ อย่างมีความหมาย มคี ุณค่า และมีความภาคภูมิใจในตัวตน เพราะความคิดสร้างสรรค์จะเป็นส่ิงแสดงความเจริญงอกงามทาง ความคดิ สติปญั ญา และวฒุ ภิ าวะของบุคคลว่ามมี ากหรือมนี ้อยอย่างไรมีความหมายขององค์ความรู้ ประสบการณ์ และทิศทางอยา่ งไร ทงั้ เปน็ เครื่องหมายแหง่ ความมีตวั ตนและมเี กียรตภิ มู ิ โดยนัยของ การรู้จักคิด รู้จกั กระทาส่งิ ใดสง่ิ หน่ึงใหเ้ ปน็ ให้มขี ึ้นอย่างเป็นคณุ ประโยชนท์ ัง้ แก่ตนเองและผู้อ่นื

45 Hurlock. (2009: 319) กล่าวถึงความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ไว้ว่า ความคิด สรา้ งสรรคใ์ หค้ วามสนุกความสุข และความพอใจแก่ผู้เรียนและมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพของผูเ้ รียนมาก ไมม่ อี ะไรทจ่ี ะทาใหผ้ ้เู รียนรสู้ ึกหดหู่ใจได้เท่ากบั งานสร้างสรรค์ของเขาถูกตาหนิถูกดูถูกหรือถูกว่า สิ่งท่ี เขาสรา้ งข้นึ น้นั ไม่มีคุณค่า Jersild. (2009: 153–158) กล่าวไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์มีความสาคัญต่อการ เรยี นทสี่ ่งเสริมผู้เรยี นในดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ช่วยส่งเสริมสุนทรียภาพ ผู้เรียนจะชื่นชมและมีทัศนะคติที่ดีต่อส่ิงต่างๆ ที่เขาคิดข้ึนมาซึ่งผู้สอนควรทาเป็นตัวอย่าง โดยการยอมรับและช่ืนชมในผลงานของผู้เรียนการพฒั นา สุนทรียภาพแก่ผู้เรียนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นว่า ผลงานท่ีผู้เรียนคิดหรือสร้างข้ึนมามีความหมาย สาหรับตวั เขา และส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนรู้จักสังเกตส่ิงที่แปลกจากส่งิ ธรรมดาสามัญ ใหไ้ ดย้ ินในสิง่ ที่ไม่เคย ไดย้ นิ และหดั ให้ผเู้ รียนสนใจในสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 2. เป็นการผ่อนคลายอารมณ์ การทางานอย่างสร้างสรรค์เป็นการผ่อน คลายอารมณ์ ลดความกดดัน ความคับขอ้ งใจ และลดความก้าวรา้ ว 3. สร้างนิสัยในการทางานท่ีดี ในขณะท่ีผู้เรียนทางานผู้สอนควรสอน ระเบียบและนิสัยท่ีดีในการทางานควบคู่ไปด้วยเช่น หัดให้ผู้เรียนรู้จักเก็บสิ่งของให้เป็นที่ ล้างมือเมื่อ ทางานเสร็จ 4. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาผู้เรียนส่วนใหญ่จะชอบทากิจกรรมท่ี ส่งเสริมให้เขาได้ใช้จินตนาการในการสร้างส่ิงใหม่ๆ ดังน้ันผู้สอนจึงควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ จินตนาการของเขาในการพัฒนาการทดลองสร้างสิ่งใหม่เชน่ ฝึกให้ผู้เรียนสมมติตนว่าเป็นนักก่อสร้าง หรอื สถาปนิก สรุปได้ว่า ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ มีคุณค่า และมีความภาคภูมิใจใน ตวั ตน เพราะความคดิ สร้างสรรคจ์ ะเป็นสงิ่ แสดงความเจริญงอกงามทางความคดิ สตปิ ญั ญา และวุฒิ ภาวะของบคุ คลว่ามีมากหรือมีน้อยอยา่ งไรมีความหมายขององคค์ วามรู้ ประสบการณ์ ใหค้ วามสนุก ความสุข และความพอใจแก่ผู้เรียนและมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพของผู้เรียน และยังช่วยส่งเสริมผู้เรียน ในด้านส่งเสริมสุนทรียภาพ ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ สร้างนิสัยในการทางานท่ีดี และเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ศึกษาผู้เรียนส่วนใหญ่จะชอบทากิจกรรมที่ส่งเสริมให้เขาได้ใช้จินตนาการในการสร้างส่ิง ใหม่ๆ

46 1.2.3 องค์ประกอบของความคดิ สรา้ งสรรค์ อารี พันธม์ ณี (2537) ไดก้ ลา่ ววา่ ความคิดสรา้ งสรรค์เป็นความสามารถทาง สมองท่ีคิดไดก้ วา้ งไกลหลายทศิ ทาง หรอื เรยี กวา่ ลกั ษณะการคดิ แบบอเนกนยั หรอื การคดิ แบบกระจาย (Divergent thinking) ซ่ึงประกอบด้วยองคป์ ระกอบ ดังน้ี 1. ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหม่ แตกตา่ งจากความคิดธรรมดาหรือทีเ่ รยี กวา่ wild idea เปน็ ความคดิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ทั้งต่อตนเองและ สังคม ความคดิ รเิ ร่ิมอาจเกดิ จากการนาเอาความรเู้ ดิมมาคิดดดั แปลง และประยกุ ตใ์ ห้เกิดเป็นส่งิ ใหม่ 2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคลใน การคดิ หาคาตอบได้อย่างคลอ่ งแคล่ว รวดเรว็ และมปี รมิ าณท่ีมากในเวลาท่จี ากัด แบง่ ออกเปน็ 2.1 ความคิดคล่องแคล่วทางด้านถ้อยคา (Word fluency) เป็น ความสามารถในการใช้ถ้อยคาอย่างคล่องแคลว่ นั่นเอง 2.2 ความคิดคล่องแคล่วทางด้านการโยงสัมพันธ์ (Associational fluency) เป็นความสามารถท่ีหาถ้อยคาท่ีเหมือนกันหรือคล้ายกันได้มากที่สุดเท่าท่ีจะมากได้ภายใน เวลาทีก่ าหนด 2.3 ความคล่องแคล่วทางด้านการแสดงออก (Expressional fluency) เป็นความสามารถในการใช้วลีหรือประโยค กล่าวคือ สามารถที่จะนาคามาเรียงกันอย่าง รวดเรว็ เพ่ือให้ได้ประโยคท่ีตอ้ งการ 2.4 ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational fluency) เป็น ความสามารถท่ีจะคิดส่ิงที่ต้องการภายในเวลาที่กาหนด ความคล่องในการคิดมีความสาคัญต่อการ แก้ปัญหาเพราะในการแก้ปัญหาจะต้องแสวงหาคาตอบหรือวิธีแก้ไขหลายวิธี และต้องนาวิธีการ เหลา่ น้ันมาทดลองจนกว่าจะพบวิธกี ารที่ถกู ต้องตามท่ตี ้องการ Guilford (1991: 125-143) ได้ศึกษาเร่ืองความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงกล่าวไว้ว่า ความคดิ สรา้ งสรรค์มอี งคป์ ระกอบที่สาคัญประกอบดว้ ยลกั ษณะดังต่อไปนี้ 1. ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหม่ แตกต่างจากความคิดธรรมดา หรือความคิดง่ายๆ ที่เป็นความคิดท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 1. รปู ภาพ 2. สญั ลกั ษณ์

47 3. ภาษา 4. พฤตกิ รรม กิลฟอรด์ ได้สรุปว่า ความคิดสร้างสรรค์เปน็ ความสามารถด้านสมองทจี่ ะคิดได้หลาย แนวทางหรอื คดิ ได้หลายคาตอบ เรยี กว่า การคิดแบบอเนกนยั Dalton (1988: 5-6) กลา่ วว่า ความคิดสรา้ งสรรค์มีองค์ประกอบ 8 ประการ โดย 4 องค์ประกอบแรกเปน็ ความสามารถทางสตปิ ัญญาและ 4 องคป์ ระกอบหลังเปน็ ความสามารถทางด้าน จิตใจและความรู้สึก ดังนี้ 1. ความคดิ รเิ ริม่ (Originality) 2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) 3. ความคดิ ยดื หยุ่น (Flexibility) 4. ความประณีตหรอื ความละเอียดลออ (Elaboration) 5. ความอยากรอู้ ยากเห็น (Curiosity) 6. ความสลบั ซับซอ้ น (Complexity) 7. ความกล้าเสยี่ ง (Risk - taking) 8. ความคิดคานึงหรอื จติ นาการ (Imagination) 1.2.4 คณุ ลกั ษณะของคนที่มคี วามคดิ สร้างสรรค์ Baron and Welsh (1952) ได้ศกึ ษาคุณลักษณะของผู้ที่มีความคิดสรา้ งสรรค์ พบว่า คนที่มคี วามคดิ สร้างสรรค์น้ันชอบคิดอย่างซับซ้อน และสนกุ ตืน่ เต้นกบั การคน้ คว้าสง่ิ ต่างๆ ตลอดเวลา Garison (1954) ได้อธบิ ายถงึ ลักษณะของผทู้ มี่ คี วามคิดสรา้ งสรรค์ไวด้ งั นี้ 1. เป็นคนท่ีสนใจในปัญหา ยอมรับความเปล่ียนแปลง ไม่ถอยหนีปัญหาที่ จะเกิดข้ึน แต่กล้าท่ีจะเผชิญปัญหา กระตือรือร้น ที่จะแก้ไขปัญหาตลอดจนหาทางปรับปรุง เปลยี่ นแปลงพัฒนาตนและงานอยูเ่ สมอ 2. เป็นคนมีความสนใจกว้างขวาง ทันต่อเหตุการณ์รอบด้านต้องการการ เอาใจใส่ในการศึกษาหาความรู้จากแหล่งต่างๆ เพ่ิมเติมอยู่เสมอ พร้อมท้ังยอมรับข้อคิดเห็นจาก ข้อเขียนทีม่ สี ารประโยชน์ และนาข้อมูลเหล่าน้ันมาประกอบใช้พิจารณาปรับปรุงพฒั นางานของตน 3. เป็นคนท่ีชอบคดิ หาทางแก้ปญั หาได้หลายๆ ทาง เตรยี มทางเลอื กสาหรับ แก้ไขปัญหาไว้มากกว่า 1 วิธีเสมอ ทั้งนี้เพ่ือจะช่วยให้มีความคล่องตัวและประสบผลสาเร็จมากขึ้น เพราะการเตรียมทางแก้ไว้หลายๆ ทางย่อมสะดวกในการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้ และ ยงั เป็นการประหยัดเวลาและเพมิ่ กาลงั ใจในการแก้ไขปญั หาด้วย

48 4. เปน็ คนท่ีมสี ุขภาพรา่ งกายสมบูรณท์ ั้งร่างกายและจติ ใจ หรือสขุ ภาพกาย ดีสุขภาพจิตก็ดีน่ันเอง ท้ังน้ีเพราะมีการพักผ่อนหย่อนใจอย่างเพียงพอ และมีความสนใจต่อส่ิงใหม่ที่ พบ และยังเป็นช่างซักถามและจดจาได้ดี ทาให้สามารถนาข้อมูลที่จดจามาใช้ประโยชน์ได้ดี จึงทาให้ งานดาเนินไปไดด้ ว้ ยดี 5. เป็นคนที่ยอมรับและเช่ือในบรรยากาศและสภาพแวดล้อมว่ามี ผลกระทบต่อความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้น การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมว่า มีผลกระทบต่อ ความคิดสร้างสรรค์ดังน้ัน การจัดบรรยากาศ สถานที่ สิ่งแวดล้อมท่ีเหมาะสม จะสามารถขจัด สิง่ รบกวนและอปุ สรรค ทาให้การพฒั นาการคิดสร้างสรรค์เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ Mackinnon (1960) ได้ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ พบว่าผู้ที่มีความคิด สร้างสรรค์จะเป็นผู้ท่ีต่ืนตัวอยู่ตลอดเวลา มีความสามารถในการใช้สมาธิ มีความสามารถในการพินิจ วิเคราะห์ ความคิดถี่ถ้วนเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและมีความสามารถในการสอบสวน ค้นหา รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงอย่างละเอียดกวา้ งขวาง คุณลักษณะอีกประการหน่ึงก็คือ เป็นผู้ ที่เปิดรับประสบการณ์ต่างๆ อย่างไม่หลีกเลี่ยง (Openness to Experience) ชอบแสดงออกมา มากกว่าท่ีจะเก็บกดไว้ และยังกล่าวเพิ่มเติมว่า สถาปนิกท่ีมีความคิดสร้างสรรค์สูงมักเป็นคนที่รับรสู้ ิ่ง ต่างๆ ไดด้ กี วา่ สถาปนิกท่ีมคี วามคิดสร้างสรรค์ต่า From (1963) กลา่ วถงึ ลักษณะของคนทมี่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ไวค้ ่อนขา้ งละเอยี ดดังนี้ 1. มคี วามร้สู กึ ทึ่ง ประหลายใจทพ่ี บเห็นของใหมท่ ่ีน่าทึง่ (Capacity of be puzzled) หรอื ประหลาดใจ สนใจสงิ่ ท่ีเกิดขน้ึ ใหม่ หรือของใหม่ๆ 2. มีสมาธสิ ูง (Ability to Concentrate) การที่จะสร้างสง่ิ ใดกไ็ ด้ คิดอะไรออกก็ต้อง ไตร่ตรองในเรือ่ งนัน้ เป็นเวลานาน ผู้ทสี่ ร้างสรรคจ์ าเป็นจะต้องมคี วามสามารถทาจติ ใจให้เปน็ สมาธิ 3. สามารถที่จะยอมรับสิ่งที่ไม่แน่นอนและเป็นสิ่งที่เป็นข้อขัดแย้งและความตึง เครยี ดได้ (Ability to accept conflict and tension) 4. มีความเต็มใจท่ีจะทาส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นใหม่ทุกวัน (Wllingness to be born everyday) คอื มคี วามกลา้ หายและศรทั ธาทจี่ ะผจญต่อสง่ิ แปลงใหม่ทุกวัน Griswald (1966) พบว่าบุคคลดังกล่าวจะมองเห็นลู่ทางที่จะแก้ปัญหาได้ดีกว่า เนื่องจากมี ความตั้งใจจริง มีการรับรูเ้ ร็วและง่าย และมแี รงจงู ใจสงู

49 Torrance.(1962: 81–82) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับบุคลกิ ภาพของคนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ สูงจากการศึกษาพบว่าคนที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงเป็นคนท่ีมีความคิดแปลกไปจากคนอื่นและมี ผลงานท่ีทาไมซ่ า้ แบบใคร Cropley (1966: 124) กล่าวไว้ว่า ผู้มีความคิดสร้างสรรค์จะประกอบด้วยลักษณะที่สาคัญ 4 ประการ คือ มี 1. ประสบการณท์ ่ีกว้างขวาง (Procession of wide categories) 2. เตม็ ใจและพร้อมที่จะเส่ยี ง (Willingness to take risks) 3. เตม็ ใจและพร้อมทจ่ี ะกา้ วไปขา้ งหน้า (Willingness to have ago) 4. และสามารถทจ่ี ะยืดหยนุ่ ความคดิ ได้อย่างคลอ่ งแคล่วในระดับสูง Rice. (2007: 69) กลา่ วถงึ ลกั ษณะคนทม่ี คี วามคดิ สร้างสรรคม์ ีลักษณะ ดังน้ี 1. เป็นคนที่มีไหวพริบ 2. มคี วามสามารถในการประยกุ ต์ การตอบสนองท่ีแสดงออกถึงความคดิ ริเริ่ม และมคี วามยืดหยุ่น 3. มีอสิ ระในการคิดและแสดงออก 4. สนใจท่จี ะมปี ระสบการณ์ต่างๆ สังเคราะห์สง่ิ ทีไ่ ด้พบเหน็ รวมกับความรู้สกึ ภายในใจ 5. มคี วามสามารถในการหย่ังรู้ 6. มีความรเู้ ก่ยี วกับทฤษฎี และเขา้ ใจคุณคา่ ของความงาม 7. รจู้ ักตนเอง เขา้ ใจถงึ จดุ มุง่ หมายของสิง่ ต่าง ๆ 8. เขา้ ใจในสภาพของตนในกระบวนการทต่ี นมสี ่วนร่วม 1.2.5 ปจั จัยทม่ี อี ิทธิพลตอ่ ความคิดสร้างสรรค์ ประสาท อิศรปรีดา (2538: 8–9) กล่าวถึง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ ว่าความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะอยู่ในระดับบุคคล ระดับกลุ่มหรือระดับสังคมก็ตาม จะข้ึนอยู่กับปัจจัย 2 ส่วน คอื 1. ปัจจยั ท่ีเปน็ สว่ นของความสามารถ (Abilities) ทักษะทางการคิด (Skills) ซึ่งเป็นศักยภาพท่ีมีอยู่ภายในตวั บคุ คล 2. ปัจจัยทางแรงจูงใจ (Motivation) ที่อาจเกิดจากการกระตุ้นจาก ภายนอกอีกส่วนหน่ึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ จะต้องมีปัจจัยหลายๆ อย่างที่เอื้อซึ่งกันและกัน เสมอ น่ันคือ ไม่เพียงแต่มี แรงจูงใจ มีทักษะ หรือความสามารถที่จะคิดสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหน่ึง

50 เพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่จะต้องมีศักยภาพทางการคิด (Cognitive) มีความอดทน ความอยากรู้ อยากเหน็ กล้าเส่ียง ซึ่งเปน็ คณุ ลักษณะทางอารมณ์ 1.2.6 ประโยชนข์ องความคิดสรา้ งสรรค์ 1. ทาให้เกิดความเปล่ียนแปลงทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆในการดาเนินชีวิต และหนทางใหม่ในการแก้ปัญหาชีวิตและการทางาน 2. ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ท่ีต้องค้นหาวิธีการคิดใหม่ๆ ข้นึ มาทดแทน 3. ความคิดเก่าๆสาหรับโลกที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว การที่มนุษย์ ต้องคิดอะไรใหม่ๆอยเู่ สมอย่อมเปน็ เรื่องสนกุ เพราะทาให้ชีวติ ไมจ่ าเจ 4. พัฒนาสมองของคนใหม้ ีความฉลาดเฉียบคม การฝึกการคดิ หรอื พยายาม คดิ เรื่องท่ีแปลกๆใหมๆ่ เป็นประจา จะทาให้เกดิ ความเฉียบแหลมในการคิดแกป้ ัญหาตา่ งๆเพิ่มข้ึน 5. สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา เมื่อใด ก็ตามท่ีเราพัฒนาขีดความสามารถในการคิดสร้างสรรค์จนสามารถเผชิญหน้าและและแก้ปัญหาต่างๆ ได้อยา่ งราบรื่นกจ็ ะกลายเปน็ ผ้นู าทางด้านความคิดและเกิดความภมู ใิ จในตนเอง นอกจากนี้ความคิดสร้างสรรค์ยังช่วยยกระดับความสามารถ ความอดทนและ ความคิดริเริ่มของผู้นาให้ เพ่ิมมากขึ้น และยังเป็นการพัฒนาความสนใจในงาน พัฒนาการใช้เวลาว่าง ใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ละพฒั นาชีวติ ใหท้ นั สมัยมากขนึ้ 2 มีความสามารถด้านเศรษฐกจิ 2.1 ความสาคัญของด้านมีความสามารถด้านเศรษฐกจิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กล่าวถึงมาตรฐานทางด้าน เศรษฐกิจท่ใี ชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการศกึ ษาพฒั นาผเู้ รยี นใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ตามท่ีชาติต้องการไว้วา่ มาตรฐานที่ 1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลติ และบรโิ ภคการ ใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพอื่ การดารงชีวติ อย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐานที่ 2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจ และความจาเป็นในการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546: 39 - 64) เสนอความเห็นจาก เอกสารเร่อื งวิธกี ารเรยี นรู้ของคนไทย ซึง่ จัดทาโดยคณะทางานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook