19061 7. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1-2 ขนั้ นํา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนความรู้เดิม เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยครูเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ครูอาจให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ผลของ ความเร่งท่มี ตี ่อการเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์” 2. ครูถามคําถามกระตุ้นความสนในกับนักเรียนว่า “ผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบวงกลม เป็น อย่างไร” (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) แล้วสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยจะยังไม่เฉลยคําตอบนั้นถูก หรือผดิ 3. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรยี นรูใ้ หน้ กั เรียนทราบ 4. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบ วงกลม มีลักษณะเฉพาะอยา่ งไร” (แนวตอบ : ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นความเร่งที่มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของวงกลม ตลอดเวลาเช่นเดยี วกบั แรงสูศ่ ูนยก์ ลาง) ขนั้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรยี นจับคู่กับเพื่อนทนี่ ่ังข้าง ๆ จากนั้นครูให้นักเรยี นสบื เสาะหาความรู้ เรื่อง การเคล่ือนที่แบบ วงกลม จากหนงั สือเรยี น 2. ครตู ง้ั คําถามกับนกั เรยี นว่า “แรงมีผลตอ่ การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุทเี่ คลอื่ นทีเ่ ปน็ วงกลมอย่างไร และทศิ ทาง ของแรงมีลกั ษณะอย่างไร” โดยครสู ุ่มนักเรียนเป็นบางคใู่ หย้ นื ขึ้นแล้วตอบคําถาม (แนวตอบ : วตั ถทุ มี่ ีการเคลือ่ นที่แบบวงกลมจะมีแนวการเคล่ือนท่เี ป็นเสน้ โค้ง มแี รงท่ตี ้งั ฉากกับทิศทาง ของความเรว็ มากระทาํ ตลอดเวลา วัตถุจึงเคล่อื นที่แบบวงกลมได้)
10927 3. ครูนําเชือกมา 1 เส้น พร้อมผูกวัตถุชิ้นหนึ่งไว้ที่ปลายด้านหนึ่งของเชือก แล้วแกว่งเชือกให้วัตถุที่ผูกไว้ เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง พร้อมกับให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นกับความเร็ว ของวตั ถุ แรงส่ศู ูนยก์ ลาง ความเรง่ สศู่ ูนย์กลาง จากหนังสือเรียน 4. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุ่มกันเองอยา่ งอิสระ กล่มุ ละ 3-4 คน แลว้ ศกึ ษากิจกรรม การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม ในแนวดิง่ จากหนงั สือเรยี น 5. ครูช้แี จงจุดประสงคข์ องกิจกรรมใหน้ กั เรียนทราบ เพอื่ เป็นแนวทางการปฏิบตั ิท่ีถูกต้อง 6. ครูใหค้ วามรูเ้ พิ่มเติมหรือเทคนิคเก่ียวกับการปฏิบัติกิจกรรม จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นทุกกลุม่ ลงมอื ปฏิบัติตาม ขนั้ ตอน 7. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั พูดคยุ วเิ คราะหผ์ ลการปฏบิ ัติกิจกรรม แล้วอภปิ รายผลร่วมกัน 8. ครูเนน้ ยํา้ ให้นกั เรียนตอบคาํ ถามทา้ ยกจิ กรรม จากหนังสือเรยี น ลงในสมดุ บันทึกประจาํ ตัว อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาหน้าชนั้ เรยี น เพอื่ นําเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลท้ายกิจกรรมร่วมกัน เพื่อสรุปเกี่ยวกับ ผลของความเร่งที่มีต่อการ เคลื่อนที่แบบวงกลม และสรุปขนาดของแรงสู่ศูนย์กลาง ณ ตําแหน่งต่าง ๆ ของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ น วงกลมให้นักเรียนเขา้ ใจไปในแนวทางเดยี วกนั อีกคร้ัง 3. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมหลังทํากจิ กรรมว่า นอกจากการเคลอื่ นท่ีแบบวงกลมท่ีได้ทําการศกึ ษามาแลว้ น้นั การ เคลือ่ นท่ขี องรถยนตห์ รือรถจักรยานยนต์บนถนนโค้ง ก็เป็นการเคลื่อนท่แี บบวงกลมอีกเช่นกนั โดยเป็น การนําความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมมาอธิบายได้เช่นกนั เช่น การเข้าโค้งของรถจะมีแรงเสียด ทานระหว่างล้อรถกับพื้นถนนในทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของทางโค้ง ดังนั้น แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นน้ี เปรยี บเสมอื นแรงสศู่ ูนยก์ ลางในการเคลอ่ื นทแี่ บบวงกลม 4. ครอู ภปิ รายการแกโ้ จทย์ปญั หาเกี่ยวกบั Σ���⃑��� = 0 และ ������������ = ������ 5. ครูแจกใบงานที่ 1.7 เรือ่ ง การเคลอ่ื นที่แบบวงกลม แลว้ มอบหมายใหน้ าํ กลับไปศึกษาเป็นการบ้าน ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนําอภิปรายสรปุ เนือ้ หา โดยเปิด PowerPoint เรื่องท่สี อนไปแล้วควบคไู่ ปด้วย 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนสอบถามเก่ียวกบั สง่ิ ที่สงสัยหรอื ยังไมเ่ ข้าใจเพ่มิ เติม 3. ครูใหน้ ักเรยี นทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรอื่ ง การเคล่ือนทแ่ี บบวงกลม และยกตัวอย่าง กจิ กรรมในชวี ติ ประจําวันท่ีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนทแี่ บบวงกลม ลงในกระดาษ A4 พร้อมทั้งตกแต่งให้ สวยงาม
19083 (หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน) 4. ครูสุม่ เลือกนักเรยี นออกไปนาํ เสนอผังมโนทศั น์ของตนเองหนา้ ชน้ั เรยี น (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินการนาํ เสนอผลงาน) 5. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม จากหนังสือ เรยี น ลงในสมุดบนั ทกึ ประจําตัว แล้วนาํ มาสง่ ครูท้ายชวั่ โมง 6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 เป็นการบา้ น แลว้ มาสง่ ครใู นชวั่ โมงถัดไป ขนั้ สรปุ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ การเคลื่อนที่แบบวงกลม เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีความ เข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแล้วไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง โดยครูให้นักเรียน เขียนสรปุ ความร้ลู งในสมดุ บันทึกประจําตวั 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงานที่ 1.7 เรือ่ ง การเคลื่อนทแี่ บบวงกลม 3. ครตู รวจแบบฝกึ หดั จาก Topic Question เร่ือง การเคล่อื นท่แี บบวงกลม ในสมุดบนั ทกึ ประจําตัว 4. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 5. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทํางานกลมุ่ 6. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม ที่นักเรียนได้สร้างขึ้น จากขั้นขยายความเข้าใจเป็นรายบุคคล 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แรงและการเคล่ือนที่ 2) แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 แรงและการเคล่ือนท่ี 3) ใบงานท่ี 1.7 เรื่อง การเคล่ือนท่แี บบวงกลม 4) PowerPoint เรื่อง การเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลม
19094 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 7) หอ้ งเรยี น 8) หอ้ งสมุด 9) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 9. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วธิ วี ัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 9.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่ือง - แบบประเมินชิน้ งาน/ ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน การเคลอื่ นทีแ่ บบวงกลม ภาระงาน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 9.2 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานที่ 1.7 - ใบงานท่ี 1.7 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การจดั กจิ กรรม - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัด ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 1) การเคลอื่ นทีแ่ บบ - ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ วงกลม - ระดบั คุณภาพ 2 2) การนําเสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ - แบบประเมนิ การ ผา่ นเกณฑ์ - ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน นําเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ทํางานรายบคุ คล การทาํ งานรายบุคคล รายบุคคล (สมรรถนะของผู้เรยี น) 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกล่มุ 5) คุณลกั ษณะอันพงึ - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั คณุ ลกั ษณะ ในการทํางาน อันพงึ ประสงค์
110050 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทกั ผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรียนท่ีผ่าน จานวนนักเรยี นทไ่ี ม่ผา่ น จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
110061 ลงชอ่ื ................................................................ () ตําแหนง่ ครวู ิทยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ลงช่ือ................................................................ () รองผ้อู ํานวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ ความคดิ เห็นของหัวหน้าสถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คดิ เหน็ ดงั น้ี 1. เปน็ แผนการเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจัดกจิ กรรมไดน้ าํ เอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผ้เู รียนเป็นสําคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผเู้ รียนเป็นสําคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 3. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ผู้อํานวยการโรงเรียน........................................
1072 ใบงานท่ี 1.7 เรื่อง การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. การเคลื่อนท่แี บบวงกลมคืออะไร และมลี กั ษณะอยา่ งไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. เชือกเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร ทนแรงดึงได้สูงสุด 100 นิวตัน เมื่อนําวัตถุมวล 4 กิโลกรัม มาผูกที่ปลายข้าง หน่ึงของเชือก และนําปลายอีกข้างหน่ึงของเชือกตรึงไว้กบั จุดบนพื้นท่ีไม่มีแรงเสียดทาน จากน้ันทําให้วัตถุ เคลอ่ื นที่เป็นวงกลมบนพื้นระดบั อยากทราบว่าความเร็วสูงสดุ ของวัตถนุ ก้ี อ่ นทีเ่ ชือกจะขาด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
1083 เฉลยใบงานที่ 1.7 เรื่อง การเคล่ือนที่แบบวงกลม คาช้แี จง : ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. การเคล่อื นทแี่ บบวงกลมคืออะไร และมลี กั ษณะอย่างไร การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแนวการเคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วนของ วงกลม โดยจะมีแรงกระทําต้ังฉากกบั ทิศทางของความเร็วในแนวเส้นสัมผัสวงกลมตลอดการเคลื่อนที่ การ เคลื่อนทแ่ี บบวงกลมวัตถุจะเคลื่อนที่ซ้ําแนวการเคล่ือนท่เี ดิม ชว่ งเวลาท่วี ตั ถุใช้ในการเคล่ือนที่ครบ 1 รอบ เรียกว่า คาบ และจํานวนรอบที่วัตถุเคล่ือนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่า ความถ่ี และการที่ทิศทางของ ความเร็วเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจึงถือว่าเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง ซึ่งความเร่งนี้เป็นความเร่ง เขา้ สศู่ นู ยก์ ลางของวงกลมตลอดเวลาเชน่ กนั เรียกว่า ความเร่งสศู่ นู ยก์ ลาง 2. เชือกเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร ทนแรงดึงได้สูงสุด 100 นิวตัน เมื่อนําวัตถุมวล 4 กิโลกรัม มาผูกที่ปลายข้าง หนึ่งของเชอื ก และนาํ ปลายอีกข้างหนึ่งของเชือกตรึงไว้กบั จุดบนพื้นท่ีไมม่ ีแรงเสียดทาน จากนั้นทําให้วัตถุ เคลื่อนที่เป็นวงกลมบนพืน้ ระดบั อยากทราบว่าความเร็วสูงสุดของวตั ถนุ ้กี ่อนทเี่ ชอื กจะขาด วธิ ที า จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน Σ������ = 0 ������������ = ������ ������������2 = ������ ������ (4)������2 = 100 4 4������2 = (100)(4) 4������2 = 400 ������2 = 400 4 ������2 = 100 ������ = 10 ������/������ ดงั นน้ั ความเร็วสงู สดุ ของวตั ถนุ ้ีกอ่ นทีเ่ ชอื กจะขาดเทา่ กบั 10 เมตรตอ่ วินาที
1094 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................
111005 เกณฑ์ประเมนิ ผังมโนทัศน์ ประเด็นทปี่ ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง กับจุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จดุ ประสงค์ทุก จุดประสงค์เปน็ ส่วน จุดประสงค์บาง ถกู ต้องสมบูรณ์ เนื้อหาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเดน็ ผลงานไมถ่ ูกตอ้ งเปน็ 3. ผลงานมีความคดิ สว่ นใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไมแ่ สดง แนวคิดใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถูกต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคิด ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่แตย่ ังไม่ นา่ สนใจ แต่ยังไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เป็นระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมคี วามเป็น ผลงานสว่ นใหญ่ไม่ เปน็ ระเบยี บ ระเบียบแสดงออกถงึ ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแต่มี เปน็ ระเบียบและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางส่วน ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตํ่ากว่า 8 ปรับปรุง
11016 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนื้อหา 2 ความคิดสรา้ งสรรค์ 3 วธิ กี ารนําเสนอผลงาน 4 การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชอื่ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............/................./.................. เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรับปรงุ
111027 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น รวม 15 ลาดับ ชอ่ื -สกุลของนักเรยี น ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปญั หา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/.................../................
111038 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เก่ยี วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าทค่ี วร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ
110194 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............
1105 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรับปรงุ
111161 05 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่ือง การเคล่อื นท่ีแบบสัน่
1172 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ เรือ่ ง การเคลื่อนทแ่ี บบสน่ั เวลา 3 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่อื นที่แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นาํ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 2.2 ม.5/5 สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การ เคลื่อนที่แนวตรง การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนทแี่ บบวงกลม และการเคล่ือนที่แบบส่นั 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนที่ แนวตรงการเคล่อื นท่แี บบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนทแี่ บบวงกลม และการเคล่ือนท่แี บบส่นั ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสงั เกตผลของความเร่งที่มตี อ่ การเคลอ่ื นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนทีแ่ นว ตรงการเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ การเคล่อื นที่แบบวงกลม และการเคลอื่ นท่แี บบส่ันได้ (P) 3. นกั เรียนมคี วามสนใจใฝ่รู้ และทาํ งานร่วมกบั ผ้อู น่ื อย่างสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ การเคลื่อนที่แบบสั่นหรือการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion) เป็นการเคลื่อนท่ี กลับไปกลับมารอบตําแหน่งสมดุลหรือตําแหน่งที่แรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุเป็นศูนย์ด้วยความเร่งที่มีทิศเข้า หา ตําแหน่งสมดุลตลอดเวลา โดยการเคลือ่ นที่แบบสั่นท่ีพบเห็นได้บ่อยในชวี ิตประจําวัน ได้แก่ การแกว่งของวัตถุติด ปลายเชือก และการส่ันของวัตถตุ ิดปลายสปริง
1183 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - ลักษณะของการเคลือ่ นทีแ่ บบส่นั 4.2 ด้านทักษะ (P) - นําหลกั การของการเคลื่อนท่แี บบสน่ั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอ่ื สัตย์สุจริต 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มนั่ ในการทํางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 ผงั มโนทศั น์ เร่อื ง การเคลือ่ นที่แบบสน่ั 6.2 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่ือง แรงและการเคล่ือนท่ี 6.3 แบบฝึกหัด เร่ือง การเคล่ือนท่ีแบบสั่น จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5
1149 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ข้นั นํา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนความรู้เดิม เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระ 2. ครใู ห้นกั เรียนสงั เกตและอธบิ ายการเคลอ่ื นท่ขี องลูกตุม้ นาฬิกา และการเคล่อื นทีข่ องต๊กุ ตาติดสปรงิ 3. ครูตั้งคําถามกระตุ้นความสนใจกับนักเรียนเกี่ยวกับ “การกระจัดของลูกตุ้มนาฬิกาและสปริงในการ เคลื่อนที่แบบสั่นเป็นอย่างไร” (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) แล้วสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยจะยังไม่ เฉลยคาํ ตอบถกู หรือผิด 4. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ให้นักเรียนทราบ 5. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบส่ัน มลี ักษณะเฉพาะอย่างไร” (แนวตอบ : ความเรง่ ในการเคลื่อนที่แบบสั่นเป็นความเร่งท่ีไม่คงตวั ขนาดของความเร่งจะแปรผันตรงกับ ขนาดของการกระจดั จากตําแหน่งสมดุล ซึง่ ขนาดของความเร่งจะมีค่าสูงสุดท่ีตําแหน่งไกลสดุ ของการสั่น และมีค่าเปน็ ศนู ยท์ ่ตี ําแหน่งสมดุล โดยความเร่งมที ิศพุ่งออกจากจุดสมดลุ ตลอดเวลาและมีทิศตรงข้ามกับ การกระจดั ตลอดเวลา) 6. ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ตงั้ คําถามทต่ี ้องการรู้จากเน้ือหาท่ีเกีย่ วข้องกบั เร่อื ง การเคลือ่ นที่แบบส่นั
12105 ข้ันสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นักเรียนศึกษา เร่อื ง การเคลือ่ นทีแ่ บบสน่ั ในสว่ นของหวั ข้อ การแกว่งของวตั ถตุ ิดปลายเชือก จาก หนังสอื เรียน 2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตามผลสัมฤทธ์ิ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อร่วมกันศึกษากิจกรรม การเคลื่อนที่แบบแกว่ง จาก หนังสือเรียน โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มกําหนดใหส้ มาชิกแต่ละคนมบี ทบาทหนา้ ที่ของตนเอง เชน่ a. สมาชิกคนท่ี 1 : เตรียมวัสดุอุปกรณ์ b. สมาชกิ คนที่ 2 : อ่านและศึกษาวิธีปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แลว้ นํามาอธบิ ายสมาชกิ ในกลุ่ม c. สมาชกิ คนที่ 3 : บนั ทึกผลการปฏบิ ัติกิจกรรม d. สมาชิกคนท่ี 4-5 : คน้ คว้าเพม่ิ เติม หาแหล่งขอ้ มลู อา้ งอิงเพ่อื สนับสนนุ การปฏิบตั กิ ิจกรรม e. สมาชกิ คนที่ 6 : นําเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม 3. ครูชีแ้ จงจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมให้นักเรียนทราบ เพือ่ เป็นแนวทางการปฏบิ ตั ิท่ถี ูกต้อง 4. ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเตมิ หรอื เทคนิคเกี่ยวกับการปฏิบตั ิกิจกรรม จากน้ันใหน้ ักเรียนทกุ กลุ่มลงมอื ปฏิบัติตาม ขนั้ ตอน 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และวิเคราะห์ผลการปฏิบัติกิจกรรม แล้วอภิปรายผล ร่วมกัน 6. ครูเน้นยํ้าให้นักเรียนตอบคําถามท้ายกิจกรรม จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพื่อนําส่งครู เปน็ การตรวจสอบความเขา้ ใจจากการปฏิบัติกิจกรรม อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้แตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมาหนา้ ชั้นเรียน เพือ่ นําเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. ครูสุ่มนักเรียนเพ่ือถามคาํ ถามท่เี ก่ยี วข้องกับกิจกรรม เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายผลทา้ ยกิจกรรมและสรุปความรู้ร่วมกนั
11261 ช่ัวโมงท่ี 2-3 ข้นั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นักเรียนจับค่กู บั เพอื่ นอยา่ งอิสระ แลว้ ร่วมกันศึกษาเกยี่ วกบั การสนั่ ของวตั ถุตดิ ปลายสปรงิ 2. ครูมอบหมายให้แต่ละคู่พดู คุยเก่ยี วกับเนื้อหาทกี่ ําลังศึกษา แลว้ เขยี นสรปุ ลงในสมุดบันทกึ ประจําตวั อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรยี น จากนั้นครูใหน้ ักเรียนอภิปรายผลการศกึ ษาของคู่ตนเองให้เพื่อนใน ชน้ั เรียนฟงั โดยครูอาจอธิบายเพ่มิ เติมจากส่งิ ท่นี กั เรียนได้อภิปราย 2. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม จาก หนงั สอื เรยี น ลงในสมดุ บนั ทกึ ประจาํ ตวั แลว้ นํามาสง่ ครูทา้ ยช่ัวโมง 3. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 เปน็ การบา้ น แลว้ มาส่งครใู นช่วั โมงถัดไป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ําอภปิ รายสรุปเนอ้ื หา โดยเปิด PowerPoint เรือ่ งทส่ี อนไปแลว้ ควบคไู่ ปดว้ ย 2. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเกี่ยวกับสงิ่ ท่ีสงสยั หรอื ยงั ไมเ่ ข้าใจเพิ่มเติม 3. ครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น และยกตัวอย่าง กิจกรรมในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบสั่น ลงในกระดาษ A4 พร้อมทั้งตกแต่งให้ สวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน) 4. ครสู มุ่ เลือกนักเรยี นออกไปนาํ เสนอผังมโนทศั น์ของตนเองหน้าช้นั เรยี น (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 5. ครใู หน้ ักเรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง ด้วยกรอบ Self Check เรอื่ ง แรงและการเคลื่อนที่ จาก หนงั สือเรยี น ลงในสมุด
11272 6. ครมู อบหมายให้นักเรียนอธิบายลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบส่ันและทําแบบฝึกหัดจาก Unit Question หน่วย การเรียนรู้ที่ 1 แรงและการเคลื่อนท่ี จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุดเป็นการบ้าน แล้วรวบรวมส่งครู เพือ่ ตรวจสอบและใหค้ ะแนน 7. ครูใหน้ ักเรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั เรียนของนกั เรยี น ขนั้ สรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้เกี่ยวกับ การเคลื่อนที่แบบสั่น เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจ ในเนือ้ หาที่ได้ศึกษามาแลว้ ไปในทางเดียวกัน และเปน็ ความเข้าใจท่ถี ูกต้อง โดยครใู หน้ ักเรียนเขียนสรุป ความรลู้ งในสมุดบนั ทกึ ประจาํ ตัว 2. ครูตรวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั เรยี นของนักเรียน 3. ครูตรวจแบบฝกึ หดั จาก Topic Question เรอ่ื ง การเคลอ่ื นที่แบบสัน่ ในสมุดบนั ทึกประจําตวั 4. ครูตรวจแบบฝึกหัดจาก Unit Question หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ ในสมุดบันทึก ประจาํ ตวั 5. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง Self Check จากหนังสือเรียน ในสมุดบันทึก ประจําตวั 6. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทาํ งานกลมุ่ 8. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น ที่นักเรียนได้สร้างขึ้นจาก ข้นั ขยายความเข้าใจเปน็ รายบคุ คล 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แรงและการเคลือ่ นที่ 2) แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 แรงและการเคล่อื นที่ 3) แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นร่ทู ่ี 1 แรงและการเคลื่อนที่ 4) PowerPoint เร่อื ง การเคลือ่ นทีแ่ บบสน่ั
111283 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 1) หอ้ งเรยี น - ระดบั คุณภาพ 2 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ ผ่านเกณฑ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 9. การวัดและประเมินผล รายการวดั ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 9.1 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เร่ือง - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน การเคลื่อนทแี่ บบวงกลม ภาระงาน - ระดบั คุณภาพ 2 9.2 การประเมินระหวา่ ง - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์ - ระดบั คณุ ภาพ 2 การจัดกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ 1) การเคล่ือนทแี่ บบสนั่ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 2) การนําเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาํ เสนอ - แบบประเมินการ ผลงาน นาํ เสนอผลงาน 3) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม รายบุคคล (สมรรถนะของ การทํางานรายบุคคล รายบคุ คล ผู้เรียน) 4) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม กลุ่ม การทํางานกลุ่ม การทํางานกลุ่ม 5) คุณลกั ษณะอนั พึง - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมิน ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ ม่ัน คุณลกั ษณะ ในการทาํ งาน อนั พึงประสงค์ 9.3 การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบทดสอบหลังเรยี น - แบบทดสอบหลังเรียน เรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรงและการ เคลือ่ นที่
112149 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทกั ผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรยี นท่ีผ่าน จานวนนักเรยี นทไี่ ม่ผา่ น จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
1205 ลงชอ่ื ................................................................ () ตําแหนง่ ครูวิทยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ลงช่ือ................................................................ () รองผอู้ าํ นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ความคดิ เห็นของหัวหน้าสถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คดิ เหน็ ดงั น้ี 1. เปน็ แผนการเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ําเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผ้เู รียนเป็นสําคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไมเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสําคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 3. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ผู้อาํ นวยการโรงเรียน........................................
1216 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ท้งั หมด 1. มวล นาํ้ หนัก 2. ความเรง่ มวล 3. ความเรว็ ความเร่ง 4. ระยะทาง อัตราเรว็ 5. ระยะทาง การกระจดั 2. โยนวัตถชุ ิ้นหนง่ึ ขึ้นตรง ๆ ในแนวดิง่ เมอื่ วตั ถขุ ึน้ ไปถึงตําแหนง่ สงู สุด ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ ง 1. วตั ถุมีนาํ้ หนกั เพ่ิมขนึ้ 2. วตั ถุมีอตั ราเร็วเพม่ิ ขึ้น 3. วัตถมุ ีความเรว็ เปน็ ศนู ย์ 4. วัตถุมีความเร็วสูงสุดของการเคลอ่ื นที่ 5. วัตถมุ คี วามเรง่ เปน็ สองเทา่ ของความเรว็ ต้น 3. นักเรียนเดินจากบ้านไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 80 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 60 เมตร โดยใช้เวลาในการเดิน 10 วินาที นักเรยี นเดนิ ดว้ ยอตั ราเรว็ เฉลีย่ เทา่ ใด 1. 10 m/s 2. 12 m/s 3. 14 m/s 4. 16 m/s 5. 20 m/s
1227 4. นักเรียนคนหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วคงตัว 30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง นักเรียนจะว่ิงไปไดเ้ ป็นระยะทางเท่าใดในเวลา 5 นาที 1. 1.5 กิโลเมตร 2. 2.0 กโิ ลเมตร 3. 2.5 กิโลเมตร 4. 3.0 กิโลเมตร 5. 3.5 กิโลเมตร 5. นายฉยี ืนอย่บู นชั้นดาดฟ้าของตึกสูง 30 เมตร โยนวตั ถขุ ้ึนในแนวด่ิงที่สงู จากชั้นดาดฟ้า 5 เมตร วัตถุลอยข้ึนไป แลว้ ตกลงมายังพนื้ ดนิ ดา้ นล่าง วตั ถมุ ีการกระจัดและระยะทางเทา่ ใด 1. การกระจดั 5 เมตร ระยะทาง 25 เมตร 2. การกระจดั 5 เมตร ระยะทาง 35 เมตร 3. การกระจัด 30 เมตร ระยะทาง 25 เมตร 4. การกระจดั 30 เมตร ระยะทาง 35 เมตร 5. การกระจดั 35 เมตร ระยะทาง 35 เมตร 6. ความเรง่ เป็นปรมิ าณชนดิ ใด และมีหนว่ ยตรงกบั ขอ้ ใด 1. ปริมาณสเกลาร์ มีหนว่ ยเปน็ เมตรต่อวนิ าที 2. ปรมิ าณเวกเตอร์ มีหนว่ ยเป็น เมตรตอ่ วนิ าที 3. ปรมิ าณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตรตอ่ วินาที2 4. ปรมิ าณเวกเตอร์ มีหนว่ ยเปน็ เมตรต่อวนิ าที2 5. ปริมาณเวกเตอร์ มหี น่วยเป็น เมตรต่อวินาที3 7. วัตถจุ ะเคลอ่ื นท่ดี ้วยความเร่งเมอ่ื ใด 1. วตั ถเุ คล่อื นท่ีเป็นเสน้ ตรงดว้ ยอัตราเร็วคงตวั 2. วตั ถเุ คลือ่ นที่เป็นเสน้ ตรงดว้ ยระยะทางคงตวั 3. วัตถุเคลื่อนที่เปน็ เส้นตรงด้วยการกระจดั คงตัว 4. วัตถุเคลือ่ นที่เปน็ เสน้ ตรงด้วยอตั ราเร็วไม่คงตัว 5. วัตถุเคลอ่ื นทเี่ ปน็ เสน้ ตรงด้วยการกระจดั ไม่คงตวั
1283 8. สภาพการเคล่อื นที่ของวัตถใุ นข้อใดที่ไม่มคี วามเรง่ 1. รถยนต์กาํ ลงั เบรกกะทนั หัน 2. ลกู บาสเกตบอลเคลือ่ นท่ลี งห่วง 3. นกั เรยี นคนหน่ึงยนื อยู่นง่ิ ๆ บนพ้ืน 4. รถจกั รยานยนต์เคลือ่ นท่ผี ่านทางโค้ง 5. ก้อนหนิ กล้ิงตกจากหนา้ ผาสงู ลงสพู่ น้ื ราบ 9. รถคันหน่งึ มีความเร็วต้นถึงความเรว็ สุดท้ายแตกต่างกัน 8 เมตรต่อวินาที ใชเ้ วลาต่างกนั 4 นาที จงหาความเร่ง ของรถคนั น้ี 1. 1 ������/������2 2. 2 ������/������2 3. 3 ������/������2 4. 4 ������/������2 5. 5 ������/������2 10.นํ้าหนักของวตั ถเุ กิดจากอะไร 1. สีของวตั ถุ 2. พนื้ ผิวของวตั ถุ 3. รูปทรงของวตั ถุ 4. ปรมิ าตรของวตั ถุ 5. แรงทีโ่ ลกดงึ ดดู วัตถุ เฉลย 1. 3 2. 3 3. 3 4. 3 5. 4 6. 4 7. 4 8. 3 9. 2 10. 5
112249 แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 2 ความถกู ต้องของเน้อื หา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบยี บ รวม ลงช่อื ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............../................./................
12350 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญไ่ ม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ
12361 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา 2 ความคิดสร้างสรรค์ 3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน 4 การนําไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ
13227 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น รวม 15 ลาดับ ชอ่ื -สกุลของนักเรยี น ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปญั หา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/.................../................
12383 เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ด)ี 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง) ในการสือ่ สาร ไม่มีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการส่ือสาร 2. ความสามารถ ในการคิด การสอื่ สาร การสือ่ สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ย่ยี ม ออกมาได้ดี ชดั ออกมาได้ระดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เก่ียวกับ ในการ ปญั หาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรับปรุง แกป้ ญั หาเฉพาะ หน้าได้ มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถ การคิดอยา่ ง การคิดตัดสินใจ การคดิ ตดั สนิ ใจ ตัดสินใจเกีย่ วกบั สรา้ งสรรค์ เกี่ยวกบั ปัญหา เกยี่ วกับปัญหา ปัญหาของตนได้ ตดั สินใจเกยี่ วกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ ีเท่าทคี่ วร ปญั หาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มคี วามสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แกป้ ญั หาเฉพาะ แกป้ ญั หาเฉพาะ แกป้ ญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ หนา้ ได้ทุก หน้าไดเ้ กือบทุก หน้าไดบ้ าง หนา้ ไดย้ งั ไมด่ ี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทค่ี วร เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ
13249 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนักเรียน ความ ยอมรับฟัง ตามท่ี น้าใจ ในการ 15 คิดเหน็ ไดร้ ับ ปรับปรงุ คะแนน คนอ่นื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............
1350 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ
1316 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ดา้ น 321 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทสี่ ร้างความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน 1.3 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนับถอื ปฏบิ ัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่เี กีย่ วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ตามทโ่ี รงเรยี นจัดข้นึ 2. ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ ้อมลู ที่ถกู ตอ้ งและเปน็ จริง 2.2 ปฏิบตั ิในส่ิงที่ถูกต้อง 3. มวี นิ ยั รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครวั มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจําวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ร้จู ักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คําสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรพั ย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและรู้คณุ คา่ 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั และมีการเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มน่ั ในการทํางาน 6.1 มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทาํ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสําเรจ็ 7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มีจิตสาํ นกึ ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครทู ํางาน 8.2 รจู้ ักการดแู ลรกั ษาทรัพย์สมบตั ิและสง่ิ แวดล้อมของห้องเรยี นและโรงเรียน ลงช่ือ .................................................... ผ้ปู ระเมิน ............/.................../...............
1372 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมา่ํ เสมอ ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ิบางคร้งั เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 – 60 ดมี าก 41 – 50 ดี 30 – 40 พอใช้ ตา่ํ กว่า 30 ปรับปรงุ
138 133 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ผนการเรจื่อดั งกแารรงเใรนยี ธนรรรมู้ชาติ
113394 06 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรอื่ ง แรงจากสนามโนม้ ถว่ ง
13450 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 แรงในธรรมชาติ เรื่อง แรงจากสนามโน้มถ่วง เวลา 5 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนทแ่ี บบต่างๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นาํ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.2 ม.5/6 สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายแรงโน้มถว่ งที่เก่ียวกบั การเคลอื่ นทข่ี องวัตถุต่าง ๆรอบโลก 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายแรงโน้มถว่ งที่เกยี่ วกบั การเคลือ่ นท่ขี องวัตถุต่าง ๆรอบโลกได้ (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลแรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆรอบโลกได้ (P) 3. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลและอธบิ ายแรงโน้มถ่วงที่เก่ียวกบั การเคลอื่ นทข่ี องวัตถุต่าง ๆรอบโลก (A) 3. สาระสาคัญ ในบริเวณที่มีสนามโน้มถ่วง (gravitational field) จะมีแรงโน้มถ่วงและแรงดึงดูดของโลกกระทําต่อวัตถุ ทําให้สิ่งต่าง ๆ มีนํ้าหนักและเคลื่อนที่ลงตามทิศของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก เมื่อไม่คิดแรงต้าน อากาศหรือแรงตา้ นการเคลอ่ื นท่ใี ด ๆ จะเรียกว่า การตกแบบเสรี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - แรงทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสนามโน้มถ่วงท่ีมตี ่อการเคล่ือนทขี่ องวัตถุ 4.2 ดา้ นทักษะ (P) - ทดลองและอธิบายการเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุในสนามโนม้ ถ่วง
14316 4.3 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอื่ สัตย์สุจรติ 3. มวี ินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมนั่ ในการทํางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่ือง แรงในธรรมชาติ 6.2 ผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง แรงจากสนามโนม้ ถ่วง 6.3 ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แรงจากสนามโน้มถ่วง 6.4 แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง แรงจากสนามโน้มถว่ ง จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 7. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1-2 ข้ันนาํ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคําถามกับนักเรียนพร้อมการสาธิต เช่น ครูถือแปรงลบกระดานโดยยื่นแขนออกไปด้านหน้า ลําตัวให้แปรงลบกระดานอยู่ในระดับเดียวกับไหล่ จากนั้นครูปล่อยแปรงลบกระดาน แล้วถามคําถาม กับนักเรียนว่า “แปรงลบกระดานตกลงสพู่ น้ื เพราะเหตุใด” (แนวตอบ : วัตถใด ๆ จะตกลงสู่พื้นเพราะแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดวัตถุนั้น ๆ ซึ่งในกรณีนี้แรงโน้ม ถ่วงของโลกดงึ ดดู แปรงลบกระดาน แปรงลบกระดานจงึ ตกลงสู่พื้น) 2. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรใู้ หน้ ักเรยี นทราบ 3. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรูเ้ ดิมของนกั เรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กจิ กรรม
14327 4. ครูถามคําถามนําเข้าสู่บทเรียน โดยใช้คําถาม Big Question จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ว่า “แรงพื้นฐานมีกี่ชนิด และแต่ละชนิดมีลักษณะ อย่างไร” (แนวตอบ : แรงพื้นฐานในธรรมชาตมี 4 ชนิด โดยเป็นแรงเชิงสนาม ได้แก่ แรงจากสนามโน้มถ่วง แรง จากสนามไฟฟ้า แรงจากสนามแมเ่ หลก็ และแรงในนิวเคลียส) 5. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนจาก Understanding Check จากหนังสือเรียน ลง ในสมุด (แนวตอบ : 1. ถูก 2. ถกู 3. ถูก 4. ถกู 5. ผดิ ) 6. ครถู ามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรียน กบั นกั เรยี นว่า “แรงโน้มถ่วงของโลกส่งผลอย่างไร ตอ่ ส่ิงตา่ ง ๆ บนพ้ืนผวิ โลก” (แนวตอบ : แรงโน้มถ่วงส่งผลให้เกิดแรงดึงดดู กระทําต่อมวลของวัตถุ โดยมีทิศทางตามสนามโน้มถ่วง ซึ่ง พ่งุ เข้าสศู่ ูนย์กลางของโลก) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับ แรงและการเคลื่อนที่ เพิ่มเชื่อมโยงเข้าสู่ เน้อื หาทก่ี ําลงั จะศึกษา ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 14. ครูใหน้ กั เรียนสืบเสาะหาความรู้ เร่ือง แรงโนม้ ถว่ งและสนามโนม้ ถ่วง จากหนังสือเรียน 15. ครูอภิปรายกับนักเรียน โดยให้นักเรียนสังเกตภาพ สนามโน้มถ่วงของโลกมีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของ โลก จากหนังสอื เรยี น ครูถามคําถามชวนคิดกับนักเรยี นว่า “แลว้ ดาวดวงอื่น ๆ มีสนามโน้มถ่วงเหมือน โลกหรอื ไม่ อยา่ งไร” โดยครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระ 16. ครใู ห้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ เร่อื ง การเคลอื่ นทข่ี องวัตถใุ นสนามโนม้ ถ่วงของโลก จากหนังสือเรยี น 17. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มกบั เพือ่ นอย่างอสิ ระกลมุ่ ละ 3-4 คน 18. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองได้ศึกษามา จากนั้นร่วมกันอภิปรายเป็นผล การศกึ ษาของกลุ่ม 19. ครูให้นักเรียนจดบันทึกสรุปเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก ลงในสมุด บันทกึ ประจําตวั ของแตล่ ะคน เพ่อื นาํ ส่งครูหลงั จบกจิ กรรมการเรียนรู้
113483 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มบางกล่มุ ออกมาหนา้ ชั้นเรียน จากน้นั ใหน้ ักเรียนนาํ เสนอผลการศกึ ษาของกลมุ่ ตนเอง 2. ครูและนักเรยี นร่วมกันอธบิ ายเกี่ยวกบั ความเรว็ ขณะเวลาต่าง ๆ ของวตั ถทุ เ่ี คล่ือนท่ีในแนวดิ่งในสนาม โน้มถว่ งของโลก โดยครใู ห้นักเรียนศึกษาจากหนังสือเรียนควบคู่ไปกับการท่ีครูอธบิ าย เพ่ือให้เกิดความ เขา้ ใจในเน้ือหาส่วนนั้นมากยงิ่ ข้นึ ชัว่ โมงที่ 3-4 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนชั่งนํ้าหนักครั้งล่าสุดเมื่อไร และนํ้าหนักที่ได้เท่ากับเท่าไร” โดยครูถาม นักเรียนตามเลขท่ี แล้วจดบันทกึ ลงในใบรายช่ือ 2. ครูสุ่มนกั เรียนออกมาหนา้ ชั้นเรียน จากนั้นครูใหน้ กั เรียนขน้ึ บนเครือ่ งชัง่ เพอ่ื ชั่งนา้ํ หนักปัจจุบนั 3. ครูถามคําถามชวนคิดกับนักเรียนว่า “ตัวของนักเรียนมีมวลกี่กิโลกรัม” เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของ นกั เรียนและเชื่อมโยงสู่เน้ือหาทก่ี ําลังจะศึกษา โดยครยู ังไม่เฉลยวา่ คําตอบทีน่ ักเรียนตอบนั้นถูกหรือผดิ 4. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษา เรือ่ ง น้ําหนกั จากหนังสอื เรยี น 5. ครูถามคําถามเดิมกับนักเรียนว่า “ตัวของนักเรียนมีมวลกี่กิโลกรัม” เพื่อตรวจสอบความเข้าใจหลัง ศกึ ษาเน้ือหา เร่ือง นํ้าหนัก จากหนังสือเรยี น (แนวตอบ : ขึ้นอยู่กับนํ้าหนักที่ชัง่ ได้จากเครือ่ งชัง่ แล้วนําไปคํานวณจากสมการ W=mg จะทําให้ทราบ มวลของนักเรยี นแต่ละคน) 6. ครแู จกเศษกระดาษท่เี กดิ จากการแบ่งกระดาษขนาด A4 เปน็ 4 สว่ น เท่า ๆ กัน ให้นักเรยี น 7. ครูถามคําถามท้าทายการคิดขั้นสูงกับนักเรียนว่า “หากโลกไร้ซึ่งแรงโนม้ ถ่วง จะส่งผลต่อสิง่ ต่าง ๆ บน โลหหรือไม่ อย่างไร” โดยครูให้นักเรียนเขียนคําตอบลงในเศษกระดาษที่ครูแจกให้ เสร็จแล้วตัวแทน นักเรยี นเก็บรวบรวมส่งครู (แนวตอบ : แรงโน้มถว่ งเปน็ แรงท่ีกระทําต่อวัตถุ ส่งผลใหว้ ัตถุเคล่ือนทลี่ งสู่ผิวโลกเสมอ แรงโน้มถ่วงมีทิศ พุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หากไร้ซึ่งแรงโน้มถ่วงจะส่งผลให้วัตถุลอยขึ้นไปในอากาศเช่นเดียวกับใน อวกาศ หรอื เรียกวา่ สภาพไร้นาํ้ หนัก) 8. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกับเพื่อนอย่างอิสระ กลุ่มละ 5-6 คน จากนั้นครูมอบหมายให้นักเรียนศึกษา กิจกรรม แรงทเี่ ก่ยี วข้องกบั การเคล่ือนทขี่ องวตั ถใุ นสนามโน้มถว่ งของโลก จากหนังสือเรยี น (หมายเหตุ: ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกล่มุ )
114349 อธิบายความรู้ (Explain) 1. เม่อื ปฏบิ ัติกิจกรรมเสร็จแล้ว ครใู หน้ กั เรียนตอบคําถามท้ายกจิ กรรมลงในสมุดบนั ทกึ ประจาํ ตวั 2. ครูใหแ้ ต่ละกลุม่ รว่ มกันพูดคุยเก่ยี วกบั ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม แล้วอภปิ รายผลเปน็ ขอ้ สรปุ ของกล่มุ 3. ครูสุ่มสมาชิกกลุ่มละ 1 คน ออกมาหน้าชั้นเรียน แล้วให้นําเสนอผลการการปฏิบัติกิจจกรมจากการ อภปิ รายรว่ มกนั ภายในกลุ่มของตนเอง 4. ครูสนทนากับนักเรยี นแล้วรว่ มกนั อภิปรายผลการศึกษากิจกรรม การเคล่ือนทข่ี องวัตถุในสนามโน้มถ่วง ของโลก ช่วั โมงที่ 5 ข้ันสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูสนทนากับนกั เรียนเกี่ยวกบั แรงโนม้ ถว่ ง สนามโน้มถ่วง และน้าํ หนัก เพื่อทบทวนความรู้ 2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษา เรอ่ื ง ประโยชนจ์ ากสนามโน้มถ่วง จากหนังสือเรยี น อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มนักเรียน 2-3 คน ใหอ้ อกมาหน้าชั้นเรียน 2. ครใู ห้นกั เรียนยกตัวอย่างการนาํ ความรู้ เรอื่ ง สนามโนม้ ถว่ งไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวนั โดยห้ามซํ้ากับ หนังสือเรียน และหา้ มซํ้ากับเพื่อน 3. ครูแจกใบงานที่ 2.1 เร่ือง แรงจากสนามโน้มถ่วง ให้นกั เรยี นนํากลบั ไปศกึ ษาเปน็ การบ้าน ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำอภิปรายสรุปเนือ้ หา โดยเปดิ PowerPoint เร่อื ง สนามโน้มถว่ ง ให้นักเรียนศึกษาควบคู่ไปดว้ ย 2. ครูให้นักเรียนทำสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง แรงจากสนามโน้มถ่วง ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มทัง้ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม (หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน) 3. ครสู ุ่มเลือกนกั เรียนออกไปนำเสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหน้าชน้ั เรียน (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทำแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง แรงจากสนามโน้มถ่วง จากหนังสือ เรียน ลงในสมดุ บนั ทกึ ประจำตัว แลว้ นำมาส่งครทู ้ายชวั่ โมง
1450 5. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง แรงจากสนามโน้มถ่วง จากแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 มาสง่ ครใู นชว่ั โมงถดั ไป ขั้นสรปุ 1. นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปความรเู้ กี่ยวกบั แรงโนม้ ถ่วงและสนามโน้มถว่ ง เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทุกคนได้มีความ เข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแลว้ ไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจท่ีถูกตอ้ ง โดยครูให้นกั เรียนเขยี น สรปุ ความรลู้ งในสมุดบนั ทึกประจาํ ตวั 2. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนจาก Understanding Check ในสมุดบันทึก ประจําตวั 4. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงานที่ 2.1 เร่ือง แรงจากสนามโน้มถว่ ง 5. ครตู รวจแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง แรงจากสนามโน้มถว่ ง ในสมุดบนั ทกึ ประจาํ ตวั 6. ครตู รวจสอบแบบฝึกหัด เร่อื ง แรงจากสนามโนม้ ถว่ ง จากแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม. 5 7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการทํางาน กลุม่ 8. ครวู ัดและประเมนิ ผลจากชิ้นงานการสรุปเนอ้ื หา เร่อื ง แรงจากสนามโน้มถว่ ง ทนี่ กั เรยี นได้สร้างข้ึนจากข้ัน ขยายความเขา้ ใจเปน็ รายบุคคล 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง แรงในธรรมชาติ 2) แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง แรงในธรรมชาติ 3) แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นร่ทู ่ี 2 เรอ่ื ง แรงในธรรมชาติ 4) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แรงจากสนามโน้มถว่ ง 5) PowerPoint เร่ือง แรงจากสนามโนม้ ถว่ ง
114461 8.2 แหล่งการเรียนรู้ วิธีวัด เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 10) หอ้ งเรยี น 11) ห้องสมดุ 12) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 9. การวดั และประเมินผล รายการวัด 9.1 การประเมนิ ชิน้ งาน/ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เร่ือง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน แรงจากสนามโน้มถว่ ง ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรว จแบบท ด ส อ บ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรงในธรรมชาติ 9.3 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานท่ี 2.1 - ใบงานท่ี 2.1 - ร้อยละ 60 ผา่ เกณฑ์ ระหวา่ งเรยี น - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) แรงจากสนามโนม้ ถว่ ง 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมนิ การนาํ เสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน นาํ เสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทาํ งาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 รายบคุ คล (สมรรถนะของ การทํางานรายบุคคล รายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ผเู้ รยี น) 4) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 กลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลักษณะอันพึง - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มนั่ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อนั พงึ ประสงค์
1427 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บันทกั ผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรียนการสอน นกั เรียนทงั้ หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จานวนนักเรยี นทีผ่ ่าน จานวนนกั เรยี นทีไ่ ม่ผ่าน จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
1438 ลงช่ือ................................................................ () ตําแหน่งครูวทิ ยฐานะ....................................... ลงช่อื ................................................................ () หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ ลงช่อื ................................................................ () รองผอู้ าํ นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ ความคิดเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรูข้ อง..................................................................... ..........แล้วมีความ คดิ เห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการเรยี นร้ทู ่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจัดกิจกรรมได้นาํ เอากระบวนการเรยี นรู้ เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สําคญั มาใชใ้ นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สําคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
1449 3. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ () ผู้อํานวยการโรงเรียน........................................
15405 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 คําช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว 1. ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์แบ่งออกเป็นก่ปี ระเภท ประกอบด้วยอะไรบา้ ง 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท 5. 6 ประเภท 2. สนามไฟฟ้ามีทศิ ตามข้อใด 1. ทิศเดียวกับทศิ ของแรงทก่ี ระทําต่อประจลุ บ 2. ทิศเดยี วกบั ทศิ ของแรงท่ีกระทาํ ต่อประจบุ วก 3. ทิศตัง้ ฉากกบั ทิศของแรงทกี่ ระทาํ ต่อประจลุ บ 4. ทิศต้ังฉากกบั ทิศของแรงท่ีกระทําต่อประจุบวก 5. ทิศตรงข้ามกับทศิ ของแรงทกี่ ระทาํ ต่อประจบุ วก 3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่แรงพ้ืนฐานในธรรมชาติ 1. แรงไฟฟ้า 2. แรงโน้มถ่วง 3. แรงแมเ่ หล็ก 4. แรงเสยี ดทาน 5. แรงในนวิ เคลยี ส
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395