Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

225416 ข้ันสรปุ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรเู้ กี่ยวกับ พลังงานนิวเคลียร์ เพ่ือให้นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจใน เน้อื หาที่ไดศ้ ึกษามาแล้วไปในทางเดยี วกนั และเปน็ ความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง โดยครูใหน้ กั เรยี นเขียนสรุป ความรลู้ งในสมุดบันทึกประจําตวั 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาํ ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง พลังงานนิวเคลียร์ 3. ครตู รวจแบบฝกึ หดั จาก Topic Question เร่ือง พลังงานนิวเคลียร์ ในสมดุ บนั ทกึ ประจําตัว 4. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ จากแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 5. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทํางานกลุ่ม 6. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเน้ือหา เรื่อง พลังงานนิวเคลยี ร์ ที่นักเรียนได้สร้างขึ้นจากขน้ั ขยายความเขา้ ใจเปน็ รายบคุ คล 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 พลังงาน 2) แบบฝกึ หัด รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส)์ ม.5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 พลงั งาน 3) ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง พลงั งานนิวเคลยี ร์ 4) PowerPoint เรือ่ ง พลังงาน 5) วดิ ีทศั นเ์ กย่ี วกบั พลังงานนิวเคลียร์ ระเบดิ ปรมณู 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

225427 9. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน รายการวดั - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 9.1 การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน พลังงานนวิ เคลียร์ ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมนิ ระหวา่ ง ระหว่างเรียน - ตรวจใบงานที่ 3.2 - ใบงานท่ี 3.2 - รอ้ ยละ 60 ผา่ เกณฑ์ 1) พลงั งานนิวเคลยี ร์ 2) การนําเสนอผลงาน - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทาํ งาน - ประเมินการนําเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2 รายบุคคล (สมรรถนะของ ผลงาน นาํ เสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ ผเู้ รยี น) - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 4) พฤติกรรมการทํางาน การทํางานรายบุคคล รายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ กลมุ่ 5) คุณลักษณะอันพงึ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 ใฝเ่ รียนรู้ และมุง่ มัน่ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อนั พงึ ประสงค์ 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

225438 11. บนั ทกั ผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรียนการสอน นกั เรยี นท้ังหมดจานวน.............คน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จานวนนกั เรียนท่ีผ่าน จานวนนกั เรยี นท่ไี มผ่ า่ น จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ 12. ปญั หา/อปุ สรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

225449 ลงชื่อ................................................................ () ตําแหนง่ ครูวิทยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ ลงชื่อ................................................................ () รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ ความคิดเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คดิ เห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการเรยี นร้ทู ่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นาํ เอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาํ คัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาํ คญั ควรปรับปรงุ พัฒนาต่อไป

2505 3. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ () ผู้อาํ นวยการโรงเรียน........................................

2561 ใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง พลงั งานนวิ เคลียร์ คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. พลังงานนิวเคลยี รส์ ามารถเรยี กอีกช่ือหน่ึงว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ฟชิ ชนั คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงยกตัวอย่างปฏิกิริยาฟิชชัน เขียนสมการพร้อมวาดภาพประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ฟวิ ชัน คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จงบอกถงึ ประโยชน์ของปฏิกริ ยิ าฟิวชชัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2527 เฉลยใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง พลงั งานนวิ เคลยี ร์ คาช้ีแจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. พลังงานนิวเคลยี รส์ ามารถเรยี กอีกช่ือหนงึ่ วา่ อย่างไร พลงั งานปรมณู 2. ฟิชชนั คืออะไร ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกตัวออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า ซึ่งเป็น ปฏิกิริยาลูกโซ่ 3. จงยกตัวอย่างปฏิกิริยาฟิชชัน เขียนสมการพร้อมวาดภาพประกอบ 23952U + 01n → 15369Ba + 3946Kr + 301n + energy โดยที่ 4. ฟวิ ชนั คืออะไร ปฏกิ ิรยิ าที่เกิดการรวมตัวของไอโซโทปที่มีมวลอะตอมต่าํ ทําใหเ้ กดิ ไอโซโทปใหม่ที่มีมวลมากข้ึนกว่าเดิม และใหพ้ ลงั งานจาํ นวนมหาศาล และโดยทว่ั ๆ ไป จะใหพ้ ลังงานมากกวา่ ปฏกิ ิริยาฟิชชัน

2583 5. จงบอกถึงประโยชน์ของปฏิกริ ยิ าฟวิ ชัน พลังงานในปฏิกิริยาฟิวชันถ้าควบคุมให้ปล่อยออกมาช้า ๆ จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมาก และมีข้อ ไดเ้ ปรียบมากกว่าปฏิกริ ิยาฟิชชัน เพราะสารต้ังต้น คอื ไอโซโทปของไฮโดรเจนนั้นหาง่าย นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิวชันยังเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีอายนุ ้อยและอันตรายนอ้ ยกว่า ซึ่งจัดว่าเป็นข้อได้เปรียบ ในแงข่ องสงิ่ แวดลอ้ ม

225594 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................

26505 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ไม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

26561 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน   4 การนําไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

225672 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น รวม 15 ลาดบั ชื่อ-สกุลของนักเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คะแนน การสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/.................../................

226538 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าที่ควร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

25649 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

2650 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

226661 12 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 12 เรอ่ื ง เทคโนโลยดี ้านพลงั งาน

สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2627 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 พลงั งาน แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 12 เรอ่ื ง เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน รายวชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ปีการศึกษา 2564 เวลา 3 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาํ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 2.3 ม.5/2 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและ อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานโดยเน้นด้าน ประสิทธภิ าพและความคุม้ คา่ ด้านค่าใชจ้ า่ ย 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้าได้ (K) 2. อภิปรายเกยี่ วกบั การนาํ เทคโนโลยีมาแกป้ ญั หาดา้ นพลงั งานได้ (K) 3. นาํ เสนอผลงาน เร่ือง เทคโนโลยดี ้านพลงั งาน ได้อย่างครบถว้ นและเปน็ ลาํ ดับขั้นตอน (P) 4. นกั เรยี นมีความสนใจใฝร่ หู้ รืออยากรอู้ ยากเห็น และทํางานร่วมกับผอู้ ืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 3. สาระสาคญั เทคโนโลยีพลังงานเป็นการนำความรู้และทักษะกระบวนการวิทยาสาสตร์มาสร้างอุปกรณ์ เช่น เซลล์ เชื้อเพลิง เซลล์สุริยะ เอทานอล ไบโอดีเซล แก๊สชีวภาพ เพื่อแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการด้าน พลังงาน ซึ่งช่วยให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้พลังงานและลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทำให้การใช้พลังงานมี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

226683 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้า - การนําเทคโนโลยมี าแก้ปญั หาด้านพลงั งาน 4.2 ดา้ นทกั ษะ (P) - เทคโนโลยีด้านพลงั งาน 4.3 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)  1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สัตยส์ จุ รติ  3. มวี ินยั  4. ใฝ่เรียนรู้  5. อยู่อยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น  1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต  5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เทคโนโลยดี ้านพลงั งาน 6.2 แบบฝึกหดั เร่อื ง เทคโนโลยีด้านพลังงาน จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 6.3 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง พลงั งาน 6.4 ผังมโนทัศน์ เร่อื ง เทคโนโลยดี า้ นพลังงาน

2694 7. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงที่ 1 ขน้ั นํา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 เพื่อกระตุ้น ความสนใจของนักเรียนว่า “เหตุผลหลักของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานคือสิ่งใด” และให้ นกั เรยี นช่วยกันตอบคําถามปากเปล่าโดยไม่มีการเฉลยวา่ ถกู หรือผดิ (แนวตอบ : เพอื่ แก้ปัญหาหรอื ตอบสนองความต้องการดา้ นพลังงานท่ีมมี ากขนึ้ ) 3. ครูสนทนากับนักเรียนต่อโดยถามคําถามกับนักเรียนว่า ตามความคิดของนักเรียน มีอะไรบ้างที่เป็น เทคโนโลยีดา้ นพลงั งาน ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคําถามปากเปลา่ โดยไม่มกี ารเฉลยวา่ ถกู หรือผดิ 4. ครูใหน้ ักเรยี นต้ังคําถามเก่ยี วกับสิง่ ท่ีตอ้ งการเรียนรู้เกี่ยวกับ เร่อื ง เทคโนโลยดี ้านพลงั งาน แล้วบันทกึ เป็น ขอบเขตและเป้าหมายทตี่ อ้ งการเรยี นรู้ ลงในสมดุ เพือ่ นาํ มาสง่ ครู (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล) ขั้นสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรยี นศึกษา เร่ือง เทคโนโลยีด้านพลงั งาน จากหนังสือเรียน 2. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมโดยเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิง เซลล์สุริยะ เอทานอล ไบโอ ดเี ซล และแกส๊ ชวี ภาพ จากแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ เชน่ อนิ เทอร์เนต็ เพ่ือศึกษาประกอบกับเน้ือหาจาก หนงั สือเรยี น 3. ครแู บ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน แบบคละความสามารถ (เก่ง-คอ่ นข้างเกง่ -ปานกลาง-อ่อน) อยใู่ นกลุม่ เดียวกัน 4. ครูให้นักเรียนร่วมกันพูดคุยและอภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม จากข้อมูลที่สมาชิกแต่ละคนได้ศึกษา คน้ คว้ามาเบอ้ื งต้นแลว้

227605 ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั นาํ สารวจค้นหา (Explore) (ต่อ) 5. ครูแจกกระดาษฟลิปชาร์ตให้นักเรยี นกลุ่มละ 1 แผ่น 6. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกล่มุ เขยี นสรุปองค์ความรูห้ ลังจากท่ีได้อภปิ รายผลการศึกษาร่วมกันแล้ว โดยร่วมกันสร้างสรรค์รูปแบบการนําเสนอให้มีเนื้อหาครบถ้วน มีความน่าสนใจ สามารถเข้าใจได้ง่าย และมีความสวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ่ ) 7. ครกู ําหนดเวลาในการสร้างสรรค์ผลงานใหน้ ักเรียน เมอ่ื ครบกําหนดเวลาตามที่กําหนด ครูให้นักเรียนแต่ ละกลุม่ นาํ ผลงานของตนเองไปแปะไวท้ ่ีผนังโดยรอบหอ้ งเรยี น 8. ครูและนกั เรียนร่วมกันเดินชมผลงานพร้อมฟังการนําเสนอของแต่ละกลุ่ม โดยครสู ุ่มกลุ่มท่ีจะนําเสนอเป็น ลาํ ดับแรก จากนั้นครูและนักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ไปรวมตัวกันที่หน้าผลงานของกลุ่มท่ีนําเสนอ จากนั้นก็ วนไปทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมินการนาํ เสนอผลงาน) 9. ขณะทีเ่ พื่อนกําลังนําเสนอผลงาน ครูให้นกั เรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ทีไ่ มไ่ ดเ้ ป็นสมาชิกกลุ่มเดียวกันจดบันทึกส่ิงท่ี ไดเ้ รยี นรู้จากการนําเสนอของกลมุ่ นั้น ๆ ลงในสมดุ บนั ทึกประจาํ ตวั 10. เมื่อนําเสนอผลงานครบทุกกลุ่มแล้ว ครูให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มของตนเอง แล้วร่วมกันพูดคุย ประเมินผลงานพร้อมให้คะแนนผลงานของแต่ละกลุ่ม รวมทั้งกลุ่มของตนเองพร้อมเหตุผลประกอบลง ในกระดาษ A4 แล้วรวบรวมส่งครู อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบาย เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน ให้นักเรียนฟังอีกครั้ง โดยเปิด PowerPoint เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน ควบคู่ไปกับการอธิบายเนื้อหาจากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการสรุปเนื้อหาและ สร้างความเขา้ ใจของนกั เรียนใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางเดยี วกันมากยิ่งข้ึน 2. ครูสุ่มนักเรยี นแล้วถามคําถามกับนักเรียน เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นในเบื้องต้น • เซลลเ์ ชอื้ เพลิง คืออะไร (แนวตอบ : เป็นอุปกรณ์ผลิตกระแสไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี เซลล์เชื้อเพลิงประกอบด้วย ขวั้ แอโนด ขั้วแคโทด และสารพาประจ)ุ

227616 • เซลล์สรุ ิยะ คืออะไร (แนวตอบ : เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง เซลล์สุรยิ ะสรา้ งจากสารกง่ึ ตวั นํา) • เอทานอลเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ที่ได้มาจากส่ิงใด (แนวตอบ : ได้มาจากการหมักผลิตผลทางการเกษตรท่ีมนี ้าํ ตาลหรือแป้งเป็นองคป์ ระกอบ) • กระบวนการทใ่ี ช้ในการผลิตไบโอดีเซลคอื อะไร (แนวตอบ : กระบวนการทรานสเ์ อสเทอรฟิ เิ คชนั (transesterification process)) • จงยกตัวอย่างประโยชนข์ องแกส๊ ชีวภาพ (แนวตอบ : ใชเ้ ป็นแกส๊ หงุ ต้มแทนแก๊สธรรมชาติ ใช้เปน็ เช้อื เพลงิ สําหรับเคร่ืองยนต์ ใช้เป็นเชอ้ื เพลงิ ใหค้ วามรอ้ น เป็นต้น) 3. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน จาก หนังสอื เรียน ลงในสมดุ บนั ทกึ ประจาํ ตัว และรวบรวมสง่ ครูทา้ ยชั่วโมง 4. ครแู จกใบงานท่ี 3.3 เรอ่ื ง เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน ใหน้ กั เรียนนาํ กลบั ไปทําเปน็ การบา้ น ชัว่ โมงที่ 3 ขั้นสอน ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครเู กบ็ รวบรวมใบงานที่ 3.3 เร่ือง เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน ท่ีให้นักเรียนนาํ กลับไปทําเปน็ การบา้ น 2. ครใู หน้ กั เรยี นทําสรปุ ผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) เร่ือง เทคโนโลยีด้านพลังงาน ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน) 3. ครอู ธิบายสรุปความรู้อกี ครงั้ โดยให้นกั เรยี นดู Summary เร่ือง พลังงาน จากหนังสือเรยี น 4. ครูสุ่มเลือกนักเรยี นออกไปนาํ เสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหนา้ ชัน้ เรยี น (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส)์ ม.5 6. ครใู ห้นกั เรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง ดว้ ยกรอบ Self Check เรอ่ื ง พลงั งาน จากหนงั สอื เรียน ลงในสมุดบันทกึ ประจําตวั

27627 7. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทําแบบฝึกหัดจาก Unit Question หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 พลังงาน จากหนังสือ เรยี น เปน็ การบ้าน โดยทําลงในสมดุ บนั ทกึ ประจําตวั แล้วรวบรวมสง่ ครูเพ่ือตรวจสอบและให้คะแนน 8. ครูใหน้ กั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจหลังเรยี นของนักเรยี น ข้ันสรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกับ เทคโนโลยดี า้ นพลังงาน เพ่ือใหน้ ักเรียนทุกคนได้มคี วาม เขา้ ใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแลว้ ไปในทางเดียวกัน และเปน็ ความเขา้ ใจทีถ่ ูกต้อง โดยครูให้นกั เรยี น เขียนสรปุ ความรลู้ งในสมดุ บันทกึ ประจำตัว 2. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลงั เรียน เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั เรียนของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน 4. ครตู รวจแบบฝึกหดั จาก Topic Question เรือ่ ง เทคโนโลยดี ้านพลังงาน ในสมุดบนั ทกึ ประจำตัว 5. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน จากแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส)์ ม.5 6. ครูตรวจแบบฝึกหดั จาก Unit Question หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 พลังงาน ในสมุดบันทึกประจำตวั 7. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง Self Check จากหนังสือเรียน ในสมุดบันทึก ประจำตัว 8. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล และการ ทำงานกลุ่ม 9. ครูวดั และประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเน้ือหา เร่อื ง เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน ทนี่ ักเรียนได้สร้างข้ึนจาก ขนั้ ขยายความเขา้ ใจเปน็ รายบคุ คล 8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 พลงั งาน 2) ใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง เทคโนโลยีด้านพลงั งาน 3) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 พลังงาน 4) PowerPoint เรอ่ื ง พลังงาน 5) กระดาษฟลปิ ชาร์ต

27683 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ วิธวี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ 9. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด 9.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินช้นิ งาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ 9.2 การประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจใบงานที่ 3.3 - ใบงานที่ 3.3 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจัดกิจกรรม - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน นําเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคณุ ภาพ 2 รายบคุ คล (สมรรถนะของ การทํางานรายบุคคล พฤติกรรมรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ ผู้เรียน) 4) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ 2 กลมุ่ การทาํ งานกลุ่ม พฤติกรรมการทาํ งาน ผ่านเกณฑ์ กลุ่ม 5) คุณลกั ษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อันพึงประสงค์ 9.2 การประเมนิ หลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบทดสอบหลงั - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรียน เรยี น เรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลงั งาน

227649 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทกั ผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรียนท่ีผ่าน จานวนนักเรยี นทไ่ี ม่ผา่ น จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

227750 ลงชื่อ................................................................ () ตาํ แหนง่ ครวู ทิ ยฐานะ....................................... ลงชื่อ................................................................ () หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ลงชื่อ................................................................ () รองผอู้ าํ นวยการกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คิดเหน็ ดงั นี้ 1. เปน็ แผนการเรยี นรทู้ ่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ําเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผ้เู รยี นเปน็ สําคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ () ผู้อํานวยการโรงเรียน.......................................

2716 ใบงานที่ 3.3 เรอื่ ง เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน คาชแี้ จง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ตอนท่ี 1 จงเติมคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษจากข้อความที่กาหนดให้ต่อไปน้ี 1. อปุ กรณผ์ ลติ กระแสไฟฟา้ จากปฏิกริ ิยาเคมี 2. ประเภทของเซลล์เชือ้ เพลงิ ทใ่ี ชโ้ พแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นสารพาประจุ 3. อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทเ่ี ปล่ยี นพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าไดโ้ ดยตรง 4. วัสดทุ ่ีใช้สร้างเซลลส์ รุ ยิ ะ มีคุณสมบัตใิ นการนาํ ไฟฟา้ อยู่ระหวา่ งตวั นําและฉนวน 5. เซลล์สรุ ิยะหลาย ๆ เซลล์ มาต่อกันแบบอนุกรมเพื่อเพ่ิมคา่ แรงเคล่ือนไฟฟา้ ใหส้ ูงขน้ึ 6. ผลติ ภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากการหมักผลติ ผลทางการเกษตรทีม่ แี ปง้ และนํ้าตาลเปน็ องคป์ ระกอบ 7. จุลนิ ทรยี ป์ ระเภทหนง่ึ ที่ใช้ในกระบวนการหมกั ทางชวี วทิ ยาท่เี พื่อเปลย่ี นน้ําตาลเปน็ เอทานอล 8. ผลิตภัณฑ์ทไี่ ดจ้ ากการนําเอทานอลมาผสมกับน้ํามนั เบนซินในอัตราส่วนตา่ ง ๆ 9. ผลิตภัณฑท์ ีไ่ ดจ้ ากการแปรรูปน้ํามันพืชชนิดตา่ ง ๆ หรือนํา้ มันทใี่ ชแ้ ล้วในครัวเรอื น 10. ผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี กิดจากการยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์ โดยแบคทเี รยี ภายใต้สภาวะทไี่ ม่มแี ก๊สออกซิเจน 11. สว่ นประกอบหลักของเซลล์เชือ้ เพลิงประกอบด้วย 12. ช่ืออีกอยา่ งหน่งึ ของเอทานอล

2727 13. แอลกอฮอล์ชนดิ หนง่ึ ทน่ี ยิ มใชเ้ ปน็ สว่ นผสมในการผลิตไบโอดีเซล ตอนท่ี 2 ค้นหาและวงรอบคำศัพทท์ ่ไี ดจ้ ากตอนท่ี 1 a n o d e t i pmd h c h e y e a s t b zc t k t x g t ek fwvypqeevy s em i c ondu c t o r qu v r t ob p i br ccs r vhy f g rqybhx r z x b f ywwe t u o u v n t a e y u f ee i qotwxny r eqcn l n l rw tuorel ec t rol ytekaa f t h j d r hv c c g yecweeae l yh y q i hu e x d i opemr q l wc y o mw e u i o e c n g j l a s t i t o t u e y s o l a rmod u l e r t n v h t x ms e g h k u y i u i p y lme c owe eu l i r ewec a t hode f j l f t t y u c hme t h a n u l s wu a d v a hbngeqdbcv te fh j e r tun a q r t wwq i b v c z a z s l s f r o nvga soho l zwt j n f cge r l oy r yur zgcbvbneyeyut x l j fme r t a z x c v bnmlml j h l g f d s a a s o l a r c e l l qwe r

2738 เฉลยใบงานที่ 3.3 เรอื่ ง เทคโนโลยีดา้ นพลงั งาน คาชแี้ จง : ให้นักเรยี นค้นหาคาศัพท์ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ข้อความทกี่ าหนดให้ตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1 จงเตมิ คาศพั ท์ภาษาองั กฤษจากข้อความทกี่ าหนดใหต้ ่อไปน้ี 1. อปุ กรณผ์ ลติ กระแสไฟฟา้ จากปฏกิ ิรยิ าเคมี fuel cell 2. ประเภทของเซลล์เชอื้ เพลงิ ทีใ่ ช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เปน็ สารพาประจุ alkaline fuel cell 3. อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทเ่ี ปล่ยี นพลังงานแสงอาทิตยเ์ ป็นพลังงานไฟฟ้าไดโ้ ดยตรง solar cell 4. วสั ดทุ ใี่ ช้สรา้ งเซลล์สุริยะ มคี ุณสมบัติในการนาํ ไฟฟา้ อยรู่ ะหว่างตัวนาํ และฉนวน semiconductor 5. เซลลส์ รุ ิยะหลาย ๆ เซลล์ มาต่อกนั แบบอนุกรมเพือ่ เพมิ่ คา่ แรงเคล่ือนไฟฟ้าใหส้ งู ขึน้ solar module 6. ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ดจ้ ากการหมกั ผลิตผลทางการเกษตรท่ีมีแปง้ และน้ําตาลเปน็ องค์ประกอบ ethanol 7. จลุ นิ ทรียป์ ระเภทหนงึ่ ที่ใชใ้ นกระบวนการหมักทางชีววิทยาทเี่ พ่อื เปลีย่ นนํา้ ตาลเปน็ เอทานอล yeast 8. ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากการนาํ เอทานอลมาผสมกับน้ํามันเบนซนิ ในอตั ราสว่ นตา่ ง ๆ gasohal 9. ผลติ ภณั ฑ์ทีไ่ ดจ้ ากการแปรรูปนา้ํ มนั พืชชนดิ ต่าง ๆ หรอื น้ํามนั ทใี่ ชแ้ ลว้ ในครวั เรือน biodiesel 10. ผลติ ภณั ฑท์ ่เี กดิ จากการย่อยสลายสารอนิ ทรยี ์ โดยแบคทเี รยี ภายใต้สภาวะที่ไม่มแี กส๊ ออกซิเจน biogas 11. สว่ นประกอบหลักของเซลล์เชื้อเพลิงประกอบดว้ ย anode cathode electrolyte 12. ชื่ออีกอยา่ งหนึ่งของเอทานอล

2749 ethyl alcohol 13. แอลกอฮอลช์ นิดหนึ่งที่นิยมใช้เปน็ ส่วนผสมในการผลติ ไบโอดีเซล methanol ตอนที่ 2 ค้นหาและวงรอบคำศัพท์ทีไ่ ด้จากตอนท่ี 1 a n o d e t i pmd h c h e y e a s t b z c t k t x g t ek fwvypqeevy s em i c ondu c t o r qu v r t ob p i br ccs r vhy f g rqybhx r z x b f ywwe t u o u v n t a e y u f ee i qotwxny r eqcn l n l rw tuore l ec t rol y tekaa f t h j d r hvc c g yecweeae l yh y q i hu e x d i op emr q l wc y o mw e u i o e c n g j l a s t i t o t u e y s o l a rmo d u l e r t n v h t x ms e g h k u y i u i p y lme c owe eu l i r ewec a t hode f j l f t t y u c hme t h a n u l swu a d v a hbngeqdbcv t e f h j e r tun a q r t wwq i b v c z a z s l s f r o nvga soho l zwt j n f cge r l oy r yu r zgcbvbneyeyut x l j fme r t a z x c v b nmlml j h l g f d s a a s o l a r c e l l qwe r

228705 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคอื อปุ กรณท์ ่ีทําหน้าที่ผลติ กระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟา้ พลังนา้ํ 1. แผงเซลล์สุรยิ ะ 2. เครื่องควบแนน่ 3. กงั หันนาํ้ และเครอ่ื งกําเนดิ ไฟฟ้า 4. กังหันลมและเคร่อื งกาํ เนดิ ไฟฟ้า 5. กังหันไอน้าํ และเครอื่ งกาํ เนิดไฟฟ้า 2. ขอ้ ใดคือขอ้ จํากัดของโรงไฟฟา้ พลงั งานลม 1. พื้นที่ท่ีเหมาะสม 2. ปล่อยแก๊สเรือนกระจก 3. ใช้พ้ืนทใ่ี นการก่อสรา้ งนอ้ ย 4. สามารถผลติ ไฟฟ้าไดต้ ลอดเวลา 5. เป็นแหล่งพลังงานท่ไี ม่มีคา่ เชือ้ เพลิง 3. โรงไฟฟ้าในข้อใดมีตน้ ทุนการผลติ ไฟฟา้ ต่อหน่วยตาํ่ ทสี่ ดุ 1. โรงไฟฟา้ ชวี มวล 2. โรงไฟฟ้าพลงั นํ้า 3. โรงไฟฟา้ พลงั ลม 4. โรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์ 5. โรงไฟฟา้ พลังงานแสงอาทติ ย์

228716 4. พลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ เปน็ พลังงานธรรมชาติทเี่ กดิ จากอะไร 1. ลาวา 2. แมกมา 3. น้าํ รอ้ น 4. หินรอ้ น 5. หนิ น้ํามัน 5. แก๊สธรรมชาติมอี งค์ประกอบในขอ้ ใดมากท่ีสดุ 1. อเี ทน 2. มเี ทน 3. บิวเทน 4. เพนเทน 5. โพรเพน 6. หน่วยตอ่ ไปนี้ หนว่ ยใดท่ไี มไ่ ด้ใช้วดั ค่าของพลงั งาน 1. จูล 2. บที ยี ู 3. นิวตนั 4. แคลอรี่ 5. วัตต์ ชวั่ โมง 7. ปฏิกิรยิ านิวเคลยี รท์ ีเ่ กดิ ขึน้ บนดวงอาทติ ย์ เกดิ ข้ึนจากสารต้งั ตน้ ของธาตุใด 1.ฮีเลยี ม 2.โคบอลต์ 3.ไฮโดรเจน 4.พลโู ตเนียม 5.ไทเทเนยี ม

228727 8. การนาํ เอทานอลมาผสมนาํ้ มนั ดีเซลจะได้สารเชื้อเพลงิ ท่ีมชี อ่ื ว่าอะไร 1. ดีโซฮอล์ 2. นา้ํ มันเตา 3. ไบโอดเี ซล 4. ไฟโตดเี ซล 5. แก๊สโซฮอล์ 9. แหล่งพลังงานในข้อใดทไ่ี ม่ใชแ่ หลง่ พลงั งานหมนุ เวียน 1. ลม 2. นา้ํ 3. ชวี มวล 4. แสงอาทติ ย์ 5. แก๊สธรรมชาติ 10. ข้อใดคอื พลงั งานหมุนเวยี นทัง้ หมด 1. นิวเคลยี ร์ ลม นํ้า 2. ถ่านหนิ นา้ํ ชีวมวล 3. ลม นํ้า แสงอาทติ ย์ 4. แสงอาทติ ย์ นํ้า แก๊สธรรมชาติ 5. นา้ํ มันดบิ ถ่านหนิ แกส๊ ธรรมชาติ เฉลย 1. 3 2. 1 3. 2 4. 3 5. 2 6. 3 7. 3 8. 1 9. 5 10. 3

228738 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................

28749 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ไม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

2805 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน   4 การนําไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

228816 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น รวม 15 ลาดบั ชื่อ-สกุลของนักเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คะแนน การสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/.................../................

228872 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าที่ควร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

2883 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

2894 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

229805 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ผนการจดั กเราอื่ รงเรคียลน่นื รู้

229816 13 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 13 เรือ่ ง คลื่นกล

292287 สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 13 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 คลนื่ รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) เรื่อง คล่ืนกล ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลา 6 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นาํ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.3 ม.5/3 สังเกตและอธบิ ายการสะท้อนการหักเหการเลี้ยวเบนและการรวมคลน่ื ว 2.3 ม.5/4 สงั เกตและอธิบายความถ่ธี รรมชาติการสั่นพอ้ งและผลที่เกิดข้ึนจากการส่ันพ้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายการสะทอ้ นการหกั เหการเลี้ยวเบนและการรวมคลืน่ ได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถอธบิ ายความถีธ่ รรมชาติการสัน่ พ้องและผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการส่ันพอ้ งได้ (K) 3. นักเรยี นสามารถสงั เกตการสะทอ้ นการหักเหการเลี้ยวเบนและการรวมคลื่นได้ (P) 4. นักเรียนสามารถสงั เกตความถธี่ รรมชาตกิ ารสัน่ พ้องและผลทเี่ กิดขึ้นจากการสน่ั พ้องได้ (P) 5. นักเรยี นมคี วามสนใจใฝ่รูห้ รืออยากรอู้ ยากเห็น และทํางานรว่ มกบั ผ้อู นื่ อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 3. สาระสาคญั คลื่น เกิดจากอนุภาคถูกรบกวนให้เสียสมดุลแล้วถ่ายโอนพลังงานด้วยการแผ่ออกไปทุกทิศทาง ในแนว เส้นตรง อนุภาคที่ทําให้เกิดคลื่นจะสั่นไปมาอยู่ตําแหน่งเดิมผ่านแนวสมดุล โดยไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่นซึ่งมี ลกั ษณะเช่นเดยี วกับการสั่นแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ในการถ่ายโอนพลังงานน้ีอาจมี ตัวกลางหรือไม่มีตัวกลางก็ได้ ในกรณีที่มีตัวกลาง เรียกว่า คลื่นกล เมื่อพิจารณาจากลักษณะการสั่นของอนุภาคตัวกลางขณะที่คลื่นกลเคลื่อน ผ่าน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง โดยคลื่นทั้ง 2 ชนิด จะมีสมบัติ 4 ประการ คอื การสะท้อน การหกั เห การเลย้ี วเบน และการแทรกสอดหรอื การรวมคล่นื

29838 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - รปู ร่างและชนิดของคลนื่ กล - ลักษณะทส่ี ําคญั ของคล่ืนกล 4.2 ด้านทกั ษะ (P) - สมบัตขิ องคล่ืนกล 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)  1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอ่ื สตั ย์สุจริต  3. มวี ินัย  4. ใฝ่เรยี นรู้  5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 6.1 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง คลื่น 6.2 ใบงานท่ี 4.1 เร่ือง องคป์ ระกอบของคลน่ื กล 6.3 แบบฝกึ หัด เรือ่ ง องคป์ ระกอบของคล่ืนกล จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 6.4 ผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง คล่ืนกล

229849 7. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขนั้ นาํ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสถานการณ์ในชีวิตประจําวัน เมื่อเราขว้างก้อนหินลงไปในแหล่งนํ้า หลังจากที่ก้อนหินกระทบกับผิวนํ้า นักเรียนสังเกตเห็นสิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นคืออะไร มีความสําคัญ อยา่ งไร เหตใุ ดนา้ํ บรเิ วณอ่ืน ๆ ทไี่ มโ่ ดนก้อนหินโดยตรงจึงถูกรบกวนไปดว้ ย 2. ครทู ้ิงช่วงเวลาให้นกั เรยี นคิด จากน้นั ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ อย่างอิสระ 3. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นักเรยี นทราบ 4. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดมิ ของนกั เรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กิจกรรม 5. ครูถามคําถามนําเข้าสู่บทเรียน โดยใช้คําถาม Big Question จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “สมบัตใิ ดของคลน่ื ที่ทาํ ให้คลนื่ ตา่ งจากวตั ถอุ ย่างชัดเจน” (แนวตอบ: ลักษณะการส่งผ่านพลังงาน เนื่องจากการส่งผ่านพลังงานของวัตถุหรืออนุภาคนั้น อนุภาคจะเป็นตัวนําพาพลังงานไปถึงจุดหมาย เช่น การเตะลูกบอล มีการส่งผ่านพลังงานจากเท้าผ่าน ลูกบอล แล้วลูกบอลนั้นจะนําพาพลังงานต่อไปยังจุดหมาย ซึ่งจะเห็นว่าลูกบอลจะเคลื่อนที่ไปกับ พลังงานนั้นด้วย ส่วนการส่งผ่านพลังงานของคลื่น เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ คลื่นจะพาพลังงานไปด้วย แต่ ตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านจะไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไป จะเคลื่อนที่สั่นไปสั่นมาอยู่ตําแหน่งเดิม เช่น ใบไมบ้ นผิวน้ํา เมือ่ คลน่ื นาํ้ ผา่ นมากจ็ ะสัน่ ขน้ึ ลงอยูก่ ับที่ พอคลน่ื นา้ํ ผา่ นไปใบไม้กจ็ ะอย่นู งิ่ ๆ เหมอื นเดมิ ) 6. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนจาก Understanding Check จากหนังสือเรียน ลง ในสมดุ บนั ทกึ ประจําตวั (แนวตอบ 1. ถูก 2. ผดิ 3. ถูก 4. ถูก 5. ผดิ ) 7. ครูให้นักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับ เรื่อง คลื่น แล้วบันทึกเป็นขอบเขตและ เป้าหมายทีต่ อ้ งการเรยี นรู้ ลงในสมุดเพอ่ื นาํ มาสง่ ครู (หมายเหต:ุ ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบคุ คล)

2950 8. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับ เรื่อง คล่นื ของนกั เรียนว่า “คลน่ื กลมลี กั ษณะเฉพาะอยา่ งไร แบ่งเปน็ ก่ีชนิด อะไรบ้าง” (แนวตอบ: คลื่นกล เป็นคลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถ่ายโอนพลังงาน ซึ่งต่างจากคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถ่ายโอนพลังงาน โดยคลื่นกลแบ่งตามลักษณะการ สั่นเป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ คล่นื ตามยาว และคล่ืนตามขวาง) 9. ครูแจ้งใหน้ กั เรียนทราบวา่ จะได้ศึกษาเก่ียวกับ คลืน่ กล ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษา เรื่อง คล่ืนกล จากหนังสอื เรยี น 2. ครสู มุ่ ตัวแทนนักเรียนให้ยนื ข้ึน เพ่อื อธบิ ายความหมายของคลน่ื กล จากน้ันครสู ุ่มนกั เรียนอกี 2 คน เพ่ือ อธบิ ายความหมายของคลนื่ ตามยาว และคล่นื ตามขวาง 3. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ แล้วร่วมกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ คลื่นตามยาว และ คลื่นตามขวาง จากนนั้ ร่วมกนั สรปุ แล้วเขียนลงในสมดุ บันทกึ ประจําตัว 4. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง ส่วนประกอบของคลื่น และอัตราเร็วของคลื่น จากหนังสือเรียน โดยครู กาํ หนดใหน้ กั เรยี นเขยี นสรปุ เก่ียวกบั เนื้อหาทก่ี ําลงั ศกึ ษาลงในสมดุ บันทึกประจาํ ตัว 5. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ส่วนประกอบของคลื่น และอัตราเร็วของคลื่น จาก แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต 6. ครูแจกใบงานท่ี 4.1 เรอ่ื ง องค์ประกอบของคลน่ื กล ใหน้ กั เรียนนาํ กลบั ไปศึกษาเป็นการบ้าน

2961 ช่ัวโมงท่ี 2 ขนั้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 7. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษา เร่ือง สมบัติของคลื่น ในหวั ข้อ การสะทอ้ น จากหนงั สือเรยี น 8. ครูแนะนําให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การสะท้อนของคลื่น จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ เช่น อินเทอร์เน็ต เพ่ือให้ได้รับข้อมูลที่หลากหลาย และสร้างความเข้าใจให้ตนเองได้มากขึ้น 9. ครูแบ่งนักเรยี นออกเปน็ กลุ่ม กลุ่มละประมาณ 6 คน โดยคละความสามารถของนักเรยี นตามผลสมัฤทธ์ิ (เก่ง ปานกลาง ออ่ น) ใหอ้ ยใู่ นกลุ่มเดียวกัน เพ่ือรว่ มกันศึกษากจิ กรรม การสะท้อนของคลื่นผิวนํ้า จาก หนังสอื เรียน โดยใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ กําหนดให้สมาชกิ แตล่ ะคนมีบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง เช่น a. สมาชกิ คนท่ี 1 : เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ b. สมาชกิ คนที่ 2 : อา่ นและศึกษาวิธปี ฏบิ ตั กิ จิ กรรม แล้วนาํ มาอธบิ ายสมาชกิ ในกลุม่ c. สมาชกิ คนท่ี 3 : บันทกึ ผลการปฏิบัติกจิ กรรม d. สมาชกิ คนท่ี 4-5 : ค้นควา้ เพิม่ เติม หาแหล่งข้อมูลอา้ งองิ เพ่ือสนบั สนนุ การปฏิบัติกิจกรรม e. สมาชิกคนที่ 6 : นาํ เสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม 10. ครชู ี้แจงจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมใหน้ กั เรียนทราบ เพือ่ เป็นแนวทางการปฏบิ ัตทิ ถี่ กู ต้อง 11. ครใู ห้ความรู้เพ่ิมเตมิ หรอื เทคนิคเกย่ี วกับการปฏิบตั กิ ิจกรรม จากน้นั ให้นักเรยี นทุกกลุ่มลงมอื ปฏิบัติตาม ขนั้ ตอน 12. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันพดู คุยวิเคราะห์ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แล้วอภิปรายผลร่วมกนั 13. ครูเน้นยาํ้ ให้นกั เรยี นตอบคาํ ถามท้ายกจิ กรรม จากหนังสอื เรียน ลงในสมดุ บันทึกประจาํ ตัว เพื่อนําสง่ ครู เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 14. ในระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดินสังเกตการณ์และคอยให้คําปรึกษาเมื่อนักเรียนเกิดปัญหา หรอื มขี ้อสงสัยเกย่ี วกบั กจิ กรรม

2972 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู นทนากับนักเรยี นเกีย่ วกับการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. ครใู ห้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมาหนา้ ชัน้ เรยี น เพื่อนําเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 3. ครสู ุ่มนกั เรียนเพอ่ื ถามคาํ ถามที่เกี่ยวข้องกบั กจิ กรรม เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจหลังปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 4. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลท้ายกิจกรรมและสรปุ ความรรู้ ว่ มกัน ช่ัวโมงท่ี 3 ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนศกึ ษา เรอื่ ง สมบตั ขิ องคลืน่ ในหัวขอ้ การหกั เห จากหนงั สอื เรยี น 2. ครูแนะนําให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ กฎของสเนลล์ (Snell’s law) จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศ เช่น อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่หลากหลาย และสร้างความเข้าใจให้ตนเองได้ มากข้ึน 3. ครูถามคําถามท้าทายการคิดขั้นสูง จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “เพราะเหตุใดเมื่อเรามอง คลื่นในทะเลที่ระยะไกล ๆ เราจะเห็นคล่ืนใหญ่กว่าคลื่นที่เคล่ือนที่เข้าใกล้ฝั่ง” (แนวตอบ : คลื่นที่อยู่ในทะเลจะอยู่ใกล้แหล่กําเนิดคลื่นและได้รับการถ่ายโอนพลังงานมากกว่า คลื่นที่อยู่ใกล้ฝั่ง เมื่อคล่ืนในทะเลเคลื่อนที่เข้าใกล้ฝั่ง แรงเสียดทานระหว่างพื้นใต้ทะเลกับคลื่นนํ้า จะมากข้ึน ส่งผลให้คลื่นมีการสูญเสียพลังงานเราจึงมองเห็นคลื่นท่ีเข้าใกล้ฝ่ังเล็กกว่าคลื่นที่อยู่ไกล ออกไป) 4. ครูให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มของตนเองที่ครูเคยแบ่งไว้แล้ว เพื่อศึกษากิจกรรม การหักเหของคลื่น ผิวนํ้า จากหนังสือเรียน โดยแต่ละกลุ่มอาจมีการปรับเปลี่ยนหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคน เพื่อให้ สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของสมาชิกภายใน กลุ่ม 5. ครูช้ีแจงจุดประสงค์ของกจิ กรรมให้นกั เรยี นทราบ เพ่ือเปน็ แนวทางการปฏิบตั ทิ ี่ถูกตอ้ ง 6. ครูใหค้ วามรู้เพิม่ เติมหรือเทคนิคเก่ยี วกับการปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหน้ กั เรยี นทกุ กลุม่ ลงมือปฏิบัติตาม ขนั้ ตอน 7. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันพดู คยุ วิเคราะหผ์ ลการปฏิบตั กิ ิจกรรม แลว้ อภิปรายผลร่วมกัน

2983 8. ครเู น้นย้ําให้นักเรยี นตอบคาํ ถามท้ายกจิ กรรม จากหนงั สอื เรียน ลงในสมดุ บนั ทึกประจาํ ตัว เพอ่ื นําส่งครู เป็นการตรวจสอบความเขา้ ใจจากการปฏิบตั ิกิจกรรม 9. ในระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดินสังเกตการณ์และคอยให้คําปรึกษาเมื่อนักเรียนเกิดปัญหา หรือมีขอ้ สงสยั เกยี่ วกบั กจิ กรรม อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสนทนากับนักเรยี นเก่ียวกับการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. ครูให้แต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมาหน้าช้นั เรยี น เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม 3. ครูสมุ่ นักเรียนเพ่ือถามคําถามทีเ่ กยี่ วข้องกบั กิจกรรม เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั ปฏิบัตกิ จิ กรรม 4. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายผลท้ายกิจกรรมและสรปุ ความรู้ร่วมกัน ชวั่ โมงที่ 4 ข้นั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรยี นศึกษา เรือ่ ง สมบตั ิของคล่ืน ในหัวข้อ การเล้ียวเบน จากหนงั สอื เรียน 2. ครูให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มของตนเองที่ครูเคยแบ่งไว้แล้ว เพื่อศึกษากิจกรรม การเลี้ยวเบนของ คลื่นผิวนํ้า จากหนังสือเรียน โดยแต่ละกลุ่มอาจมีการปรับเปลี่ยนหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคน เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของสมาชิก ภายในกลุ่ม 3. ครูช้แี จงจุดประสงคข์ องกิจกรรมให้นักเรยี นทราบ เพื่อเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ีถ่ กู ต้อง 4. ครใู หค้ วามรูเ้ พ่ิมเตมิ หรอื เทคนิคเกย่ี วกับการปฏิบัติกจิ กรรม จากนน้ั ใหน้ ักเรียนทกุ กลุม่ ลงมอื ปฏิบัติตาม ข้ันตอน 5. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันพดู คยุ วิเคราะห์ผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม แลว้ อภิปรายผลรว่ มกัน 6. ครูเนน้ ยาํ้ ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามท้ายกิจกรรม จากหนงั สือเรยี น ลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพื่อนาํ ส่งครู เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม 7. ในระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดินสังเกตการณ์และคอยให้คําปรึกษาเมื่อนักเรียนเกิดปัญหา หรอื มีขอ้ สงสัยเกีย่ วกบั กิจกรรม

2994 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสนทนากับนักเรยี นเกย่ี วกับการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 2. ครใู หแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมาหน้าชั้นเรียน เพื่อนาํ เสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 3. ครูสุ่มนักเรยี นเพือ่ ถามคาํ ถามที่เก่ียวข้องกับกจิ กรรม เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั ปฏิบัตกิ ิจกรรม 4. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลทา้ ยกิจกรรมและสรปุ ความรรู้ ว่ มกัน ช่วั โมงที่ 5-6 ขนั้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนความรู้ว่า สมบตั ขิ องคลืน่ กลมกี ปี่ ระการ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง” (แนวตอบ : 4 ประการ ไดแ้ ก่ การสะทอ้ น การหักเห การเล้ียวเบน และการแทรกสอด) 2. ครูถามคําถามกบั นกั เรยี นต่อวา่ “สมบตั ิใดท่เี รายังไม่ได้ศกึ ษาบา้ ง” เพอื่ นาํ เขา้ สเู่ นือ้ หาท่ีกาํ ลังจะศกึ ษา 3. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษา เรอื่ ง สมบัตขิ องคล่ืน ในหัวข้อ การแทรกสอด จากหนงั สอื เรียน 4. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวข้องกับสมบัติการแทรกสอดของคลื่นที่กําลังศึกษา เพื่อกระตุ้น ความสนใจและเพ่มิ ความเขา้ ใจใหม้ ากข้นึ 5. ครใู ห้นกั เรียนแยกเขา้ กลมุ่ ของตนเองที่ครเู คยแบง่ ไวแ้ ลว้ ในการทํากจิ กรรม 6. ครูแจกกระดาษฟลิปชารต์ ใหน้ กั เรยี นกลมุ่ ละ 1 แผน่ 7. ครูให้นักเรียนเขียนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เรื่อง สมบัติของคลื่น ลงในกระดาษฟลิปชาร์ต เพ่ือ นําเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน พร้อมตกแต่งให้สวยงาม โดยครูแนะนําให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล เพมิ่ เติมจากอนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายผลการศึกษาจนได้เป็นแนวทางทเ่ี ข้าใจตรงกันทงั้ กล่มุ 8. ครสู ่มุ นักเรียนให้ออกมาหน้าชัน้ เรยี น เพ่ือนาํ เสนอผลการศกึ ษา 9. ครใู หแ้ ตล่ ะกลมุ่ เตรยี มตัวและแบ่งหนา้ ท่ีของสมาชิกภายในกลุ่ม เพอื่ ศกึ ษากิจกรรม การแทรกสอดของ คล่นื ผวิ น้ํา จากหนังสือเรียน 10. ครูช้แี จงจุดประสงคข์ องกิจกรรมให้นกั เรียนทราบ เพ่อื เป็นแนวทางการปฏิบัตทิ ่ถี ูกต้อง 11. ครใู ห้ความรู้เพมิ่ เตมิ หรือเทคนิคเกย่ี วกับการปฏบิ ัติกจิ กรรม จากน้นั ใหน้ ักเรยี นทกุ กลุ่มลงมือปฏิบัติตาม ข้ันตอน 12. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันพดู คยุ วเิ คราะหผ์ ลการปฏบิ ัติกิจกรรม แลว้ อภิปรายผลรว่ มกนั

320905 13. ครูเน้นย้าํ ใหน้ ักเรยี นตอบคาํ ถามทา้ ยกจิ กรรม จากหนงั สอื เรยี น ลงในสมุดบนั ทกึ ประจาํ ตวั เพื่อนาํ ส่งครู เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม 14. ในระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดินสังเกตการณ์และคอยให้คําปรึกษาเมื่อนักเรียนเกิดปัญหา หรือมขี ้อสงสยั เกยี่ วกับกิจกรรม 15. เมอ่ื นกั เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศกึ ษา เรอ่ื ง ความถ่ีธรรมชาติ และการสั่นพ้องตามธรรมชาติ จากหนังสือเรียน จากนั้นแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนาและอภิปรายผล การศกึ ษาเป็นความคดิ เห็นของกลุ่ม อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรยี นให้ออกมาหนา้ ชน้ั เรยี น เพอ่ื อภปิ รายผลการศกึ ษา เร่ือง ความถีธ่ รรมชาติและการส่นั พ้อง ตามธรรมชาติ 2. ครูสนทนากบั นักเรยี นเก่ยี วกับการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 3. ครูให้แตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมาหนา้ ชนั้ เรียน เพ่ือนําเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 4. ครสู ุม่ นกั เรียนเพอื่ ถามคําถามท่เี ก่ยี วข้องกบั กจิ กรรม เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายผลท้ายกิจกรรมและสรุปความรรู้ ่วมกัน ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ําอภิปรายสรปุ เนอ้ื หาโดยเปดิ PowerPoint เร่อื งท่สี อนควบคูไ่ ปดว้ ย 2. ครใู หน้ ักเรยี นทาํ สรปุ ผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) เรื่อง คล่ืนกล ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน) 3. ครูสมุ่ เลอื กนักเรยี นออกไปนําเสนอผงั มโนทศั น์ของตนเองหน้าชนั้ เรียน (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน) 4. ครูมอบหมายการบ้านให้นกั เรียนทําแบบฝึกหดั เรื่อง คลื่นกล จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 มาสง่ ครใู นช่วั โมงถัดไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook