Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

129061 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ปีการศกึ ษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แรงในธรรมชาติ เรื่อง แรงในนวิ เคลียส เวลา 3 ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนทีแ่ บบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ม.5/10 สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายแรงเข้มและแรงอ่อน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายแรงเขม้ และแรงออ่ นได้ (K) 2. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั กิ ารสืบคน้ ขอ้ มูลแรงเข้มและแรงอ่อนได้ (P) 3. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ หู้ รืออยากรอู้ ยากเห็น และทํางานรว่ มกับผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ แรงในนิวเคลียสหรือแรงนิวเคลียร์ เป็นแรงกระทําในระยะใกล้ ประกอบด้วย 2 ประเภท คือ แรงนิวเคลียร์ อย่างเขม้ เปน็ แรงทย่ี ดึ นิวคลีออนไวภ้ ายในนิวเคลียสและเป็นแรงท่ีส่งผลโดยตรงต่อเสถียรภาพของนวิ เคลียส และ แรงนิวเคลียรอ์ ย่างอ่อน เปน็ แรงที่ทาํ ใหโ้ ปรตอนเปลี่ยนเป็นนิวตรอน และนวิ ตรอนเปล่ยี นเปน็ โปรตอนผ่านการ สลายให้อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งช่วยให้เกิดสมดุลระหว่างโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส ส่งผลให้ทกุ สิ่งอยูร่ วมกนั ได้ในนวิ เคลียส 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - ความหมายของแรงเข้มและแรงออ่ น 4.2 ดา้ นทักษะ (P) - องค์ประกอบของนิวเคลียส

210927 4.3 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ  3. มีวนิ ยั  4. ใฝ่เรียนรู้  5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งมัน่ ในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน  1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานท่ี 2.3 เร่อื ง แรงในนิวเคลียส 6.2 แบบฝกึ หดั เรือ่ ง แรงในนิวเคลียส จากแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ ิกส)์ ม.5 6.3 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง แรงในธรรมชาติ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1-2 ข้ันนาํ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับ แรงและชนิดของแรง ที่เรียนผ่านมาแล้ว และสนทนาถึงการ เรียนเก่ยี วกับ อะตอมและโครงสร้างอะตอม ทนี่ กั เรยี นเรียนผ่านมาในวิชา เคมี สามารถนํามาเชื่อมโยงกับ วชิ าฟิสิกส์ได้ 2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรูใ้ ห้นกั เรยี นทราบ 3. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “ขนาดของแรงในธรรมชาติที่ได้ ศึกษามาแล้วในระดับอนภุ าค จะเรียงลําดับได้อยา่ งไร” (แนวตอบ : เมอ่ื เรียงลําดับตามระยะระหว่างแรงที่กระทําต่อวัตถุหรืออนภุ าคจากน้อยไปมาก คือ แรงใน นวิ เคลียส แรงไฟฟา้ และแรงแม่เหล็ก และแรงโนม้ ถ่วง) 4. ครใู ห้นักเรียนร่วมกันตั้งคําถามทต่ี อ้ งการรจู้ ากเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องกับ เรื่อง แรงในนวิ เคลียส

129083 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรยี นจบั ค่กู ับเพื่อน แลว้ ร่วมกันศึกษา เรอ่ื ง แรงในนวิ เคลยี ส จากหนงั สือเรยี น 2. ครูอาจยกตัวอยา่ งธาตุในวชิ าเคมี จากนัน้ สุม่ นกั เรียนให้อธิบายว่า สามารถเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ ธาตุนั้นได้อย่างไร และธาตุนั้นมีเลขมวลและเลขอะตอมเท่าไร รวมทั้งครูอาจถามเพิ่มอีกว่า ธาตุนั้นมี จํานวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอน เท่าไรบ้างตามลําดับ 3. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มูลเก่ยี วกับ ควาร์ก จากกรอบ Science Focus จากหนงั สือเรยี น 4. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาเกีย่ วกับ ควาร์ก เพ่มิ เตมิ โดยการนําสมารต์ โฟนของตนเองขึ้นมา แลว้ นาํ ไปสแกน QR Code เรื่อง ควาร์ก จากหนังสอื เรียน 5. ครูถามคําถามท้าทายการคิดขั้นสูง จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “เพราะเหตุใดการสลายให้ อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสีจึงอธิบายไม่ได้ด้วยแรงนวิ เคลียร์อย่างเขม้ แรงแม่เหลก็ ไฟฟ้า และแรง โน้มถว่ ง” (แนวตอบ : เนื่องจากแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนเป็นแรงกระทําระหว่างนิวคลีออน และในการสลายให้ อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนจะทําหน้าที่เปลี่ยนนิวตรอนไปเป็นโปรตอน ขณะที่มกี ารปลดปล่อยอเิ ลก็ ตรอนและนวิ ทรโิ น) 6. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วร่วมกันศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เครื่องชนอนุภาคแฮดรอน ขนาดใหญ่ (LHC) จากอินเทอร์เน็ต จากนั้นเขียนสรุปผลการศึกษาเป็นความคิดเห็นของคู่ตนเองลงใน กระดาษ A4 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน จากนั้นให้นําเสนอผลการศึกษาของคู่ตนเองเกี่ยวกับ เครื่องชน อนภุ าคแฮดรอนขนาดใหญ่ จนครบทุกคู่ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันโหวตลงคะแนนผลงานของเพื่อน โดยครูอาจตรวจและให้คะแนนพิเศษสําหรับ เจา้ ของผลงาน 3. ครูแจกใบงานที่ 2.4 เรื่อง แรงในนิวเคลยี ส จากนั้นมอบหมายให้นักเรียนศึกษา แล้วรวบรวมส่งครูทา้ ย ชั่วโมง 4. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เร่ือง แรงในนิวเคลียส จากหนงั สือเรียน ลง ในสมุดบนั ทกึ ประจําตัว แลว้ นํามาส่งครทู ้ายชั่วโมง

210949 5. ครูมอบหมายให้นักเรยี นทําแบบฝึกหดั เรื่อง แรงในนิวเคลียส จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 เป็นการบ้าน แลว้ มาสง่ ครใู นชว่ั โมงถดั ไป ชว่ั โมงท่ี 3 ขัน้ สอน ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู าํ อภปิ รายสรปุ เนื้อหา โดยเปิด PowerPoint เร่ืองที่สอนไปแล้วควบคู่ไปด้วย 2. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรียนสอบถามเกย่ี วกับสงิ่ ทส่ี งสัยหรอื ยงั ไม่เข้าใจเพ่ิมเติม 3. ครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง แรงในนิวเคลียส ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มทั้งตกแตง่ ให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน) 4. ครสู ุม่ เลือกนกั เรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหนา้ ชน้ั เรยี น (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 5. ครูให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง ด้วยกรอบ Self Check เรื่อง แรงในธรรมชาติ จาก หนังสือเรียน ลงในสมดุ บนั ทึกประจําตวั 6. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทําแบบฝกึ หัดจาก Unit Question หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 แรงในธรรมชาติ จาก หนังสือเรียน โดยทําลงในสมุดบันทึกประจําตัวเป็นการบ้าน แล้วรวบรวมส่งครูเพื่อตรวจสอบและให้ คะแนน 7. ครูใหน้ กั เรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรยี น เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจหลังเรียนของนกั เรยี น

220050 ขั้นสรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ แรงในนิวเคลียส เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจใน เนื้อหาที่ได้ศึกษามาแล้วไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง โดยครูให้นักเรียนเขียนสรุป ความรลู้ งในสมดุ บนั ทกึ ประจําตัว 2. ครตู รวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจหลังเรียนของนักเรียน 3. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง แรงในนวิ เคลียส 4. ครูตรวจแบบฝกึ หัดจาก Topic Question เร่ือง แรงในนิวเคลียส ในสมุดบันทึกประจําตัว 5. ครตู รวจแบบฝกึ หัดจาก Unit Question หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงในธรรมชาติ ในสมุดบนั ทึกประจาํ ตัว 6. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง Self Check จากหนังสือเรียน ในสมุดบันทึก ประจาํ ตวั 7. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรอ่ื ง แรงในนวิ เคลยี ส จากแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 8. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทาํ งานกลมุ่ 9. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเนื้อหา เรื่อง แรงในนิวเคลียส ที่นักเรียนได้สร้างขึ้นจากข้ัน ขยายความเขา้ ใจเปน็ รายบุคคล 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 แรงในธรรมชาติ 2) แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 แรงในธรรมชาติ 3) แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 แรงในธรรมชาติ 4) ใบงานที่ 2.4 เรอื่ ง แรงในนิวเคลียส 5) PowerPoint เร่ือง แรงในนวิ เคลียส 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมดุ 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

2061 9. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวัด - ใบงานที่ 2.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบฝกึ หัด - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 9.1 การประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจใบงานที่ 2.3 - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ 2 การจัดกิจกรรม - ตรวจแบบฝกึ หดั นาํ เสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 1) แรงในนวิ เคลียส รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทํางานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2 คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม อนั พงึ ประสงค์ - แบบทดสอบหลงั เรยี น - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทาํ งานรายบุคคล การทํางานรายบุคคล (สมรรถนะของผเู้ รยี น) 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม ทํางานกล่มุ การทํางานกลุ่ม 5) คณุ ลักษณะอนั พงึ - สังเกตความมีวินัย ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทาํ งาน 9.2 การประเมินหลัง - ตรวจแบบทดสอบหลัง เรยี น เรียน - แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เรียน หน่วยการ เรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง แรง ในธรรมชาติ 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

2072 11. บันทกั ผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นกั เรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรียนทีผ่ ่าน จานวนนักเรยี นทไ่ี มผ่ า่ น จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

2083 ลงชอ่ื ................................................................ () ตําแหน่งครวู ทิ ยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ลงชอ่ื ................................................................ () รองผู้อาํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ ความคดิ เห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คดิ เหน็ ดงั น้ี 1. เปน็ แผนการเรียนรู้ที่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ 2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ําเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสาํ คัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ผู้อํานวยการโรงเรียน........................................

2094 ใบงานที่ 2.3 เร่อื ง แรงในนวิ เคลยี ส คาช้แี จง : ให้นกั เรียนเขยี นสรุปความรู้เกย่ี วกบั แรงในนวิ เคลยี ส 1. แรงนวิ เคลียร์อย่างเขม้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. แรงนวิ เคลยี รอ์ ยา่ งออ่ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

21050 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อนภุ าคทม่ี ีประจุไฟฟ้าลบ เคลื่อนท่ีเข้าส่สู นามแม่เหล็กในแนวตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็กแนวการเคล่ือนท่ี จะมลี ักษณะอยา่ งไร 1. อยูน่ ิ่ง 2. เปน็ เส้นตรง 3. โค้งเปน็ เกลียว 4. โคง้ เป็นวงกลม 5. ยอ้ นกลับทศิ ทางเดมิ 2. เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าสู่สนามแม่เหล็ก โดยทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าตั้งฉาก กับทศิ ของสนามแมเ่ หลก็ ผลทีเ่ กิดข้ึนกับการเคล่อื นท่ขี องอนภุ าคนี้จะเปน็ อยา่ งไร 1. ไมม่ กี ารเคลอ่ื นท่ี 2. ทิศการเคล่อื นทไ่ี ม่เปลี่ยนแปลง 3. ทศิ การเคลือ่ นทีเ่ ปล่ียนแปลงเป็นเสน้ โค้ง 4. ทศิ การเคลือ่ นท่ไี ม่เปลย่ี นแปลงแต่อนภุ าคเคลื่อนท่ีช้าลง 5. ทิศการเคลอื่ นท่ีไม่เปลี่ยนแปลงแต่อนภุ าคเคล่ือนท่ีเรว็ ขึ้น 3. แรงท่ียดึ ควารก์ ในโปรตรอนและนิวตรอน คือแรงชนดิ ใด 1. แรงเขม้ 2. แรงอ่อน 3. แรงไฟฟ้า 4. แรงโน้มถ่วง 5. แรงแมเ่ หลก็

21016 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่แรงพนื้ ฐานในธรรมชาติ 1. แรงไฟฟา้ 2. แรงโน้มถว่ ง 3. แรงแม่เหลก็ 4. แรงเสียดทาน 5. แรงในนิวเคลยี ส 5. แทง่ แกว้ หน่งึ มปี ระจุบวกไดด้ ้วยการนํามาถกู ับผ้าไหม โดยในขณะเดียวกนั ผา้ ไหมกจ็ ะมปี ระจดุ ้วยเพราะเหตุใด 1. โปรตอนเพมิ่ ข้นึ 2. โปรตอนหายไป 3. นวิ ตรอนเพ่มิ ขน้ึ 4. อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 5. อิเล็กตรอนหายไป 6. นิวคลีออน หมายถึงอะไร 1. นวิ เคลียสภายในอะตอม 2. อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระในอะตอม 3. โปรตอนและนวิ ตรอนภายในนิวเคลยี ส 4. โปรตอนและอเิ ล็กตรอนภายในนวิ เคลยี ส 5. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนภายในนวิ เคลยี ส 7. แรงในขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความแรงมากท่สี ดุ 1. แรงโนม้ ถ่วง 2. แรงดดู ของแมเ่ หล็ก 3. แรงนวิ เคลียร์อย่างเขม้ 4. แรงดูดระหว่างประจุไฟฟา้ 5. แรงผลักระหว่างประจุไฟฟ้า

21027 8. เสถียรภาพของนิวเคลียสขน้ึ กบั คา่ ใด 1. แรงโน้มถ่วง 2. รศั มนี วิ เคลียส 3. จํานวนนิวคลีออน 4. พลังงานยึดเหน่ยี ว 5. พลงั งานยึดเหน่ียวต่อนวิ คลอี อน 9. แรงในธรรมชาติหรอื แรงพน้ื ฐานมีกปี่ ระเภท 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท 5. 6 ประเภท 10.ขอ้ ใดกล่าวถงึ แรงนิวเคลียรไ์ ด้ถูกตอ้ ง 1. แรงดึงดูดทีเ่ กิดขนึ้ ระหว่างโมเลกุลของสาร 2. แรงท่ที ําให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม 3. แรงดงึ ดดู ระหว่างนิวเคลยี สกบั อิเล็กตรอนอสิ ระ 4. แรงทที่ ําใหอ้ ะตอมหนึง่ อย่ตู ดิ กบั อกี อะตอมหนง่ึ 5. แรงท่ีทําให้อนภุ าคโปรตอนอยูร่ วมกันในนวิ เคลียสของอะตอมได้ เฉลย 1. 1 2. 3 3. 1 4. 4 5. 4 6. 3 7. 3 8. 5 9. 3 10. 5

21038 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนื้อหา   2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 วธิ กี ารนําเสนอผลงาน   4 การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชอื่ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............/................./.................. เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรับปรงุ

221049 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น รวม ลาดับ ชอ่ื -สกุลของนักเรยี น ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน 15 การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปญั หา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/.................../................

2150 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกีย่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าทค่ี วร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

2161 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี สว่ นรว่ ม รวม ของนักเรียน ความ ยอมรับฟงั ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คิดเหน็ ได้รับ ปรับปรุง คะแนน คนอื่น ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

221172 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

221183 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 ผนการจัดเรกอ่ื างรเพรลียงั นงารนู้

221194 10 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 เร่ือง พลงั งานในชีวิตประจาวนั

221250 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 10 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 พลงั งาน รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) เรอื่ ง พลังงานในชวี ติ ประจาวัน ปีการศึกษา 2564 เวลา 4 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นําความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.3 ม.5/2 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและ อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานโดยเน้นด้าน ประสทิ ธิภาพและความคมุ้ ค่าด้านค่าใช้จ่าย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายการเปลย่ี นพลังงานทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟ้าได้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิการสบื ค้นข้อมลู การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ (P) 3. นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้าน พลงั งานโดยเน้นด้านประสทิ ธภิ าพและความคมุ้ ค่าดา้ นค่าใช้จ่ายได้ (P) 4. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ทางดา้ นพลงั งานโดยเนน้ ด้านประสิทธิภาพและความค้มุ คา่ ดา้ นค่าใช้จา่ ยได้ (P) 5. นกั เรยี นมคี วามสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรู้อยากเหน็ และทํางานร่วมกับผูอ้ ืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ พลังงาน คือ ความสามารถในการทํางานของวัตถุ ในปัจจุบันพลังงานเป็นส่ิงจําเป็นในการดํารงชีวิตของ มนุษย์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ โดยพลังงานมี อยู่ทุกแห่งหนรอบตัวเราในรูปต่าง ๆ สามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ พลังงานตามการใช้งานใน ชีวิตประจําวัน และพลังงานตามการใชง้ านของนักวิทยาศาสตร์ พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปได้แต่ไมส่ ามารถทํา

21261 ให้สูญหายหรือสร้างข้นึ ใหม่ได้ ซงึ่ เป็นไปตามกฎการอนุรักษพ์ ลังงาน จึงกลา่ วได้ว่า การผลติ และการใช้พลังงาน ของมนุษย์เป็นเพียงการเปลี่ยนรูปพลังงานเท่านั้น เช่น การเปลี่ยนพลังงานกลของนํ้าที่กักเก็บไว้ในเขื่อนเป็น พลงั งานไฟฟา้ ดว้ ยเครอื่ งกําเนิดไฟฟา้ เปน็ ต้น 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - ความหมายของพลงั งาน - ประเภทของพลงั งานทดแทน - แหลง่ ท่มี าของพลงั งานท่พี บเห็นจากการทาํ กจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั 4.2 ดา้ นทักษะ (P) - ผลการศกึ ษา เรอ่ื ง ไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทติ ย์ 4.3 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)  1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต  3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้  5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ ม่ันในการทํางาน  7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง พลงั งาน 6.2 ใบงานที่ 3.1 เร่ือง พลังงานส้ินเปลือง 6.3 แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง พลังงานส้ินเปลือง จากแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 6.4 ผงั มโนทัศน์ เรื่อง พลงั งานหมุนเวยี น

22127 7. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ข้ันนาํ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กิจกรรม 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจําวันของนักเรียน แล้วให้นักเรียนช่วยกัน ยกตวั อย่างพลงั งานท่รี ูจ้ ักว่ามอี ะไรบา้ ง 4. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามว่า “ในความเข้าใจของนักเรียน นักเรียนคิดว่าคําว่าพลังงาน หมายถงึ อะไร” และใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบคําถามปากเปลา่ โดยไม่มีการเฉลยวา่ ถูกหรือผดิ 5. ครูถามคําถามนําเข้าสู่บทเรียน โดยใช้คําถาม Big Question จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 ว่า “ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลต่อพลังงานหรือไม่ อยา่ งไร” (แนวตอบ : ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีส่งผลตอ่ พลังงาน เนอ่ื งจากการพฒั นาของเทคโนโลยีทาํ ให้เกิด การสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการสรา้ งพลังงานหรอื เกบ็ กักพลังงานได้มปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงข้ึน จึงทําให้การ แก้ปัญหาเพื่อตอบสนองความต้องการด้านพลังงานได้มากขึ้น และยังทําให้การใช้พลังงานมี ประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ อีกด้วย) 6. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนจาก Understanding Check จากหนังสือเรยี น ลง ในสมดุ บนั ทึกประจําตัว (แนวตอบ : 1. ผดิ 2. ถูก 3. ถูก 4. ถกู 5. ผิด) 7. ครูให้นักเรยี นตง้ั คําถามเกย่ี วกับสิ่งท่ีต้องการเรียนรเู้ ก่ยี วกับ เรอ่ื ง พลังงาน แลว้ บันทึกเป็นขอบเขตและ เปา้ หมายทต่ี อ้ งการเรียนรู้ ลงในสมดุ เพอ่ื นาํ มาสง่ ครู (หมายเหต:ุ ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล)

21283 8. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับ เรื่อง พลังงาน ของนักเรียนว่า “พลังงานแบ่งตามการใช้งานในชีวิตประจําวันออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง” (แนวตอบ : แบง่ ออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานความรอ้ น พลังงานไฟฟ้า พลงั งานการแผร่ งั สี และพลังงานนวิ เคลยี ร์) 9. ครแู จง้ ใหน้ ักเรียนทราบวา่ จะได้ศึกษาเก่ียวกับพลงั งานในชวี ิตประจาํ วนั ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรียนศึกษา เร่ือง ประเภทของพลังงาน จากหนงั สือเรียน 2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน เพื่ออธิบายความหมายของพลังงานที่ครูกําหนดให้ คน ละ 1 พลงั งาน พรอ้ มยกตัวอยา่ ง โดยไม่ให้ซ้าํ กับในหนงั สอื เรียน 3. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ แล้วร่วมกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้า พลังงานการแผ่รังสี และพลังงานนิวเคลียร์ จากน้ัน ร่วมกนั สรปุ แล้วเขียนลงในสมดุ บนั ทึกประจําตัว 4. ครูถามคาํ ถามกระตนุ้ ความคิดกับนกั เรียนว่า กฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล่าวว่าอยา่ งไร 5. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาแผนภาพแสดงตวั อย่างการเปลยี่ นรูปพลังงานระหว่างพลงั งานรปู แบบตา่ ง ๆ 6. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับสถานการณใ์ นปัจจุบัน ซึ่งทั่วโลกกําลังประสบปัญหาเก่ียวกับพลงั งาน เช่น ปริมาณนํ้ามันดิบที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาขายสูงขึ้น ปัญหามลภาวะในอากาศที่เกิดจากการ เผาไหม้ของเชือ้ เพลงิ ฟอสซิล ทําให้มีการส่งเสริมงานสํารวจและวิจยั เพ่ือค้นหาแหล่งพลงั งานใหม่ทดแทน พลังงานจากนํ้ามันและเชื้อเพลิงฟอสซิลอื่น ๆ ซึ่งพลังงานที่ผลิตขึ้นมาทดแทนนํ้ามันและเชื้อเพลิง ฟอสซิล คือ พลงั งานทดแทน 7. ครูให้นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ ความหมายของพลังงานทดแทนจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ 8. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษา เร่ือง พลังงานทดแทนประเภทสิน้ เปลือง จากหนงั สือเรยี น 9. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของ NGV ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้จากกรอบ Physics in real life จากหนังสอื เรยี น 10. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ จากนั้นร่วมกันพูดคุยและสรุปความรู้ เรื่อง พลังงานทดแทน ประเภทสิ้นเปลอื งลงในสมดุ บันทกึ ประจาํ ตวั

21249 11. ครถู ามคาํ ถามท้าทายการคดิ ข้ันสูงจากหนังสือเรียนกับนักเรยี นว่า “เหตใุ ดจึงจัดใหพ้ ลังงานนิวเคลียร์เป็น พลงั งานทดแทนประเภทส้นิ เปลือง” โดยใหน้ กั เรยี นเขยี นคาํ ตอบลงในสมุดบนั ทกึ ประจาํ ตวั (แนวตอบ : เนื่องจากนักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ของดวงอาทิตย์จะหมดภายใน 5 พันล้านปี ซึ่งแร่ยูเรเนียมที่ใช้เป็นแหล่งพลังงานในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของ นิวเคลียสของยูเรเนียมกลายเป็นธาตุใหม่ เมื่อยูเรเนียมเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แล้วจะไม่สามารถทําให้ ธาตใุ หมท่ ีเ่ กิดข้นึ กลบั คืนสภาพไปเป็นยูเรเนียมได้อกี จึงมีความเป็นไปได้ท่ีเชื้อเพลงิ นิวเคลยี ร์ของโลกจะ หมดไปในอนาคต) ชวั่ โมงท่ี 2 ขัน้ สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ให้นักเรียนจับกลุ่ม 3 คน ตามเลขที่ของตนเอง เช่น กลุ่มเลขที่ 1-3 กลุ่มเลขที่ 4-6 ไปเรื่อย ๆ จากนั้นครู แจกใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง พลงั งานสนิ้ เปลอื ง ให้นกั เรียนช่วยกนั ทำ (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม) 2. ครนู ำอธบิ ายความหมายของพลังงาน ประเภทของพลังงาน รวมถงึ พลงั งานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เพ่ือ เปน็ การสรุปความเขา้ ใจของนักเรียนให้เปน็ ไปในแนวทางเดียวกัน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นกั เรียนศึกษา เรื่อง พลังงานทดแทนประเภทหมนุ เวียน จากหนังสือเรยี น 2. ครูแนะนำให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานหมุนเวียนประเภทต่าง ๆ จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศหรืออินเทอร์เน็ต โดยเน้นย้ำถึงขั้นตอนหรือกระบวนการในการเปลี่ยนรูปพลังงานเป็น พลังงานไฟฟา้ ของพลังงานหมนุ เวียนประเภทตา่ ง ๆ 3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มกับเพื่อน 5-6 คน จากนั้นร่วมกันอภิปรายผลการศึกษาของแต่ละคนภายในกลุ่ม แลว้ เขยี นสรุปลงในสมดุ บนั ทกึ ประจำตัว 4. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการศึกษาและอภิปรายร่วมกันของกลุ่มตนเองให้ เพอื่ น ๆ และครฟู ังหนา้ ช้ันเรยี น 5. ครูถามคำถามกับนักเรียนว่า พลังงานทดแทนแต่ละประเภทสามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ อย่างไร เพอ่ื เป็นการเนน้ นำ้ ถงึ จุดประสงคใ์ นการศึกษา เรอื่ ง พลงั งานหมุนเวียน 6. ครูใหน้ ักเรยี นเกบ็ รวบรวมใบงานท่ี 3.1 เรื่อง พลังงานสิ้นเปลือง ส่งคนื ครเู พ่ือนำไปตรวจและใหค้ ะแนน

2250 ชั่วโมงท่ี 3 ขนั้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 7. ครคู นื ใบงานท่ี 3.1 และทบทวนเนื้อหาท่ีได้ศึกษาไปในชัว่ โมงทแี่ ลว้ อีกครั้ง โดยเปดิ PowerPoint เรื่อง พลังงานทดแทน แล้วนําสรุปให้นักเรียนเข้าใจตรงกันว่า “สิ่งมีชีวิตต้องอาศัยพลังงานในการดํารงชีวิต มนษุ ยไ์ ด้นําพลงั งานจากแหล่งกําเนิดต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ ไมว่ ่าจะเปน็ แหลง่ พลังงานส้ินเปลือง ได้แก่ พลังงานฟอสซิล พลงั งานนวิ เคลยี ร์ และแหลง่ พลงั งานหมุนเวียน ไดแ้ ก่ พลังงานนํา้ พลังงานความร้อนใต้ พิภพ พลังงานชีวมวล พลังงานลม และพลังงานแสงอาทิตย์ ดังน้ัน การใช้พลังงานต้องคํานึงถึงแหล่ง พลังงานทม่ี ีอย่รู วมท้ังผลกระทบตา่ ง ๆ ท่ีจะเกดิ ข้นึ ในทกุ ๆ ด้าน” 8. ครูสนทนากับนักเรียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพลังงานนิวเคลียร์ที่ได้ศึกษาไปแล้วว่าเป็นพลังงาน ทดแทนประเภทหนงึ่ ซ่ึงเป็นแหลง่ พลงั งานอย่างหน่ึงท่สี ะอาดและเปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม 9. ครูนําเข้าสู่เนื้อหาที่กําลังจะศึกษาด้วยการสนทนาต่อว่าการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ผลิตได้จาก โรงไฟฟ้านิวเคลยี ร์ คอื ใช้ความรอ้ นจากเคร่อื งปฏิกรณน์ ิวเคลยี ร์แบบฟิชชนั 10. ครูให้นักเรียนศึกษาส่วนประกอบสําคัญภายในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบฟิชชันที่ประกอบด้วย มัด เชอ้ื เพลิง แท่งควบคุม และตวั หนว่ งอัตราเร็วของนิวตรอนจากหนังสอื เรยี น 11. ครสู ุ่มถามคําถามกับนกั เรียนเก่ยี วกับส่วนประกอบภายในเครื่องปฏกิ รณ์นวิ เคลียรแ์ บบฟชิ ชันที่ได้ศึกษา มาแลว้ เพอื่ เพิม่ ความเขา้ ใจใหม้ ากขนึ้ 12. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มอย่างอิสระกลุ่มละ 3-4 คน จากนั้นให้ร่วมกันศึกษาการทํางานของโรงไฟฟ้า นิวเคลยี รจ์ ากหนงั สือเรยี น 13. ครูแจกกระดาษฟลิปชารต์ ให้นกั เรียนกลุ่มละ 1 แผ่น 14. ครูแนะนําให้นักเรียนสบื ค้นข้อมูลเพ่ิมเติมจากอินเทอร์เน็ต แลว้ ร่วมกันอภิปรายผลการศึกษาจนได้เป็น แนวทางท่ีเขา้ ใจตรงกันทั้งกลุ่ม 15. ครูให้นกั เรียนเขียนสรปุ ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการศึกษาลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ต เพอ่ื นาํ เสนอผลการศึกษาหน้า ชั้นเรียน พร้อมตกแตง่ ให้สวยงาม

222261 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ นกั เรยี นออกมาหนา้ ชั้นเรียน เพ่ือนําเสนอผลการศึกษาทีละกล่มุ จนครบทุกกลุ่ม 2. ครูอธิบายการทาํ งานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้นักเรียนฟังอีกครั้ง เพื่อเป็นการรวบยอดความคิด จาก การนําเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม โดยครูอาจให้นักเรียนทําการสแกน QR Code เรื่อง โรงไฟฟ้า นวิ เคลยี ร์ จากหนงั สอื เรยี น แล้วดเู ป็นการสรปุ อีกครัง้ 3. ครูเสรมิ ความรู้ เรื่อง โรงไฟฟ้านิวเคลยี ร์ฟวิ ชนั ในกรอบ Science Focus จากหนังสอื เรยี น ชวั่ โมงที่ 4 ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มเดิมที่ได้แบ่งไว้เมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา จากนั้นร่วมกันศึกษา เรื่อง ไฟฟ้าจาก พลงั งานแสงอาทติ ย์ จากหนงั สอื เรยี น 2. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกันพูดคยุ เก่ยี วกับเร่ืองท่ีศึกษา จากนน้ั ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนเขยี นสรปุ ความรู้ลงในสมุด บนั ทกึ ประจําตัว เพือ่ นาํ สง่ ครูท้ายชั่วโมง อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูส่มุ นกั เรยี นออกมานําเสนอผลการศกึ ษาหนา้ ชัน้ เรียน โดยส่มุ ออกมาเพียง 5 กลุม่ ซ่งึ ครูเป็นคนเลือก วา่ จะใหก้ ล่มุ ไหนนําเสนอเรอ่ื งอะไร โดยมหี ัวข้อเร่ือง ดังตอ่ ไปนี้ • การใชค้ วามร้อนจากแสงอาทิตยใ์ นการผลติ ไฟฟ้า ระบบความร้อนรวมศนู ย์ • การใชค้ วามร้อนจากแสงอาทิตยใ์ นการผลติ ไฟฟ้า ระบบสระแสงอาทติ ย์ • การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทติ ยเ์ ป็นพลงั งานไฟฟ้าโดยตรง ระบบเซลลส์ รุ ยิ ะแบบอสิ ระ • การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง ระบบเซลล์สุริยะแบบต่อกับระบบ จําหน่าย • การเปลีย่ นพลังงานแสงอาทติ ยเ์ ป็นพลังงานไฟฟา้ โดยตรง ระบบเซลลส์ รุ ิยะแบบผสมผสาน 2. ขณะที่นักเรียนแต่ละกลุ่มกําลังนําเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ ให้ นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจท่ีตรงกันมากยิ่งขึน้

2227 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหาด้วยคําถามต่อไปนี้ แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบปากเปล่า โดยเปิด PowerPoint เรื่องท่ีสอนไปแลว้ ควบคไู่ ปด้วย a. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์นําไปใชใ้ นก่รี ปู แบบ อะไรบ้าง (แนวตอบ : 2 รปู แบบ คือ นําไปผลิตไฟฟ้าและนําไปผลิตนํา้ ร้อน) b. พลังงานลมเป็นพลงั งานลกั ษณะใด (แนวตอบ : พลังงานกล) c. แหล่งพลังงานใดทีเ่ ป็นแหล่งพลงั งานต้นกาํ เนดิ ของพลังงานอืน่ (แนวตอบ : พลงั งานจากดวงอาทติ ย์) 2. ครูให้นกั เรยี นทําสรปุ ผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) เร่ือง พลังงานทดแทน ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน) 3. ครูสมุ่ เลอื กนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทศั น์ของตนเองหนา้ ชน้ั เรียน (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน จาก หนังสือเรียน ลงในสมุดบันทกึ ประจําตวั แล้วนาํ มาสง่ ครทู า้ ยชว่ั โมง 5. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 มาสง่ ครูในชั่วโมงถดั ไป ขั้นสรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรเู้ กยี่ วกับ พลงั งานในชวี ิตประจาํ วนั และพลงั งานทดแทน เพื่อให้ นักเรียนทุกคนได้มคี วามเข้าใจในเน้อื หาที่ไดศ้ ึกษามาแลว้ ไปในทางเดยี วกัน และเปน็ ความเข้าใจที่ ถูกต้อง โดยครูให้นักเรยี นเขยี นสรุปความรู้ลงในสมดุ บันทึกประจาํ ตัว 2. ครูตรวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจกอ่ นเรียนของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบความเขา้ ใจก่อนเรียนจาก Understanding Check ในสมดุ บันทึก ประจําตัว 4. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงานที่ 3.1 เร่ือง พลงั งานสน้ิ เปลอื ง 5. ครตู รวจแบบฝกึ หัดจาก Topic Question เรือ่ ง พลังงานในชีวิตประจาํ วัน ในสมุดบนั ทึกประจําตวั

2283 6. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน จากแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส)์ ม.5 7. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทํางานกลุม่ 8. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากชิ้นงานการสรปุ เนอ้ื หา เร่ือง พลงั งานทดแทน ที่นกั เรยี นไดส้ ร้างข้ึนจากขน้ั ขยายความเขา้ ใจเปน็ รายบุคคล 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 6) หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 พลังงาน 7) แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 พลงั งาน 8) แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 พลงั งาน 9) ใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง พลังงานสิ้นเปลอื ง 10) PowerPoint เร่ือง พลงั งาน 11) กระดาษฟลปิ ชาร์ต 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 4) ห้องเรียน 5) หอ้ งสมดุ 6) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

2249 9. การวัดและประเมินผล วธิ วี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั 9.1 การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรว จแบบท ด ส อ บ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พลังงาน 9.2 การประเมนิ ชิ้นงาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ 2 ภาระงาน พลงั งานหมุนเวยี น ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 9.3 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานที่ 3.1 - ใบงานท่ี 3.1 - รอ้ ยละ 60 ผ่าเกณฑ์ ระหว่างเรยี น - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) พลังงานส้ินเปลอื ง 2) การนําเสนอผลงาน - ประเมินการนาํ เสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน นาํ เสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 รายบุคคล (สมรรถนะของ การทาํ งานรายบุคคล รายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ ผเู้ รียน) 4) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 กลมุ่ การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่นั คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อันพงึ ประสงค์ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

23205 11. บันทกั ผลหลงั การสอน สรุปผลการเรียนการสอน นักเรียนทั้งหมดจานวน.............คน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จานวนนักเรียนที่ผา่ น จานวนนกั เรยี นท่ีไม่ผา่ น จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปัญหา/อปุ สรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

222361 ลงชือ่ ................................................................ () ตําแหน่งครวู ทิ ยฐานะ....................................... ลงชือ่ ................................................................ () หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ลงช่อื ................................................................ () รองผอู้ ํานวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ ความคิดเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรูข้ อง.................................................................... ...........แล้วมีความ คดิ เห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการเรยี นร้ทู ่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจัดกิจกรรมได้นาํ เอากระบวนการเรยี นรู้  เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สําคญั มาใชใ้ นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สําคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป

23227 3. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................................ () ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี น........................................

22383 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 คําชแี้ จง : ให้นักเรยี นเลอื กคาํ ตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สุดเพียงข้อเดยี ว 1. ขอ้ ใดคืออุปกรณ์ท่ีทําหน้าท่ีผลิตกระแสไฟฟา้ ของโรงไฟฟ้าพลงั นํา้ 1. แผงเซลล์สรุ ยิ ะ 2. เคร่อื งควบแนน่ 3. กังหนั นาํ้ และเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้า 4. กังหันลมและเครือ่ งกาํ เนิดไฟฟา้ 5. กงั หันไอนํา้ และเครอื่ งกาํ เนิดไฟฟา้ 2. ขอ้ ใดคอื ข้อจํากัดของโรงไฟฟ้าพลงั งานลม 1. พ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม 2. ปลอ่ ยแกส๊ เรอื นกระจก 3. ใชพ้ ืน้ ทีใ่ นการก่อสร้างน้อย 4. สามารถผลติ ไฟฟา้ ไดต้ ลอดเวลา 5. เป็นแหลง่ พลงั งานทไี่ มม่ คี า่ เชื้อเพลิง 3. โรงไฟฟา้ ในขอ้ ใดมีต้นทุนการผลติ ไฟฟ้าต่อหน่วยตาํ่ ทสี่ ดุ 1. โรงไฟฟ้าชวี มวล 2. โรงไฟฟา้ พลงั น้ํา 3. โรงไฟฟา้ พลงั ลม 4. โรงไฟฟา้ นิวเคลียร์ 5. โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์

223249 4. พลงั งานความรอ้ นใตพ้ ิภพ เปน็ พลังงานธรรมชาติทเี่ กดิ จากอะไร 1.ลาวา 2.แมกมา 3.น้ําร้อน 4.หนิ ร้อน 5.หินนํ้ามัน 5. แก๊สธรรมชาติมอี งค์ประกอบในขอ้ ใดมากท่ีสดุ 1. อเี ทน 2. มีเทน 3. บิวเทน 4. เพนเทน 5. โพรเพน 6. หน่วยตอ่ ไปนี้ หนว่ ยใดท่ไี มไ่ ด้ใช้วดั ค่าของพลงั งาน 1. จลู 2. บีทยี ู 3. นิวตนั 4. แคลอร่ี 5. วตั ต์ ช่ัวโมง 7. ปฏิกิริยานวิ เคลยี รท์ ีเ่ กดิ ขึน้ บนดวงอาทติ ย์ เกดิ ข้ึนจากสารต้งั ตน้ ของธาตุใด 1. ฮเี ลยี ม 2. โคบอลต์ 3. ไฮโดรเจน 4. พลโู ตเนียม 5. ไทเทเนยี ม

2350 8. การนําเอทานอลมาผสมนํา้ มนั ดีเซลจะได้สารเชือ้ เพลงิ ท่ีมีช่อื ว่าอะไร 1. ดโี ซฮอล์ 2. นํา้ มันเตา 3. ไบโอดีเซล 4. ไฟโตดีเซล 5. แก๊สโซฮอล์ 9. แหลง่ พลังงานในข้อใดท่ีไมใ่ ช่แหลง่ พลงั งานหมุนเวียน 1. ลม 2. นาํ้ 3. ชีวมวล 4. แสงอาทติ ย์ 5. แก๊สธรรมชาติ 10. ขอ้ ใดคอื พลังงานหมนุ เวยี นท้ังหมด 1. นวิ เคลยี ร์ ลม นํ้า 2. ถา่ นหนิ นา้ํ ชวี มวล 3. ลม นํา้ แสงอาทิตย์ 4. แสงอาทิตย์ น้าํ แกส๊ ธรรมชาติ 5. นา้ํ มนั ดิบ ถา่ นหิน แกส๊ ธรรมชาติ เฉลย 1. 3 2. 1 3. 2 4. 3 5. 2 6. 3 7. 3 8. 1 9. 5 10. 3

2361 ใบงานที่ 3.1 เร่ือง พลังงานส้ินเปลอื ง คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. พลังงานฟอสซลิ คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การนําพลังงานฟอสซิลมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานไฟฟ้า สามารถนํามาใ ช้ได้ในกี่รูปแบบ อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. แก๊สธรรมชาติ คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถ่านหิน คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. นํา้ มันดบิ คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2372 เฉลยใบงานที่ 3.1 เร่อื ง พลงั งานส้ินเปลือง คาช้แี จง : ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. พลังงานฟอสซิล คืออะไร พลังงานของสารเชื้อเพลิงที่เกิดจากซากพืชซากสัตว์ ที่ทับถมจมอยู่ใต้พื้นพิภพเป็นเวลานานหลาย พันล้านปี โดยอาศัยแรงอัดของเปลือกโลกและความร้อนใต้ผิวโลกมีท้ังของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ได้แก่ ถ่านหิน นํ้ามัน และแก๊สธรรมชาติ ตามลําดับ แหล่งพลังงานนี้เป็นแหล่งพลังงานท่ีสําคัญในการผลิต พลังงานไฟฟ้าในปัจจุบัน สําหรับประเทศไทยใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าประมาณร้อยละ 70 ของแหล่ง พลังงานท้ังหมด 2. การนําพลังงานฟอสซิลมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานไฟฟ้า สามารถนํามาใช้ได้ในกี่รูปแบบ อะไรบ้าง 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ แกส๊ ธรรมชาติ ถา่ นหนิ และนา้ํ มันดิบ 3. แกส๊ ธรรมชาติ คอื อะไร สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอน ที่เกิดจากการทับถม ของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้เป็น มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน และเพนเทน เกิดจากการสะสมและทับถมของซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และ ในทะเลเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้วแปรสภาพเป็นแก๊สและนํ้ามัน เนื่องจากความร้อนและความกดดัน ของโลกท่ีสะสมอยู่ในช้ันดินหรือเป็นแก๊สที่ติดมากับนา้ํ มันดิบจากหลุมน้าํ มันดบิ 4. ถา่ นหิน คืออะไร ถา่ นหนิ เป็นแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติชนิดหนึ่ง ประกอบดว้ ยสารคาร์บอนมากกว่าร้อยละ 50 โดยน้ําหนักและ มากกว่าร้อยละ 70 โดยปริมาตร มีสีนํ้าตาลอ่อนจนถึงสีดํา ถ่านหินแบ่งออกตามค่าความร้อนที่ได้และร้อยละ ของจาํ นวนคาร์บอนเป็น 4 ประเภท คือ แอนทราไซต์ บทิ มู นิ ัส ซับบทิ ูมนิ สั และลิกไนต์

223383 5. น้าํ มันดบิ คืออะไร นาํ้ มนั ดิบหรือน้ํามันปิโตรเลียมมีสถานะเป็นของเหลวหนืดกึ่งของแข็ง ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอน มีสี เหลอื งอ่อน สีน้าํ ตาล สีนํ้าตาลแก่ ไปจนถึงสีดํา ในการนําน้ํามันปิโตรเลียมมาใช้งานเม่ือทําการขุดเจาะนํ้ามัน จากใต้ดินแล้ว จะต้องนํานํ้ามันดิบมาผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลง เพื่อจัดระเบียบโมเลกุลของ สารประกอบในนํ้ามนั ดิบเสยี ใหมใ่ ห้เหมาะสมกับการนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ กระบวนการดังกลา่ วน้เี รยี กวา การ กลั่นลําดับส่วน ซึ่งจะให้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ออกมา ได้แก่ แก๊สหุงต้ม นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันก๊าด นํ้ามัน เคร่ืองบิน น้ํามนั ดเี ซล นาํ้ มันเตา ไขมนั และยางมะตอย

223394 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................

24305 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ไม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

24361 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน   4 การนําไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

223472 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น รวม 15 ลาดบั ชื่อ-สกุลของนักเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คะแนน การสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/.................../................

224338 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าที่ควร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

23449 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

2450 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

224461 11 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 11 เรอ่ื ง พลังงานนิวเคลยี ร์

สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ 2427 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 พลงั งาน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11 เรอ่ื ง พลังงานนวิ เคลียร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ปีการศึกษา 2564 เวลา 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.3 ม.5/1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวล กบั พลังงานทป่ี ลดปลอ่ ยออกมาจากฟชชันและฟวชนั 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายพลงั งานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชนั และความสัมพันธ์ระหวา่ งมวลกับพลังงาน ทปี่ ลดปล่อยออกมาจากฟชชันและฟวชนั ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบคน้ ข้อมูลพลังงานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชนั และความสัมพันธ์ระหว่าง มวลกับพลังงานท่ีปลดปลอ่ ยออกมาจากฟชชันและฟวชันได้ (P) 3. นกั เรยี นมีความสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ และทาํ งานร่วมกับผอู้ น่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ พลังงานนวิ เคลียร์ เป็นพลังงานซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยออกมาเม่ือมีการแยก รวม หรือแปลงนิวเคลียสของ อะตอมของธาตุบางธาตุ ซึ่งพลังงานเหล่านั้นอาจเป็นพลังงานความร้อนและพลังงานจากการแผ่รังสีอันมีผล โดยตรงจากการที่มวลสารเปลี่ยนสภาพ เป็นพลังงานตามทฤษฎีสัมพัทธภาพแห่งสสารและพลังงานของ ไอน์สไตน์ ในปัจจุบันมีการค้นคว้าวิจัยเพื่อนําพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ มีหลาย ประเทศนําพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านการแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม จนปัจจุบันนิวเคลยี รไ์ ด้เขา้ ไปมบี ทบาทในชีวิตประจาํ วันมากขนึ้ ทุกที

2483 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - ความหมายของพลงั งานนิวเคลียร์ - ประเภทของพลงั งานนวิ เคลียร์ฟิชชนั และฟวิ ชนั 4.2 ดา้ นทกั ษะ (P) - ปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลพลงั งานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชนั และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกบั พลังงานที่ ปลดปล่อยออกมาจากฟชชนั และฟวชนั 4.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)  1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สตั ย์สุจรติ  3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้  5. อยู่อยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มั่นในการทํางาน  7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน  1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ช้นิ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานที่ 3.2 เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ 6.2 แบบฝกึ หัด เรอ่ื ง พลังงานนิวเคลียร์ จากแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 6.3 ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง พลงั งานนวิ เคลยี ร์

224449 7. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขัน้ นํา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครนู ําวีดิทศั นเ์ กีย่ วกบั พลงั งานนวิ เคลียรแ์ ละระเบิดปรมาณู มาเปิดใหน้ กั เรยี นชม 3. นักเรียนอภปิ รายและบอกไดว้ ่าพลงั งานนิวเคลียรม์ ปี ระโยชน์และโทษอย่างไรในชีวติ ประจาํ วนั 4. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 เพื่อกระตุ้น ความสนใจของนักเรียนว่า “พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นผลมาจากสิ่งใด” และให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตอบคําถามปากเปลา่ โดยไม่มีการเฉลยว่าถกู หรือผิด (แนวตอบ : พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของธาตุ ซ่ึง การเปลี่ยนแปลงนั้นมี 2 แบบ คือ นิวเคลียสของธาตุมวลมากแตกออกเป็นธาตุที่มีมวลน้อยกว่า และ นิวเคลียสของธาตุทม่ี ีมวลน้อยรวมกันเปน็ นวิ เคลียสของธาตทุ ี่มมี วลมากขึ้น) 5. ครถู ามคําถามกระตนุ้ ความสนใจกับนกั เรียนว่า “พลังงานนวิ เคลยี ร์เกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร” 6. ครูให้นักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับ เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ แล้วบันทึกเป็น ขอบเขตและเป้าหมายที่ตอ้ งการเรียนรู้ ลงในสมุดเพื่อนาํ มาส่งครู (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล)

25405 ข้นั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู ห้นักเรยี นศึกษา เรื่อง พลังงานนวิ เคลยี ร์ จากหนังสอื เรียน 2. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับฟิชชันและฟิวชันจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ เช่น อินเทอร์เนต็ ประกอบกบั เนื้อหาจากหนังสอื เรียน 3. ครูให้นกั เรียนเขียนสรปุ ความรทู้ ่ไี ดศ้ ึกษาลงในสมุดบันทึกประจําตัวของแต่ละคน 4. ครูสุ่มตัวแทนนกั เรียนออกมาหนา้ ชั้นเรียน เพื่ออธิบายใหเ้ พื่อนในชั้นเรียนฟังเกีย่ วกับขอ้ มูลท่ีตนเองได้ ทาํ การศึกษามาแล้ว 5. ครูแจกใบงานที่ 3.2 เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ ให้นักเรียน จากนั้นมอบหมายให้นักเรียนลงมือทํา แล้ว เกบ็ รวบรวมส่งคืนครูท้ายชั่วโมง อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ความหมายของปฏิกิริยาฟิชชัน ปฏิกิริยาฟิวชัน และการ ใช้ประโยชน์ 2. ครูเปิด PowerPoint เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ ให้นักเรียนดูเป็นการสรุปความรู้ให้มีความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกนั มากย่งิ ขน้ึ 3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความสําคัญของพลังงานนิวเคลียรใ์ นชีวติ ประจาํ วนั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรยี นทาํ สรปุ ผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) เรอื่ ง พลังงานนวิ เคลียร์ ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน) 2. ครูสมุ่ เลือกนักเรยี นออกไปนําเสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหนา้ ชนั้ เรยี น (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมินการนาํ เสนอผลงาน) 3. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน จาก หนงั สอื เรียน ลงในสมุดบนั ทึกประจาํ ตวั แลว้ สง่ ครทู า้ ยชว่ั โมง 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook