Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

5416 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ําเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ

5427 02 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง แรงและกฎการเคลอ่ื นทขี่ องนวิ ตนั

4583 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 แรงและการเคลอื่ นท่ี เรื่อง แรงและกฎการเคลอ่ื นท่ขี องนวิ ตัน เวลา 6 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนทแี่ บบตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นําความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.2 ม.5/2 สงั เกตและอธิบายการหาแรงลัพธท์ ี่เกดิ จากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทําต่อ วัตถุ โดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ ว 2.2 ม.5/3 สังเกต วิเคราะห์และอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถกุ ับแรงลัพธ์ที่กระทําตอ่ วัตถุและมวลของวัตถุ ว 2.2 ม.5/4 สงั เกตและอธิบายแรงกริ ิยาและแรงปฏกิ ริ ิยา ระหว่างวตั ถคุ หู่ น่งึ ๆ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายการหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงทีอ่ ยู่ในระนาบเดียวกนั ท่ีกระทําต่อวัตถุ โดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุและมวล ของวตั ถุ (K) 3. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุและมวล ของวตั ถุได้ (K) 4. นกั เรียนสงั เกตการหาแรงลัพธท์ ีเ่ กดิ จากแรงหลายแรงท่ีอยูใ่ นระนาบเดียวกันท่กี ระทําต่อวตั ถุ โดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ได้ (P) 5. นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุและมวลของวัตถุได้ (P)

5449 6. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้ และทํางานร่วมกบั ผ้อู ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ แรง คือ สิ่งที่สามารถทําใหวัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะหรือสภาพการเคลื่อนที่ แรงเปนปริมาณ เวกเตอร ลักษณะของแรงโดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยลักษณะหลัก ๆ ได้แก่ แรงต้องมีผู้ถูกกระทํา แรงต้องมี ผ้กู ระทาํ และแรงต้องมที ิศทาง เนอ่ื งจากแรงทําให้วัตถเุ คลื่อนท่ี ซึ่งการเคล่อื นท่ีของวัตถใุ ด ๆ น้นั อาจมีผลมาจาก แรงหลายแรงมากระทําต่อวัตถุ จะต้องรวมแรงทั้งหมดเพื่อหาแรงลัพธ์ที่มากระทําต่อวัตถุนั้น โดยการหาแรงลัพธ์ โดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์มี 2 วิธี คือ วิธีเขียนเวกเตอร์แบบหางต่อหัว และวิธีสร้างรูปสี่เหล่ยี ม ดา้ นขนาน เซอร์ไอแซก นิวตัน ไดน้ ําเสนอแนวคิดและอธิบายความสัมพันธ์ของแรงกับความเรง่ ที่มีผลต่อการเคลื่อนท่ี ของวัตถุ เรยี กแนวคิดน้วี ่า “กฎการเคลื่อนที่ของนวิ ตัน” ประกอบดว้ ยกฎ 3 ข้อ คือ กฎการเคลื่อนที่ข้อท่ีหนึ่งของ นวิ ตัน กฎการเคล่ือนทข่ี ้อทสี่ องของนวิ ตนั และกฎการเคลอื่ นทขี่ อ้ ที่สามของนวิ ตนั 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - การหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทําต่อวัตถุ โดยการเขียนแผนภาพ การรวมแบบเวกเตอร์ - ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลพั ธท์ ่กี ระทาํ ต่อวัตถุและมวลของวัตถุ 4.2 ดา้ นทกั ษะ (P) - หาแรงลัพธ์ท่กี ระทําต่อวัตถุ โดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ 4.3 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สัตย์สุจริต  3. มวี ินัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้  5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มุ่งม่นั ในการทํางาน  7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน  1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5550 6. ช้นิ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง แรงลพั ธ์ 6.2 ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง กฎการเคล่อื นทขี่ องนิวตัน 6.3 ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง กฎการเคลื่อนท่ขี องนวิ ตนั 6.4 แบบฝึกหัด เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 7. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงที่ 1-2 ขนั้ นํา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรยี นร้ใู ห้นักเรยี นทราบ 2. ครูถามคําถามกระตุ้นว่า กิจกรรมในชีวิตประจําวันของนักเรียนไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนที่ช้าลงหรือเร็ว ขนึ้ เกยี่ วขอ้ งกับปริมาณใด และใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบคาํ ถามปากเปล่า 3. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนกับนักเรียนว่า “กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันใช้ อธิบายการเคลอื่ นทใี่ นแงม่ มุ ใด” (แนวตอบ: กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเป็นกฎทางกายภาพ 3 ข้อ ที่เป็นรากฐานของกลศาสตร์ดั้งเดิม ใช้ สําหรับการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับแรงที่กระทําต่อวัตถุนั้น และการเคลื่อนที่เนื่องจากแรง เหลา่ นนั้ ) 4. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อชักชวนเข้าสู่บทเรียน โดยการนําคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการส่งยานขึ้นไป สํารวจอวกาศ(นาทีที่ 0.52 – 2.00) จากนั้นครูถามคําถามกับนกั เรียนว่า แรงเกี่ยวข้องกบั การเคลือ่ นท่ี ของยานขึ้นไปบนอวกาศอย่างไร ครูให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างอิสระ โดยยังไม่เฉลยว่าถูกหรือ ผิด

5561 คลิปวิดีโอเก่ียวกับการส่งยานขึ้นไปสาํ รวจอวกาศ (นาทีที่ 0.52 – 2.00) ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรยี นสืบเสาะหาความรู้ เรอ่ื ง แรงและลักษณะของแรง จากหนงั สอื เรียน 2. ครูตั้งคําถามกบั นกั เรียนเกี่ยวกบั แรง ดงั น้ี a. แรงในวชิ าฟสิ กิ สห์ มายถงึ อะไร (แนวตอบ : แรง คือ สิ่งที่กระทําต่อวัตถุแล้วส่งผลให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปร่าง ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดและทิศทางของแรงที่มากระทํา เช่น แรงดึง แรงผลัก แรง เสียดทาน แรงโน้มถ่วง แรงดงึ ในเส้นเชอื ก แรงในสปรงิ ) b. แรงโดยท่วั ไปตอ้ งมลี กั ษณะอย่างไร (แนวตอบ : แรงจะต้องประกอบด้วย 3 ลักษณะ คือ แรงต้องมีผู้ถูกกระทํา แรงต้องมีผู้กระทํา และแรงต้องมีทศิ ทาง) c. การปนั้ เกยี่ วขอ้ งกับแรงอย่างไร (แนวตอบ : การปั้นเป็นการกระทําเพื่อให้วัตถุมีรูปร่างตามที่ต้องการ เช่น การปั้นดินนํ้ามัน การ ปั้นดินเหนียว โดยผู้ปั้นจะต้องออกแรงกระทําต่อวัตถุดิบ ทําให้วัตถุดิบนั้น ๆ เกิดการ เปลย่ี นแปลงรปู รา่ งตามทตี่ ้องการ) 3. ครูนําอภิปรายนักเรียนเกี่ยวกับกับ การหาแรงลัพธ์ โดยวิธีการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ จากหนังสอื เรียน 4. นักเรียนสรุปและอธิบายเกี่ยวกับแรงลัพธ์ และวิธีการหาแรงลัพธ์โดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบ เวกเตอร์ โดยครอู าจสมุ่ ถามนักเรยี นเป็นรายบุคคล เพ่อื ตรวจสอบวา่ นกั เรียนได้ทาํ การศกึ ษาเน้ือหา

572 5. ครูให้นักเรียนร่วมทํางานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในกิจกรรม เรื่อง การหาแรงลัพธ์โดยวิธีการคํานวณ จากหนงั สือเรียน โดยจดบันทึกองคค์ วามรลู้ งในสมดุ ตามลาํ ดบั หวั ขอ้ ดังนี้ a. กรณีแรงย่อยทง้ั หมดมีทิศทางเดียวกัน b. กรณแี รงยอ่ ยท้ังหมดมีทิศทางตรงข้ามกนั c. กรณีแรงย่อยท้งั หมดมที ิศทางตงั้ ฉากกนั d. กรณแี รงย่อยทงั้ หมดมที ศิ ทางทาํ มุมใด ๆ ต่อกัน 6. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่น่ังข้าง ๆ แล้วร่วมกันศึกษา เรื่อง การหาแรงลัพธ์โดยวิธีการคํานวณ จาก หนังสอื เรยี น 7. ครูให้นักเรยี นแต่ละครู่ ว่ มศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เติมจากอินเทอร์เนต็ 8. ครูให้นักเรยี นพูดคุยกบั คูต่ นเองเก่ียวกบั ผลการศกึ ษา จากนั้นร่วมกนั สรุปผลการศึกษา แล้วจดบันทึกลง ในสมดุ ของแต่ละคน 9. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการหาแรงลัพธ์โดยวิธีการคํานวณที่นักเรียนได้ร่วมกันศึกษาแล้ว โดยครู อาจใช้คําถามถามนักเรียนว่า การหาแรงลัพธ์โดยวธิ ีการคํานวณจะต้องนําหลักการใดทางคณิตศาสตร์มา ใชบ้ า้ ง ครูท้งิ ชว่ งเวลาใหน้ ักเรยี นไดค้ ดิ ทบทวน 10. ครูสุ่มนักเรียนให้ตอบคําถามที่ครูได้ถามไปแล้ว เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในการบูรณาการความรู้ ระหวา่ งวิชาฟิสกิ ส์กับวิชาคณิตศาสตร์ 11. ครูให้นักเรยี นสืบเสาะหาความรู้จากตวั อย่างที่ 1.4 จากหนังสือเรียน ในประเด็นโจทย์กําหนดส่ิงใด และ โจทยต์ ้องการหาสงิ่ ใดบ้าง และจดบันทกึ วิธีการแกโ้ จทย์ปญั หาจากตัวอยา่ งลงในสมุด “แรง ���⃑���1 ขนาด 3 นวิ ตัน และแรง ���⃑���2 ขนาด 4 นวิ ตัน กระทาํ กับวัตถุ” ก. จงหาขนาดแลทิศทางของแรงลพั ธ์ เมื่อแรง ⃑���⃑��������� และแรง ⃑���⃑��������� ทามุมกนั 90 องศา วธิ ที า จากโจทย์ เขยี นภาพได้ ดงั ภาพ คํานวณหาขนาดของแรงลพั ธ์ จากภาพ จะได้ (∑ ������)2 = ������12 + ������22 (∑ ������)2 = 32 + 42 ∑ ������ = √25 = 5 ������ ∑ ���⃑��� ���⃑���2 หาทิศทางของแรงลัพธ์ ������ ������ จากรูป จะได้ tan ������ = ������2 ���⃑���1 ������1 tan ������ = 4 3

583 θ = tan−1 (4) 3 θ = 53° ดังนน้ั แรงลัพธม์ ขี นาด 5 นวิ ตัน และมีทศิ ทางทาํ มุม 53 องศา กบั แรง ���⃑���1 12. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มกับเพื่อนอย่างอิสระกลุ่มละ 4-5 คน จากนั้นร่วมกันศึกษาแนวทางการปฏิบัติ กจิ กรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ จากหนงั สือเรยี น 13. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับอุปกรณ์การทํากิจกรรมหน้าชั้นเรียน จากนั้นร่วมกันลงมือปฏิบัติ กจิ กรรมตามวิธปี ฏบิ ตั ิทไ่ี ด้ศกึ ษา (หมายเหตุ: ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุ่ม) 14. นักเรียนตอบคําถามท้ายกิจกรรมและอธิบายเกี่ยวกับผลของแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุลงในสมุดบันทึก ประจาํ ตวั ทกุ คน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน 3-4 คน แล้วให้นักเรียนแสดงวิธีการคํานวณพร้อมทั้งอธิบาย วธิ ีการแก้โจทยป์ ัญหา จากตัวอยา่ งที่ 1.4 2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเพิ่มเตมิ เกยี่ วกับการแก้โจทย์ปัญหา จากตวั อยา่ งที่ 1.4 3. ครูนําการอภปิ รายกับนักเรยี นตอบคาํ ถามท้ายกิจกรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ หลังจาก ทน่ี กั เรยี นไดท้ ําการศึกษาแล้ว a. แรงลัพธ์ทีไ่ ด้จากวิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางตอ่ หัว และวิธีสร้างรูปสี่เหลี่ยมดา้ นขนานมีคา่ เทา่ กนั หรือไม่ (แนวตอบ : เทา่ กนั ) b. แรงดึงในเส้นเชือกท้งั สามเสน้ สัมพันธก์ ันอยา่ งไร (แนวตอบ : แรงดึงในเส้นเชือกของเชือกเส้นที่ 3 จะเท่ากับผลรวมของแรงดึงในเส้นเชือกของ เชือกเสน้ ที่ 1 และ 2 ในทิศทางตรงขา้ มกนั ) 4. ครูแจกใบงานท่ี 1.4 เร่อื ง แรงลพั ธ์ ให้นกั เรียน แลว้ มอบหมายให้นักเรียนนํากลับไปศึกษาเป็นการบ้าน

594 ชัว่ โมงที่ 3-4 ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับ “การเปล่ียนสภาพของวตั ถุ มสี ่ิงใดเก่ียวข้องบ้าง” เพื่อนําไปสู่คําถาม ที่ว่า “การที่วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่เคลื่อนที่ แรงต้องมีส่วนเกี่ยวข้องทุกครั้งหรือไม่ อย่างไร” โดยครูให้ นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ กันอยา่ งอิสระ และยงั ไม่เฉลยว่าคาํ ตอบน้ันถกู หรือผิด 2. ครูแจ้งเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน นักเรียนทราบ จากนั้นให้ นกั เรียนสืบเสาะหาความรู้ เร่ือง กฎการเคล่อื นทข่ี องนิวตนั จากหนังสอื เรยี น 3. ครูให้นักเรียนใช้สมาร์ทโฟนของตนเองในการสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับ งานเขียนของนิวตัน (Principia) เพ่ิมเติมจากอนิ เทอรเ์ น็ต 4. จากความรู้ เรื่อง แรง ครูตั้งคําถามกับนักเรียน เพื่อเชื่อมโยงเพื่อนําเข้าสู่ เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หน่งึ ของนิวตัน เพื่อให้นักเรียนทํานายหรือตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ “เมื่อไม่มีแรงกระทําต่อวัตถุ วัตถุจะมีสภาพ การเคลือ่ นที่อยา่ งไร” (แนวตอบ : วตั ถจุ ะคงสภาพการเคลื่อนทเ่ี ดิมไว้ คือ ถา้ วัตถุทวี่ างน่งิ อยู่กับท่ีก็จะยงั คงรักษาสภาพเดิมไว้ แตถ่ ้าวตั ถุทีก่ าํ ลังเคลอ่ื นท่ีกจ็ ะยังคงเคล่อื นท่ีด้วยความเรว็ คงตัวตลอดการเคลื่อนท่)ี 5. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน จากหนังสือเรียน แล้วให้จดบันทึกเนื้อหา หรอื ใจความสําคัญลงในสมุด จากนนั้ ครูนําอภปิ รายข้อสรุปกฎการเคล่ือนทขี่ ้อท่หี น่ึงของนิวตนั 6. ครูตงั้ คําถามกบั นักเรยี นว่า “ถ้าแรงสองแรงทีม่ ีขนาดไม่เทา่ กนั และทศิ ทางตรงขา้ มกัน มากระทาํ ต่อวัตถุ เดียวกัน จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น อย่างไร” โดยครูให้นักเรียนจับคู่ กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ แล้วร่วมกันอภิปราย จากนั้นครูสุ่มนักเรียนเพื่อให้อภิปรายและแสดงความคิดเห็น จากนนั้ ครนู ําอภปิ รายขอ้ สรปุ กฎการเคล่อื นทีข่ อ้ ทส่ี องของนวิ ตนั 7. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละประมาณ 5-6 คน โดยให้คละกันระหว่างนักเรียนที่มีพื้นฐาน ความรเู้ ดมิ ในระดับเก่ง คอ่ นข้างเก่ง ปานกลาง และอ่อน ใหอ้ ยใู่ นกลุ่มเดียวกนั จากนนั้ ครูให้นักเรียนแต่ละ กล่มุ ร่วมกนั ศกึ ษากจิ กรรม แรงกบั ความเร่ง จากหนงั สือเรียน 8. นักเรยี นตัวแทนแต่ละกลมุ่ ออกมารบั วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการทํากจิ กรรมหน้าชนั้ เรยี น

6505 9. ครูแนะนําขั้นตอนและเทคนิคเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติ จากนั้นครูให้ทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติ กิจกรรมได้ โดยระหวา่ งทีน่ กั เรียนปฏิบัติกจิ กรรม ครเู ดินสังเกตและใหค้ าํ แนะนําเมือ่ นักเรยี นไม่เข้าใจหรือ เกดิ ปญั หา (หมายเหต:ุ ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ่ ) 10. ครเู น้นยํา้ กับนักเรยี นวา่ เม่อื ปฏิบตั ิกิจกรรมเสรจ็ แลว้ ใหต้ อบคําถามท้ายกิจกรรม จากหนังสือเรียน โดยจด บันทกึ ลงในสมุดบนั ทึกประจาํ ตวั เป็นรายบคุ คล (หมายเหตุ: ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วิเคราะหผ์ ลการการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และอภปิ รายผลทา้ ยกิจกรรมรว่ มกนั 2. ครูสุ่มนักเรียนตัวแทนกลุ่มออกมาหน้าชั้นเรียน แล้วให้แต่ละคนอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรมของกลุ่ม ตนเองให้เพื่อนในช้นั เรียนฟงั 3. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายสรุปกจิ กรรม แรงกบั ความเรง่ 4. ครูให้นักเรยี นสบื เสาะหาความรเู้ พิ่มเติมหลังจากการศึกษากจิ กรรม แรงกับความเร่ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ สองของนวิ ตนั จากหนังสือเรยี น 5. ครูใหน้ ักเรียนตอบคําถามทา้ ทาย “แรง 1 นิวตนั มีความหมายว่าอยา่ งไร” (แนวตอบ : แรง 1 นิวตนั คือ แรงท่ที ําให้วัตถุมวล 1 กิโลกรมั เคล่ือนท่ีดว้ ยความเรง่ 1 เมตรตอ่ วินาที2 ใน ทิศทางตามแนวแนวแรง) 6. หลังจากที่นักเรียนทราบถึงหลักการหรือกฎ และสมการของกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันแล้ว ครู มอบหมายให้นักเรียนวิเคราะหต์ ัวอย่างที่ 1.5 จากหนังสือเรยี น โดยแสดงวธิ ีการคาํ นวณลงในสมุดของแต่ ละคน “เดก็ ชายคนหนึ่งออกแรงเขน็ ลงั ใสห่ นังสือมวล 20 กิโลกรมั ดว้ ยแรง 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวนั ออก จงหาว่าลงั ใสห่ นังสอื จะเคลือ่ นท่ีดว้ ยดวามเร่งเท่าใด ถ้าลงั น้ีตง้ั อยู่บนพ้ืนผิวเรียบไมม่ แี รงเสียดทาน” วิธีทา เมือ่ ลังใสห่ นังสอื ต้งั อยูบ่ นพืน้ ผวิ เรยี บไมม่ ีแรงเสยี ดทาน แสดงว่า แรงลพั ธ์ท่ีกระทําต่อลังนมี้ เี พยี ง แรงเดียว คอื แรง 5 นิวตัน ที่เด็กชายออกแรงเข็น จงึ ได้วา่ จากสมการกฎการเคลอื่ นทีข่ ้อทสี่ องของนวิ ตัน ∑ ���⃑��� = ���������⃑��� 5 = (20)(������) 5 ������ = 20 ������ = 0.25 ������/������2 ดงั น้นั ลังใสห่ นังสือจะเคล่ือนทด่ี ว้ ยความเร่ง 0.25 เมตรต่อวินาที2 ในทศิ ทางเดียวกบั แรงท่มี ากระทํา

6516 ชั่วโมงท่ี 5-6 ข้ันสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรียนทุกคนใช้ฝ่ามือตบฝ่ามือของเพื่อนอีกคนหนึ่ง แลว้ ถามนกั เรียนวา่ “นักเรียนรู้สึกเจ็บฝ่ามือ ใช่หรือไม่ แล้วทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใดเราจึงเจ็บฝ่ามือ” เป็นการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน และเพื่อนําเข้าสู่เน้อื หาท่ีกาํ ลังจะศึกษา 2. ครูใหน้ กั เรียนสบื เสาะหาความรู้ เรื่อง กฎการเคลื่อนท่ีข้อที่สามของนิวตัน จากหนงั สือเรียน โดยจดบันทึก ใจความสาํ คญั ลงในสมุด 3. ครูสมุ่ นกั เรยี นตอบคําถามทค่ี รูไดถ้ ามไปตอนตน้ ชัว่ โมง โดยใช้กฎการเคลอื่ นทข่ี ้อที่สามของนิวตันในการ อธิบาย 4. ครูใหน้ กั เรียนวิเคราะห์ตวั อยา่ งที่ 1.6 จากหนงั สอื เรยี น โดยจดบันทึกลงในสมุด 5. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ จากนั้นร่วมกันยกตัวอย่างการเคลื่อนที่ด้วยแรงกิริยา และแรง ปฏกิ ิรยิ า ทสี่ ามารถพบเหน็ ไดใ้ นชีวติ ประจําวัน โดยแต่ละค่ยู กตวั อยา่ งมาใหม้ ากทสี่ ุด อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนคู่ท่ีสามารถยกตัวอย่างได้มากที่สุด 3 ลําดับแรก ออกมาหน้าช้ันเรียนแล้วอธบิ ายโดยการ เขยี นเวกเตอรท์ ศิ ทางของแรงกริ ิยา-ปฏิกริ ยิ า ทเ่ี กดิ ขึ้นจากการเคลอ่ื นท่ีนัน้ ๆ 2. ครแู ละนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของแต่ละตัวอย่าง คู่ไหนถกู ต้องจํานวนมากที่สุด ครูอาจ ใหค้ ะแนนพเิ ศษ 3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายวิธแี ก้โจทยป์ ัญหาจากตวั อยา่ งท่ี 1.6 “จากภาพจงใช้กฎการเคลื่อนท่ที ั้งสามข้อของนวิ ตันอธบิ ายการออกแรงดงึ เชือกของนายเอและนางสาว บ”ี (ก) ออกเเรงเทา่ กนั ทั้งคู่ (ข) นายเอออกเเรงมากกว่านางสาวบี

6527 วิธีทา จากภาพ (ก) ออกแรงเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกัน แรงลัพธ์เป็นศูนย์ ไม่มีความเร่ง แต่เชือก อาจยดื ออก จากภาพ (ข) ออกแรงไม่เท่ากัน เส้นเชือกอาจยืดออก โดยมีแรงลัพธ์ไปทางซ้ายเนื่องจากมี ความเร่งไปทางซ้าย 4. ครแู จกใบงานท่ี 1.5 เร่อื ง กฎการเคลอ่ื นที่ของนิวตัน ใหน้ กั เรยี นนํากลับไปศกึ ษาเปน็ การบา้ น ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนาํ อภปิ รายสรปุ เนอื้ หาโดยเปดิ PowerPoint เร่ืองท่สี อนไปแลว้ ควบคู่ไปด้วย 2. ครูให้นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลการนําความรู้ เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจําวัน จากนั้นครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของ นวิ ตนั ลงในกระดาษ A4 พร้อมทัง้ ตกแต่งใหส้ วยงาม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน) 3. ครูสมุ่ เลอื กนักเรียนออกไปนาํ เสนอผงั มโนทัศน์ของตนเองหน้าช้นั เรยี น (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบประเมินการนาํ เสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากหนังสือเรยี น ลงในสมุดบันทึกประจําตวั แลว้ นาํ มาส่งครทู า้ ยชัว่ โมง 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส)์ ม.5 เป็นการบา้ น แล้วมาสง่ ครูในช่วั โมงถดั ไป ขัน้ สรปุ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ การหาแรงลัพธ์ และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เพื่อให้ นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแล้วไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจที่ ถูกตอ้ ง โดยครูใหน้ ักเรียนเขียนสรปุ ความรูล้ งในสมุดบันทกึ ประจาํ ตัว 2. ครตู รวจสอบผลจากการทําใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง แรงลัพธ์ 3. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงานท่ี 1.5 เรอื่ ง กฎการเคล่ือนท่ีของนิวตนั 4. ครูตรวจแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ในสมุดบันทึก ประจาํ ตวั

6538 5. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 6. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทาํ งานกล่มุ 7. ครวู ัดและประเมินผลจากชน้ิ งานการสรุปเนือ้ หา เร่ือง กฎการเคลื่อนที่ของนวิ ตัน ที่นกั เรียนไดส้ รา้ งข้ึน จากขัน้ ขยายความเข้าใจเปน็ รายบคุ คล 8. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 8) หนงั สอื เรยี น วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แรงและการเคลื่อนท่ี 9) แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แรงและการเคลื่อนที่ 10) ใบงานท่ี 1.4 เรอื่ ง แรงลัพธ์ 11) ใบงานท่ี 1.5 เร่ือง กฎการเคล่ือนทขี่ องนวิ ตัน 12) PowerPoint เรื่อง แรงและกฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตนั 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 4) หอ้ งเรยี น 5) ห้องสมดุ 6) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 9. การวัดและประเมินผล รายการวดั วธิ วี ัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 9.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2 ภาระงาน กฎการเคลือ่ นท่ขี องนวิ ตัน ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมนิ ระหว่าง - ตรวจใบงานที่ 1.4 - ใบงานที่ 1.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจดั กจิ กรรม - ตรวจใบงานที่ 1.5 - ใบงานท่ี 1.5 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) แรงและกฎการ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เคล่ือนที่ของนวิ ตัน 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมินการนําเสนอ - แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน นําเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

5694 รายการวัด วิธีวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2 ทาํ งานรายบุคคล การทํางานรายบุคคล รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ (สมรรถนะของผู้เรยี น) 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ทาํ งานกลมุ่ การทาํ งานกลุ่ม การทํางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คุณลกั ษณะอันพึง - สังเกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มนั่ คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อันพึงประสงค์ 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทักผลหลงั การสอน สรุปผลการเรียนการสอน นกั เรยี นทงั้ หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จานวนนักเรียนท่ีผ่าน จานวนนักเรยี นท่ไี มผ่ ่าน จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ

6605 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ตาํ แหนง่ ครูวทิ ยฐานะ....................................... ลงชอื่ ................................................................ () หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ลงชอ่ื ................................................................ () รองผู้อาํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ ความคดิ เห็นของหวั หน้าสถานศึกษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการเรียนรูท้ ี่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ

616 2. การจดั กจิ กรรมได้นําเอากระบวนการเรยี นรู้  เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม  ยงั ไม่เน้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................ () ผู้อาํ นวยการโรงเรียน........................................

6627 ใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง แรงลัพธ์ คาชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี จงหาแรงลัพธ์ของแรง ���⃑���1 ���⃑���2 ���⃑���3 ���⃑���4 และ ���⃑���5 ที่กระทําต่อวัตถุในระนาบเดียวกัน โดยมีขนาดของแรงและ ทศิ ทาง ดังภาพ (อัตราสว่ นระหวา่ งความยาว (cm) และขนาดของแรง (N) เท่ากับ 1 : 10) ���⃑���1 ���⃑���2 ���⃑���3 ���⃑���4 ���⃑���5

683 เฉลบใบงานที่ 1.4 เรื่อง แรงลพั ธ์ คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี จงหาแรงลัพธ์ของแรง ���⃑���1 ���⃑���2 ���⃑���3 ���⃑���4 และ ���⃑���5 ที่กระทําต่อวัตถุในระนาบเดียวกัน โดยมีขนาดของแรงและ ทศิ ทาง ดงั ภาพ (อัตราส่วนระหวา่ งความยาว (cm) และขนาดของแรง (N) เท่ากบั 1 : 10) ���⃑���1 ���⃑���2 ���⃑���3 ���⃑���4 ���⃑���5 วิธที า นําเวกเตอร์ท้ังหมดมาหาแรงลพั ธ์ดว้ ยวธิ เี ขียนเวกเตอรข์ องแรงแบบหางตอ่ หวั จะได้ ดังนี้ ���⃑���5 ���⃑���4 Σ���⃑��� ���⃑���3 ���⃑���1 ���⃑���2 เม่ือวดั ขนาดของเวกเตอร์แทนแรงลพั ธ์ Σ���⃑��� ได้ประมาณ 2.4 เซนติเมตร เมื่อวัดมุมระหว่างเวกเตอร์ของแรงลัพธ์ Σ���⃑��� กับเวกเตอร์ของแรง ���⃑���1 ซึ่งมีทิศไปทางเหนือ (แกน +Y) จะได้ 30 องศา เนื่องจากโจทย์กําหนดอัตราส่วนของเวกเตอร์เป็น 1 เซนติเมตร : 10 นิวตัน เมื่อนําเวกเตอร์ของแรง ลัพธม์ าคํานวณเปรยี บเทยี บ จะได้ Σ���⃑��� = (2.4)(10) Σ���⃑��� = 24 ������ ดงั นัน้ แรงลพั ธข์ องแรงยอ่ ยทั้งหมดมขี นาด 24 นิวตัน และมที ศิ ทํามมุ 30 องศา กับแรง ���⃑���1 หรอื แกน +Y

649 ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง กฎการเคลอื่ นท่ขี องนวิ ตนั คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เมื่อออกแรงขนาดที่เท่ากันในทิศทางเดียวกันกับวัตถุ 2 ก้อน ปรกฎว่าวัตถุก้อนที่ 1 จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 6 เมตรต่อวินาที2 ถ้าวัตถุก้อนที่ 2 มีมวลเป็น 1.5 เท่า ของมวลวัตถุก้อนที่ 1 อยากทราบว่าวัตถุก้อนที่ 2 จะมี ความเรง่ เทา่ ไร 2. รถยนต์มวล 1.5×103 กโิ ลกรัม ถูกเร่งให้เปลี่ยนแปลงความเร็วจาก 10 เมตรตอ่ วินาที เป็น 12 เมตรต่อวินาที ด้วย แรงขบั สม่ําเสมอในเวลา 20 วนิ าที จงคาํ นวณหาแรงทก่ี ระทาํ ต่อรถยนต์ (ไมค่ ดิ แรงต้านอากาศ)

7605 เฉลยใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง กฎการเคลอ่ื นทข่ี องนวิ ตนั คาชี้แจง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. เมื่อออกแรงขนาดที่เท่ากันในทิศทางเดียวกันกับวัตถุ 2 ก้อน ปรกฎว่าวัตถุก้อนที่ 1 จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 6 เมตรต่อวินาที2 ถ้าวัตถุก้อนที่ 2 มีมวลเป็น 1.5 เท่า ของมวลวัตถุก้อนที่ 1 อยากทราบว่าวัตถุก้อนที่ 2 จะมี ความเรง่ เทา่ ไร วิธที า จากสมการ Σ���⃑��� = ���������⃑��� กรณที ี่ 1 จะได้ ������ = (������1)(6) (1) ������ = 6������1 (2) กรณที ่ี 2 จะได้ ������ = (1.5������1)(������2) นาํ สมการ (1) = (2) ; 6������1 = (1.5������1)(������2) 6 = 1.5������2 ������2 = 6 1.5 ������2 = 4 ������/������2 ดังนั้น วตั ถกุ อ้ นที่ 2 จะมีความเรง่ เทา่ กับ 4 เมตรตอ่ วนิ าที2

7616 2. รถยนต์มวล 1.5×103 กิโลกรัม ถูกเร่งให้เปลี่ยนแปลงความเร็วจาก 10 เมตรต่อวินาที เป็น 12 เมตรต่อวินาที ด้วยแรงขับสมา่ํ เสมอในเวลา 20 วนิ าที จงคํานวณหาแรงที่กระทําต่อรถยนต์ (ไมค่ ิดแรงต้านอากาศ) วิธที า หาความเร่ง จากสมการ ������ = ∆������ ∆������ ������ = 12−10 20 ������ = 2 20 ������ = 0.1 ������/������2 หาแรงจากสมการ ������ = ������������ ������ = (1.5 × 103)(0.1) ������ = 0.15 × 103 ������ = 150 ������ ดงั นน้ั แรงท่ีกระทําตอ่ รถยนต์เทา่ กบั 150 นิวตัน

7627 แบบประเมินผลงานผังมโนทศั น์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเนื้อหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเป็นระเบียบ รวม ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมิน ............../................./................

7638 เกณฑป์ ระเมนิ ผังมโนทศั น์ ประเดน็ ท่ีประเมิน ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงคท์ ่ี กาหนด ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมีความ จุดประสงค์ทุก จุดประสงคเ์ ป็นสว่ น จุดประสงค์บาง ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ เนอื้ หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเดน็ ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมีความคดิ ส่วนใหญ่ สร้างสรรค์ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ ผลงานไมแ่ สดง แนวคิดใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานถูกต้องเปน็ ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม ความคดิ สร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ตย่ งั ไม่ นา่ สนใจ แตย่ ังไม่มี แปลกใหม่และเป็น เป็นระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่ไม่ เปน็ ระเบยี บ ระเบยี บแสดงออกถงึ ความเปน็ ระเบยี บแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบียบและมี ความประณีต ยงั มี ขอ้ บกพร่องบางส่วน ขอ้ บกพร่องมาก ขอ้ บกพร่องเล็กน้อย เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตํา่ กว่า 8 ปรับปรงุ

7649 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนื้อหา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนาํ เสนอผลงาน   4 การนาํ ไปใช้ประโยชน์   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรบั ปรุง

750 แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับคะแนน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน รวม ลาดบั ชือ่ -สกุลของนกั เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน 15 การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปัญหา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ............/.................../................

761 เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น พฤตกิ รรมบ่งช้ี ระดบั คะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรุง) ในการสอ่ื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคิด การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอื่ สาร การสื่อสาร ไม่มีความสามารถ ในการคิด การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ ีเยี่ยม ออกมาได้ดี ชดั ออกมาได้ระดับ ออกมาได้ระดับ ตัดสนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปญั หาของตนเอง แกป้ ญั หา ชัดเจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชดั เจน ปรบั ปรงุ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถ การคดิ อยา่ ง การคิดตดั สินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตัดสนิ ใจเกี่ยวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกบั ปญั หา เกีย่ วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตัดสินใจเกี่ยวกับ ของตนไดด้ ี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าทีค่ วร ปญั หาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มคี วามสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ แกป้ ญั หาเฉพาะ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ทุก หน้าไดเ้ กือบทุก หน้าไดบ้ าง หน้าได้ยังไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เทา่ ทค่ี วร เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ

772 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน การมี ลาดับท่ี ช่อื –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนักเรยี น ความ ยอมรับฟงั ตามท่ี นา้ ใจ ในการ 15 คิดเหน็ ไดร้ บั ปรบั ปรุง คะแนน คนอื่น ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

783 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ําเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ

794 03 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรื่อง การเคล่อื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์

8705 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แรงและการเคลื่อนที่ เรอื่ ง การเคลอื่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนทแ่ี บบต่างๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาํ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 2.2 ม.5/5 สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การ เคล่อื นทีแ่ นวตรง การเคล่อื นที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลือ่ นที่แบบวงกลม และการเคลื่อนที่แบบส่นั 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนท่ี แนวตรงการเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม และการเคล่อื นท่ีแบบส่ันได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสงั เกตผลของความเร่งท่ีมีต่อการเคลอ่ื นท่แี บบต่าง ๆ ของวัตถุ ไดแ้ ก่ การเคลื่อนทแี่ นว ตรงการเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนท่แี บบวงกลม และการเคล่อื นท่แี บบส่นั ได้ (P) 3. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้ และทาํ งานร่วมกับผอู้ ืน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) 3. สาระสาคญั การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบอิสระรูปแบบหนึ่งที่เป็นแนววิถีโค้ง วัตถุที่มี การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะมีแรงกระทําอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของโลกในแนวดิ่ง และแรงคงตัวใน แนว ระดับ ทําให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งโน้มถ่วงของโลก โดยการเคลื่อนที่ทั้งสองแนวจะเกิดข้ึน พรอ้ มกัน

7861 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - ผลของความเร่งที่มตี ่อการเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 4.2 ด้านทกั ษะ (P) - ทดลองและสรปุ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมุมยงิ กับระยะตกของวัตถทุ ี่เคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทล์ 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอื่ สตั ย์สุจริต  3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรียนรู้  5. อย่อู ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทํางาน  7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต  5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ช้นิ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง การเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 6.2 ผงั มโนทศั น์ เร่อื ง การเคลอ่ื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 6.3 แบบฝึกหัด เรอ่ื ง การเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ จากแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5

8727 7. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ขน้ั นาํ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ใหน้ กั เรยี นทราบ 2. ครูนําลูกเทนนิสหรือลูกบอลมาขว้างออกไปในแนวระดับ และในทิศทํามุมกับแนวระดับ พรอมกับใหผู เรียนสงั เกตแนวการเคลือ่ นท่ีของวตั ถทุ ีค่ รขู วา้ งออกไป 3. ครูเปล่ียนเปนขวางยางลบ กอนดนิ นาํ้ มัน และใหผูเรียนสังเกตแนวการเคลอ่ื นทอ่ี ีกครัง้ 4. ครูถามคําถามกระตุ้นกับนักเรียนว่า “การเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอล เมื่อนักกีฬาโยนไปที่แป้น เพือ่ ให้ลงหว่ ง มีลักษณะการเคลื่อนทีอ่ ย่างไร” และใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบคําถามปากเปลา่ (แนวตอบ : มลี ักษณะการเคลอื่ นท่ีเป็นวิถโี ค้ง หรอื เปน็ การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์) 5. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน กับนักเรียนว่า “การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มี ลกั ษณะเฉพาะอยา่ งไร” (แนวตอบ : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่แบบ 2 มิติ คือ เคลื่อนที่ทั้งในระดับและ แนวด่ิงพร้อมกัน โดยในแนวด่ิงเป็นการเคล่ือนท่ีที่มีความเร่งเน่ืองจากแรงโน้มถว่ งของโลก ในขณะที่แนว ระดบั ไมม่ คี วามเร่ง เพราะไม่มีแรงกระทาํ ในแนวระดบั )

8738 ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ เร่อื ง การเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ จากหนังสอื เรียน 2. ครูให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้เพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล โดยให้นักเรียนนําสมาร์ตโฟนของตนเองข้ึน มาแล้วสแกน QR Code เร่ือง การเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ จากหนงั สอื เรยี น วิดีโอจากการ สแกน QR Code เร่ือง การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ 3. ครูให้นกั เรยี นเขยี นสรปุ ความรู้ เร่อื ง โพรเจกไทล์ ทไ่ี ด้ศึกษาจากหนงั สือเรยี นและ QR Code ลงในสมุด 4. ครแู บง่ กลมุ่ ให้นักเรียน โดยแบ่งตามระดับสติปัญญาท่ีแตกต่างกนั กลุ่มละ 5-6 คน ประกอบด้วย เก่ง 1 คน ปานกลาง 2-3 คน อ่อน 2-3 คน จากนั้นให้นักเรียนแยกเข้ากลุ่มของตนเอง แล้วศึกษากิจกรรม เครอื่ งยงิ โพรเจกไทล์ จากหนงั สอื เรียน 5. ครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมให้นักเรียนทราบ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติว่า “ เพื่อศึกษา ความสมั พันธ์ระหว่างมมุ ยิงกับระยะตกของวัตถทุ ี่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล”์ 6. ครูให้ความรเู้ พ่ิมเตมิ หรือเทคนิคเกย่ี วกับการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม จากนนั้ ใหน้ กั เรียนทกุ กลุ่มลงมือปฏิบัติตาม ขัน้ ตอน 7. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันพูดคยุ วเิ คราะห์ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แลว้ อภิปรายผลร่วมกัน 8. ครเู น้นย้ําใหน้ กั เรยี นตอบคําถามท้ายกจิ กรรม จากหนังสอื เรยี น ลงในสมุดบันทกึ ประจาํ ตัว

8749 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้แต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนออกมาหนา้ ช้นั เรียน เพอื่ นําเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลท้ายกิจกรรมร่วมกัน เพื่อสรุปผลให้นักเรียนเข้าใจไปในแนวทาง เดียวกันอกี ครั้ง โดยอาจใหน้ กั เรียนสืบเสาะหาความรจู้ ากหนังสือเรียนประกอบการสรุปกจิ กรรมว่า มุม ในการยงิ วตั ถุใหเ้ คล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์คหู่ นึง่ ๆ ท่ีมผี ลรวมเปน็ 90 องศา จดุ เริ่มต้นและจุดตกจะอยู่ ทจี่ ดุ เดยี วกนั 3. ครใู หน้ กั เรียนวิเคราะห์การขวา้ งวตั ถุออกไปในแนวระดบั จากภาพในหนงั สอื เรียนวา่ เกีย่ วขอ้ งกบั การเคลอ่ื นที่ แบบโพรเจกไทล์อย่างไรบ้าง เพ่ือเป็นการเช่ือมโยงกับกิจกรรมที่ครูได้ขว้างลูกบอลให้นักเรียนดูหน้าช้ัน เรยี น 4. ครอู ภปิ รายร่วมกบั กับนักเรยี นเกย่ี วกบั กิจกรรมในชวี ิตประจาํ วนั ทม่ี ีการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ 5. ครูสุ่มนักเรยี นให้ยกตัวอยา่ งกิจกรรมที่สามารถอธบิ ายการเคลอ่ื นที่นน้ั ด้วยความรู้เร่ืองการเคลือ่ นที่แบบ โพรเจกไทล์ได้ เช่น ด้านกีฬา ไม่ว่าจะเป็น กีฬาทุ่มนํ้าหนัก กีฬาพุ่งแหลน หรือแม้กระทั่งที่เห็นชัดเจน ที่สุด คือ กฬี าบาสเกตบอล 6. ครูแจกใบงานท่ี 1.6 เร่ือง การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ แลว้ มอบหมายให้นาํ กลับไปศึกษาเป็นการบ้าน ชวั่ โมงท่ี 2 ขัน้ สอน ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู าํ อภปิ รายสรปุ เน้ือหา โดยเปดิ PowerPoint เรอื่ งที่สอนไปแล้วควบคูไ่ ปดว้ ย 2. ครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ลงใน กระดาษ A4 พร้อมท้งั ตกแต่งให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน) 3. ครสู ุม่ เลอื กนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหน้าช้ันเรียน (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จาก หนังสอื เรียน ลงในสมดุ บันทกึ ประจําตัว แล้วนํามาส่งครทู า้ ยช่วั โมง 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 เป็นการบ้าน แลว้ มาส่งครูในชวั่ โมงถัดไป

850 ขัน้ 6ส. รุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ การเคลื่อที่แบบโพรเจกไทล์ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มี ความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแล้วไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง โดยครูให้ นักเรยี นเขยี นสรปุ ความรู้ลงในสมดุ บันทึกประจําตวั 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาํ ใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ 3. ครตู รวจแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง การเคล่อื นที่แบบโพรเจกไทล์ ในสมุดบันทึกประจําตวั 4. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 5. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทาํ งานกลุ่ม 6. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากช้ินงานการสรุปเนื้อหา เร่ือง การเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ ที่นักเรียนได้สร้าง ขึน้ จากขนั้ ขยายความเข้าใจเปน็ รายบคุ คล 8. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 แรงและการเคลือ่ นที่ 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แรงและการเคลอ่ื นที่ 3) ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง การเคล่อื นท่แี บบโพรเจกไทล์ 4) QR Code เร่ือง การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 5) PowerPoint เรอ่ื ง การเคลอ่ื นท่แี บบโพรเจกไทล์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

861 9. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 9.1 การประเมนิ ช้ินงาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน การเคลือ่ นทแ่ี บบ - ใบงานที่ 1.6 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝึกหดั - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ โพรเจกไทล์ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบประเมินการ 9.2 การประเมินระหวา่ ง - ตรวจใบงานท่ี 1.6 นาํ เสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ การจดั กิจกรรม - ตรวจแบบฝึกหดั รายบุคคล - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 1) การเคล่ือนทแี่ บบ - แบบสังเกตพฤติกรรม การทาํ งานกลุ่ม - ระดับคณุ ภาพ 2 โพรเจกไทล์ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ คณุ ลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2 2) การนําเสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ผลงาน 3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม ทํางานรายบุคคล การทํางานรายบุคคล (สมรรถนะของผู้เรียน) 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม ทาํ งานกลมุ่ การทํางานกลุ่ม 5) คุณลกั ษณะอันพึง - สงั เกตความมีวินยั ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทาํ งาน 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

872 11. บันทักผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรียนการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จานวนนกั เรียนทีผ่ ่าน จานวนนักเรียนท่ีไมผ่ ่าน จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงช่ือ................................................................ () ตาํ แหน่งครูวทิ ยฐานะ....................................... ลงชือ่ ................................................................ () หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ลงชื่อ................................................................ () รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

8883 ความคิดเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรูข้ อง...............................................................................แล้วมีความ คดิ เห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการเรียนร้ทู ี่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นําเอากระบวนการเรยี นรู้  เนน้ ผ้เู รียนเป็นสําคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสําคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป 3. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................ () ผอู้ าํ นวยการโรงเรียน........................................

849 ใบงานท่ี 1.6 เร่อื ง การเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. การเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทลค์ ืออะไร และมลี กั ษณะอย่างไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทลแ์ บง่ ออกเปน็ กแ่ี บบ อะไรบา้ ง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ความเร่งมผี ลต่อการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ อย่างไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

9805 เฉลยใบงานที่ 1.6 เร่ือง การเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์ คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. การเคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทลค์ ืออะไร และมีลักษณะอย่างไร การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบอสิ ระรูปแบบหนึง่ วัตถุใด ๆ ที่เคลื่อนท่ีแบบ โพรเจกไทล์จะมีแรงกระทําอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของโลกในแนวด่ิง และแรงกระทําในแนวระดบั ซึ่งเป็นแรงท่ีมีค่าคงตวั ส่วนแรงในแนวด่ิงจะทาํ ให้วตั ถุเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร่งคงตวั เท่ากับความเร่งโน้มถ่วง ของโลก (gravitational acceleration : g) ประมาณ 9.8 เมตรตอ่ วนิ าที2 โดยการเคล่ือนที่ท้ังแนวดิ่งและ แนวระดับจะเกิดขึ้นพร้อมกัน เป็นผลทําให้แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวิถีโค้ง มีลักษณะคล้ายรูป พาราโบลาคว่ํา 2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลแ์ บ่งออกเปน็ ก่แี บบ อะไรบา้ ง การเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทลแ์ บ่งออกเป็น 3 แบบ ดังนี้ 1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่มีความเร็วต้นในแนวระดับไม่เป็นศูนย์ และความเร็วต้นในแนวดิ่งเป็น ศนู ย์ 2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่มีความเร็วต้นในแนวระดับและแนวดิ่งไม่เป็นศูนย์ทั้งคู่ โดยมี ความเรว็ ต้นทํามมุ กบั แนวระดับ 3. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่มีความเร็วต้นไม่เป็นศูนย์ทั้งคู่เหมือนแบบที่ 2 แต่ตําแหน่งเริ่มต้นและ ตําแหนง่ สดุ ท้ายอยใู่ นระดับเดยี วกนั 3. ความเร่งมผี ลต่อการเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ อย่างไร สําหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนว ระดับความเร็วจะคงตัว โดยการเคลื่อนท่ีในแนวด่ิงของวัตถุท่ีมีการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเป็น การ ตกแบบเสรี ซึ่งมีความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (g) สรุปได้ว่า ความเร่งที่มีผล ต่อการเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์จะมีองค์ประกอบ ดังน้ี - ความเรง่ ในแนวระดบั ������������ = 0 ; แนว +Y - ความเรง่ ในแนวด่ิง ������������ = −������

9816 แบบประเมินผลงานผังมโนทศั น์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเนื้อหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเป็นระเบียบ รวม ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมิน ............../................./................

9827 เกณฑป์ ระเมนิ ผังมโนทศั น์ ประเดน็ ท่ีประเมิน ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงคท์ ่ี กาหนด ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมีความ จุดประสงค์ทุก จุดประสงคเ์ ป็นสว่ น จุดประสงค์บาง ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ เนอื้ หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเดน็ ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมีความคดิ ส่วนใหญ่ สร้างสรรค์ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ ผลงานไมแ่ สดง แนวคิดใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานถูกต้องเปน็ ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม ความคดิ สร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ตย่ งั ไม่ นา่ สนใจ แตย่ ังไม่มี แปลกใหม่และเป็น เป็นระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่ไม่ เปน็ ระเบยี บ ระเบยี บแสดงออกถงึ ความเปน็ ระเบยี บแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบียบและมี ความประณีต ยงั มี ขอ้ บกพร่องบางส่วน ขอ้ บกพร่องมาก ขอ้ บกพร่องเล็กน้อย เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตํา่ กว่า 8 ปรับปรงุ

9838 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนื้อหา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนาํ เสนอผลงาน   4 การนาํ ไปใช้ประโยชน์   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรบั ปรุง

9849 แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับคะแนน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน รวม ลาดบั ชือ่ -สกุลของนกั เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน 15 การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปัญหา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ............/.................../................

9950 เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น พฤตกิ รรมบ่งช้ี ระดบั คะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ ) ในการสอ่ื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคิด การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอื่ สาร การสื่อสาร ไม่มีความสามารถ ในการคิด การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ ีเยี่ยม ออกมาได้ดี ชดั ออกมาได้ระดับ ออกมาได้ระดับ ตัดสนิ ใจ เก่ียวกับ ในการ ปญั หาของตนเอง แกป้ ญั หา ชัดเจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชดั เจน ปรบั ปรงุ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถ การคดิ อยา่ ง การคิดตดั สินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตัดสนิ ใจเกี่ยวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกบั ปญั หา เกีย่ วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตัดสินใจเกี่ยวกับ ของตนไดด้ ี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าทคี่ วร ปญั หาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มคี วามสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ แกป้ ญั หาเฉพาะ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ทุก หน้าไดเ้ กือบทุก หน้าไดบ้ าง หน้าได้ยังไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เทา่ ทค่ี วร เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ

9961 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน การมี ลาดับท่ี ช่อื –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนักเรยี น ความ ยอมรับฟงั ตามท่ี นา้ ใจ ในการ 15 คิดเหน็ ไดร้ บั ปรบั ปรุง คะแนน คนอื่น ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

972 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ําเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ

983 04 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง การเคล่อื นทแ่ี บบวงกลม

994 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แรงและการเคล่อื นที่ เร่ือง การเคลือ่ นท่แี บบวงกลม เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนที่แบบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.2 ม.5/5 สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การ เคลื่อนทีแ่ นวตรง การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนที่แบบวงกลม และการเคลื่อนทีแ่ บบส่นั 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนท่ี แนวตรงการเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ การเคล่อื นทแ่ี บบวงกลม และการเคลือ่ นทแี่ บบส่ันได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสงั เกตผลของความเร่งทมี่ ีต่อการเคลอื่ นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ ไดแ้ ก่ การเคลื่อนทแ่ี นว ตรงการเคลอ่ื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนท่แี บบวงกลม และการเคลือ่ นท่แี บบส่ันได้ (P) 3. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้ และทาํ งานรว่ มกับผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคญั การเคลื่อนที่แบบวงกลม เป็นการเคลื่อนที่ที่มีแนวการเคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วน ของวงกลม วัตถุที่ เคลื่อนที่แบบวงกลมบนระนาบใด ๆ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งของวัตถุจะคงตัวหรือไม่ก็ได้ แต่ความเร็วของวัตถุ จะไม่คงตัว เนื่องจากมีการเปลี่ยนทิศทางของการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ซึ่งเมื่อวัตถุที่มีการเปลี่ยนทิศทางการ เคลื่อนที่แสดงว่าวัตถุต้องมีองค์ประกอบของแรงมากระทําในทิศทางที่ตั้งฉากกับเส้นทางการเคลื่อนที่ด้วย และ กรณีที่การเคลื่อนที่มีอัตราเร็วไม่คงตัวแสดงว่าต้องมีองค์ประกอบของแรงในทิศทางที่ขนานกับแนวการเคลื่อนท่ี ดว้ ย

19050 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - ผลของความเร่งที่มตี ่อการเคล่ือนทีแ่ บบวงกลม 4.2 ดา้ นทักษะ (P) - ทดลองและสรปุ ขนาดของแรงสศู่ นู ยก์ ลาง ณ ตําแหน่งต่าง ๆ ของวตั ถทุ เี่ คล่อื นทแ่ี บบวงกลม 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต  3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้  5. อยู่อย่างพอเพยี ง  6. มุ่งม่นั ในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม 6.2 ผังมโนทศั น์ เรอื่ ง การเคลอื่ นทแี่ บบวงกลม 6.3 แบบฝกึ หัด เรือ่ ง การเคลือ่ นทแี่ บบวงกลม จากแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook